The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by newzeroone01, 2022-12-01 21:53:28

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

๙๘

บทที่ ๕

การจดั และการดําเนินงานดา นกิจการพลเรอื นของกองทัพบก

๑. กลา วทว่ั ไป
งานดา นกจิ การพลเรือน ไดป ฏบิ ัติควบคกู นั มากับประวตั ิศาสตรชาตไิ ทย คอื นบั ตงั้ แตม ีกองทัพไทย

แตการดําเนนิ งานเร่ิมแรกนนั้ ยังไมม หี นว ย หรอื องคก รใดเปน ผรู บั ผิดชอบโดยตรง ในสมยั พระบรม
ไตรโลกนาถ ไดม ีการจดั ต้ังกรมพระสรุ สั วดขี ้นึ ทําหนาท่ีดแู ล และทาํ ทะเบียนพลควบคุมการทําบญั ชพี ลการ
บรรจุกาํ ลงั พลเขาประจาํ หนว ย และสงสาํ เนาการบรรจกุ ําลงั พลเหลา นนั้ ไวต งั้ แตย ามปกติ เม่อื เกดิ สงคราม
กรมการเมือง เรียกระดมพลเขา ประจําหนว ยทนั ที ตอ มากรมพระสรุ สั วดีก็คือกรมสสั ดใี นปจจบุ นั จะเห็นวา
เจา หนา ท่ีสัสดี เปน เจา หนา ทฝ่ี า ยทหารคนแรก ทป่ี ฏบิ ตั ิงานรว มกบั เจาหนา ทพี่ ลเรอื น และสมั ผสั กับ
ประชาชน การดาํ เนนิ งานกจิ การพลเรือนววิ ฒั นาขน้ึ ตามลาํ ดับ คือ

๑.๑ พ.ศ.๒๕๑๓ กองทพั บกไดจ ดั ตั้ง กรมการกําลังสํารองทหารบก รบั ผดิ ชอบงานการปลูกฝง
อดุ มการณท างการเมืองและการชวยเหลอื ประชาชน ซ่งึ เปนสวนหนงึ่ ของงานกจิ การพลเรือน สวนงาน
การปฏิบัตกิ ารจติ วทิ ยาอยใู นความรบั ผิดชอบของ กรมยทุ ธการทหารบกและงานการประชาสมั พนั ธ อยูใ น
ความรับผิดชอบของสาํ นกั งานเลขานุการกองทพั บกเปน ตน

๑.๒ พ.ศ.๒๕๑๔ กองทพั บกกไ็ ดเ ลง็ เหน็ ความสําคญั ของงานการปฏิบตั ิการกจิ การพลเรือน จงึ ได
กาํ หนดหลักนยิ มกจิ การพลเรอื นและการปกครองโดยฝา ยทหาร พ.ศ.๒๕๑๕ โดยกาํ หนดหลกั การ กาํ หนด
พ้นื ท่รี บั ผิดชอบ กาํ หนดหนา ทีข่ องการปฏบิ ัติการกิจการพลเรือน ใชใ นกองทัพบกเพอ่ื เปนแนวทางในข้ันตน
กอ น

๑.๓ พ.ศ.๒๕๑๘ กองทพั บกไดเ ลง็ เห็นความสําคัญในการใหความรูในดา นการเมอื ง การปกครองท่ี
ถกู ตอ งแกค นในชาติ โดยในขน้ั ตน จะเรมิ่ ในกองทัพบกกอ น จึงไดก ําหนด “หลกั นยิ มกิจการพลเรอื น” วา ดว ย
การปลูกฝง อดุ มการณทางการเมอื งในหนว ยทหาร และสวนราชการกองทัพบกใหก รมการกําลงั สาํ รอง
ทหารบกรบั ผิดชอบทางสายวิทยาการ

๑.๔ พ.ศ.๒๕๒๒ งานกจิ การพลเรือนไดเปนทยี่ อมรบั วา เปนงานท่มี ีความสาํ คัญอยา งยง่ิ และ
กองทพั บกจงึ ไดกําหนดใหม ีการจัดตัง้ หนว ยงานนใ้ี นระดับหนว ยรองคือระดับกองทพั ภาค ไดมีการจดั ตง้ั
กจิ การพลเรือนทาํ หนา ที่ฝายอํานวยการ (สธ.๕) และในระดับกองพลไดจ ัดตง้ั แผนกกิจการพลเรือน (สธ.๕)
ทาํ หนา ท่ฝี า ยอาํ นวยการในสายงานกจิ การพลเรอื น นอกจากนนั้ ยงั ไดด ํารเิ หน็ วา ในระดับกองทพั บก งาน
กิจการพลเรอื นยงั ไมมกี รมฝา ยอํานวยการใดเปนผูรับผิดชอบโดยเฉพาะอยางแทจริง ทาํ ใหประสพปญ หา
การประสานงาน การกําหนดนโยบาย การควบคุมกาํ กบั ดแู ลงานนี้จงึ ไดด าํ รใิ หม กี ารจดั ตง้ั กรมกจิ การพล
เรอื นทหารบกขนึ้

๑.๕ พ.ศ.๒๕๒๓ – ๒๕๒๔ กองทพั บกไดด าํ เนนิ การจัดต้ังกรมกจิ การพลเรือนทหารบก ใน
รายละเอยี ด ขอบเขตงานกิจการพลเรือนและหนาที่ ชอื่ ภาษาอังกฤษ การแกพระราชกฤษฏกี า การแบง สวน
ราชการ และการกาํ หนดหนา ทขี่ องสว นราชการกองทัพบก ตราประจาํ หนว ยกรมกจิ การพลเรอื รทหารบก


๙๙

๑.๕.๑ ไดร บั อนุมตั ิใหใ ช เมื่อ ๑๐ ก.พ.๒๔ กาํ หนดชือ่ เปน ภาษาอังกฤษใหว า

DIRECTORATE OF CIVIL AFFAIRS คํายอวา “DOCA” ถา ใชก บั หนวย นอก ทบ.หรอื กับตา งประเทศ

และชาวตา งประเทศทจี่ าํ เปน ตองใชภาษาองั กฤษ กใ็ หเ พมิ่ คาํ เต็ม “ROYAL THAI ARMY” หรือคํายอ “RTA”

ตอทาย

๑.๕.๒ ตามราชกิจจานเุ บกษา ฉบบั พิเศษ เลม ที่ ๙๘ ตอนท่ี ๔๓ ๑๙ มีนาคม ๒๕๒๔

ประกาศใชพ ระราชกฤษฏกี าแบง สว นราชการกองทัพบก กองบญั ชาการทหารสูงสดุ กระทรวงกลาโหม

(ฉบบั ท่ี ๖) พ.ศ.๒๕๒๔ ไดจ ัดตงั้ กรมกิจการพลเรอื น โดยกําหนดใหเปน สว นราชการข้นึ ตรงตอ กองทพั บก

มีหนาท่รี บั ผิดชอบงานในดา นกิจการพลเรือน และงานการเมืองในหนวยทหารเพอ่ื ใหก ารปฏบิ ตั งิ านของ

กองทัพบกดาํ เนินไปดว ยดีและมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ยิ่งข้ึน

๑.๖ พ.ศ.๒๕๒๕ – ๒๕๒๗ กองทัพบกไดออกคาํ สั่งจดั ตัง้ กรมกิจการพลเรือนทหารบกขึ้น เม่ือ ๑๓
มกราคม ๒๕๒๕ และตาม อฉก.หมายเลข ๑๗๐๐ (๒๗ พ.ย.๒๔) ใชนามหนว ยโดยยอ วา “กร ทบ.” และใช

เครือ่ งหมายสงั กดั “กร.” มที ตี่ ัง้ ปกติชว่ั คราวอยใู นบริเวณศาลาวา การกระทรวงกลาโหม กรุงเทพมหานคร
โดยจะกําหนดทต่ี ้ังแนน อนใหต อ ไป

๑.๗ การปฏิบัตกิ ารกจิ การพลเรือน จากการพิจารณาถงึ ภารกิจของกองทพั บกอาจแบง ออกไดเ ปน ๒
ประการคือ การปฏบิ ัติภารกจิ ทางทหาร เพื่อปกกันประเทศชาตแิ ละใหค วามชว ยเหลือและสนับสนุนแก
เจาหนาท่บี า นเมอื งและประชาชนพลเมอื ง สําหรบั ภารกิจในยามสงคราม นอกจากจะตองปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทั้ง

สองประการตามท่ไี ดป ฏิบตั ใิ นยามปกตดิ ังกลาวแลว ยงั จะตองมภี ารกิจในการปกครองดนิ แดนทยี่ ดึ ครอง
เพิ่มขึน้ อีกประการดว ย จึงเห็นไดว า กองทัพบกยอ มมภี ารกิจผูกพนั กบั งานดา นกจิ การพลเรอื น และการ

ปกครองโดยฝายทหารตลอดไป และนอกจากนน้ั ในภาวะฉกุ เฉินซง่ึ หมายถึงการทป่ี ระเทศชาติหรอื

ประชาชนประสพภยั พบิ ตั ิจากธรรมชาติ สาธารณภยั หรอื วกิ ฤตภิ ัยอืน่ ๆกองทัพบกยอ มจะตอ งมบี ทบาทใน

งานดา นกจิ การพลเรอื นอยา งหลีกเลีย่ งไมไ ดอีกดว ย

๑.๗.๑ การปฏบิ ตั ิการกิจการพลเรือนท่กี องทพั บกไดก ระทาํ แลว ในอดตี จนถึงปจจุบนั นี้

สว นใหญเปนการปฏบิ ัติในรูปแบบของการชว ยเหลือประชาชน CIVIC ACTION ซึ่งหมายถงึ การใชก าํ ลัง

สวนใหญจากหนว ยทหารเขา ปฏบิ ัตติ ามโครงการท่ีเปน ประโยชนต อราษฎรตามทอ งถ่นิ ตา งๆ ในเรอ่ื ง

การศกึ ษา การฝก งานที่เปนสาธารณประโยชน การกสิกรรม การขนสง การสาธารณสขุ การสขุ าภิบาล และ

สงิ่ อืน่ ๆ ในอนั ทีจ่ ะชว ยในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม ซงึ่ จะชว ยสงเสริมสัมพันธภาพระหวา งทหารกับ

ประชาชนใหด ยี ิ่งขึน้

๑.๗.๒ การปฏิบตั กิ ารชวยเหลอื ประชาชนของกองทพั บกในปจ จุบนั นับวาไดผ ลดีตาม

ความมุงหมายดังเปน ทที่ ราบกันดีอยูแลว วา ฝายคอมมิวนสิ ตตองการจะดงึ ประชาชนเขาเปน ฝา ยตนใหไ ด

เพราะถอื วาประชาชนคือกาํ ลงั อันยิง่ ใหญ หากฝา ยคอมมวิ นิสตแยง กาํ ลงั ประชาชนไปไดก ็จะทําใหเ กิด

อปุ สรรคในการพัฒนาประเทศและการปกครอง ตลอดจนเศรษฐกจิ และสังคมเปนอยางย่งิ แตต ามขอเทจ็ จริง

แลวประชาชนสวนใหญยังเปน ฝายรฐั บาลอยู ทั้งน้ยี อมนับไดวา เปนผลสบื เนอื่ งมาจากการปฏิบัตกิ าร

ชวยเหลอื ประชาชนของทหารรวมอยูดว ย


๑๐๐

๒. นโยบายกจิ การพลเรือนของกองทัพบก

กองทัพบกคงยดึ แนวทางตอสเู พ่อื เอาชนะคอมมิวนสิ ต และแผนรุกทางการเมืองตามนโยบายของ

รฐั บาล ดว ยการใชก ารเมืองนาํ การทหารเปน หลัก ซงึ่ การดาํ เนินงานดา นกจิ การพลเรือนเปน ปจ จยั สําคญั อยาง

ยิ่งปจจยั หน่งึ ที่จะทาํ ใหนโยบายของรัฐบาลบรรลุเปา หมาย กองทัพบกจึงกําหนดนโยบายกจิ การพลเรอื น

เพอ่ื ใหห นว ยในกองทัพบกยดึ ถอื เปนแนวทางปฏิบัตดิ งั ตอ ไปนี้

๒.๑ กองทพั บกเนน หนกั เรอ่ื งการปลกู ฝง อุดมการณท างการเมืองในหนว ยทหาร และในหนวย

กึง่ ทหารอยางจรงิ จงั โดยการพัฒนากาํ ลังพลในหนว ย ซึ่งไดแกท หารประจาํ การ ทหารกองประจาํ การ ทหาร

กองหนนุ ทหารกองเกนิ กาํ ลงั ก่ึงทหารทง้ั ปวง ใหมีคณุ ธรรม มรี ะเบยี บวนิ ยั มีความเขาใจศรัทธาเช่อื ถอื ใน

การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ เปน ประมุข มีความจงรกั ภกั ดตี อชาติ ศาสนา

พระมหากษตั รยิ  และน้ําใจรกุ รบตอ สกู ับศตั รขู องชาติ การดําเนินการดงั กลา วน้ีกระทาํ โดยใหก ารศกึ ษาอบรม
แกเ จา หนา ทีท่ กุ ระดับ ใหม คี วามเขา ใจชดั แจง ในคาํ สงั่ สาํ นกั นายกรฐั มนตรี ๖๖/๒๕๒๓ ลง ๒๓ เม.ย.๒๓

เรอ่ื ง นโยบายตอ สเู พอื่ เอาชนะคอมมวิ นสิ ต และคาํ ส่ังสาํ นกั นายกรัฐมนตรที ี่ ๖๕/๒๕๒๕ ลง ๒๗ พ.ค.๒๕
เรื่อง แผนรุกทางการเมอื ง รวมท้ังหลักคณุ ธรรม ๔ ประการ ซ่ึงพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั ไดพ ระราชทาน
ไว และคานยิ มพืน้ ฐาน ๕ ประการของรัฐบาล ใหสามารถนาํ ไปปฏบิ ตั แิ ละขยายผลแกป ระชาชนโดยทวั่ ไป
อยา งถกู ตอ ง

๒.๒ กองทัพบก จะดําเนินการปฏิบตั ิการทางจิตวทิ ยา เพือ่ สนบั สนุนแผนรกุ ทางการเมอื งและขยาย
ผลจากจุดออนของคอมมวิ นสิ ต โดยสรา งความแตกแยกทําลายพรรคและแนวรว ม เปน การทาํ ใหข บวนการ
คอมมิวนิสตในประเทศไทยสลายตวั ดว ยการแนะนาํ ชกั จูง โนม นา วจติ ใจ เปลี่ยนทศั นคติ และความเช่ือของ
ผูหลงผดิ ที่ยงั เหลืออยใู นปา รวมทงั้ เจาหนา ท่ีท่ีเปน กลไกของรฐั ใหเ ขา ใจในหลกั การ และการปฏิบตั ิของการ

ปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ เปน ประมขุ ชีช้ ดั ใหเห็นวา ลทั ธิประชาธปิ ไตยเทาน้นั ที่

ใหประชาชนและสรางสนั ติสุขเหนือกวาลัทธคิ อมมิวนิสต ในการน้กี องทพั บกจะตองดําเนินการตอ

ผูกอ การรายคอมมิวนสิ ต และผูหลงผิดทเี่ ขา มอบตัว เปนผรู วมพัฒนาชาติไทยดว ยความเมตตาและปฏบิ ตั ิ

อยา งฉนั ทเ พ่อื นรว มชาติ การปฏบิ ตั ิการจิตวิทยาในพนื้ ท่ีเปา หมายในพื้นทกี่ องทพั บกจะเพิ่มขีดความสามารถ

การปฏบิ ัติการ ดว ยการใชช ดุ สันตินิมิต ออกไปชแี้ จงทาํ ความเขาใจตอประชาชน และกระจายขา วสารของ

ทางราชการอยา งสมา่ํ เสมอตอเนอื่ งกันตลอดเวลา รวมทงั้ รบั ทราบปญ หาตาง ๆ ของประชาชน เพื่อนาํ มา

พิจารณาหาทางแกไขตอไป

๒.๓ กองทพั บก จะทาํ การประชาสัมพนั ธ การสรา งความเขา ใจอนั ดีระหวา งสถาบนั ทหารดว ยกนั

สถาบันทหารกบั สถาบนั อนื่ และประชาชนใหเ ปนอนั เดยี วกนั ในการนกี้ องทพั บกจะไดเ ชิญบดิ ามารดา/

ผูปกครองของทหาร ใหม าเห็นความเปน อยขู องลูกหลานเม่ือเขา รบั ราชการทหารเพอ ใหเขา ใจกิจการทหารได

ถูกตอ ง การดําเนนิ การน้กี องทัพบกตอ งอาศัยสือ่ สารมวลชนทุกชนดิ ทกุ ประเภทเผยแพรขา วสารที่ประชาชน

จาํ เปน ตอ งรู เพอ่ื ใหป ระชาชนไดท ราบขอ เทจ็ จรงิ กระตนุ เตือนใจใหป ระชาชนชว ยเหลือสนบั สนนุ กจิ การ

ทหาร ตอ ตานการโฆษณาชวนเชอ่ื ของฝา ยตรงขา มการประชาสมั พนั ธน ้ี จะตอ งดาํ เนินการอยา งสขุ มุ

รอบคอบ และมีแผนอยา งตอ เน่ือง แตท งั้ นี้ตอ งระมดั ระวงั ในเรื่องการรกั ษาความลับของทางราชการ โดย


๑๐๑

ยดึ ถือปฏิบัตติ ามระเบยี บกองทัพบกวา ดว ยการใหขาวสารราชการ พ.ศ.๒๕๒๒ และระเบียบกองทพั บก วา

ดวยการประชาสัมพันธ พ.ศ.๒๕๒๒

๒.๔ กองทพั บก คงดาํ เนนิ การชวยเหลอื ประชาชนในทกุ โอกาสเตม็ ขดี ความสามารถ แตต องไมเ สีย

ผลตอการปฏิบัตภิ ารกจิ หลัก ตามคําสง่ั กองทพั บกท่ี ๒๙๘/๒๕๑๙ ลง ๙ ม.ิ ย.๑๙ เรื่องนโยบายการชว ยเหลอื

ประชาชน และคาํ ส่ังกองทพั บกท่ี ๘๑/๒๕๒๕ ลง ๑๗ ก.พ.๒๕ เรอื่ งนโยบายการชว ยเหลือเกษตรกร การ

ชว ยเหลอื ประชาชนตองใหส อดคลอ งกับความตอ งการของประชาชนสวนใหญ และตองใหป ระชาชนมีสว น

ในการสรา งเพอ่ื สวนรวมของชุมชนของตน ดว ยพยายามหลกี เลยี่ งการชวยเหลือในลักษณะการแจกสิ่งของ

หรือการชวยเหลอื เปนรายบคุ คล การชวยเหลอื นน้ั ประการสําคัญคอื การชว ยเหลือบรรเทาความทุกขย าก

ของประชาชนในเบือ้ งตน เทา น้ัน ท้งั นีเ้ พือ่ ใหเกดิ ผลการรกุ ทางการเมืองเปนสวนรวม การชวยเหลอื ประชาชน
น้จี ะตอ งวางแผนกาํ หนดน้ําหนัก และความเรงดว นใหก บั ประชาชนทีอ่ าศยั อยใู นพ้ืนทท่ี ม่ี กี ารปราบปราม
หรอื พน้ื ท่ที ีม่ กี ลมุ บุคคล ที่มกี ารกระทําอนั เปนภยั ตอความมั่นคงของชาติ โดยยึดหลกั สําคัญอีกประการหนึ่ง
คือประหยดั แตใหเกิดผลดมี ากที่สุด

๒.๕ กองทพั บก คงใหก ารสนบั สนนุ อยา งเต็มความสามารถตอโครงการกองหนนุ เพอื่ ความม่ันคง
ของชาติ เพอื่ สรา งสรรคทรัพยากร “คน” คอื กองหนนุ ซึง่ มีอยูท ่วั ประเทศ ใหม คี วามเขม แข็ง มปี ระสิทธิภาพ
ทัง้ ดานการเมอื ง มคี วามอยูดกี นิ ดี มีคณุ ธรรม และความสามัคคสี ามารถ เผชญิ วิกฤตกิ ารใด ๆ ไดอ ยา ง
มปี ระสิทธิภาพ

๒.๖ กองทพั บกจะดําเนนิ การพัฒนาดานจติ ใจ ปลูกฝง อดุ มการณท างการเมอื งแกเยาวชนของชาติอายุ

ระหวาง ๑๕ – ๒๕ ป เพอ่ื ใหเ ปนทรพั ยากรทม่ี ีคณุ ประโยชนต อ ประเทศชาตไิ ดอยา งแทจ รงิ โดยจะ

ดําเนนิ การกับเยาวชนของชาตติ ามแหลง ศกึ ษาทวั่ ไป เริ่มจากแหลง ชมุ ชนแออดั แหลง ชมุ ชนในยา น

อตุ สาหกรรม ใหก ารศึกษาอบรมทง้ั ในดานการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ เ ปน

ประมขุ มีคณุ ธรรมประจําใจ ความรคู วามสามารถในการประกอบอาชพี ตาม อตั ตภาพของตนและความมี

จิตใจกลา หาญ อดทน ใหล กั ษณะทางทหาร เพอ่ื เปน มวลชนทีม่ ีคุณคาของชาตติ อ ไป

๒.๗ ใหทกุ หนวยสนบั สนนุ งาน โครงการตามพระราชดาํ ริ และโครงการพฒั นาเพอื่ ความมนั่ คงของ

ชาติ ตลอดจนการอาํ นวยการ ประสานงานใหความรว มมอื สนบั สนนุ และเรงรดั ใหส ว นราชการกระทรวง

ทบวง กรม ตาง ๆ ใหดําเนนิ การบรรลุจุดมงุ หมายโดยเร็วท่ีสุด

๓. การจัดเพื่อดาํ เนินงาน

กองทัพบกถอื วา งานกจิ การ และพลเรอื นเปนงานที่มคี วามสําคัญสงู สดุ งานหน่ึงของหนว ยและถอื วา

เปน ความรบั ผดิ ชอบของผบู งั คบั บัญชาทกุ ระดบั ชั้น ในการดําเนนิ งานกิจการพลเรอื นในหนว ยหรือสวน

ราชการ ในบงั คับบัญชาของตนใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคทีก่ าํ หนด

๓.๑ ใหระดบั กองทัพบก มกี ารจัดเพือ่ ดําเนินงานดังนี.้ -

๓.๑.๑ กรมกจิ การพลเรอื นทหารบก รับผดิ ชอบทางฝา ยเสนาธกิ ารและทางสายวทิ ยาการใน

ดานกิจการพลเรือน


๑๐๒

๓.๑.๒ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก รับผิดชอบดา นการศึกษาในฐานะหนว ยควบคุมงบประมาณ
การฝกศกึ ษา

๓.๒ ในระดบั หนวยทหารและสว นภูมภิ าค มกี ารจดั เพอื่ ดาํ เนินการดังน.้ี -
๓.๒.๑ กองทพั ภาค รบั ผิดชอบทางดานฝา ยอาํ นวยการเพอ่ื ชว ยเหลอื ผบู งั คบั บญั ชา โดยมี

หวั หนากองกจิ การพลเรือนกองทัพภาค เปนผรู บั ผิดชอบงานดานกิจการพลเรือนภายในพ้ืนทีร่ ับผดิ ชอบ

๓.๒.๒ กองพล มีหัวหนา แผนกกจิ การพลเรือน (สธ. ๕) เปนผูร ับผิดชอบทางฝาย
อาํ นวยการ

๓.๒.๓ กรมและกองพนั หรอื เทียบเทา มีนายทหารฝายกิจการพลเรอื น (ฝอ.๕) เปน
ผูรบั ผดิ ชอบทางฝายอํานวยการ

๓.๒.๔ กอง, กองรอย, หรือเทียบเทา ใหผบู งั คับกองรอ ยหรอื เทยี บเทาเปนผูร บั ผดิ ชอบ
โดยแตงต้งั นายทหารสญั ญาบัตรและนายทหารประทวนเปน ผูชว ยตามความเหมาะสม

๓.๒.๕ มณฑลทหารบกและจังหวังทหารบกทขี่ ้นึ ตรงกองทัพบก ใหเ สนาธกิ ารมณฑล
ทหารบก และเสนาธิการจังหวดั ทหารบกตามลําดับ รบั ผิดชอบดา นฝายอาํ นวยการ โดยมสี สั ดมี ณฑล
ทหารบกและสัสดีจงั หวดั ทหารบกเปน ผูชว ย

๓.๒.๖ จงั หวดั ทหารบก ใหเ สนาธิการจงั หวดั ทหารบก รบั ผดิ ชอบดานฝายอํานวยการ
๓.๓ หนว ยขน้ึ ตรงกองทัพบกอน่ื ๆ และหนว ยเทียบเทากองพล กรม หรอื สว นการศกึ ษาของ
กองทพั บกซงึ่ ไดแ ก กรมฝายเสนาธกิ าร กรมฝายกจิ การพิเศษ กรมฝา ยยุทธบริการ สถาบันการศกึ ษาช้นั สูง
ของกองทัพบก เปนตน หรอื หนวยทหารที่สงั กัด หรอื ฝากการบงั คบั บญั ชาไวกบั หนว ยนน้ั ๆ และยงั ไมมอี ตั รา
กองกจิ การพลเรือน ใหห วั หนากองยทุ ธการเปนผูรบั ผิดชอบดานฝายอาํ นวยการในกรณที ี่อตั ราการจัดของ
หนว ยนน้ั ๆ ไมม กี องยทุ ธการ ใหผ บู งั คับหนวยพจิ ารณากาํ หนดมอบหมายความรับผิดชอบดานฝา ย
อาํ นวยการ ใหกับนายทหารสัญญาบตั รที่ทําหนาที่ดานยุทธการตามความเหมาะสม
๔. กรมกจิ การพลเรอื นทหารบก
กรมกิจการพลเรอื นทหารบก ไดถอื กาํ เนดิ ขนึ้ ในกองทพั บก เมอื่ วนั ท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๒๕ โดยมี
ฐานะเปน กรมฝา ยเสนาธิการกรมหน่งึ ขน้ึ ตรงตอกองทพั บก เปนกรณที ม่ี ีขอบเขตการปฏิบตั ิงานท่กี วา งขวาง
ครอบคลุมงานดา นการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คมจิตวทิ ยา และการประชาสมั พันธ เปน ตน
๔.๑ ภารกจิ

กรมกิจการพลเรือนทหารบก มีหนา ท่ี
๔.๑.๑ เสนอนโยบาย วางแผน ประสานงาน กาํ กับการและอาํ นวยการเกยี่ วกบั กิจการพล
เรือนดําเนนิ การทางการเมอื งในหนว ยทหาร และปฏบิ ตั กิ ารจติ วิทยาท้งั ปวงทจี่ ําเปนตอการสนบั สนุนการ
ปฏบิ ัตกิ ารทางทหาร
๔.๑.๒ เสนอนโยบาย วางแผน ประสานงาน กาํ กบั การและอํานวยการเกี่ยวกบั การฝกและ
ศึกษาดานกิจการพลเรอื น งานการเมอื งในหนว ยทหาร และการปฏิบัติการจติ วิทยา


๑๐๓

๔.๒ การแบงมอบ เปน สวนราชการขนึ้ ตรงตอ กองทพั บก
๔.๓ ขอบเขตความรบั ผิดชอบและหนาทท่ี ่สี าํ คัญ

๔.๓.๑ เสนอนโยบายในการปฏิบัตงิ านดา นกจิ การพลเรือน การเมือง การปกครอง
การเศรษฐกจิ การสงั คม การปฏิบัตกิ ารจิตวิทยา และการประชาสมั พนั ธของกองทัพบก

๔.๓.๒ วางแผน อํานวยการ ประสานงาน กาํ กับการเกีย่ วกบั กจิ การพลเรือน และการ
ปกครองโดยฝายทหาร

๔.๓.๓ วางแผน อํานวยการ ประสานงานกํากับการเก่ยี วกบั กจิ การดานการเมือง การ
ปกครอง เศรษฐกจิ และการสังคม ตอ กําลังทหารประจาํ การทหารกองประจาํ การ ทหารนอกประจาํ การ กาํ ลงั
กงึ่ ทหาร และมวลชน

๔.๓.๔ วางแผน อํานวยการ ประสานงาน กํากับการเก่ยี วกบั การปฏิบตั ิการจิตวทิ ยา และ
การประชาสัมพันธ ท่จี าํ เปน ตอการสนับสนนุ การปฏิบัตกิ ารทางทหาร

๔.๓.๕ อาํ นวยการและดําเนนิ การเกย่ี วกบั การฝกศึกษาเจา หนาทกี่ ิจการพลเรือน
๔.๔ การแบงสวนราชการและหนา ที่

กรมกิจการพลเรอื นทหารบก แบง สว นราชการออกเปน
๔.๔.๑ กองธรุ การ มหี นาทดี่ าํ เนนิ การเกยี่ วกับการสารบรรณ ธุรการ ลังพล และการบริการ
ท้ังปวงของกรม
๔.๔.๒ กองนโยบายและแผน มหี นาท่เี สนนิ โยบาย วางแผน อํานวยการ ประสานงานกํากับ
การ ในการปฏบิ ัติและการฝกศกึ ษา ดา นกจิ การพลเรอื น การเมือง การปกครอง การเศรษฐกิจ การสังคม การ
ปฏบิ ัตกิ ารจติ วทิ ยา และการประชาสัมพันธ ตลอดจนการรวบรวมขอ มูลสถิตทิ เ่ี กีย่ วขอ ง
๔.๔.๓ กองกจิ การพลเรอื น มีหนา ท่เี สนอนโยบาย วางแผน อํานวยการ ประสานงานและ
กํากบั การในเรอื่ งท่ีเก่ยี วกบั จดั ตัง้ มวลชน การปองกันภยั ฝา ยพลเรือน การตอ สทู างการเมืองและการปกครอง
โดยฝา ยทหาร
๔.๔.๔ กองปฏิบตั กิ ารจติ วทิ ยา มีหนาทเ่ี สนอนโยบาย วางแผน อํานวยการ ประสานงาน
และกาํ กับการ ในดา นการปฏิบตั ิการจิตวทิ ยา และการประชาสมั พันธ เพือ่ สนับสนนุ การปฏบิ ัติการทางทหาร
๔.๔.๕ โรงเรยี นกจิ การพลเรือน มีหนาท่ี อํานวยการและดาํ เนินการฝก ศกึ ษาใหก ับกาํ ลงั พล
ของกองทัพบก และหนว ยท่เี กีย่ วของเกย่ี วกบั วิทยาการ และการปฏบิ ตั ทิ างดานกจิ การพลเรอื น การเมอื งการ
ปกครอง การเศรษฐกิจ การสงั คม การปฏิบตั กิ ารจติ วิทยา และการประสมั พนั ธ

ผงั การจัดการ


๑๐๔

๕. กองกิจการพลเรือนกองทพั ภาค
รบั ผิดชอบทางดา นฝา ยอาํ นวยการ เพ่อื ชว ยเหลอื ผูบงั คบั บญั ชา โดยมหี วั หนา กองกจิ การพลเรอื น

กองทพั ภาค เปนผรู ับผิดชอบงานดานกจิ การพลเรือนภายในพืน้ ท่รี ับผดิ ชอบ
๕.๑ ภารกจิ ประสานงาน กํากบั ดแู ล แนะนํา เสนอแนะทางฝา ยอาํ นวยการในเรอ่ื งความสมั พนั ธ

ระหวางทหารกับเจา หนาที่พลเรือนและประชาชน ในเรอ่ื งท่ีเกยี่ วกบั การเมอื ง การปกครองเศรษฐกจิ สังคม
จิตวิทยา การพัฒนาและการชวยเหลอื ประชาชนทัง้ ปวงภายในพน้ื ทรี่ บั ผิดชอบ ทั้งในยามปกติ และ
ยามสงคราม หรือประกาศกฎอัยการศกึ หรือประกาศภาวะฉกุ เฉิน หรือในขณะปฏบิ ตั ิการดว ยการใชก าํ ลงั
ทหารเพ่ือปราบปรามคอมมวิ นสิ ต เพ่ือรกั ษาความสงบ และเสรมิ ความมน่ั คงภายในประเทศ

๕.๒ ขอบเขตความรับผิดชอบ
๕.๒.๑ ยามปกติ ประสานงาน แนะนํา กาํ กับการ และดาํ เนินการในเรอื่ ง
๕.๒.๑.๑ งานชวยเหลือประชาชน
๕.๒.๑.๑.๑ วางแผน ปรับแผนการชว ยเหลือประชาชนในพน้ื ท่ีรบั ผดิ ชอบ

ของกองทพั ภาค
๕.๒.๑.๑.๒ รวบรวม เสนอความตองการงบประมาณการชวยเหลือ

ประชาชนของกองทพั ภาค
๕.๒.๑.๑.๓ ควบคมุ กํากบั ดแู ล และการปฏิบัตกิ ารชวยเหลือประชาชน

ภายในพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบของกองทพั ภาค
๕.๒.๑.๑.๔ ประสานกับสวนราชการพลเรอื น หนว ยงานรฐั วิสาหกจิ

องคการ สมาคม และสถาบันอ่นื ๆ ของเอกชน
๕.๒.๑.๒ งานปลกู ฝงอุดมการณทางการเมอื งในหนวยทหาร และ สวนราชการของ

กองทพั ภาค
๕.๒.๑.๒.๑ อาํ นวยการ ประสานงาน กํากับดแู ล เสนอแนะปลกู ฝง

อดุ มการณท างการเมอื งใหก บั กาํ ลังพลรายบุคคล หนว ย และกําลงั พลสวนรวมของกองทัพภาค
๕.๒.๑.๒.๒ ปลูกฝง อดุ มการณท างการเมอื งใหกับกาํ ลงั พลรายบคุ คลและ

กาํ ลงั พลสวนรวมของหนว ย
๕.๒.๑.๒.๓ รวบรวมประเมนิ ผล การอบรม การปลูกฝงอดุ มการณท าง

การเมืองของกองทพั ภาค
๕.๒.๑.๓ งานปฏบิ ตั กิ ารจิตวทิ ยา
๕.๒.๑.๓.๑ วางแผนการปฏิบตั กิ ารจติ วทิ ยา ภายในพนื้ ท่รี บั ผิดชอบของ

กองทพั ภาค
๕.๒.๑.๓.๒ อํานวยการ ประสานงาน กาํ กับการควบคมุ ดแู ล เสนอแนะ

การปฏบิ ัติการจิตวทิ ยาภายในพ้ืนที่ทร่ี ับผิดชอบของกองทพั ภาค
๕.๒.๑.๔ งานฝก และศกึ ษาอบรม


๑๐๕

๕.๒.๑.๔.๑ วางแผน อาํ นวยการ ประสานงาน กํากบั การควบคมุ ดูแล

๕.๒.๑.๔.๒ เสนอนะใหม กี ารศกึ ษาอบรม ในเรื่องกจิ การพลเรอื นการ

ปฏิบัตกิ ารจิตวทิ ยา และการปลกู ฝงอุดการณท างการเมอื งในหนวยทหาร

๕.๒.๒ ยามสงครามหรอื ประกาศภาวะฉกุ เฉิน ประกาศกฎอยั การศึก หรอื ขณะปฏิบัตกิ าร

ดวยการใชก าํ ลังทหาร เพือ่ ปราบปรามคอมมวิ นสิ ต หรอื เพ่ือรักษาความสงบ และความม่นั คงภายในประเทศ

๕.๒.๒.๑ งานเกีย่ วกับการปกครอง

๕.๒.๒.๑.๑ วางแผน เพือ่ ประกันใหมกี ารประสานงานทางการเมือง

อันสามารถคลอยตามนโยบายของชาติ

๕.๒.๒.๑.๒ วางแผน เพื่อประกันใหมรี ะบบการศาลอันสามารถคลอยตาม

นโยบายของชาติ

๕.๒.๒.๑.๓ ประสานการดาํ เนินงานสาธารณสขุ และการสุขาภบิ าล

๕.๒.๒.๑.๔ ขา วสารดานกจิ การพลเรอื น กรรมวธิ ีขาวสารดานกิจการพลเรือน

พลเรือน ๕.๒.๒.๑.๕ ปรบั งานสงครามจติ วทิ ยา ใหสนบั สนนุ โครงการขา วสาร
ทหาร
๕.๒.๒.๑.๖ การประกนั ศลิ ปกรรม อนุสาวรยี  เอกสารสาํ คัญ
๕.๒.๒.๒ งานดา นเศรษฐกจิ

๕.๒.๒.๒.๑ วางแผน ฟน ฟู และปรบั ปรงุ เศรษฐกิจในพนื้ ท่ี
๕.๒.๒.๒.๒ วางแผนการจดั หาทรพั ยากรในทองถ่นิ เพอ่ื ใชใ นราชการ

๕.๒.๒.๒.๓ การจดั หา และใชป ระโยชนจ ากสงิ่ อปุ กรณและทรัพยากรใน

ทองถน่ิ

๕.๒.๒.๒.๔ จดั หาและใชป ระโยชนในอสังหาริมทรพั ย

๕.๒.๒.๒.๕ การเตรยี มอาหาร เสือ้ ผา เช้อื เพลงิ ที่พักอาศยั ยามฉกุ เฉนิ

๕.๒.๒.๒.๖ จดั มาตรการเพ่ือประกนั ในเรื่องระเบียบสาธารณะและความ

ปลอดภัย

๕.๒.๒.๒.๗ วางแผนในการพิทักษร กั ษา กฎขอบังคับ คาํ สัง่ ท่ีประกาศใช

๕.๒.๒.๒.๘ รวบรวมและเกบ็ รกั ษา อาวธุ กระสนุ วตั ถรุ ะเบิด

๕.๒.๒.๓ งานดา นสังคม ฟน ฟบู ูรณะการใชบ รกิ ารสาธารณะ

๕.๒.๒.๔ งานประชาสัมพนั ธ

๕.๒.๒.๔.๑ ประสานงาน แนะนาํ กํากบั การ และดาํ เนินการในเร่ืองการ

แถลงขา วสารของกองทัพภาค ใหเปน ไปตามคําสั่ง นโยบายของแมทพั ภาค และใหสอดคลอ งกบั นโยบาย

ของกองทพั บก

๕.๒.๒.๔.๒ ปฏิบัตงิ านอื่นๆ ตามท่ีผูบังคับบัญชามอบหมาย


๑๐๖

๕.๒.๒.๕ งานปลกู ฝง อดุ มการณทางการเมอื ง เชนเดยี วกบั เวลาปกติ
๖. แบบตา งๆ ของหนวยกจิ การพลเรอื น

๖.๑ หนวยกจิ การพลเรือนมีสว นสาํ คัญ ๆ อยู ๒ สวน ไดแ กสว นควบคมุ บงั คบั บญั ชา กับชดุ การใน
หนา ที่ ซง่ึ ทั้งสองสว นน้รี วมกันขน้ึ เปน หนว ยมขี นาด และขีดความสามารถทีเ่ หมาะสมกับภารกจิ เฉพาะอยาง

๖.๒ หมวดกจิ การพลเรือน เปน สวนควบคุมขนาดเลก็ ทสี่ ุด ถงึ แมว า กองบงั คับการหมวดจะไมม ี
ความสมบรู ณใ นตวั เองก็ตาม แตก ็สามารถควบคุมชดุ การในหนาทไ่ี ดส งู สดุ ถึง ๑๐ ชดุ

๖.๓ แนวความคดิ ในการจดั หนว ย ยอมมีความออนตวั ตอ การแบงมอบการการขึน้ สมทบ การจัดหรอื
การปรับปรุง การจัดหนว ยกจิ การพลเรือนตามความจาํ เปน ท่จี ะตอ งขยายงาน และภารกิจดานกิจการพลเรอื น
ออกไป
๗. การจดั หนว ยกจิ การพลเรือนในการปฏิบตั กิ าร

๗.๑ การจดั หนว ยกิจการพลเรอื น ยอมยดึ ถือมลู ฐานจากลกั ษณะและขนาดของพ้ืนทป่ี ฏบิ ตั กิ ารและ
ภารกจิ ทางการเมืองของกองบญั ชาการ หนวยทหารตนสงั กดั มากกวา ที่จะยดึ ถือ ขนาดหรอื สวนประกอบของ
กาํ ลังทหารท่ปี ฏิบตั ิการอยูในพืน้ ท่ี การผสมผสาน บก.กจิ การพลเรอื นท่ีเหมาะสมกบั ชุดการในหนาท่ี ยอม
ทําใหเกดิ ความออนตวั ทางดานการจดั หนวยกจิ การพลเรือนตามความตองการทีจ่ ะปฏบิ ัตภิ ารกจิ ได

๗.๒ การประมาณจาํ นวน และแบบของชดุ การในหนาท่ีที่ตอ งการใชใ นการปฏิบตั กิ ารแตล ะครงั้ นั้น
ควรพจิ ารณาถงึ เร่ืองตา ง ๆ ดังตอไปน้.ี -

๗.๒.๑ แบบของการปฏบิ ตั กิ ารดานกจิ การพลเรอื น
๗.๒.๒ ระดบั ของการควบคมุ ทตี่ อ งการ
๗.๒.๓ จาํ นวนและขนาดของศูนยประชากร
๗.๒.๔ ความหนาแนน ของประชากร
๗.๒.๕ ทาทีของประชากร
๗.๒.๖ ลักษณะของเศรษฐกจิ (พืน้ ท่อี ตุ สาหกรรมของเกษตรกรรม)
๗.๒.๗ ระดบั ของการพฒั นาทางเศรษฐกจิ
๗.๒.๘ โครงสรา งทางการปกครองขาราชการทม่ี ีอยู และเสถยี รภาพทางการปกครอง
๗.๒.๙ ประวตั ิความเปนมาของพน้ื ท่ี
๗.๒.๑๐ ประมาณการเคลื่อนไหวของประชาชน
๗.๒.๑๑ ความคุน เคยกับอปุ นิสัยดา นความเปน อยแู ละอาหารการกิน
๗.๒.๑๒ สภาพการทางดานสขุ ภาพอนามยั
๗.๒.๑๓ ความสามารถทางดานแรงงาน
๗.๒.๑๔ ส่งิ อปุ กรณพ ลเรือนทจี่ ะหามาได
๗.๒.๑๕ เสถยี รภาพทางดานการเงนิ
๗.๒.๑๖ ภาษาตา งๆ ของพนื้ ที่
๗.๒.๑๗ ความเช่ือทางศาสนา


๑๐๗

๗.๒.๑๘ ขอบเขตของการบริการดา นคมนาคมสาธารณะ
๗.๓ ผูวางแผนดานกจิ การพลเรือน จะตอ งประมาณการในเรอื่ งแบบและจํานวนของหนวยกจิ การ
พลเรือนท่ีตองการใชใ นพื้นท่ปี ฏบิ ตั ิการทง้ั สนิ้ เพอื่ ทจ่ี ะใหภารกจิ ดา นการเมือง – การทหาร ของ
ผูบงั คับบญั ชาสาํ เร็จผล แตเ น่อื งจากหนวยกิจการพลเรือนเปนหนว ยขนาดเลก็ การประมาณการนจ้ี ะตอ งรวม
เอาแบบและจาํ นวนชดุ การในหนา ที่ ตามทีแ่ ตละหนว ยจาํ ไดรับการบรรจมุ อบ หรอื สมทบไวแลว ตาม
ประมาณการจะตอ งดําเนินการทงั้ ความตอ งการของหนว ยสนบั สนุนหนวยบญั ชาการ และหนว ยสนับสนุน
เปน พืน้ ที่
๘. หนว ยสนบั สนนุ ดา นกิจการพลเรือน
๘.๑ หนวยสนับสนุนกิจการพลเรอื นแกหนว ยบัญชาการ เปน หนว ยท่ีจัดขนึ้ สําหรบั สนับสนนุ การ
ปฏบิ ตั ขิ องกองทพั สนาม และหนว ยบัญชาการรอง ๆ ลงไป หนวยตาง ๆ เหลา น้ี กระทาํ การปฏิบัติการ
ดานการกจิ การพลเรือนอยางไมม ที ่สี น้ิ สดุ และเคลอื่ นไหวไปกบั หนว ยรบั การสนบั สนนุ ในสถานการณท ่ี
เปล่ียนรปู ไปเรอื่ ย ๆ หรือสถานการณเ คลอื่ นที่ หนว ยสนับสนนุ หนว ยบัญชาการเรมิ่ กิจกรรมฉกุ เฉินในพน้ื ที่
แตเ พยี งจํากดั เทา น้ันการดาํ เนินการตอเนอื่ งกันไป หรอื การขยายออกไปของกิจกรรมเหลาน้ี จะกระทําไป
โดยหนว ยสนบั สนนุ พนื้ ทีท่ ไี่ ดรับมอบ
๘.๒ หนว ยสนับสนุนกจิ การพลเรอื นเปน พน้ื ที่ อาจจัดขน้ึ สาํ หรับเขตหนา หรือเขตหลัง
ตามความจาํ เปน สาํ หรับภารกิจท่ีระบุไวลวงหนา ปกติหนว ยเหลาน้ไี มเ คล่ือนยายจากพ้ืนท่ี ซึง่ มีแผนของตน
หรอื จากทอ งท่ปี ฏิบัตงิ าน อยางเชน หนว ยสนับสนุนบญั ชาการทํา หนว ยสนับสนนุ เปนพน้ื ที่ สามารถที่จะจดั
สําหรับพนื้ ท่เี ฉพาะ เชน นคร จงั หวดั หนวยเหลา นี้ กระทาํ หนา ทีด่ า นกจิ การพลเรือนและปฏบิ ตั งิ านใน
ลกั ษณะทถ่ี าวรมากกวา หนว ยสนบั สนนุ บญั ชาการ เนอื่ งจากมวี ัตถุประสงคในการบรู ณะรฐั บาลพลเรอื น
และเศรษฐกิจใหก ลบั คนื มาอีกครงั้ ใหเรว็ เทาที่จะทาํ ได
๘.๓ การยา ยจากหนว ยสนบั สนุนกจิ การพลเรอื นทีส่ นับสนนุ แกห นว ยบัญชาการ ไปกระทาํ การ
ปฏบิ ตั กิ ารกจิ การพลเรอื นสนับสนนุ เปนพน้ื ที่ โดยธรรมดาแลว จะทาํ ใหส ําเรจ็ ไดโ ดยมหี นวยกจิ การพลเรือน
ซง่ึ จดั และเตรยี มการมาโดยเฉพาะสําหรบั นคร หรอื จังหวัด เพื่อแบงเบาภารกจิ แกห นว ยกจิ การพลเรือน ซง่ึ
ไดป ฏบิ ตั ิการในบทบาทสนับสนุนหนว ยบัญชาการติดตอกันมา หนวยสนับสนนุ เปนพื้นทีย่ อ มเปล่ียนการ
เนนความสําคญั ในกิจกรรมตา ง ๆ กิจกรรมบางอยา งเชน การฟน ฟูความเปน ระเบียบเรยี บรอ ยและความ
ปลอดภยั สาธารณชน การควบคมุ ผูล ้ีภัยและบคุ คลพลัดถนิ่ การบรรเทาทกุ ขย ามฉุกเฉนิ
๙. ชุดการในหนาที่
๙.๑ ชดุ การในหนา ทก่ี จิ การพลเรอื น เปน หนว ยขนาดเล็กทเี่ ปล่ยี นแปลงไปตามขนาดและขีด
ความสามารถชุดตางๆ เหลา นีป้ ระกอยขึน้ ดว ยบุคคลท่มี คี ณุ สมบตั ิทางหลกั วิชาในทางใหค ําแนะนําหรอื กาํ กบั
ดูแลอยา งใดอยางหน่งึ แกงานตาง ๆ ซึ่งประกอบข้ึนเปน กจิ กรรมทางการปกครองตามปกตนิ ัน่ เอง กจิ การพล
เรอื นนี้ดาํ เนนิ งานไปตามมลู ฐานดานการปฏบิ ัตใิ นขอบเขตของความรู ความชํานาญท่จี ัดขนึ้ เปนขัน้ ตอน
โดยท่ัวไป ซ่งึ เปลี่ยนแปลงไปตามการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ – การเมอื งสงั คมของหนาท่ีทางดา นรฐั บาลพล
เรอื น ทกุ ๆ หนาท่ยี อมมีความเกยี่ วพนั กบั หนาทอ่ี ่ืน ๆ ในขอบเขตทแี่ นนอนและสมั พนั ธภาพท่ีประสานกัน


๑๐๘

อยางแนน แฟน การตดิ ตอ ประสานงานกนั อยางกวา งขวาง นับวา มคี วามจาํ เปนแกห นว ยทหารอื่นๆ โดยเฉพาะ
หนว ยขา วกรอง สารวัตรทหาร แพทย การปฏิบตั กิ ารทางจติ วิทยา และกจิ กรรมตาง ๆ ทเ่ี ก่ียวกับการคมนาคม
การกอ สรา ง การสง กําลัง

๙.๒ ชดุ การในหนาทจี่ ะตองดาํ รงกจิ การตดิ ตอกันอยา งใกลชิด กับหนว ยนทหารทมี่ หี นาท่คี ลา ยคลึง
กนั ตัวอยางเชน ชุดความปลอดภัยสาธารณะกับสารวัตรใหญ/สารวัตรทหาร ชุดสาธารณสขุ กบั ศัลยแ พทย
ชุดกฎหมายกบั นายทหารพระธรรมนญู

๙.๓ ในการดาํ รงไวซ ่ึงความออนตวั และการใชใหเ ตม็ ขีดความสามารถของชุดการในหนาทน่ี ั้นการ
บรรจชุ ดุ การในหนาท่ไี วกบั หนว ยกจิ การพลเรอื นท่เี หนอื ที่สุด แลว มอบใหไ ปสมทบกบั หนว ยรองลงไปหรือ
มอบภารกิจของชดุ การในหนา ท่ีในอนั ทจ่ี ะสนบั สนนุ วตั ถปุ ระสงคโดยเฉพาะใหไป

๙.๔ ชุดการในหนา ท่ีขนาดตา ง ๆ จดั ขึ้นเพื่อปฏบิ ัตงิ านในทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สงั คม
ของชมุ ชนทุกดาน ชุดการในหนา ท่เี หลาน้ีคือ.-

๙.๔.๑ ชดุ ศิลปะ อนุสาวรยี  และเอกสารสําคัญ
๙.๔.๒ ชดุ การปอ งกนั ฝายพลเรอื น
๙.๔.๓ ชดุ ขา วพลเรอื น
๙.๔.๔ ชดุ การสง กําลังทางพลเรือน
๙.๔.๕ ชดุ บคุ คลพลดั ถ่นิ ผูล้ภี ัย และผูอ พยพ
๙.๔.๖ ชุดเศรษฐกจิ การคา
๙.๔.๗ ชุดอาหารและเกษตร
๙.๔.๘ ชดุ แรงงาน (พลเรอื นในทองถน่ิ )
๙.๔.๙ ชดุ กฎหมาย
๙.๔.๑๐ ชดุ ควบคมุ ทรพั ยสนิ
๙.๔.๑๑ ชดุ บริหารทรพั ยส นิ
๙.๔.๑๒ ชดุ คมนาคมสาธารณะ
๙.๔.๑๓ ชดุ การศึกษาสาธารณะ
๙.๔.๑๔ ชดุ การเงนิ สาธารณะ
๙.๔.๑๕ ชดุ ความปลอดภยั สาธารณะ
๙.๔.๑๖ ชุดการขนสงสาธารณะ
๙.๔.๑๗ ชดุ สาธารณะสขุ
๙.๔.๑๘ ชดุ การประชาสงเคราะห
๙.๔.๑๙ ชดุ สาธารณะและสาธารณปู โภค
๙.๔.๒๐ ชดุ ภาษา
๙.๕ ชุดการในหนาท่ีเปน หนวยขนาดเลก็ ทีม่ ีขดี ความสามารถอยางเต็มท่ี ในการปฏิบัตภิ ารกิจตาม
สายงานดว ยการใชเจา หนาทช่ี ํานาญการพเิ ศษทมี่ อี ยู ชดุ การในหนาทต่ี าง ๆ น้มี ไิ ดจดั ไวใ หปฏบิ ตั งิ านตาม


๑๐๙

ลาํ พัง หากแตจ ัดไวสําหรบั ใหปฏิบัติงานอยูในกรอบของหนว ยทอ่ี ยเู หนือกวา และมหี นวยสนับสนนุ อยนู อย
ทสี่ ดุ (ตามปกติถา มีการขนสงเพยี งแตใ นการขนยายยทุ โธปกรณเ ทานน้ั ) และตอ งไดร บั การสนบั สนุนทาง
ธุรการ และการสง กาํ ลงั บาํ รุงจากหนวยตนสังกัด หรอื หนว ยทีช่ ดุ การในหนา ท่ีไปใหก ารสนบั สนนุ


๑๑๐

บทที่ ๖

การบนั ทกึ / การรายงานกจิ การพลเรอื น

๑. กลาวทวั่ ไป

ในการปฏบิ ัตงิ านของ ฝอ.๕ หรอื นายทหารฝายกิจการพลเรอื น เปน การดาํ เนินการท่ีมขี อบเขต

กวางขวางครอบคลมุ งานท้งั ดาน การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกจิ และสงั คมจติ วทิ ยา ความรอบรู

ประสบการณ การประสานงานแลกเปล่ียนขาวสารตา งๆ ระหวางฝา ยอาํ นวยการกบั ผทู ีเ่ กย่ี วของอนื่ ๆ จงึ เปน

ส่งิ ท่ีมีความจาํ เปน อยางยงิ่ นอกจากนนั้ ฝอ.๕ หรอื นายทหารฝา ยกจิ การพลเรอื นจะตอ งใชเ อกสารและ

เคร่ืองมอื ตา งๆ ในการดําเนินงานเหมอื นฝา ยอํานวยการคนอ่ืน ๆ เครอื่ งมอื ดําเนนิ งานของฝา ยอํานวยการนน้ั

ไดแก

๑.๑ แฟมนโยบายหรือแฟม หลักการ

๑.๒ บันทกึ ประจําวนั

๑.๓ เอกสารแยกเรื่อง

๑.๔ แผนที่สถานการณ

๑.๕ รายงานหรือสรปุ สถานการณ

๒. แฟมนโยบาย

๒.๑ แฟม นโยบายเปน เอกสารท่ีสรปุ นโยบายทใ่ี ชในปจ จุบนั ของผูบงั คับบญั ชา และกองบญั ชาการ

หนวยเหนือ และสรปุ หลกั มลู ฐานในการปฏบิ ตั กิ ารสาํ หรบั แผนกฝา ยอํานวยการที่เก็บรักษาแฟม นโยบายนน้ั

แฟมนโยบายนี้มกี จิ กรรมตา ง ๆ กนั ท่อี ยใู นความสนใจของแผนกฝา ยอาํ นวยการ และอาศยั คําส่งั ตา ง ๆ ทีม่ ี

อยู ประสาบการณแ ละขอตกลงใจของผบู ังคับบัญชาในอดีต นโยบายอาจเปน ไปในรปู ของคําสง่ั สั้น ๆ แผน

ขอ พจิ ารณา คาํ ช้ีแจงนโยบาย หรอื คาํ ส่งั ตวั อยางกไ็ ด แฟมนโยบายจะเกบ็ รักษาใหทนั สมัย และตดิ ปา ยคน หา

หรือทําสารบญั ไวด ว ยแฟม นโยบายเปลยี่ นแปลงตามผบู งั คับบัญชาและสถานการณ

๒.๒ แฟมนโยบายทําใหก ารปฏิบัติงานของฝา ยอาํ นวยการสะดวกขึ้น และใหค วามรแู กส มาชกิ ฝาย

อาํ นวยการทมี่ าใหม เสนาธกิ ารเก็บรกั ษาแฟม นโยบายของหนวยบัญชาการ แตละแผนกฝายอํานวยการเก็บ

รกั ษาแฟม นโยบายของแผนกนนั้ ๆ

๓. บนั ทึกประจาํ วนั

๓.๑ บันทกึ ประจาํ วนั เปนบันทกึ ทางราชการเกย่ี วกับเหตกุ ารณข องแผนกฝา ยอํานวยการทีท่ าํ

ตามลําดับวันเวลาทไี่ ดร บั ขาวสารหรือสงออกไป ปรมิ าณรายละเอยี ดที่ตองลงบันทึกประจําวนั น้ัน ยอม

แตกตางกันตามจํานวนของเจา หนา ทใี่ นแผนฝายอํานวยการนั้น ๆ และตามชนดิ ของการปฏบิ ัติการ

รายละเอยี ดทต่ี อ งลงในบันทึกประจําวนั นน้ั อยา งนอ ยท่ีสดุ จะตองมี วนั ,เวลา และรายงานขอ เท็จจริงทสี่ าํ คัญ

ๆ เกย่ี วกบั เหตกุ ารณท สี่ าํ คญั ๆ ตา ง ๆ เหตกุ ารณสาํ คญั ท่ีเกดิ ข้นึ และจะตอ งบันทกึ เชน เวลาทไ่ี ดร บั หรือสง

สาสน สาํ คญั การเย่ยี มเยยี นของของผูบงั คับบญั ชา และนายทหารฝายอาํ นวยการของหนวยเหนอื ,ความมงุ

หมาย เร่ืองและขอยุติของการประชุม การออกจากท่ีบงั คบั การของหัวหนาแผนก สรุปสาสน หรือคาํ สัง่ ทีเ่ ปน


๑๑๑

ขอเขยี น รวมท้ังการอา งองิ ถึงแผนที่ และขอ มูลในทาํ นองเดยี วกนั กม็ กั บันทึกลงในบันทกึ ประจาํ วนั สาสน
หรือคําส่ังดวยวาจาใหบ ันทกึ ลงไปใหเตม็ ทเ่ี ม่อื สามารถทําได

๓.๒ บันทกึ ประจําวนั ของแผนกฝายอาํ นวยการตา ง ๆ ทีน่ าํ มารวมกนั แลว จะแสดงใหเหน็ ภาพการ
ปฏิบัติการของหนวยอยางสมบรู ณ สําหรบั ในหว งระยะเวลาทก่ี าํ หนดใหแ ละกลายเปนบนั ทกึ ถาวรตอ ไป
ในเม่อื ส้นิ สุดในหวงระยะเวลานนั้ แลว บนั ทกึ สรุปเหตกุ ารณท ส่ี ําคญั ๆ และแผนทจี่ ะปฏบิ ตั ใิ นหว งเวลา
ขางหนาลงในบนั ทึกประจาํ วนั ขอ สรุปนจ้ี ะกลา วถงึ เบ้ืองหลังการตกลงใจ และเรอ่ื งราวทีเ่ กดิ ขนึ้ ดว ย

๓.๓ บนั ทึกประจําวนั กิจการพลเรือน คือหลักฐานทางราชการท่ีถาวรแหละมีความสําคญั อยางหนึ่ง
ของผูบ งั คบั บัญชา เพอ่ื บนั ทึกเรอ่ื งราวเหตุการณด านกจิ การพลเรอื นทเ่ี กดิ ขนึ้ ตามลาํ ดบั กอนหลงั ทไี่ ดรับมา
หรอื สงออกไปโดยธรรมดาบันทกึ ประจาํ วันมกั กระทําภายในรอบ ๒๔ ชม.

๓.๔ แฟม บนั ทกึ ประจาํ วัน
๓.๔.๑ แฟม เอกสารของแผนกหรอื ฝายกจิ การพลเรอื นโดยทวั่ ๆ ไปแลว อาจมรี ายละเอยี ด

มากกวา แฟม เอกสารของแผนกฝา ยอํานวยการอน่ื ๆ เพราะวามีขอบเขตการในหนา ทก่ี วา งขวางซ่ึงรวมงาน
กิจการพลเรือน งานการปฏบิ ตั กิ ารจติ วิทยา, งานการประชาสัมพันธ, งานการปลกู ฝง อุดมการณท างการเมอื ง
และงานพฒั นาเพอ่ื ความม่ันคงหรือการชว ยเหลอื ประชาชน นอกจากแฟมบันทกึ ประจําวนั และแฟม ขา วสาร
กิจการพลเรอื นแลว แผนกหรอื ฝา ยกิจการพลเรือนอาจตอ งทาํ แฟมบนั ทกึ เบด็ เตลด็ เฉพาะเรือ่ งข้นึ อกี กไ็ ด
แฟมเอกสารมปี ระโยชนส ําหรับใชเปนเอกสารอางอิงสําหรับวเิ คราะหผ ลงานในอนาคต หรอื ใชเ ปน บนั ทกึ
ของผบู งั คับบัญชาและเปนการแสดงถงึ การปฏิบัตงิ านของผูบังคบั บญั ชาดวย ควรจะเก็บแฟมเอกสารเหลาน้ี
ไวใ นทปี่ ลอดภัยใหเรว็ ที่สุดเทาท่ีจะทําได

๓.๔.๒ ประโยชนของแฟม บันทกึ ประจําวัน
๓.๔.๒.๑ เปน ท่เี ก็บหลักฐานข้ันตน ของขาวสารรายงานกิจการพลเรอื นท่ีไดรบั มา

หรือสง ออกไป
๓.๔.๒.๒ เปน แฟม ทมี่ ีประโยชนสงู สุด สาํ หรบั ผลติ ขาวสารดา นกจิ การพลเรอื น

ในทนั ที
๓.๔.๒.๓ เปน ทีร่ วบรวมขาวสารทีเ่ ปนประโยชนในอนาคต

๓.๕ ความสาํ คญั ของบนั ทกึ ประจาํ วนั
๓.๕.๑ การรกั ษาบนั ทึกประจาํ วนั ที่ มรี ายละเอยี ดอยางสมบูรณจัดวา เปน ส่งิ สําคัญยง่ิ

เพราะวาการปฏบิ ตั ิการดา นกจิ การพลเรอื นน้ันยอ มเกยี่ วของกับ สนธสิ ัญญาและกฎหมายระหวางประเทศ
และขอตกลงอน่ื ๆ บันทึกประจาํ วันจงึ เปนบันทึกทส่ี าํ คญั อยางหนง่ึ ของผบู งั คบั บญั ชาสําหรบั ใชท บทวน
สถานการณ และสาํ หรับกาํ หนดรายละเอยี ดในการปฏบิ ตั ิงานท่ีไดท าํ มาแลว

๓.๕.๒ ผบ.หนวยและฝายอาํ นวยการอาจใชบันทกึ ประจาํ วันเพือ่
๓.๕.๒.๑ ใหต นเองไดท ราบถึงสถานการณและลาํ ดับเหตุการณตา งๆ ที่เกิดขนึ้
๓.๕.๒.๒ ชว ยในการคน หาเรอ่ื งราวตา ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ งกบั การในหนา ที่ และความ

รับผิดชอบของตน


๑๑๒

๓.๕.๒.๓ ชว ยความทรงจาํ

๓.๕.๓ บันทกึ ประจําวัน สามารถนาํ ไปใชเ ปนหลักฐานในการจดั ทําบนั ทกึ ทาง

ประวตั ิศาสตร มีคุณคา ในทางประวตั ิศาสตรและการศกึ ษา

๓.๖ การลงบนั ทึกประจาํ วนั

การลงบันทกึ ประจาํ วนั ภายในกองบงั คับการ สามารถดําเนินการไดหลายวิธตี ามความ

เหมาะสม และขนาดของหนว ยบัญชาการหรอื ทบ่ี งั คับการหรอื กองบงั คบั การนั้น ๆ เชน

๓.๖.๑ ใหแ ผนก ฝอ.๑ ทํารวมหมดทงั้ กองบังคบั การ

๓.๖.๒ ใหแตล ะแผนก ฝอ. เปน ผดู าํ เนินการของตนเอง

๓.๖.๓ ใหแ ผนก ฝอ.๒,๓ ทาํ รวมกันแหละแผนก ฝอ.๑,๔,๕ ทํารวมกนั อีกพวกหนึง่

๔. ปกเวยี น

เพื่อความสะดวกในการเก็บรักษา และการจดั ทําบนั ทึกประจําวนั โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ในระหวางการ

ปฏิบตั กิ ารรบนั้น ควรทีระบบใดระบบหนง่ึ ท่จี ะทําใหฝ า ยอํานวยการตา ง ๆ ตลอดจนผบู งั คบั บญั ชาและผทู ี่

เก่ียวของไดท ราบเรือ่ งราวตาง ๆ โดยทวั่ ถงึ ตลอดท้ังกองบังคับการ วธิ กี ารท่ีดี
ท่สี ุดนนั้ คือการใชปกเวยี นเปน เครอ่ื งมือดาํ เนินการ

๔.๑ ประโยชนข องปกเวยี น
๔.๑.๑ ให ผบ.และ ฝอ. ทราบขา วสารทวั่ ทงั้ กองบงั คับการ
๔.๑.๒ ใชบ นั ทึกขาวสารตา ง ๆ ที่สง เขามา หรือสงออกไปดว ยเครอื่ งมือสือ่ สารประเภท

ไฟฟา
๔.๑.๓ เพื่อประกนั วาเรื่องราวตา ง ๆ ท่ตี ดิ ตอ กนั ดว ยเคร่อื งมือส่ือสารประเภทไฟฟา นั้นไดม ี

การจดบนั ทกึ และเวียนใหเ จา หนา ทีฝ่ ายอํานวยการและผบู ังคบั บญั ชาทราบ และไดจ ดั สง ไปยงั เจาหนาที่

จดั ทาํ บนั ทกึ ประจําวนั ของหนว ยลงบนั ทกึ ประจําวนั แลว

๔.๒ เม่ือไดเ วียนใหผ บู งั คบั บญั ชา และฝา ยอาํ นวยการทราบท่ัวถึงกันแลว ตองสงปกเวยี นไปยงั

ฝอ.๑ ของหนว ยเพื่อลงบนั ทกึ ประจําวันของหนว ยตอ ไป

ตวั อยา งปกเวยี น
(ตดิ สาสน ท่นี ี่ หรือลงใจความขาวท่ไี ดร ับทางโทรศพั ท, ทางวทิ ยุ ใชเ ปนคําชี้แจงดว ยวาจาภายในท่ี
บังคับการ หรอื คาํ สั่งดวยวาจาท่สี มบูรณ)


๑๑๓

ไดรบั ขา วสาร ณ ทก. เม่อื ๐๘๑๔๐๐ ม.ค.๒๙

ลาํ ดบั ความเรงดว น การเวยี นทราบ เซน็ ชอ่ื การปฏบิ ตั ิ

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๒ ผบ.กรม พ.อ. ท.

๓ รอง ผบ.กรม พ.อ. ท.

๕ สธ.กรม พ.ท. ส.

๖ ฝอ.๑ พ.ต. ด.

๗ ฝอ.๒ พ.ต. ธ.

๔ ฝอ.๓ พ.ต. ม.

๘ ฝอ.๔ พ.ต. พ.

๑ ฝอ.๕ พ.ต. ก.

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๕. เอกสารแยกเรื่อง

๕.๑ เอกสารแยกเรอ่ื ง เปนเอกสารอา งอิงอยา งพรอมมลู สําหรับใชใ นการดาํ เนนิ กลยุทธในปจ จบุ ัน

และใชใ นการทํารายงานตา ง ๆ เอกสารแยกเรอื่ งของแผนกอาํ นวยการหนึง่ ๆ นั้น รวบรวมขา วสารที่ทํา

สารบัญไว ซง่ึ ไดมาจากคําสงั่ ท่ีเปน ขอ เขียน หรอื ดวยวาจา สาสน เรอื่ งราวตา ง ๆ ในบนั ทึกประจาํ วนั และการ

ประชุม เอกสารแยกเร่ืองอาจมีเรอ่ื งของขอยตุ ิ ความเห็น ความคดิ และการตรวจของนายทหารฝายอํานวยการ

เองกไ็ ด เอกสารแยกเร่ืองประกอบดว ย สมุดบันทกึ ที่มกี ระดาษดึงออกได และมีสารบัญของเรอื่ งตาง ๆ เปน

หนา ๆ เอกสารแยกเร่อื งสวนมากแลว จะทําสารบัญใหเ หมาะสมกับเรอ่ื งทแ่ี ผนกฝายอาํ นวยการตองการ การ

ทาํ สารบญั ทาํ ใหส ะดวกตอการทํารายงานกจิ การพลเรอื นตามระยะเวลา แผนกยอยของแผนกฝายอาํ นวยการ

ของกองบญั ชาการสงู ๆ อาจเก็บรักษาเอกสารแยกเรอื่ งโดยเฉพาะของตนได

๕.๒ สาสน ที่มีขาวสารเก่ยี วกับเร่อื งราวตาง ๆ กนั กน็ าํ ลงไวตอนตา ง ๆ ของเอกสารแยกเรือ่ ง การ

บันทึกลงน้นั มกั ใชถ อยคําทเ่ี ขียนลงในสาสนนน่ั เอง เมอ่ื ไดป ฏบิ ัตแิ ลว เสร็จสมบูรณก ข็ ีดครอ มเรอื่ งนน้ั ๆ เสีย

และดึงหนา นน้ั ทิ้งและทาํ ลายในเมื่อไมต อ งการใชอีกตอไป

๕.๓ เอกสารแยกเรื่องกจิ การพลเรือน คือบันทกึ ทไ่ี มถ าวร และเปน ทางราชการ ประกอบดว ยบนั ทึก

ท่ที าํ เปน แผน ๆ โดยทําเปน ดรรชนี ตามหวั ขอรายงานกจิ การพลเรือนตามระยะเวลาเปน บันทึกทีม่ ปี ระโยชน

อยา งสูงทส่ี ดุ ของนายทหารฝา ยกิจการพลเรือนประกอบดว ยหวั ขอ ดังน้ี

๕.๓.๑ สถานการณก จิ การพลเรอื น

๕.๓.๒ กจิ การพลเรอื น

๕.๓.๓ การปฏบิ ัตกิ ารจิตวทิ ยา

๕.๓.๔ การประชาสมั พันธ

๕.๓.๕ การปลกู ฝงอดุ มการณทางการเมือง

๕.๓.๖ เบ็ดเตล็ด


๑๑๔

๕.๔ ประโยชนของเอกสารแยกเร่อื ง
๕.๔.๑ ชว ยในการคัดแยก ประเมนิ คา และตีความเอกสาร
๕.๔.๒ ชวยในการทาํ รายงาน แผน/คําส่งั คําสัง่ ยทุ ธการขอ ๔ และคําสง่ั การชวยรบได

รวดเรว็
๕.๔.๓ ชวยในการบรรยายสรปุ ใหกับผบู งั คับบญั ชาแลหะฝายอํานวยการ
๕.๔.๔ ผทู ําหนา ท่นี ายทหารฝายกิจการพลเรือนคนใหม สามารถทราบเรอื่ งราวตา ง ๆ จาก

เอกสารแยกเรอ่ื งไดอยางดี

ตวั อยางแบบฟอรมเอกสารแยกเร่อื ง (ทใี่ ชใ นปจ จบุ นั )
๖. แผนที่สถานการณ

๖.๑ แผนทสี่ ถานการณ คือเสน เรขาท่แี สดงสถานการณใ นปจ จุบัน ในแตล ะฝา ยอาํ นวยการจะทาํ
แผนท่สี ถานการณใ หทนั สมยั อยูเสมอ โดยเขยี นการวางกําลังหรอื กิจกรรมตา ง ๆ ท่เี กีย่ วขอ งลงในแผนที่
ศนู ยปฏบิ ตั กิ ารทางยุทธวธิ ี และหอ งยทุ ธการจะมแี ผนทสี่ ถานการณ ในเมอ่ื ไดรบั ทราบการเปล่ียนแปลง กร็ บี
เขียนลงในแผนทีท่ ันที และบันทกึ ลงในบันทึกประจาํ วนั ของแผนกดว ย ในเมอ่ื เจา หนาทข่ี องแผนกฝาย
อาํ นวยการมีไมเ พียงพอ หรอื เมื่อกิจกรรมมเี พียงบางเบา แผนกฝายอํานวยการสองแผนกหรือมากกวาอาจทาํ
แผนท่ีสถานการณร วมกนั ได

๖.๒ แผนทสี่ ถานการณกจิ การพลเรือน คอื แผนท่ที ีล่ งสถานการณท างทหารเพอื่ แสดงใหท ราบถึง
เรื่องราวกจิ การพลเรอื น ทีเ่ ปน อยูในปจ จบุ ัน การลงแผนท่ีสถานการณก จิ การพลเรอื น จะกระทาํ เร็วทีส่ ุด
หลงั จากทไี่ ดร บั เรื่องราวมา

๖.๓ ประโยชนข องแผนทีส่ ถานการณก จิ การพลเรอื น
๖.๓.๑ ชว ยในการบนั ทกึ เรอ่ื งราวเหตกุ ารณดานกจิ การพลเรอื น
๖.๓.๒ ชว ยใหม องเหน็ ภาพในดานกจิ การพลเรอื น
๖.๓.๓ แสดงกิจกรรม เหตกุ ารณด านกจิ การพลเรอื นของขา ศกึ
๖.๓.๔ ชว ยในการบรรยายสรุป และทาํ รายงานกจิ การพลเรือน แกผ บู ังคับบญั ชาและฝาย

อํานวยการ
๖.๓.๕ ใชใ นการเปรียบเทยี บขาวสารใหมก บั ของเดิม

๖.๔ รายการตา ง ๆ ที่ลงในแผนทส่ี ถานการณก ิจการพลเรือน
๖.๔.๑ การวางกาํ ลงั ของหนวยกจิ การพลเรือน
๖.๔.๒ เสนแบงเขตของหนว ย
๖.๔.๓ ทต่ี ัง้ บก.หนว ยเหนอื หนว ยขางเคยี ง
๖.๔.๔ แสดงขา วสารของประชาชน
๖.๔.๕ เสนแบงเขตการปกครอง
๖.๔.๖ ตําบลรวบรวมพลเรอื น ผลู ี้ภัย บุคคลพลดั ถิ่น


๑๑๕

๖.๔.๗ เขตหวงหา มตา ง ๆ
๖.๔.๘ พ้ืนทจ่ี าํ เปนตองใชมาตรการพเิ ศษ ตามกฎหมายและขอ บังคับ
๗. การรายงาน
๗.๑ การอํานวยการและการควบคุมการยทุ ธ หรือลําดบั ขน้ั ตอนของการยุทธ จะใหไ ดผลดีไดน ัน้
ยอ มข้นึ อยกู บั ระบบรายงาน ซ่งึ ใหขาวสารอันเปนประโยชนอยา งถกู ตองครบถวน และทันเวลาแก
ผบู ังคบั บญั ชา
๗.๑.๑ แบบของการรายงาน ขอบเขต ขอความ และจงั หวะของการสง รายงาน สาํ หรบั แตล ะ
บคุ คลยอ มแตกตางกันออกไป ตามภารกจิ ของหนวย จํานวนการรายงานซ่ึงตอ งการอยา งนอยท่สี ดุ จะตองให
หลักฐานอันจาํ เปนแกก ารบรหิ ารงานตามภารกิจใหบงั เกดิ ผล และมีสมรรถภาพ
๗.๑.๒ แบบของการรายงาน อาจเปน ความเรียงดว ยวาจา หรอื เปนขอเขยี น เปน ขอ ความใน
รูปตารางหรือเสน เรขา ซ่งึ สง มาจากหนว ยเจา หนาทแี่ หง หนง่ึ ไปยังอกี แหงหนงึ่ ตามเหตุการณท เ่ี กดิ ขึน้
๗.๒ คณุ คาของการรายงานกิจการพลเรือน
๗.๒.๑ เปน วิธกี ารแจกจาย เพื่อใหไดทราบขาวอันทันสมยั
๗.๒.๒ ใหผบู ังคับบัญชา ฝา ยอาํ นวยการ และ บก.ชน้ั เหนอื ไดท ราบกจิ กรรมทางดา น
กิจการพลเรือนอกี ครง้ั หนึง่
๗.๒.๓ ใชเ ปน มลู ฐานการรายงานของหนว ย และเอกสารประวตั ิศาสตร
๗.๒.๔ ชว ยในการจดั ทาํ ผนวกกจิ การพลเรือน
๗.๓ ประเภทของการรายงาน รายงานดา นกิจการพลเรือนแบงออกเปน ๓ ประเภท คอื
๗.๓.๑ รายงานกจิ การพลเรอื นตามระยะเวลา เปน รายงานสรุปในหว งเวลาของการรายงาน
ซ่งึ บก.หนว ยเหนอื เปนผกู าํ หนดอาจเปนรายวนั รายสัปดาห รายสบิ วนั หรอื รายเดอื นได
๗.๓.๒ รายงานตามความจําเปน ไดแ กร ายงานท่ที ํานอกเหนือไปจากรายงานกจิ การพลเรือน
ตามระยะเวลา ซ่ึงไดก ําหนดความประสงคไ วเ ปนประจาํ วา ใหร ายงานเม่อื มเี หตุการณหรอื สถานการณเ กดิ ขนึ้
ตามลักษณะทไ่ี ดร ะบุไวโดยแนน อนแตละครง้ั เชน รายงานอบุ ตั เิ หตุ เปน ตน
๗.๓.๓ รายงานเฉพาะกรณี ไดแ กรายงานพเิ ศษทจี่ ดั ทําขนึ้ เพียงคร้งั เดยี ว ตามทไี่ ดรบั คําส่ัง
รายงานชนดิ นมี้ กั ใชในสภาพเหตุการณป กติ ซงึ่ อาจเปน ความตอ งการของผูบังคับบญั ชาหนว ยเหนือ
๗.๔ การแจกจาย หลงั จากทาํ รายงานดานกจิ การพลเรอื นและผบู งั คบั บัญชาลงนามแลว ฝอ.๕ หรอื
นายทหารฝา ยกิจการพลเรือนสงรายงานใหผ ทู เ่ี กยี่ วของดงั น้ี.-
๗.๔.๑ หนวยเหนือ
๗.๔.๒ หนว ยขางเคียง
๗.๔.๓ หนว ยรอง
๗.๔.๔ ผบู ังคบั บญั ชาและฝายอาํ นวยการของหนว ย
๗.๔.๕ ผใู ชแ ละหนว ยสาํ คญั ทตี่ อ งการทราบ
แบบฟอรม การรายงานกจิ การพลเรือนตามระยะเวลา


๑๑๖

(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ที่ ของ ชุด
หนา ของ หนา
กองบญั ชาการทที่ าํ รายงาน
ตาํ บลที่ทาํ รายงาน
กลุมวัน เวลา
หมายเลขอา งสาร

รายงานกจิ การพลเรือนตามระยะเวลาท่.ี ..........................................
หวงเวลา.................................
อางถงึ

๑. สถานการณเ มื่อสนิ้ หว งเวลา
๒. การปฏบิ ตั กิ ารกจิ การพลเรอื น
๓. การปฏบิ ัตกิ ารจติ วทิ ยา
๔. การประชาสัมพันธ
๕. การปลูกฝงอุดมการณทางการเมอื ง
๖. เบด็ เตลด็

........................................................

ผูบังคับหนว ย
ผนวก:

การแจกจาย

เปนคูฉบับ
..................................

หน.กร.

(ประเภทเอกสาร)


๑๑๗

ตวั อยา ง การรายงานกจิ การพลเรอื น

(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ที่ ๘ ของ ๓๐ ชดุ
หนา ๑ ของ ๓ หนา
ทก.พล.ร.๒๐
บ.พังโคน (ควิ เอ.๒๒๑๐)
๒๕๑๑๐๐ ธ.ค.๒๘
กร.๐๗๐

รายงานกจิ การพลเรือนตามระยะเวลาที่ ๑
หวงเวลา ๑๗๑๘๐๐ ธ.ค. – ๒๔๑๘๐๐ ธ.ค.
อา งถึง แผนที่ประเทศไทย มาตราสว น ๑ ๕๐,๐๐๐ ระวางพังโคน
๑. สถานการณ เมื่อส้นิ หว งเวลา

ก. ผนวก ก. แผนบรวิ ารกจิ การพลเรอื น
ข. นายอาํ เภอพังโคน จดั จนท. ฝายปกครองในพนื้ ท่ีมาประจําฝา ย กร.พล.ร.๒๐ ต้ังแต ๑๙๐๘๐๐
ธ.ค. – เพมิ่ เติม จนท.ติดตอทท่ี างจงั หวดั ไดส งมาประจํากองพลอยูแลว
๒. การปฏบิ ัตกิ ารกิจการพลเรือน
ก.การปกครอง

๑) จนท.ปกครอง อ.พงั โคน สว นใหญค งปฏิบตั ิหนา ทีอ่ ยู ณ ท่ที ํางานช่วั คราวบริเวณ
บ.โนนสูง

๒) จนท.ตํารวจสามารถใหค วามรว มมือแก จนท.สห.ในการรักษาความสงบเรยี บรอ ยได
เปนอยา งดี

๓) ราษฎรอาสาสมัครในพืน้ ทส่ี ว นหลัง ใหความชว ยเหลอื ในการรกั ษาความปลอดภัยแก
สถานทรี่ าชการไดห ลายแหง

๔) สมาชิกสภาตาํ บล และคณะกรรมการหมบู า นในพน้ื ท่ี ยงั คงสามารถชว ยเหลอื ทาง
ราชการในการควบคมุ ประชาชนอยไู ดเ ปน สว นใหญ

๕) การอพยพประชาชนออกจากพนื้ ทอ่ี นั ตรายเปนไปตามแผนทีก่ ําหนด ขณะน้ผี ูอพยพ
ประมาณ ๗๐๐ คน อยูท่ีบานนาเกลย้ี ง สว นราชการพลเรอื นยังคงดําเนินการอพยพตอไปอยางไดผ ล

(ประเภทเอกสาร)


๑๑๘

(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ที่ ๘ ของ ๓๐ ชุด
หนา ๒ ของ ๓ ชดุ

(รายงานกจิ การพลเรือนตามระยะเวลาท่ี ๑ ......พล.ร.๒๐)
ข. การเศรษฐกจิ
๑) อาหารสด ในพ้ืนที่อนื่ กําลงั จะเริ่มขาดแคลน อาจจาํ เปน ตอ งขอรับการสนบั สนุนจากนอก

พ้นื ที่หรอื ฝายทหาร
๒) รา นคา สว นมากปดการคา สว นใหญจ ะกระทําในบรเิ วณชมุ ชนใหญๆ เทา นนั้ และราคา

เรมิ่ สูงกวาปกติ
(รายงานกิจการพลเรอื นตามระยะเวลาที่ ๑ – พล.ร.๒๐)

๓) การสงกาํ ลงั พลเรือน
ก) สงิ่ อุปกรณใ นทองถ่นิ มอี ยูจํากดั มาก ฝา ยทหารไมสามารถจดั หาไดเ ลย
ข) การสนับสนนุ สิง่ อปุ กรณของฝายทหารตอประชาชน จะส่งั การในรายละเอยี ด

ภายหลัง
ค. สงั คมจิตวทิ ยา
๑) ระบบไฟฟาในทอ งถนิ่ มใี ชไ ดเฉพาะในบริเวณชุมชนบางแหงเทา นนั้ และจาํ กัดการใช

เฉพาะบางเวลา
๒) การประปาทกุ แหงในพน้ื ที่ ชาํ รดุ ใชก ารไมไ ด นํ้าดม่ื น้าํ ใชจ าํ เปน ตอ งใชร ถบริการ

๓) โรคติดตอ อยางรา ยแรงในพนื้ ทรี่ ะยะนม้ี เี พยี งอยา งเดยี วคือ มาเลเรยี
๔) สถานพยาบาลเอกชนในทอ งถ่นิ จาํ เปนตอ งยบุ เลกิ ไป เพราะการสูรบ
๕) แรงงานพลเรือนสวนใหญเ ปนประเภทผูร บั จา งใหแรงงานทัว่ ไป ผูท ีม่ คี วามชํานาญ

พเิ ศษ ทางการชางมนี อ ยมาก
๖) นายอาํ เภอพังโคนไดแตงตงั้ ปลดั อําเภอหนึง่ นายเปน จนท. ใหความชวยเหลอื ในเรอ่ื ง

แรงงานโดยเฉพาะ
๓. การปฏิบตั ิการจติ วทิ ยา

ก. ถึงแมว า ประชาชนสวนใหญเปนมิตรกบั ฝายเรา แตกย็ ังคงมบี างกลมุ ท่มี คี วามคดิ เหน็ ขดั แยงและยัง
มีตอดานขัดขวางการปฏิบัตกิ ารทางทหารอยบู าง

(ประเภทเอกสาร)


๑๑๙

(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ที่ ๘ ของ ๓๐ ชดุ
หนา ๓ ของ ๓ หนา

(รายงานกิจการพลเรือนตามระยะเวลาท่ี ๑ – พล.ร.๒๐)
ข. หนวยแยก ปจว. จากรอ ย ปจว.ที่ ๑ ยังคงสมทบกบั พล.ร.๒๐ ตอไป และในหว งเวลาทีผ่ านมาได

มุงการปฏบิ ตั ติ อ ทหารขาศึกที่เผชญิ หนา และสนบั สนนุ การดาํ เนินการตอ ผูอ พยพ ผลู ี้ภัยเปนหลัก
ค. ในหว งเวลาที่ผา นมาไดป รากฏใบปลิว และการกระจายเสียงของขา ศกึ ในพน้ื ท่ตี อนเหนอื ของกอง

พลบา ง แตเช่อื วา จะไมม ีผลตอกาํ ลงั พลของฝายเราแตประการใด
๔. การประชาสัมพนั ธ

ก. การแถลงขา วแกป ระชาชน กระทําดวยการกระจายเสยี งเปน สว นใหญ
ข. สือ่ มวลชนในพืน้ ท่ี ใหความรว มมือกับกองพลเปนอยา งดี ในดานการประชาสัมพันธ
๕. การปลูกฝง อุดมการณท างการเมอื ง
ก. ในหว งเวลาทผ่ี า นมา การปลูกฝง อุดมการณทางการเมอื งเปนไปอยา งไดผ ล โดยการรวมมอื ของ
จนท.สวนราชการในทอ งถน่ิ
ข. กองพลไดจัดชดุ ปลูกฝงอุดมการณทางการเมอื ง ไปสนับสนุนหนว ยระดับกองพนั ๆ ละ ๒ ชดุ
ต้ังแต ๒๑๑๓๐๐ ธ.ค. –
๖. เบ็ดเตล็ด
ก. ในชว งน้ีมกั เกดิ ไฟไหมป าและลกุ ลามเปน พ้นื ทกี่ วางไดโดยเรว็
ข. พล.ร.๒๐ ไดจ ดั ชดุ บรกิ ารประชาชนพิเศษ เพื่อบรกิ ารและชวยเหลอื ประชาชนตลอด ๒๔ ชม.

(ลงช่อื ) พล.ต. เทดิ กรุงไทย
ผบ.พล.ร.๒๐

ผนวก ก. แผนบริวารกิจการพลเรอื น
การแจกจาย แบบ ก
เปน คฉู บบั

พ.ท. กวี มีฤทธ์ิ
หน.กร.พล.ร.๒๐

(ประเภทเอกสาร)


๑๒๐

บทท่ี ๗

แผน/คําสัง่ /การประมาณการกิจการพลเรือน

๑. กลาวทว่ั ไป
การปฏิบตั กิ ารกจิ การพลเรือน ไดแ กก ารดาํ เนินงานทง้ั ปวงของหนว ยทหารทเี่ กยี่ วของ หรอื สง ผล

กระทบกระเทอื นตอสว นราชการพลเรอื น ประชาชนและทรพั ยากรในพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบ ทัง้ ยามปกติยาม
สงครามหรือในภาวะฉกุ เฉินอืน่ ๆ เพื่อสนับสนนุ การบรรลภุ ารกิจของหนวย
๒. ความสัมพนั ธท างฝายอาํ นวยการ

๒.๑ ผบู ังคับบัญชาแตผ ูเ ดียวเปน ผูรับผิดชอบในความสาํ เร็จหรอื ความลม เหลวท้ังปวงของหนว ย
รวมทง้ั การปฏบิ ตั กิ ารกิจการพลเรือน อน เปน การดําเนินการของหนว ยที่เกย่ี วขอ งกับกิจกรรม ดานการ
ปกครอง เศรษฐกจิ และสังคมจติ วทิ ยาของพน้ื ท่ปี ฏบิ ตั กิ ารทีร่ ับผิดชอบ

๒.๒ เสนาธกิ าร คอื หวั หนา ฝา ยอาํ นวยการของหนว ย รับผดิ ชอบตอ ผูบ งั คับบัญชาในความสาํ เร็จ
หรือลม เหลวของการอํานวยการ และมหี นา ท่ีเกย่ี วของกับการอํานวยการ การประสานงานและการกํากับ
ดแู ลของฝา ย อํานวยการทั้งปวงเปน สว นรวม

๒.๓ ฝอ.๕ หรอื นายทหารฝา ยกจิ การพลเรือน คอื ผทู ี่มคี วามรบั ผิดชอบทางฝา ยอาํ นวยการในดา นการ
ปฏบิ ัติการกิจการพลเรอื นของหนว ย และในการปฏบิ ัตหิ นา ท่ขี องฝา ยอํานวยการอื่นทกุ คนยอ มจะมคี วาม
เก่ยี วขอ ง แลสงผลกระทบกระเทือนตอ การปฏบิ ตั กิ ารกจิ การพลเรือนทั้งส้ิน มากบางนอยบา งแตกตางกนั ไป
ตามลกั ษณะและขอบเขตงานในหนา ที่ของแตล ะคน การประสานงานโดยใกลชดิ ระหวา งฝา ยอํานวยการ
ดว ยกัน จึงมผี ลโดยตรงตอความสําเรจ็ ในการปฏิบัติการกจิ การพลเรือนของหนวย
๓. แนวความคดิ ในการปฏิบัติ เม่ือผูบงั คับบญั ชาไดขอตกลงใจทเี่ หมาะสมแลว ผบู ังคับบญั ชาจะแถลงให
ผูบ งั คบั หนวยรองและฝา ยอาํ นวยการทราบในรปู ของ “แนวความคดิ ในการปฏบิ ัต”ิ

๓.๑ แนวความคดิ ในการปฏิบัติ เปน การแนะแนวใหผบู ังคับหนว ยรอง และฝา ยอาํ นวยการไปจดั ทาํ
แผนโดยจะชใี้ หชัดเจนลงไปวา อะไร คือภารกจิ ของหนว ยและอาจเพม่ิ เตมิ ดวยหนทางปฏิบตั ิทตี่ องการใหท ํา
หรือที่ไมต อ งการใหท ํา ผบู ังคบั บญั ชาจะใหแ นวความคิดในการปฏบิ ตั ิมากนอยเพยี งใดยอมข้นึ อยกู ับภารกิจ
ของหนว ยความถูกตอ งของขาวสารทม่ี ี สถานการณในขณะนนั้ ประสบการณในขณะนน้ั ประสบการณของ
ผูบ ังคับบญั ชาและฝา ยอาํ นวยการ ความคนุ เคยกับภมู ิประเทศ ขาศกึ และความคนุ เคยระหวางฝา ยอาํ นวยการ
กบั ผูบังคบั หนว ย

๓.๒ นายทหารฝา ยอํานวยการ จะนาํ เอา “แนวความคดิ ในการปฏบิ ตั ิ” ที่ไดร บั จากผบู งั คบั บญั ชาไป
พจิ ารณาประกอบขอ มูลตาง ๆ ท่ีมีอยู เพ่อื จัดทาํ แผนการปฏิบัติของหนวยของตนขึ้น เปน การชว ยเหลอื
ผบู งั คับบัญชาถาแผนทจี่ ัดทาํ ข้นึ มาถูกตอ งเหมาะสมดีผูบงั คับบญั ชาก็สามารถตกลงใจไดเรว็ ข้นึ

๓.๓ นายทหารฝา ยอํานวยการจะตอ งมจี ินตนาการและความคิดริเร่ิมในทางสรา งสรรคอ ยเู สมอ
๓.๓.๑ มีจนิ ตนาการและความคดิ รเิ ริ่มในทางสรา งสรรคอยเู สมอ
๓.๓.๒ มคี วามสามารถในการวิเคราะหแ ละวจิ ยั ดี
๓.๓.๓ เปน ผูมีความสามารถในการวนิ ิจฉยั และตกลงใจไดด ี


๑๒๑

๓.๓.๔ มีความสามารถในการอบรมช้แี จงใหเ จา หนา ที่ ซึง่ คอยชวยเหลือ การทํางานของเขา
ใหสามารถเขา ใจไดด ี

๓.๓.๕ มคี วามสามารถในการสือ่ ความคิดของตนไปยงั ผอู ่นื
๓.๓.๖ มคี วามเขา ใจในหลกั มนุษยสมั พนั ธและสามารถปฏิบตั ไิ ด
๓.๓.๗ มีความรใู นทางรฐั ประศาสน
๓.๔ ในหลักของการบรหิ ารงาน ซงึ่ ประกอบดวย การวางแผน การจดั ระเบยี บงาน การประสานงาน
การอาํ นวยการสง่ั งาน และการควบคุมงาน ไดจ ัดเอาการวางแผนงานไวเ ปน อนั ดบั แรก เพราะแผนงานเปน
รากฐานสาํ หรบั ใชในการอาํ นวยการและสง่ั งานแกห นว ยรอง นับเปน กุญแจดอกสาํ คัญสําหรบั ไข เพ่อื ริเร่ิม
การปฏิบตั ิหนา ท่ีอ่นื ๆ
๔ แผน
แผนคอื การกําหนดเอาไวลวงหนา วาจะทาํ อะไร เมอ่ื ใด ท่ีไหน อยา งไร และจะใหใ ครเปน คนทํา
แผนทางทหาร กค็ ือวธิ กี ารหรอื ลาํ ดบั การสาํ หรับปฏบิ ัตกิ ารทหารนนั่ เอง เปนวิธีการหรอื ลทู างสําหรบั การ
ปฏิบตั ิการทางทหาร เปนขอ เสนอในการทจ่ี ะใหเ ปนไปตามโครงการ หรือขอ ตกลงใจของผบู ังคบั บญั ชา การ
วางแผนเปน กรรมวธิ ใี นการสรา งสรรคอ ยางหนึง่ เปน เครื่องมอื ทใ่ี หแ นวทางแกห นว ยงานกา วจากปจจุบนั
ไปสูอนาคต เปนการปพู น้ื ฐานทจี่ าํ เปน กบั หนา ทกี่ ารจดั อยา งอ่ืน ๆ ผลในตอนทา ยของการวางแผนตอง
สามารถระบอุ อกมาใหไ ดว าจะตองทําอะไร ทําไมจึงตอ งทํา ตองทําทไ่ี หน ใครเปนผูรบั ผดิ ชอบ ตองทํา
เม่อื ใดและทาํ อยา งไร นอกจากนั้นอยา งนอ ยทีส่ ุดแผนทางทหารนั้น จะตองประกอบดวย หนทางปฏบิ ตั ิทจ่ี ะ
ใหกบั หนว ยรอง และวธิ ปี ฏบิ ตั ิทจี่ ะใหเปน ไปตามแผน
๔.๑ ความมงุ หมายในการวางแผน ในการปฏบิ ัตกิ ารแตล ะครั้งน้ันจาํ เปน ตอ งมีการวางแผนทัง้ นี้กเ็ พื่อ
๔.๑.๑ ใหฝ า ยอาํ นวยการสามารถประสานการปฏิบัตกิ ารใหเปนไปไดอ ยา งรวดเร็ว
๔.๑.๒ ใหห นว ยรองทราบถงึ การปฏิบตั ทิ ่นี า เปน ไปได
๔.๑.๓ ใหหนว ยสามารถอยใู นสภาพพรอมท่ีจะตอบโต
๔.๒ ชนดิ ของแผน เราอาจแบง ไดห ลายชนดิ เชน แบงตามระยะเวลาไดเปนแผนระยะยาว แผนระยะ
กลาง แผนระยะส้ัน แบง ตามความมุงหมายของแผนไดเ ปน แผนยุทธศาสตร แผนการทพั แผนการยทุ ธการ
แผนการชว ยรบ แผนการคนควา และพฒั นา เปนตน
๔.๒.๑ ทกุ ประเทศในโลกยอ มมีวตั ถปุ ระสงคข องชาติของตน วตั ถปุ ระสงคของชาตทิ กุ ชาติ
คงหนีไมพ น สาระสําคญั สองประการคอื “ความม่ันคง” และ “ความมั่นคง” ทหารมหี นา ท่ีทจ่ี ะดํารงความ
มน่ั คงของประเทศชาตเิ อาไวใ หพ น จากศตั รู จึงตองวางแผนเอาไวเปน ระยะ ๆ
๔.๒.๒ ถาจะแบง ตามลกั ษณะการใชแ ผน กอ็ าจเรยี กชอ่ื ไดต าง ๆ กัน เพื่อแสดงความมุง
หมายของแผนที่ทําขน้ึ เทา น้นั เชน

๔.๒.๒.๑ แผนยทุ ธศาสตร เปน แผนการดาํ เนินการสงครามทงั้ สิน้
๔.๒.๒.๒ แผนการทัพ เปนแผนที่ประกอบดว ยลาํ ดบั การปฏิบัติทางทหารเพ่ือให
บรรลจุ ุดประสงคร ว มกัน ซึ่งเปนหนาท่ขี องกองบัญชาการทหารสูงสดุ จะเปน ผูจัดทาํ


๑๒๒

๔.๒.๒.๓ แผนยทุ ธการ เปนแผนสาํ หรบั การปฏบิ ัติการทางทหาร แผนน้ีจะ
ครอบคลุมการปฏิบตั ิในแตละครัง้ วา จะทาํ อยางไร มขี น้ั ตอนเกยี่ วเนอ่ื งกันอยางไรเปน หนาท่ีของหนวยรบ
จะตองจดั ทาํ

๔.๒.๒.๔ แผนการชวยรบ เปน แผนใชก บั การปฏบิ ตั ิการชวยรบ โดยอาศัยความ
ตองการของหนวยตางๆ มาจดั ทาํ ข้ึน

๔.๒.๒.๕ แผนสาํ รอง เปนแผนทีเ่ ตรยี มเอาไวส าํ หรบั การปฏบิ ัตใิ หบรรลภุ ารกจิ
ดวยวธิ กี ารทแี่ ตกตา งออกไปจากแผนหลัก

๔.๒.๒.๖ แผนเผชิญเหตุ มไี วส ําหรับเหตกุ ารณสาํ คัญ ๆ ที่คาดวาจะเกดิ ข้ึนในพ้ืนท่ี
ยอมๆ ที่หนว ยตองรับผดิ ชอบ

๔.๒.๒.๗ แผนอ่ืนๆ เปน แผนสนับสนนุ ประกอบแผนท่ีกลาวมาแลว ใหส มบรู ณ
ขึ้น เชน แผนการยิง แผนการเคลอ่ื นยา ย แผนระดมสรรพกาํ ลงั เปนตน

๔.๓ ลกั ษณะของแผน
๔.๓.๑ แผนทด่ี ที ่ีสุด คือ แผนที่สามารถบรรลภุ ารกจิ ทตี่ อ งการได และแผนทจ่ี ะเปน แผนท่ีดี

ที่สดุ น้นั ควรจะมีลกั ษณะดังนี้
๔.๓.๑.๑ ตองอาศยั ขอเทจ็ จริงหรือสมมตฐิ านท่ีใกลเ คยี งกับความจรงิ ที่สดุ เปน

มูลฐาน
๔.๓.๑.๒ ตอ งแบงมอบงานที่มีใหแ กทุกหนว ยปฏบิ ัตโิ ดยทั่วถึงกนั ตามขดี

ความสามารถที่หนวยเหลานน้ั อยู
๔.๓.๑.๓ ตอ งจัดกาํ ลัง หรือปรับกาํ ลงั เสยี ใหมใ หเหมาะสมปรมิ าณ และชนิดของ

งาน
๔.๓.๑.๔ แผนท่ีจดั ทําขนึ้ ใหมต องใหต อ เน่อื งกันแผนทเี่ คยทาํ ไวแลว ท้ังน้ีเพอ่ื ให

งายแกผ ูทจ่ี ะตอ งปฏิบัติ
๔.๓.๑.๕ ควรกระจายอาํ นาจในการปฏิบตั ิไปใหแ กห นว ยรองตาง ๆ ใหมากที่สดุ

แตจะตอ งสามารถควบคมุ การปฏบิ ตั ไิ ดท วั่ ถงึ
๔.๓.๑.๖ ตองเปด โอกาสใหเ จา หนา ทปี่ ฏิบตั งิ าน สามารถตดิ ตอ ประสานงานกนั ได

โดยตรงกับผทู เี่ ก่ยี วขอ ง เพอ่ื ความรวดเร็วในการปฏิบตั ิ
๔.๓.๑.๗ แผนท่ีกาํ หนดข้ึนตอ งงายแกก ารเขาใจของผปู ฏบิ ตั ิตามแผน
๔.๓.๑.๘ ตองมคี วามออนตัว กลาวคอื สามารถปรับปรุงแกไ ขใหเหมาะสมกบั

สถานการณไดโ ดยไมย ุง ยากมากนกั
๔.๓.๑.๙ ตองกําหนดวิธกี ารควบคมุ การปฏบิ ตั ิของหนว ยปฏบิ ตั ิใหเปน ไปตามแผน

ไวด ว ย เพอ่ื ใหห นว ยปฏิบตั ริ องไดร ับทราบ
๔.๓.๑.๑๐ ตอ งประสานกบั แผนของหนว ยอื่นทีป่ ฏบิ ตั งิ านรวมกนั หรือหนวย

ใกลเคียงกัน


๑๒๓

๔.๓.๒ ลกั ษณะของแผนดงั กลาวนน้ั มงุ หนักไปทางดา นแผนยุทธการ อยางไรก็ดี เราก็
สามารถท่จี ะนํามาใชก ับแผนทว่ั ๆ ไป ในการจดั งานและการบริหารไดเ ชนกนั หรือจะกลาวใหสัน้ ลงไปไดว า

๔.๓.๒.๑ จะตองเปนแผนท่มี ีเหตุผล ใหขอเทจ็ จริงและสมจริง โดยคํานงึ ถงึ ขีด
ความสามารถของหนว ยงานทจี่ ะใชป ฏิบัตงิ าน และสถานการณใ นขณะนน้ั

๔.๓.๒.๒ จะตอ งแสดงใหเ ห็นความคิดอนั หนง่ึ ซง่ึ ผบู ังคบั บญั ชาสามารถจดั
แนวความคิดนน้ั ไดโดยงา ย ทงั้ ๆ ทีผ่ ูเขียนแผนจะตอ งยอใหส้ัน แตขนึ้ ถงึ ขอบเขตและทิศทางท่จี ะปฏบิ ัติตาม
บทบาทไมคลุมเครอื และไมก ระดาง

๔.๓.๒.๓ จะตองทาํ ใหเ ปน ข้นั ตอนท่ีตอเนือ่ งกนั
๔.๓.๒.๔ ตอ งประหยดั ทรพั ยากร และใชประโยชนใ หเตม็ ขีดความสามารถ นนั่ คอื
ตอ งประหยดั ทั้งเวลา พ้ืนที่ วัสดุ เจาหนา ที่ โดยตอ งคํานงึ ถึงผลทไี่ ดว า จะตองคมุ คา และคุมกับการเสี่ยง
๔.๔ หลักในการวางแผน นกั วางแผนจะตองคาํ นงึ ถึงหลกั ในการวางแผนดังตอไปน.้ี -
๔.๔.๑ จะตอ งรูจกั เมอื่ ใดจึงจะมีการวางแผน ไมใ ชท าํ เร่ือยไปหรอื เมือ่ ถงึ เวลาควรจดั ทาํ กลับ
ไมท าํ
๔.๔.๒ จะตองเขา ใจนโยบายและวัตถปุ ระสงคข องผบู งั คับบัญชาท่ีจะทาํ แผน
๔.๔.๓ จะตอ งรวบรวมปจจยั ในการวางแผนไวใ หพ รอ ม
๔.๔.๔ จะตอ งกําหนดวิธดี าํ เนินงานและมาตรการในการควบคมุ การทําแผนขึ้นมา
๔.๔.๕ จะตองคํานงึ ถงึ ส่ิงแวดลอ มเปน ส่งิ สาํ คญั แผนที่วางไวไมสอดคลอ งกับสิง่ แวดลอม
ยอ มยากแกก ารปฏบิ ตั ิ
๔.๔.๖ จะตองคาํ นึงถึงมาตรฐานของงานทตี่ องการ ซึง่ ขึ้นอยกู บั
๔.๔.๖.๑ วตั ถอุ ุปกรณตลอดจนถึงงบประมาณทีต่ อ งการ
๔.๔.๖.๒ การสนับสนุนเทาท่มี ี
๔.๔.๖.๓ กําหนดเวลาซง่ึ ระบวุ นั เวลาอนมุ ตั ิแผน การปฏิบัตติ ามแผนการสิ้นสดุ
การปฏิบัติในแตละชวงของแผน
๔.๕ เจา หนา ทใี่ นการวางแผน
๔.๕.๑ คตโิ บราณของไทยกลา ววา “สองหัวดกี วา หัวเดียว” หมายถงึ การคดิ อะไรถา ให
หลายๆ คนชวยกนั คดิ หรอื อยางนอยสองคนชว ยกันคดิ ก็ยอ มจะดกี วา คนๆ เดียวคดิ การวางแผนก็เชน กนั
จะตองชว ยกนั คดิ ชว ยกันทาํ จึงจะเปน แผนทด่ี ีและสามารถเสร็จไดโดยรวดเร็ว ดว ยเหตุน้จี งึ มกั จดั ตง้ั ขึ้นเปน
รูปของคณะกรรมการวางแผนข้นึ มาซึ่งควรจะประกอบดว ย
๔.๕.๑.๑ หัวหนา หนงึ่ คนมหี นา ที่อํานวยการใหก ารวางแผนดําเนนิ การไปดวยดี
๔.๕.๑.๒ ผูช ว ย อกี จาํ นวนหนึ่งตามความเหมาะสมความยากงา ยของแผนท่จี ะ
จัดทาํ
๔.๕.๑.๓ เสมยี น อกี จาํ นวนหน่ึงท่ีจะคอยจดบนั ทึก ชา งพมิ พ ตามความเหมาะสม
๔.๕.๑.๔ เจา หนาทีร่ กั ษาความปลอดภยั


๑๒๔

๔.๕.๑.๕ เจาหนาท่วี างแผนดังกลาว แลว แตความตอ งการของหนว ย
๔.๖ วธิ ีการวางแผน
๔.๖.๑ ฝา ยอาํ นวยการยอ มวางแผนการปฏิบตั กิ ารในอนาคตเสมอ
๔.๖.๒ ขอบเขตการวางแผนนั้นยอ มเปลยี่ นแปลงไปตามระดบั หนวย
๔.๖.๓ ในการวางแผนฝายอาํ นวยการแตล ะคนพจิ ารณาเรือ่ งราวตา งๆ ของการปฏิบัติตามท่ี
วางไว เฉพาะท่เี กีย่ วขอ งกับสายงานของตน
๔.๖.๔ ฝายอํานวยการจะจดั ทาํ แผนโครงขึน้ มากอ นเปน อันดบั แรก ถอื เปนแผนขน้ั ตนทวี่ าง
ลักษณะและหลักการทีส่ ําคญั ๆ ของหนทางปฏบิ ัตกิ อนทจ่ี ะเรมิ่ วางแผนรายละเอยี ด
๔.๖.๕ เมอ่ื วางแผนโครงข้ึนแลว ฝา ยอาํ นวยการกจ็ ะจดั ทําแผนรายละเอยี ดขน้ึ เพื่อ
กาํ หนดการปฏิบตั ิ,หนวยปฏิบัติ, ลาํ ดับและระเบยี บปฏบิ ตั ิท่จี ะปรับปรงุ ข้นึ เพือ่ ใหบ รรลุภารกจิ ทไี่ ดรับมอบ
การวางแผนรายละเอียดทําได ๒ วธิ ี คือ

๔.๖.๕.๑ การวางแผนตามลาํ ดับการปฏบิ ัติ เปนการเริม่ ตนวางแผนจากจดุ เรมิ่ ตน ท่ี
เปนอยูในปจจบุ นั และกําหนดขั้นตอนขนึ้ จนถึงทห่ี มายขัน้ สุดทา ย เชน เราจะรวมพล ณ ทใ่ี ดเม่อื เขา ตขี า ศึก
จะเริม่ ออกตีทแ่ี นวใด การเขา ตขี นั้ ที่ ๑ จะทาํ อยา งไร และตีไปถึงไหน การเขา ตีข้นั ถัดไปจะทําอยา งไร เมอื่ ยดึ
ทหี่ มายไดแ ลว จะทาํ อยางไรตอ ไป

๔.๖.๕.๒ การวางแผนยอ นหลัง เปนการเร่มิ ตนจากทหี่ มาย แลว ทํางานยอ นหลัง ผู
วางแผนจะวาดภาพวา เม่อื ยดึ ทห่ี มายแลว จะทําอยางไร แลว ยอ นมาวางแผนวา เราจะยดึ ท่หี มายไดอยา งไร
แลวยอนหลงั กลับไปวา เม่อื ที่จะเขา ยึดทีห่ มายใหไดอ ยา งนน้ั ควรจะออกตจี ากแนวใด ควรจะใชห นว ยใด
ทางใด แตล ะหนวยควรไปรวมพลอยู ณ ทใ่ี ด

๔.๗ เวลาในการวางแผน
๔.๗.๑ จะตอ งคํานึงถงึ เวลาทมี่ ีอยู และสามารถใชใ นการวางแผนอยเู สมอ หนวยใหญเ ชน

กองพล หรอื กองทัพภาคยอ มตอ งใชเ วลานานกวาหนวยระดับกรมหรอื กองพนั อยางไรก็ดี ถามีเวลามาก ก็
สามารถวางแผนไดละเอยี ดและถกู ตอ งมากขนึ้ การวางแผนอยางสุกเอาเผากินก็อาจทําใหเ กดิ ความผดิ พลาด
ไดง าย แตการใชเ วลามากเกนิ ไปก็จะเกิดเปนผลเสีย ทําใหหนว ยรองมเี วลาเตรยี มการนอ ยลง ฉะนัน้ หนว ย
จงึ ควรพจิ ารณาโดยรอบคอบวาหนว ยตนจะใชเวลามานอยเพียงใด

๔.๗.๒ ปจจยั ท่ีเกย่ี วของกับเวลา ไดแ กปรมิ าณของรายละเอียดทน่ี ํามาพจิ ารณาในการจัดทาํ
แผนซึ่งยอมจะแตกตา งกนั ไปตามขนาดและชนดิ ของหนว ย ประสบการณของหนว ยทหาร ความยุงยากของ
การปฏิบัตกิ ารและการปฏบิ ตั ผิ สม หรือการปฏบิ ตั ิการรวม

๔.๗.๓ มาตรการทจี่ ะลดเวลาในการวางแผนลงไดแ ก
๔.๗.๓.๑ ระเบยี บปฏบิ ตั ิประจาํ (รปจ.) ซึ่งเปนเครอ่ื งมือเสริมความเขาใจในการ

ทํางานเปนชดุ ระหวางผบู งั คบั บญั ชา ฝายอํานวยการและหนว ยทหาร เร่อื งทีท่ ุกคนรูอ ยูแลวทาํ ใหไ มจําเปน
จะตอ งเขยี นลงไปในแผนอกี เพยี งแตอางไวกพ็ อแลว


๑๒๕

๔.๗.๓.๒ แผนงานซง่ึ ไดว างไวลว งหนา แลว ไมว า จะเปน แผนการ การยุทธวิธี
หรือระเบยี บสาํ หรบั การชวยรบใด ๆ กต็ าม สามารถซกั ซอ มและปรบั ปรงุ ใหด ขี น้ึ ไดล ว งหนา ยอ ม
ประหยดั เวลาในการวางแผนใหมลง

๔.๗.๓.๓ การวางแผนพรอ ม ๆ กนั ระหวางหนว ยเหนอื กบั หนว ยรอง จะชว ยให
สามารถวางแผนไดเ รว็ ขนึ้ โดยปกติผูบ งั คับบัญชามักจะใหแ นวทางในการวางแผนแกฝา ยอํานวยการและแก
หนว ยรองไปพรอมๆ กัน ฝา ยอาํ นวยการของหนว ยเหนือและหนว ยรองมีโอกาสพบปะประสานงานกนั ไป
ดว ย ซึง่ จะชว ยใหส ามารถมองเหน็ ปญหาและหนทางแกปญหาไปพรอ ม ๆ กนั เม่อื หนว ยเหนอื วางแผนงาน
ของตนเรียบรอ ยแลวจะแจกจายไปใหห นวยรองทราบ หนวยรองก็พจิ ารณาวาแผนท่หี นว ยรองไดวางไวแ ลว
น้นั สอดคลอ งกบั แผนของหนว ยเหนือหรือไม ถาสอดคลอ งกันดแี ลว แผนของหนวยรองกส็ ามารถใชไดเลย
ถาไมสอดคลอ งก็นํามาแกไ ขเพยี งเล็กนอยเพ่อื ใหเหมาะสมข้ึน

๔.๘ กําหนดการวางแผน
๔.๘.๑ กาํ หนดวางแผนคือกาํ หนดเวลาในการทาํ งานในการวางแผนทจี่ ะชว ยในการ

ประสานงานและตรวจสอบรายละเอยี ดเรื่องรวมตาง ๆ ทจ่ี ําเปนสําหรบั กรรมวิธใี นการวางแผน
๔.๘.๒ ฝา ยอาํ นวยการจะตองวเิ คราะหง านทจ่ี ะตอ งกระทําในระหวางการวางแผนเพอื่ ให

การวางแผนเสร็จไปโดยสมบูรณ และเปน การลาํ ดบั งานวาควรจะทาํ อะไรกอน อะไรหลัง ควรจัดทําบญั ชี
ตรวจสอบข้นึ เพอ่ื ใหส ามารถตรวจสอบความกาวหนา ของการทําแผนตามระยะเวลา

๔.๘.๓ ขัน้ ของงานในการวางแผนควรประกอบดว ย
๔.๘.๓.๑ ขนั้ เตรียมการ ไดแ กก ารรวบรวมขา วสาร การกําหนดสมมติฐาน

การศึกษานโยบาย หรอื แผนของหนว ยเหนือโดยละเอียด การพจิ ารณาแนวทางในการวางแผนของ
ผูบ งั คับบญั ชา การทาํ ประมาณการเพิม่ เติม และการชี้แจงหนาทใ่ี นการวางแผนทุกคนใหทราบแนวทางในการ
จดั ทาํ แผน ตลอดจนเตรยี มอปุ กรณใ นการจดั ทําแผนไวใ หพ รอ ม

๔.๘.๓.๒ ขน้ั จดั ทาํ แผน นายทหารซ่งึ มหี นาที่ในการจัดทําแผนทุกคนจะตองทราบ
ภารกจิ โดยแนช ัด และวิเคราะหภ ารกจิ ออกมาใหไดว า อะไรคอื กิจเฉพาะ อะไรคือ กิจแฝงหนทางปฏบิ ตั ิทดี่ ี
ท่สี ดุ จะกระทาํ ในกจิ นัน้ ๆ จะทําอยา งไร

๔.๘.๓.๒.๑ ผวู างแผนพจิ ารณาโดยรอบคอบวา จะใหใครทาํ อะไร ทีไ่ หน
เมือ่ ไร และอยา งไร แลว บอกใหเ สมยี นคอยจดเอาไว

๔.๘.๓.๒.๒ จัดเรยี งลาํ ดบั วา ควรจะกลา วถึงอะไรกอ น ตามแบบฟอรมท่ี
กําหนดไว

๔.๘.๓.๒.๓ ใหเ สมยี นรางขนึ้ มาใหถกู ตอ ง ตามลาํ ดับกอนแลวนํามาให
ตรวจ

๔.๘.๓.๒.๔ เม่ือตรวจราง และเห็นวา เรยี บรอยดแี ลว ใหเสมียนจดั พมิ พ
๔.๘.๓.๒.๕ เมือ่ พมิ พเ สร็จแลว ตรวจอกี คร้งั หนงึ่
๔.๘.๓.๒.๖ เมอ่ื เห็นวาถกู ตอ งแลวก็นําเรียนใหผ ูบ งั คับบญั ชาตรวจ


๑๒๖

๔.๘.๓.๒.๗ เมอื่ ผบู งั คับบัญชาเห็นชอบดวยก็ลงนามในแผนนน้ั ถา ไม
เห็นชอบกแ็ กไ ขหัวหนา ฝายวางแผนจะจดั พิมพใหม แลวเสนอใหผูบ ังคบั บัญชาลงนาม เมือ่ ผูบงั คับบญั ชาลง
นามแลวถือวาเปน แผนสมบรู ณ

๔.๘.๓.๒.๘ เอาตน ฉบบั ทผ่ี ูบังคับบญั ชาลงนามสมบรู ณแ ลว ไปสําเนา
๔.๘.๔ ขัน้ การแจกจายแผน นาํ แผนท่ไี ดส ําเนาไวเรยี บรอ ยแลวแจกจายใหหนว ยตางๆ
ตลอดจนเจา หนาทต่ี างๆ ตามรายการแจกจา ยท่ีไดจ ัดทาํ ไว
๔.๘.๕ ข้ันการซักซอม แผนจะบรรลภุ ารกจิ ไดด ีขนึ้ ถา ไดมกี ารซกั ซอ มการปฏิบัติตามแผน
เสยี กอ นตามเวลาทีจ่ ะมีพอทาํ ได ขณะทม่ี กี ารซักซอมการปฏิบัติตามแผนนี้ ฝา ยอํานวยการท่ีจัดทาํ ดูและโดย
ใกลช ิดดว ย การซักซอมอาจกระทําเพยี งไปตรวจภมู ปิ ระเทศวาจะเหมาะสมกับแผนหรือไมก ็ได
๔.๘.๖ ขน้ั การปรับแผน แผนทย่ี ังมีขอ บกพรอ งอยู จะตองนํามาปรับปรงุ แกไขใหม จน
เชือ่ ม่ันวา จะสามารถบรรลุภารกิจไดแ นน อน การซักซอ มอาจกระทาํ ใหมเพอ่ื หาขอบกพรอ งตอไปก็ไดถา มี
เวลา และส่งิ อาํ นวยความสะดวกมากพอ
๔.๘.๗ ขั้นการปฏบิ ัติ แผนขัน้ สดุ ทาย จะเปน แผนสาํ หรับการปฏิบัติจรงิ ซึ่งก็จะตอ งไดรับ
การกาํ กบั ดแู ลของฝา ยอาํ นวยการทเ่ี กย่ี วของโดยใกลช ดิ อีกเชน กนั
๔.๙ การรักษาความปลอดภยั ในการวางแผน
๔.๙.๑ แผนเปน กาํ หนดการปฏิบัตงิ านในอนาคต จึงจาํ เปนจะตอ งถอื เปน ความลับไมควร
เปด เผยใหบคุ คลทมี่ ิไดเ กี่ยวของทราบกอ นการปฏิบตั ิ การจโู จมเปนสิ่งพงึ ปรารถนาของผูป ฏบิ ตั ิเพราะถา ฝา ย
ตรงขา มสามารถลว งรูวา ฝา ยปฏิบัติการจะทําอยา งไร ทีไ่ หน เมื่อไรแลว ฝา ยตรงขามจะเตรยี มการลวงหนา ได
ทนั ทว งที
๔.๙.๒ กรรมวธิ ใี นการรกั ษาความปลอดภยั ไดแ ก การควบคมุ พืน้ ทที่ ี่จะใชในการวาง
แผนการตรวจสอบความเช่ือถอื บคุ คลทีจ่ ะผา นเขาออก จดั ทําบตั รผา นพิเศษ กําหนดมาตรการเกีย่ วกับการ
รกั ษาความปลอดภยั ของเอกสาร กาํ หนดมาตรการในการพิสจู นทราบ และทส่ี ําคญั ทสี่ ุดคือเจาหนา ทีท่ กุ คน
จะตอ งเยบ็ ปากตนเองไมแ พรงพรายความลับ
๔.๑๐ การวางแผนดา นกจิ การพลเรือน
๔.๑๐.๑ กจิ กรรมของนายทหารฝายกิจการพลเรอื น ยอแตกตา งกันตามภารกิจของหนว ย
บัญชาการนายทหารฝายกจิ การพลเรอื นชวยเหลือผูบ งั คับบัญชาในการปฏิบตั หิ นา ที่ ตามความรับผดิ ชอบ
ของตน ในเรอื่ งความสมั พนั ธของชมุ ชน และการยุทธในอนาคตที่อาจเปน ไปไดโดยธรรมดาแลวนายทหาร
ฝา ยกิจการพลเรอื นจะเปน จดุ รวมภายในกองบัญชาการเกย่ี วกบั ความสมั พันธร ะหวางทหารกบั พลเรอื น เปน
ผูชวยเหลอื ในการเลอื กเจาหนาที่ซกั ถามและลามและการฝก เจา หนา ทเี่ หลานั้น จดั ใหม แี รงงานเพอื่ ปฏบิ ตั ิ
ภารกิจทางทหาร และดาํ เนินการอยางเหมาะสมตอ องคการตา งๆเพ่อื อบรมหนวยทหาร เพอื่ ใหทราบถึง
วัฒนธรรม ประเพณี และอุปนิสยั ของประชาชนในพนื้ ทนี่ ้นั
๔.๑๐.๒ งานในการวางแผนหลัก ท่จี ะตอ งประสารไดแ ก การใชแ หลงทรัพยากรในทอ งถิน่
รวมทงั้ แรงงาน การสนบั สนนุ ของฝายทหารตอประชาชนพลเรือน มาตรการรักษาความปลอดภยั และการ


๑๒๗

ปองกนั ตน การสนับสนุนทางการชวยรบของหนวยกจิ การพลเรอื น การอนามยั และสุขาภบิ าล ความ

ปลอดภัยสาธารณะรวมทงั้ การควบคุมการเคลอ่ื นยาย การติดตอ อยางเปนทางการกบั เจาหนา ที่ฝา ยพลเรือนใน

ทอ งถน่ิ , กจิ การขาวกรองและกิจกรรมดา นการแจงขาวตาง ๆ

๕. ผนวกประกอบแผน,คําสง่ั ยทุ ธการ

๕.๑ แบบฟอรม

๕.๑.๑ แบง เปน ๓ สว น เชนเดยี วกับ แผน/คําสง่ั ยุทธการ คือสว นหวั เรื่อง, ตัวเร่ือง และ

ทา ยเรอ่ื ง

๕.๑.๒ การวางรปู รา ง,การยอหนา ,การเขยี นขอยอย หลักการเชนเดยี วกบั แผน,คาํ สง่ั ยทุ ธการ

๕.๒ ประเภทของผนวก มี ๒ ประเภท คอื

๕.๒.๑ ประเภทจา ยแยก จะมคี รบถว นท้งั ๓ สวน เชนเดยี วกับแผน/คาํ สง่ั ยทุ ธการ

๕.๒.๒ ประเภทจายพรอ มกบั แผน/คําสั่งยทุ ธการ

๕.๒.๒.๑ ไมม ีหัวเร่อื งและทายเร่อื ง

๕.๒.๒.๒ ผบู ังคับบัญชา ไมต อ งลงนาม ฝา ยอํานวยการตามสายงานท่ีจดั ทํา
๕.๒.๒.๓ ต้งั แตส ําเนาชดุ ท่ี ๒ เปนตนไป
ลงนามรับรอง สําเนาทกุ ฉบบั
๕.๓ เทคนิค/รายละเอียดในการเขียนผนวก


๑๒๘

แบบฟอรม

(ประเภทเอกสาร)

ชุด ของ ชดุ
หนา ของ หนา
กองบัญชาการ
ท่ตี ้งั (พกิ ดั )
กลมุ วันเวลา/ด./ป.
หมายเลขอา งสาสน
ผนวก............(การกาํ ลงั พล/การสง กาํ ลังบํารุง/กจิ การพลเรือน) ประกอยแผน/คําสง่ั ยทุ ธการท.ี่ ..........อา งถึง
เขตเวลา (ถา มี)
๑. สถานการณ
(หวั ขอยอ ยเชน เดียวกบั แผนยทุ ธการ)
๒. ภารกจิ
(ตางกับภารกจิ ทีเ่ ขยี นในแผน/คําส่งั และตา งกบั ภารกจิ ในการทาํ ประมารการณ เพราะภารกจิ ดังกลา ว
เปน ภารกจิ ทางยุทธวิธี แตภ ารกจิ ในทนี่ ี้เปน ภารกจิ งานในหนา ที่เฉพาะของตน)
๓. กลา วทว่ั ไป
(กลา วเฉพาะเรอื่ งหลกั / ๓ เรื่อง คือ
ก. แนวความคิดในการปฏบิ ตั ิ (กลา วในเรอื่ ง ๑. วธิ ีปฏบิ ตั ิ ๒. การใชห นวย ๓. เปา หมาย)
ข. การมอบอํานาจ (งานกิจการพลเรอื นสวนใหญเ กย่ี วของกับกฎหมาย จึงตอ งระบใุ หแ นชัดวา ผบ.พล.,
ผบ.กรม.,หรอื ผบ.พนั . วา ผบ.หนว ยนน้ั ๆ มีอาํ นาจทําอะไรไดบาง)
ค.คาํ แนะนําในการประสานการปฏบิ ตั ิ (ใหป ระสารในเรือ่ งอะไรบาง)
๔. งานในหนา ที่ (หมายถึงงานในหนาท่ตี งั้ ๔ อยา ง)
ก. กิจการพลเรอื น
๑) การปกครอง
๒) เศรษฐกจิ
๓) สังคม/จติ วทิ ยา
๔) เบ็ดเตลด็

(ประเภทเอกสาร)


๑๒๙

(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ที.่ .....ของ......ชุด
หนา......ของ......หนา

(ผนวก......(การกําลังพล/การสง กําลงั บาํ รุง/กิจการพลเรอื น) ประกอบแผน/คําส่ังยุทธการที.่ ........)
ข. การปฏิบัติการจิตวิทยา
ค. การประชาสมั พนั ธ
ง. การปลกู ฝง อดุ มการณท างการเมือง

๕. การบังคบั บญั ชาและการส่อื สาร
ก. บังคับบัญชา
ข. การสอ่ื สาร

การตอบรับ :

ยศ/ช่อื .............................
ตําแหนง ..............

อนผุ นวก :
การแจกจาย :
เปนคฉู บบั

ยศ/ช่อื ...............................
ตาํ แหนง ...................

(ประเภทเอกสาร)


๑๓๐

(ตัวอยา ง)
(ผนวก กิจการพลเรอื น ประกอบคาํ สั่งการชว ยรบ จา ยแยกตา งหาก)

(ประเภทเอกสาร)
ชุดท่ี ๘ ของ ๓๐ ชุด
หนา ๑ ของ ๔ หนา
ทก.พล.ร.๒๐
บ.พัวโคน (ควิ เอ ๒๒๑๐)
๐๙๑๓๐๐ ม.ค.๒๙
ก.ร.๐๒๐

ผนวก ค. (กิจการพลเรือน) ประการคําสง่ั การชว ยรบท่ี ๒
อางถงึ แผนทพ่ี เิ ศษ มาตราสวน ๑ ๕๐,๐๐๐ ระวางอูท อง
๑. สถานการณ

ก. ฝายขาศกึ
๑) ผนวก ก (ขา วกรอง) ประกอบคาํ สั่งยทุ ธการที่ ๒
๒) การปกครองดนิ แดนทยี่ ดึ ครองได ขา ศกึ ยังคงใชเจา หนาทีเ่ ดิมปกครอง ภายใตการ

อํานวยการของฝา ยทหาร และผูเชย่ี วชาญจากประเทศของตน)
๓) ในหว งเวลาทผี่ านมา ไดป รากฏใบปลวิ และการโฆษณาชวนเชือ่ ของขา ศึกในพน้ื ที่ตอน

เหนอื ของกองพลบา งเปนคร้ังคราว
ข. ฝายเรา
๑) รายงานกิจการพลเรือนตามระยะเวลาที่ ๑ ลง ๒๕ ธ.ค.๒๘
๒) เจา หนา ทสี่ ว นราชการพลเรอื น ซึ่งปฏิบตั หิ นา ท่ี ณ ทต่ี ้ังช่ัวคราว บรเิ วณ บ.จําปา

ยังคงติดตามสถานการณ และพรอ มทจ่ี ะเขา ปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นพ้ืนทเ่ี มอื งรตั นานคร ในทนั ทีทฝี่ ายเรายดึ กลบั คนื
มาได

ค. หนวยสมทบและหนว ยแยก
๑) ผนวก ข. (การจดั เฉพาะกิจ) ประกอบคาํ ส่ังยุทธการท่ี ๒
๒) มว.ปจว.ท่ี ๒ ยงั คงสมทบ พล.ร.๒๐ ตอ ไป

(ประเภทเอกสาร)


๑๓๑

(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ๘ ของ ๓๐ ชดุ
หนา ๒ ของ ๔ หนา

ผนวก ค. (กิจการพลเรอื น) ประกอบคาํ ส่งั การชวยรบที่ ๒ – พล.ร.๒๐)
๒. ภารกจิ

พล.ร.๒๐ ดาํ เนนิ งานกจิ การพลเรือนในพนื้ ที่รับผิดชอบ เพอื่ สนับสนุนการเขาตใี น ๑๕๐๗๐๐ ม.ค.
๒๙ เพอ่ื ยดึ รตั นานคร และเตรยี มการเขา ตตี อ ไป เพอ่ื ยึดกนกนคร
๓. กลา วทวั่ ไป

ก. แนวความคดิ ในการปฏบิ ตั ิ
๑) การดําเนินงานกจิ การพลเรือน เพ่อื สนบั สนนุ การปฏิบตั ใิ นคร้ังนี้ ประกอบดว ยการเขา

ดําเนนิ การควบคมุ ประชาชน เพื่อปอ งกันการกดี ขวางการยทุ ธ โดยการเขา ควบคุมความสงบเรียบรอ ย
การดําเนนิ การตอ ผลู ี้ภยั การบรรเทาความทุกขยากอนั เกิดจากการรบ และการฟน ฟสู าธารณปู โภคในพนื้ ที่
เพือ่ การใชป ระโยชนตอ ไป

๒) หนว ยปฏบิ ตั ใิ นการดาํ เนินงานกจิ การพลเรอื น ไดแ ก นขต.พล.ร.๒๐ ฉก.ร.ตา ง ๆ และ
รอย บก.พล.และทีจ่ ัดไปสมทบ แตละ ฉก.ร. ตา ง ๆ

ข. การมอบอาํ นาจ
นขต.พล.ร.๒๐ และ ผบ.ฉก.ร.ตา ง ๆ มอี าํ นาจและหนา ทใี่ นการปกครอง พ้ืนทร่ี บั ผิดชอบ

ตามท่กี าํ หนดไวใน พรบ. กฎอยั การศกึ และตามระบไุ วใ น รปจ.กจิ การพลเรือน
ค. คาํ แนะนาํ ในการประสาน
๑) ทกุ หนวยมอบหมายความรับผิดชอบในการดาํ เนนิ การตอ ประชาชน ใหก ับเจาหนา ทส่ี วน

ราชการพลเรอื นในพนื้ ทใี่ หเรว็ ทีส่ ุดเทา ที่จะกระทําได
๒) ทกุ หนว ยรายงานดว น เมอ่ื มเี หตกุ ารณรุนแรงท่ีเกยี่ วขอ งกบั ประชาชน

๔. งานในหนา ท่ี
ก. การปฏบิ ัติการกิจการพลเรอื น
๑) การปกครอง

(ประเภทเอกสาร)


๑๓๒

(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ท่ี ๘ ของ ๓๐ ชุด
หนา ๓ ของ ๔ หนา

ผนวก ค. (กิจการพลเรอื น) ประกอบคาํ สงั่ การชวยรบท่ี ๒ – พล.ร.๒๐)
ก) สงเสริมและสนบั สนนุ สว นราชการพลเรือนในพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ านแทนโดย

ฝายทหารใหก ระทําเทา ท่จี ําเปน และรายงานใหก องพลทราบกอ นทุกครั้ง
ข) การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยในพน้ื ท่ี ใชเ จา หนาท่ตี าํ รวจ กาํ ลงั กง่ึ ทหารและราษฎร

อาสาสมัครใหม ากท่ีสุด
ค) หา มพลเรอื นออกนอกบา นหลงั เวลา ๑๘๐๐ เปนตน ไป
ง) การกาํ หนดพ้นื ท่ี หรอื เขตหวงหา มใหก ระทําเทาทจี่ าํ เปน โดยหลกี เลีย่ งความเดอื ดรอ น

แกประชาชนใหมากท่ีสดุ
๒) เศรษฐกจิ
ก) ควบคมุ และกระตนุ การผลติ ในทอ งถิ่นใหเ พยี งพอในการดํารงชพี ของประชาชน
ข) กวดขนั การคา ตลาดมดื และการกักตนุ สินคา อยา งจรงิ จัง และรายงานใหท ราบ

ตลอดเวลา
ค) การดําเนนิ งานตอ ทรพั ยส ินของประชาชน ตาม รปจ. กิจการพลเรือน พล.ร.๒๐

๓) สงั คมจติ วทิ ยา
ก) การสนับสนุน สป.และยานพาหนะของทหารตอประชาชน กระทาํ ไดภายในขดี

ความสามารถของหนว ยทม่ี อี ยู
ข) การอพยพพลเรือนใหก ระทาํ เทา ทีจ่ ําเปน และใชเจาหนาท่เี ครอ่ื งมอื เครอื่ งใชของพลเรือน

ใหม ากทส่ี ุด
ค) หลกี เลีย่ งการทําเสียหายตอ ปูชนียส ถาน และสถานทีส่ าํ คญั ทางประวตั ศิ าสตรในพนื้ ที่

ข. การปฏบิ ตั กิ ารจิตวทิ ยา
๑) การปฏบิ ัติการจติ วิทยา ใหก ระทําทุกขน้ั ตอนการปฏบิ ัติ เพงเลง็ เปน พิเศษในการทาํ ลาย

ขวญั และกําลงั ใจในการตอสูของขาศึก

(ประเภทเอกสาร)


๑๓๓

(ประเภทเอกสาร)
ชุดท่ี ๘ ของ ๓๐ ชุด
หนา ๔ ของ ๔ หนา

ผนวก ค. (กิจการพลเรอื น) ประกอบคําส่ังการชว ยรบท่ี ๒ – พล.ร.๒๐)
๒) รายละเอยี ดในการปฏิบตั ิ (อนผุ นวก ๑)

ค. การประชาสมั พันธ
๑) การแถลงขาวใหป ระชาชนในพนื้ ทร่ี ับผดิ ชอบ ควรกระทํารวมกบั เจา หนา ท่ีสว นราชการ

พลเรือนในทอ งถิน่ ตลอดจนสื่อมวลชนในพ้ืนที่
๒) การประชาสัมพันธใ หใ ชเ ครอื่ งมอื เครือ่ งใชท ม่ี ีอยใู นทอ งถิน่ ใหเปน ประโยชน
๓) รายละเอยี ดในการปฏิบัติ (อนผุ นวก ๒)

ง. การปลกู ฝง อุดมการณท างการเมือง
๑) นขต.กองพล เตรยี มชุดปลกู ฝง อุดมการณทางการเมอื งหนวยละ ๒ ชดุ เพ่อื ดําเนนิ งาน

การเมืองในเมอื งรัตนานคร และกนกนครตอไป
๒) ผบู งั คับบญั ชาทกุ ระดบั ชัน้ กวดขนั ความประพฤติ และการปฏบิ ตั ขิ องกาํ ลงั พลใหเปน

ตัวอยางทดี่ แี กป ระชาชน
๕. การบังคบั บญั ชาและการส่ือสาร คาํ สัง่ ยทุ ธการที่ ๒ – พล.ร.๒๐

ตอบรับ : นาํ สาร

(ลงช่อื ) พล.ต. เทดิ กรุงไทย
ผบ.พล.ร.๒๐

อนุผนวก ๑ การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา (เวน )
อนผุ นวก ๒ การประชาสมั พนั ธ (เวน )
การแจกจา ย : แบบ ก.
เปน คฉู บับ

พ.ท. กวี มฤี ทธ์ิ
หน.กร.พล.ร.๒๐

(ประเภทเอกสาร)


๑๓๔

๖. การสั่งการดา นกจิ การพลเรอื น
๖.๑ ในการแปลงขอตกลงใจของผูบ งั คับบญั ชา เปนการส่งั การและคําแนะนาํ แกห นว ยตา ง ๆ ฝอ.๕

หรอื นายทหารฝา ยกิจการพลเรือน สามารถกระทาํ ไดห ลายวธิ ี ทัง้ เปนสว นของคาํ ส่ังยทุ ธการ(ขอ ๓.๔) หรอื
คําสั่งการชว ยรบ (ขอ ๗) หรอื จดั ทาํ เปนผนวกประกอบแผนหรือคําสั่งที่เหมาะสมได

๖.๒ ในระดบั กองพล วิธีส่งั การทางดา นกจิ การพลเรอื นทีเ่ หมาะสม ไดแ กก ารจัดทําเปนผนวกกิจการ
พลเรือนประกอบแผน/คําสง่ั ยทุ ธการ ซง่ึ ผนวกดังกลาว อาจมีอนุผนวกการปฏบิ ัตกิ ารกจิ การพลเรอื น และ
อนผุ นวกการปฏบิ ัตกิ ารจิตวิทยาประกอบเพ่มิ เติมไดอกี ตามความจําเปน

๖.๓ นอกจากนี้ การสง่ั การหรอื คาํ แนะนําทางดานกจิ การพลเรือนท่ีกาํ หนดการปฏบิ ตั เิ ปนการประจํา
หรือมาตรฐานก็อาจจะรวมไวในระเบียบปฏิบัติประจํา (รปจ.) ของหนว ยไดอีกดวย

๖.๔ ในระดบั กรม ร.ลงมาน้ัน มกั นยิ มส่ังการในคาํ สง่ั ยทุ ธการ ขอ ๔ มากกวา การทําเปนคาํ สั่ง
การชวยรบ แบบฟอรมของคําสง่ั ยุทธการขอ ๔ ไมตายตวั เหมือนคําส่ังการชว ยรบซึ่งตอ งมีรายละเอยี ด
ตามรายการแตละขอ เปน ลําดบั ไป คาํ ส่งั ยทุ ธการขอ ๔ น้นั แลวแตผ เู ขียนจะเหน็ เหมาะสม ขอความใด
ท่ไี มเก่ียวของหรอื มกี าํ หนดไวใ นระเบยี บปฏบิ ตั ปิ ระจาํ (รปจ.) แลว กไ็ มต องนํามาเขียนการทําคําส่งั ยทุ ธการ
ขอ ๔ ฝอ.๕ หรือนายทหารฝา ยกจิ การพลเรือนมคี วามรบั ผดิ ชอบในการเตรยี มคําสง่ั ยุทธการขอ ๔ รว มกบั
ฝอ.๔ และ ฝอ.๑ ซง่ึ แตละคนมีความรบั ผดิ ชอบเขยี นในสว นทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั สายงานของตน แลว ฝอ.๔ เปน
ผูรวบรวมสง ให ฝอ.๓ ไปจดั ทําเปนคําสงั่ ยุทธการของหนวยตอ ไป

๖.๕ เพ่อื ใหร วู า งานของตนอยูทีไ่ หนนั้น ฝอ.๕ หรอื นายทหารฝา ยกจิ การพลเรือนสามารถดไู ดจ าก
๖.๕.๑ คาํ สัง่ เตรยี ม
๖.๕.๒ คําสั่งเปน สว น ๆ
๖.๕.๓ แผน/คาํ สัง่ ยทุ ธการ
๖.๕.๔ ผนวก/ประกอบแผน/คาํ สงั่
๖.๕.๕ แผน,คาํ สั่งการชวยรบ
๖.๕.๖ รปจ.

(ประเภทเอกสาร)


๑๓๕

ตวั อยา งคาํ สงั่ ยทุ ธการขอ ๔

(ประเภทเอกสาร)
ฯล ฯ

๔. การชว ยรบ
ฯลฯ

ค. กจิ การพลเรอื น
๑) การปฏบิ ตั ิการทกุ อยางที่เกี่ยวของ กบั พลเรือน ผบ.หนว ยตอ งอบรมใหท หารแตละคน

ระลึกถงึ การปฏิบตั กิ ารจติ วทิ ยาควบคูไปดวยเสมอ
๒) ใหก ารรักษาพยาบาลแกป ระชาชนตลอดเวลาแหง การสูร บ
๓) หามทําลาย โยกยา ย รอื้ ถอนทรัพยส นิ ของประชาชนโดยไมจ าํ เปน
๔) หา มประชาชนออกนอกบา น ตัง้ แต ๑๘๐๐ – ๐๕๐๐
๕) รปจ. ร.๒๐
ฯลฯ

๖.๖ คาํ สั่งการชว ยรบ เปน คําส่ังท่ีสง ใหหนว ยตาง ๆ ไดท ราบและปฏิบัตกิ จิ กรรมทางการชว ยรบ
ท้งั ปวงทีเ่ กยี่ วขอ ง โดยรวมเอารายละเอยี ดทางการชว ยรบทีไ่ ดจากการวางแผน แลว นํามาเขยี น ตามหวั ขอ
ตามแบบฟอรม คําส่ังการชว ยรบปกตจิ ะออกในระดบั กองพลขนึ้ ไป แตอยางไรกต็ าม คําสั่งการชวยรบอาจ
ออกในระดบั กรม หรือกองพันกย็ อ มได โดยยดึ ถอื คาํ สัง่ การชว ยรบของหนว ยเหนือเปนหลัก

๖.๖.๑ ความรบั ผิดชอบ ฝอ.๕ หรอื นายทหารฝา ยกิจการพลเรือนรับผิดชอบในการเตรยี ม
คาํ สัง่ การชว ยรบ ในเรอื่ งกิจการพลเรือน แลวสง ให ฝอ.๔ เพ่ือรวบรวมทาํ เปน คาํ ส่ังการชวยรบท่ีสมบรู ณของ
หนวยตลอดจนการรับรองสาํ เนาและการแจกจา ยตอไป การทําคาํ สัง่ การชว ยรบในระดบั กองทพั ขึน้ ไปมัก
นิยมใชข อเขยี นเปนหลัก หนวยระดับกองพลมกั ใชแผน บริวารเปนหลกั

๖.๖.๒ แบบฟอรมคาํ สงั่ การชว ยรบ คงคลา ยกับแบบฟอรม คาํ สงั่ ยุทธการ เพราะถอื วาคาํ ส่ัง
การชว ยรบเปน คําสัง่ การรบดวยชนดิ หนงึ่ ซึง่ ประกอบดว ย หวั คาํ สั่ง ตวั คาํ ส่งั และทา ยคําสง่ั

๖.๖.๓ คาํ สัง่ การชว ยรบที่ทาํ เปนผนวกประกอบคาํ สัง่ ยทุ ธการ การเขยี นไมตองมหี วั คาํ ส่ัง
และทายคาํ สง่ั คงมแี ตต ัวคําสง่ั อยางเดยี ว

๖.๖.๔ คําส่ังการชวยรบทีท่ าํ เปน เอกเทศ ตองประกอบดวย ๓ สว น คือ สวนหัวคาํ สง่ั ตัว
คาํ สั่ง แลหะทา ยคาํ ส่ัง ตัวคาํ ส่งั การชว ยรบ มี ๙ หวั ขอ ฝอ.๕ หรอื นายทหารฝา ยกิจการพลเรอื นรับผิดชอบ
เขยี นในขอ ๗

๖.๖.๕ คําสัง่ การชวยรบท่ีทําเปน ผนวกประกอบคาํ สง่ั ยุทธการ จา ยพรอมไปกับคาํ สงั่
ยทุ ธการ การเขยี นไมต องมสี ว นหวั คําสัง่ และทา ยคาํ สัง่ คงมเี ฉพาะตวั คําสงั่ ซึง่ มี ๖ หวั ขอ ฝอ.๕ หรือนาย
ทหารฝา ยกจิ การพลเรือนรับผิดชอบเขียนใน ขอ ๕


๑๓๖

แบบฟอรม คาํ ส่งั การชว ยรบท่ที าํ เปน ผนวก

(ประเภทเอกสาร) ชุดท่ี ของ ชุด
หนา ของ หนา
ผนวก.....................ประกอบคาํ ส่งั ยทุ ธการ.......................
อา งถึง
เขตเวลา (ถามี)
๑. กลาวทว่ั ไป
๒. ยุทโธปกรณแ ละบรกิ าร

ก.................................
๑)..................................
ก)...............................

๓. การสงกลับสายแพทยและการรักษาพยาบาล
ก......................................
๑)....................................
ก)....................................

๔ กาํ ลงั พล
ก..........................................
๑)....................................
ก).....................................

๕. กิจการพลเรือน
ก......................................
๑)...................................
ก).......................................

๖. เบ็ดเตล็ด
ก..........................................
๑)...............................................
ก).........................................

(ประเภทเอกสาร)


๑๓๗

แบบฟอรม คําสั่งการชวยรบ (ที่ทําเปน เอกเทศ)
(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ท่ี ของ ชุด
หนา ของ หนา
กองบญั ชาการ
ทตี่ ง้ั (พกิ ดั )
กลุมวัน, เวลา /ด./ป.
หมายเลขอางสาร

แผน/คาํ ส่ังการชว ยรบท่.ี ...........(ชอื่ แผน)
อางถึง ๑) แผนยุทธการ

๒) แผนท่ี
เขตเวลา (ถา ม)ี
๑. สถานการณ

(หัวขอยอยเชน เดียวกบั แผน/คําสัง่ ยทุ ธการ)
๒. ภารกจิ

...............................................................................................................................................................
...................................................................................................................................
๓. กลา วทวั่ ไป

ก............................................................................................................................................................
...................................................................................................................................

๑)...........................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
๔. ยทุ โธปกรณแ ละบรกิ าร

ก........................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

๑)..........................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

ก)..............................................................................................................
๕. การสง กลบั สายแพทยและการรักษาพยาบาล

ก........................................................................................................................................
๑)..........................................................................................................................

.......................................................................................................................................................
(ประเภทเอกสาร)


๑๓๘ ชดุ ท่ี ของ ชุด
หนา ของ หนา
(ประเภทเอกสาร)

(แผน/คาํ ส่งั การชวยรบท่ี..............-หนว ย)
๖. การกําลังพล

ก........................
๑)........................

๗. กจิ การพลเรอื น
ก...........................
๑)..............................

๘. เบ็ดเตล็ด ยศ,ชอื่ ................................
ก. .................................... ตาํ แหนง.....................

๙. การบังคับบญั ชาและการสือ่ สาร
ก. การบงั คับบญั ชา..................
ข. การสอื่ สาร........................

ตอบรับ:

ผนวก:
การแจกจาย:
เปนคฉู บบั

ยศ – ลายเซ็น
ตําแหนง

(ประเภทเอกสาร)


๑๓๙

ตวั อยาง คาํ สงั่ การชวยรบของกองพลทหารราบ (แบบที่ ๑) (คาํ สั่ง แบบแผน บรวิ าร)
(ประเภทเอกสาร)

(ประเภทเอกสาร)


๑๔๐

(ประเภทเอกสาร)
(ไมเ ปลี่ยนแปลงคาํ สั่งดว ยวาจา)

ชดุ ที่ ๘ ของ ๓๐ ชดุ
หนา ๑ ของ ๔ หนา
พล.ร.๓
วดั จอมแจง (๓๕๕๖๒๒)
๑๔๑๑๐๐ ม.ค.
กร. ๑๔๑
คาํ สัง่ การชว ยรบที่ ๔
ตามคําสง่ั ยุทธการท่ี ๔
อางถงึ แผนทีป่ ระเทศไทย ๑ ๕๐,๐๐๐ ระวาง บ.คู
๑. สถานการณ
ก. กาํ ลงั ฝา ยขา ศกึ
๑) ผนวก ข. ( ขาวกรอง ) ประกอบคาํ สั่งยุทธการท่ี ๔
๒) ขีดความสามารถของขาศึก
ก) กองโจรฝา ยขา ศกึ สามารถคกุ คามสถานการณช วยรบ และเสน หลกั การสงกําลงั บาํ รงุ
ได)
ข) ขาศกึ สามารถคุกคามพนื้ ท่ีสวนหลงั ไดเ พียงอาวุธเบา และอาวุธอตั โนมตั ิเทานนั้
ข. กาํ ลงั ฝา ยเรา
๑) การจัดเฉพาะกจิ ของ พล.ร.๓ ผนวก ก.ประกอบคาํ สั่งยุทธการที่ ๔
๒) พล.ร.๓ จะสง กาํ ลงั สป.๕ และชวยเหลอื การซอ มบํารงุ ใหแ ก ตชด. ,อส. เม่อื ไดร ับคําสง่ั
จาก ทภ.๒
๒. ภารกจิ
ใหก ารสนับสนุนทางการชว ยรบแก พล.ร.๓ ในการเขา ศกึ เพอ่ื ยดึ ที่สงู บรเิ วณ บ.นาํ้ สราง (๓๔๘๑)
– โคกทําเชือก (๓๕๘๒) ตามแนวความคดิ ในการปฏิบตั ิที่กลา วไวในคําสัง่ ยทุ ธการท่ี ๔
๓. กลา วทั่วไป
พล.ร.๓ ดาํ เนนิ การสนับสนนุ ทางการชว ยรบ โดยการจัดตง้ั สถานการณช ว ยรบของกองพลใกลก บั
เสนหลักการสง กาํ ลงั หลกั การเคล่อื นยา ยสถานท่ีตั้งตาง ๆ ใหร ะมดั ระวงั ปอ งกนั กองโจรฝา ยขาศึกอยาง
กวดขนั

(ประเภทเอกสาร)


๑๔๑

(ประเภทเอกสาร)
ชุดที่ ๘ ของ ๓๐ ชดุ
หนา ๒ ของ ๔ หนา

(คาํ สง่ั การชวยรบท่ี ๔ พล.ร.๓)
๔. ยทุ โธปกรณแ ละบรกิ าร

ก. การสง กาํ ลัง
๑) สป.๑
ก) ตารางกําหนดเวลาแจกจาย – รปจ.
ข) หนว ยตางๆ สะสมเสบียง ๒ อัตราสาํ รองใน ๕ – ๗ ม.ค.......................
๒) สป.๒ และ ๔ สาํ หรบั รยบ.๒ ½ ตัน ลําดับแรกใหกบั ร.๓
๓) สป.๓
ก) ตส.สป.๓ ทภ.๒ บ.วงั ชมพู (๓๖๗๒)
ข) การแบงมอบนํา้ มันเชอ้ื เพลงิ อนผุ นวก ก.การแบงมอบนํ้ามันเชื้อเพลิง
๔) สป.๕
ก) ตส.กน.ทภ.๒ บ.วังชมพู (๓๖๗๒)
ข) อัตรากระสนุ ท่ใี ชได
(๑) ค.๘๑ มม. ๕
(๒) ค. ๔.๒” ๑๐๐
(๓) ป. ๑๐๕ มม. ๙๐
(๔) ป. ๑๕๕ อตั รากระสุนมลู ฐาน
(๕) กระสนุ ชนิดอื่นๆ ไมจํากดั
(๕) นา้ํ นาํ้ ในทองถิ่นหา มใชดมื่ นอกจากจะตมแลว

ข. การขนสง
(๑) สะพานบนเสน ทางหลักการสงกําลัง สะพานคอนกรีตสองทางชน้ั ๖๐ สะพานไมเ ดยี ว

ชนั้ ๓๐
(๒) คาํ ขอเพอ่ื ใหส งกาํ ลงั ทางอากาศฉกุ เฉินจะตอ งเสนอผาน สธ.๔ กองพล

ค. การบรกิ าร

(ประเภทเอกสาร)


๑๔๒

(ประเภทเอกสาร)
ชุดท่ี ๘ ของ ๓๐ ชดุ
หนา ๓ ของ ๔ หนา

(คาํ ส่ังการชวยรบที่ ๔ พล.ร.๓)
๑) ลําดับเรงดว นแรกในการซอมบํารงุ เคร่ืองมือสอ่ื สารและยายนตล อ คอื ร.๓
๒) ลาํ ดับความเรง ดวนแรกสําหรับงานชา ง คอื เสรมิ ความม่ันคงสะพานไม และการซอ มบํารงุ –

สลก.
๕. การสงกลบั สายแพทยและการรักษาพยาบาล

ก. การฉดี วคั ซีนปอ งกันอหวิ าตแ ละไทยฟอยด ตอ งทาํ ใหแ ลว เสร็จกอ น ๒๐๒๔๐๐ ธ.ค.........
ข. การสงกลับทางอากาศจะตอ งทาํ ใหม ากที่สดุ สําหรับผูไดร บั บาดเจบ็ จาการรบ
ค. รพ.สนาม ทภ.๒ อ.ชัยบาดาล
๖. การกําลังพล
ก. การรกั ษายอดกําลงั พลของหนวย

๑) ระหวา งหว งเวลา ๕ – ๗ ม.ค...............เสนอสรปุ ยอดกาํ ลงั พลประจาํ วนั เปดรายงานเวลา
๑๕๐๐ สง ถึง บก.น้ีภายใน ๑๘๐๐

๒) กองพลไดรับสว นแบง กาํ ลังทดแทน ๑๐๐ คน ลาํ ดับเรงดวนแรกคือ ร.๓
ข. การจดั การกําลังพล เชลยศึกที่เปนนายทหารสัญญาบัตรใหส งตัวไปซักถามที่ ทภ.พล. โดยดว น
ค. การบาํ รุงและรักษาขวญั

๑) เสนอขอเหรยี ญหลาหาญใหผปู ฏิบตั ิการรบหลงั จากยึด ทม.ไดแ ลวภายใน ๓ วนั
๒) จดหมายสวนตวั จะจา ยใหเ ม่ือยดึ ทม.ไดแลว
ง. การรักษาวนิ ยั กฎ ขอบงั คับ และคาํ สั่ง
๑) ทหารพลดั หนว ยในหนวยเดยี วกัน ตงั้ แต ๑๐ คนขึ้นไปทร่ี วบรวมไดใ นเวลาเดียวกนั ใหรายงาน
ผาน สธ.๑ โดยดวน
๒) ระมดั ระวงั การคายุทธภัณฑของทางราชการอยา งกวดขนั โดยเฉพาะ สป.๕

(ประเภทเอกสาร)


๑๔๓

(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ที่ ๘ ของ ๓๐ ชดุ
หนา ๔ ของ ๔ หนา

(คาํ สงั่ การชว ยรบที่ ๔.พล.ร.๓)
๗. กจิ การพลเรือน

ก. หา มพลเรือนออกนอกบาน ๑๘๐๐ ถงึ ๐๖๐๐
ข. การอพยพเรอื นออกนอกเขตกรมตอ งไดร บั อนุมตั จิ าก ผบ.พล.
๘. เบด็ เตล็ด
ก. เสนเขตหลงั ของกองพลคอื แนวพรางแสงไฟ
ข. ระวังปองกันสถานทต่ี งั้ ตางๆ ดวยกาํ ลังของหนวยเอง และใหเปน ไปตามการระวงั ปองกับพน้ื ท่ี
สวนหลงั ของกองพลตามคาํ สัง่ ยุทธการที่ ๔
๙. การบงั คบั บญั ชาและการส่อื สาร
นปส.ดรรชนี ๑ – ๔ ผนวก ง. การสือ่ สารประกอบคําส่ังยทุ ธการท่ี ๔
การตอบรับ : นาํ สาร

(ลงช่ือ) พล.ต.เทิด กรงุ ไทย
ผบ.พล.ร.๓

ผนวก ก. แผน บรวิ ารชว ยรบ
ข. การหมนุ เวยี นและการควบคมุ จราจร (เวน )
ค. กาํ ลังพล

การแจกจาย : แบบ ก.
เปนคฉู บับ

พ.ท.
หน.สธ.๔

(ประเภทเอกสาร)


๑๔๔

(ประเภทเอกสาร)
ตวั อยาง คาํ สง่ั การชว ยรบของกองพลทหาร (แบบท่ี ๒) (คาํ สง่ั ชนดิ แผน บริวารเปน ผนวก)

(ประเภทเอกสาร)


๑๔๕

(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ที่ ๘ ของ ๓๐ ชุด
หนา ๑ ของ ๓ หนา
พล.ร.๙
อดุ รธานี (๘๗๖๖)
๑๑๑๑๐๐ ม.ค.๒๙
กร.๒๒๒

คําสั่งการชวยรบที่ ๖
ตามคาํ ส่ังยทุ ธการที่ ๖
อางถงึ : แผนท่ปี ระเทศไทย ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง ม.อดุ รธานี
๑. สถานการณ

ก.กําลังฝา ยขา ศึก
๑) ผนวก ข. (ขาวกรอง) ประกอบคําสง่ั ยุทธการท่ี ๖
๒) ขีดความสามารถของขา ศกึ สายลบั ของขา ศึกสามารถกอ วนิ าศกรรมสถานการณชวยรบ

และ สลก.ไดท กุ เวลา
ข. กาํ ลังฝา ยเรา การจดั เฉพาะกิจ พล.ร.๙ ผนวก ก. ประกอบคําส่ังยทุ ธการท่ี ๖

๒ ภารกจิ
ใหก ารสนับสนุนทางการชว ยรบใหแ ก พล.ร.๙ ในการต้งั รับปองกัน ม.อดุ รธานี

๓. กลาวทัว่ ไป
การสนบั สนนุ พล.ร.๙ จัดตงั้ สถานการณชวยรบตา ง ๆ เพื่อสนบั สนุนกองพล สถานท่ีตง้ั ตา ง ๆ

จะเปดทาํ การใน ๑๑๑๓๐๐ ม.ค.........ผนวก ก. แผน บรวิ ารการชวยรบ
๔. ยุทโธปกรณแ ละบรกิ าร

ก. การสงกาํ ลัง
๑) สป. ตารางการแจกจา ย – รปจ.
๒) สป.๒ และ ๔

(ประเภทเอกสาร)


๑๔๖

(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ที่ ๘ ของ ๓๐ ชุด
หนา ๒ ของ ๓ หนา

(คําสง่ั การชวยรบท่ี ๖ พล.ร.๙)
ก) ที่กอง สป.๔ สายชางของ ทภ.อ.เมืองอดุ ร (๗๗๖๙)
ข) ลวดหนามและกระสอบทรายลําดับความเรงดว นแรก พนั .ร. ใน ขนพร.

๓) สป.๓
ก) ตส.สป.๓ ทภ.อ.เมืองอุดรธานี (๗๘๖๙)
ข) นาํ้ มันเครื่องกําหรบั รยบ.๒ ๑/๒ ตนั ขาดแคลนยง่ิ เปน ส่ิงอุปกรณรายการท่ีตองควบคมุ

๔) สป.๕
ก) ตส.กน.ทภ.อ.เมืองอดุ รธานี (๗๘๖๖)
ข) อัตรากระสนุ ใชได คอื อัตรากระสนุ มลู ฐาน

ข.การขนสง
๑) การจราจรในเขตเทศบาล ม.อดุ รธานี...........ผนวก ข. การหมนุ เวยี นและการควบคมุ การจราจร
๒) ลําดับความเรงดว นแรกในการขนสง อปุ กรณป อมสนามไปให กรม ร. ในแนวหนา
ค. การบรกิ าร
๑) ลาํ ดบั เรงดว นแรกของงานชา ง คือชวยเหลือในการถากถางพน้ื ท่ีสาํ หรบั ทาํ ฐานยงิ ป.
๒) ลาํ ดับเรง ดว นในการซอ มบํารงุ รยบ.๒ ๑/๒ ตนั ของ ร.๙
๕. การสง กลบั สายแพทยและการรักษาพยาบาล
ก. รพ.สนาม ทภ. อ.เมือง อดุ รธานี (๗๗๗๑)
ข. ใช รยบ. ๒ ๑/๒ ตนั สมั ภาระเพอ่ื ชวยเหลือการสง กลับใหม ากทสี่ ดุ
๖. การกําลังพล

ผนวก ก.การกาํ ลงั พล

(ประเภทเอกสาร)


๑๔๗

(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ที่ ๘ ของ ๓๐ ชดุ
หนา ๓ ของ ๓ หนา

(คําสัง่ การชวยรบที่ ๖ พล.ร.๙)
๗. กจิ การพลเรอื น

ก. หามพลเรือนออกนอกบา น ๑๘๐๐ – ๐๖๐๐
ข. ญวนอพยพในบริเวณ ม.อดุ รธานี ใหค วบคมุ ไวท ี่ ว. โรงชา ง (๗๗๖๖)
๘. เบ็ดเตลด็
เสนเขตหลังกองพลคอื แนวพรางแสงไฟ
๙. การบังคบั บัญชาและการส่ือสาร
ก. นปส.ฉบับปจจุบัน ผนวก จ. (การสื่อสาร) ประกอบคาํ ส่ังยุทธการท่ี ๖
ข. ทก.สํารองของกรมสนบั สนนุ คอื ทก.พนั .ซบร.
การตอบรบั นาํ สาร

(ลงชือ่ ) พล.ต. เทิด กรงุ ไทย
ผบ.พล.ร.๙

ผนวก ก. แผน บรวิ ารชวยรบ
ข. การหมุนเวยี นและการควบคุมจราจร (เวน)
ค. กาํ ลงั พล

เปน คูฉบบั
พ.ท.
หน.สธ.๔

(ประเภทเอกสาร)


Click to View FlipBook Version