The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by newzeroone01, 2022-12-01 21:53:28

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

โรงเรียนการบนิ ทหารบก ศนู ย์การบนิ ทหารบก

เอกสารประกอบการบรรยาย

วชิ าฝ่ ายอานวยการ

เรอื่ ง กจิ การพลเรอื น

แผนกวชิ าฝ่ ายอานวยการ กองการศึกษา

สารบัญ

บทเรยี น หน้า

๑. กรรมวธิ ีแสวงขอ้ ตกลงใจทางทหาร ๑-๒
- การแสวงข้อตกลงใจ ๔ กลุ่มงาน ๓
- กลมุ่ งานท่ี ๑ การวิเคราะห์ภารกิจ ๓
- กลมุ่ งานท่ี ๒ การพัฒนาหนทางปฏิบัติ ๔
- กลุม่ งานที่ ๓ การวิเคราะห์หนทางปฏิบตั ิ ๕
- กลุ่มงานที่ ๔ การตกลงใจและปฏิบตั ิ ๖

- ตัวอย่าง / แบบฟอร์มของแผน และคาส่ัง ๗–๘
๒. แนวทางการบรรยายสรปุ (การแสวงข้อตกลงใจทางทหาร) ๙ – ๑๐
๑๑ – ๑๒
- การบรรยายสรปุ วเิ คราะห์ภารกจิ (ขา่ วสาร) ๑๓
- การบรรยายสรปุ หนทางปฏบิ ัติ ๑๔
- การบรรยายสรุปวเิ คราะหห์ นทางปฏบิ ัติ (วาดภาพการรบ) ๑๕
- แนวทางการบรรยายสรปุ เพื่อตกลงใจเลือกหนทางปฏิบตั ิ ๑๖ – ๑๗
- การบรรยายสรปุ แผน/คาส่งั ๑๘ – ๒๐
๓. สาธิตขั้นตอนการแสวงข้อตกลงใจทางทหาร หนว่ ยระดับกรม / กองพนั ๒๑ – ๒๖
- ตวั อยา่ งการให้ข่าวสารชน้ั ต้นของ ฝอ.ต่างๆ ๒๗ – ๓๐
- การบรรยายสรปุ วิเคราะหภ์ ารกจิ (ข่าวสาร) ของ ฝอ. ๓๑ – ๓๔
๔. คาศัพทท์ ี่ใช้มอบภารกจิ ทางยทุ ธวิธี ๓๕ – ๓๖
๕. อตั ราเรว็ ในการรุกของ กรม และตา่ กว่า ๓๗
๖. แนวทางในการจาลองยุทธ์ ๓๘
๗. ตารางกาหนดคา่ อานาจกาลังรบ ๓๙ – ๔๐
๘. เครอ่ื งหมายทางทหาร ๔๑ – ๖๓
๙. รายงานการตรวจการฝึก สาหรับการปฏิบตั งิ านตามขัน้ ตอนการแสวงขอ้ ตกลงใจ

คำนำ

เอกสารประกอบการศึกษาเรื่อง กิจการพลเรือน เป็นส่วนหนึ่งของวิชาฝ่ายอานวยการ ซึ่ง แผนก
วฝอ.กศ.รร.การบิน ได้นาข้อมูลจากเอกสารการปฏิบัติการกิจการพลเรือน , รส.๔๑ – ๑๐,แนวสอน รร.กร. ,
กร.ทบ.คาสั่ง ทบ. ท่ี ๑๙/๒๕๒๗ ลง ๑๐ มกราคม๒๕๒๗ และแนวสอนของ รร.ร.ศร. นส.๑๐๑ – ๕ เพื่อมา
เป็นแนวสอนให้กับ นทน.ของหลักสูตรชั้นนายพันและหลักสูตรชั้นนายร้อย รร.การบินทหารบก ให้แก่ นทน.
หลกั สูตรชั้นนายร้อย ,ชั้นนายพัน และผู้สนใจเกิดความเข้าใจในเน้ือหา เก่ียวกับหน้าที่ของงานกิจการพลเรือน
แล้วสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ในอนาคต

หากตอ้ งการทราบรายละเอียดเพ่ิมเติม/สงสยั ข้อความใด หรือขาดตกบกพร่องประการใด กรุณาติดต่อ
แผนกวิชาฝ่ายอานวยการ กองการศึกษา โรงเรยี นการบินทหารบก โทร. ๐๓๖ – ๔๘๖๙๒๕ – ๙ ต่อ ๓๙๕๓๓
โดยตรง และขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้ด้วย

--------------------------------------------

พ.อ.ชูชพี บุญโห้
อาจารย์หัวหนา้ แผนกวิชาฝา่ ยอานวยการ

กองการศึกษา โรงเรยี นการบนิ ทหารบก
๒๕ กันยายน ๒๕๖๒



บทที่ ๑

ประวัติ กาํ เนิดกิจการพลเรอื น

๑. กลาวทวั่ ไป
ประวัตกิ จิ การพลเรือนสว นใหญ เปน ประวัติเกยี่ วกับการทาํ สงครามทางบก และวิธกี ารปกครอง

ดนิ แดนของฝา ยทหาร ความสมั พนั ธระหวา งกาํ ลังทหารกับประชาชนพลเรือนในพื้นท่ีใดพื้นทหี่ น่ึง จงึ เกดิ มี
ขน้ึ เสมอ และจะมอี ยตู ลอดไป จนกลายเปนส่งิ จําเปน ทม่ี คี วามสาํ คญั ตอผบู งั คบั บญั ชาและกําลงั พลทคุ น
ในหนว ยทหาร จากความสัมพันธที่เกิดขนึ้ และความขดั แยงตา ง ๆ ทมี่ อี ยหู รอื เกดิ ขึ้นในปจจุบนั ไดท าํ ใหเกดิ
ความจําเปนทจี่ ะตองศึกษา ทาํ ความเขา ใจเพื่อลดหรอื ขจดั ความขัดแยงทมี่ ีอยู และเสรมิ สรางความสมั พนั ธ
อนั ดใี หบ ังเกดิ ข้ึน อยา งสุขมุ รอบคอบ อยางละเอียดและตอ เนือ่ ง

๑.๑ คําวา “กิจการพลเรอื น” แปลมาจากคาํ ในภาษาอังกฤษวา “ CIVIL AFFAIRS AND MILITARY
QOVERMNENT” ซงึ่ เดิมทนี ั้นเมื่อมีพระราชกฤษฏกี าแบงสว นราชการและกําหนดหนาที่ของสวนราชการ
กองทัพบกกองบญั ชาการทหารสงู สดุ กระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๑๓ ใชค าํ วา “กิจการพลเรอื นและการ
ปกครองโดยฝา ยทหาร”

๑.๒ คําวา “กิจการพลเรือน” ของสหรัฐอเมริกา น้ัน ไดก าํ หนดความหมายข้นึ มาใหม ในป ๒๕๑๖
โดยหมายความรวมถงึ ขนั้ ตอนตา ง ๆ ของกจิ กรรมผบู ังคับบัญชา ซึง่ ประกอบดว ยความสมั พันธร ะหวา งกาํ ลงั
ทหารกบั เจาหนา ทีฝ่ า ยพลเรอื น และประชาชนในประเทศหรอื พน้ื ที่ฝายเดียวกนั หรือในประเทศหรือพนื้ ท่ี
ท่ตี กอยใู นการยดึ ครอง เมอ่ื กําลงั ทหารเขาไปตัง้ อยู สาํ หรบั สหรฐั อเมรกิ านนั้ คําวา “กิจการพลเรอื น”
จึงหมายความรวมถึงการปกครองโดยฝา ยทหารดวย ดงั น้ัน ถา พบคาํ วา “กจิ การพลเรือน” กับ กจิ การพลเรือน
และการปกครองโดยฝา ยทหาร” พงึ เขา ใจวา เปนคําทม่ี คี วามหมายเหมอื นกัน แปลมาจากภาษาองั กฤษ CIVIL
AFFAIRS AND MILITARY QOVERNMENT เชนเดยี วกัน
๒. ความหมาย คําวา “กิจการพลเรือน และการปกครองโดยฝายทหาร” ท่ีกองทพั ไทยใชอยนู ้ันสามารถแยก
อธบิ ายความหมายไดด ังน้ี

๒.๑ “กจิ การพลเรอื น” “CIVIL AFFAIRS” หมายถงึ เร่อื งเก่ยี วกบั ความสัมพนั ธระหวางกําลังทหาร
ท่ีต้งั อยใู นประเทศหรือพื้นทฝี่ ายเดียวกนั แหง หนง่ึ กบั เจาหนาทพ่ี ลเรือนและประชาชนของประเทศ หรอื พน้ื ท่ี
แหง นนั้ ซึ่งโดยธรรมดาหมายถึงกจิ กรรมทกี่ ําลังทหารเขา ไปปฏบิ ตั หิ นาท่ี หรอื บรหิ ารงานซ่งึ ตามปกตเิ ปน
หนา ที่ และงานในความรับผิดชอบของเจาหนา ทพี่ ลเรอื นในทอ งทน่ี นั้ ความสัมพนั ธดงั กลา ว อาจเกิดขน้ึ
กอน ในระหวา งหรอื ภายหลงั การปฏบิ ตั ิการทางทหาร ในเวลารบหรอื กรณีฉุกเฉนิ ความสัมพันธเ หลาน้ียอม
อยภู ายใตก รอบของกฎหมาย สนธิสญั ญาหรือขอ ตกลงอนื่ ๆ ทมี่ อี ยตู อ กนั จะโดยตรงหรอื โดยปรยิ ายกต็ าม

๒.๒ “การปกครองโดยฝา ยทหาร ” MILITARY QOVERNMENT” หมายถึงการจัดการปกครอง
ซ่งึ กําลังพลฝา ยยดึ ครองเขา ไปดาํ เนินการใชอ าํ นาจอธิปไตยเหนอื ดนิ แดนทถ่ี ูกยดึ ครอง
๓. กําเนิดกิจการพลเรือนและการปกครองโดยฝา ยทหาร

กิจการพลเรอื นและการปกครองโดยฝา ยทหาร มกี ําเนดิ มาแตโบราณกาล ควบคกู นั มากบั การตอ สู
เปนหมู เหลา เปนเผาพันธุ เปน ชาติ เปน สงครามใหญ กลาวคอื นับต้ังแตม นุษยเ ร่ิมมคี วามสัมพนั ธก ัน คบหา



สมาคม รูจกั ควบคุมกนั ต้งั ถนิ่ ฐาน เปน ชมุ ชนใหญ เปน รัฐ เปนประเทศ ใชกาํ ลงั นกั รบหรือทหารเขา ทําการ
ตอสูเพ่ือปอ งกัน เพือ่ ตานทาน เพือ่ การรกุ รานซึง่ กนั และกนั จะโดยความมงุ หมายเพื่อแยง ยดึ พนื้ ทีท่ าํ กนิ
แยงทรพั ยส นิ หรอื ผลประโยชน หรือเพียงเพอื่ แสดงอาํ นาจก็ตาม หากพน้ื ทป่ี ฏิบัติการกวา งใหญเ กินกวา ที่
ประชาชนพลเมืองและเจา หนาท่ฝี า ยพลเรอื นจะอพยพไปใหพน พนื้ ทท่ี ง้ั หมดได ความสัมพนั ธร ะหวางกาํ ลัง
ทหารกับประชาชนพลเรอื นและเจา หนา ทฝี่ ายพลเรอื นยอ มตอ งเกิดขึน้ น่นั คอื ไดม ีงานกิจการพลเรือนและ
การปกครองโดยฝายทหาร เกดิ ข้นึ แลว งานหรอื ความสมั พนั ธด งั กลา ว อาจไดแ ก การใชแ รงงานพลเรือน
การใชทรัพยากรในทอ งถน่ิ เปนสิ่งอปุ กรณ การปฏบิ ัติตนของกาํ ลงั ทหารอยางมมี นษุ ยธรรมตอประชาชน
พลเรือน การควบคุมดูแล ทะนุบาํ รงุ อาณาประชาราษฎร ใหทํามาหากินมคี วามสมบูรณพนู สุข และต้งั อยู
ในความสงบเปนตน
๔. กิจการพลเรอื นในประวตั ศิ าสตร

ประวตั กิ จิ การพลเรือนในอดตี มีลักษณะเปน ประวตั กิ ารปกครองโดยฝายทหาร นับตัง้ แตเ ริ่มแรกทไ่ี ด
มีการบันทกึ เรอ่ื งราวกจิ การพลเรอื นจนกระทง่ั ถึงปจ จบุ นั การทจี่ ะตดิ ตามศกึ ษาหลกั การปฏิบตั กิ ิจการ
พลเรอื นกจ็ ําเปนตองยอนไปศกึ ษาถงึ การเร่ิมตนของการทาํ สงครามกอน เชน สงครามเร่ิมตนระหวา งชนเผา
นอรแ มนทีส่ รู บกันเพอ่ื แยง ชงิ ทงุ หญาเลี้ยงสตั ว และทาํ เลการประมงฝายมีชยั ไดท ําลายทุกส่ิงทกุ อยา ง ฝายแพ
ทีห่ ลงเหลอื อยจู ะรอดตายถาโชคดี เด็กหนุมและผมู อี ายตุ ามธรรมดาจะถูกฆาตายหมด สตรที ่ีมีสุขภาพดแี ละ
เดก็ จะถกู กวาดตอ นไปโดยฝา ยท่ชี นะ พรอมกับทรัพยส มบตั อิ นั มคี า การปฏิบัติทยี่ งั ปา เถ่ือนอยูเ ชนน้ี ไมม ี
อะไรทต่ี รงกบั หลกั กิจการพลเรือน หรืออีกนยั หนึง่ ในขณะนน้ั ยังไมม ีความจาํ เปน แตอ ยา งใดในการท่ีจะตอ ง
ยอมรบั หลกั การกจิ การพลเรอื น

๔.๑ การปกครองโดยฝา ยทหารในสมัยกอ นโรมัน การปฏบิ ัตกิ ารกจิ การพลเรอื นของกําลงั ทีเ่ ปนฝาย
ชนะในการสรู บ กอ นทจ่ี ะถงึ ยุคแหง ความรงุ เรอื งของอาณาจักรโรมนั น้นั มมี ากดว ยกนั แตจะไมน าํ มากลาว
ณ ทีน่ ีจ้ ะหยบิ ยกจะเฉพาะตวั อยา งทสี่ าํ คญั ของการปกครองโดยฝา ยทหารเทานน้ั ในยคุ น้ีมเี ผา ชนหกเผา ทม่ี ี
ประสบการณจ ากชัยชนะในการรบของตน ไดม สี ว นเปน ตัวอยา งของวธิ ีการบรหิ ารงานดานกจิ การพลเรือน
สมยั ใหม

๔.๑.๑ อารยธรรม ซเู มอรเ รีย ในป ค.ศ.๒๕๕๐ กอนครสิ ตศักราช ชนเผาซเู มอรเรียนในสมยั
ของพระเจาซารก อนท่ี ๑ ไดร บชนะและเขา ยึดครองดนิ แดนตางประเทศในภูมภิ าคทีเ่ รียกวา “เมโสโปเตเมยี ”
ชนเผา ซเู มอรเ รยี เปน ชาตแิ รกทใ่ี ชว ธิ กี ารควบคมุ ดนิ แดนทย่ี ดึ มาไดโดยใชก ารปกครองผานเจา หนา ทีป่ กครอง
ทอ งถน่ิ วธิ กี ารปกครองแบบน้ี ไดม ชี นเผา ตา ง ๆ นาํ ไปใช และเปน วธิ กี ารทีต่ รงกบั หลกั “หลกั ประหยัด
กําลังพล” ทีใ่ ชอ ยูใ นปจ จุบนั

๔.๑.๒ อารยธรรม บาบโิ ลเนยี ภายใน ๗๐๐ ปต อมาชาวซูเมอรเรยี ก็เสียอาํ นาจใหแ กชาว
“บาบโิ ลเนีย” หลงั จากท่ี ฮมั มรู าบี กา วขึน้ มามีอาํ นาจในป ค.ศ.๑๗๕๐ กอ นครสิ ตศักราช ฮมั มูราบี
ไดด าํ เนนิ การสืบตอ การควบคุมทางการเมอื งผา นผูป กครองทอ งถิ่นตอ ไป ฮัมมูราบไี ดริเร่ิมจดั ระบบการ
บริหารรฐั กจิ รวบรวมหลกั ยตุ ิธรรมและจดั ระบบการศาลอยางกวา งขวางทัว่ ดนิ แดนทอี่ ยูภ ายใตก ารควบคมุ
ของบาบโิ ลเนีย ฮัมมูราบไี ดร วบรวม แปล และประมวลหลกั กฎหมายของ ซเู มอรเ รียอยา งขนานใหญ ซึง่ ได



เปน ที่รจู กั กนั ดีในประวตั ิศาสตร คือประมวลกฎหมายของฮัมมรู าบี และไดร บั การยกยองในทกุ วนั นวี้ าเปน
ท่ีมาของกฎหมายสมยั ใหม

๔.๑.๓ อารยธรรมอยี ปิ ต ประมาณ ๑๕๐๐ ป กอ นครสิ ตศักราช ชาวอยี ปิ ตไดล งเรือไปทําการ
สรู บอยา งกวางขวางใน เอเซียไมเนอร อยี ปิ ตไดจ ัดต้งั ผปู กครองทอ งถิ่นข้นึ อีก และใหอ ยูภายใตก ารควบคมุ
ของนายทหารอียปิ ต ไดส ํารวจดนิ แดน จดั เกบ็ ภาษีโดยยึดถอื ตามมลู คาของท่ดี ินไดก าํ หนดขน้ึ และในเวลาที่
เกดิ ทพุ ภกิ ขภยั กไ็ ดจ ดั สง ขาวใหด ินแดนในยึดครองทม่ี คี วามตอ งการวธิ ีการของอยี ปิ ตอาจเรยี กไดว าเปน การ
ปกครองของทหาร โดยมีอํานาจทางการเมอื งอยูเหนอื ผปู กครองทองถิน่ และไมม คี วามพยายามท่จี ะกระจาย
การควบคุม

๔.๑.๔ อารยธรรมอัสซีเรีย ในระหวาง ๑๐๐๐ ปแ รกกอ นคริสตศกั ราช การควบคุมดนิ แดน
พระจันทรค ร่งึ ซีกอนั สมบูรณ ไดต กไปอยกู บั ชาวอสั ซเี รยี ผซู ึ่งไดจดั ต้งั องคก รแรกเกย่ี วกับการปกครอง
ดนิ แดนโดยฝา ยทหาร การควบคุมทางทหารไดแ ผข ยายกวางขวางกวา แตก อน ชาวอสั ซเี รีย เปน ผูพชิ ติ พวก
แรกท่ไี ดจ ดั ดนิ แดนในยึดครองออกเปนแควน และปกครองแควน ตา งๆดวยขาหลวงใหญฝ า ยทหาร

๔.๑.๕ อารยธรรมเปอรเ ซีย ประมาณป ๘๕๐ ป กอ นคริสตศักราช ชาวเปอรเซยี ไดรับเอา
วธิ ีการของอัสซีเรียมาใช และไดป รับปรงุ ระบบใหด ขี น้ึ จัดดนิ แดนในยึดครองออกเปน ๒๐ แควน และไดใ ช
เจาหนาท่ขี องทองถนิ่ ในการบริหารงานทว่ั ไปและการจัดเกบ็ ภาษใี หอ ยใู นความกํากับดูแลของนายทหาร
เปอรเซยี ในรชั สมยั ของกษตั รยิ ค าริอุส เปอรเซียไดส รางระบบถนนอยา งใหญโต เพอ่ื เช่ือมสว นตาง ๆ ของ
อาณาจกั รและไดด าํ รงการบริการดานไปรษณยี อนั กวา งขวางไว

๔.๑.๖ อารยธรรมกรีก กรกี ในรัชสมัยของพระเจาอเลกซานเดอรม หาราช ในศตวรรษท่ี ๔
กอ นครสิ ตศกั ราชไดใ ชว ิธกี ารปกครองโดยฝา ยทหารหลายวิธที ่ียงั คงใชอ ยใู นปจ จุบนั อเลกซานเดอรม หาราช
ยังคงใหม เี จาหนา ทีฝ่ า ยปกครองของทอ งถ่นิ ปฏบิ ัติงานในสาํ นกั งาน เพอื่ ดําเนนิ การบริหารงานดานกิจการ
พลเรอื นเฉพาะเจาหนาที่เหลานร้ี จู ักประเทศและขนบธรรมเนียมประเพณขี องทองถน่ิ สว นตําแหนงสาํ คญั ๆ
เชน เจา หนา ทฝี่ า ยการเงนิ กใ็ หเ จาหนา ทข่ี องกรีก กฎหมายและขนบธรรมเนยี มของทองถน่ิ ก็ไดร บั การ
สงวนไว ทรพั ยส นิ สว นบคุ คลและหนส้ี นิ ทกี่ องทพั กรกี เปนผกู อความเสียหายไวก ไ็ ดร ับการชดใช ซ่ึงการ
กระทาํ ดังกลาวตรงกับหลักการรบั รใู นสทิ ธิซงึ่ กนั และกนั และหลกั ประโยชนของผปู กครอง

๔.๒ การปกครองโดยฝายทหารในสมัยกอ นศตวรรษท่ี ๑๙
๔.๒.๑ ยุคอาณาจกั รโรมนั รงุ เรอื ง การบรหิ ารดนิ แดนในยดึ ครองไดใ ชวิธีการในสมยั กอน

รวมกนั และเปน ประเพณขี องกรงุ โรมทจี่ ะมอบหมายการปกครองดนิ แดนที่เพิง่ ยึดมาไดใหอ ยภู ายใตขา หลวง
ใหญ ฝายทหารเพยี งคนเดียวคือ “สมุหเทศาภิบาล” ตามธรรมดาสมหุ เทศาภบิ าลและคณะเจาหนาทชี่ วยเหลอื
ไปปกครองภารกจิ หลักของสมุหเทศาภบิ าลกค็ อื การฟน ฟู บรู ณะ การจดั ตงั้ และการดาํ รงรกั ษากฎหมาย
ความเปนระเบียบเรียบรอยภายในแควน ของตนดวยวธิ กี ารที่จาํ เปนทงั้ หลาย และยังเปน ธรรมเนยี มของ
กรงุ โรมที่จะรบกวนประเพณี ศาสนา และทีส่ ําคญั กค็ ือชีวิตประจําวนั ของประชาชนในดนิ แดนควบคมุ ให
นอยทส่ี ุดเทาท่ีจะทาํ ได



๔.๒.๒ ยุคอาณาจกั รโรมันเส่อื ม การรุกรานของพวกตวิ ตนั ในศตวรรษท่ี ๔ และ ๕

อาณาจกั รโรมนั ตะวันตกกถ็ กู โคนลง ศลิ ปของการปกครองโดยฝา ยทหารกส็ ้ินสุดลงการกระทาํ ไดหันกลับ

ไปสคู วามโหดรา ยปา เถ่อื นเหมือนสมยั กอน ไมม กี ารใหท พ่ี กั แกท หารและประชาชนพลเรือนการบรหิ าร

ดนิ แดนใยยดึ ครองมีความหมายนอย เพราะวาการทาํ สงครามกระทําเพอื่ ปลน และการทาํ ลานมากกวาเหตุผล

อยางอ่นื หลกั กิจการพลเรอื นทไ่ี ดรบั การพัฒนามาเปนเวลานานไดห ายสาบสูญไป เน่ืองจากผลของการ

รกุ รานของพวกอนารยะชน ซง่ึ ไดท ําลายลางยโุ รปตะวนั ตก ตะวนั ออกกลางและแอฟริกามาจนถงึ ศตวรรษ

ที่ ๑๓

๔.๓.๓ ยุคอัศวนิ หลังจากการรุกรานของพวกตวิ ตนั ในศวรรษที่ ๔ และ ๕ ไดบ รรเทาลง

โลกครสิ เตียนของยโุ รปก็ไดก า วเขาสูยุคอศั วิน ซ่งึ เปนยคุ ทต่ี อ งแสดงความเมตตา กรณุ าและความเปน

สภุ าพบรุ ษุ ตอ ผแู พ หรอื พลเรอื นที่เปน ศตั รู หลกั กจิ การพลเรอื นมากมายทีช่ นในสมยั กอนความเส่ือมโทรม
ของอาณาจักรโรมนั กไ็ ดปรากฎข้นึ มาอกี อยางเชอ่ื งชา และระหวางยุคนกี้ ไ็ ดม กี ารใชท หารรบั จางเพมิ่ มากข้ึน

ทหารรับจา งเหลา น้ี ทําการรบเพ่ือเงนิ และมักปลอยใหชุมชนพลเรอื นอยตู ามลําพัง แมกระนนั้ กไ็ ดแ สดง
ใหเหน็ วา ยงั เปน ผูร ับจาง ทีย่ งั มคี วามหวัง

๔.๓.๔ ยคุ สงครามปฏริ ูปและสงครามศาสนา พวกครูเสดในฐานะทีเ่ ปนผูส นบั สนุนโลก
ครสิ เตียนตอ ตา นอสิ ลาม จะเปน ประชากรในเมืองใดกต็ ามที่ตนยดึ อยู รวมท้งั เยรูซาเลม พวกจะยดึ ครองโดย
จัดตั้งคา ยทหารขน้ึ ท่มี ุมหน่ึงของเมอื ง และกํากบั ดแู ลเจาหนาท่ีของทอ งถน่ิ ซง่ึ ยงั คงดาํ เนินการปกครองตอไป

เชน เดยี วกับทกี่ ระทํากอนการยึดครอง พวกครูเสดไมพ ยายามปฏริ ูปอดุ มการณ เคารพประเพณขี องทองถิ่น
พวกมสุ ลมิ ไดร บั อนุญาตใหส าบานตนตอ คัมภรี อ ลั กรอุ าน พวกยิวตอ คมั ภีรโ คราห และพวกอารเ มเนียม

พวกซีเรียและพวกกรกี ตอ ไมกางเขน ส่งิ ท่ีไดจ ากการพัฒนาหลักกจิ การพลเรอื นข้ึนมาใหมใ นยคุ อัศวนิ กไ็ ด

สูญเสยี ไปอกี ในศตวรรษที่ ๑๖ และ ๑๗ ซง่ึ เปนยุคของการโหดรา ยทส่ี ุดเทาทีม่ นุษยทําสงครามกันเปนเวลา

กวา ชว่ั อายุคน ทีก่ องทพั เคลื่อนท่หี ลับไปกลับมาระหวางยุโรปกลาง บานเรอื นถกู ทาํ ลาย ธัญญพืชถกู เผาและ

ถูกยดึ ซาํ้ แลว ซาํ้ เลา และเกดิ โรคระบาดอยางกวางขวาง กฎหมายและประเพณีทมี่ ีอยถู กู พชิ ิตทาํ ลาย ทร่ี า ย

ยงิ่ กวา น้นั คอื สงครามศาสนา ศาสนาของผูช นะไดถ กู หยบิ ยน่ื ใหแ กป ระชาชนดว ยปลายดาบ ยุคนห้ี ลักกจิ การ

พลเรือนไดกลบั ไปสสู ภาพเดิมอกี หลงั สงครามคล่ืนของความรูส กึ ขยะแขยงสงคราม ซึ่งนําโดยปญ ญาชน

นกั กฎหมายและผนู าํ ทางศาสนาเปน จํานวนมาก ไดบ ีบบังคับใหม ีการปฏบิ ัตอิ ยางมีมนุษยธรรมตอผูไ ม

เกย่ี วของกับการสูร บมีนกั เขยี นทส่ี าํ คญั ยิง่ ในยุคนคี้ อื ฮวิ โก โกรตอิ สุ ซงึ่ เปนรฐั บรุ ษุ ชาวดชั ท และเอนวิช

วตั เตล นกั กฎหมายชาวสวสิ ต ทัง้ สองไดส นับสนนุ ใหเ หน็ ความจาํ เปน ในการปฏิบตั อิ ยา งมมี นษุ ยธรรมตอ

พลเรอื นและผบู ริสทุ ธ์ิที่ไมเก่ียวของกับการรบในสงคราม จากผลงานเขียนของนักเขียนทง้ั สองคนนี้

ปญญาชนและรัฐบรุ ุษทีม่ อี ิทธพิ ลอ่นื ๆ ทําใหการทาํ สงครามไดเ ปลี่ยนไปถงึ ขดี ทีย่ ุคน้เี รยี กวา “ยคุ คลาสคิ ของ

การทําสงคราม” บา นเมืองไมถูกทําลาย สิทธพิ ลเรือนและผูท ่ีไมเกย่ี วขอ งกับการรบไมถ กู ละเมดิ และกองทพั

คูตอ สไู ดปฏิบตั ติ ามนโยบายแหง มนษุ ยธรรมมากยงิ่ ข้นึ

๔.๓ การปกครองโดยฝายทหารของสหรฐั ตงั้ แตป  ค.ศ.๑๗๙๕ – ๑๙๕๓



๔.๓.๑ ในคานาดา ประสบการณข องสหรฐั ฯ ในดา นกจิ การพลเรือนเร่ิมพรอ มกบั กําเนดิ
ของชาติในระหวางทําสงครามปฏิวัตใิ นป ค.ศ.๑๗๗๕ เมอื่ กองทพั สหรฐั ฯ ไดเขายดึ ครองดินแดนสว นหนึ่ง
ของคานาดาคอื มอลทรลี การยดึ ครองไมไ ดเ ปน ผลมาจากชยั ชนะ แตคอ นขา งเปนผลมาจากการตกอยูใน
ฐานะเชน เดยี วกัน ระหวางชาวคานาดาทข่ี อรอ งใหมาสนับสนุนกบั อาณานิคมอเมรกิ นั ทีก่ ําลงั มีขอ พิพาทกบั
องั กฤษ การกระทบกระทั่งกันระหวางทหารสหรัฐกบั ชาวมอลทรีล เปนผลใหก องทพั อเมริกนั ไมป ระสพ
ความสาํ เร็จในการกิจทางทางเมือง เพราะผบู ังคบั บญั ชาไมค วบคุมทหารของตน และประสพความลมเหลว
ท่ีจะรสู กึ และอารมณอ อนไหวของประชาชนพลเรอื นผลสุดทา ยก็คอื ชาวคานาดาไดเขารวมการสรู บดวย แต
ในฐานะพนั ธมิตรของอังกฤษไมใ ชใ นฐานะอาณานิคมที่ ๑๔

๔.๓.๒ ในเมกซโิ ก ประสบการณสาํ คญั ดา นกิจการพลเรือนครงั้ ที่สอง กองทัพสหรัฐ ฯ
ไดเ กดิ ขึ้นประมาณ ๗๐ ป หลงั จากความลม เหลวในคานาดา คอื ระหวางสงครามเมกซิโก ป ค.ศ. ๑๘๔๖ –
๑๘๔๗ สงครามกับเมกซิโกเกดิ จากการผนวกเทก็ ซัสเขากบั สหรัฐ เมือ่ ๑ มนี าคม ค.ศ.๑๘๔๕ รฐั บาล
เมกซิโกไดประทว งสหรฐั ฯโดยถือวาการผนวกดนิ แดนเทกซัสเทากับเปน การทําสงครามไดตัดความสมั พันธ
ทางการทูตทันที การเปดฉากเปนศตั รูของทงั้ สองประเทศไดเร่ิมตน ในเดอื นเมษายน ค.ศ.๑๘๔๖ และสหรัฐ ฯ
ไดป ระกาศสงครามเมือ่ ๑๓ พฤษภาคม ปเ ดียวกัน กองทพั สหรฐั ฯ ไดป ฏิบัตติ อ ชาวเมกซโิ กเปน อยา งดี จงึ ทาํ
ใหไดร บั การตอ นรับอยางดี เพราะประชาชนทที ศั นคตทิ ีด่ ตี อ สหรัฐ ฯ และประชาชนทางเหนอื ของเมกซิโก
ขณะนน้ั ก็ไมส นบั สนนุ รฐั บาลเมกซโิ ก กองทพั สหรัฐ ฯ ไดใ หส ัญญาวา จะปอ งกนั ชวี ติ และทรพั ยสนิ ของ
ประชาชน และจะเคารพการนับถือศาสนา ประเพณี มกี ารแตงตง้ั ขา หลวงแตละเมอื ง รวมทงั้ การบังคบั ให
เปนไปตามกฎหมายของทอ งถิ่น ตลอดจนการตอบแทนตอ สงิ่ อุปกรณท่ีสหรัฐ ฯ ไดนําเอามาใชดวยราคา
ยุตธิ รรม แตท หารของสหรฐั ฯ เปน ทหารอาสาสมคั รเสียเปน สว นมาก เปน ผไู มมวี นิ ยั และมีจํานวนมากชอบ
แสวงหาความตื่นเตน และการแกแคนของชาวเทกซัส ทหารเหลานั้นไดกอคดีขม ขนื โจรกรรมและ
ฆาตรกรรมตอ พลเรือนเมกซกิ ันพฤติการณข องทหารอเมรกิ ันไดท ําลายทัศนคตทิ ่ีดี หรอื เปน กลางของ
พลเมอื งเมกซิกนั ทมี่ ีตอกองทพั สหรัฐ ฯ ลง

๔.๓.๓ ในสงครามกลางเมือง ป ค.ศ.๑๘๖๑ – ๑๘๖๕ สงครามกลางเมืองใน
สหรฐั ฯ เกิดปญ หาความขดั แยง กนั ในเรือ่ งวธิ กี ารปกครอง ปญ หาท่เี กดิ ขน้ึ บางทีก็ตดั สนิ ไมไ ดว าเปนของชาว
อเมรกิ นั เปนสว นรวมหรอื เปน ของชาวอเมรกิ นั ในรฐั ใดรฐั หน่ึง ปญหาที่มคี วามขดั แยงกนั อยางมากก็คอื เรื่อง
การใชทาส แมร ฐั ธรรมนูญของสหรฐั ฯ จะไดบ ญั ญตั ิไวว า การมที าสน้นั ไมข ดั กับกฎหมาย เรือ่ งทาสเปน
ปญ หาของแตล ะรฐั ไมไชข องสหรฐั ฯ แตพ วกรัฐฝา ยเหนอื มคี วามเหน็ วาการเอาคนมาใชเปนทาสเปน การขัด
ตอ หลักมนษุ ยธรรม จึงพยายามใหมกี ารเลกิ ทาส เมื่ออบั บราฮมั ลนิ คอลน ไดรบั เลือกเปนประธานาธิบดีคนที่
๑๖ ของสหรฐั ฯ โดยมี พรรครปี บลิกันสนบั สนนุ พรรคน้ีมนี โยบายที่จะเลกิ ทาสและขน้ึ อัตราศูลกากรเพื่อ
คมุ ครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ นโยบายเชน น้ี ทําใหร ฐั ตา ง ๆ ของฝายใตแ ยกตวั ออกจากสหรัฐ ฯ แลว
รวมตัวกนั ต้งั เปนประเทศขนึ้ ใหม เรยี กวา “ สมาพันธร ฐั อเมริกนั ” ในป ค.ศ.๑๘๖๑ หลังจาก ลินคอลน ไดเ ขา
รับตาํ แหนง กไ็ ดเ รยี กประชมุ รัฐสภา เก่ียวกบั การทรี่ ัฐตางๆ ทางภาคใตแ ยกตัวออกจากสหรัฐ ฯ และรัฐสภา
มีมติวา รัฐธรรมนญู ของสหรฐั ฯ ไมมบี ทบญั ญัติ อนญุ าตใหร ัฐทง้ั หลายแยกตัวออกจากสหรัฐ ฯ จึงถอื วารฐั



ท่ีแยกตัวออกไปน้ันเปน กบฏ จําเปนตอ งปราบปราม เม่อื เจรจากนั ไมไ ด การสูรบจึงเกดิ ขนึ้ ในตน ป ค.ศ.
๑๘๖๑

ในระหวางสงครามกลางเมอื ง สหรฐั ฯ มไิ ดน ําเอาบทเรยี นจากสงครามเมกซิกนั มาใชหรือ
กําหนดเปน หลกั เกณฑการปฏบิ ัติ ผลท่ีสุดสง่ิ ท่ผี ูนาํ ของกองทัพฝายเหนือและฝายใตประสพก็คอื การขาดการ
ปฏิบัติทเ่ี ปนแบบเดยี วกัน จงึ ประสพกบั ความยงุ เหยงิ ในการปฏบิ ัตกิ ารปกครองโดยฝา ยทหาร และการ
ปฏบิ ตั ิการกจิ การพลเรอื น

ตัวอยางการปกครองโดยฝายทหารในสงครามกลางเมืองทีส่ มควรจะกลาวคือ การปฏิบตั ิการ
ในเทนเนสซี และในหลยุ ส ซอิ านา การปกครองโดยฝา ยทหารเรม่ิ ตน ในเทนเนสซ่ี ใน ๔ มีนาคม ค.ศ.๑๘๖๒
วฒุ ิสมาชกิ แอนดรู จอหน สนั ซ่ึงเปน นายพลแหง กองทหารอาสาสมัคร ไดร ับการแตง ตัง้ ใหเปน ขา หลวงใหญ
ฝา ยทหารแหง เทนเนสซ่ี ถงึ หนา ทห่ี ลกั คือ การรกั ษาความสงบเรียบรอ ย แตจอหนสนั ก็ถือวา หนา ทที่ ม่ี ี
ความสาํ คัญเทาเทียมกนั คอื การนําเทนเนสซกี่ ลับเขา สูสมาพนั ธจ อหน สนั ไดออกประกาศจดั ตัง้ การปกครอง
โดยฝา ยทหารในเทนเนสซี่ จากเมือง แนชวลิ ส ไดสัญญาวาจะคมุ ครองประชาชน ใหเ กียรติแกผทู ีจ่ งรักภกั ดี
ตอรฐั บาลกลาง ไมม ีนโยบายแกแ คน ผทู ี่หลงผดิ และถกู ชกั นาํ ไปในทางท่ีผดิ และไดสญั ญาวา จะนิรโทษกรรม
ตอประชาชนทเ่ี คยเปนศตั รตู อรัฐบาลกลางเม่ือยนิ ยอมทจ่ี ะกลบั ตวั เปนพลเมอื งดี และในเดือนธันวาคม ป ค.ศ.
๑๘๖๒ เมอื่ กองทพั ฝายใตย อนกลับมาเทนเนสซีแ่ ละแนชวลิ สถ กู ลอ ม จอหนสนั กไ็ ดร ับความรวมมอื จาก
ประชาชนสว นมากในการปอ งกันเมอื ง หลังจากไดชยั ชนะกองทพั ฝายใตแ ลว จอหน สัน ก็ไดม สี วนทําการ
สรู บมากขึ้นท่วั เทนเนสซี่ในระหวา ง ค.ศ.๑๘๖๓ จอหน สนั ไดมีนโยบายไมรนุ แรงเกยี่ วกบั ทรพั ยส ินสมบตั ิ
ของฝายใตคงดาํ เนนิ การปกครองโดยฝา ยทหาร ตามปกติ มกี ารประเมินและเก็บภาษจี ายเงนิ ทนุ หนาที่
ทางการปกครองตางๆ ทําโครงการสาธารณปู โภคใหสมบรู ณ และพยายามรักษาเสถยี รภาพทางการเศรษฐกิจ
และการปกครองในสมยั ทีม่ กี ารเลอื กตัง้ ในป ค.ศ.๑๘๖๔ จอหน สนั กไ็ ดน าํ เทนเนสซ่กี ลบั เขา มาอยกู ับ
สหรฐั ฯ

อีกตวั อยา งหนงึ่ ของการปกครองโดยฝา ยทหาร ในนิวสอ อรลีนหลยุ ส ซิอานา เรม่ิ ตน เม่ือ
๑ พฤษภาคม ค.ศ.๑๘๖๒ พล.ต.เบนจามิน เอฟบลดั เลอร ไดเ ขา สเู มอื ง นวิ สออรลีนในฐานะผูนาํ กองทัพ
ฝายรัฐบาล บัดเลอรไดใ ชอํานาจในทางท่ผี ิด มุงแตใชอาํ นาจในทางรกั ษาความสงบเรยี บรอยเทานนั้ และได
กระทาํ ตวั เปนปฏิปกษกับประชาชน และเรมิ่ ประพฤตติ นฉอราษฏรบ ังหลวงและคอรัปช่ันบัดเลอรไดใช
อาํ นาจตัดสินคดีอาญา และในคดพี ลเรือนไมเกยี่ วกับปญ หาการเมอื งศาลทกุ แหง จะไดร บั อนญุ าตใหม อี าํ นาจ
ตดั สนิ คดที างพบเรอื นเหน็ วาไมมคี วามสาํ คัญ บดั เลอรไ ดจ ําคกุ พวกพระ และหา มประกอบศาสนกิจทเ่ี ขา
เห็นวา ไมจงรกั ภักดตี อ สหรฐั ฯ ขาราชการนวิ สออรล ีนจะทําการประทวงทนั ทที ่ถี กู จับขงั และถกู สบั เปล่ียน
ดวยคนของสมาพันธใ นเดอื น ธันวาคม ค.ศ.๑๘๖๒ สหรัฐ ฯ ก็ใหน ายพล แบงค มาผลดั เปล่ยี นนายพลผนู ี้
ไดใชนโยบาย มนุษยธรรม จึงทาํ ใหไ ดรบั ความนิยมจากประชาชนมากขึน้

ประสบการณด านกจิ การพลเรือน และการปกครองโดยฝา ยทหารระหวา งและหลงั สงคราม
กลางเมอื งแสดงใหเ หน็ วาสงครามกลางเมอื งภายในประเทศมีความละเอียดออนกวา สงครามกลางเมอื ง



ระหวางรัฐชาติที่แยกจากกนั สงครามกลางเมอื งแบง แยกครอบครัวและอารมณเ ครยี ด มขี อบเขตกวา งขวาง
กวา ความขดั แยง ระหวา งประเทศ

๔.๓.๔ ในควิ บา ค.ศ.๑๘๙๘ สหรัฐ ฯ ทําสงครามเพ่ือปลดปลอยตอมาจากการครอง
ของสเปญนายพลเซฟเตอร ผบู ังคบั บญั ชากองทพั สหรัฐ ฯ ตองเผชิญกับปญหามากมาย การทาํ สงครามคร้ังนี้
ไมไดมองกาลไกลและวางแผนลวงหนา จึงทําใหเ กดิ ปญหาดานกจิ การพลเรือนขึ้นในควิ บาอยางมากมาย
สหรฐั ฯ ไมไ ดเ ตรียมพรอมที่จะทาํ สงคราม และโดยไมม ตี วั อยา งมากอ นเกยี่ วกับการใชแ รงงานทอ งถน่ิ
นายพลแซฟเตอรจ ะตองเลี้ยงดพู ลเรือนทีอ่ ดอยากเปน จาํ นวนหลายพนั คนในเขตหนา ตอ งจดั กําลังรบของตน
ออกเปน หนวยยอ ย ๆ ผูลภี้ ัยเปน จาํ นวนมากที่ไดรบั การบรรเทาทกุ ขมกั จะชอบทํางานในกองกําลงั แรงงาน
เนอื่ งจากขาดกําลงั ในการปกครองทส่ี ามารถ กองทพั สหรฐั ฯ จึงไดป กครองควิ บาอยูเปน เวลานาน หลงั จาก
สน้ิ สดุ การเปน ศัตรไู ดจดั ตงั้ รฐั บาลหนุ เพอ่ื ลดความเครยี ดทางการเมอื งและการสงั คม อันเกดิ จากการถอนตัว
ของเจาหนาทป่ี กครองของสเปญ กองทพั สหรฐั ฯ ไดจ ัดการปกครองโดยฝายทหารเปนพลเรอื น โดยใช
พลเรือนของสหรัฐ ฯ ที่ทรงคณุ วฒุ ิโดยการฝก และการมอบตาํ แหนงทตี่ องรบั ผดิ ชอบใหแ กผ นู ําของการ
ปกครองทอ งถิน่ ซ่งึ ไดพสิ ูจนแ ลววา ไวใจได

๔.๓.๕ ในฟลปิ ปนส การกบฏในฟลปิ ปนสไ ดใหบ ทเรยี นเกยี่ วกบั นโยบายและการบริหาร
ดา นกจิ การพลเรือนมากมาย นบั เปนความลมเหลวของประธานาธิบดแี ละรัฐมนตรกี ระทรวงการตา งประเทศ
ทไี่ มกําหนดแนวนโยบายทางการเมอื งใหก องทัพบก ทพั เรือ และเจาหนาทีฝ่ า ยตางประเทศอยา งพอเพยี ง
จึงทาํ ใหผ ูบังคบั บญั ชาทหารในพื้นที่ตอ งตกใจทางการเมอื งดวยตนเอง ซึง่ ตอ มาหลายคนไดถ กู ทางวอชงิ ตัน
เรยี กตวั กลับ การผิดพลาดในระดับสูงไดทําใหผูบงั คับบัญชาทหารในสนามเปนจาํ นวนมากตกอยูในฐานะ
ลําบากใจอยางยง่ิ และดว ยเหตผุ ลนีเ้ อง ทําใหผกู อ การรา ยในฟล ปิ ปน สก อการกบฏตอตานสหรัฐ ฯ
เปนเวลานานและทาํ ใหส้ินเปลอื งคาใชจายเปนจาํ นวนมาก

๔.๓.๖ ในญป่ี นุ สหรฐั ฯ ยอมใหญ ่ีปุน ปกครองตนเอง ท้ังในระดับทอ งถิ่นและในระดับชาติ
หนว ยปกครองฝายทหารอยใู นบังคับบัญชาของนายพลแมค อารเธอร สหรฐั ฯ ไดถ อนเจา หนา ท่ี ทีส่ งสยั วาจะ
เปนอาชญากรสงครามออกจากตาํ แหนง แตก็ไดพยายามดาํ เนินการตามหลกั การประหยัดกาํ ลัง และไดก ํากับ
กิจกรรมตาง ๆ ของญี่ปนุ สหรัฐ ฯ ไดฝ ก ใหมีระบบการปกครองแบบเสรนี ยิ มมากขน้ึ และไดช ดั นําบางสง่ิ
บางอยา งตามแนวความคดิ แบบประชาธิปไตย การใหชาวญป่ี นุ ปกครองกันเองจงึ เปนเหตผุ ลหลักประการ
หน่งึ ทท่ี ําใหการปกครองโดยฝายทหารประสพความสาํ เร็จ
๕. การปกครองโดยฝายทหาร

๕.๑ การปกครองโดยฝา ยทหาร เปน การปกครองแบบหนึ่งซงึ่ ประเทศที่เขา ไปยึดครองนน้ั มีอํานาจ
บริหารนิติบญั ญตั ิ และอํานาจตุลาการ เหนือดินแดนทถ่ี กู ยึดครอง การปกครองโดยฝา ยทหารนี้ จดั ต้ังขึ้นเพอื่
ดาํ รงและรักษาไวซ งึ่ เรอ่ื งตา งๆ เกี่ยวกบั

๕.๑.๑ ดินแดนของขาศึกทถี่ กู ยึดครอง
๕.๑.๒ ดนิ แดนของประเทศพนั ธมิตร หรอื ประเทศอน่ื ๆ ท่ไี ดก ลบั คนื มาจากขาศึก (รวมทัง้
ดนิ แดนของประเทศเปนกลาง และดนิ แดนท่ขี า ศกึ ยดึ เอาไปรวมกบั ดนิ แดนของตนโดยไมถ ูกตอ งตาม



กฎหมาย) จนกวาหรือจนกระทัง่ ดินแดนเหลา นถี้ ูกบังคับใหเ ปนไปตามขอตกลงทางดานกจิ การพลเรอื น หรอื
อาํ นาจหนา ทีอ่ นั ชอบธรรมน้นั จะสามารถเขา กุมอาํ นาจตอ ไป

๕.๒ ฝายยดึ ครองยอ มมอี ํานาจสงู สดุ เหนอื ประชาชนและดนิ แดนทถี่ กู ยึดครอง ภายใตขอ จาํ กัดแหง
กฎหมายระหวา งประเทศนน้ั ฝายยดึ ครองอาจเขารับหนา ทีท่ างการปกครองเสียเองโดยไมมเี จา หนา ท่ีของ
ทอ งถ่ินเขามาเกยี่ วของดวย ความรนุ แรงของขอบเขตแหง การควบคมุ ยอ มจะผนั แปรไปตามนโยบายและ
เหตุการณแ วดลอม การดาํ เนินงานทางดา นการปกครองบางอยางของเจา หนาที่รัฐบาลชุดกอ น ๆ นัน้ มัก
ไมตรงกบั การดําเนนิ งานในเมอ่ื มีการยึดครองทางทหาร ซงึ่ จะเปนอยา งน้เี ร่ือยไป จนกวา ฝายยดึ ครองจะดาํ รง
ไวซงึ่ อาํ นาจและความมงุ หมายทจี่ ะมอี าํ นาจสูงสุดเหนือดนิ แดนนน้ั ไวไ ด กลาวอีกนยั หนง่ึ มติของการประชุม
ตกลงระวางฝายยดึ ครองกบั รฐั บาลทองถนิ่ เกย่ี วกบั อาํ นาจหนาทขี่ องแตละฝายปฏบิ ัติอยูน้นั ใชวา จะทาํ ให
การปกครองโดยฝายทหารในดินแดนนน้ั สน้ิ สดุ ลงไปกห็ าไม

๕.๓ การปกครองโดยฝายทหารยอมขึน้ อยกู ับความชาํ นาญและการฝกสอน ซ่งึ ไมจ ําเปนจะตองถือ
วา เปน การปฏิบตั ิสว นหนึง่ ของฝายทหารเสมอไป ปญหาทเี่ กดิ ข้ึนยอมไมเ หมอื นกับปญ หาทางทหารท่ี
ประสพอยูในยุทธศาสตรข องการสงคราม หรอื ในยทุ ธวธิ ขี องการสรู บ แตถ ึงกระนน้ั ก็ตามยอ มเปน ท่ี
ประจักษแจง ถงึ ความรับผิดชอบทางทหารในลกั ษณะทว่ี า เม่อื ผูบังคบั หนวยยดึ ครองดินแดนไวแ ลว จะตอ ง
ถือสิทธิในการควบคมุ ทางดา นการปกครองประชาชนพลเรือนไดด ว ย อยา งนอ ยทสี่ ดุ ในขน้ั แรกของการยึด
ครองน้นั ตนกจ็ ะตอ งดาํ เนนิ งานไปตามพนั ธะทม่ี ตี อทหารของตนตอ ไป แตห นาทที่ างทหารเหลา น้นั จะตอง
ไมเปนหนาทท่ี างการสูรบ เขาจะตอ งไดร บั การปกครองตามลกั ษณะเชน เดมิ ท้งั ฐานะทางการเมอื งและการ
เศรษฐกจิ เพียงอํานาจหนา ทอี่ ยา งเดยี วเทานน้ั ท่จี ะตอ งเปน ของทหารอยูตอไป

๕.๔ การกระทําดังกลาวมไิ ดห มายความวา การปกครองโดยฝายทหารนน้ั เปน การปฏิบัตทิ ีป่ ราศจาก
ความรบั ผิดชอบทางดา นกฎหมาย ผบู ังคับหนว ยทที่ ําหนาทเ่ี ปน ผูวาการฝายทหาร ยอ มจะไดร ับอนุญาตใหม ี
อํานาจอยางกวา งขวาง แตในขณะเดยี วกนั กค็ วรจะมีความผพู นั อยา งใกลชิดอยกู ฎหมายระหวางประเทศ และ
จาํ เปนทใี่ ชอยภู ายในประเทศของตนดวยการดําเนนิ การตามอาํ นาจของตนจาํ ตองมที ป่ี รึกษา และผูให
คําแนะนาํ ท่มี คี วามเชีย่ วชาญทางดา นกฎหมายประจาํ อยูด วย

๕.๕ หลักการเบือ้ งตน เกย่ี วกับการจัดต้ังการปกครองโดยฝายทหาร มอี ยหู ลายประการดว ยกัน
หลักการทสี่ าํ คัญ ๆ ไดแก

๕.๕.๑ กฎหมายระหวางประเทศจาํ เปน ตอ งมขี ึ้นไว เพอ่ื ใหการปกครองดินแดนทถ่ี ูก
ยึดครองน้ันเปน ไปดว ยความเรยี บรอ ย

๕.๕.๒ ไมมปี ระเทศใดทคี่ าดวา ตนเองจะไดรับชยั ชนะขน้ั สดุ ทา ยจากสงครามสมยั ใหมโดย
ปราศจากการพิจารณากจิ กรรมในอนาคต และการทําความคุน เคยกับประชาชนและรฐั บาลพลเรอื นของขาศกึ

๕.๕.๓ การจดั การปกครองโดยฝายทหารน้ี จะตองมกี ารวางแผนขึ้นไวเ รยี บรอยแลว ซึง่ ไม
สามารถที่จะจัดตั้งขึ้นโดยทนั ทีทันควนั ได

๕.๕.๔ เพือ่ ใหก ารปฏิบัติงานไดบ งั เกดิ ผลดี การปกครองโดยฝายทหารจะตองเปนเสมอื น
หนงึ่ ท้งั เครือ่ งมือและผกู าํ หนดนโยบายตา งประเทศ ในเมื่อแนวทางในการปฏิบัตยิ ังมไิ ดม กี ารจดั ทาํ ข้นึ ไว



๕.๕.๕ การปกครองโดยฝา ยทหาร ไมใ ชเ ปนระบบการปกครองท่ีถาวรและนบั ต้ังแตแผน

เร่มิ แรกนน้ั จะตองจดั เตรยี มการทจ่ี ะโอนอาํ นาจน้นั ใหแ กเจาหนา ทีฝ่ า ยพลเรือนดว ย

๕.๖ เหตุผลในการจัดใหม ีการปกครองโดยฝายทหาร โดยธรรมดาแลวการสนบั สนุนดานการ

ปกครองโดยฝา ยทหารทเ่ี กย่ี วกับแผนการปฏิบตั ิการของชาตใิ นดนิ แดนที่ถูกยึดครอง นบั วาเปน ภารกจิ ของ

หนวยกาํ ลงั ภาคพื้นดนิ เพราะวา มีขีดความสามารถเปน พเิ ศษในการควบคุมพนื้ ทใี่ นดินแดนของขา ศึก

ตลอดจนประชากรภายในพนื้ ท่นี ัน้ ดว ย และสามารถบงั คบั ใหม ีขอ กาํ หนดตาง ๆ ในการยอมจํานนภายหลงั

ท่ไี ดชัยชนะอยา งเดจ็ ขาดแลว ตามประวตั ศิ าสตร (นโยบายทางทหารของสหรฐั ฯ) ไดกําหนดใหก ารปกครอง

โดยฝายทหารอยมู นความรบั ผดิ ชอบของกองทัพบก กองทพั บกจะไดร ับมอบหมายใหเขาปฏบิ ัตงิ านแทน

เจาหนาทพ่ี ลเรือนในดนิ แดนทต่ี นเอาชนะมาแลว หรือยดึ ครองไวไดแ ลว โดยใหกฎขอ บงั คบั ทางทหาร
ไปจนกวา เจา หนาท่ฝี า ยพลเรือน จะไดรับการแตง ต้ังขึ้นมาใหมโดยสนธิสัญญา หรอื ไดร ับการสถาปนาข้นึ มา
โดยไดรบั ความเหน็ ชอบจากสหรฐั ฯ หรอื ไมก็เปนดินแดนทตี่ นไมส ามารถเขาดําเนนิ การโดยถูกตอ งตาม
กฎหมาย

๕.๗ ความรบั ผดิ ชอบและอํานาจหนา ทขี่ องผวู า การฝายทหาร ผูวา การฝายทหารยอ มไดแ ก

ผบู งั คบั บัญชาของทหาร หรอื บคุ คลอ่ืนผูไ ดรบั การแตงต้งั ข้ึนมาซง่ึ มอี ํานาจสูงสดุ เหนือประชาชนพลเรอื น

ในดนิ แดนที่ถกู ยดึ ครองในการบงั คับใหปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย และประเพณีของการสงครามและคาํ ช้ีแจงที่

ไดร บั จากรฐั บาลของตน หรอื จากผบู งั คบั บญั ชาช้นั เหนอื

๕.๘ ดนิ แดนท่ถี กู ยึดครอง คอื ดนิ แดนท่อี ยภู ายใตอาํ นาจและการควบคุมอยางเปน ผลของกองทัพบก
หน่ึง ๆ ดนิ แดนท่จี ะเรยี กไดว าเปน ดินแดนท่ีถูกยดึ ครองไดนน้ั กต็ อเมอ่ื กองทพั ไดครอบครองดินแดนดังกลา ว
ไวไ ดอ ยา งมนั่ คง โดยมคี วามมุง หมายทจ่ี ะยดึ ดนิ แดนนน้ั เอาไว จํานวนของหนว ยทหารทีจ่ าํ เปนตอ การรักษา

อํานาจของผยู ดึ ครองนน้ั ยอมขึ้นอยูก ับความหนาแนนของประชากร ความหนกั เบาของการอยภู ายใตอ าํ นาจ

การยดึ ครอง ลักษณะทางภมู ิอากาศ ภมู ปิ ระเทศ และขอ พิจารณาอน่ื ๆ ที่คลา ยคลงึ กันนี้ ซ่งึ ไมม คี วามจาํ เปน

ท่ีจะตอ งสงหนว ยทหารไปประจาํ อยใู นดนิ แดนท่ีถูกยดึ ครองทกุ ๆ แหงเสมอไป ภายในหว งระยะเวลาหนง่ึ

กองทัพยดึ ครองสามารถทจ่ี ะสงหนว ยแยกทมี่ อี ํานาจหนาทีข่ องฝา ยยดึ ครองไปใหป ฏบิ ตั ิงานในพ้ืนท่ีใดพืน้ ท่ี

หนง่ึ ซ่ึงนบั วาเปน การเพยี งพอแลว เพยี งแตป ระกาศใหท ราบวา พื้นทโ่ี ดยเฉพาะเจาะจงแหง หนึ่งตกอยภู ายใต

การยึดครอง (เรยี กวา การยดึ ครองบนแผน กระดาษ) นั้น ยอมยงั ไมเปนการเพยี งพอทจี่ ะจดั ต้ังการยดึ ครอง

ขึ้นมาได แตอ ยา งไรก็ตามความจรงิ ปรากฎวาการยึดครองทเี่ ปน ผลนั้น จะตอ งมีการประกาศใหทราบ

โดยทัว่ ไป ในทํานองเดยี วกนั ฝา ยยึดครองท่ีเปนผลน้นั จะตองมีการประกาศใหท ราบโดยท่ัวไป ในทํานอง

เดยี วกนั ฝายยดึ ครองอาจมีความตอ งการเพยี งเขา ควบคุมการในหนา ทท่ี างการปกครองนอยทสี่ ุดเทา นัน้

ในเมอื่ รฐั บาลทอ งถน่ิ สามารถปฏิบตั ิงานไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ และไมเปนอนั ตรายตอฝา ยยึดครอง

๕.๙ ขอจาํ กัดตา งๆ ที่เกิดจากขอ ตกลงและกฎหมายระหวางประเทศ

๕.๙.๑ หลกั การโดยทวั่ ไป ของกฎหมายระหวางประเทศ ท่ียึดถอื เปน ประเพณแี ละขอ ตกลง

ระหวา งประเทศท่มี ีใชอยูน น้ั ยอ มจะนํามาใชเ ปนหลกั ในการดําเนินการของการปกครองโดยฝายทหารได

(รส.๒๗ – ๑๐) บทบัญญตั ขิ องสนธสิ ัญญาเก่ียวกบั การยดึ ครองของประเทศคสู งครามที่สําคญั ท่สี ุดมีปรากฎ

๑๐

อยูในผนวก ๒ ของอนุสัญญากรงุ เฮก ฉบบั ท่ี ๔ ระเบยี บขอบงั คับตา งๆ ท่ีไดรวบรวมขึ้นไวแลว กฎและธรรม
เนยี มสงครามทางบก ค.ศ.๑๙๐๗ และอนสุ ญั ญาเจนีวา วา ดวยการอารักขาบุคคลพลเรอื นในหว งเวลาทีเ่ กิด
สงคราม ค.ศ.๑๙๔๙ สิง่ ทม่ี คี วามสาํ คญั โดยเฉพาะก็คือเจา หนา ทกี่ ิจการพลเรือน จะตองมคี วามเขาใจเกย่ี วกบั
ขอตกลงนีโ้ ดยตลอด ท้ังนเ้ี พราะวาเปนแหลง ท่มี าทางดา นกฎหมายอนั สําคัญ เก่ียวกบั การดําเนินงานดาน
สัมพันธภาพกบั ประชากรของดนิ แดนยดึ ครองและประเทศคสู งคราม

๕.๙.๒ การยอมรับกฎหมายท่ีมใี ชอ ยใู นขณะนั้น นอกจากวา มีการหามใชก ฎหมายดังกลา ว
โดยส้ินเชงิ (กฎและธรรมเนยี มของสงครามทางบก มาตรา ๔๓) ประมวลกฎหมายอาญาอาจจะตอ งถกู ยกเลกิ
ไปเสียหรอื ระงบั ใชเ ปน การชว่ั คราว เพยี งในกรณที ก่ี ฎหมายเหลานนั้ เกื้อกูลในการคุกคามตอความปลอดภยั
ของฝายยึดครองหรอื เปนอปุ สรรคตอ การปฏิบตั ิตามอนสุ ญั ญาเจนวี า วา ดวยการอารกั ขาบคุ คลพลเรอื น
ในหว งเวลาที่เกดิ สงครามเทานั้น

๕.๙.๓ การปฏิบัติตอประชาชน
๕.๙.๓.๑ ภายใตอ อนุสัญญาเจนวี านนั้ การปฏิบัติตอบุคคลท่ีอาศัยอยูในดนิ แดน

ท่ีถกู ยดึ ครองดว ยความยุตธิ รรม มีใจเปนธรรม สมเหตสุ มผล ยอมเปนสิ่งทีต่ องการพืน้ ฐานของนโยบายทาง
ทหารยอมเปนส่งิ จําเปน เพอื่ มใิ หบ ุคคลผอู าศัยอยูใ นดนิ แดนทถ่ี กู ยดึ ครองนน้ั กลายเปน ขา ศึกไปในอนาคต
หรือกลายเปน ผมู คี วามผดิ ตลอดเวลา นอกจากนน้ั การปฏิบัตดิ วยความยตุ ิธรรมจะชวยใหเกดิ การสนบั สนุน
และความรว มมือจากผทู ่ีอาศยั อยใู นดนิ แดนดังกลาว และจะทาํ ใหภ าระของฝา ยยดึ ครองลดลงอกี ดวย

๕.๙.๓.๒ คําวา “บคุ คลทีอ่ ยูใ นอารักขา” นั้นโดยทั่วไปแลว อาจหมายความถงึ
บุคลพลเรอื นผูอยใู นประเทศภาคีของอนสุ ญั ญาเจนีวา ค.ศ.๑๙๔๙ ผูซง่ึ ตกอยใู นกาํ มอื ของประเทศคพู พิ าท
หรือประเทศทท่ี ําการยึดครองไวชัว่ ระยะเวลาหนง่ึ และในลักษณะอยา งใดอยา งหนง่ึ ซง่ึ ตนเองมไิ ดมีสญั ชาติ
ของและเทศนน้ั ๆ (อนุสัญญาเจนวี าวา ดวยการอารกั ขาบุคคลพลเรอื นในหว งเวลาท่เี กดิ สงคราม มาตรา ๔)

๕.๙.๓.๓ การรบั รองสทิ ธมิ นุษยชนตา ง ๆ เชนเคารพตอ สิทธิในชวี ิตและทรพั ยสนิ
สว นบุคคล การเคาระตอ พธิ ีการแตง งาน การไมท ําลายสถานที่พกั อาศยั และการใหม เี สรภี าพในการนบั ถอื
ศาสนาน้นั สามารถกลาวเนน ถงึ ความสาํ คัญไดอยางเตม็ ที่

๕.๙.๔ การปองกนั ทรัพยส นิ ในทางวฒั นธรรม
๕.๙.๔.๑ ทรพั ยสินทางวฒั นธรรม คือ ทรพั ยส นิ ใด ๆ ก็ตามที่เปน สญั ญลกั ษณ

อันแสดงถงึ มรดกตกทอดทางวัฒนธรรมของประชาชน เชน อนุสาวรยี  ที่เก่ยี วกับสถาปตยกรรม ศลิ ปกรรม
ประวตั ศิ าสตร หรอื ทางศิลป ของงานศลิ ปกรรม เอกสารทีเ่ ขียนดว ยมือ หนังสือตา งๆ และวัตถุอืน่ ๆ ทมี่ ี
คุณคา ทางดา นศลิ ปกรรม ประวตั ศิ าสตรห รือโบราณคดี การสะสมของเกา ทางวทิ ยาศาสตร การสะสม
หนงั สอื และเอกสารตา ง ๆ ที่สาํ คัญ หรอื แบบจําลองของทรพั ยสนิ ตางๆ ตามท่กี ลา วมาแลว ขา งตน อาคารที่ใช
เพื่อความมงุ หมายทางดานวฒั นธรรมหรือศาสนา ก็นับรวมเปนทรัพยส นิ ทางวฒั นธรรมดว ย

๕.๙.๔.๒ เหลา ทพั ตา ง ๆ จะตอ งละเวน จากการใช และการกระทําใด ๆ ท่จี ะเปน
อันตราย หรอื เปนผลเสยี หายตอทรัพยสนิ ทางวัฒนธรรม และจะตอ งละเวน จากการกระทาํ ใด ๆ ท่จี ะเปน
ปฏปิ ก ษต อทรัพยส ินดงั กลา ว

๑๑

๕.๙.๕ การอํานายการในการปฏบิ ัติการ

๕.๙.๕.๑ การปฏบิ ัติในการปกครองโดยฝายทหารยอมถูกจํากัดท้งั ขอ พิจารณาทาง

กฎหมาย และทางนโยบาย การปฏบิ ตั ิดงั กลา วน้ีจะตอ งกระทาํ ตอ การควบคุมทางดา น การปกครอง เศรษฐกจิ

และประชาชนของพืน้ ที่นน้ั ๆ เน่อื งจากวาการควบคมุ จะไดร ับผลดีทสี่ ุดไดน น้ั ขนึ้ อยกู ับมาตรฐานของการ

อํานวยการซง่ึ แสดงใหเ ห็นถงึ ความยตุ ธิ รรม และตรงไปตรงมาของฝา ยยดึ ครอง

๕.๙.๕.๒ กองทัพที่ทาํ การยดึ ครอง ไมสามารถทจี่ ะมุงหวังใหประชาชนปฏิบัตติ าม

ความตอ งการได นอกจากวา ประชาชนจะไดร ับทราบขาวสารตา งๆ อยางถกู ตอ งแลวเทานั้น

๕.๙.๕.๓ การปฏิบัติการปกครองโดยฝา ยทหาร จําเปนจะตองมกี ารใชป ระโยชน

จากความชํานาญตาง ๆ ที่มีอยูในหนว ยกิจการพลเรือน ท้ังน้เี พราะวาการปฏบิ ัตดิ ังกลาวไดค รอบคลุม

ถงึ กิจการกรรมตาง ๆ ทางสงั คมไวท ง้ั ส้นิ

๕.๙.๕.๔ การควบคมุ จะตอ งกาํ หนดข้นึ มาในระดบั ตา ง ๆ ของการปกครองซึ่งการ

อาํ นวยการในกิจกรรมตาง ๆ ทางดา นปกครอง สามารถควบคมุ และกบั ดแู ลไดอ ยางมีประสิทธิภาพสูงสดุ

มีความเปนอันหน่งึ อนั เดยี ว และสอดคลองกับนโยบายทไ่ี ดก าํ หนดไว ผูเชยี่ วชาญการในหนาทต่ี า ง ๆ
โดยเฉพาะอยา งเชน การคมนาคมสาธารณะ และการเงนิ สาธารณะนนั้ โดยปกติแลว จะควบคมุ และกาํ กับดแู ล
ใหบังเกดิ ผลมากทสี่ ุด ก็อยู ณ ระดบั การปกครองช้นั สงู แตผ เู ชี่ยวชาญการในหนา ทอ่ี ่นื ๆ เชนการ
สาธารณสุขการประชาสงเคราะห จะควบคมุ และกาํ กบั ดแู ลใหบงั เกิดผลมากที่สดุ ไดใ นทกุ ระดบั การปกครอง

ในกรณใี ดก็ตามองคการปกครองโดยฝายทหารควรจะขนานควบคไู ปกบั โครงสรางทางการปกครองทองถ่นิ
ทกุ ๆ ระดับการควบคุม

๕.๙.๕.๕ การปฏบิ ัตกิ ารปกครองโดยฝา ยทหารยอมมคี วามตองการ เกย่ี วกบั

วิธีดาํ เนนิ การและการดดั แปลงใหเหมาะสอดคลอ งกับสถานการณต า ง ๆ ท่ีอาจตองพบ ประสทิ ธิภาพของการ

ปฏบิ ัตยิ อ มขนึ้ อยูกบั การกาํ หยด จากการวิเคราะหผ ลงานอยางละเอยี ด ดว ยการพจิ ารณาแกไขในสว นที่จําเปน

ของแตล ะสถานการณ

๕.๙.๕.๖ ผูบ งั คบั หนว ยของพืน้ ท่ีปฏิบตั กิ าร จะตอ งม่ันใจวาผบู ังคบั หนว ยรองของ

ตนสามารถเพ่มิ พูนสวนตา ง ๆ ของแผนการปฏบิ ตั กิ ารทางดานการปกครองโดยฝา ยทหาร ดวยการทาํ ใหเ ปน

หลักประกนั ไดว า เจา หนาที่ไดร ับการคดั เลือกมาแลว นนั้ จัดขึน้ ไวเ พือ่ ใหท าํ งานในแผนกอํานวยการดานการ

ปฏิบตั กิ ารทางการทหาร – พลเรือน ของหนว ยบญั ชาการของหนวยรอง

๕.๙.๕.๗ ถงึ แมนวาการเรยี กรอ งสิทธติ า ง ๆ จะเปน ความรับผดิ ชอบของนายทหาร

ฝา ยพระธรรมนญู กต็ าม เจาหนาทก่ี จิ การพลเรอื นกค็ วรกระทาํ ทกุ วถิ ีทางทจ่ี ะชว ยเหลอื นายทหารฝาย

พระธรรมนญู เพือ่ แสดงใหเหน็ วา การเรยี กรอ งสทิ ธอิ นั ถูกตองตามกฎหมายนั้นตนกพ็ รอ มทจ่ี ะรับพจิ ารณา

และการเรยี กรอ งสิทธทิ ่ีไมถ ูกตอ งก็ไมไ ดร บั การพจิ ารณา

๕.๙.๕.๘ กิจกรรมตาง ๆ เก่ียวกับสาธารณสุขของฝา ยทหารที่ดาํ เนนิ การปกครอง

ยอ มจะไดรับการพิจารณาใหอ ยูในลาํ ดับความเรงดว นสูงข้นึ ไป ท้งั น้เี พอื่ ปอ งกันสุขภาพอนามัยของกองทัพ

๑๒

๕.๙.๕.๙ เอกสารและบันทกึ ตาง ๆ ที่ใชอ ยใู นปจจุบนั และทีเ่ ปน ประวตั ิศาสตร

ทกุ ๆ สาขาของการปกครองพ้ืนที่นน้ั ๆ นบั วา เปน ประโยชนต อการปกครองทอ งถ่ิน และทางทหารในเวลา

ปจ จุบนั และยงั คงเปน ประโยชนอยูตลอดเวลา ดังนน้ั จงึ จําเปน ท่จี ะตอ งกาํ หนดที่ตง้ั และมกี ารพิทกั ษรกั ษา

เอกสารและบนั ทึกดังกลา วไวดว ย

๖. กิจการพลเรอื นของไทย

๖.๑ การปฏบิ ตั กิ ารกิจการพลเรือนและการปกครองโดยฝา ยทหารของไทยนน้ั มีควบคูมากบั

ประวตั ศิ าสตรช าติไทย แตท ม่ี ีบนั ทกึ ไวใ นประวตั ศิ าสตรของชาตไิ ทยท่ีพอจะยึดถือเปน ตัวอยางของการ

ดําเนินงานกิจการพลเรอื นแหละการปกครองโดยฝา ยทหาร คือในรัชสมยั ของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ

(พ.ศ.๑๙๙๑ – ๒๐๓๑) พระองคไ ดด ําเนนิ นโยบายดา นกจิ การพลเรือนและการปกครองโดยฝา ยทหารหลาย

ประการ ซง่ึ ถือไดว า เปนตวั อยา งและตนกําเนดิ ของ “กจิ การพลเรือน” ไทย ซงึ่ ประวตั ศิ าสตรส มยั กรุงศรี
อยุธยาตอนตน ไดบันทกึ ไวต อนหน่ึง “ สวนการปกครองหวั เมอื งเหนอื คอื อาณาจกั รสุโขทยั เดมิ นั้น สมเดจ็

พระบรมไตรโลกนาถไดเ สดจ็ ขึน้ ไปประทบั อยู ณ เมอื งพิษณุโลกเองไดทรงโนมพระทัยปฏิบัตติ ามราชกรณีย

ทพี่ ระมหากษตั ริยส มยั สโุ ขทัยไดท รงกระทําหลายอยา งหลายประการ เปนตน วาไดท รงอทุ ศิ ท่พี ระราชวังเดมิ

ใหเปนวัดในพระราชฐานตามแบบอยา งกรงุ สุโขทยั ทรงออกผนวชในบวรพทุ ธศาสนาเยย่ี งสมเดจ็

พระมหาธรรมราชา (ลิไทย) ณ เมอื งพษิ ณุโลก เปน ตน เปน เหตใุ หช าวสโุ ขทยั นยิ มในพระองคมากขน้ึ จงึ ทรง

สามารถรวมอาณาจกั รสโุ ขทยั ไวเ ปนอาณาจักรอันหนงึ่ อนั เดยี วกนั กบั อาณาจักรอยุธยาไดส าํ เร็จ.....”

นอกจากนั้นพระองคยงั ไดปรบั ปรงุ งานดา นทหารขน้ึ ใหม ไดริเรม่ิ ใหม ีการสสั ดขี น้ึ เปน คร้ังแรก เรยี กวา

กรมพระสุรสั วดีตอ มาเรยี บวา สัสดี งานสสั ดกี ็คอื งานการควบคมุ บญั ชที หาร การเรียกระดมคนมาเปนทหาร

เจาหนาท่ีสสั ดี หรอื นายทหารสัสดที ัง้ สัญญาบัตรและประทวน จงึ เปน ผูปฏิบัตงิ านดานกจิ การพลเรอื นของ

กองทพั ไทย และถือวา นายทหารสัสดคี ือนายทหารฝา ยกิจการพลเรอื นของกองทพั

๖.๒ งานกิจการพลเรือนของกองทัพบก ไดม คี วบคกู นั มากบั การจดั กาํ ลงั กองทัพไทย แตใ นการ

ปฏิบัตใิ นขั้นเรม่ิ แรกนน้ั กองทัพบกยงั ไมไ ดมอบหมายใหห นว ยงานใดเปน ผรู บั ผดิ ชอบที่แนน อนจนตอ มา

เม่ือ พ.ศ.๒๕๑๓ กองทพั บกไดจ ดั ต้ังกรมการกาํ ลงั สํารองขึน้ มา และมอบหมายใหก รมการกําลังสํารอง

รับผิดชอบงานกจิ การพลเรอื น จนกระทั่ง พ.ศ.๒๕๒๕ กองทัพบกไดจดั ต้งั กรมกจิ การพลเรอื นทหารบก

ขนึ้ มา รับผดิ ชอบงานกจิ การพลเรอื นของกองทพั บกตอไป

๗. วตั ถปุ ระสงคข องการปฏบิ ัตกิ ารกิจการพลเรือน

วัตถปุ ระสงคข องการปฏิบตั ิการกิจการพลเรอื น ไดแ กการสงเสรมิ และสนบั สนนุ การบรรลุ

ภารกจิ ของหนว ย โดยเฉพาะอยางยิง่ คือ

๗.๑ สงเสรมิ สนบั สนุน การปฏิบตั ิการของสว นราชการพลเรือน เพอื่ ประกนั ความตอเนือ่ งในการ

บริหารราชการแผนดนิ

๗.๒ การดําเนนิ การตอประชาชนและทรัพยากรในพนื้ ทรี่ ับผิดชอบ เพอื่ ปองกนั หรือลดการกีดขวาง

การยุทธและเพ่อื บรรเทาการสูญเสีย หรือความเสียหายอันเกิดจากการรบ

๑๓

๗.๓ การดาํ เนนิ การเพื่อประกนั วา การปฏบิ ตั ขิ องหนวยสอดคลองกบั นโยบายทางการเมืองของ
ประเทศและเปน ไปตามพนั ธะขอ ผูพนั ตางๆ ท้งั ตามกฎหมายภายในประเทศ และกฎหมายระหวางประเทศ
๘. ความจําเปน ของกองทพั ทตี่ อ งมีงานกจิ การพลเรอื นและการปกครองโดยฝา ยทหาร เพราะ

๘.๑ การปฏิบตั ิการทางทหาร จําเปน ที่จะตองปฏบิ ตั กิ ารในพนื้ ทที่ ่ีมีประชาชนและทรัพยากรอยู
บอย ๆ ยงิ่ เปนหนวยทหารขนาดใหญ พ้นื ทปี่ ฏบิ ัติการกวางยอ มตองมปี ระชาชนพลเมืองอยูในเขตปฏิบตั ิการ
เสมอประชาชนและเจา หนาทีฝ่ ายพลเรอื นในทองถนิ่ อนั เปนพน้ื ที่ปฏิบตั ิการของกองกาํ ลังทหารนน้ั ในบาง
พื้นท่ีอาจเปน ศตั รู และบางแหง ก็มีทัศคตเิ ปน กลางๆ เจา หนา ท่ฝี ายพลเรือน และประชาชนในพนื้ ทปี่ ฏบิ ตั ิการ
นนั้ ทง้ั ผเู ปน มติ ร เปน ศัตรหู รือเปนกลาง ๆ ก็ตามยอ มเปนปจ จยั หรือกลายเปนปจ จยั สงเสรมิ สนบั สนุน หรือ
ขัดขวางตอ ตา นการปฏิบัตภิ ารกจิ ของกองกาํ ลงั ทหารในพนื้ ท่นี ั้น ๆ ไดท้งั สนิ้ ทัง้ น้ียอมแลวแตวา กาํ ลงั ทหาร
ณ ทน่ี ัน้ ๆ จะดําเนินการเกย่ี วของสัมพนั ธกับเขาเหลานน้ั ในทางท่ีควรและเหมาะสมเพียงใด เชน

๘.๑.๑ ประชาชนและเจา หนา ท่ีฝา ยพลเรือนทเ่ี ปนศัตรู อาจประทษุ รา ยตอกาํ ลงั พล และอาวุธ
ยทุ โธปกรณข องกําลงั ทหาร ตลอดจนขดั ขวางหรอื โตต อบหรอื ไมร ว มมอื สนบั สนนุ การปฏบิ ัติการของกอง
กําลังทหารเมอ่ื มีโอกาส

๘.๑.๒ ประชาชนและเจา หนา ทฝี่ ายพลเรอื นทเ่ี ปนมิตร ยอมรวมมือสนบั สนุนการปฏิบัติการ
ของกาํ ลงั ทหารท้ังดานแรงงาน ทรัพยากรตางๆ

๘.๑.๓ ประชาชนและเจาหนา ที่ฝายพลเรอื นน้นั ไมว าจะเปนมิตร เปน ศัตรู หรือเปนกลาง
หากเกิดการแตกต่นื ภยั ตางๆ โดยเฉพาะภัยจากการปฏบิ ตั กิ ารของกาํ ลังทหาร อาจอพยพลภี้ ัยไปในเสนทาง
หรอื ตําบลทก่ี ีดขวางการปฏบิ ตั กิ ารของกองกําลังทหารได หรือเม่ืออยใู นภาวะบา นแตกสาแหรกขาด ความ
เปนอยู การอนามัย เสือ่ มโทรม อาจเกิดโรคระบาดลกุ ลามมาติดตอ เปนอนั ตรายแกก ําลังทหารได

๘.๑.๔ แมว าเคยเปนมติ รคดิ รว มมือชว ยเหลือสนบั สนนุ หรอื เปนกลางอยแู ลว แตหากไดรบั
ความเดอื ดรอนหรอื คับแคน ใจ จะเปนเรอื่ งเศรษฐกจิ เชน การเปน อยฝู ด เคือง อนั เนื่องมาจากการปฏบิ ัติการ
ทางทหารท่ไี มร ะมัดระวงั หรือถูกทําลายจิตใจโดยกาํ ลงั ทหาร ลบหลู ดูหม่ินเหยยี บย่ําทาํ ลายสง่ิ สําคัญของ
ประชาชน เชน ศิลปะ อนุสาวรยี  ศาสนา ฯลฯ กอ็ าจกลับกลายเปน ศัตรูรุกขึ้นประทุษรา ย ขัดขวาง ตอบโต
หรือไมรวมมอื ไมสนับสนุนกาํ ลังทหารได

๘.๑.๕ ศัตรหู รือผเู ปน กลาง ถาไดรับการปฏิบตั ิตอกนั ดวยดี เชน เคารพในกรรมสทิ ธิ์แหง
ทรพั ยส ินและสิ่งสาํ คญั ของประชาชน ตลอดจนเออื้ เฟอ เผือ่ แผช วยเหลอื เม่อื มโี อกาส กาจมาเปน มติ รเลกิ
ขดั ขวางตอ การปฏบิ ัตกิ ลบั มาใหการสนบั สนนุ ก็ได

๘.๑.๖ ความเสอื่ มโทรมทางเศรษฐกจิ น้ัน ไมว าจะดว ยเหตุผลใดกต็ าม จะเปน อปุ สรรคตอ
การปฏบิ ัตภิ ารกจิ ของกาํ ลงั ทหารดว ย กลาวคือ ไมอ าจใชท รพั ยากรในทองถิ่นในการสงกําลงั บาํ รงุ ของกําลัง
ทหารหรอื อาจจําเปน ตองใชส ิ่งอุปกรณของทหารสนบั สนนุ ใหแกประชาชนในทอ งถนิ่ ดวย หรอื ยงิ่ กวา น้ัน
ประชาชนอดอยากหวิ โหย แมมิใชศตั รกู อ็ าจเหมอื นศัตรคู ือ อาจเบยี ดเบยี นกองทพั ดวยการลักขโมย ชงิ หรือ
ปลน เอาเสบียง หรือสง่ิ อุปกรณข องกองทพั เพ่ือความอยรู อดของเขาก็ได

๑๔

๘.๒ เพ่ือใหบ รรลุถึงความสาํ เร็จในภารกจิ จําเปนตอ งแกไ ขปจ จัยขดั ขวาง และสงเสริมปจ จัย
สนับสนนุ ใหเ หมาะสม การแกไขและปองกันอปุ สรรคขัดขวางการปฏิบัติภารกจิ ของกาํ ลังทหารหรอื การ
สนบั สนนุ ภารกจิ ทีก่ ําลังทหารไดร บั มอบ โดยวธิ ีการดาํ เนินสัมพนั ธก บั ประชาชน และเจา หนาท่ีฝา ยพลเรอื น
แหงทองถนิ่ ในพนื้ ท่ีปฏบิ ัตกิ ารใหเกดิ ประโยชนขึน้ นั้น สรุปแลว จะไดหนทางปฏบิ ัติ ๒ หนทางใหญ ๆ คอื

๘.๒.๑ กาํ ลังทหารเขาไปใชอ าํ นาจบรหิ าร อาํ นาจนติ ิบญั ญตั ิ และอํานาจตลุ าการเหนอื
ดินแดนทย่ี ดึ ครอง วธิ ีการน้ีเรยี กวา “การปกครองโดยฝา ยทหาร”

๘.๒.๒ กาํ ลังทหารทตี่ ้ังอยูใ นทองถ่นิ เปน เพยี งแตต ดิ ตอ ประสานงานที่เก่ยี วของ โดยเฉพาะ
เจา หนา ทแี่ ละประชาชนพลเรอื นในทอ งถ่นิ เพ่อื แนะนําสง เสริม สนับสนนุ ชว ยเหลอื กํากบั ดูแล หรอื ควบคุม
การปฏิบัตกิ ารในเรือ่ งตา ง ๆ วธิ กี ารนี้เรยี กวา “กิจการพลเรอื น” ตัวอยางเรอื่ งตาง ๆ ทีท่ หารอาจเขา ไปแนะนํา
สง เสริม สนับสนุน ชวยเหลอื กํากับดแู ล และควบคุมการปฏิบตั ไิ ดแก

๘.๒.๒.๑ การแตงต้ัง ฟน ฟู บรู ณะ และรกั ษาความเปนระเบยี บเรยี บรอ ยของ
สาธารณะ

๘.๒.๒.๒ การปอ งกนั ตวั การระดมสรรพกําลัง และการใชป ระโยชนจาก
ทรพั ยากรในทอ งถิ่น เชน แรงงาน สิง่ อุปกรณ ส่งิ อาํ นวยความสะดวกสาธารณะ เพื่อความมุง หมายทาง
ยทุ ธวธิ ี หรอื ทางการสงกาํ ลังบํารงุ

๘.๒.๒.๓ การควบคมุ โรค และภาวะของโรคระบาด ซง่ึ อาจเปนอนั ตรายตอกาํ ลัง
ทหาร

๘.๒.๒.๔ การปอ งกนั มใิ หพ ลเรอื นกีดขวางการปฏบิ ัติการทางทหาร
๘.๒.๒.๕ การทาํ ใหเศรษฐกจิ มีเสถียรภาพ
๘.๒.๒.๖ การชวยเหลอื ประชาชน

๑๕

บทท่ี ๒

ขอบเขตงานในหนา ที่กจิ การพลเรอื น

๑. กลา วทวั่ ไป

งานดานกิจการพลเรือน ถือวา เปน งานหลกั สาํ คัญอยา งหนง่ึ ในการดําเนินการ เพอ่ื ใหบรรลุภารกจิ

ของกองทพั บกในการเสริมความมนั่ คงแหง ชาติ คาํ วา “กจิ การพลเรือน” ก็หมายถงึ เรอื่ งของพลเรือนแตทํา

โดยทหาร หรอื การดําเนนิ การโดยทหารในเรื่องของพลเรือน งานพลเรือนทที่ ําโดยทหารนน้ั หมายถงึ เรอ่ื ง

อะไรก็ตามทท่ี าํ แลวเกดิ ความมั่นคงตอประเทศชาติ และสนับสนนุ การปฏบิ ัติการทางทหารซงึ่ โดยธรรมดา

แลว เร่ืองความมน่ั คงของชาตินนั้ หมายถงึ ความมนั่ คงในเร่อื งตอไปนี้

๑.๑ การทหาร

๑.๒ การเมือง

๑.๓ การเศรษฐกจิ

๑.๔ การสังคม/จิตวทิ ยา

ดังนน้ั ถา ยกเวน เร่ือง “ การทหาร “ ซึ่งเปน การในหนา ทท่ี ี่ทหารจะตอ งปฏบิ ัติยแู ลว กจ็ ะเหลอื เรอื่ ง

การเมือง เศรษฐกจิ และสงั คมวทิ ยา จากความหมายดังกลาวแลวจะเหน็ วา ทหารไปทาํ งานเร่ืองของพลเรือน

แตม คี วามมงุ หมายเพื่อใหง านของพลเรอื นสนับสนนุ การปฏบิ ัติการทางทหารและกอ ใหเ กดิ ความมั่นคงตอ

ประเทศชาติ จะเหน็ วา ทหารไมไดกา วกา ยหรือแยงงานของพลเรอื นมาทํา แตท หารทํางานของพลเรือนเพอื่

สง เสรมิ สนับสนุนการปฏบิ ัตกิ ารทางทหาร หรอื สนับสนุนการทหารนน่ั เอง ซ่งึ ธรรมดาเมือ่ ทหารทํางานของ

พลเรือนก็จะตอ งมคี วามสัมพันธก ับพลเรอื น และคําวา “พลเรอื น” ในทีน่ ้กี ห็ มายถึงบคุ คลทกุ สาขาอาชีพ

เวน “ทหาร” บคุ คลทุกสาขาอาชีพถาจะแบง อยา งหยาบๆ กจ็ ะแบงเปนประชาชนกับขาราชการพลเรือน

การปฏบิ ตั งิ านกจิ การพลเรือนทหารจะตอ งสรา งความสัมพันธอ ันดีตอ ประชาชน และขาราชการและ

เจา หนา ทพ่ี ลเรอื นดว ย ไมเ ฉพาะแตท หารจะตองสรางความสัมพนั ธร ะหวา งทหารตอทหารดวยกนั เองเทานนั้

๒. ขอบเขตและการดําเนนิ งาน

การปฏิบตั ิการกิจการพลเรอื น หมายถงึ การดาํ เนนิ การทง้ั ปวงของหนว ยทหารทเี่ กย่ี วของ หรอื

กระทบกระเทอื นตอสว นราชการพลเรือน ประชาชน และทรพั ยากรในพืน้ ทรี่ ับผิดชอบ ทง้ั ในยามปกติและ

ยามสงครามเพือ่ บรรลุภารกิจของหนว ยตามตองการ

๒.๑ วัตถุประสงคของการปฏบิ ัติการกิจการพลเรือน

วัตถุประสงคของการปฏบิ ัติการกจิ การพลเรือน ไดแก สงเสริมสนับสนุนการบรรลภุ ารกิจ

ของหนว ย โดยเฉพาะอยา งยงิ่ คอื

๒.๑.๑ สงเสริมสนับสนุนการปฏิบัติของสว นราชการพลเรือน เพอื่ ประกันความตอเนอื่ ง

ในการบรหิ ารราชการแผน ดนิ

๒.๑.๒ ดําเนนิ การตอประชาชนและทรพั ยากรในพื้นที่ เพอื่ ลดการกีดขวางการปฏิบัตกิ าร

ทางยทุ ธการ และเพือ่ บรรเทาความสูญเสีย หรือความเสียหายอันอาจเกดิ จากการสรู บ

๑๖

๒.๑.๓ ดาํ เนนิ การเพื่อประกันวา การปฏบิ ัติการของหนวยสอดคลอ งกับนโยบายทางการ
เมืองของประเทศ และเปนไปตามพนั ธะขอ ผูพนั ตา งๆ ทัง้ ตามกฎหมายภายในประเทศ และกฎหมายระหวาง
ประเทศ

๒.๒ ขอบเขตการดาํ เนนิ การ
ขอบเขตการดาํ เนินการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ กิจการพลเรอื น ครอบคลุมถงึ การปฏิบตั ทิ ่ีเก่ียวขอ งกบั

การปกครอง การเศรษฐกจิ และการสังคมจิตวทิ ยาในพนื้ ที่รบั ผดิ ชอบซึง่ พอสรุปไดดงั น้ี.-
๒.๒.๑ การเสริมสรา งความสมั พันธอ ันดีกบั ชมุ ชน
๒.๒.๒ การสง เสริม สนับสนุนการปฏิบตั ขิ องสวนราชการพลเรอื น
๒.๒.๓ การสนับสนุนการปฏบิ ัติการทางทหาร โดยเฉพาะอยางยงิ่ เก่ยี วกบั การลดการ

กีดขวางการรบ และบรรเทาความสูญเสยี อันอาจเกดิ จากการสรู บ
๒.๒.๔ การสนับสนุนการปอ งกันฝายพลเรอื น
๒.๒.๕ การพฒั นาพลงั ประชาชน
๒.๒.๖ การควบคมุ การใชป ระโยชนจ ากทรพั ยากรในทองถิน่
๒.๒.๗ การปกครองดินแดนท่ีไดจ ากการเขา ยึดครอง

๒.๓ ปจ จยั สาํ คัญในการปฏบิ ตั ิการกจิ การพลเรือน
ปจจัยสําคญั ท่เี จา หนา ที่ฝายทหารควรจะนํามาเปน หลกั ในการปฏบิ ตั ิ เพ่อื ใหบงั เกดิ ผลกับ

การดาํ เนนิ งานในการบรรลุภารกิจพอสรปุ ไดดังน้.ี -
๒.๓.๑ ใชเจาหนาที่พลเรือนในเขตพน้ื ทรี่ ับผิดชอบ ทีป่ ฏบิ ตั งิ านตามโครงการตาง ๆ อยแู ลว

ใหม ากท่ีสุด ทั้งนเี้ พือ่ ใหเ กดิ การประหยัดแหละปองกันการซาํ้ ซอ น สําหรบั ทหารนัน้ เปน ฝายประสานงาน
และสนบั สนนุ เพ่ือบรรลผุ ลตามภารกจิ ในกรณจี ําเปน

๒.๓.๒ กําหนดมาตรการท่เี หมาะสม เพื่อไมใหป ระชาชนปฏิบตั กิ ารใด ๆ ท่ีขดั ขวางตอการ
ปฏบิ ัตกิ ารทางทหาร ซง่ึ อาจเปน ผลเสยี ทางยุทธวิธี รกั ษามาตรฐานการครองชีพของประชาชนในทองถิน่ ท่ี
อยใู นพนื้ ท่ีปฏบิ ตั กิ าร มิใหก ระทบกระเทอื นจนเกนิ ไปจาการรบ

๒.๓.๓ การปกครอง ทหารจะไมพ ยายามเขา ไปเกยี่ วของในการควบคมุ และปกครองพ้ืนที่
ของฝายพลเรอื น เวนในกรณีจําเปน ทห่ี วงั ผลในการรบ และการปราบปรามขนั้ เดด็ ขาด และรวดเรว็ เทา นนั้

๒.๓.๔ การเศรษฐกจิ ทหารจะตอ งเขา ไปดําเนินการเพื่อใหค วามเปน อยูของประชาชนใน
พน้ื ที่ใหอ ยใู นสภาพคลายเวลาปกติ
๓. ประโยชนข องการปฏิบตั กิ ารกิจการพลเรอื น

โดยทว่ั ๆ ไป ผูบงั คับบัญชาสามารถใชป ระโยชนจากการปฏบิ ตั ิการกิจการพลเรอื นไดในลักษณะ
ตาง ๆ ดังตอไปนี.้ -

๓.๑ สนบั สนนุ โดยตรงตอการปฏบิ ัตกิ ารของหนวย ท่งั ในทางยทุ ธวิธี ทางธุรการ และทางการสง
กาํ ลังบาํ รงุ ตลอดจนเพือ่ ลดภาระของผบู ังคบั บัญชาในสว นท่เี ก่ียวกับประชาชนและทรพั ยากรในพ้ืนที่
รับผิดชอบ

๑๗

๓.๒ การบรหิ ารราชการแผนดินในพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบ ทงั้ ดวยการสงเสรมิ สนับสนุนสวนราชการ
พลเรอื น และการเขา บรหิ ารราชการแผน ดนิ แทนเปน การชัว่ คราว (การปกครองโดยฝายทหารตามความ
จําเปน)

๓.๓ การสงเสริมสนับสนนุ สวนราชการพลเรือนเพือ่ ประกนั ความตอ เน่อื งในการบรหิ ารงาน
๓.๔ การชวยเหลือประชาชนตามนโยบายของหนวยเหนอื ในยามปกติ หรือ ณ ทตี่ ง้ั ปกติ
๓.๕ สนบั สนุนการปอ งกันภยั ฝา ยพลเรือน
๓.๖ การสนบั สนนุ การปองกันและปราบปรามการกอความไมสงบ ทงั้ ดานการพฒั นาประสิทธิภาพ
กลไกของรฐั เปน บคุ คลและเปน หนว ย การพทิ ักษประชาชนของทรัพยากรตลอดจนการพฒั นาพลงั ประชาชน
,การสนับสนุนการใชก ําลังเขาทาํ การปราบปรามตอ กองกําลงั ติดอาวธุ ของขบวนการกอความไมส งบโดยตรง
๔. หนา ทกี่ จิ การพลเรอื น
เพอ่ื ใหส ามารถควบคุมแหละประสานงานชดุ การในหนา ที่ ในการดาํ เนินงานกจิ การพลเรอื นไดอยา ง
เต็มท่ี จึงไดก าํ หนดหนา ทกี่ จิ การพลเรือนภายในกรอบกวางๆ ออกเปน ๔ ประเภท หนา ที่บางอยา งอาจ
คาบเก่ยี วหรอื ตอ เนื่องกนั จงึ จาํ เปน ตองมกี ารประสานงานกนั ตลอดเวลา หนาทีท่ ั้ง ๔ ประเภท คอื หนา ท่ี
ทางการปกครอง, หนา ทท่ี างเศรษฐกจิ , หนาท่ที างสิง่ อํานวยความสะดวกสาธารณะ และหนา ทพ่ี ิเศษซงึ่
แยกออกไดด ังน้ี.-
คอื บรรดาหนา ท่ีซึ่งเกย่ี วกบั เรือ่ งตา งๆ อนั เปน กจิ กรรม หรือการควบคมุ ทางดานการปกครอง
กจิ กรรมทางดา นการเมอื ง การตรวจ การพิจารณา และการแกไ ขการปฏิบตั ขิ องสว นราชการพลเรือน
ใหเ ปน ไปตามคําสั่ง คําช้ีแจง นโยบาย และการสงเสรมิ เพิ่มพูนการตกลงใจทางนโยบายที่เกยี่ วกับการ
ควบคมุ หรือสัมพันธภาพระหวา งประชาชน กบั เจาหนา ทรี่ ัฐบาลในพ้นื ท่ีปฏิบตั กิ าร ภารกจิ สาํ คัญของ
หนา ทดี่ ังกลา วน้กี ค็ อื การสงเสริมหรือการฟน ฟบู รู ณะ เสถยี รภาพทางการปกครองในพน้ื ทปี่ ฏิบตั ิการหนาที่
เหลา นี้ไดแ ก

๔.๑.๑ การปอ งกันฝายพลเรอื น
การในหนา ทก่ี ารปอ งกนั ภยั ฝา ยพลเรือน รวมถงึ ลกั ษณะตา ง ๆ ในดานการกํากบั

ดูแลการเจรจาตกลง การอาํ นวยการ การแนะนาํ และการดําเนนิ งาน อํานวยการในการจัดตัง้ หรือการ
ปรบั ปรุงการปฏิบตั ิการตามโครงการปอ งกนั ภยั ฝายพลเรอื น ในกรณที ่มี ีการโจมตีจากขาศึก หรอื ภัยพิบตั ิ
ธรรมชาติทเ่ี กดิ ขึน้ โดยไมค าดฝนมากอน หรือในยามฉุกเฉิน และสําหรบั การระดมสรรพกําลังการใช
ทรัพยากรและสิง่ อํานวยความสะดวกในพน้ื ท่ีใหเ พียงพอตอความชวยเหลือ และ การสนับสนนุ การปองกัน
ภยั ฝา ยพลเรือนกจิ เฉพาะตาง ๆ นับรวมกนั

๔.๑.๑.๑ การศกึ ษารปู การจดั ขีดความสามารถ เคร่ืองมอื เครอื่ งใช และการใน
หนา ท่ีองคการปอ งกนั ภยั ฝายพลเรอื น

๔.๑.๑.๒ การเตรียมแผน และวิธดี าํ เนนิ งานสําหรับการใหก ารสนบั สนนุ ทางทหาร
แกองคการปองกันภยั ฝา ยพลเรือน

๑๘

๔.๑.๑.๓ การดาํ รงรกั ษาการตดิ ตอกบั รัฐบาลพลเรือน เพ่อื แนะนาํ ชว ยเหลือในการ
ปฏบิ ัติการตามโครงการปองกนั ฝา ยพลเรอื น

๔.๑.๑.๔ การประสานและการรวบรวมเอามาตรการ การปองกนั ฝายพลเรือนเขา ไว
ในแผนการปอ งกันพืน้ ทสี่ ว นหลงั และการควบคมุ ความเสยี หายเปนพนื้ ที่ และการกาํ กับดแู ลกจิ กรรมตา ง ๆ
ของพลเรือนใหเปนไปตามแผน

๔.๑.๑.๕ การเสริมสรางขดี ความสามารถในการปองกันภยั ฝา ยพลเรอื นทอ งถนิ่
โครงการใหการชว ยเหลอื หรอื การกํากบั ดแู ล

๔.๑.๒ การแรงงานฝายกําลงั พล
การในหนา ทเ่ี กี่ยวกบั การตดิ ตอและการประสานงาน กบั หนว ยงานของรัฐบาลและ

เอกชนและสถาบนั ตาง ๆ เกย่ี วกับแรงงาน การกาํ หนดความตอ งการแรงงานของหนวยกําลังทหาร ตาม
นโยบายท่ผี บู งั คบั บญั ชาชนั้ เหนือไดว างไว การจดั หาแรงงาน การฝก อบรม การหาท่ีอยใู หม การจดั ท่พี กั
อาศยั มาตรฐานดานความปลอดภัย คาจา ง ชั่วโมงทาํ งาน เงินอุดหนนุ พิเศษแกพ วกวา งงาน การใหเงนิ คา
ทาํ ขวญั แกผูบาดเจบ็ และอืน่ ๆ ทค่ี ลายคลึงกันน้ี กจิ เฉพาะตา งๆ ไดแก

๔.๑.๒.๑ แผนในการใชแ รงงาน
๔.๑.๒.๒ การพจิ ารณาแรงงานที่ใชได ระเบียบการจัดหาแรงงาน
๔.๑.๒.๓ การตรวจสอบ กฎขอ บังคับและนโยบายตาง ๆ ประสิทธภิ าพของ
หนวยงานในทองถน่ิ สถาบันและองคการตางๆ ท่เี ก่ยี วกบั แรงงาน
๔.๑.๒.๔ การวิเคราะหความสําคญั ดานแรงงานระหวา งนายจา งกับลกู จา ง
๔.๑.๒.๕ การประสานกับหนว ยงานทดี่ าํ เนินการจดั หาแรงงาน
๔.๑.๒.๖ เสนอแนะในเรอ่ื งเก่ียวกบั การใชป ระโยชนข องแรงงานพลเรอื นรวมทัง้
การควบคุม คา จา ง อัตราลกู จา ง กําหนดเวลาทํางาน
๔.๑.๒.๗ ความสมั พนั ธด านแรงงาน การรักษาพยาบาล การจายเงินคา ทาํ ขวัญการ
จา ยเงินคา จาง
๔.๑.๒.๘ การเสนอแนะเกย่ี วกับการเปลยี่ นแปลงแกไ ข เกี่ยวกบั กฎหมายแรงงาน
บทบัญญตั ิ นโยบายและกฎขอ บงั คบั ตางๆ
๔.๑.๒.๙ การเสนอแนะในเรอ่ื งเกี่ยวกบั ระเบยี บการตาง ๆ ทจ่ี ะตอ งปฏิบัตติ าม
ในเมอื่ หลกั ฐานปรากฎวา ทก่ี ารแทรกซึมของขาศกึ เขา มาคุกคาม ในตลาดแรงงาน สหพนั ธ องคการทางการ
ปกครอง หรอื หนวยงานตางๆ
๔.๑.๓ การกฎหมาย
การในหนาทนี่ ี้เกีย่ วกบั ระบบกฎหมายของพ้นื ที่นั้น ๆ การนํากฎหมายระหวา ง
ประเทศไปใชใ นการปฏบิ ตั กิ ารกิจการพลเรือน กิจเฉพาะในการประสานงานกับนายทหารพระธรรมนูญ
ไดแก
๔.๑.๓.๑ การสนับสนุนงานของนายทหารฝา ยพระธรรมนูญ

๑๙

๔.๑.๓.๒ การตรวจสอบสาํ นกั งานทนายความในทอ งถนิ่ การพิจารณาถึงความ
เช่ือถอื ในทนายความเหลานน้ั

๔.๑.๓.๓. การจัดต้ังศาลพิเศษดา นกิจการพลเรือนเทา ท่ีจําเปน
๔.๑.๓.๔ การใหข อเสนอแนะเก่ยี วกบั การเปล่ยี นแปลงแกไขการงดใชชัว่ คราวหรอื
การประกาศใชกฎขอบังคับตางๆ
๔.๑.๓.๕ การกาํ กบั ดแู ลการบรหิ ารงานของเจา หนา ทก่ี ฎหมาย
๔.๑.๓.๖ การจดั ต้ังระบบการตรวจสอบหลักเกณฑข องกฎหมาย เกยี่ วกับการ
บริหารงานทางเรือนจําและระเบยี บการพจิ ารณาโทษตามปกติ
๔.๑.๓.๗ การใหคําแนะนาํ ทางกฎหมายในเรอื่ งเกยี่ วกับการศึกษา ความปลอดภัย
ทางพลเรอื น
๔.๑.๓.๘ การรางบทกาํ หนดโทษตางๆ
๔.๑.๔ การบรหิ ารสาธารณะ
การในหนาทเี่ กี่ยวกับโครงสรา งและกาํ หนดการดําเนนิ งานทางดา นการปกครอง
การจดั ต้ังหรือการชว ยเหลือหนว ยตาง ๆ ทางดา นกฎหมาย การบริหารงานจากระดบั ชาตถิ งึ ระดบั ทอ งถิ่น
กิจเฉพาะตา ง ๆ ไดแก
๔.๑.๔.๑ การสํารวจองคการปกครองทกุ ระดบั
๔.๑.๔.๒ การสํารวจสายการบงั คับบัญชา และอทิ ธพิ ลทม่ี ีผลกระทบกระเทือน
ทางดา นการเมอื ง
๔.๑.๔.๓ การวเิ คราะหค วามสามารถของหนวยงานทางการปกครอง ลกู จา งและ
หัวหนาชุมชนอน่ื ๆ
๔.๑.๔.๔ การเขา ไปมสี ว นรวมในการเปน กรรมการ คณะกรรมการ หรอื คณะ
มนตรตี าง ๆ ทเี่ ก่ยี วกับกิจการทางดานการปกครอง
๔.๑.๔.๕ การโยกยายขา ราชการท่ีเปนปฏิปกษ การแตง ตง้ั หวั หนาโครงการตา ง ๆ
ทีจ่ ะใชใ นอนาคต
๔.๑.๔.๖ การเสนอแนะรูปการจดั พันธกจิ การดาํ เนนิ การ และอาํ นาจหนาทีข่ อง
หนวยงานทางการปกครอง หรือการควบคมุ ทางดานสงั คม
๔.๑.๔.๗ การแนะนํา การตดิ ตอ การกํากบั ดแู ล การควบคมุ หรอื การเขา ดําเนินงาน
แทนหนว ยงานทางการปกครอง
๔.๑.๔.๘ การแนะนาํ การตดิ ตอ การกาํ กบั ดแู ล การเสนอแนะ การเปลี่ยนแปลง
นโยบายตา ง ๆ โดยยดึ ถือตามการวเิ คราะหส ภาพสงั คม และเศรษฐกจิ ของพนื้ ทน่ี นั้ ๆ
๔.๑.๕ การศกึ ษาสาธารณะ
การในหนา ทีเ่ ก่ยี วกบั การควบคุม การกํากบั ดแู ล หรือการชว ยเหลือโครงการศกึ ษา
สถาบนั ศึกษา และหอ งสมดุ สาธารณะกิจเฉพาะตา ง ๆ ไดแ ก

๒๐

๔.๑.๕.๑ การสํารวจ วเิ คราะหในเรือ่ งเกยี่ วกับส่ิงอํานวยความสะดวกของโรงเรียน
กฎขอบงั คบั ตา งๆ ทมี่ ีอยู หลักสูตรการศึกษา ระเบยี บ การฝกสอน อบรม และการคดั เลือกครูผสู อนและตาํ รา
ที่ใชในการเรยี น

๔.๑.๕.๒ การเสนอแนะเก่ยี วกบั การเปลยี่ นแปลงที่จาํ เปน เพอ่ื ใหส อดคลองกบั
นโยบายของชาติ เชน การกลน่ั กรอง ครูผสู อน หรอื การเปลย่ี นแปลงตาํ ราเรยี นเปน ตน

๔.๑.๕.๓ การพจิ ารณา และออกขอบงั คบั เก่ียวกับขอจาํ กดั ในการใชสิ่งอาํ นวย
ความสะดวกของโรงเรียน เชน การหามทหารใชอ าคาร และโรงเรยี นเปน ทพี่ ักอาศัยในเมือ่ สง่ิ อาํ นวยความ
สะดวกอ่ืน ๆ มีอยูแลว

๔.๑.๕.๔ การกาํ กบั ดูแลเกย่ี วกับการบรหิ ารงาน การพทิ กั ษร กั ษาเอกสาร และการ
ดาํ เนนิ การตรวจตราตามโรงเรียนตา ง ๆ

๔.๑.๕.๕ การเบกิ และการจายวัสดุ และสงิ่ อุปกรณท ีใ่ ชใ นกจิ การของโรงเรยี น
๔.๑.๕.๖ การโยกยายเจาหนา ทีพ่ ลเรอื นทางดานการศกึ ษาสาธารณะ ที่เหน็ วา เปน
ปฏิปกษห รอื ไมเ หน็ ดว ยกบั นโยบายและวตั ถปุ ระสงค
๔.๑.๕.๗ การเตรยี มแผน และระเบยี บในการซอมแซมส่ิงอาํ นวยความสะดวกของ
โรงเรียนที่ชํารดุ ทรดุ โทรม โดยยดึ ถอื ลาํ ดบั ความเรงดว นเปนมูลฐาน
๔.๑.๕.๘ การชวยเหลอื หรอื การกํากับดแู ลโครงการศกึ ษา ที่จดั ทําขนึ้ ใหมห รือ
ปรบั ปรุงแกไ ขใหม
๔.๑.๖ การเงนิ สาธารณะ
การในหนาทนี่ ้ไี ดแก การควบคุม การกํากบั ดแู ล และการตรวจสอบบญั ชีทรพั ยสิน
ทางดานการเงนิ ของทอ งถน่ิ การควบคุมงบประมาณ การภาษีอากร การจา ยเงินทนุ สาธารณะจํานวนธนบัตร
ท่อี อกใช สาํ นกั งานธนาคาร กจิ เฉพาะตาง ๆ ไดแ ก
๔.๑.๖.๑ การวิเคราะหเกยี่ วกบั ระบบการเก็บภาษีอากร และแหลงรายไดอ นื่ ๆ
การใชจายของรัฐบาล การประมวลการเงนิ ทุนสาธารณะ
๔.๑.๖.๒ การตรวจสอบกฎหมายวาดว ยสทิ ธิและความเก่ียวขอ งระหวา งรัฐ กบั
ประชาชนและหนว ยงานทเี่ กย่ี วกับการธนาคารและการเงนิ
๔.๑.๖.๓ การวิเคราะหโ ครงสรา งทางดานการเงนิ รวมทง้ั ประเภทและสภาพของ
สถาบันการเงินตาง ๆ
๔.๑.๖.๔ การวเิ คราะหป ระเภทและปรมิ าณการหมนุ เวยี นของเงนิ ตรา และอตั รา
แลกเปลยี่ น
๔.๑.๖.๕ การเสนอแนะเกยี่ วกับระบบเงินตราทหาร
๔.๑.๖.๖ การเสนอแนะเกยี่ วกบั อตั ราแลกเปลยี่ นเงินตรา
๔.๑.๖.๗ การจดั ตั้งและการบงั คับใชข อหา มตาง ๆ เกย่ี วกับการนาํ เงนิ ตราออกนอก
ประเทศ

๒๑

๔.๑.๖.๘ การเสนอแนะ เกยี่ วกบั การเพิม่ เงินทนุ แกส ถานบนั การเงินของรัฐและ
ของเอกชนใหส ูงขน้ึ

๔.๑.๖.๙ การปรบั ปรงุ แกไ ข การกําหนดระบบการเกบ็ ภาษีขึ้นใหม
๔.๑.๖.๑๐ การวางระเบยี บ กาํ กบั ดแู ลหนวยการเงินรฐั ธนาคารสหกรณ สนิ เชอื่
และสถาบนั การเงนิ อน่ื ๆ
๔.๑.๗ การสาธารณสขุ
การในหนา ทน่ี ้เี กยี่ วกบั มาตรการในการทสี่ งวนไว หรอื การกลับคนื มาซงึ่ การ
สาธารณสขุ ของรฐั และเพอื่ ปอ งกันรกั ษาสุขภาพอนามัยของกําลงั ทหาร อนุสญั ญาเจนีวาเกยี่ วกับพลเรอื น
ป ค.ศ.๑๙๔๙ ไดบญั ญัตสิ ทิ ธแิ ละหนา ทท่ี งั้ สนิ้ เก่ียวกับผไู ดร บั บาดเจ็บ ผูป วยไข คนชรา เด็กสตรมี คี รรภ และ
บคุ คลอืน่ ๆ ทีไ่ มมีสทิ ธใิ นการปองกนั ตนเองในฐานะทเ่ี ปนเชลยศกึ อนุสัญญานี้ไดก ําหนดอกี วา บรรดา
โรงพยาบาลพลเรือนและส่ิงอาํ นวยความสะดวกในดานการขนสงสายแพทยน ้นั ใหไ ดร ับสิทธใิ นการปองกัน
จากการโจมตี เชน เดยี วกับหนวยหลัง สิ่งอํานวยความสะดวกของแพทยท หารดว ยเหมอื นกนั กจิ เฉพาะตา ง ๆ
ไดแก
๔.๑.๗.๑ การวิเคราะหร ปู การจดั หนว ย และการในหนา ท่ตี า ง ๆ ของหนวยงานดาน
สาธารณสขุ และสขุ าภิบาลของทอ งถนิ่
๔.๑.๗.๒ การสํารวจความเพยี งพอของเจา หนา ที่ทางการแพทย บุรษุ พยาบาลและ
ผชู ว ย และส่ิงอาํ นวยความสะดวกตาง ๆ ทางการแพทยแ ละสุขาภบิ าล
๔.๑.๗.๓ การเตรียมการประมาณการเกยี่ วกับความตองการเจาหนา ทท่ี างการแพทย
เพิ่มเติมสิง่ อปุ กรณสายแพทย และวสั ดตุ าง ๆ ที่ตอ งการนาํ ไปใช เพื่อดาํ รงรักษาไวซ ่ึงส่ิงอํานวยความสะดวก
ตา ง ๆ ของทอ งถนิ่
๔.๑.๗.๔ การกาํ หนดเกยี่ วกบั เรื่องการปองกนั การควบคมุ และการรักษาพยาบาล
โรคเร้ือรงั โรคตดิ ตอใหแ กป ระชาชนพลเรอื น
๔.๑.๗.๕ การเสนอแนะเกย่ี วกบั การพิทกั ษร กั ษาสิง่ อปุ กรณ และสง่ิ อาํ นวยความ
สะดวกตา ง ๆ
๔.๑.๗.๖ จัดการในเรื่องการรกั ษาพยาบาลพลเรือน ผูปวยไข และผไู ดร บั บาดเจบ็
รวมทัง้ กําหนดการในเรอื่ ง ชวยเหลือทางแพทย จากหนว ยทหารในเมอื่ ตองการดวย
๔.๑.๘ ความปลอดภยั สาธารณะ
การในหนา ทน่ี ี้ไดแ กการแนะนาํ ชว ยเหลอื หรอื การควบคมุ กากาํ กับดแู ลเจาหนาท่ี
ในทองถน่ิ ในการเสรมิ สรา ง การดาํ รงรกั ษาไวซึง่ ความเปน ระเบียบเรียบรอ ย ความปลอดภยั ของพน้ื ที่นัน้ ข้ึน
ใหม ซ่ึงรวมทงั้ กิจการตาํ รวจ การปอ งกันอคั คภี ยั สถานทดี่ ัดสนั ดาน กจิ เฉพาะตา ง ๆ ไดแก
๔.๑.๘.๑ การศึกษาเก่ียวกบั รปู การจัดหนว ย ขดี ความสามารถ เครื่องมอื เครอื่ งใช
สิง่ อาํ นวยความสะดวกในการกกั ขัง และหนว ยงานดานการกอ งกนั อัคคภี ัย

๒๒

๔.๑.๘.๒ การตรวจสอบวิธกี ารในการประกาศใชร ะเบยี บตา ง ๆ ตามจารีตประเพณี
แกประชาชน และวธิ กี ารในการใชก ฎขอบงั คบั ตางๆ ซ่งึ เปน ท่ียอมรับนบั ถอื ในหมูป ระชาชนแลว

๔.๑.๘.๓ การวเิ คราะหอปุ นสิ ยั ของประชาชน เกยี่ วกบั การเคารพตอ คําสัง่ และการ
เชอ่ื ฟง ตวั บทกฎหมาย

๔.๑.๘.๔ การประสานการปฏบิ ตั ิกบั หนว ยตอ ตานขาวกรองในดานการปอ งกนั
คน หาเกยี่ วกบั การจารกรรม การกอ วนิ าศกรรม การบอ นทําลาย การใหค วามชว ยเหลอื พลเรือนตอกจิ กรรม
ดา นกองโจร

๔.๑.๘.๕ กํากบั ดแู ลหนว ยงานพลเรอื น การบังคบั ใหเปนไปตามกฎหมาย ดาํ รงไว
ซง่ึ ระเบียบคําสัง่ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ เกยี่ วกับการลักทรพั ย การกอความไมสงบ การควบคุมสุราของมึนเมา
ตาง ๆ การสะสมและการจําหนา ยอาวุธ วตั ถุระเบดิ และเครื่องมือเครื่องใชใ นสงครามทต่ี กไปอยใู นกาํ มือของ
พลเรือน

๔.๑.๘.๖ ใหมน่ั ใจวา ไดมกี ารบอกกลา วใหพลเรอื นทราบถึงประกาศและแจงความ
ตาง ๆ อยางถูกตอ ง

๔.๑.๘.๗ นาํ แผนการใชร ะเบยี บขอบงั คบั ตาง ๆ เกย่ี วกบั การควบคมุ รักษาความ
ปลอดภัยของประชาชนพลเรือน เชน การผานเขา – ออก การขึน้ ทะเบยี นบุคคล จุดตรวจการหามออกนอก
บานเวลาคํา่ คนื การตดิ ตอ สอื่ สาร การควบคมุ แหลง มัง่ สุม การจบั กมุ บุคคลท่มี ีหมายประกาศจบั

ฯลฯ

๔.๑.๙ การประชาสงเคราะห

การในหนา ท่เี ก่ยี วกบั มาตรการท่จี ําเปนในทางความเปนระเบียบเรยี บรอ ยของ

สาธารณะการประชาสงเคราะหย ามฉุกเฉนิ หรอื ท่กี ารประชาสงเคราะหอ ยา งตอเนือ่ ง มาตรการตาง ๆ ทาง

สวสั ดิการ การชว ยเหลือ การควบคมุ สถาบันสวสั ดิการตา ง ๆ ทง้ั ของเอกชนและสาธารณะ สถานบันเด็กเล็ก

คนชรา องคการกศุ ล และการสงเคราะหอน่ื ๆ กิจเฉพาะตาง ๆ ไดแก

๔.๑.๙.๑ การวเิ คราะหสถาบนั เกย่ี วกบั สวสั ดิการ กฎ ขอ บงั คับตา ง ๆ ทใี่ ชอ ยู

ขณะนน้ั

๔.๑.๙.๒ การประมาณความตอ งการในเรอ่ื งกิจกรรมดานการประชาสงเคราะห

๔.๑.๙.๓ การเสนอแนะ การชว ยเหลือของทหารตอ กิจกรรมดานการ

ประชาสงเคราะห

๔.๑.๙.๔ การประมาณความตอ งการ การเบิกส่ิงอุปกรณ การแจกจา ย การกาํ กบั

ดูแลสง่ิ อุปกรณทใ่ี ชในการบรรเทาทกุ ข ซ่งึ ไดมาจากสง่ิ อปุ กรณทางทหาร

๔.๑.๙.๕ กาํ กับดแู ลในเร่ืองทีพ่ กั อาศยั ยามฉกุ เฉิน และศูนยเลย้ี งดพู ลเรอื นใน

ทอ งถ่ิน

๒๓

ฯลฯ

๔.๒ หนา ทที่ างเศรษฐกจิ

คอื บรรดาหนาที่ทเ่ี กี่ยวของกบั โครงสรางทางเศรษฐกจิ ของพน้ื ที่เปนสว นรวม การประสาน

การปฏิบัตขิ องลกั ษณะส่งิ ตา ง ๆ ท่ที าํ ขึ้นจากทรพั ยากรในทองถ่ิน เพอ่ื พฒั นาการสนับสนุนโดยตรงตอกจิ การ

ทหาร และการทําใหค วามรับผิดชอบทางเศรษฐกิจของผูบังคบั บัญชาทมี่ ีตอ ประชาชน พลเรอื นบรรลุ

ความสาํ เร็จหนา ท่ีเหลานนี้ บั วา มีความสําคญั ตอ การพิจารณาสนับสนนุ ทางการทหารรวมกนั การทํากาํ หนด

บูรณะและแผนเศรษฐกจิ ระยะยาวเพอ่ื ปรับปรุงสิง่ แวดลอ มตา ง ๆ หนาทเ่ี หลานไี้ ดแ ก

๔.๒.๑ การสง กําลังพลเรือน

การสง กาํ ลงั พลเรือนครอบคลุมถึงการระดมสรรพกําลัง และการใชทรัพยากรทาง

เศรษฐกิจของพลเรือน ภายในกรอบนโยบายของชาติ จารตี ประเพณี กฎหมายระหวางประเทศการสนอง
ความตอ งการของพลเรือนที่จาํ เปน จากแหลงสงกําลงั ของพลเรอื น และการเพมิ่ เตมิ ความตอ งการของ

พลเรอื นหนา ท่ดี ังกลาวน้ี รวมทั้งการกระทาํ และกรรมวธิ ีจาํ เปน ในการพจิ ารณาความตองการ การจดั หา

การแจกจา ยสงิ่ อปุ กรณทางดา นเศรษฐกิจใหแกพ ลเรือน นอกจากนย้ี งั รวมถงึ ความรับผดิ ชอบในการ

กาํ หนดการแจกจา ยอาหาร และสิ่งอุปกรณเทาท่ีหามาไดจ ากแหลง ทรพั ยากรในทองถ่ิน ชุดการในหนาท่นี ี้

จะตองวิเคราะหและคํานวณความตอ งการสงิ่ อปุ กรณและยทุ โธปกรณท กุ ประเภท รวมทั้งปจจยั ตา ง ๆ ที่ดํารง

รักษาไว ซงึ่ เศรษฐกจิ ของพลเรือนทางดา นประสทิ ธิภาพในการผลติ ของรฐั อีกดว ย แหลง สิง่ อปุ กรณส าํ คัญ

ไดแก การแบง มอบส่ิงอุปกรณจากเศรษฐกจิ ในทอ งถิน่ ขึ้นใหม คลงั ของขา ศกึ ท่ถี กู ยึด การชว ยเหลอื จาก
องคก ารสวัสดกิ ารและการกศุ ลของประเทศและระหวางประเทศกิจเฉพาะตาง ๆ ไดแ ก

๔.๒.๑.๑ การวางแผนในกจิ กรรมตาง ๆ ดานการสง กาํ ลงั บาํ รงุ

๔.๒.๑.๒ การวางแผนการแจกจายส่ิงอุปกรณ โดยยดึ ถือมาตรฐานการครองชพี

รวมท้ังปจ จยั ทางสขุ ภาพอนามัย และทางดา นอาหารดว ย

๔.๒.๑.๓ การตรวจและพิจารณาแบบตาง ๆ ของพ้นื ทีน่ ัน้ ๆ ทางดานกิจกรรมและ

อตุ สาหกรรม เพอ่ื พิจารณาผลกระทบกระเทือนนโยบายทางการบรหิ ารเกย่ี งกบั สงิ่ อปุ กรณท างพลเรอื น

๔.๒.๑.๔ การใหข อ เสนอแนะ ในเร่ืองเก่ยี วกับการเคล่ือนยายสงิ่ อุปกรณพ ลเรือน

จาํ เปน โดยเฉพาะอยา งยิ่งในเร่ืองอาหารและนาํ้ มนั เชอื้ เพลงิ ทีเ่ หลอื เฟอ มายังบรเิ วณทีข่ าดแคลน

๔.๒.๑.๕ การเสนอแนะ เกย่ี วกบั สง่ิ อุปกรณซ ึ่งควรจดั หาจากแหลง ของทหารและ

การแบงมอบสิ่งอปุ กรณดังกลาว

๔.๒.๑.๖ การใหข อเสนอแนะ ในเรอ่ื งเกยี่ วกับส่งิ อุปกรณทใ่ี ชใ นกจิ กรรมทหารซึ่ง

ไดม าจากแหลง สิ่งอุปกรณท างพลเรือนเทาท่ีมี โดยอาศยั จารัตประเพณี และกฎหมายระหวา งประเทศ

เปน หลัก

๔.๒.๑.๗ การเจรจาตกลงกบั พลเรือนเพื่อใหหนวยทหารไดรบั การสนบั สนุน

ฯลฯ

๒๔

๔.๒.๒ การเศรษฐกจิ และการคา
การในหนาทน่ี ้ีเก่ียวกับการใหค วามชว ยเหลือ การชว ยเหลือและการประสานงาน

กบั หนว ยงานทางเศรษฐกจิ ตาง ๆ ทง้ั ของสาธารณะและของประชาชน การพจิ ารณาในเรอื่ งสถานท่ตี ัง้
ประเภทและจาํ นวนทรัพยากรตามธรรมชาตเิ ทา ที่กําหนดให การพฒั นาแผนตา ง ๆ ในการบูรณะฟนฟู
เศรษฐกิจในทอ งถิน่ กํากบั ดูแล การชว ยเหลอื การปฏิบัติงานดานกจิ กรรมทางการคา และอุตสาหกรรม
การจัดต้งั การฟนฟกู ารคา กบั ตางประเทศ เพื่อสงเสริมการเพิม่ ผลผลิตของพลเรือนทางดา นเศรษฐกิจ การ
ปน สว นการควบคุมราคาโภคภัณฑท ห่ี ายาก ซงึ่ จาํ เปนตอการครองชีพของพลเรอื นในพน้ื ที่นัน้ กิจเฉพาะ
ตาง ๆ ไดแก

๔.๒.๒.๑ การสํารวจกจิ กรรมทางดา นการคา อุตสาหกรรม เพอ่ื พิจารณาเกย่ี วกบั
การนําเอาทรพั ยากรของทองถิ่นทม่ี อี ยมู าใชใ นกจิ การทหาร วิถีทางในการพฒั นาและการใชทรพั ยากรตาม
ธรรมชาติท้ังประเภทและจาํ นวนทีม่ อี ยู วธิ กี ารผลิตและจาํ หนา ย

๔.๒.๒.๒ ขา วสารและคาํ แนะนําทเ่ี กย่ี วกบั นโยบายของผบู งั คบั บญั ชาทางทหารทมี่ ี
ตอธรุ กิจในทอ งถนิ่ และสถาบันการคา

๔.๒.๒.๓ การตรวจสอบในเรือ่ งการควบคุมราคาสนิ คา และมาตรการในการ
ปนสวน

๔.๒.๒.๔ การสง เสรมิ และกาพัฒนามาตรการตางๆ ทางเศรษฐกิจ

ฯลฯ

๔.๒.๓ การอาหารและเกษตร
การในหนา ทนี่ ี้นาํ ไปใชใ นดานการผลติ ทางดา นพลเรอื น กรรมวิธี การเก็บรักษา

และการแจกจา ยอาหาร ในอนั ทจ่ี ะลดปรมิ าณการส่งั ซอื้ อาหารจากแหลงตา งประเทศเขา มาบรโิ ภคของทหาร
และพลเรือนทง้ั ยังรวมถงึ การประมาณความตอ งการตา งๆ การสงเสริมการผลติ และการดําเนนิ การเก่ียวกบั
อาหารจาํ เปน การปรับปรุงและควบคุมวธิ กี ารในการเพราะปลูก และการเสนอแนะแผนตาง ๆ เก่ียวกบั การ
อนรุ กั ษ และการใชทด่ี ิน และปา ไมใ หเปนประโยชน และทรัพยากรดานอาหารภายในพื้นทปี่ ฏบิ ตั กิ าร
กิจเฉพาะตา ง ๆ ไดแก

๔.๒.๓.๑ การผลิตผลทางเกษตร วิธีการในการเพราะปลูก การอนุรกั ษท ด่ี ินและปา
ไม การเกบ็ รกั ษาอาหาร

๔.๒.๓.๒ การสาํ รวจเพือ่ พจิ ารณาถงึ แหลง ทีม่ อี าหารเหลือเฟอ และพนื้ ท่ีขาดแคลน
๔.๒.๓.๓ การประมาณความตองการในเรอื่ งอาหาร การผลติ ทางเกษตร และการ
ขาดแคลนอาหารท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ไดร ะหวางปฏบิ ัตกิ าร ความตองการในเร่ือง อาหาร ปุย และเครอ่ื งจกั รกล

๔.๒.๓.๔ มาตรการที่จะสงเสริมการผลิตดา นการเกษตรใหค งรปู
อยอู ยางเดิม

๒๕

๔.๒.๓.๕ การเสนอแนะเพอ่ื ใหส ามารถเพมิ่ ผลผลติ

ฯลฯ

๔.๒.๔ การควบคมุ ทรพั ยส นิ
การในหนาทน่ี ีด้ าํ เนนิ การเพ่ือปองกนั ทรพั ยสินภายในขอบเขตที่กําหนดขึน้ และ

เพอื่ พทิ ักษร กั ษาสมบตั ิทีซ่ ื้อขายกนั ได และทรพั ยากรตา ง ๆ ซึ่งขน้ึ อยูกับระบบการอารกั ขา หรอื การควบคมุ
ทรพั ยสินทม่ี ีแบบแผนและมคี วามเปน ระเบียบเรียบรอย กจิ เฉพาะตา ง ๆ ไดแก. -

๔.๒.๔.๑ การดํารงรกั ษาทะเบียนบัญชคี ุมสง่ิ อุปกรณและทรพั ยส ินที่โอนจากแหลง
สงิ่ อุปกรณทางพลเรือนไปใหแ กห นว ยทหาร

๔.๒.๔.๒ การกําหนดแนวทางนโยบายสาํ หรับการใชประโยชน และการใหความ
อารักขาแกทรพั ยส นิ

๔.๒.๔.๓ การตรวจสอบประเภท หรือจาํ พวกของทรัพยสนิ ทตี่ องใหก ารอารกั ขา
และวเิ คราะหต ามกฎหมายทเี่ ก่ียวกับทรพั ยส นิ ดงั กลา ว

ฯลฯ

๔.๓ หนาทที่ างสง่ิ อาํ นวยความสะดวกสาธารณะ
คอื บรรดาหนาท่ที ี่เก่ยี วกบั การกาํ กับดแู ล การควบคมุ และการปฏิบตั ิการตามความจําเปน

ตอส่งิ อํานวยความสะดวกตา ง ๆ เชน นาํ้ ขยะมลู ฝอย ระบบพลงั งานไฟฟา และระบบพลงั งานอนื่ ๆ
การคมนาคม การขนสง การบรู ณะ หรอื การนาํ เอาสง่ิ อาํ นวยความสะดวกตา ง ๆ ดังกลาวมาใชใ หมหนา ที่
เหลาน้ีมคี วามจาํ เปนแหละมคี วามสําคัญเปน พเิ ศษ เพราะมีความสัมพันธอยา งใกลช ดิ และมกี ารนาํ มาใช
โดยตรงในกิจการทหาร ซ่งึ ไดแก

๔.๓.๑ การคมนาคมสาธารณะ
การในหนาทนี่ ้ีเกีย่ วกบั การกาํ กับดแู ล การบริหารทางดา นประชาสมั พันธและการ

บริการทางสง่ิ อาํ นวยความสะดวกดานคมนาคมของพลเรือนทง้ั สน้ิ ท่ไี มขึ้นอยใู นการควบคุมทางทหารของ
นายทหารส่อื สารประจํากองบัญชาการหรือกองทัพบกประจาํ ยุทธบริเวณโดยตรง นอกจากนน้ั ยงั เก่ยี วกับการ
จดั ระเบยี บตาง ๆ ผชู าํ นาญการทางเทคนคิ พลเรอื น ชิน้ สวนและวสั ดุทางการสอื่ สารขอ ตกลงระหวา งประเทศ
และขอตกลงทางดา นกจิ การพลเรือน ตลอดจนคําสัง่ คําช้ีแจง นโยบายท่เี กยี่ วของกบั การคมนาคมท้ังสิ้น
กิจเฉพาะไดแ ก

๔.๓.๑.๑ การวิเคราะหถ งึ เรอ่ื งสถานทต่ี ัง้ หนา ที่ เครื่องมอื และเทคนคิ ของสิ่ง
อํานวยความสะดวก ดา นคมนาคม ตลอดจนการบรกิ ารทางไปรษณยี  ทมี่ อี ยใู นอนาคต

๒๖

๔.๓.๑.๒ การศึกษาถงึ รปู การจดั และการบรหิ ารงานดา นการ คมนาคมพลเรือนอาทิ
เชน การบริการทางไปรษณยี มักจะจดั และดําเนินการในรปู ของบรกิ ารทางโทรศพั ทแ ละโทรเลขอยเู สมอๆ

๔.๓.๑.๓ การเสนอแนะถึงขอบเขตสิ่งอํานวยความสะดวกกา นคมนาคม ซ่งึ จะตอง
ควบคุมกํากบั ดูแล หรือปฏบิ ตั งิ านโดยใชบ ริการทางเทคนคิ องคการกิจการพลเรือน หรือหนว ยงานอื่น ๆ

๔.๓.๒.๔ การชว ยเหลอื ควบคมุ การกํากบั ดแู ล หรือการปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย
เก่ยี วกบั สงิ่ อาํ นวยความสะดวกดานคมนาคม และการบริการดา นการไปรษณยี ทไี่ ดก ําหนดไวแ ลว

๔.๓.๒.๕ การกาํ กบั ดแู ลเกย่ี วกับการสงมอบ การควบคุมเก่ียวกบั สิง่ อํานวยความ
สะดวกตาง ๆ คนื ใหก บั พลเรอื น ในเมือ่ ไมมีความตอ งการท่ีจะใชสงิ่ ดงั กลาวในกจิ การทหารอกี ตอไป

ฯลฯ

๔.๓.๒ การขนสงสาธารณะ
การในหนา ทน่ี ี้เกี่ยวกับสิ่งอาํ นวยความสะดวกตา ง ๆ ดา นการขนสง ที่ยังอยภู ายใน

กํามือหรอื เปลี่ยนไปอยูใ นกาํ มอื ของรัฐบาลพลเรือน หรอื พนกั งานเอกชน การรถไฟ ทางหลวง การเดนิ อากาศ
และการเดินเรอื กอใหเ กดิ ระบบการขนสง สาธารณะข้นึ มา ระบบดงั กลาวนจี้ ะตอ งบริการใหก ับกองทัพ
เชนเดยี วกับการบรกิ ารใหแ กเ ศรษฐกิจพลเรือนของประเทศเหมอื นกนั กิจเฉพาะตา งๆ ไดแก

๔.๓.๒.๑ การสํารวจในรปู การจดั หนวย เสนทาง และขีดความสามารถของระบบ
การขนสง รวมท้ังขอบเขต ความเสียหาย และความตองการในการปรบั ปรุงแกไขใหใ ชก ารไดใหมดังเดิม

๔.๓.๒.๒ การวเิ คราะหร ปู การจัดหนวย กําลังความสามารถ และการในหนาที่ของ
หนว ยงานตาง ๆ ทอ่ี อกระเบียบขอบังคบั

๔.๓.๒.๓ การเสนอแนะขอบเขตของการปฏิบตั ิงานเกยี่ วกบั ระบบการขนสงทาง
พลเรือนที่พึงประสงคจ ากหนวยงานของทหาร

๔.๓.๒.๔ การเสนอแนะเกย่ี วกบั การแบงมอบส่ิงอํานวยความสะดวกตา ง ๆ ดาน
การขนสง ใหแ กพลเรอื น หรอื เพ่อื ใชกจิ การทหาร และการประสานการปฏบิ ัตใิ นขอเสนอแนะดงั กลา วกับ
หนวยงานทางทหารที่เหมาะสม

๔.๓.๒.๕ กํากับดูแลสิง่ อํานวยความสะดวกตา ง ๆ ทพ่ี น จากการควบคุมของทหาร
ไปอยใู นการควบคุมของพลเรอื น

ฯลฯ

๔.๓.๓ งานสาธารณะและสาธารณปู โภค
การในหนา ทน่ี เี้ กย่ี วกับการกํากบั ดแู ล และการปฏบิ ตั ิการของส่งิ อาํ นวยความ

สะดวกตาง ๆ เชน อาคาร เขอ่ื นกนั้ นาํ้ ระบบการประปา แกส การกาํ จัดขยะมูลฝอย การไฟฟาและระบบอื่น ๆ

๒๗

ท่คี ลา ยคลงึ กนั เทา ที่มีความจาํ เปนและการบูรณะซอ มแซม หรือการนาํ เอาบรกิ ารเหลา น้ีเขามาใชก ิจเฉพาะ
ตา ง ๆ ไดแ ก

๔.๓.๓.๑ การสาํ รวจรปู การจัด และขดี ความสามารถของสถานท่ีตงั้ ที่สําคัญ ๆ
รวมทง้ั ขอบเขตความเสียหายดว ย

๔.๓.๓.๒ การเสนอแนะ เกย่ี วกับขอบเขตทีต่ อ งการใชก ารปฏิบตั ขิ องหนวยงาน
ทางทหารท่ีมตี อ สิง่ อํานวยความสะดวกทางพลเรอื น

๔.๓.๓.๓ การเสนอแนะ เกีย่ วกับการรกั ษาความสงบเรียบรอยแกส ่ิงอาํ นวยความ
สะดวกตา งเทา ทจ่ี าํ เปน

๔.๓.๓.๔ การเสนอแนะเกย่ี วกับการแบงมอบสาธารณูปโภคใหแ กพลเรือน และ
เพอ่ื ใชใ นกจิ การทหาร

๔.๓.๓.๕ การกาํ กับดแู ลสาธารณูปโภคของพลเรือน และการใหไ ดม าซง่ึ การ
บรกิ ารสาธารณูปโภคที่จําเปน จากขมุ กําลังทางทหาร

ฯลฯ

๔.๔ หนา ที่พิเศษ
หนาที่พเิ ศษคอื บรรดาหนาท่ที ีเ่ กยี่ วของกบั ประชาชน สทิ ธิสว นบุคคล วฒั นธรรม การดแู ล

รักษาศาสนา การอารักขาและการควบคมุ การส่งั การตามแผนทีว่ างไว ทําใหก จิ กรรมตาง ๆ ในหนาที่
ประเภทนบี้ รรลคุ วามสําเรจ็ โดยสมบรู ณ หนาทเี่ หลา น้ีมีความจําเปน พิเศษตอ ผบู ังคับบญั ชามิใชเ พียงแตค วาม
จําเปนภายใตก ฎหมายระหวา งประเทศเทา นั้น แตห นาทเี่ หลา น้ีกระทบกระเทือนตอ ทาทคี วามจงรกั ภักดี และ
ความไมไ ววางใจของประชาชนทีม่ ีตอ กําลงั ทหาร และการปฏบิ ตั ิการของผบู ังคับบญั ชานน้ั ดว ย หนา ท่ี
เหลา นีไ้ ดแ ก

๔.๔.๑ ศิลปะ อนุสาวรยี  และเอกสารสําคญั
การในหนาทเ่ี กีย่ วกบั การปองกนั รักษาขนบธรรมเนยี มประเพณี และวฒั นธรรม

ศลิ ปของพ้นื ทใ่ี ดพน้ื ทหี่ น่งึ การในหนาทีน่ ้ีนับรวมถงึ หนาท่ีและกจิ เฉพาะเกย่ี วกบั การรกั ษาความปลอดภยั
การทาํ บญั ชเี อกสารสําคญั และเอกสารของทางราชการอีกดวย

๔.๔.๑.๑ การสาํ รวจและการเตรียมบัญชีในเรอ่ื ง วัตถแุ ตละรายการทางดา นวจิ ติ ร
ศิลป และอนสุ าวรียต า งๆ ซงึ่ เปนทีร่ จู ักกนั และเช่ือวา มอี ยใู นดนิ แดนแหง น้ัน

๔.๔.๑.๒ การใหคาํ แนะนาํ แกผบู งั คบั บญั ชาและฝา ยอํานวยการอ่ืน ๆ เก่ียวกบั วิจติ ร
ศลิ ป อนุสาวรีย หอ งสมุด เอกสารสาํ คัญ และบันทกึ รายงานตา ง ๆ

๔.๔.๑.๓ การกาํ หนดทตี่ ง้ั การพสิ จู นท ราบ การคน ควา ในการเปน เจา ของ และการ
รกั ษาความปลอดภัย วตั ถตุ า ง ๆ ทางดานวิจติ รศลิ ป อนสุ าวรีย หองสมุด เอกสารสําคัญและวสั ดุมคี า ทาง
ประวตั ศิ าสตรแ ละบันทกึ รายงานตา ง ๆ

๒๘

ฯลฯ

๔.๔.๒ ขาวสารพลเรอื น
ในการหนาทนี่ เี้ กย่ี วกับสง่ิ อํานวยความสะดวกตา ง ๆ ท่ใี ชในการเผยแพรข า วสาร

สูประชาชนการประสานการปฏบิ ัติงานระหวา งการตดิ ตอ สอ่ื สารสาธารณะ กับการสอ่ื สารของเอกชนการ
ชว ยเหลอื การใหความชว ยเหลือ การอาํ นวยการหรอื กาํ กับดูแล การเตรียมการ การแจกจายและเผยแพร
ขาวสารที่จําเปน ผา นหนว ยงานเอกชน และหนว ยงานสาธารณะ ภายในพน้ื ที่ทไี่ ดร ับมอบซงึ่ ไดแ ก

๔.๔.๒.๑ การสํารวจและการวเิ คราะหส งขา วสาร เพ่ือรวบรวมสง่ิ อาํ นวยความ
สะดวกตา ง ๆ ท่ใี ชในการเผยแพรขา วสารสูประชาชน

๔.๔.๒.๒ การเตรียมการ การแจกจาย และการกระจายขาวสารผานทางสถานีวิทยุ
และโทรทศั นข องทหารและการสง ขาวสารของพลเรือน

๔.๔.๒.๓ การประสานการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตางๆ ดานขาวสารพลเรือน
๔.๔.๒.๔ การใหข อ เสนอแนะเก่ียวกบั มาตรการในการปองกนั ซ่ึงสิ่งอาํ นวยความ
สะดวก ดานสอ่ื สารทางวตั ถุ อาทเิ ชน โรงพิมพ และสถานวี ิทยุ โทรทัศน เปนตน

ฯลฯ

๔.๔.๓ บุคคลพลดั ถิ่น ผลู ี้ภยั และผอู พยพ
การในหนาทนี่ ้คี รอบคลุมถึงกรรมวิธี และควบคุมบคุ คลพลดั ถิ่น ผลู ้ีภยั และผอู พยพ

ชวยเหลือ หรอื กาํ กบั ดแู ลในเร่อื งการจัดต้งั การบริหารงาน การปฏิบตั ิของคา ยพกั การสงกลบั คนื ภูมิลาํ เนาเดมิ
การตงั้ ถิ่นฐานใหม หรือการอพยพบุคคลเหลาน้ีภายในพ้ืนท่ที ีไ่ ดร บั มอบ การพจิ ารณา

การในหนา ทนี่ ี้ดาํ เนนิ การ เพื่อปอ งกนั ทรพั ยสินภายนาขอบเขตท่ีกาํ หนดขึน้ และ
เพอื่ พิทกั ษรกั ษาสมบตั ทิ ่ีซอื้ ขายกันได และทรัพยากรตา ง ๆ ซ่ึงข้นึ อยูกับระบบการอารกั ขา หรือการควบคมุ
ทรพั ยสินทมี่ แี บบแผนและมคี วามเปน ระเบียบเรียบรอย กจิ เฉพาะตาง ๆ ไดแ ก.-

๔.๒.๔.๑ การดํารงรักษาทะเบียนบัญชีคมุ ส่ิงอุปกรณแ ละทรพั ยส นิ ทโี่ อนจากแหลง
สิ่งอุปกรณทางพลเรือนไปใหแ กห นว ยทหาร

๔.๒.๔.๒ การกําหนดแนวทางนโยบายสาํ หรบั การใชประโยชน และการใหความ
อารักขาแกทรพั ยสนิ

๔.๒.๔.๓ การตรวจสอบประเภท หรอื จาํ พวกของทรพั ยส ินทีต่ อ งใหการอารกั ขา
และวเิ คราะหต ามกฎหมายทเ่ี กีย่ วกับทรัพยสนิ ดงั กลา ว

ฯลฯ

๒๙

๔.๓ หนาท่ที างส่งิ อํานวยความสะดวกสาธารณะ
คอื บรรดาหนาท่ีท่เี กย่ี วกับ การกาํ กับดแู ล การควบคมุ และการปฏบิ ตั ิการตามความจําเปน

ตอส่งิ อาํ นวยความสะดวกตางๆ เชน นาํ้ ขยะมลู ฝอย ระบบพลังงานไฟฟา และระบบพลงั งานอ่นื ๆ การ
คมนาคม การขนสง การบรู ณะ หรือการนาํ เอาสิง่ อาํ นวยความสะดวกตา ง ๆ ดังกลา วมาใชใ หมห นาทเี่ หลาน้ีมี
ความจาํ เปน และมีความสาํ คัญเปนพเิ ศษ เพราะมคี วามสมั พันธอ ยา งใกลชดิ และมีการนํามาใชโ ดยตรงใน
กิจการทหาร ซึง่ ไดแก

๔.๓.๑ การคมนาคมสาธารณะ
การในหนา ทนี่ ้ีเก่ียวกับการกํากบั ดแู ล การบรหิ ารทางดานประชาสมั พันธแ ละการ

บรกิ ารทางสงิ่ อํานวยความสะดวกดา นคมนาคมของพลเรือนทั้งสิน้ ทไี่ มข ้ึนอยใู นการควบคุมทางทหาร ของ
นายทหารสอ่ื สารประจํากองบญั ชาการหรอื กองทัพบกประจาํ ยุทธบรเิ วณโดยตรง นอกจากนนั้ ยงั เก่ียวกับการ
จดั ระเบยี บตา งๆ ผูชํานาญการทางเทคนิคพลเรือน ช้นิ สว นและวสั ดทุ างการส่อื สารขอ ตกลงระหวา งประเทศ
และขอ ตกลงทางดานกจิ การพลเรอื น ตลอดจนคาํ สงั่ คําชแี้ จง นโยบายท่ีเก่ยี วขอ งกบั การคมนาคมทั้งสนิ้
กจิ เฉพาะไดแ ก

๔.๓.๑.๑ การวิเคราะหถ ึงเร่อื งสถานทีต่ ง้ั หนา ท่ี เครอ่ื งมอื และเทคนิคของ
ส่งิ อํานวยความสะดวก ดานคมนาคม ตลอดจนการบรกิ ารทางไปรษณยี  ทีม่ ีอยใู นอนาคต

๔.๓.๑.๒ การศึกษาถงึ รปู การจดั และการบริหารงานดา นการ คมนาคมพลเรือนอาทิ
เชน การบรกิ ารทางไปรษณยี ม กั จะจดั และดําเนนิ การในรูปของบรกิ ารทางโทรศัพทและโทรเลขอยเู สมอ ๆ

๔.๓.๑.๓ การเสนอแนะถึงขอบเขตสง่ิ อํานวยความสะดวกดา นคมนาคม ซ่งึ จะตอ ง
ควบคมุ กาํ กับดูแล หรอื ปฏิบตั งิ านโดยใชบ รกิ ารทางเทคนิค องคการกิจการพลเรอื น หรอื หนว ยงานอืน่ ๆ

๔.๓.๑.๔ การชว ยเหลอื ควบคมุ การกํากบั ดูแล หรอื การปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย
เกี่ยวกับส่งิ อํานวยความสะดวกดา นการคมนาคม และการบริการดา นไปรษณียทไี่ ดก าํ หนดไวแ ลว

๔.๓.๑.๕ การกํากับดแู ลเกย่ี วกบั การสงมอบ การควบคมุ เก่ยี วกบั ส่ิงอาํ นวย
ความสะดวกตา ง ๆ คนื ใหกบั พลเรือน ในเม่อื ไมม คี วามตอ งการทจ่ี ะใชสิ่งดังกลา วในกิจการทหารอกี ตอไป

ฯลฯ

๔.๓.๒ การขนสง สาธารณะ
การในหนาทนี่ เ้ี กี่ยวกับส่งิ อํานวยความสะดวกตา ง ๆ ดา นการขนสงทยี่ ังอยภู ายใน

กํามอื หรอื เปลย่ี นไปอยูใ นกาํ มอื ของรัฐบาลพลเรอื น หรอื พนักงานเอกชน การรถไฟ ทางหลวง การ
เดินอากาศ และการเดินเรอื กอ ใหเกดิ ระบบการขนสงสาธารณะข้ึนมา ระบบดงั กลา วนจี้ ะตอ งบรกิ ารใหก ับ
กองทัพบกเชน เดยี วกบั การบรกิ ารใหแกเ ศรษฐกิจพลเรอื นของประเทศเหมอื นกนั กิจเฉพาะตาง ๆ ไดแก

๔.๓.๒.๑ การสํารวจในรปู การจัดหนวย เสนทาง และขดี ความสามารถของระบบ
การขนสง รวมทั้งขอบเขต ความเสียหาย และความตองการในการปรบั ปรุงแกไ ขใหใชก ารไดใ หมด งั เดิม

๓๐

๔.๓.๒.๒ การวเิ คราะหรูปการจัดหนวย กาํ ลงั ความสามารถ และการในหนาท่ขี อง
หนว ยตาง ๆ ทอี่ อกระเบียบขอ บังคับ

๔.๓.๒.๓ การเสนอแนะขอบเขตของการปฏบิ ตั งิ าน เกยี่ วกบั ระบบการขนสงทาง
พลเรอื นท่พี งึ ประสงคจากหนว ยงานของทหาร

๔.๓.๒.๔ การเสนอแนะเกย่ี วกบั การแบง มอบส่งิ อาํ นวยความสะดวกตาง ๆ ดาน
การขนสง ใหแ กพ ลเรอื น หรอื เพื่อใชใ นกจิ การทหาร และการประสานการปฏบิ ตั ใิ นขอ เสนอแนะดงั กลา วกบั
หนว ยงานทางทหารทเี่ หมาะสม

๔.๓.๒.๕ กาํ กบั ดูแลส่งิ อาํ นวยความสะดวกตา ง ๆ ทพ่ี น จากการควบคมุ ของทหาร
ไปอยใู นการควบคมุ ของพลเรือน

ฯลฯ

๔.๓.๓ งานสาธารณะและสาธารณูปโภค
การในหนาทนี่ เ้ี กย่ี วกับการกาํ กบั ดแู ล และการปฏบิ ัตกิ ารของส่งิ อาํ นวยความ

สะดวกตาง ๆ เชน อาคาร เข่อื นกัน้ น้าํ ระบบการประปา แกส การกาํ จดั ขยะมลู ฝอย การไฟฟาและระบบอื่น ๆ
ท่ีคลายคลงึ กนั เทาที่มคี วามจาํ เปนและการบูรณะซอ มแซม หรือการนําเอาบรกิ ารเหลา น้เี ขา มาใชก จิ เฉพาะ
ตา งๆ ไดแ ก

๔.๓.๓.๑ การสํารวจรูปการจัด และขีดความสามารถของสถานท่ตี ้งั ทส่ี าํ คัญ ๆ
รวมทงั้ ขอบเขตความเสียหายดว ย

๔.๓.๓.๒ การเสนอแนะ เก่ียวกบั ขอบเขตทตี่ อ งการใชการปฏบิ ัติของหนว ยงาน
ทางทหารที่มีตอ สง่ิ อํานวยความสะดวกทางพลเรอื น

๔.๓.๓.๓ การเสนอแนะ เกีย่ วกบั การรกั ษาความสงบเรียบรอยแกสิ่งอํานวยความ
สะดวกตา งเทา ท่ีจําเปน

๔.๓.๓.๔ การเสนอแนะเก่ยี วกับการแบง มอบสาธารณูปโภคใหแกพ ลเรอื น และ
เพ่ือใชใ นกิจการทหาร

๔.๓.๓.๕ การกํากบั ดแู ลสาธารณูปโภคของพลเรอื น และการใหไ ดมาซ่งึ การ
บรกิ ารสาธารณปู โภคที่จําเปน จากขุมกําลงั ทางทหาร

ฯลฯ

๔.๔ หนาทพ่ี เิ ศษ
หนาที่พิเศษคอื บรรดาหนาที่ทเ่ี กี่ยวของกบั ประชาชน สิทธสิ วนบุคคล วัฒนธรรม การดแู ล

รกั ษาการศาสนา การอารกั ขาและการควบคุม การสง่ั การตามแผนที่วางไว ทําใหก จิ กรรมตา งๆในหนา ท่ี

๓๑

ประเภทน้ีบรรลคุ วามสาํ เร็จโดยสมบรู ณ หนาทเี่ หลานมี้ คี วามสําคัญเปน พเิ ศษตอ ผบู งั คับบัญชามิใชเพียงแต
ความจําเปนภายใตกฎหมายระหวา งประเทศเทานั้น แตห นาทเี่ หลา น้กี ระทบกระเทอื นตอ ทา ทีความจงรกั ภกั ดี
และความไมไววางใจของประชาชนที่มตี อ กําลงั ทหาร และการปฏิบตั ิการของผบู ังคับบัญชานัน้ ดว ย หนาท่ี
เหลาน้ีไดแ ก

๔.๔.๑ ศิลปะ อนสุ าวรีย และเอกสารสําคัญ
การในหนา ทนี่ ีเ้ ก่ยี วกับการปองกนั รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม

ศิลปะของพ้ืนทีใ่ ดพ้ืนทห่ี นึ่ง การในหนา ท่นี ีน้ บั รวมถึงหนา ที่และกจิ เฉพาะเกย่ี วกับการรักษาความปลอดภยั
การทาํ บญั ชเี อกสารสําคญั และเอกสารของทางราชการอกี ดวย

๔.๔.๑.๑ การสาํ รวจและการเตรยี มบัญชีในเร่อื ง วตั ถแุ ตละรายการทางดา นวจิ ติ ร
ศลิ ป และอนสุ าวรยี ต าง ๆ ซง่ึ เปนท่ีรจู ักกนั และเช่อื วามีอยใู นดินแดนแหงนน้ั

๔.๔.๑.๒ การใหคําแนะนาํ แกผ บู ังคับบญั ชาและฝา ยอํานวยการอื่น ๆ เกี่ยวกับวิจติ ร
ศลิ ป อนุสาวรีย หองสมุด เอกสารสาํ คญั และบนั ทกึ รายงานตาง ๆ

๔.๔.๑.๓ การกาํ หนดทตี่ ้งั การพิสจู นทราบ การคนควาในการเปน เจาของ และการ
รกั ษาความปลอดภยั วตั ถตุ าง ๆ ทางดา นวิจติ รศลิ ป อนสุ าวรีย หองสมดุ เอกสารสําคญั และวสั ดุมีคา ทาง
ประวตั ศิ าสตรแ ละบันทึกรายงานตา ง ๆ

ฯลฯ

๔.๔.๒ ขา วสารพลเรือน

การในหนา ทน่ี เ้ี ก่ยี วกับสงิ่ อํานวยความสะดวกตา ง ๆ ทีใ่ ชในการเผยแพรข า วสาร

สปู ระชาชนการประสานการปฏบิ ัตงิ านระหวางการตดิ ตอ สื่อสารสาธารณะ กบั การสอ่ื สารของเอกชนการ

ชว ยเหลอื การใหค วามชว ยเหลือ การอํานวยการหรือกาํ กบั ดูแล การเตรียมการ การแจกจา ยและเผยแพร

ขา วสารที่จําเปน ผา นหนว ยงานเอกชน และหนวยงานสาธารณะ ภายในพืน้ ทที่ ีไ่ ดรบั มอบซึ่งไดแ ก

๔.๔.๒.๑ การสาํ รวจและการวิเคราะหสง ขาวสาร เพ่อื รวบรวมส่ิงอาํ นวย

ความสะดวกตา งๆ ทใ่ี ชในการเผยแพรข าวสารสูป ระชาชน

๔.๔.๒.๒ การเตรียมการ การแจกจาย และการกระจายขาวสารผานทางสถานีวิทยุ

และโทรทัศนข องทหารและการสง ขา วสารของพลเรอื น

๔.๔.๒.๓ การประสานการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตา ง ๆ ดานขา วสารพลเรอื น

๔.๔.๒.๔ การใหขอ เสนอแนะเกี่ยวกบั มาตรการในการปองกนั ซงึ่ ส่ิงอํานวย

ความสะดวก ดา นสอื่ สารทางวัตถุ อาทิเชน โรงพมิ พ และสถานีวิทยุ โทรทศั น เปน ตน

ฯลฯ

๓๒

๔.๔.๓ บุคคลพลัดถิน่ ผลู ภ้ี ัย และผูอ พยพ
การในหนา ทนี่ ค้ี รอบคลุมถึงกรรมวธิ ี และการควบคมุ บุคคลพลดั ถ่นิ ผลู ภี้ ัยและ

ผอู พยพชวยเหลอื หรือกํากบั ดแู ลในเรือ่ งการจดั ตัง้ การบรหิ ารงาน การปฏิบตั ขิ องคายพกั การสงกลบั คนื
ภมู ิลาํ เนาเดิม การตัง้ ถิ่นฐานใหม หรือการอพยพบคุ คลเหลานภี้ ายในพืน้ ท่ีทีไ่ ดรับมอบ การพิจารณา

การในหนา ทน่ี ด้ี าํ เนนิ การเพอื่ ปอ งกันทรพั ยส นิ ภายในขอบเขตทก่ี าํ หนดขึ้น และ
เพื่อพทิ กั ษรกั ษาสมบัติที่ซือ้ ขายกันได และทรพั ยากรตาง ๆ ซง่ึ ขึ้นอยูก ับระบบการอารกั ขา หรอื การควบคมุ
ทรพั ยสนิ ที่มีแบบแผนและมคี วามเปน ระเบยี บเรียบรอ ย กิจเฉพาะตาง ๆ ไดแก.-

๔.๒.๔.๑ การดาํ รงรักษาทะเบียนบญั ชคี มุ สงิ่ อปุ กรณแ ละทรพั ยส นิ ทโี่ อนจากแหลง
สงิ่ อปุ กรณทางพลเรือนไปใหแกห นว ยทหาร

๔.๒.๔.๓ การตรวจสอบประเภท หรอื จาํ พวกของทรัพยส ินทตี่ อ งการใหก าร
อารกั ขาและวเิ คราะหต ามกฎหมายทีเ่ กย่ี วกบั ทรพั ยสนิ ดงั กลา ว

ฯลฯ

๔.๓ หนา ท่ที างส่งิ อํานวยความสะดวกสาธารณะ
คือบรรดาหนา ท่ที เี่ ก่ียวกับ การกํากบั ดแู ล การควบคมุ และการปฏิบตั กิ ารตามความจาํ เปน

ตอสิ่งอํานวยความสะดวกตา ง ๆ เชน นํา้ ขยะมลู ฝอย ระบบพลังงานไฟฟา และระบบพลังงานอืน่ ๆ การ
คมนาคม การขนสง การบรู ณะ หรอื การนาํ เอาส่งิ อาํ นวยความสะดวกตาง ๆ ดงั กลา วมาใชใ หมในหนาท่ี
เหลาน้มี คี วามจําเปนและมคี วามสําคญั เปนพเิ ศษ เพราะมีความสมั พันธอยา งใกลช ดิ และมกี ารนาํ มาใช
โดยตรงในกจิ การทหาร ซึ่งไดแ ก

๔.๓.๑ การคมนาคมสาธารณะ
การในหนาทน่ี ้เี ก่ียวกบั การกํากับดแู ล การบรหิ ารทางดา นประชาสมั พนั ธแ ละการ

บรกิ ารทางส่ิงอาํ นวยความสะดวกดานคมนาคมของพลเรือนทงั้ สนิ้ ทไ่ี มขึน้ อยูใ นการควบคุมทางทหารของ
นายทหารสื่อสารประจํากองบญั ชาการหรอื กองทพั บกประจาํ ยทุ ธบริเวณโดยตรง นอกจากนน้ั ยังเกี่ยวกับการ
จดั ระเบยี บตาง ๆ ผูชาํ นาญการทางเทคนคิ พลเรือน ชนิ้ สว นและวสั ดทุ างการสอื่ สารขอ ตกลงระหวางประเทศ
และขอ ตกลงทางดานกจิ การพลเรอื น ตลอดจนคาํ สงั่ คาํ ชแี้ จง นโยบายทีเ่ กยี่ วของกับการคมนาคมท้ังสนิ้ กจิ
เฉพาะไดแ ก

๔.๓.๑.๑ การวิเคราะหถึงเรอ่ื งสถานทต่ี ง้ั หนา ท่ี เครอ่ื งมอื และเทคนคิ ของ
สง่ิ อาํ นวยความสะดวก ดานคมนาคม ตลอดจนการบรกิ ารทางไปรษณยี  ที่มีอยูในอนาคต

๔.๓.๑.๒ การศกึ ษาถงึ รูปการจดั และการบริหารงานดา นราชการ คมนาคมพล
เรอื นอาทิเชน การบรกิ ารทางไปรษณยี มกั จะจัดและดําเนนิ การในรูปของบรกิ ารทางโทรศัพทและโทรเลขอยู
เสมอ ๆ

๓๓

๔.๓.๑.๓ การเสนอแนะถงึ ขอบเขตส่ิงอาํ นวยความสะดวกดา นคมนาคม ซ่งึ จะตอง
ควบคมุ กาํ กับดูแล หรอื ปฏิบตั งิ านโดยใชบ รกิ ารทางเทคนิค องคก ารกจิ การพลเรือน หรือหนว ยงานอ่ืน ๆ

๔.๓.๑.๔ การชวยเหลอื ควบคุม การกาํ กับดแู ล หรอื การปฏบิ ตั ิตามนโยบาย
เกีย่ วกบั สิ่งอาํ นวยความสะดวกดานการคมนาคม และการบรกิ ารดา นการไปรษณยี ท ไ่ี ดก าํ หนดไวแ ลว

๔.๓.๑.๕ การกํากับดแู ลเกยี่ วกับการสง มอบ การควบคมุ เกย่ี วกบั ส่ิงอาํ นวย
ความสะดวกตา งๆ คนื ใหกับพลเรือน ในเมือ่ ไมม ีความตอ งการท่ีจะใชสงิ่ ดังกลา วในกิจการทหารอีกตอไป

ฯลฯ

๔.๓.๒ การขนสงสาธารณะ
การในหนาทนี่ ้ีเก่ียวกบั สงิ่ อํานวยความสะดวกตา ง ๆ ดา นการขนสงท่อี ยภู ายใน

กํามอื หรือเปลี่ยนไปอยูในกาํ มอื ของรฐั บาลพลเรอื น หรือพนักงานเอกชน การรถไฟ ทางหลวง การเดินอากาศ
และการเดินเรอื กอใหเ กดิ ระบบการขนสงสาธารณะขึน้ มา ระบบดังกลาวนจ้ี ะตองบริการใหก ับกองทัพ
เชนเดยี วกบั การบรกิ ารใหแ กเ ศรษฐกิจพลเรือนของประเทศเหมือนกนั กจิ เฉพาะตาง ๆ ไดแ ก

๔.๓.๒.๑ การสาํ รวจในรปู การจดั หนวย เสน ทาง และขดี ความสามารถของระบบ
การขนสง รวมท้ังขอบเขต ความเสียหาย และความตอ งการในการปรบั ปรงุ แกไขใหใชการไดใ หมด งั เดิม

๔.๓.๒.๒ การวเิ คราะหรูปการจดั หนวย กําลังความสามารถ และการในหนา ที่ของ
หนวยงานตาง ๆ ทอ่ี อกระเบียบขอ บงั คับ

๔.๓.๒.๓ การเสนอแนะขอบเขตของการปฏบิ ัติงานเกี่ยวกบั ระบบการขนสงทาง
พลเรอื นที่พึงประสงคจากหนวยงานของทหาร

๔.๓.๒.๔ การเสนอแนะเกยี่ วกับการแบง มอบสิ่งอํานวยความสะดวกตา ง ๆ ดา น
การขนสง ใหแ กพลเรอื น หรอื เพ่อื ใชในกจิ การทหาร และการประสานการปฏบิ ัตใิ นขอเสนอแนะดงั กลาวกบั
หนวยงานทางทหารท่เี หมาะสม

๔.๓.๒.๕ กํากับดแู ลสิง่ อํานวยความสะดวกตาง ๆ ที่พน จากการควบคุมของทหาร
ไปอยูในการควบคุมของพลเรือน

ฯลฯ

๔.๓.๓ งานสาธารณะและสาธารณปู โภค
การในหนา ทนี่ ีเ้ กี่ยวกับการกาํ กับดแู ล และการปฏบิ ตั กิ ารของส่ิงอาํ นวยความ

สะดวกตาง ๆ เชน อาคาร เขือ่ นกน้ั นํ้า ระบบประปา แกส การกําจดั ขยะมูลฝอย การไฟฟาและระบบอ่ืน ๆ
ทคี่ ลายคลงึ กันเทาทม่ี ีความจาํ เปนและการบรู ณะซอมแซม หรอื การนาํ เอาบริการเหลาน้ีเขา มาใชก ิจเฉพาะ
ตาง ๆ ไดแ ก

๓๔

๔.๓.๓.๑ การสํารวจรปู การจดั และขดี ความสามารถของสถานท่ีตง้ั ทีส่ าํ คัญ ๆ
รวมทัง้ ขอบเขตความเสียหายดว ย

๔.๓.๓.๒ การเสนอแนะ เก่ยี วกบั ขอบเขตทต่ี อ งการใชการปฏิบตั ขิ องหนว ยงาน
ทางทหารทม่ี ตี อสงิ่ อํานวยความสะดวกทางพลเรอื น

๔.๓.๓.๓ การเสนอแนะ เกี่ยวกบั การรกั ษาความสงบเรียบรอ ยแกส ง่ิ อํานวย
ความสะดวกตา งเทา ท่จี าํ เปน

๔.๓.๓.๔ การเสนอแนะเกยี่ วกบั การแบง มอบสาธารณปู โภคใหแ กพ ลเรือน และ
เพอ่ื ใชในกจิ การทหาร

๔.๓.๓.๕ การกาํ กับดแู ลสาธารณูปโภคของพลเรือน และการใหไ ดมาซ่ึงการ
บริการสาธารณปู โภคทีจ่ ําเปนจากขมุ กําลังทางทหาร

ฯลฯ

๔.๔ หนาที่พิเศษ
หนา ทพี่ เิ ศษคอื บรรดาหนา ที่ทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั ประชาชน สิทธสิ ว นบุคคล วัฒนธรรม การดแู ล

รักษาศาสนา การอารักขาและการควบคมุ การสงั่ การตามแผนท่วี างไว ทําใหก ิจกรรมตา ง ๆ ในหนา ทป่ี ระเภท
น้ีบรรลุความสาํ เรจ็ โดยสมบูรณ หนา ทเ่ี หลานม้ี คี วามสาํ คัญเปนพิเศษตอผูบ งั คับบญั ชา มใิ ชเพยี งแตความ
จาํ เปนภายใตก ฎหมายระหวางประเทศเทา นน้ั แตห นา ท่ีเหลาน้ีกระทบกระเทือนตอทาทีความจงรกั ภกั ดี และ
ความไมไ ววางใจของประชาชนท่มี ตี อ กําลงั ทหาร และการปฏบิ ัติการของผบู งั คบั บญั ชานน้ั ดวย หนา ที่
เหลานไี้ ดแ ก

๔.๔.๑ ศิลปะ อนุสาวรยี  และเอกสารสาํ คญั
การในหนา ที่นเ้ี กย่ี วกบั การปองกนั รกั ษาขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมศลิ ป

ของพ้ืนท่ีใดพน้ื ท่หี นึง่ การในหนา ท่ีนี้นบั รวมถงึ หนาทแี่ ละกจิ เฉพาะเกี่ยวกบั การรักษาความปลอดภัย การทํา
บญั ชเี อกสารสําคัญ และเอกสารของทางราชการอกี ดวย

๔.๔.๑.๑ การสํารวจและการเตรยี มบัญชใี นเรอ่ื ง วตั ถุแตละรายการทางดา นวจิ ิตร
ศิลป และอนสุ าวรียตางๆ ซง่ึ เปน ท่รี ูจกั กนั และเชอื่ วา มอี ยใู นดนิ แดนแหงนน้ั

๔.๔.๑.๒ การใหคาํ แนะนําแกผ บู ังคบั บัญชาและฝา ยอาํ นวยการอ่ืน ๆ เกย่ี วกบั
วจิ ติ รศิลป อนสุ าวรีย หองสมุด เอกสารสาํ คัญ และบนั ทกึ รายงานตา ง ๆ

๔.๔.๑.๓ การกําหนดทต่ี ้งั การพสิ ูจนท ราบ การคนควาในการเปน เจาของและการ
รกั ษาความปลอดภัย วัตถตุ างๆ ทางดานวจิ ิตรศิลป อนสุ าวรีย หองสมุด เอกสารสาํ คัญ และวสั ดมุ ีคา ทาง
ประวตั ศิ าสตรแ ละบนั ทึกรายงานตาง ๆ

ฯลฯ

๓๕

๔.๔.๒ ขาวสารพลเรือน
การในหนา ทนี่ ีเ้ กย่ี วกบั ส่ิงอาํ นวยความสะดวกตา ง ๆ ทใี่ ชใ นการเผยแพรขาวสาร

สปู ระชาชนการประสานการปฏบิ ัติงานระหวางการตดิ ตอ สอื่ สารสาธารณะ กบั การส่ือสารของเอกชนการ
ชวยเหลอื การใหความชว ยเหลอื การอาํ นวยการหรือกาํ กบั ดแู ล การเตรยี มการ การแจกจา ย และเผยแพร
ขาวสารที่จําเปน ผานหนว ยงานเอกชน และหนว ยงานสาธารณะ ภายในพ้ืนทีท่ ี่ไดร บั มอบซ่งึ ไดแก

๔.๔.๒.๑ การสาํ รวจและการวิเคราะหส งขา วสาร เพือ่ รวบรวมสงิ่ อาํ นวยความ
สะดวกตาง ๆ ท่ีใชใ นการเผยแพรข าวสารสูประชาชน

๔.๔.๒.๒ การเตรยี มการ การแจกจาย และการกระจายขาวสารผานทางสถานวี ิทยุ
และโทรทัศนข องทหารและการสงขา วสารของพลเรอื น

๔.๔.๒.๓ การประสานการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตา งๆ ดานขาวสารพลเรือน
๔.๔.๒.๔ การใหข อเสนอแนะเกย่ี วกบั มาตรการในการปองกนั ซ่ึงสงิ่ อํานวยความ
สะดวก ดานสอื่ สารทางวตั ถุ อาทเิ ชน โรงพมิ พ และสถานวี ทิ ยุ โทรทศั น เปนตน

ฯลฯ
๔.๔.๓ บุคคลพลัดถน่ิ ผูลภ้ี ัย และผอู พยพ

การในหนาทน่ี ้คี รอบคลุมถึงกรรมวธิ ี และการควบคุมบุคคลพลดั ถ่นิ ผลู ภ้ี ัยและผู
อพยพชว ยเหลือ หรอื กํากบั ดแู ลในเรื่องการจัดต้ังการบริการงาน การปฏิบัติของคา ยพกั การสง กลบั คนื
ภมู ิลาํ เนาเดิม การตงั้ ถ่ินฐานใหม หรือการอพยพบคุ คลเหลาน้ีภายในพ้ืนที่ท่ไี ดร ับมอบ การพิจารณาจะตอ ง
กระทาํ ในระหวา งท่มี กี ารปฏบิ ัติการทางทหาร เพื่ออพยพผูล้ภี ยั ผูอพยพและบุคคลพลดั ถ่นิ ออกจากการ
คุกคามของขา ศกึ ไปสพู ้ืนทปี่ ฏิบตั กิ ารของฝายเรา ความลมเหลวในการอพยพบคุ คลเหลา นี้อาจขัดขวางการ
สําเรจ็ ภารกจิ ทางยทุ ธวิธีเปน อยางมาก กจิ เฉพาะตา งๆ ไดแก

๔.๔.๓.๑ การสํารวจและการวิเคราะหเ พอ่ื พจิ ารณาในเรอื่ ง
๔.๔.๓.๑.๑ การประมาณจาํ นวนบคุ คลพลดั ถิ่น ผลู ้ีภยั ผูอพยพ รวมทัง้

เสนทาง – เคลอื่ นยา ย เพื่อเลอื กทรี่ วมพลตอ ไป
๔.๔.๓.๑.๒ ภาษา จารตี ประเพณี และทศั นคตขิ องประชาชนทเี่ กย่ี วขอ ง
๔.๔.๓.๑.๓ ความเพยี รพอของสิง่ อํานวยความสะดวกตา ง ๆ และสิ่ง

อุปกรณใ นทอ งถนิ่ ซง่ึ บุคคลเหลา น้จี ะตอ งใช
๔.๔.๓.๒ การเตรียมแผนอน่ื ๆ สาํ หรับการควบคุมและกํากบั ดูแลดานสวสั ดิการ

ผู ลภี้ ัย บุคคลพลัดถน่ิ และผอู พยพ
๔.๔.๓.๓ การดํารงการติดตอ กบั หนว ยงานท่เี หมาะสมกบั แผนตาง ๆ เพ่อื สง ตัว

บุคคลพลัดถิ่น และผลู ้ีภัยกลบั ภูมิลาํ เนาเดมิ ตง้ั ถิ่นฐานใหม หรอื เคลือ่ นยา ยตอ ไป

ฯลฯ

๔.๔.๔ การศาสนสัมพนั ธ

๓๖

การในหนาทน่ี ีก้ ําหนดความสาํ คญั ทางศาสนา และวฒั นธรรมของพ้ืนทีท่ ไี่ ดร ับ
มอบในแงข องกิจการพลเรอื น วเิ คราะหปจ จัยตาง ๆ ของศาสนาและวัฒนธรรม ท่ผี ลกระทบกระเทอื นตอ
ปญ หาสงั คม – ศาสนา ท่ีเกดิ ขึน้ ในพน้ื ทปี่ ฏิบตั กิ ารตา ง ๆ ตามภารกิจดา นกจิ การพลเรอื น กจิ เฉพาะตา ง ๆ
ไดแก

๔.๔.๔.๑ การศกึ ษาในเรอ่ื งการปฏบิ ตั ิศาสนกิจ โครงสรา ง สัญลกั ษณ และ
เคร่ืองหมายธรรมชาติ การปกครองคณะสงฆ และบคุ ลกิ ลักษณะที่สาํ คัญ ๆ

๔.๔.๔.๒ การพัฒนาหลักเกณฑใ นดานการประพฤตติ น และการใหก ารศกึ ษาแก
ทหารเพือ่ ลดการกระทําตาง ๆ ในอนั ที่จะรกุ รานตอ จารตี ประเพณี และขอปฏิบตั ิทางศาสนาของทองถิน่ อาจ
เกดิ ข้ึนได

๔.๔.๔.๓ การดาํ รงการตดิ ตอ กับพวกสอนศาสนา พระสงฆใ นทอ งถ่ินพ้ืนที่
ปฏบิ ัตกิ าร ผนู ํากลมุ ศาสนาที่เปน พลเรอื น รวมทงั้ การชว ยเหลอื ใหม สี ว นเขา รว มในการกุศลตางๆ

๔.๔.๔.๔ การพฒั นาขอบเขตของการประนปี ระนอม และการตัดสนิ โดยพลการ
เพ่อื ลดการกระทบกระเทือน และการเปน ปรปก ษร ะหวา งกลมุ ศาสนาที่ตา งลทั ธกิ นั

ฯลฯ

๕. หนา ที่กจิ การพลเรอื นในสงครามเยน็ หรือสงครามการเมือง
จากการศกึ ษาถงึ วิวัฒนาการของชาวโลก พอจะเหน็ ไดวา ความขดั แยง ระหวา งบุคคล กลมุ ชน และ

ระหวา งประเทศนั้น เกดิ ขึน้ โดยตอ เน่อื งไมข าดสาย แมจ ะไดม ีความพยายามทจี่ ะระวังขอขัดแยง ดว ยวธิ กี าร
ตา งๆ ท้ังโดยหลกั ของศีลธรรม จรรยา ศาสนา ดา นระบบการปกครอง ตลอดจนกาจัดต้งั องคก ารระหวา ง
ประเทศ เชน องคการสหประชาชาตขิ น้ึ เพ่ือระงับขอ พพิ าทและขอ ขดั แยงระหวา งประเทศกไ็ มส ามารถยุติ
ขอขัดแยงไดอ ยางเดด็ ขาด ยงั คงมกี ารใชกาํ ลังทหารและมาตรการอ่ืน ๆ เชน มาตรการดา นการเมือง เศรษฐกจิ
แลสังคมจิตวทิ ยา เขาแกปญ หากันอยูเสมอ

๕.๑ สงครามการเมอื ง ยอ มรวมหมายถงึ การดําเนินการทง้ั ปวงในการตอสู เพื่อใหบ รรลวุ ตั ถุประสงค
ของชาติ ทง้ั ในยามสงบและในยามสงคราม โดยมิตอ งใชก ําลังทหารเขา ทาํ การสรู บโดยตรงการดาํ เนนิ การทงั้
ปวงดงั กลา วนนั้ ยอ มหมายถึงการดาํ เนินการตอ ปจจยั ทเี่ ก่ยี วของกับความมนั่ คงของชาตทิ กุ ดาน ทงั้ การเมือง
เศรษฐกิจ สงั คมจิตวทิ ยาและการทหารที่มติ อ งใชอ าวุธเขา ประหตั ประหารกันโดย ตลอดจนการดาํ เนนิ การ
อนื่ ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกเพอื่ ความมน่ั คงและม่งั คง่ั ของประเทศ การดําเนินการสงครามเยน็ หรอื สงคราม
การเมืองพอสรุปไดด งั น้ี

๕.๑.๑ การตอ สูดา นการเมอื ง ไดแกก ารมุงทําลายความถกู ตอ งชอบธรรมดานอุดมการณ
แนวนโยบาย โครงสรา งทางการเมือง ระบบแบบแผน และประสทิ ธิภาพในการบรหิ ารทั้งในดา นพลเรือน

๓๗

และดา นการทหารของฝา ยตรงขาม ขณะเดยี วกนั สนองอุดมการณ นโยบาย หลกั ปฏบิ ตั ิ และความชอบ
ธรรมของตนเอง และพันธมติ รท่ีประชาชนจะยอมรบั ไดด กี วา ปฏิบัตใิ หเ ปนจริงไดด กี วา ขน้ึ ทดแทน

๕.๑.๒ การตอ สูดา นเศรษฐกจิ ไดแ ก การมุงทาํ ลายความมน่ั คงทางเศรษฐกิจของฝา ยตรง
ขามโดยการทาํ ลายความเปน ปก แผนของแรงงาน ฐานะม่ันคงทางการเงิน ปจจัยในการผลิต ตลอดจนระบบ
ใชการจัดดาํ เนนิ งานทางเศรษฐกจิ ขณะเดยี วกันก็มงุ สง เสริมใหเ กดิ ความม่นั คงทางเศรษฐกจิ ขึ้นแกต นเองและ
พนั ธมิตร สําหรบั การตอสูดานน้ีเปน เร่ืองท่สี ําคญั ทจ่ี ะตอ งคาํ นึงถงึ และเปน เรื่องระดบั ชาติ และรฐั บาลจะเปน
ผรู ับผดิ ชอบในการดาํ เนินการเก่ยี วกบั ดา นน้ี

๕.๑.๓ การตอสูดานสังคมจติ วิทยา ไดแกม ุงทาํ ลายเกยี รติภมู ขิ องประเทศชาติบคุ คลหรอื
กลุมบุคคล หรอื หนว ยงานตาง ๆ ท้งั ที่เปน ของรฐั และเอกชนของฝา ยตรงขา มใหเสอ่ื มเสยี ขาดความนยิ ม
เล่อื มใส จากประชาชนทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ ขณะเดยี วกนั ก็ตอ งดาํ เนนิ การใหประชาชนฝา ยเรา
ฝายเปนกลางและฝา ยตรงขา มเกดิ ความศรัทธาในประเทศชาติ นโยบายตวั บุคคลระดบั บริหารหนวยงาน
แหละระบบการดําเนนิ การของฝายตน

๕.๒ การดาํ เนินงานกจิ การพลเรอื นในสงครามเยน็ หรอื สงครามการเมอื ง เพ่ือใหเกดิ ประโยชนใ น
การควบคุมและประสานงาน ไดแบง หนาทก่ี ิจการพลเรอื นเปน ๔ ประเภทเชนเดยี วกบั การแบง หนาท่ีกจิ การ
พลเรอื นในสงครามทางทหาร คือ หนาที่ทางการปกครอง หนาท่ที างเศรษฐกจิ ,หนาท่ที างสิง่ อํานวยความ
สะดวกสาธารณะและหนา ทพ่ี ิเศษ ซ่ึงหนา ทด่ี งั กลา วอาจคาบเกยี่ วหรือเก่ียวเนื่องกนั จึงจาํ เปน ตอ งมีการ
ประสานงานสาํ หรับการในหนา ท่ีดงั กลาว ซึ่งแยกการในหนา ที่ตา ง ๆ ไดด ังน้ี

๕.๒.๑ หนาทที่ างการปกครอง
๕.๒.๑.๑ แนะนาํ รฐั บาลทองถิ่นในเรอ่ื ง
๕.๒.๑.๑.๑ วางแผนการปองกันภยั ฝา ยพลเรอื น
๕.๒.๑.๑.๒ ทห่ี ลบภัยสําหรบั พลเรือน
๕.๒.๑.๑.๓ สป.ฉกุ เฉิน (น้ํา ,อาหาร , สป.แพทย) ตดิ ตอเจาหนา ทพี่ ล

เรอื นในทอ งถน่ิ
๕.๒.๑.๑.๔ ระบบเตอื นภยั
๕.๒.๑.๑.๕ การควบคุมประชาชน
๕.๒.๑.๑.๖ การเรยี กเกณฑแ ละการฝกกาํ ลงั พล ดาํ เนินการชว ยเหลือใน

การทาํ เครื่องหมายทหี่ ลบภยั
๕.๒.๑.๒ แรงงาน ชว ยเหลือรัฐบาลทองถ่ินในเรอ่ื ง
๕.๒.๑.๒.๑ วางแผนจดั ต้งั จัดการวางโครงสรางหรือบรงิ านหนว ยงาน

เกย่ี วกับเศรษฐกิจดานแรงงาน การฝก หดั งาน ความปลอดภยั ความสมั พนั ธสําหรับลูกจา งกับนายจา ง
สมาพันธก ารประกันชวี ิต การจัดอายุ เพศและการใชอ อกจากงานตามความจาํ เปน

๕.๒.๑.๒.๒ วางแผน จดั ตงั้ วางโครงสราง จัดการบริหารเม่อื จาํ เปน ตอง
ใชองคการกึง่ ทหาร

๓๘

๕.๒.๑.๓ กฎหมาย

๕.๒.๑.๓.๑ ใหข อเสนอแนะ การใชระบบตุลาการและศาล

๕.๒.๑.๓.๒ แนะนําชวยเหลือในการจัดตง้ั หรอื ปรับปรุงการบริหารงาน

ความยุตธิ รรมใหม เี สถยี รภาพ

๕.๒.๑.๔ การบรหิ าร

๕.๒.๑.๔.๑ ใหข อ เสนอแนะ ในการจัด กาํ หนดหนา ที่ อํานวยการตลอดจน

อํานาจหนา ทข่ี องหนว ยงานรฐั บาล หรือการควบคมุ สังคมในทกุ ระดบั การปกครอง

๕.๒.๑.๔.๒ ใหคาํ แนะนาํ เก่ยี วกับกฎหมาย ระเบยี บ ขอบังคับ หรือ

นโยบายวจิ ยั จากการวิเคราะหเศรษฐกจิ ในพ้นื ที่

๕.๒.๑.๔.๓ มสี วนรวมในคณะกรรมาธิการ คณะกรรมการ หรอื สถานท่ี

เก่ยี วกับการปกครอง

๕.๒.๑.๔.๔ ดาํ เนินความสมั พนั ธก ับ จนท. หนว ยงานอนื่ ๆ

ธนาคาร ๕.๒.๑.๕ การเงนิ ใหคําแนะนาํ ในการจดั ตงั้ หรือแกไข
๕.๒.๑.๕.๑ รายไดตามระบบการผลิตตางๆ
๕.๒.๑.๕.๒ ระบบงบประมาณและการดาํ เนนิ การคลัง
๕.๒.๑.๕.๓ นโยบายการเงนิ และการคลงั ตลอดจนการดาํ เนนิ งานของ

๕.๒.๑.๖ การศึกษา ชวยเหลอื ในเรื่อง
๕.๒.๑.๖.๑ สรา งสิ่งอาํ นวยความสะดวกที่มอี ยู

๕.๒.๑.๖.๒ ปรับปรุงอุปกรณก ารสอน,ฝกอบรมครู

๕.๒.๑.๗ การสาธารณสขุ

๕.๒.๑.๗.๑ ดาํ เนินการตดิ ตอ กับหนว ยงานสาธารณสุข

๕.๒.๑.๗.๒ ใหคําแนะนําชว ยเหลอื รวมทั้งการตดิ ตอ และการใช

ทรพั ยากรทัง้ สน้ิ

๕.๒.๑.๗.๓ รเิ รมิ่ โครงการสาธารณสุข โดยเฉพาะอยา งย่ิงนํ้าสะอาด

๕.๒.๑.๗.๔ ใหค าํ แนะนาํ ชว ยเหลอื สัตวแพทยพืน้ เมอื ง

๕.๒.๑.๗.๕ ใหการรกั ษาทางการแพทยฉ ุกเฉิน

๕.๒.๑.๗.๖ ฝก อบรม จนท.สาธารณสุข

๕.๒.๑.๘ ความปลอดภัยสาธารณะ

๕.๒.๑.๘.๑ ตดิ ตอ หนว ยงานดา นกจิ กรรมทางความปลอดภัยสาธารณะ

๕.๒.๑.๘.๒ แนะนําชว ยเหลอื พฒั นาโครงการ ปรบั ปรุง สง่ิ อาํ นวยความ

สะดวก

๕.๒.๑.๘.๓ ชว ยเหลือแนะนาํ ในการรักษาระเบยี บสังคม

๓๙

๕.๒.๑.๙ การประชาสงเคราะห

๕.๒.๑.๙.๑ ชว ยเหลอื ปรับปรงุ ทอี่ ยูอ าศัย

๕.๒.๑.๙.๒ ชว ยเหลือกลั่นกรองกฎหมายทอ งถิ่นใหเหมาะสม

๕.๒.๑.๙.๓ ประมาณความตอ งการดานประชาสงเคราะห

๕.๒.๑.๙.๔ วางแผนปอ งกนั การอพยพของผอู ยอู าศยั

๕.๒.๑.๙.๕ ตดิ ตอ ผแู ทนองคการและหนวยงานในพ้นื ท่ี

๕.๒.๒ หนาทท่ี างเศรษฐกิจ

๕.๒.๒.๑ การสงกาํ ลังพลเรอื น

๕.๒.๒.๑.๑ ดําเนนิ งานดา นสมั พันธภาพกับ จนท.อาสาสมคั รทีค่ วบคมุ

สป.พลเรอื น

๕.๒.๒.๑.๒ ประสานการเคลือ่ นยาย สป. และ จนท.ควบคมุ ผูลีภ้ ยั

๕.๒.๒.๑.๓ ใหมาตรการในการยึด สป. และนาํ สง ใหจ นท.พลเรอื น

นําไปใชได ๕.๒.๒.๑.๔ ชว ยเหลือการรักษาความปลอดภยั การขนยา ย สป.พลเรอื น
ระหวา งประเทศ ๕.๒.๒.๒ เศรษฐกิจและการคา

๕.๒.๒.๒.๑ ดาํ เนินการสมั พันธกับนกั เศรษฐศาสตร และองคก ารพฒั นา

๕.๒.๒.๒.๒ ประเมนิ ผล นโยบายการเงนิ การคลงั และใหขอ เสนอแนะ
๕.๒.๒.๒.๓ ดาํ เนนิ การศกึ ษาในการตั้งโรงงานอุตสาหกรรม

๕.๒.๒.๒.๔ แนะนาํ ชว ยเหลอื ในการจดั ตงั้ โครงการ การเพ่มิ สินคาออก

การขยายตวั ของอุตสาหกรรม การฝกอาชพี เสถยี รภาพของราคา สนบั สนุนโครงการชว ยเหลือทางเศรษฐกิจ

๕.๒.๒.๓ อาหารและการเกษตร

๕.๒.๒.๓.๑ ดาํ เนนิ ความสมั พนั ธก บั จนท. การเกษตร

๕.๒.๒.๓.๒ แนะนําชวยเหลือกาํ หนดโครงการ การปรบั ปรุง ตลอดการคา

ปศุสัตว และชลประทาน, การบํารุงพชื พนั ธ, การฝก อบรมดานเกษตรกรรม การแสดงสาธิตการเพาะปลกู

๕.๒.๒.๔ การควบคุมทรพั ยส นิ

๕.๒.๒.๔.๑ ใหคําแนะนําในการกําหนด หรอื แกไ ขนโยบาย

๕.๒.๒.๔.๒ ใหค ําแนะนาํ การบรหิ ารงานทรัพยส นิ

๕.๒.๓ หนา ทท่ี างสิง่ อํานวยความสะดวกสาธารณะ

๕.๒.๓.๑ การคมนาคมสาธารณะ

๕.๒.๓.๑.๑ ใหม กี ารตดิ ตอ กบั หนว ยงานท่ีรบั ผิดชอบ

๕.๒.๓.๑.๒ ใหความชว ยเหลอื ทางเทคนิค

๔๐

๕.๒.๓.๑.๓ ใหคาํ แนะนาํ การปฏิบตั ิงานของระบบคมนาคม,โครงการ
ฝกอบรมทางเทคนิค การจดั เครื่องมอื เคร่ืองใชใ หท นั สมัย,การขยายระบบคมนาคม, โครงการซอมบํารุง การ
ดาํ เนนิ การไปรษณีย และการปองกนั ส่งิ อํานวยความสะดวกทีส่ าํ คญั

๕.๒.๓.๒ การขนสง
๕.๒.๓.๒.๑ ใหมีการติดตอระหวา งเจาหนาที่ขนสง
๕.๒.๓.๒.๒ ใหค วามรว มมอื ทางเทคนคิ
๕.๒.๓.๒.๓ การดําเนนิ งานของระบบการขนสง
๕.๒.๓.๒.๔ ปรบั ปรุงโครงการฝกอบรม
๕.๒.๓.๒.๕ กาํ หนดโครงการในการคมนาคม และลําดบั ความเรงดว นใน

การเคล่ือนยาย
๕.๒.๓.๒.๖ ประสานการใชส ถานปี ลายทาง

๕.๒.๓.๓ งานสาธารณปู โภค
๕.๒.๓.๓.๑ ประสานการตดิ ตอกับองคการ ใหความชว ยเหลอื แนะนาํ การ

ดาํ เนนิ งานสาธารณปู โภคตา ง ๆ โครงการฝกทางเทคนคิ , การขยายงาน และการทําใหทันสมยั การปอ งกันส่ิง
อํานวยความสะดวกทส่ี ําคัญ

๕.๒.๓.๓.๒ เตรียมแผนและใหข อ เสนอแนะในการบรกิ ารตา งๆ
๕.๒.๔ หนา ทพี่ ิเศษ

๕.๒.๔.๑ ศิลปะ อนสุ าวรีย และเอกสารสาํ คญั ใหค ําแนะนาํ ในเรือ่ ง
๕.๒.๔.๑.๑ การรกั ษาวัฒนธรรม จารตี ประเพณี และศิลปะของพ้นื ท่ี
๕.๒.๔.๑.๒ มาตรการรักษาทรพั ยส ินทางวัฒนธรรม
๕.๒.๔.๑.๓ บญั ชีสถานที่ตง้ั สิ่งกอ สรา งทางประวัติศาสตร, อนสุ าวรีย

หองสมดุ
๕.๒.๔.๑.๔ เตรียมโครงการ และชวยเหลอื ทางดา นการศึกษา ของหนว ย

ทหาร
๕.๒.๔.๑.๕ พฒั นาและรกั ษาขอมลู ทางวฒั นธรรม

๕.๒.๔.๒ ขา วสารพลเรือน
๕.๒.๔.๒.๑ ดาํ เนนิ การสัมพนั ธก บั องคการขาวสาร
๕.๒.๔.๒.๒ แนะนาํ ชวยเหลอื กาํ หนดโครงการตา งๆ
๕.๒.๔.๒.๓ อธิบายความจาํ เปน ทต่ี องเขา ไปอยใู นพ้ืนท่ี
๕.๒.๔.๒.๔ ใหเจา หนา ทค่ี นุ เคยกบั ขนบธรรมเนียมประเพณีทอ งถนิ่

๕.๒.๔.๓ บคุ คลพลดั ถิ่น ผลู ้ีภัย และผูอพยพ
๕.๒.๔.๓.๑ ประสานหนว ยงาน และ จนท.รบั ผดิ ชอบในการควบคมุ
๕.๒.๔.๓.๒ แนะนําหนว ยงาน และ จนท.ในการปฏิบัติ

๔๑

๕.๒.๔.๓.๓ กาํ กบั ดแู ล ประสานงานกับหนว ยยุทธวิธีในการควบคมุ ของ
บคุ คลพลดั ถ่นิ

๕.๒.๔.๓.๔ ตอ งม่นั ใจวา การอพยพออกจากพืน้ ทย่ี ุทธวธิ ี ไดประสานกบั
หนว ยงาน และ จนท.รบั ผดิ ชอบแลว

๕.๒.๔.๔ ศาสนสัมพันธใ หค าํ แนะนาํ
๕.๒.๔.๔.๑ ความสาํ คัญของศาสนาและวฒั นธรรมในพนื้ ท่ี
๕.๒.๔.๔.๒ สาํ รวจโครงสราง สัญลกั ษณ และเครื่องหมายที่สําคัญ
๕.๒.๔.๔.๓ ศึกษาความเกย่ี วพนั ธกบั วฒั นธรรมทางศาสนาทองถ่นิ
๕.๒.๔.๔.๔ วเิ คราะห ประเมินคา ใหขอ เสนอแนะ
๕.๒.๔.๔.๕ ดาํ รงการติดตอ กับคณะสอนศาสนาและพระสงฆท อ งถ่นิ
๕.๒.๔.๔.๖ ติดตอ กบั กลมุ ศาสนา และใหการชว ยเหลอื อยางจาํ กัด

ตลอดจนการเขา ไปมีสวนรว มในกจิ กรรมที่เปน ประโยชน
๕.๒.๔.๔.๗ สง เสริมเสรภี าพในการนับถอื ศาสนา
๕.๒.๔.๔.๘ ลดความแตกราวและความเปนศัตรูกัน ระหวางกลมุ ศาสนา

ตาง ๆ

๕.๒.๔.๔.๙ พจิ ารณาขอ จํากดั และการใชส ิ่งอํานวยความสะดวกทาง
ศาสนา

๕.๒.๔.๔.๑๐ หาวธิ ีประนีประนอม

๔๒

บทท่ี ๓

แนวความคดิ ดานกิจการพลเรอื น

๑. กลา วทว่ั ไป
๑.๑ โครงการหรือกิจกรรมของหนว ยทหารใด ๆ กต็ ามท่เี กยี่ วกบั การตดิ ตอ พบปะกบั พลเรอื น

ภายนอกท่ตี ั้งหนวยทหาร หรอื กาํ หนดขน้ึ ไว เพอ่ื ชกั จงู หรือควบคมุ กจิ กรรมตางๆ ของพลเรอื นและองคก าร
ฝายพลเรือนแลว ยอมถือวาเปนการปฏิบัตกิ ารกจิ การพลเรือนท้ังสิ้น โดยไมต อ งคํานงึ ถงึ สถานที่ตัง้ ของ
กิจกรรมนัน้ หรอื ขนาด หรอื ประเภทของหนวยทหารที่เขา ไปมสี วนอยดู ว ยเลย

๑.๒ ปจ จยั ตางๆ ทมี่ ีอทิ ธิพลตอ การปฏบิ ัตกิ ารกจิ การพลเรอื น
แบบและวัตถปุ ระสงคข องการปฏบิ ัติการกิจการพลเรอื นในพืน้ ทหี่ น่งึ พืน้ ทใ่ี ด หรือกิจกรรม

อ่นื ใดทีเ่ กีย่ วขอ งอยูในขอบขา ยนนั้ ในขัน้ พน้ื ฐานมกั จะเปน ไปตามนโยบายภายใน และภายนอกประเทศ
ตัวอยา งเชน ผบู ังคบั บญั ชาฝา ยทหารไมเ พียงแตป ฏบิ ตั ิงานอนั ดบั แรกทอี่ าจจะเปนการทําลายขมุ กําลังของ
ขา ศึกเทา น้นั แตยงั ตองมคี วามรับผิดชอบอยางมากตอ การปฏบิ ตั กิ ารดานกจิ การพลเรอื น เพือ่ ทจี่ ะเสรมิ สรา ง
เสถียรภาพภายในใหมน่ั คงดวย นอกจากนนั้ หนว ยทหารหนว ยหนงึ่ อาจไดร ับมอบหมายใหปฏบิ ตั ิภารกจิ ใน
ทุกสถานการณอ ยางกวา งขวางและเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณต า ง ๆ ดังตอ ไปนี.้

๑.๒.๑ ปจจัยดา นการพฒั นาการในการควบคุมและการใหค วามชว ยเหลอื ในเรือ่ งการบรหิ าร
ดา นการปกครองซึ่งเมื่อเปรยี บเทยี บแลว กค็ ลา ยคลงึ กนั ไมวาจะเปนมาตรการทใี่ ชใ นพ้นื ท่ที ีก่ ําลังพฒั นา หรอื
พ้นื ทซ่ี ึง่ มกี ารพัฒนาสูง ประกอบดวยมีระบบสงั คมเศรษฐกิจและการเมืองทส่ี มบูรณแลวก็ตาม

๑.๒.๒ กาํ หนดเวลาพิจารณาต้งั แตมาตรการในการควบคมุ หรอื การใหความชว ยเหลือใน
การขจัดปญหาตางๆ ทางดานการทหาร เศรษฐกจิ หรอื การเมืองท่ีสาํ คัญๆ ซ่ึงยังตกคา งอยใู หห มดสน้ิ ไป โดย
ขยายเวลาใหย ดื ออกไปเปนเวลาหลาย ๆ ป จนถงึ การปฏิบตั ใิ นยามฉกุ เฉินตา ง ๆ ท่ีกระทาํ อยางเรงดว น
ฉับพลัน แตก ระทาํ ในหว งระยะเวลาส้นั ๆ

๑.๒.๓ ที่ต้ังมาตรการในการควบคุมหรือในการใหค วามชว ยเหลือตา ง ๆ ที่นําไปใชใน
ดินแดนตางประเทศ ยอมแตกตา งกันกบั ทใ่ี ชภายในประเทศ

๑.๒.๔ การตอบสนองของประชาชน โดยการพจิ ารณาการปฏบิ ัติท่ีนาํ ไปใชก บั ประชาชนที่
เปน ขาศึกตลอดจนวิธกี ารตา ง ๆ ทีจ่ ะไดร บั การสนับสนุนอยา งเตม็ ใจจากประชาชนท้ังในดา นความรว มมอื
และความจงรกั ภักดี

๑.๒.๕ ปจจยั ทางทหาร
๑.๒.๕.๑ การใชอ าวธุ ประเภทนวิ เคลยี ร เคมี ชีวะ รังสี โดยไมม ขี ีดจํากดั ลงไป

จนถงึ การใชเพยี งอาวุธประเภทธรรมดาเทา น้นั
๑.๕.๕.๒ การใชก องทัพสนามในสงครามทวั่ ๆ ไป เพอื่ ผลประโยชนข องหนวยรบ

เฉพาะกจิ ขนาดเลก็ ในอนั ท่ีจะทาํ ใหก ารปฏบิ ัตติ าง ๆ มเี สถยี รภาพม่ันคง หรอื เพ่ือปฏบิ ัติการชว ยเหลอื ในการ
ปอ งกันพฒั นาภายในประเทศ

๔๓

๑.๒.๖ พนื้ ฐานทางกฎหมาย มาตรการในการใหค วามชว ยเหลือหรือควบคุม อาจไดร บั มอบ

อํานาจและกําหนดขึน้ โดยบทบัญญตั ิทางกฎหมายพเิ ศษเฉพาะเรือ่ ง เชน พ.ร.บ.หรอื ขอตกลงระหวา งประเทศ

หรือในสถานการณทร่ี ุนแรงมาก มาตรการตาง ๆ อาจจะตองนําเอาหลกั ของความจาํ เปนมาใช

๑.๒.๗ หนวยกิจการพลเรือนมีความรับผิดชอบตอ การใหคาํ แนะนํา หรือดาํ เนนิ การใน

หนา ที่ดา นการปกครองใหสําเร็จลุลวงไป หรอื ใหความชว ยเหลือตอกองกําลงั ตา ง ๆ

๑.๓ ขอบเขต/อาํ นาจหนา ที่

หลกั การทแ่ี นน อนนน้ั มกี ารใชต ามกฎ – ขอบงั คบั ระหวา งประเทศและขอ ตกลงแลว เร่อื ง

ตาง ๆ ตอไปนี้ ควรนําไปพจิ ารณาในการวางแผนดา นการปฏบิ ตั ิการกิจการพลเรอื นดว ย คือ

๑.๓.๑ การปฏบิ ัตกิ ารกจิ การพลเรอื น เปนนโยบายที่ตอ เนอ่ื งและแนนอน

๑.๓.๒ ความรบั ผิดชอบและอํานาจหนา ท่ีในการดําเนนิ งาน ของกิจกรรมดา นกจิ การ
พลเรอื นเปน ของผบู ังคบั บญั ชาฝา ยทหารชนั้ อาวโุ ส เพอื่ ใหมน่ั ใจวา ไดม กี ารสง เสริมการปฏบิ ัติใหเ ปนไปใน

แบบเดยี วกนั ผูบ ังคับบญั ชาดังกลา วจะตองปฏบิ ัติตามแนวทาง คําสงั่ คาํ สั่งช้แี จง นโยบายของผบู งั คบั บญั ชา
ช้ันเหนือ นโยบายของชาติ ขอตกลงทม่ี ผี ลบงั คับใชแ ละกฎหมายระหวางประเทศ

๑.๓.๓ หากเปนไปได การปฏบิ ัตกิ ารกิจการพลเรือนจะตอ งกระทําผา นหรอื รว มกบั
เจาหนาทฝ่ี า ยพลเรอื นทมี่ อี ยแู ลว หรอื ตง้ั ขนึ้ ใหม

๑.๓.๔ เจา หนา ท่ีของกองทัพบก ยอ มมคี วามรบั ผดิ ชอบในการที่จะยนิ ยอมปฏิบตั ติ ามความ
ตอ งการตา ง ๆ ในทางกฎหมาย และระเบียบขอบังคบั ทม่ี ผี ลตอ สัมพนั ธภาพระหวา งทหารกบั เจาหนาท่ฝี าย
พลเรอื นและประชาชน

๑.๔ ขอบเขตของอํานาจหนา ท่ีทางดานกจิ การพลเรอื น

ขอบเขตอาํ นาจหนาทท่ี างกจิ การพลเรอื น ยอมแตกตางกันออกไปตามทอ งถ่ิน และ

สถานการณอ าํ นาจหนาทท่ี างกจิ การพลเรือน แบง ออกไดเ ปน ๕ ประเภทคือ

๑.๔.๑ ดนิ แดนท่ถี ูกยดึ ครอง ภายใตข อ จํากดั ท่ีบงไวใ นกฎหมายระหวา งประเทศ

ผูบงั คับบัญชาของกองกําลังที่เขา ไปยึดครอง ยอ มมีสิทธิ์ท่จี ะเรยี กรองและบังคับพลเมอื งทีอ่ าศัยอยใู นพน้ื ทท่ี ี่

ถกู ยดึ ครองนน้ั ใหเคารพเชอ่ื ฟงตอ กฎหมายดังกลา ว ตามความจําเปน เพ่ือความสาํ เร็จภารกจิ ของตน และเพอื่

ปกครองพนื้ ทน่ี ัน้ ตามความเหมาะสมตอไป

๑.๔.๒ เขตหนา กฎธรรมเนียมสงครามไดบัญญัติขอ จํากดั ของการปฏบิ ัตกิ ารใชก ําลงั ของคู

สงครามในผลประโยชนทเี่ กย่ี วกับการปองกันนกั รบ และผมู ิใชนกั รบใหพน จากทุกขท รมานทไ่ี มจาํ เปน

และการใหค วามอารกั ขา และการใหค วามคุม ครอง แกส ทิ ธมิ นษุ ยชนเบอ้ื งตน ไวโดยแนนอน

๑.๔.๓ ดนิ แดนฝา ยเดยี วกนั ความหนักเบาของการควบคุมการปฏิบตั กิ ารกจิ การพลเรอื นใน

ดนิ แดนฝา ยเดยี วกนั ยอมถูกจาํ กัดดว ยขอตกลงทางกจิ การพลเรือน โดยไมคํานงึ ถึงความหนกั เบาของการ

ควบคุมการปฏิบัตกิ ารของตนแลว ผบู ังคบั บญั ชาฝายทหาร จะตองโอนการควบคมุ ใหแ กร ฐั บาลพลเรอื นท่ี

ตนยอมรบั แลว นนั้ โดยเรว็ ทสี่ ุดเทา ที่สถานการณทางทหาร และทางการเมืองอาํ นวยใหใ นดินแดนฝา ยเดยี วกนั

ซงึ่ มกี ารบริหารงานทางพลเรือนเพยี งพออยแู ลว ผบู ังคับบัญชาฝายทหารอาจจะจํากดั กจิ กรรมตาง ๆ ดา น

๔๔

กิจการพลเรอื นลง เพอื่ ดาํ เนินงานดา นสมั พนั ธภาพระหวา งทหารกบั พลเรอื นในทอ งถิ่นนั้นตามความ
เหมาะสม และการจัดหาหรือการใชป ระโยชนท างทรพั ยากร หรอื ส่ิงอํานวยความสะดวกในทอ งถ่ิน เพ่อื
สนับสนนุ การปฏบิ ัตกิ ารทางทหารของตนเทา นัน้

๑.๔.๔ ดนิ แดนทไี่ ดร ับการปลดปลอย ดนิ แดนท่ไี ดรับการปลดปลอยโดยการปฏบิ ัติการรบ
นัน้ จะตอ งมอบคืนใหอ ยูในการควบคุมของรฐั บาลกลางท่เี หมาะสมโดยเรว็ ที่สดุ เทา ที่รฐั บาลน้นั สามาตร
และเตม็ ใจท่ีจะเขาใจทจี่ ะเขา รับผดิ ชอบในการบรหิ ารงานตอไป เม่อื ถึงเวลานัน้ แลวดินแดนดังกลาวกจ็ ะ
ไดรับการปกครองเชน เดยี วกนั กบั ดนิ แดนทีถ่ ูกยึดครองนั่นเอง

๑.๔.๕ พ้ืนท่อี น่ื ๆ บรรดาขอ ตกลงระหวางประเทศ ระเบยี บ ขอบังคบั และนโยบายของชาติ
ตามทห่ี นว ยเหนือใหป ระกาศหรือแปลความออกมา ยอมบง บอกถงึ ขอบเขตของอํานาจหนา ทท่ี างทหารใน
พ้ืนทอ่ี ืน่ ๆ ไวด ว ย
๒. แนวความคิดดานกจิ การพลเรือน

๒.๑ หลักนยิ ม
หลกั นยิ ม กจิ การพลเรือนครอบคลุมถงึ สัมพนั ธภาพทางทหาร – พลเรอื นทง้ั สิ้น นับตัง้ แต

การแนะนาํ ชว ยเหลือ และการปฏิบัติการจิตวิทยาในประเทศฝายเดยี วกนั ขน้ึ ไป จนถงึ การปฏิบตั ิการ
ปกครองดนิ แดนโดยฝายทหารในเขตท่ถี กู ยดึ ครอง และรวมถงึ สัมพนั ธภาพระหวา งผูบังคบั บญั ชากบั กาํ ลัง
ทหาร เจาหนา ทีพ่ ลเรอื นและประชาชนของประเทศนน้ั ๆ ดว ย ผลดกี ็คอื กิจการพลเรอื นนนั้ เปนเสมอื น
สะพานเชื่อมโยงติดตอระหวา งการในหนาท่ฝี า ยทหาร เกี่ยวกบั กาํ ลังทหารขา ศกึ ทพี่ ายไปแลว และพยายาม
จะจดั การควบคุมประชาชนในดนิ แดนนน้ั ๆ กับการในหนา ทฝ่ี า ยกจิ การพลเรือนเกยี่ วกบั การดําเนนิ การใน
การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยแกประชาชนในขณะทีป่ กปก ษร ักษา หรอื พัฒนาดา นการเมือง เศรษฐกิจและ
โครงสรางทางสังคม และการปฐมนิเทศทางจิตวทิ ยาของประเทศตามเจตนารมณท ไี่ ดว างไว แนวทางน้มี ไิ ด
กําหนดใหต ายตัวลงไป และสามารถแกไขตามเหตุการณท ่ีเปลี่ยนแปลงไป

๒.๑.๒ หนว ยทหารทุกหนวยยอมมขี ีดความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน ในหนา ที่ทางการ
กิจการพลเรือนบางอยา งได โดยอาศัยเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชท ี่มอี ยขู ณะนน้ั ขีดความสามารถดังกลา วก็จะทําให
เกดิ ประโยชนข ึน้ มาได

๒.๒.๓ กองทพั บกจะตองดาํ รงไวซ่ึงขดี ความสามารถ ในการปฏิบตั ิการตามหนาทีก่ ิจการ
พลเรือนอยา งเต็มที่ โดยยดึ หลกั นิยมกจิ การพลเรือนเปนแนวทางดําเนนิ งานคือ

๒.๑.๓.๑ งานดา นกจิ การพลเรอื น ถอื วาเปน งานหลกั ทส่ี ําคัญอยางหน่งึ ในการ
ดําเนนิ การ เพอื่ ใหบรรลุภารกิจของกองทพั บกในการเสรมิ ความมัน่ คงของชาติ

๒.๑.๓.๒ การดาํ เนินงานกิจการพลเรอื น ของทหารจะประกอบดว ยหลกั การใหญ ๆ
๔ ประการดว ยกนั คอื

๒.๑.๓.๒.๑ การปฏิบัติการกิจการพลเรือน
๒.๑.๓.๒.๒ การปฏิบัตกิ ารจติ วิทยา
๒.๑.๓.๒.๓ การประชาสมั พนั ธ

๔๕

๒.๑.๓.๒.๔ การปลกู ฝงอดุ มการณท างการเมอื ง
๒.๑.๓.๓ การดาํ เนินงานกิจการพลเรือนคงกระทําภายในขอบเขต การดําเนนิ งานที่
ครอบคลุมถึงการปฏบิ ตั ทิ เี่ กยี่ วขอ งกบั การปกครอง การเศรษฐกจิ และการสังคมจิตวทิ ยาของพ้นื ท่ีรบั ผิดชอบ
๒.๒ หลกั การ
หลกั การการปฏิบตั กิ ารกิจการาพลเรือน หมายถงึ การดาํ เนนิ งานทง้ั ปวงของหนว ยทหารท่ี
เก่ียวของหรอื กระทบกระเทอื นตอ สวนราชการพลเรือน ประชาชน และทรพั ยากรในพ้ืนที่รบั ผดิ ชอบทง้ั ใน
ยามปกตแิ ละยามสงคราม เพื่อบรรลภุ ารกจิ ของหนวยตามตองการ หลกั การดาํ เนนิ การกจิ การพลเรอื น จาํ แนก
ออกเปน ๓ หลกั การคอื
๒.๒.๑ หลักการปฏิบัตกิ าร การปฏบิ ัตกิ ารกิจการพลเรือนยอ มขนึ้ อยูกับสภาพทางดาน
สัมพันธภาพระหวางทหารกบั เจา หนา ทพี่ ลเรอื น และประชาชนพลเรือน แยกออกเปน
๒.๒.๑.๑ หลกั มนุษยธรรม การปฏิบตั ใิ นทีน่ ้ีมงุ เพง เล็งการปฏบิ ตั ิท่มี ตี อ พลเรอื น
๒.๒.๑.๒ หลักประโยชนข องผถู กู ปกครอง ซง่ึ ในการปฏิบตั ิ ถือหลกั วา ถาไมมี
ความจาํ เปนทางทหารแลว จะตองไมรบกวนผลประโยชนแ ละความสุขของประชาชน
๒.๒.๑.๓ หลกั การรับรสู ทิ ธซิ ่ึงกนั และกัน ภายใตบ ทบญั ญตั ิแหงกฎหมาย ระหวา ง
ประเทศ ผบู งั คบั บญั ชากองกาํ ลงั ทยี่ ดึ ครอง ยอมมีสทิ ธทิ จ่ี ะเรียกรอ ง บงั คบั ใหผ ูทอี่ ยูใ นพนื้ ทยี่ ดึ ครองเชอื่ ฟง
เทา ท่จี าํ เปน ดงั นนั้ เพอ่ื เปน การตอบแทนท่จี ะตองเช่ือฟง ผูทีอ่ ยูในพ้ืนท่ียอมมสี ทิ ธิ เสรีภาพสว นบคุ คล
กรรมสทิ ธิ์ในทรพั ยส ิน โดยปราศจากการรบกวนใด ๆ โดยไมจ ําเปน
๒.๒.๒ หลกั การจดั การจัดหนวยกจิ การพลเรอื นยอมยดึ ถอื มูลฐานจากลกั ษณะและขนาด
ของพื้นท่ปี ฏบิ ตั กิ าร และภารกจิ ทางการเมอื งของกองบัญชาการหนวยทหารตนสงั กัดมากกวาทจ่ี ะยดึ ถอื จาก
ขนาด หรือสวนประกอบของกําลังทีป่ ฏิบตั กิ ารอยใู นพน้ื ที่ ผสมผสานหนว ย บก.กิจการพลเรอื นท่ีเหมาะสม
กับชุดการในหนาที่ ยอ มทําใหเ กดิ ความออ นตัวทางดานการจดั หนวยกิจการพลเรอื น ความตอ งการทจ่ี ะ
ปฏิบตั ิภารกจิ ได ในการประมาณจํานวนและแบบชดุ การในหนา ที่ ทตี่ อ งการใชใ นการปฏิบตั ิการแตล ะครงั้
ควรพิจารณาเรอ่ื งตา งๆ ดงั น้ี
๒.๒.๒.๑ แบบของการปฏิบัตกิ ารกิจการพลเรอื น
๒.๒.๒.๒ ระดับของการควบคุมท่ีตองการ
๒.๒.๒.๓ จาํ นวนและขนาดของศูนยประชากร
๒.๒.๒.๔ ความหนาแนนของศูนยประชากร
๒.๒.๒.๕ ทาทีของประชากร
๒.๒.๒.๖ ลกั ษณะทางเศรษฐกจิ (พนื้ ทอ่ี ตุ สาหกรรม/เกษตรกรรม)
๒.๒.๒.๗ ระดับของการพฒั นาทางเศรษฐกจิ
๒.๒.๒.๘ โครงสรางทางการปกครอง ขาราชการทมี่ อี ยูแ ละเสถยี รภาพของการ
ปกครอง
๒.๒.๒.๙ ประวัติความเปนมาของพ้นื ที่

๔๖

๒.๒.๒.๑๐ ประมาณการเคล่ือนไหวของประชากร
๒.๒.๒.๑๑ ความคุนเคยกบั อปุ กนิสยั ดา นความเปน อยูแ ละอาหารการกนิ
๒.๒.๒.๑๒ สภาพการทางดา นสขุ ภาพ
๒.๒.๒.๑๓ ความสามารถทางดานแรงงาน
๒.๒.๒.๑๔ สง่ิ อุปกรณของพลเรือนท่ีจะหามาได
๒.๒.๒.๑๕ เสถียรภาพทางดา นการเงนิ
๒.๒.๒.๑๖ ภาษาตางๆ ของพ้นื ท่ี
๒.๒.๒.๑๗ ความเชือ่ ทางศาสนา
๒.๒.๒.๑๘ ขอบเขตของการบรกิ ารดา นคมนาคมสาธารณะ
๒.๒.๓ หลกั การฝก การฝกเปน บุคคลและการฝกเปนหนว ย จะตอ งใชทราบถงึ ความ
ตองการในดานกิจการพลเรอื น และผบู งั คับบัญชาควรม่นั ใจวา การกําหนดการฝกตาง ๆ นั้นเปนผลดีและ
เปน การเพิม่ ขดี ความสามารถของหนว ยในการปฏิบตั งิ านในหนา ทกี่ จิ การพลเรือนใหส งู ข้ึน
๒.๒.๓.๑ การฝก ควรเนนเรือ่ ง

๒.๒.๓.๑.๑ ความรบั ผดิ ชอบของผูบังคับบญั ชา
๒.๒.๓.๑.๒ การพิสจู นทราบภารกจิ ทางดา นกจิ การพลเรือน
๒.๒.๓.๑.๓ การประเมนิ คาขีดความสามารถของหนว ย
๒.๒.๓.๑.๔ ผบู งั คบั บัญชาจะตองมัน่ ใจวา เจาหนา ทที่ ีบ่ รรจุไวใ นหนว ย
ของตนนน้ั เปน ผทู ี่ไดรับการคิดเลือกมาแลว
๒.๒.๓.๒ ขั้นของการฝก
๒.๒.๓.๒.๑ การฝก เบือ้ งตน กาํ ลังพลทุกคนจะตอ งไดรับการปฐมนเิ ทศ
เก่ยี วกบั ความรูพ้นื ฐานในเรอ่ื งกิจการพลเรือนและการปกครองโดยฝายทหาร
๒.๒.๓.๒.๒ การฝก ในลาํ ดบั ตอไป

๒.๒.๓.๒.๒.๑ นายทหารทกุ นาย ควรจะตอ งไดรบั การฝกอบรม
ท่วั ๆ ไปเพิ่มเตมิ เพือ่ ใหม คี วามรูอยางนอ ยกเ็ ทาท่จี ําเปน ในเรอื่ ง การจดั การปฏบิ ตั ิการของบรกิ ารชวยรบ และ
ยุทธบริการ

๒.๒.๓.๒.๒.๒ การฝก อบรมช้นั สูง จะตองกระทาํ ในโรงเรียน
ทหารระดบั สงู ซ่ึงฝกนายทหารสําหรับเปน ผูบังคับบญั ชาและฝายอาํ นวยการ

๒.๒.๓.๒.๒.๓ การประลองยทุ ธ และการฝก แกป ญ หารวมท้งั
การใชหนว ยและกาํ ลังพล ทางดานกจิ การพลเรือน

๒.๒.๓.๒.๒.๔ กาํ ลงั พลฝา ยกิจการพลเรือน จะตองไดร บั การฝก
ทเ่ี หมาะสมเกย่ี วกบั ทอ งถน่ิ เพ่ือสอดคลองกับแผนการบรรจกุ ําลงั พลประเภทนัน้
๓. การปลกู ฝง อดุ มการณท างการเมือง

๔๗

จากการศึกษาถึงววิ ัฒนาการของชาวโลกแลว พอจะไดวา ความขดั แยงระหวา งบคุ คลกลมุ ชนและ
ระหวางประเทศนั้นเกดิ ขึน้ โดยตอ เนอ่ื งไมข าดสาย แมจ ะไดมีความพยายามทจ่ี ะระงบั ขอขดั แยง ดว ยวธิ กี าร
ตางๆ ทง้ั โดยใชหลกั ของศลี ธรรม จรรยา ศาสนา ดา นระบอบการปกครองตลอดจนการจดั ต้งั องคก าร
ระหวา งประเทศ เชน องคการสหประชาชาตขิ ึ้น เพอ่ื ระงับขอพพิ าทและขอ ขดั แยง ระหวา งประเทศ ก็ไม
สามารถยตุ ิการขดั แยงกนั ไดอ ยางเดด็ ขาด ยงั คงมกี ารใชก าํ ลงั ทหารและมาตรการอ่นื ๆ เชน มาตรการดา น
เศรษฐกจิ สงั คมจติ วทิ ยา เขา แกป ญ หาอยเู สมอ

๓.๑ การตอสดู า นอดุ มการณ
อุดมการณใ นทนี่ ี้หมายถงึ อดุ มการณทางการเมอื งหรอื การปกครองประเทศ บุคคล หรอื

“ คน “ ทกุ คนหรือทุกกลุม ยอมจะมีความเชือ่ ตา ง ๆ ทั้งทเ่ี หมือนกนั และแตกตา งกนั แตสว นใหญแ ลวความ
เช่อื ของบคุ คลหรือกลมุ บคุ คลเหลานัน้ ยอมจะมีสวนท่เี หมอื นกัน และแตกตา งกนั ออกไป แตใ นทกุ สังคมยอ ม
มีขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ความเช่ือถอื สภาพแวดลอ มทางเศรษฐกจิ สงั คม การศึกษาซงึ่ หลอ หลวมให
บคุ คลสว นใหญในแตล ะประเทศมีแกนความคดิ พืน้ ฐานท่สี ําคัญใกลเ คียงกัน เชน อยากจะเหน็ รัฐบาล
ประกอบดว ย คนดี มฝี มอื สะอาด มคี วามรคู วามสามารถ จริงใจตอประชาชน อยากเหน็ ประเทศชาติ
เจริญรุงเรืองม่นั คง ไมก ดขขี่ มเหง เอารดั เอาเปรียบซงึ่ กนั และกนั หลกั ความคดิ ประจาํ ชาตริ วมท้ังขอเท็จจริง
ในโลกสมัยใหมอ ีกมาก ซง่ึ จะเปนแกนความคิดทจ่ี ะดึงประชาชนใหม ารว มรบั รู รวมตอ สูเสยี สละเพือ่ ตนเอง
ประเทศชาติ และประชาชนสวนรวมได เพราะฉะนน้ั ถา สามารถศึกษาขอ มูลใหเ ขาใจความคดิ ความตอ งการ
พน้ื ฐานของประชาชนภายในชาตปิ ระชาชนของชาติ (ไมใชต างชาต)ิ พฒั นาขอ มูลและความคดิ นน้ั ใหเปน
ระบบแลวสามารถปลูกฝง แนวความคดิ ดานอดุ มการณอ นั พึงประสงคใ หก บั กลุมบุคคลภายในชาติ ตระหนัก
ถงึ ผลประโยชนท ่จี ะไดร ว มกันแลว ยอ มนําไปสูความหวงั ความรูส กึ รวมทจี่ ะตอสเู พื่อความอยรู อดของชาติ
ดว ยความจรงิ ใจ ซงึ่ จะเปน การสนบั สนุนวตั ถปุ ระสงคเพื่อความม่นั คงของชาติโดยแทจ รงิ ในระยะยาว ดงั นนั้
อุดมการณทางการเมืองหรอื การปกครองประเทศ จงึ เปน องคประกอบทส่ี าํ คัญยง่ิ ในการทําสงครามการเมอื ง

๓.๒ การตอ สดู านอดุ มการณ หมายถงึ การตอ สทู างความเช่อื ในระบอบการปกครองของอกี สงั คม
หนงึ่ วาของใครจะเหมาะสมกวากนั สําหรบั อดุ มการณข องชาตใิ ดกย็ อ มเหมาะสมกบั ลักษณะของชาติน้ัน
โดยเฉพาะมใิ ชน าํ เอาอดุ มการณของชาติอน่ื มาใชเปนอดุ มการณข องตน

๓.๓ การปลูกฝงอุดมการณท างการเมอื ง หลกั สําคัญประการหนงึ่ ของสงครามการเมืองกค็ ือ
การปลกู ฝง อดุ มการณ หรอื พยายามทีป่ ลกู ฝง ความเช่อื มนั่ ทีม่ ีคณุ คา ยงิ่ ลงในสงั คมของมนษุ ยใ หเ ปน สังคมที่
เพยี บพรอ มไปดวย คุณธรรม มรี ะเบียบ วนิ ยั ขยนั อดทน ประหยัด เสียสละ มคี วามเขา ใจและศรัทธา เชอ่ื ถอื
ในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยเ ปนประมขุ ในแนวทางที่ประชาชนสวนใหญ
ตอ งการ ส่งิ เหลา นจ้ี ะเปนแรงยดึ เหนีย่ วใหสงั คมดาํ รงอยูด วยความสันติสุขมีความจงรักภักดตี อ ชาติ ศาสนา
พระมหากษตั ริย เพราะทั้งสามสถาบนั น้ี เปนศูนยรวมแหงความจงรกั ภกั ดไี วเ ปน อนั หนึ่งอนั เดยี วกนั และมงุ
เสริมสรางกําลังใจในการตอ สใู หแกมวลชนในสงั คม เพ่อื ใหเกิดความหวงแหน และพรอมท่จี ะตอ สูทําลาย
ลา งผูทีท่ าํ ตนเปนปรปก ษ ตอระบอบการปกครองและสถาบันอนั เปนทเ่ี คารพเทดิ ทูนของเราโดยไมย อ ทอ
และไมห วน่ั เกรงตอ อนั ตรายทง้ั ปวง


Click to View FlipBook Version