The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by newzeroone01, 2022-12-01 21:53:28

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

๑๙๘

๔.๓.๑ ขนั้ ที่ ๑ การกอการรา ยในระยะเริ่มแรก ขนั้ นย้ี งั ไมค รอบคลมุ ถึงการปฏบิ ัติการกอการรา ย
ท่ีรนุ แรงหรอื ถึงขนาดท่คี วบคมุ ไมได เปน การกระทาํ ทก่ี อใหเ กดิ ความของใจ และไมพอใจตอ เจาหนา ท่ี
รัฐบาล การกอ การรายจะพฒั นาการจดั ขบวนการใตดนิ รปู โครงสรางหนวยขนาดเล็กและหนวยแนวหนา
ของตนข้นึ มา ตอ จากนนั้ กจ็ ะเรม่ิ การบอ นทําลายตอไป ข้ันนี้จะปรากฏใหเ หน็ กิจกรรมโดยเปดเผยใหเ ห็นเปน
บางอยา งเทา นนั้ ซ่งึ อาจรวมถึงการเดนิ ขบวนการนัดหยดุ งานการแสดงออกตา ง ๆ ทแ่ี สดงถงึ ความไมพอใจ
ของประชาชนโดยท่ัวไป มกี ารชักชวนตํารวจแลละขาราชการเมอื ง ใหผ ันแปรมาเปน ฝา ยผูกอการรา ย หรอื
อยา งนอยที่สุด ทาํ ใหบ ุคคลเหลานน้ั หนั ความสนใจไปทางอ่นื

๔.๓.๒ ขน้ั ที่ ๒ การทาํ สงครามแบบกองโจร ในขนั้ ตอนท่ี ๒ น้ี ผกู อการรา ยจะเสรมิ กาํ ลังของ
องคก ารใหแ ขง็ แกรง เพือ่ การตอ สทู ่กี ําลังจะเกดิ ข้ึน สมาชกิ ของพรรคอาจจะหลบตวั จดั ต้ังและขยายงานดาน
การทํางานแบบใตดนิ ซึง่ เปน กระดกู สันหลังของขบวนการตอไป ดําเนนิ การปลกุ ปน ยุยง โฆษณาชวนเชอ่ื ใน
การเปนปฏปิ กษก บั รฐั บาล ดาํ เนนิ การหาสมัครพรรคพวก มีการสะสมอาวธุ มีการจดั ต้ังสายการสงกาํ ลงั บาํ รงุ
และการตดิ ตอ สื่อสารกับพลพรรคใตด ิน มกี ารแทรกซึมเขาไปในทกุ ระดับหนว ยงานของรฐั บาล คงวาม
คบื หนาของการกอการรา ยนนั้ บางคร้ังอาจไดรบั การสนับสนุน โดยไมม เี จตนาจากผูน ําทางการเมอื งการกอ
การจลาจล และการกลุมรุมทําลายท่ีกอ ใหเ กดิ ความเชอ่ื ถือ และการประทว งทกี่ อใหเ กดิ ความเห็นใจ มกั หา
โอกาสจากสง่ิ ท่เี ปนอยใู นขณะนน้ั คือ ความไมพ อใจตอ รฐั บาล หรอื การโจมตีตอการปฏิบตั ิของเจาหนา ท่ี
รฐั บาล

๔.๓.๓ ขนั้ ท่ี ๓ การสงครามเคลื่อนที่สถานการณเ ปลย่ี นจากขนั้ ที่ ๒ มาเปนขนั้ ท่ี ๓ เมอ่ื มีการกอ
การรา ยเร่มิ กลายเปน สงคราม และผูก อ การรา ยขยายกาํ ลงั ของตนตอไป กาํ ลงั เหลานยี้ งั คงไดร ับการสนับสนุน
จากหนว ยใตด นิ ที่จัดต้งั ไวดแี ลว การกอการรายในขน้ั นี้จะมกี ารกอตงั้ กาํ ลงั พลข้ึนมา ๓ ประเภท เรียกวา
“กําลังประจําถิ่น” ซ่ึงไดแ ก “ทหารประจําถิ่น” และ “ทหารบาน” ซึ่งเปนสวนหน่งึ ของหนว ยใตด นิ ในหมบู าน
และอยภู ายในหมูบาน และอยภู ายใตก ารบงั คับบญั ชาของหวั หนาฝา ยการเมอื งประจาํ หมูบา นและอักประเภท
หนง่ึ คือ “กําลงั รบหลัก” ซึ่งอาจไมมีการจดั ต้งั ขนึ้ ก็เปน ได กองทัพประชาชนหรือกําลังรบหลกั จะตองจดั ตั้ง
เจาหนา ที่โครงข้ึนไวส ําหรบั การขยายหนว ยตอ ไป

๔.๓.๔ เมอื่ มโี อกาสอาํ นวยใหแ ลว เรอ่ื งเกยี่ วกับการกอการรายทั้ง ๓ ขน้ั นี้ มไิ ดห มายความวาจะ
เปน เสน จาํ กัด หรอื กําหนดตายตวั ลงไปวา การเปลี่ยนแปลงนนั้ ๆ จะตอ งเปลี่ยนจากขนั้ หนง่ึ ไปยงั ขน้ั อนื่ ๆ
เสมอไป พนื้ ทตี่ าง ๆ อาจตกอยูภายใตก ารกอ การรายในการปฏิบตั ิทไ่ี มเ หมือนกนั กไ็ ดอ งคการของ
ผูกอ การราย จะขยายการดาํ เนนิ งานตอ ไปในพ้นื ท่หี นงึ่ ไปยังพน้ื ท่อี ืน่ ๆ ของประเทศในลกั ษณะทไี่ ม
เหมือนกนั


๑๙๙

๕. การอพยพประชากรและสว นราชการ
๕.๑ การอพยพประชากร และสว นราชการ เปน การดาํ เนินงานประการหนงึ่ ท่ีจะกระทําดวยความ

มงุ หมายหลักทส่ี าํ คญั คอื การปองกนั หรอื ลดการกีดขวางการยทุ ธ และเพือ่ ความปลอดภัยท้งั ของพลเรอื น
และของทหาร กบั เพ่อื นประกันความตอเนอ่ื งในการบรหิ ารราชการแผน ดินในพ้ืนทที่ ่รี ับผิดชอบ

๕.๒ การอพยพประชากรและสวนราชการมหี ลกั ในการดาํ เนนิ งานที่สําคัญสรุปได คอื
๕.๒.๑ การอพยพจะตองกระทาํ ตอเมือ่ มีความจาํ เปน จริง ๆ เทา น้ัน เพราะเปนการปฏิบัติ

ท่ยี ุงยากมาก ลอ แหลมตอ การโฆษณาชวนเชอ่ื ของฝายตรงขา มและตอ การรักษาความปลอดภยั ของฝายเรา
๕.๒.๒ การอพยพของการกระทาํ เม่ือมเี วลา เคร่อื งมอื และสิ่งอํานวยความสะดวกทีจ่ าํ เปน

ท่ีจะทําการอพยพไดอ ยางเพยี งพอ
๕.๒.๓ การอพยพประชากรเปนกลุมกอน ออกจากพื้นที่ใดพ้นื ทห่ี น่ึงจะตองคํานึงถึง

แผนการใชป ระโยชนข องพลังประชาชนเพ่อื การปองกนั ประเทศ หรือเพ่อื ความตองการทางการยุทธดวย
เสมอ

๕.๒.๔ การอพยพประชากรและสวนราชการ จะตอ งสอดคลองกับแผนการปฏบิ ัตกิ ารทาง
ทหาร หรอื แผนการปฏิบัตทิ างยทุ ธวิธขี องหนวย

๕.๒.๕ โดยทีก่ ารอพยพประชากร จากพืน้ ท่ีอันเปนภมู ิลาํ เนาของตนยอ มกอใหเ กดิ ความ
ยุงยากในการดาํ รงชีวิต และเปน ภาระในการดาํ เนนิ การของทางราชการ ดงั นั้นจงึ ตอ งคาํ นึงและเตรียมการ
อพยพกลับถ่ินฐานเดมิ ไวล ว งหนาเสมอ

๕.๒.๖ ควรมอบความรบั ผดิ ชอบในการอพยพประชากร และสว นราชการใหกบั สวน
ราชการพลเรือนตามบทบาท ตามหนาทใี่ หมากทส่ี ุดเทา ท่ีจะทําไดท งั้ น้ี เพ่อื ใหเ กดิ ประสิทธภิ าพและเปด
โอกาสใหหนว ยทหารไดป ฏบิ ัติหนาทีท่ างการรบอยางแทจรงิ

๕.๓ โดยทกี่ ารอพยพประชากรและสว นราชการ จะตองกระทําใหส อดคลองเกื้อกูลตอ แผนการ
ปฏิบัติ หรือแนวความคดิ ทางยทุ ธการของฝา ยทหาร ดังนั้นบทบาทของหนว ยทหารในเรอื่ งนี้ จงึ สรปุ ไดด ังน้ี

๕.๓.๑ พจิ ารณากําหนดความจาํ เปน ในการอพยพ
๕.๓.๒ ประสานการจดั ทาํ แผนการอพยพประชากร และสวนราชการในรายละเอยี ดโดย
สวนราชการพลเรอื น โดยเฉพาะอยา งยิง่ การกําหนด วัน เวลา พ้นื ที่ ขอ จํากดั และการดําเนนิ การตอ ผอู พยพ
เปนตน
๕.๓.๓ สนับสนุนการอพยพสวนราชการพลเรอื นตามความจาํ เปน
๕.๓.๔ ปฏิบัตกิ ารอพยพตามความจาํ เปน ของสถานการณ
๕.๔ เมือ่ มีการตกลงใจจะทาํ การอพยพประชากรเปน กลุม กอนแลว จะตอ งมีการเตรยี มการและ
วางแผนในรายละเอยี ด เพอ่ื ใหก ารอพยพเปนไปโดยเรยี บรอ ย ราบรื่น และไมข ัดขวางการเคลอื่ นยา ยของ
หนว ย หรอื สง่ิ อุปกรณท างทหาร โดยปกตกิ ารจดั ทําแผนการอพยพจะตอ งคาํ นงึ ถึงปจ จัยตา ง ๆ ดงั ตอ ไปน้ี คือ
๕.๔.๑ การนดั หมายและการรวบรวมอพยพ
๕.๔.๒ การตรวจสอบและการทะเบยี นประวตั ิ


๒๐๐

๕.๔.๓ การเดนิ ทางและเครอื่ งมือในการขนสง
๕.๔.๔ การรักษาความปลอดภัย
๕.๔.๕ การเลย้ี งดแู ละการรกั ษาพยาบาลระหวางเดนิ ทาง
๕.๔.๖ การดาํ เนนิ การ ณ พ้นื ท่ีรับผอู พยพ
๕.๔.๗ การเตรยี มการอพยพกลบั ภมู ลิ าํ เนาเดิม
๕.๕ การอพยพพลเรอื น
๕.๕.๑ โดยทวั่ ๆ ไปถา ไมม ีความจาํ เปน แลว จะหลกี เลยี่ งการอพยพพลเรอื นเปน จํานวน
มาก ๆ หรือเปน หมบู าน ทง้ั น้เี พราะ การกระทําดังกลา วมผี ลเสียหลายประการ เชน

๕.๕.๑.๑ เปน การนาํ ออกจากพนื้ ท่ี ทีพ่ ลเรอื นสามารถเลี้ยงตวั เองได
๕.๕.๑.๒ ลอแหลมตอ การถูกโจมตี และจากการโฆษณาชวนเชื่อของขา ศึก
๕.๕.๑.๓ อาจเกดิ ความไมพอใจข้นึ ในหมผู ูอพยพได
๕.๕.๑.๔ ทาํ ใหต อ งมกี ารควบคุมและการจดั ระเบยี บที่ดี
๕.๕.๑.๕ จําเปน ตอ งใหก ารรักษาความปลอดภยั
๕.๕.๑.๖ เปน ภาระตองใชท รัพยากรทางทหาร เพื่อสนบั สนุนการอพยพพลเรือน
เปน ตน
๕.๕.๒ หากเหน็ วามีความจาํ เปนตองทาํ การอพยพพลเรอื นแลว ตอ งไดร ับความเหน็ ชอบ
จากหนว ยเหนอื กอ นทุกครัง้ ตามปกตกิ ารตกลงใจใหท าํ การอพยพได จะอยใู นอาํ นาจของผบู ังคบั บญั ชา
ต้งั แต ผบ.พล. ขนึ้ ไป
๕.๕.๓ การดาํ เนินการอพยพจะตองคํานงึ ถึงการเตรียมการ เพอ่ื สงกลับไปยังภูมลิ ําเนาเดิม
โดยเร็วที่สดุ อยูเสมอ
๕.๕.๔ เหตผุ ลและโอกาสท่ีจะทําการอพยพ การอพยพพลเรอื นควรกระทําเฉพาะเม่อื
จําเปนตอ งปอ งกันมิใหกดี ขวางการปฏิบตั ิ และเพอ่ื ปอ งกันมิใหพ ลเรือนไดร ับอนั ตรายจากการรบเทา นน้ั ทัง้ นี้
โดยคาํ นึงถึงปจ จัยตาง ๆ เชน
๕.๕.๔.๑ มเี วลาเพยี งพอทจ่ี ะทําการอพยพได
๕.๕.๔.๒ พลเรอื นมจี าํ นวน และการรวมกลุมกันจนทาํ ใหจาํ เปน ตองทาํ การอพยพ
๕.๕.๔.๓ มเี ครื่องมอื และยานพาหนะเพยี งพอ
๕.๕.๔.๔ มเี สน ทางที่จะทําการอพยพได
๕.๕.๔.๕ ระยะทางาทีจ่ ะทําการอพยพไมไ กลเกินไป
๕.๕.๔.๖ มพี น้ื ที่ ท่จี ะทาํ การอพยพได
๕.๕.๕ ขอบเขตของการวางแผนการอพยพ ในการวางแผนอพยพพลเรือนเปน จาํ นวน
มาก ๆ จะตองใหค ลอบคลมุ เรื่องสาํ คญั ๆ ดังตอไปน้ี คอื
๕.๕.๕.๑ การจดั หายานพาหนะ
๕.๕.๕.๒ การกําหนดระยะและเสนทาง


๒๐๑

๕.๕.๕.๓ การตรวจสอบและทะเบยี นประวตั ิ
๕.๕.๕.๔ การช้แี จงพลเรอื นกอ นทาํ การอพยพ
๕.๕.๕.๕ การกาํ หนดทรพั ยส นิ ทผี่ อู พยพจะนําไปดวย
๕.๕.๕.๖ การควบคุมการเคลอื่ นยายและการรักษาความปลอดภัย
๕.๕.๕.๗ การเลย้ี งดู การรักษาพยาบาล และการบรกิ ารอนื่ ๆ
๕.๕.๕.๘ การกําหนดพ้ืนท่ีตา งๆ ในการรับผอู พยพ
๕.๕.๕.๙ แผนการสงกลบั ไปยงั ภูมลิ าํ เนาเดมิ หรอื สงตอ ไปยงั พืน้ ที่อน่ื
๕.๕.๖ แผนการอพยพ ในชน้ั นีก้ ารเขยี นแผนการอพยพ ใหใ ชแบบฟอรมของแผนหรอื
คําสัง่ ยุทธการไปพลางกอ น โดยดัดแปลงใหเหมาะสมกบั งานในการอพยพโดยมหี วั ขอ ตอ ไปน้ี
๕.๕.๖.๑ กลาวท่วั ไป (ระบถุ งึ สถานการณและความจาํ เปน ในการอพยพ)
๕.๕.๖.๒ ภารกิจ (ใคร ทําอะไร เมื่อใด ที่ไหน ทําไม)
๕.๕.๖.๓ การปฏบิ ตั ิ

๕.๕.๖.๓.๑ แนวความคดิ ในการปฏบิ ตั ิ
๕.๕.๖.๓.๒ การกําหนดงานแตล ะหนว ย
๕.๕.๖.๓.๓ คาํ แนะนําในการประสาน
๕.๕.๖.๔ การสนับสนุน
๕.๕.๖.๕ การควบคุม/การส่อื สาร
๕.๕.๗ ที่ตงั้ ในการอพยพพลเรอื น ในการรบั และควบคุมผลู ้ภี ัยและผอู พยพ มกั จะมกี าร
กาํ หนดทต่ี ั้งเพอ่ื การควบคมุ ข้นึ ทีต่ ง้ั ท่ีสําคัญเหลาน้ีไดแ ก
๕.๕.๗.๑ ตําบลรวบรวมพลเรือน เปน พนื้ ที่ ท่กี ําหนดข้นึ เพ่อื รวบรวมพลเรือนเปน
กลุมยอ ย ๆ กอ นอพยพ สว นมากจะใชเ วลาในการดาํ เนนิ กรรมวธิ นี อ ยทสี่ ดุ และจาํ มกี ารบริการเฉพาะในกรณี
ฉุกเฉนิ เทานน้ั
๕.๕.๗.๒ ทร่ี วมพล เปน พ้นื ทร่ี วมพลเรอื น ทร่ี บั มาจากตาํ บลรวบรวมพลเรอื น
ตาง ๆ สวนมากเปน พน้ื ทห่ี า งจากการรบ การดาํ เนนิ งานสวนใหญประกอบดว ยการรบั ตวั ไวช ่ัวคราวการฟน ฟู
และการเตรยี มการเพ่อื สง กลบั ภูมลิ ําเนาเดมิ หรอื การสงตอไปยงั พนื้ ทขี่ างหลงั
๕.๕.๗.๓ ศูนยรับผูล ี้ภยั และผอู พยพเปน พ้ืนทีร่ วบรวมพลเรอื นในเขตหลังหรอื
ภายในสวนใหญ ดําเนนิ การโดยหนว ยระดับกองทพั สนามข้นึ ไปและมกั จะใชอาคารทพี่ กั หรอื สิ่งอํานวย
ความสะดวกของพลเรอื นทม่ี ีอยใู นทองถน่ิ
๖. บุคคลพลดั ถนิ่ ผลู ้ีภัย และผอู พยพ
เมอื่ มกี ารรบเกดิ ขนึ้ ประชาชนจะพากนั อพยพเคลื่อนยา ยจากภูมิลาํ เนาของตนไปยงั พืน้ ท่ีที่อ่ืนท่มี ี
ความปลอดภยั ซึง่ การเคล่ือนยายดงั กลาวอาจขัดขวางการเคล่อื นท่ี หรืออาจขดั ขวางการปฏบิ ัติการทางทหาร
๖.๑ การควบคมุ ในระหวา งปฏบิ ัตกิ ารรบนนั้ การควบคมุ การเคลอื่ นยายพลเรอื นเปน ส่งิ จําเปน ทีม่ ี
ความสาํ คัญยิ่ง เพราะการเคล่ือนยา ยกลมุ ชนจาํ นวนมากทไี่ มเปน ระเบยี บ อาจขัดขวางหรอื ทําใหเกดิ อันตราย


๒๐๒

ตอแผนการปฏบิ ัตกิ ารทางทหาร นอกจากนั้นฝายขา ศกึ อาจใชบุคคลพลดั ถน่ิ แลผูลภี้ ยั เปน เครือ่ งมือขัดขวาง
การปฏบิ ตั ิการทางทหารของฝายเราได จึงจาํ เปน อยา งย่งิ ทเ่ี จา หนา ทฝี่ ายปกครอง จะตอ งดําเนนิ การเสียแต
เน่ินๆ มิใหก ารเคล่ือนยายประชาชนในทอ งถิ่นขัดขวางการปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร โดยตนจะตอ งออกคาํ ส่ัง
แนะนาํ และควบคมุ การเคลือ่ นยา ยใหเ รียบรอ ย

๖.๒ ผบู ัญชาการยุทธบริเวณ ตลอดจนผูบงั คบั หนวยทุกระดับ จะตองวางแผนและออกคาํ ส่ัง
คาํ ชีแ้ จงนโยบาย และวธิ กี ารควบคุม ดูแลการขนยา ยบคุ คลพลดั ถ่นิ ผูลภ้ี ัย และผอู พยพโดยยดึ ถือกฎหมาย
ระหวา งประเทศ รวมทง้ั อนสุ ญั ญาเจนวี า ค.ศ.๑๙๔๙ เกย่ี วกับการใหค วามดูแลและปฏบิ ัตติ อพลเรือนและ
ทรัพยส นิ ของพลเรอื นอยางมีมนษุ ยธรรม เปน หลกั ปฏิบตั ิโดยเครงครัด หากเปนไปไดแ ลวจะตองเอาใจใสต อ
สุขภาพอนามยั ของประชาชน เพ่อื มใิ หเ ปน ภัยตอการปฏิบตั ิการทางทหารดวย

๖.๓ บุคคลพลัดถนิ่ ผูล ้ภี ัย และผอู พยพ
๖.๓.๑ “บุคคลพลดั ถนิ่ ” คือ บคุ คลพลเรอื น ผูซ ง่ึ พลดั พราก จากภูมลิ ําเนาของตนไปอยใู น

ประเทศอ่นื เพอ่ื หนีภยั อนั ตรายจากการสูรบภายในประเทศของตน
๖.๓.๒ “ผูลี้ภัย” หมายถึง บคุ คลพลเรือนผซู ง่ึ เคลอ่ื นยายจากภูมลิ ําเนาเดิมไปยงั ประเทศอ่นื

ดวยความสมคั รใจ
๖.๓.๓ “ผอู พยพ” หมายถึง บคุ คลพลเรอื นทถ่ี ูกอพยพ จากภูมลิ ําเนาของตนไปยงั พ้ืนทอ่ี น่ื

ท้ังเพือ่ ความปลอดภยั ของตนเอง และเพือ่ เหตุผลของความจําเปนทางทหาร
๖.๓.๔ กลา วโดยสรปุ “ผอู พยพ” กค็ อื ผูที่ถกู ขอรองใหยา ยออกจากภูมิลําเนาเดมิ ของตนไป

อยยู ังพนื้ ท่ีอ่ืนเปนการชวั่ คราว เพือ่ ความปลอดภยั หรอื เพอ่ื มิใหเกิดการกีดขวางการปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร สว น
“ผลู ี้ภัย” และ “บุคคลพลดั ถ่ิน” ไดแก ผยู ายออกจากภมู ลิ ําเนาเดมิ ของตนดวยความสมัครใจ เพอ่ื ใหร อดพน
อนั ตรายอันเกดิ จากการรบ

๖.๔ การดาํ เนนิ การตอผูอพยพ การวางแผนในรายละเอยี ดเกยี่ วกับการกาํ กับดแู ลและควบคุมบุคคล
พลดั ถิ่น ผลู ภ้ี ัยและผูอ พยพ ควรรวมถงึ ขอบเขตของการสงกลบั และการอพยพ สถานท่ีตง้ั และการจดั ตัง้ คาย
พัก มาตรฐานการครองชีพ การดูแลรกั ษาสถานภาพการแยกบคุ คลพลัดถน่ิ ผลู ี้ภยั และผอู พยพ ออกจาก
พนั ธมติ ร ประเทศเปน กลางและประเทศขา ศกึ ในขั้นสุดทาย ขอ ปฏบิ ัติของเจาหนาทีร่ ัฐบาลตอประชาชน
ชาวตางประเทศ การกําหนดการเคลอ่ื นยายของผูลภี้ ัย ตลอดจนการกาํ หนดเจา หนาท่ี ทหารสารวัตร ตาํ รวจ
เพ่ือใหท ําหนา ทคี่ วบคมุ การจราจร การกาํ หนดหนว ยแยกขา วกรอง เพอื่ ใหค ัดแยกขา ศกึ ออกจากประชาชน
และการกําหนดหนว ยกิจการพลเรอื นข้ึนมาเพอื่ ใหก ํากับดแู ลการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั คายพกั

๖.๔.๑ ในสถานการณท่มี กี ารเปล่ียนแปลงอยา งรวดเรว็ น้นั การใหผลู ี้ภยั ไปอยรู วมกบั
ประชาชนในทอ งถน่ิ ทีอ่ ยใู กล ๆ กับยา นชุมนมุ ชน ยอ มเปน ส่ิงพึงประสงคม ากกวาทจี่ ะใหอยู ณ คา ยพกั ยัง
เขตหลงั เมอ่ื หนวยในแนวหนา รุกคืบหนา ไปในระยะพอสมควรแลว จึงจะอนุญาตใหผลู ้ภี ยั อพยพกลบั ไปยงั
บา นเดิมของตนได แตใ นบางครัง้ อาจมคี วามจําเปนทจ่ี ะตอ งดงึ พวกอพยพไวทศ่ี นู ยร วมประชากรไวเปน การ
ชัว่ คราว ทงั้ นเี้ น่ืองจากความตองการทางดา นการสนบั สนนุ การสงกาํ ลงั บํารุงในสถานการณท ่อี ยกู บั ที่ หรือ
สถานการณเ คลอ่ื นทอ่ี ยา งชา ๆ อาจตอ งมกี ารรวบรวมและอพยพผลู ้ีภัยไปไวใ นเขตหลงั ดว ย


๒๐๓

๖.๔.๒ การาเคลอื่ นยา ย บุคคลพลัดถน่ิ ผลู ้ีภัย และ ผอู พยพ ควรจะไดใ ชถนนสายรองทมี่ ีอยู
โดยพยายามใชก ารขนสง ของพลเรือน และตํารวจใหมากท่สี ดุ

๖.๔.๓ สิง่ สาํ คญั ทส่ี ดุ กค็ อื พยายามใหผลู ภ้ี ยั เดินทางกลบั บา นของตนโดยเรว็ ทส่ี ุดเทาท่ี
สถานการณจะอํานวยให เพอื่ เปน การลดภาระของกําลงั ทหารใหน อยลง ไมทําใหเ ศรษฐกจิ ของพลเรือน
ทรุดโทรมลงไป และโรคตดิ ตอท่อี าจมีในกลมุ พวกลภ้ี ยั กจ็ ะไมแพรไ ปในกลมุ ประชาชนในพน้ื ทีเ่ มอ่ื ผูล ีภ้ ัย
ไดอ พยพกลบั ไปยังภมู ิลาํ เนาเดิมของตนแลว เขาก็สามารถทีจ่ ะชวยบูรณะฟนฟบู า นเมืองของเขาโดยลําพัง
พวกเขาเองก็ได

๖.๔.๔ การดาํ เนินการทเ่ี หมาะสมสาํ หรบั บุคคลพลดั ถ่นิ คือ การจัดหาแหลงพํานกั ใหบ ุคคล
พลดั ถ่นิ ไดอยใู นประเทศทเ่ี ขาประสงคจ ะอยู หรอื ในดนิ แดนที่เปน ไปตามนโยบายของประเทศหรือขอ ตกลง
ระหวา งชาติ การจดั บุคคลพลดั ถน่ิ ใหเ ขา แหลง ทอี่ ยอู าศัยแตเนน่ิ ๆ จะชว ยลดเวลาความรบั ผิดชอบของ
ผบู ังคับบัญชาหนวยทหารใหนอยลง ไมว า สถานการณท ีม่ กี ารเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเร็ว หรอื สถานการณทอี่ ยู
กับทกี่ ต็ าม พวกบุคคลพลัดถ่นิ ควรจะไดร บั การเคล่อื นยา ยเปนกลุมกอน โดยผา นจากท่ีรวมพลไปยงั คายพกั
บคุ คลพลดั ถิ่นโดยเร็วทสี่ ุดเทาท่สี ถานการณจะอํานวยให

๖.๔.๕ สาํ หรบั การเคลื่อนยา ยผอู พยพน้ัน ข้ึนอยกู ับเหตผุ ลในการอพยพแตโดยทัว่ ๆ ไปแลว
ควรสงผูอ พยพไปยังภูมลิ าํ เนาเปนดีทสี่ ุด อยางไรกต็ ามอาจมคี วามจาํ เปนทจ่ี ะตองสง ผูอ พยพใหไปอยใู น
แหลงท่ีจัดไวใ หตามนโยบายของรฐั บาล หรอื ขอตกลงระหวา งประเทศ เนื่องดว ยสถานการณบ งั คับก็ได

๖.๔.๖ เพื่อมใิ หการแทรกซึมจากพวกกองโจร จากฝา ยตรงขาม และมิใหท หารฝายขา ศึก
หลบหนีได จงึ มคี วามจําเปน อยางย่งิ ทฝ่ี ายเราจะตองตงั้ ตาํ บลควบคุม กลั่นกรองบุคคลพลัดถ่นิ ผลู ภ้ี ัย และ
ผอู พยพ คน หาผูตองสงสยั และกําหนดขอ หา มในการเคลือ่ นยา ยขึน้ มา ถึงแมวา ในการกลน่ั กรองนอี้ าจกระทํา
ไดด ว ยการใชห นว ยสารวตั รทหาร หนวยขา วกรองหรือหนว ยอ่ืน ๆ ก็ตามแต ทางที่ดที ่ีสุดแลวควรใช
เจาหนา ทต่ี ํารวจ หรือเจา หนา ที่พลเรือนในทอ งถนิ่ ของฝา ยเราทีไ่ วใ จได โดยใหอ ยูในการกาํ กบั ดแู ลของหนว ย
กจิ การพลเรือนการดาํ เนนิ การในเรอื่ งนี้ จะตอ งกระทาํ ดว ยความระมดั ระวังและรอบคอบ เพอื่ มิใหพวกทใ่ี ห
การสนบั สนนุ ฝายเราอยแู ลว เกดิ ความรสู กึ เปน ปฏปิ กษตอ ฝา ยเราขน้ึ มาได

๖.๕ การสงกลับ
๖.๕.๑ หากเปน ไปไดแ ลว การสงกลบั พลเรือนออกจากเขตปฏบิ ัติการรบ หรอื ในเขตอ่ืนใดก็

ตามไปยังเขตหลังนน้ั ไมค วรกระทาํ เพราะเปนการยา ยประชาชนออกจากถิ่นฐาน บานเรอื นทต่ี นไดสราง
หลกั แหลง ไวม ัน่ คงแลว เปน การเปดชอ งโหวใ หฝา ยขา ศกึ ทาํ การโฆษณาชวนเช่อื ไดก อ ใหเ กดิ ความเกลยี ดชัง
รัฐบาล ทําใหก ารควบคุมการเคลอ่ื นยา ยประสพความยงุ ยาก และทาํ ใหมคี วามไมป ลอดภยั เพิม่ ขึ้น รวมทั้ง
จะตองใหการสนบั สนุนการขนสง ทางทหารและจายส่ิงอุปกรณตา ง ๆ เพมิ่ ขน้ึ เชน อาหาร นา้ํ มนั เชอื้ เพลงิ
เคร่อื งนุงหม และสิง่ อุปกรณสายแพทยน อกจากนนั้ ยงั อาจไดรับโรคติดตอ และทาํ ใหสงิ่ อปุ กรณส ําหรับใช
ในการปฏิบตั กิ ารทางทหารตองลดนอ ยลงดวย

๖.๕.๒ ถาหากสถานการณท างยทุ ธวิธีบังคบั แลว อาจตองทําการอพยพประชาชนพลเรือน
ออกจากพนื้ ทใี่ นแนวหนา และไมอ นุญาตใหป ระชาชนกลบั บานของตน จนกวาหนว ยทหารฝายเดียวกันจะ


๒๐๔

ไดรุกคืบหนา ไปแลว การยา ยประชาชนออกอาจกระทาํ เปนบางสว น หรือท้ังหมดเลยก็ได ท้งั นีแ้ ลว แตสภาพ
ความปลอดภยั จะมีอยูเ พยี งใด แตเ มื่อไดออกไปจากพืน้ ทนี่ ั้นแลว ประชาชนเหลา นี้จะกลับคืนสูบ านของตน
ยงั ไมได จนกวาจะไดร ับอนญุ าต อยางไรกต็ ามเม่ือสถานการณท างทหารอาํ นวยให ประชาชนกค็ วรจะได
กลับบานของตน โดยใหม ที หารคอยใหค วามคุมครองไปดว ย เพอื่ ใหข า วของและสตั วเ ลีย้ งทอ่ี ยใู นความ
ครอบครองของประชาชนไดร บั การสญู เสียนอยทส่ี ดุ การเศรษฐกจิ ของทอ งถิน่ กจ็ ะไมท รดุ โทรมลงดว ย

๖.๕.๓ การตกลงใจในเรอ่ื งเกี่ยวกับการสง กลับนี้ ควรอยูในอํานาจของผูบ งั คบั หนว ยระดบั
กองพลหรอื สงู กวา ขนึ้ ไป การสง กลบั ผา นเขตหลังของกองพล การกระทาํ ตอเมื่อไดประสานการปฏบิ ตั ิกับ
หนว ยระดับกองทพั นอย หรอื กองทัพสนามแลว

๖.๕.๔ การสง กลบั พลเรือนไปยงั เขตหลังจะกระทาํ ตอ เมอ่ื มีความจําเปน เพื่อ
๖.๕.๔.๑ มใิ หข ัดขวางการปฏิบัตกิ ารทางทหาร
๖.๕.๔.๒ เพ่อื ความปลอดภยั ใหแ กห นว ยทหาร และท่ตี ง้ั ทางการทหาร และเพอื่ ให

ความปลอดภยั แกขาวสารทางทหาร
๖.๕.๔.๓ ใหป ระชาชนพลเรือนไดร บั ความปลอดภัยและสวสั ดิการดขี น้ึ

๖.๕.๕ การสงกลบั พลเรือนจะตอ งดําเนินการในเมื่อ
๖.๕.๕.๑ มเี วลาเพยี งพอทจ่ี ะทาํ การสงกลบั ได
๖.๕.๕.๒ ความหนาแนน อปุ นสิ ยั และลกั ษณะของประชาชนพลเมอื งบงถึงความ

จาํ เปนในการอพยพ
๖.๕.๕.๓ มเี คร่ืองมอื ในการสงกลับเพยี งพอ
๖.๕.๕.๔ มีเสน ทางสงกลับเพยี งพอ
๖.๕.๕.๕ มพี นื้ ทีใ่ หเขา พกั อาศยั เพยี งพอ
๖.๕.๕.๖ ระยะทางไมไ กลเกนิ ไป
๖.๕.๕.๗ กมั มันตภาพรังษี จากการโจมตีดว ยอาวธุ นวิ เคลียรไมก ระทบกระเทอื น

ตอ การอพยพ
๖.๕.๖ หนา ทข่ี องผบู งั คบั หนวยกจิ การพลเรอื น ในการดาํ เนนิ การสง กลับนัน้ ยอมรวมถงึ

เรือ่ งตา งๆ ดงั ตอไปน้ี
๖.๕.๖.๑ กํากบั ดแู ลการปฏบิ ัตติ ามแผนการสง กลบั
๖.๕.๖.๒ การใชการขนสง ของพลเรอื นใหม ากทสี่ ุด
๖.๕.๖.๓ การจัดต้ังตําบลเลย้ี งอาหาร ตามเสนทางสงกลบั
๖.๕.๖.๔ การจดั เตรยี มแผนสําหรบั การรบั เขา ท่ีพกั แหง ใหมใหเ รยี บรอย
๖.๕.๖.๕ การจัดเตรยี มเกย่ี วกบั การจดั ตัง้ ตาํ บลรวบรวมพลเรอื น และพื้นท่ีรวมพล

สาํ หรับพลเรอื น


๒๐๕

๖.๕.๗ เม่ือมีการสงกลับพลเรอื นจาํ นวนมาก แผนการสงกลับท่ีวางไวจะตองละเอยี ด

รอบคอบและรดั กมุ เพอื่ ปอ งกนั มใิ หเกดิ มกี ารกอกวนจากพลเรอื นบางกลมุ จนทําใหก ารเคล่ือนยา ยหนว ย

ทหารและส่งิ อปุ กรณท างทหารไปขางหนา จะตองชะงกั หรอื มกี ารสูญเสียเกดิ ข้ึนแผนการสง กลับควรรวมถึง

๖.๕.๗.๑ การขนสง จะตองใชก ารขนสง ของพลเรือนใหม ากทส่ี ุด หากมี

ไมเพยี งพอแลว กอ็ าจใชก ารขนสงของทหาร เพือ่ จัดการขนสงใหแ กคนชรา เด็ก และผเู จ็บปวย

๖.๕.๗.๒ ระยะทางจะตองไมไกลจนเกนิ ไป จนไมส ามารถทจ่ี ะบรรลจุ ุดประสงค

ตามแผนการสง กลับได

๖.๕.๗.๓ กมั มันตภาพรังษี เมื่อมีกมั มนั ตภาพรังษีเกดิ ขน้ึ จะตอ งมกี าร

หามเคล่ือนยา ยพลเรอื นไปทางใตท ศิ ทางลม โดยนับจากบริเวณทีก่ มั มนั ตภาพรงั ษี หรือการโจมตดี ว ยอาวธุ

นวิ เคลียร

๖.๕.๗.๔ การกลั่นกรอง การคัดแยกบคุ คล และการตรวจสอบความปลอดภยั ของ

ผอู พยพควรกระทาํ แตเนน่ิ ๆ

๖.๕.๗.๕ การแสดงตนถา หากเปน ไปไดแ ลว ผูอ พยพทกุ คนควรติดปา ยชือ่ ของตน
ไว และมีบตั รประจําตวั ซึ่งแสดงถึงตาํ บลท่อี ยูทีไ่ ดอ พยพออกมา และขาวสารอื่น ๆ ทจ่ี ําเปน

๖.๕.๗.๖ การอธิบายชีแ้ จงใหแ กผ อู พยพทราบ กอ นทีจ่ ะดาํ เนินการสง กลบั ควรจะ
ไดมีการช้ีแจงใหท ราบถึงความมงุ หมายในการเคล่ือนยา ย ขอจาํ กดั ในการนาํ สิง่ ของติดตวั ไปรวมทั้งวธิ ีการ

หลบภยั ทางอากาศดว ย โดยจดั ทาํ ในรปู ของใบปลิว เครอ่ื งขยายเสียงปายโฆษณาหรอื เคร่อื งมอื อน่ื ๆ
๖.๕.๗.๗ ของใชส ว นตวั ทกุ คนที่ไดร บั การสง กลับยอมจะไดรับอนญุ าตใหน าํ ของ

ใชส ว นตวั ที่จาํ เปน ไปได

๖.๕.๗.๘ เสบยี งอาหาร ถา หากการเคล่ือนยา ยนั้นใชเ วลาไมเ กนิ ๒ วนั ควรจะไดมี

การแจกจา ย ณ จุดเร่มิ ตน หรอื ณ ตาํ บลใดตาํ บลหนึ่งทก่ี าํ หนดขึน้ ตามเสน ทางสง กลับกไ็ ด

๖.๕.๗.๙ ลาํ ดบั ความเรง ดว น ภารกจิ ยอ มเปนเครอื่ งพจิ ารณาถงึ ข้นั ตอนและหวงใน

เวลาการสง กลบั ของผอู พยพแตล ะพวก

๖.๕.๗.๑๐ พนื้ ทร่ี วมพลและคา ยพัก ทพ่ี ักอาศยั จะตองไมเ ปนการทาํ ลายสุขภาพ

หรือกอความลําบากใหกบั ผอู พยพ การแจกจายอาหาร น้ํามันเช้ือเพลงิ เครอื่ งนุงหม และยารกั ษาโรค ควร

กระทาํ ใหเ สร็จเรยี บรอยกอนที่ผอู พยพจะเขา ไปในท่รี วมพล

๖.๕.๗.๑๑ การรกั ษาพยาบาล สขุ ภาพอนามยั และความเปน อยูของผอู พยพ นับวา

เปน สิง่ จําเปนยงิ่ การรักษาพยาบาลทางพลเรือน ควรไดใชใ หเปนประโยชนอ ยา งสงู สุด และใชก าร

รกั ษาพยาบาลทางทหารเสริมตามความจาํ เปน ใหก ารรักษาพยาบาลไดม าตรฐาน

๖.๕.๗.๑๒ การปฏิบตั ิการทางศาสนา ควรจดั ใหมีสงิ่ อํานวยความสะดวก

ทางศาสนา หรือจดั อนศุ าสนา เขา ชว ยเจา หนาท่ศี าสนาท่ีเปนพลเรือน เพอ่ื ใหผ อู พยพปฏิบัติศาสนกจิ

๖.๕.๗.๑๓ หว งเวลาในการสง กลบั ไมค วรจะนานเกนิ ไป จะไมบ รรลตุ าม

วตั ถปุ ระสงคของการเคลอ่ื นยา ย


๒๐๖

๖.๕.๗.๑๔ การกลบั ภูมลิ าํ เนา แผนการสงกลบั ผูอพยพกลับสภู ูมิลาํ เนาเดมิ เปน
จาํ นวนมากๆ นั้น จะตองดําเนินการใหถ ูกตอ งตามหลกั เกณฑ เพ่ือจะไดพ ิจารณาถงึ หวงเวลาในการสงกลบั

๖.๕.๘ ตามปกตจิ ะมคี าํ สั่งใหพลเรือนอยปู ระจํา ณ ภูมลิ ําเนาเดิม เพอื่ จะไดไ มข ดั ขวางตอ
การปฏิบัตกิ ารทางทหาร และเพ่ือเปน การปองกนั การเปด เผยแผนการปฏิบัติการทางทหารอยางไรกด็ ใี น
ระหวางการรนถอย มักจะปรากฏวา พลเรือนไมปฏบิ ตั ติ าม เพราะเกรงวาตนอาจไดร ับอนั ตรายจากขา ศกึ
ดงั น้ันการสง กลับไปยงั ขา งหลงั โดยแบง แยกเปน ประเภทตามความเรงดวนในกรณพี ิเศษควรกําหนดไวใน
นโยบาย และนโยบายนีผ้ บู ังคับหนวยทางยทุ ธวิธคี วรไดม ีการสง เสรมิ อยางเต็มที่ ในเมอ่ื สถานการณอํานวย
ให ลาํ ดับความเรงดวนในการสงกลับ ประชาชนและทรพั ยากร อาจแบงได ดงั นี้.-

๖.๕.๘.๑ บุคคลผซู ง่ึ อาจถูกแกแ คน เชน เจา หนาทพ่ี ลเรือนหรือผูนํากลมุ ตอ ตาน
๖.๕.๘.๒ เจา หนาท่ีพลเรอื น ทเ่ี ปน นกั วทิ ยาศาสตร แพทย หรือเจาหนา ท่ที างศาสนา
๖.๕.๘.๓ เจาหนาท่ตี ํารวจ
๖.๕.๘.๔ วัสดตุ า ง ๆ ที่อาจมคี ณุ คาตอ ขา ศึก ทงั้ นไี้ มนับรวมถึงสงิ่ อุปกรณส าย
แพทย หรือสง่ิ อุปโภคบริโภคทม่ี ีความจาํ เปนตอ พลเรือน ทรพั ยสนิ สว นตวั หรอื ยทุ ธภณั ฑทีบ่ งไวใ น
กฎหมายระหวา งประเทศ หรือทเ่ี กยี่ วกับการพิจารณาทางดานมนษุ ยธรรม ยทุ โธปกรณห รือวสั ดุอน่ื ๆ ท่ีอาจ
ดัดแปลงใหเปน ประโยชนตอ กองทพั ขา ศกึ ซ่งึ ไมสามารถสง กลับได เชน ผลติ ภณั ฑท างดา นนาํ้ มนั เชอื้ เพลงิ
อาวธุ เคร่ืองมือขนสงหลัก ๆ รวมท้งั เคร่อื งมือสื่อสารของพลเรอื นควรจัดทาํ ลายเสีย
๖.๖ ท่ีรวมพลและคา ยพกั
๖.๖.๑ พืน้ ทีร่ วมพล เปน บรเิ วณทบ่ี คุ คลพลดั ถน่ิ ผูลีภ้ ัยและผอู พยพมาชุมชนกันชว่ั คราวเพอ่ื
เตรยี มการท่ีจะเคล่ือนยายตอ ไปยังคายพกั หรอื เขา ไปสแู หลง ทก่ี าํ หนดไวใ นชุมชนของทอ งถิ่น ตามปกตแิ ลว
พ้นื ท่รี วมพล จะตอ งมีขนาดใหญก วาตําบลรวบรวมพลเรือน และเปน ทซ่ี ่ึงจะไดใหการบรรเทาทุกขเพิม่ เตมิ
รวมท้ังอาหาร เครือ่ งนงุ หม ยารกั ษาโรค การรักษาพยาบาล และที่พกั อาศัยอยางจํากัดในพืน้ ที่รวมพลน้ีหนวย
ทหารสารวัตร จะตอ งดาํ เนนิ การกลัน่ กรอง เพื่อแยกเชลยศึกกับพลเรอื นผตู อ งสงสัยออกจากกนั
นอกจากน้นั ยงั จะตองมีการแบงแยกตามเชื้อชาติ ศาสนา เพอ่ื แยกสง ไปยงั คา ยพกั ตา ง ๆ รวมท้ังการ
พิจารณาวา พลเรอื นคนไหน มีทาทีจะเปน ปฏิปกษตอ รัฐบาลซงึ่ จะตองดาํ เนินการ ณ ทน่ี ้ีดวย
๖.๖.๒ พื้นทีร่ วมพลและคายพัก จะเปน แหลง รวมกลมุ ของบคุ คลพลดั ถิ่นผลู ภี้ ัย และผอู พยพ
ชั่วคราว กอ นท่จี ะสงไปยังแหลง ท่ีจัดหาไวใ ห หรือไปยังประเทศตาง ๆ ทเี่ กยี่ วของตามปกติแลว พน้ื ท่ีรวมพล
และคายพกั นี้ จะอยใู นพน้ื ท่เี ขตหลงั ของกองทพั สนาม หรือเขตภายในคายพักตาง ๆ ควรใชส ่ิงอาํ นวยความ
สะดวกของพลเรือนทมี่ ีอยู หรือใชส ่งิ ปลกู สรา งของทหารเพิ่มเติมก็ได
๖.๖.๓ ในคา ยพักตาง ๆ เหลา นี้ จะตองจัดการคดั แยกบคุ คลพลดั ถ่นิ ผลู ี้ภัย และผอู พยพออก
ตามเชอ้ื ชาติ ศาสนา รวมท้ังการแยกพลเรอื นขา ศึก ผูต อ งสงสัย การตรวจโรคระบาด และ โรคติดตอ การ
บนั ทกึ ประวตั ิบุคคล การจัดตงั้ กลุมครอบครวั การแจกจายอาหาร เคร่อื งนุงหมและยารักษาโรค และการจดั
เตรยี มการสงกลับตอไปดวย


๒๐๗

๖.๖.๔ ในการกําหนดทต่ี ัง้ พน้ื ทรี่ วมพล และคา ยพกั นพ้ี ึงหลกี เลย่ี งพืน้ ทที่ ีอ่ ยใู กลเ คียงกับ
บรเิ วณเปา หมายของการโจมตี เชนศนู ยก ารคมนาคม และทีต่ ้งั ของการทหารขนาดใหญ เปน ตน ในการ
เลือกใชสงิ่ อาํ นวยความสะดวกทางพลเรือน เพ่อื ใชเ ปน ที่รวมพล หรือคายพักนน้ั ควรจะไดพ ิจารณาเพง เล็งถึง
ปจ จยั ตาง ๆ ดงั ตอไปนี้ดว ย คือ หลงั คาของอาคารในคายพกั นน้ั ใหส ามารถกนั ฝนได พน้ื มีความแขง็ แรงมี
ระบบการระบายอากาศ น้าํ ประปา และระบบการระบายสงิ่ ปฏิกูลดพี อและอยใู กลเ คียงกบั แหลงสิง่ อุปกรณ
ประเภทอาหารในทองถนิ่ ปจ จัยอกี ประการหนงึ่ ท่ีจะตอ งนํามาพิจารณาในการกําหนดบริเวณท่ตี ้งั คา ยพกั ก็คอื
พิจารณาวาพลเรอื นในบริเวณนน้ั สามารถนาํ แรงงานพลเรือนมาใชไดเ พยี งใดหรอื ไม

๖.๖.๕ ลักษณะการกอ สรา งคายพกั นน้ั อยางนอยทสี่ ดุ ควรจัดสรางขน้ึ ใหเ หมาะสมกบั
สถานการณขณะนน้ั ซ่ึงขนึ้ อยูกบั สภาพลมฟาอากาศ ความคงทนถาวรจาํ นวนคา ยพกั แรงงานและวสั ดุ
กอ สราง และการใชยทุ ธภัณฑทางทหารจากหนว ยทหารชางท่ีมีอยขู ณะนน้ั และถา หากเปน ไปไดแ ลว
ควรมอบใหบคุ คลพลัดถน่ิ ผูลีภ้ ยั และผูอพยพ หรอื เจาหนาทพ่ี ลเรอื นในทองถนิ่ เปนผูด าํ เนนิ การกอ สราง
คายพกั ข้นึ มาเองโดยใชว สั ดกุ อสรา งทีม่ อี ยภู ายในทองถิน่ ใหม ากท่ีสดุ

๖.๖.๖ การบรหิ ารงานและการปฏบิ ตั งิ านภายในพน้ื ทร่ี วมพล และคา ยพกั ควรใหหนว ย
กิจการพลเรอื นเปนผูดําเนินการ สง ชดุ การในหนา ทต่ี าง ๆ หรือเจา หนา ทผี่ ูชาํ นาญการ เชน ชดุ บคุ คลพลัดถนิ่
ผูลี้ภัย และผอู พยพ ชุดสาธารณสขุ หรอื ชดุ ประชาสงเคราะห หรอื ชุดความปลอดภัยสาธารณะไปชว ย
เพม่ิ เตมิ ใหแ กค า ยพักแหง ใดแหง หนงึ่ โดยเฉพาะตามความจําเปนของสถานการณ

๖.๖.๗ เจา หนา ทป่ี ระจําคา ยพัก จะตองรับผิดชอบดแู ลกจิ การตา งๆ ภายในคายพกั รวมท้ังการ
ชวยเหลอื ทางดานการรกั ษาความปลอดภยั ภายใตข อจํากัดท่ีบงไวใ นกฎหมายระหวา งประเทศนนั้ คา ยพัก
ควรหาลูกจา งไวป ระจาํ ตามความจาํ เปน แตจ ะตอ งไมเกินจํานวนทจี่ ํากัดไว และถอื วาลกู จางประจาํ น้เี ปน
แรงงานพลเรอื นเชน กนั นายทหารตดิ ตอ ของพนั ธมติ ร ผูแทนองคการระหวางประเทศ และผแู ทนของ
รัฐบาลทองถิ่น ควรทําการตรวจเย่ยี มคายพกั ไดตามความเหมาะสม
๗. ฝอ.๕ ในการปอ งกนั และปราบปรามผูก อความไมส งบ หรือการตอสูเ พ่ือเอาชนะคอมมิวนสิ ต

ในการปองกนั และปราบปรามการกอ ความไมสงบหรือการตอ สู เพ่ือเอาชนะคอมมิวนิสตน นั้
ฝายรฐั บาลจะพยายามดําเนนิ การในทกุ วถิ ที าง เพื่อใหไ ดม าซง่ึ ความรวมมอื สนับสนุนจากประชาชนดงั นน้ั ใน
สถานการณเ ชน นี้ การดาํ เนินงานในสายงานกจิ การพลเรือน จึงนบั วามีความสาํ คัญตอ การปราบปรามการ
กอ ความไมสงบ และพอสรุปการดําเนนิ งานที่สําคญั ดงั นี้.-

๗.๑ การดําเนินงานทางการเมอื ง ตามนโยบายตอ สเู พอ่ื เอาชนะคอมมวิ นสิ ต ตามคาํ ส่งั สํานกั
นายกรัฐมนตรี ที่ ๖๖/๒๕๒๓ ลง ๒๓ เม.ย.๒๓ ซ่ึงไดเนน ถึงการรกุ ทางการเมืองอยางตอเนื่องโดยเนนหนกั
ในการปฏิบตั ทิ งั้ ปวง เพ่ือรดิ รอนทาํ ลายขบวนการแนวรว มและกองกําลังตดิ อาวธุ เพ่อื ยุตสิ ถานการณป ฏวิ ตั ิ
หลกี เล่ยี งการปฏบิ ัติตาง ๆ ซ่ึงอยใู นสภาพยดื เยื้อ โดยจะตองกลับเปน ฝายรุกทางการเมอื งซ่งึ ไดแกการปฏบิ ตั ิ
ทั้งสน้ิ ทส่ี ง ผลใหป ระชาชนสํานึกวา แผน ดนิ น้ี เปน ของทกุ คนท่จี ะตอ งปกปกรกั ษา ประชาชนสวนรวมในการ
เปน เจา ของและไดร ับผลประโยชนต ลอดระยะเวลาของการตอสเู พ่อื เอาชนะคอมมวิ นสิ ต งานการเมอื งเปนสิ่ง
ช้ขี าด งานทางทหารจะตองสนับสนุน และสงเสริมการบรรลุภารกจิ งานทางการเมอื งเปน สาํ คัญ


๒๐๘

การดําเนนิ งานทางการเมืองเปน การดําเนนิ งานทีม่ ีความมุงหมายในการปลูกฝง ความสามคั คี ความรัก

ประเทศชาตใิ หก บั ประชาชน เปล่ียนทาทแี ละทัศนคตแิ ละพฤติกรรมของประชาชนใหมาเปน ฝา ยรัฐบาล โดย

การสรางศรัทธาเลอ่ื มใสตอ ประชาชนใหเชอื่ ฟง ในระบอบการปกครอง ของฝายเราไมใ หหลงเชื่อฝา ย

ตรงขาม การดําเนินงานทางการเมืองเพื่อใหบรรลุความมุงหมาย วัตถปุ ระสงคดงั กลา วประกอบดว ย

๗.๑.๑ การอบรมฟน ฟปู ระสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ านของรฐั บาล

๗.๑.๒ การ ปจว. และชวยเหลอื ประชาชน

๗.๑.๓ การขจดั โครงสรางทางการเมอื งของฝายตรงขาม

๗.๑.๔ การสรา งพลังประชาชนในทกุ รปู แบบเพอ่ื สกัดกนั้ ขยายตวั ของฝายตรงขาม

๗.๑.๕ การพฒั นาชว ยเหลือราษฎรตามโครงการตา ง ๆ

๗.๒ การสนบั สนุนการพทิ กั ษป ระชาชนและทรัพยากร การพิทักษประชาชน และทรพั ยากรเปน การ
ปฏิบตั ิแบบหนึ่ง ซ่งึ มคี วามมุง หมายหลักในการทาํ ลายองคก ารกอความไมสงบดว ยการเขา ควบคมุ ประชาชน

ทรัพยากรของชาติเพือ่ ไมใหส นับสนนุ การกอ ความไมส งบ การพทิ กั ษป ระชาชนและทรัพยากร ปกติเปน
ความรับผิดชอบของเจา หนา ที่ฝา ยปกครองฝา ยทหารจะเขา ไปรวม เมอ่ื การกอความไมสงบน้ันรุนแรงเกนิ ขดี
ความสามารถในการปฏิบัตขิ องเจา หนาทฝี่ ายบานเมอื ง วัตถปุ ระสงคใ นการพิทกั ษประชาชน ทรัพยากรก็
เพอ่ื ตดั การสนบั สนุนระหวางประชาชนกบั กองโจรคนหาและตดั รอนองคกรและการปฏิบัตขิ องผกู อ ความไม
สงบในชมุ ชน ตลอดจนสรางสรรคส ภาพแวดลอ มท่ีปลอดภยั ท้งั รา งกายและจติ ใจใหกบั ประชาชน ซงึ่ ไดแ ก

มีการคุมครองประชาชนมคี วามสามัคคีในหมบู า นตลอดจนมกี ารพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง การ
ที่จะใหการพทิ กั ษป ระชาชน ทรพั ยากรเปนไปอยา งมีประสิทธิภาพ บรรลุความมุง หมายจะตองกําหนด

มาตรการตางๆ ในการปฏิบัตกิ ารพิทกั ษป ระชาชน ทรพั ยากร ซง่ึ ไดแ ก

๗.๒.๑ การเฝา ตรวจใชเ ปน เครื่องมอื ในการตรวจกระทําผดิ กฎหมายหรอื ไมพึงประสงค

๗.๒.๒ การกาํ หนดขอ หา ม เปน มาตรการในการลดขอบเขต หรือจํากัดการปฏบิ ัตขิ อง

ประชาชนทอ่ี าจจะใหก ารสนับสนุนผกู อความไมส งบ

๗.๒.๓ การบังคับ การใชอํานาจตามกฎหมายเพือ่ รกั ษาความสงบเรยี บรอ ยและความ

ปลอดภยั ของสังคม

๗.๓ การพฒั นาพลังประชาชน พลังประชาชนเปนสิ่งสําคญั มากในการปอ งกันปราบปรามการกอ

ความไมส งบเน่ืองจากพลังประชาชนมปี รมิ าณเหนือกวา ฝายคอมมิวนสิ ตอ ยางมหาศาล หากไดม ีการจดั ตั้ง

และใชอยางเหมาะสมแลว จะเปน สง่ิ ที่สามารถยุติการตอสดู วยอาวธุ ลงไดอยางไมมปี ญหาซึ่งจะมีผลใหยุติ

สงครามปฏวิ ตั ขิ องพรรคคอมมิวนสิ ตแ หงประเทศไทย ในปจจุบันรฐั บาลก็ไดจ ัดต้งั และสนับสนุนการจดั ต้ัง

มวลขน ฝกในลักษณะกําลงั กึง่ ทหารในชนบทและหมูบา นเปนจาํ นวนมาก

๗.๔ การพฒั นาเพือ่ ความมนั่ คงในพน้ื ท่ี เปนโครงการปรับปรุงพน้ื ที่เพอื่ ยกระดบั ความเปนอยูของ

ราษฎรใหด ีขน้ึ และเปน โครงการสรางทางเพอ่ื ประโยชนท างดานการทหารซ่งึ จะเปน ผลโดยตรงตอ

ความสาํ เรจ็ ของงานทางดา นการเมอื ง การกาํ หนดพื้นทใ่ี นการพัฒนา เพอ่ื ความมนั่ คงควรพจิ ารณาในเร่ือง

ตอ ไปน้ี


๒๐๙

๗.๔.๑ ควรเปน พนื้ ท่ลี อ แหลมที่ ผกค. เร่ิมเขามีอทิ ธิพลกับประชาชนหรอื เปนพนื้ ทที่ ี่ ผกค.
ยังแผอิทธิพลไมถึง แตเปน พืน้ ทคี่ าดวา ผกค. จะขยายเขา ไปมีอิทธิพลไดงา ย

๗.๔.๒ ควรเปน พื้นท่ชี ายแดน หรอื รอยตอ ระหวา งจังหวดั ที่มีปญหาทั้งทเ่ี กยี่ วกบั ผกค.
และปญหาระหวา งประเทศ

๗.๔.๓ ควรเปน พ้ืนท่ี คาดวาจะเปน แหลง สะสมกาํ ลังของฝายตรงขา ม
๘. การชว ยเหลอื ประชาชน

พนั ธกิจ สธ.๕ หรอื ฝอ.๕ หรือนายทหารฝายกิจการพลเรอื นทีม่ ีความรบั ผดิ ชอบทางฝา ยอาํ นวยการ
ตอ ผูบังคบั บัญชา คอื การพฒั นาเสริมความมั่นคง หรอื การชว ยเหลอื ประชาชน

๘.๑ คําแนะนาํ การปฏิบัตกิ ารชวยเหลือประชาชน โดยหนว ยทหารของกองทัพบกตามคาํ สง่ั
กองทพั บก ที่ ๒๙๘/๒๕๑๙ เรือ่ ง นโยบายการชว ยเหลอื ประชาชน ลง ๙ ม.ิ ย.๑๙ คาํ แนะนําน้จี ะเปน เสมือน
คูมือในการแนะแนวทางสาํ หรับหนวยตางๆ ในกองทัพใหส ามารถชว ยเหลอื ประชาชนไดอ ยา งมปี ระสิทธผิ ล
และถูกตองตามนโยบายของกองทพั บกทไี่ ดร ะบไุ วใ นคําสั่งที่อา งถึง

๘.๒ วัตถปุ ระสงคก ารชว ยเหลือประชาชนของกองทัพบก มีวัตถปุ ระสงคที่สาํ คัญดังตอไปน้ี.-
๘.๒.๑ สนบั สนุนนโยบายของรฐั บาลในการพฒั นาทองถิ่น โดยเสริมงานดา นการพฒั นา

ประเทศของหนว ยงานอนื่ ๆ ของรฐั บาล
๘.๒.๒ ใหประชาชนมีความรูสึกวา ทหารเปนมิตรของประชาชนและใหการสนับสนุนการ

ปฏบิ ัตกิ ารของหนว ยอยางเต็มท่ี
๘.๒.๓ เพือ่ ใหไดม าซงึ่ ขาวสารท่จี ําเปน แกการปฏบิ ัตกิ ารทางทหาร และการรักษาความ

มน่ั คงของประเทศชาติ
๘.๒.๔ เพ่อื สนบั สนนุ และสง เสริม แผนงานปองกนั และปราบปรามคอมมิวนสิ ตข อง

กองทพั บกใหไ ดผ ลดียงิ่ ขน้ึ
๘.๓ ลักษณะของการชวยเหลือประชาชน การชวยเหลอื ประชาชนกระทาํ ได ๒ ลกั ษณะคือ.-
๘.๓.๑ การชว ยเหลอื ประชาชน ตามแผน – งาน – โครงการประจําปงบประมาณทห่ี นวยเสนอขอ

และไดร ับอนมุ ตั ิแลว
๘.๓.๒ การชว ยเหลอื ประชาชน เปนกรณพี เิ ศษ จากทกี่ าํ หนดไวใ น แผน – งาน -โครงการ

๘.๔ หลกั การดาํ เนินการ
๘.๔.๑ เน่ืองจากประเทศไทย ตกอยใู นภาวะลอ แหลมตอ อนั ตรายจากการแทรกซึม

บอ นทาํ ลายของกลุมบคุ คล ซ่งึ นยิ มลัทธกิ ารปกครองอ่ืน ทม่ี ใิ ชก ารปกครองแบบประชาธปิ ไตย อนั มี
พระมหากษตั ริยเปนประมขุ ดังน้ันเปาหมายของการชว ยเหลือประชาชน จงึ กําหนดนํ้าหนกั และความ
เรงดวนใหก ับประชาชนท่ีอาศัยอยูใ นพนื้ ที่ ซึง่ มกี ารปราบปรามการกระทาํ อันเปน ภยั ตอความมนั่ คงของชาติ
ของกลุม บคุ คลดังกลาว

๘.๔.๒ การชว ยเหลอื ประชาชน ควรมุง เนน หนักไปในทางสง เสริมใหป ระชาชนรวมตวั กนั
แกป ญ หาตนเอง โดยอาศยั แนวทางปฏบิ ตั ิตามพระราชบัญญัติ หมูบานอาสาพฒั นาปองกนั ตนเอง พ.ศ.


๒๑๐

๒๕๑๘ (หมบู า น อพป.)เปนหลกั การใชก าํ ลังทหารและการใชเ คร่ืองมอื ทุนแรงของทหารตลอดจน
งบประมาณเปน เพียงเพอื่ เสรมิ หรือผลกั ดันใหประชาชนรวมตวั กนั แกปญหาของตนในขัน้ ตน หรือพัฒนา
กา วหนาตอไปได

๘.๔.๓ การชว ยเหลอื ประชาชนตามขอ ๘.๓.๑ จะตอ งมีการสาํ รวจความตอ งการของ
ประชาชน ทําแผนและความตอ งการงบประมาณเสนอตามสายการบังคับบญั ชาถงึ กองทัพบกทุกครั้งโดยถอื
หลกั ประหยดั และไดผลคุมคา การเปลย่ี น แผน – งาน – โครงการ ใหผูบ ังคับบัญชาระดบั แมท พั ภาค มี
อํานาจส่งั การได สําหรบั หนวยขึ้นตรงกองทัพบกอื่นๆ รวมทงั้ หนวยท่มี ีฐานะเทยี บเทา กองพล หรอื สว น
การศกึ ษาของกองทัพบก ซงึ่ สังกดั หรือฝากการบังคับบญั ชา ไวก ับหนว ยนั้น ๆ ใหผ บู งั คับบัญชามีอาํ นาจสง่ั
การได และเมอื่ เปลีย่ น แผน – งาน – โครงการ แลว ใหก องทัพบกทราบ

๘.๔.๔ การชว ยเหลอื ประชาชน ตามขอ ๘.๓.๒ ซง่ึ เปน การชว ยเหลอื ในกรณเี รง ดว นหรือ
แกไ ขปญหาเฉพาะหนา ใหผ บู ังคับหนวยใชด ุลพินจิ ดาํ เนินการไดทนั ที โดยไมตองดาํ เนนิ การตาม แผน –
งาน – โครงการ คงใหถ อื หลักประหยดั และไดผ ลคุม คา เปน แนวทาง หากตองการใหห นว ยเหนือสนับสนุน
เปน กรณพี เิ ศษ ใหรายงานตามสายการบังคับบัญชา จนถงึ กองทพั บก

๘.๔.๕ การชวยเหลือประชาชนตามคาํ สัง่ น้ี ไมว า กรณใี ด จะตอ งไมข ดั หรอื กอใหเ กิดผล
เสยี หายตอ กิจการทางทหาร

๘.๔.๖ กอ นทาํ การชว ยเหลือประชาชน หากทาํ ได ควรใหมกี ารประสานกบั สว นราชการ
อ่ืน ๆ ในพ้นื ทเี่ สยี กอน เพอ่ื ปอ งกันมใิ หการปฏิบตั ิงานซา้ํ ซอ นกันข้ึนโดยเปลาประโยชนใ หผ ปู กครองทองถ่นิ
เปน ทางราชการ

๘.๔.๗ การบรกิ ารทางดานการแพทย กระทําเพ่ือเปน การเพมิ่ เตมิ งานของกระทรวง
สาธารณสุข และเพอ่ื หวังผลทางดานจิตวทิ ยา การจายยาและเวชภณั ฑ ควรจายใหเ ทาทจ่ี ําเปนแกก าร
รักษาพยาบาลขั้นตน

๘.๔.๘ การแจกจา ยเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภค ควรพิจารณาแจกจายในกรณที ีเ่ หน็ วามีความ
จาํ เปนจริงๆ การแจกจายกระทําเพียงเพ่อื ชว ยใหประชาชนสามารถทรงชีพตอ ไปไดชว่ั ระยะเวลาหนง่ึ เทาน้นั

๘.๔.๙ การชว ยเหลอื ดานการสรางถาวรวัตถุ เพือ่ ประโยชนแกประชาชนเปนสว นรวมนั้น
การกอสรางไมค วรเกนิ มาตรฐานความเปน อยูของประชาชนในทอ งถนิ่ นัน้

๘.๔.๑๐ งบประมาณการชว ยเหลือประชาชน ที่หนวยไดร ับการจัดสรรจากกองทัพบก
ควรใหถงึ ประชาชนท้งั หมด ฉะน้ันจะตอ งไมใ ชง บประมาณสว นนี้ไปเปนเงนิ คา รบั รอง คาเบ้ียเลีย้ งหรอื คา สง่ิ
อุปกรณท ห่ี นว ยมอี ยู และสามารถแบง ไปชวยเหลือประชาชนได

๘.๔.๑๑ นาํ้ มนั เชือ้ เพลิงทุกประเภททใ่ี ชใ นการชว ยเหลอื ประชาชนนี้ โดยปกตใิ หใ ชง บ
การฝก หรอื การปฏบิ ัตกิ ารนอกท่ีต้งั ทห่ี นวยมอี ยแู ลว หากหนว ยพจิ ารณาเหน็ วา จาํ เปนจะตอ งใชเ พมิ่ เติม
เปนพเิ ศษ ใหเ สนอขอมาพรอ มกนั แผน – งาน – โครงการของหนวย

๘.๔.๑๒ การจดั ซอื้ ใหห นว ยถือปฏบิ ัตติ ามระเบียบ สํานักนายกรฐั มนตรีวาดว ยการพสั ดุ
และการจาง พ.ศ.๒๔๙๘ และขนบธรรมเนยี มของทางราชการที่กําหนดไว


๒๑๑

๘.๕ แนวความคดิ ในการชว ยเหลือประชาชน
๘.๕.๑ การใหการชวยเหลอื แกป ระชาชนไว ไมว า กรณใี ด ๆ ก็ตาม ตองใหป ระชาชน

เกิดความรูสกึ วาไดม ีความชว ยเหลือตัวเองเปน สวนใหญ การชว ยเหลอื จากทหารเปน เพยี งการชวยสนบั สนุน
ใหงานนน้ั ๆ สาํ เร็จโดยสมบรู ณเทาน้ัน

๘.๕.๒ การใหความชว ยเหลอื แกประชาชน ควรใหป ระชาชนเปน ฝายรเิ รม่ิ เสนอความ
ตองการในลักษณะ แผน – งาน – โครงการ กอน ฝายทหารเปนผพู จิ ารณาใหก ารสนบั สนนุ ตามขอบเขตอนั
สมควร

๘.๕.๓ กรณฝี า ยทหารเปนผรู ิเรมิ่ แผน – งาน – โครงการ ในการปฏิบัตคิ วรจะตองให
ประชาชนไดม ีสวนเขารว มดวยทกุ ครัง้

๘.๕.๔ หากสว นราชการของรฐั องคก าร ชมรม กลุม ฯลฯ มีโครงการชวยเหลืออยแู ลว ฝา ย
ทหารควรเขารวมดว ย เพอื่ เปน การแสดงใหเหน็ ถึงความสามัคคี ระหวา งเจา หนา ทีข่ องรัฐดวยกนั เอง และ
ระหวา งเจาหนาทขี่ องรฐั กบั ประชาชน รวมท้งั จะเปน การประหยดั งบประมาณดว ยอกี ทางหน่ึง

๘.๕.๕ ผลทต่ี อ งการจากการชวยเหลอื ประชาชนกค็ อื การทจี่ ะไดร ับความเหน็ ใจ การ
สนับสนุนและเชอื่ ถอื ตอรัฐบาลและทหาร

๘.๕.๖ การใหค วามชว ยเหลือแกประชาชน นอกจากจะเปน การชว ยพฒั นาทางดาน
เศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง และหวงั ผลทจี่ ะไดรบั ความรว มมอื รว มใจ การสนบั สนนุ และอื่นๆ จากประชาชน
แลว จะตองหวังผลท่ีจะอาํ นวยประโยชนแ กกจิ การทางทหารในอนาคต ท้ังยามปกตแิ ละยามสงครามไวดว ย

๘.๕.๗ แผน – งาน – โครงการ ชว ยเหลอื ประชาชนทกี่ ําหนดขน้ึ ควรเปน แผน – งาน –
โครงการ ชวยเหลือประชาชนทีก่ ําหนดข้ึน เปน แผน – งาน – โครงการ ที่ระยะยาวหรอื ตอเนอื่ ง

๘.๕.๘ ผลการปฏิบัติ จะตองเปน การแสดงใหประชาชนท่ัวไปไดเหน็ โดยอาศัยสอ่ื มวลชน
ตา งๆ เปน เครือ่ งมอื

๘.๕.๙ ผลการปฏบิ ัติ แผน – งาน – โครงการ เม่อื เสรจ็ สน้ิ แลว จะตองมกี ารวดั ผลวเิ คราะห
และประเมนิ คา เพอ่ื ใชเ ปนขอ มลู ในการปฏิบตั ิงานครง้ั ตอ ไป

๘.๕.๑๐ การประสานงาน ระหวา งหนว ย และบคุ คล เปนหวั ใจในการปฏิบัตงิ าน
๘.๕.๑๑ เพ่ือเปน การประหยัด แผน – งาน – โครงการ ตางๆ ทก่ี ําหนดขึน้ ควรอาศยั วัสดุ
อปุ กรณ เครอื่ งมือทม่ี ีอยูในหนวย ในทองถน่ิ ใหม ากที่สดุ การจัดซ้ือควรกระทําใหนอยทีส่ ุดเทา ที่จะทําได
โดยจัดซอื้ แตเฉพาะรายการทจ่ี าํ เปนเทานน้ั
๘.๕.๑๒ ผูบงั คบั หนวยทุกระดับ มีหนาทใี่ นการริเรม่ิ และกระตุน เตอื นใหม กี ารดาํ เนนิ การ
ชวยเหลือประชาชนอยูตลอดเวลาและสม่าํ เสมอ
๘.๖ โอกาสและวธิ กี ารในการชวยเหลือประชาชน
๘.๖.๑ ในยามปกติ เมื่อหนว ยอยู ณ ท่ีตั้งปกติ หรือออกทาํ การฝก นอกที่ตัง้ เมอ่ื เกิดเหตุการณ
เฉพาะหนา การชวยเหลอื ประชาชน กระทาํ ดังน้ี


๒๑๒

๘.๖.๑.๑ ดา นแรงงาน ไดแ ก การใชแ รงงานคน และเครือ่ งมอื ทุนแรงที่มีอยใู น
หนวยทาํ การซอ มสรา ง ดัดแปลง และพัฒนา อาคารโรงเรียน วสั ดุ พืน้ ที่ สง่ิ สาธารณปู โภค เสนทางคมนาคม
และอื่น ๆ

๘.๖.๑.๒ ดา นการแพทย สขุ าภิบาล และอนามยั ไดแ กก ารปฐมพยาบาล การตรวจ
บาํ บดั เวชกรรมปองกัน ทันตกรรม และการใหค าํ แนะนาํ

๘.๖.๑.๓ ดานสตั วแพทย ไดแ ก การบริการทางดาน ปศุสัตว และสัตวบาล เวชกรรม
ปอ งกัน สขุ าภบิ าล การรกั ษาพยาบาล และการใหค ําแนะนํา

๘.๖.๑.๔ ดานเกษตรกรรม ไดแก การบริการปยุ การแจกจา ยเครอ่ื งมือประกอบ
เกษตรกรรม พนั ธพุ ืชทเ่ี หมาะสมกับภูมิประเทศ การปราบศัตรูพชื และการใหค ําแนะนาํ

๘.๖.๑.๕ ดา นส่งิ อุปโภค บรโิ ภค ไดแ ก การแจกจายเครอื่ งนุงหม อาหาร วัสดุ และ
อ่ืนๆ เพื่อใหป ระชาชนสามารถดํารงชีวติ ตอไปไดซ ่ึงระยะเวลาหน่งึ

๘.๖.๑.๖ ดานศาสนกจิ ไดแ ก การพัฒนาปชู นยี สถาน การซอมแซม ทาํ ความสะอาด
ศาสนสถาน และการชว ยเหลอื อื่น ๆ

๘.๖.๑.๗ ดานการศกึ ษา ไดแ ก การซอมสรา งพฒั นาโรงเรยี น การแจกจายอุปกรณ
การศกึ ษา ตลอดจนจดั ครูชว ยสอน ในขอบเขตท่ีสามารถทาํ ได

๘.๖.๑.๘ ดา นศิลปวฒั นธรรม และการบนั เทงิ ไดแก การเผยแพรว ฒั นธรรมไทย
และการใหก ารบนั เทิงตางๆ

๘.๖.๒ ยามสงคราม หรือประกาศกฎอยั การศกึ หรือประกาศภาวะฉุกเฉิน หรือในขณะ
ปฏิบัตกิ ารดานการใชก ําลงั ทหาร เพ่ือการปราบปรามคอมมิวนสิ ต หรอื เพ่ือรกั ษาความสงบ และความม่นั คง
งงภายในประเทศ

๘.๖.๒.๑ ทกุ หนวยควรจะใหความชว ยเหลือ แกป ระชาชนในพนื้ ทรี่ ับผดิ ชอบ
โดยดว น ทง้ั ในดา นการบริการทางการแพทย การแจกจา ยเครอ่ื งอุปโภค ตามความจําเปน

๘.๖.๒.๒ บรกิ ารขนยา ย ขนสง และสงกลบั ไปยังพน้ื ทปี่ ลอดภัยโดยเร็ว
๘.๖.๒.๓ อํานวยความสะดวก และคุมครองความปลอดภยั แกป ระชาชนในขณะ
ทําการอพยพรวมทงั้ การกําหนดเสนทาง เพือ่ มิใหข ัดขวางการปฏิบตั กิ ารทางทหาร
๘.๖.๒.๔ ปรบั ปรงุ พืน้ ท่ี และส่งิ อาํ นวยความสะดวกท่ไี ดรบั ความเสียหายให
กลบั คนื สูส ภาพท่ปี ลอดภัยทสี่ ุดโดยเรว็
๘.๖.๓ ในขณะเกดิ ภัยธรรมชาติ หนว ยจะเขารวมมือกับเจาหนา ทีส่ ว นราชการอืน่ ๆ ท่ี
เก่ียวของในการระงบั และบรรเทาภยั นั้น ๆ ทันที โดยมกี ารทางแผนและประสานงานกนั ไวล ว งหนา ทง้ั น้ีเพอ่ื
ปอ งกนั มใิ หเ กดิ การกา วกาย หรือขดั แยงกนั ในขณะปฏบิ ตั งิ านการชว ยเหลอื กระทาํ โดย
๘.๖.๓.๑ การบริการทางแพทย สัตวแพทย และการเกษตรกรรม
๘.๖.๓.๒ การแจกจายเคร่อื งอปุ โภค บรโิ ภค ทีจ่ าํ เปน แกก ารทรงชพี
๘.๖.๓.๓ การบริการขนยาย และขนสง ไปสูพืน้ ที่ปลอดภัย


๒๑๓

๘.๖.๓.๔ ปรบั ปรุง ฟน ฟู พื้นท่ี และสิ่งอํานวยความสะดวก ท่ีไดรบั ความเสียหาย
ใหกลบั คนื สภาพเดิม เพื่อใหป ระชาชนกลบั เขาอยอู าศยั ไดตามปกติ

๘.๖.๓.๕ การปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
๘.๖.๓.๖ เมอ่ื ประชาชนรอ งขอ หนว ยจะพจิ ารณาใหค วามชว ยเหลอื โดยดว นตาม
ขอบเขตแหง ขดี ความสามารถทห่ี นวยจะดาํ เนนิ การได หากเกนิ ขดี ความสามารถท่หี นว ยจะดาํ เนนิ การได ให
รายงานตามตามสายการบังคบั บัญชา จนถึงระดับทสี่ ามารถดาํ เนนิ การได
๘.๗ แผน – งาน – โครงการ
๘.๗.๑ ลกั ษณะ แผน – งาน – โครงการ การชว ยเหลอื ประชาชนจะบังเกิดผลสูงสดุ ตาม
เปา หมาย หรือวัตถุประสงค ควรจะตองมลี กั ษณะดงั น้ี
๘.๗.๑.๑ แผน – งาน – โครงการ ทีก่ ําหนดขนึ้ จะตองตอบสนองความตอ งการของ
ประชาชนได แผน – งาน – โครงการ ใดท่ปี ระชาชนรเิ ร่มิ ขนึ้ ปกตจิ ะไดรับการสนบั นุนมากกวาทฝี่ า ยทหาร
เปนผรู เิ รม่ิ ข้นึ เอง
๘.๗.๑.๒ หากสามารถกระทําได แผน – งาน – โครงการ ทจี่ ะบังเกิดผลสงู สุดควร
กระทาํ ในพ้นื ที่ ท่มี กี ารคกุ คามจากผกู อการรา ย โดยจดั ลาํ ดับเรง ดว นไวใ นลาํ ดบั สูง
๘.๗.๑.๓ การพฒั นา แผน – งาน – โครงการ เพอ่ื เปน หลักประกนั วา แผน – งาน
– โครงการ จะตองสําเร็จตามเปาหมายโดยสมบรู ณ ควรเตรียม แผน – งาน – โครงการ ระยะยาวไวด ว ย โดย
กาํ หนดขน้ึ เปน ขัน้ ตอนไว แตล ะขน้ั ตอนจะตอ งสมบูรณใ นตัวเอง
๘.๗.๑.๔ คณุ ลักษณะสาํ คัญประการหนึ่ง ท่จี ะทําให แผน – งาน – โครงการ
ท่จี ะตอ งชว ยเหลอื ประชาชน ประสพความสําเร็จก็คอื จะตอ งใหป ระชาชนม่ันใจวารฐั บาลสามารถจะชว ยชวี ติ
ความเปนอยูดขี ึ้นกวา เดิม
๘.๗.๑.๕ การปฏิบตั ิท่ีปรากฏขน้ึ ตาม แผน – งาน – โครงการ จะตองแสดงใหเ ห็น
ถงึ ความรวมมอื รวมใจของเจา หนาทข่ี องรฐั บาล แสดงใหเ หน็ ถึงการปฏบิ ัติงานที่รวดเรว็ มปี ระสทิ ธิภาพ
มอี ปุ สรรคนอยท่ีสดุ และจะตองสมั ฤทธผิ ลทุกครง้ั
๘.๗.๑.๖ แผน – งาน – โครงการ ทกี่ าํ หนดขึน้ จะตอ งกําหนดใหป ระชาชนมสี วน
เขารวมดว ย เพอื่ ชวยใหป ระชาชน รจู กั ชวยตวั เอง มคี วามภมู ใิ จและรกั ษาผลงานไวใ นกรณีทจ่ี ําเปนตอง
กาํ หนด แผน – งาน – โครงการ ระยะยาวฝา ยทหารควรเขา รว มในระยะตน ๆ เมอ่ื เหน็ วา ประชาชน
จะดาํ เนินการตอไดส าํ เรจ็ กค็ วรถอนตัวออกปลอยใหประชาชนดําเนนิ การในขนั้ ตอนสุดทา ย จนสําเรจ็
๘.๗.๒ ลาํ ดบั ขั้นในการกําหนด แผน – งาน – โครงการ กาํ หนด แผน – งาน –โครงการ
ควรเปนไปตามลําดบั ขน้ั แตถ ามคี วามจําเปน อาจละเวน หรอื ขา มขั้นใดได คอื
๘.๗.๒.๑ การสาํ รวจความชว ยเหลือประชาชน
๘.๗.๒.๒ การสอบถามและประเมนิ พ้ืนท่ี
๘.๗.๒.๓ การวเิ คราะหส ถานการณ
๘.๗.๒.๔ การกาํ หนด แผน – งาน – โครงการ


๒๑๔

๘.๗.๒.๕ การพฒั นา แผน – งาน – โครงการ
๘.๗.๓ การสาํ รวจการชว ยเหลือประชาชน

การสํารวจการชวยเหลือประชาชน เปนงานขั้นตนทจ่ี าํ เปน จะตอ งกระทาํ เปนการ
หาขอมูลในการกําหนดพ้ืนที่ เพ่อื ใหก ารชว ยเหลอื ประชาชนบังเกิดผลสูงสดุ และเพอ่ื กําหนดลําดับความ
เรง ดวนในการดําเนนิ งาน (แบบสํารวจตามผนวก.........) การกําหนดพื้นที่ ทีจ่ ะทาํ การชว ยเหลอื ประชาชน
อยางไดผ ลข้นึ อยกู บั ปจจยั ทส่ี ําคัญดังตอไปน้ี.-

๘.๗.๓.๑ ความตองการของประชาชน เปน เครอื่ งพสิ ูจนถ ึงคุณคาของพื้นท่ที ี่จะทาํ
การชวยเหลือประชาชนไดต รงตามเปา หมาย และวัตถปุ ระสงค

๘.๗.๓.๒ ขดี ความสามารถของหนวยทหารในพนื้ ท่ี ทีเ่ ปน หนว ยปฏิบัตแิ ละ
สนบั สนุนในการดาํ เนนิ การชว ยเหลอื ประชาชน ในพนื้ ท่ี ๆ กําหนด

๘.๗.๓.๓ จาํ นวนหนวยงานของรัฐบาล องคก าร ชมรม ฯลฯ ทีจ่ ะใหก ารสนับสนุน
๘.๗.๓.๔ ระดบั ความรวมมือในการปฏิบัติ
๘.๗.๓.๕ งบประมาณทีไ่ ดร ับ (มีอยใู นมอื )
๘.๗.๔ การสอบถามและการประเมินคาพน้ื ที่
การทาํ ความคนุ เคยกบั พื้นท่ี เปนความสาํ คัญประการหนึ่งในการวางแผนขนั้ ตน
หากเจา หนาทผ่ี ูปฏิบัติ มีความรูสึกวา มีความคนุ เคยกับพืน้ ทแี่ ลว จะสามารถสอบถาม และตรวจพนื้ ทอ่ี ยา ง
ไดผ ล การศึกษาพ้ืนท่ปี ระกอบขา วสารอน่ื ๆ จะเปน ประโยชน อยางย่งิ แกเจา หนา ทก่ี อนกําหนดพ้นื ท่ี
เปา หมาย เจา หนา ทผ่ี รู ับผิดชอบจะตอ งตรวจสอบโดยละเอยี ด เพ่ือใหแ นใ จวาไมม กี ารผิดพลาดเกดิ ขน้ึ
(แบบฟอรม การศกึ ษาพื้นท่ี ตาม ผนวก........)
๘.๗.๕ การประมาณสถานการณ เปน การวิเคราะหพ น้ื ทเี่ ปา หมายทกี่ ําหนดขนึ้ เพ่อื
ปฏิบัติการชวยเหลอื ประชาชน การประมาณสถานการณ จะเปน เครือ่ งชวยในการกาํ หนดหนทางปฏบิ ัติ
(แบบฟอรมการประมาณการณตาม ผนวก...............)
๘.๗.๖ แผน – งาน – โครงการ การชว ยเหลอื ประชาชน
การกําหนด แผน – งาน – โครงการ ในการชว ยเหลือประชาชน จะไดข อมูลมาจาก
การประมาณสถานการณ แผน – งาน – โครงการ การชว ยเหลอื ประชาชน ประกอบดวย
๘.๗.๖.๑ สถานการณ ประกอบดว ยสถานการณฝายตรงขาม, สถานการณฝ า ยเรา,
หนว ยทหารทม่ี าสมทบ หนว ยตา ง ๆ ทสี่ นบั สนนุ (รวมท้ังหนวยราชการของรัฐบาลและเอกชน) สมมติฐาน
๘.๗.๖.๒ ภารกิจการชว ยเหลอื ประชาชน
๘.๗.๖.๓ เปา หมายตามทก่ี ําหนด จะทาํ การชว ยเหลอื ประชาชน
๘.๗.๖.๔ กําหนดงานหลัก งานรอง ความเรง ดว น
๘.๗.๖.๕ หนว ยปฏิบตั ิ
๘.๗.๖.๖ การสนบั สนุนทต่ี อ งการ ประกอบดวย กําลังคน เครือ่ งมอื งบประมาณ
๘.๗.๖.๗ การประสานงาน


๒๑๕

๘.๗.๖.๘ การบังคับบญั ชา กาํ หนดทอี่ ยูของผบู งั คบั บญั ชา และสายการบังคบั
บญั ชา

๘.๗.๗ ตารางกําหนดการปฏิบัติ
เมอ่ื แผน – งาน – โครงการ ไดรบั อนุมัตแิ ลว จะตอ งนาํ มาพจิ ารณาใหเ ปน ตาราง

กาํ หนดงาน (แบบฟอรม ตามผนวก............)
๘.๗.๗.๑ การพฒั นา แผน – งาน – โครงการ การสํารวจจะเปนเพียงการดําการ

ขั้นตน เพอ่ื รวบรวมขอ มลู ทีจ่ ําเปน สาํ หรบั พืน้ ที่ ทจ่ี ะปฏบิ ัตงิ านเทา น้ัน การที่จะทําให แผน – งาน –
โครงการ สมบูรณพอทจี่ ะใชง านได จะตอ งเพม่ิ เตมิ ขาวสารตามหัวขอ ตอไปน้ี

๘.๗.๗.๒ มีโครงการใดทหี่ นว ยงานอนื่ ๆ ของรฐั องคการ,สโมสร,ชมรมฯ และ
ประชาชนในทอ งถน่ิ ท่ีมแี ผนทจ่ี ะทําอยกู อนแลว มแี ผน – งาน – โครงการใดทห่ี นว ยทหารจะเขา รวม
สนับสนนุ ได

๘.๗.๗.๓ สภาพทีเ่ ปนอยใู นขณะน้ัน จะตอ งมกี ารตรวจสอบ สภาพของทองถิ่น
ในขณะจะเรม่ิ ปฏบิ ัติงานอยางแทจ รงิ

๘.๗.๗.๔ ความตอ งการของประชาชนการกําหนด แผน – งาน – โครงการใด
จะตองตรงกบั ความตอ งการของประชาชน จะทราบไดด ว ยการถกแถลง หารือกับประชาชนเจา หนา ท่ขี องรฐั
ในทอ งถิน่ และบุคคลช้ันนําในทอ งถน่ิ น้ัน ฯ

๘.๗.๔ การเลอื ก แผน – งาน – โครงการ
ผลจาการสาํ รวจ การประมาณการณ และขา วสารเพม่ิ เตมิ จะชว ยใหเ ลอื ก แผน –

งาน – โครงการ ไดเหมาะสมกบั ความตอ งการของประชาชนและกาํ หนดลาํ ดบั ความเรง ดวนไดถ ูกตอ ง การ
พจิ ารณาเลอื ก แผน – งาน – โครงการ ควรพิจารณาจากหัวขอ ดังตอ ไปนี้

๘.๗.๘.๑ การสนบั สนุนทีจ่ ะไดร บั จาํ นวนของการสนับสนนุ ของแตละโครงการ
ขน้ึ อยกู ับงบประมาณ วัสดกุ อสราง และแรงงาน จํานวนของเงินและวัสดจุ ะเปน เคร่อื งบอกความสาํ เรจ็ ของ
โครงการ

๘.๗.๘.๒ การเรยี กรองใหป ระชาชนมกี ารชวยตวั เอง โครงการใดทม่ี ีการชว ย
ตัวเองของประชาชน โครงการนน้ั จะสาํ เร็จผลโดยสมบูรณต ามเปา หมาย การเรยี กรองใหประชาชนมกี าร
ชว ยตวั เองมากนอ ยเทาใดนน้ั ขึน้ อยกู ับความชํานาญงานของเจา หนา ที่

๘.๗.๙ การโฆษณาการชวยเหลอื ประชาชน
การโฆษณาการชว ยเหลือประชาชนทกุ ครั้ง ควรมกี ารแพรทางสอ่ื มวลชน ทั้งดว ย

การแถลงขา ง, ภาพถาย, ภาพยนตร สาระสาํ คัญในการเผยแพรค วรเก่ยี วกบั
๘.๗.๙.๑ เจาหนา ทีฝ่ ายพลเรอื น และประชาชนที่มารว มปฏบิ ตั ิ
๘.๗.๙.๒ การประชมุ ระหวางทหาร,พลเรอื น,และประชาชน ในการกําหนด แผน –

งาน – โครงการ
๘.๗.๙.๓ พิธีเปดงาน – ปดงาน – พธิ มี อบ ฯลฯ


๒๑๖

๘.๗.๙.๔ ประชาชนใชป ระโยชนจ ากผลงาน ตามแผน – งาน – โครงการ
๘.๗.๙.๕ ภาพเปรยี บเทยี บกอ นเริ่มงาน และหลงั งานเรยี บรอ ยแลว

๘.๗.๙.๖ ขณะรว มปฏิบัตงิ าน
๘.๘ การปฏบิ ัตกิ ารชว ยเหลอื ประชาชน

๘.๘.๑ ผบู ังคับบญั ชา
การกําหนดนโยบายและกาํ กบั ดูแลการปฏบิ ัติการของหนวย ในการชว ยเหลอื

ประชาชนเปน หนา ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบของผบู งั คับบัญชาทุประดับชั้น
๘.๘.๒ กําลงั พลรายบุคคล
ทหารทกุ คนมหี นาทีใ่ หค วามชวยเหลอื ประชาชนทกุ โอกาส เทาท่สี ามารถจะกระทาํ

ไดเ พ่ือการชว ยเหลอื ประชาชน ใหบังเกิดผลตามวตั ถุประสงคของกองทัพบกควรอบรมทหารในเรอ่ื งตอ ไปน้ี
๘.๘.๒.๑ จะตอ งใหท หารมคี วามรูสกึ วา ประชาชนเปน ด่งั พ่ีนองทจี่ ะตอ งใหความ

ปกปอ งคุม ครอง
๘.๘.๒.๒ แสดงความเมตตาปราณี ตอ ประชาชน
๘.๘.๒.๓ เปน ผูม ีระเบียบวนิ ยั อันดงี าม
๘.๘.๒.๔ มกี ริยา วาจาสภุ าพ ออ นนอมตอ ประชาชน
๘.๘.๒.๕ ปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมายอยางเครง ครดั
๘.๘.๒.๖ หลกี เล่ยี งตอ การทจี่ ะทาํ ใหเ กดิ ความเขา ใจผดิ ตอ ประชาชน
๘.๘.๒.๗ หลกี เล่ยี งการรบั สินบน
๘.๘.๒.๘ หลกี เล่ยี งการตาํ หนิเจา หนา ทข่ี องรฐั บาล

๘.๘.๓ ข้นั ตอนในการปฏิบตั ิการชว ยเหลอื ประชาชน
๘.๘.๓.๑ ในกรณหี นว ยทหารเปน ฝา ยริเรมิ่ ควรดาํ เนนิ การตามขนั้ ตอนดังตอไปนี้.-
๘.๘.๓.๑.๑ สาํ รวจความชว ยเหลือประชาชน (ความตอ งการ)
๘.๘.๓.๑.๒ การสอบถามและประเมนิ พื้นที่
๘.๘.๓.๑.๓ การวิเคราะหส ถานการณ
๘.๘.๓.๑.๔ การกําหนด แผน – งาน – โครงการ
๘.๘.๓.๑.๕ การขออนมุ ัติ แผน – งาน – โครงการท่ไี ดรับอนุมตั แิ ลว
๘.๘.๓.๑.๖ การพฒั นา แผน – งาน – โครงการ ท่ไี ดร ับอนุมตั แิ ลว
๘.๘.๓.๑.๗ การปฏิบตั กิ ารชว ยเหลือประชาชน
๘.๘.๓.๒ ในกรณที ่ีมีการรอ งขอมาจากประชาชน การกําหนดแนวทางของรปู แบบ

กรรมวธิ ีการปฏิบัตใิ นการชว ยเหลอื ประชาชนจากการรอ งขอของประชาชนควรเปนไปตามขัน้ ตอนนี้
๘.๘.๓.๒.๑ จดุ เรมิ่ ตนของการรอ งขอการชวยเหลือ ทม่ี าของคํารอ งขอจะ

มาจากแหลงดงั ตอไปน้ี
๘.๘.๓.๒.๑.๑ กลมุ ประชาชนในทอ งถิ่น


๒๑๗

๘.๘.๓.๒.๑.๒ จากสภาตาํ บล
๘.๘.๓.๒.๑.๓ จากองคการ, ชมรม, สมาคม ฯ ของเอกชน
๘.๘.๓.๒.๑.๔ จากหนวยงานของรัฐ
๘.๘.๓.๒.๑.๕ จากสถาบันศาสนา
๘.๘.๓.๒.๑.๖ อ่นื ๆ
๘.๘.๓.๒.๒ กรรมวธิ ีในการปฏิบัติจากหนว ยรองในการบังคับบญั ชา
๘.๘.๓.๒.๒.๑ เมื่อไดร บั การรอ งขอแลว

๘.๘.๓.๒.๒.๑.๑ สํารวจความตองการเบอ้ื งตน ตามความ
จําเปน รวบรวมขอ มูล

๘.๘.๓.๒.๒.๑.๒ พจิ ารณากําหนด แผน – งาน –
โครงการตามขอบเขต ขดี ความสามารถของหนว ย

๘.๘.๓.๒.๒.๑.๓ เมอื่ เกนิ ขดี ความสามารถใหข อความ
รว มมือ จากหนว ยงานอื่นๆ ในพ้ืนที่

๘.๘.๓.๒.๒.๒ หากหนว ยงาน ในพ้ืนทไ่ี มส ามารถใหก ารสนับสนนุ ได ให
รายงานตามสายการบังคบั บญั ชา

๘.๘.๓.๒.๒.๓ คําตอบจะปรากฏจากหนว ยที่สามารถใหก ารชว ยเหลอื ได
๘.๘.๓.๒.๓ การรอ งขอจากภายนอก (มใิ ชห นว ยทหาร) การชวยเหลอื ควรกระทาํ
ในรปู แบบของ

๘.๘.๓.๒.๓.๑ ชา งชํานาญงานทางเทคนิค
๘.๘.๓.๒.๓.๒ เครือ่ งมอื , อุปกรณ
๘.๘.๓.๒.๓.๓ ความรว มมอื และคําแนะนํา
๘.๘.๓.๒.๓.๔ อ่ืนๆ ที่สามารถจะใหไ ด โดยมติ อ งใชงบประมาณ
๘.๘.๔ วิธกี ารในการปฏบิ ตั ิ
๘.๘.๔.๑ เมื่อเขาไปถึงจุดหมายในพน้ื ที่ ควรเขาไปพบผนู าํ ของทอ งถนิ่ เพื่อสราง
ความสนิทสนม แจง ใหท ราบถึงความมงุ หมายที่มาพบปะเยยี่ มเยียน ถกแถลงถงึ ปญ หาและ แผน – งาน –
โครงการ
๘.๘.๔.๒ หารือโดยตรงกับกาํ นนั ผใู หญบ าน, สมาชิกสภาตาํ บล, ผนู าํ ทองถ่ินการ
ตกลงใจของสภาตาํ บล หรือทป่ี ระชมุ ถอื เปน ขอยุติ
๘.๘.๔.๓ แถลงความประสงคใหเขากบั ขอ ตกลงใจของประชาชน โดยแจงใหทราบ
ถงึ นโยบายชว ยเหลอื ตนเอง และขอความรว มในการแกปญ หาที่เกิดขน้ึ
๘.๘.๔.๔ แบง งานใหเ ทาๆ กัน ทาํ ใหป ระชาชนรสู กึ วา แผน – งาน – โครงการเปน
ของประชาชนเอง อยา กําหนด แผน – งาน – โครงการทป่ี ระชาชนไมเหน็ พอ งดว ย


๒๑๘

๘.๘.๔.๕ เสนอความคดิ ริเริม่ ใหประชาชนนาํ ไปพจิ ารณา อยาออกคาํ ส่งั หรอื

บงั คับใหตดั สนิ ใจ เม่อื เสนอความคดิ ไปแลว ใหป ระชาชนมีเวลาคดิ พิจารณา เมอ่ื ถึงเวลาอนั สมควร

ก็กระตนุ ใหม กี ารตกลงในขน้ั สุดทาย

๘.๘.๔.๖ อยา เริ่มตน แผน – งาน – โครงการ หรือใหคํามั่นสัญญาใดๆ ทไ่ี มม ั่นใจ

วา จะสามารถปฏิบัตหิ รือสนับสนุนได

๘.๘.๔.๗ อยา เริ่มตน แผน – งาน – โครงการ หรอื ใหค ํามัน่ สญั ญาใด ๆ ถา ไมมี

วสั ดุ เงินอยใู นกํามือ

๘.๘.๔.๘ กอ นเริม่ แผน – งาน - โครงการ ควรตรวจสอบใหแ นใ จวา มีวสั ดุ

อุปกรณ, เงิน และทุกอยา งพรอ มแลว

๘.๘.๔.๙ การใหข าวสารเบอื้ งตน และการจูงใจ ใหป ระชาชนเกดิ ความสนใจ คอื
เคร่อื งมอื อยางหนึง่ ในการชว ยเหลือประชาชน พึงฝก เสมอวา ทหารทกุ คนคือตัวแทนของรฐั บาล ฉะนน้ั

ควรปรบั ตัวเองใหเ ขากับขนบธรรมเนียม ประเพณีของทองถน่ิ แสดงความเมตตากรณุ าตอเด็ก และคนชรา

๘.๘.๔.๑๐ การที่ประชาชนจะกระทําสงิ่ หนง่ึ สง่ิ ใด ทแี่ ตกตา งไปจากวัตถุประสงค
กาํ หนด อยา ถอื เปน เรอื่ งทว่ี ติ กกงั วล หรอื เปน ปญ หา

๘.๘.๔.๑๑ แจงใหป ระชาชนทราบวา ส่ิงของและการชว ยเหลือ มาจากกองทพั บก
และรฐั บาล

ประชาชนทุกคน ๘.๘.๔.๑๒ การแจกจายส่ิงของ เครือ่ งอปุ โภค บริโภค จะตองแจกจายตอหนา
๘.๘.๔.๑๓ ขอ บกพรอ งสาํ คญั ทม่ี กั จะพบเหน็ ไดเสมอ จากเจาหนา ทใี่ หมท ี่เขา ไป

ในพื้นท่ี

๘.๘.๔.๑๓.๑ ดม่ื มากเกนิ ไปท่ีมีงานสงั สรรค

๘.๘.๔.๑๓.๒ พดู จาแทะโลม เก้ียวพาราสี หญิงในทองถน่ิ

๘.๘.๔.๑๓.๓ ใชค าํ พูดไมส ภุ าพ หยาบโลม กระทบกระเทอื นเปรียบ

เปรย หรือเหยยี ดหยามประชาชน

๘.๘.๔.๑๔ ในการชว ยเหลอื ประชาชน ทกุ แผน – งาน – โครงการ ความตองการ

ประการหน่ึงคอื สรา งภาพพจนท ี่ดใี หก บั ทหาร ลงลางความรูสกึ ทวี่ าหนวยทหาร หรือทหารราบบคุ คลเลว ๆ

ไดท ําไว การกระทําท่ีไรจิตสํานึก หรือไรความคดิ อาจทําให ประชาชนเกิดความไมพอใจ ปฏเิ สธการให

ความรวมมือ หรอื การใหข าวสารอ่ืน ๆ ได

๘.๘.๔.๑๕ ในทางตรงขา มหากหนว ยทหารสรางความสัมพันธอ นั ดกี ับประชาชน

สรา งความเชื่อถอื ความรักใครใหแ กป ระชาชน โดยการแสดงออกอยา งจรงิ ใจ แลวประชาชนจะใหก าร

สนบั สนนุ ความรวมมือ และขา วสารตา งๆ ตามท่ฝี ายทหารตอ งการ

๘.๘.๔.๑๖ พงึ ระลึกอยเู สมอวา หนว ยทหารท่ดี กี ็คอื เคร่ืองมือที่สนบั สนนุ ให

โครงการชว ยเหลอื ประชาชนบรรลุเปา หมาย


๒๑๙

(สาํ เนา)
คําสง่ั กองทัพบก
ที่ ๒๙๘/๒๕๑๘
เรือ่ ง นโยบายการชว ยเหลอื ประชาชน
------------------------------------------
ตามความในรฐั ธรรมนญู แหง ราชการอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗ ระบุถึงการใชกาํ ลังทหาร
ไวป ระการหนงึ่ วา กาํ ลงั ทหารพงึ ใชเ พื่อการพัฒนาประเทศ ซ่ึงภารกจิ หนา ที่ดงั กลา วนี้กองทพั บกไดป ฏบิ ัติ
เปน ประจําอยแู ลว ในลกั ษณะของการชวยเหลือประชาชน เพอ่ื ใหก ารปฏบิ ัติของกองทัพบก ในเร่อื งการ
ชวยเหลือประชาชนไดสัมฤทธิ์ผลในดา นการเสริมสรางความเขาใจดคี วามรมมือรว มใจ และเกอ้ื กลู ซึง่ กนั
และกนั ในระหวางทหารกับประชาชนเปน ไปโดยแนนแฟน และเพ่ือใหเ หมาะสมกบั สถานการณใ นปจ จุบนั
จึงยกเลกิ คาํ สั่งกองทัพบก ลบั มาก(เฉพาะ) ที่ ๕๐ ลง ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๐๖ เรือ่ ง นโยบายกี่ชว ยเหลือประชาชน
และกําหนดนโยบายการชว ยเหลือประชาชนขึน้ ใหม เพอ่ื ถอื เปนแนวทางปฏบิ ตั ดิ ังตอไปน.้ี -
๑. วตั ถุประสงค การชว ยเหลอื ประชาชนของกองทัพบก มวี ตั ถปุ ระสงคส ําคัญดงั นี้
๑.๑ สนบั สนุนนโยบายของรัฐบาลในการาพฒั นาทอ งถน่ิ โดยเสริมงานดา นการพัฒนาของ
ประเทศของหนวยงานอ่ืนๆ ของรฐั บาล
๑.๒ ใหป ระชาชนมีความรสู กึ วาทหารเปนมิตรของประชาชน และใหการสนับสนนุ การ
ปฏิบตั กิ ารทหารอยา งเตม็ ที่
๑.๓ เพ่อื ใหไ ดม าซึ่งขา วสารท่ีจาํ เปนแกการปฏิบัติการทางทหาร และการรักษาความม่นั คงของ
ประเทศชาติ
๑.๔ เพ่ือสนับสนุน และสงเสรมิ แผนงานการปองกนั และปราบปรามคอมมวิ นิสตข องกองทัพบก
ใหไดผลดยี ง่ิ ขนึ้
๒. ลักษณะของการชวยเหลือประชาชน การชวยเหลือประชาชน กระทาํ ได ๒ลักษณะคือ
๒.๑ การชว ยเหลือประชาชน แผน – งาน – โครงการ ประจําปง บประมาณทห่ี นว ยเสนอขอ และ
ไดรบั อนมุ ัติแลว
๒.๒ การชว ยเหลือประชาชนเปน กรณพี ิเศษจากท่ีกําหนดไวใน แผน – งาน - โครงการ
๓. โอกาสและวธิ กี ารในการชว ยเหลือประชาชน
๓.๑ ในยามปกติ เมอื่ หนวยอยู ณ ทต่ี ง้ั ปกติ หรอื ออกทาํ การฝกนอกท่ีตัง้ หรอื เมือ่ เกิดเหตกุ ารณ
เฉพาะหนา การชว ยเหลือประชาชนกระทาํ ไดดังน้.ี -
๓.๑.๑ ดา นแรงงาน ไดแก การใชแรงงานคน และเครื่องมอื ทุน แรงทม่ี ใี นหนว ยทําการซอม
สรา ง ดดั แปลง และพัฒนา อาคารโรงเรียน วัตถุ พ้ืนที่ ส่ิงสาธารณูปโภค เสนทางคมนาคม และอน่ื ๆ
๓.๑.๒ ดา นการแพทย สขุ าภบิ าล และ อนามยั ไดแก การปฐมพยาบาล การตรวจ,
บาํ บดั , เวชกรรมปองกัน, ทนั ตกรรม และการใหคาํ แนะนาํ


๒๒๐

๓.๑.๓ ดา นสตั วแ พทย ไดแ ก การบริการทางดาน ปศสุ ัตวแ ละสัตวบ าล เวชกรรมปองกัน,
สขุ าภบิ าล, การรักษาพยาบาล และการใหค ําแนะนาํ

๓.๑.๔ ดานเกษตรกรรมไดแ ก การบริการปุย การแจกจายเครอื่ งมอื ประกอบเกษตรกรรม
พันธพุ ชื ที่เหมาะสมกับพนื้ ทภ่ี ูมปิ ระเทศ การปราบศตั รูพชื และการใหค ําแนะนาํ

๓.๑.๕ ดานสง่ิ อุปโภคบริโภค ไดแก การแจกจายเครอ่ื งนงุ หม อาหาร วัสดุ กอ นสราง และ
อน่ื ๆ เพ่ือใหประชาชนสามารถดาํ รงชพี ตอไปไดใ นชว่ั ระยะเวลาหน่ึง

๓.๑.๖ ดา นศาสนกิจ ไดแก การพัฒนาปชู นยี สถาน การซอ มแซมทาํ ความสะอาด
ศาสนสถาน และการชว ยเหลอื อน่ื ๆ

๓.๑.๗ ดานการศึกษา ไดแ ก การซอ มสราง พฒั นาโรงเรยี น การแจกจาย อปุ กรณก ารศึกษา
ตลอดจนจดั ครูชวยสอนในขอบเขตท่สี ามารถทาํ ได

๓.๑.๘ ดานศลิ ปวัฒนธรรมและการบันเทงิ ไดแกก ารเผยแพรศิลปวฒั นธรรมไทย และการ
ใหการบนั เทงิ ตา ง ๆ

๓.๒ ในยามสงคราม หรอื ประกาศกฎอัยการศกึ หรือประกาศภาวะฉุกเฉนิ หรือในขณะ
ปฏิบตั ิการดา นการใชกําลงั ทหารเพื่อการปราบปรามคอมมิวนิสต หรอื เพ่ือรักษาความสงบและความมัน่ คง
ภายในประเทศ

๓.๒.๑ ทกุ หนวยควรจะใหค วามชวยเหลอื แกประชาชนในพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบโดยดว น ทง้ั ใน
ดานการบรกิ ารทางแพทย การแจกจา ยเครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภคตามความจําเปน

๓.๒.๒ บรกิ ารขนยา ย ขนสง และสงกลบั ไปยังพื้นที่ปลอดภยั โดยเรว็
๓.๒.๓ อาํ นวยความสะดวกและคมุ ครองความปลอดภยั แกประชาชนในขณะทําการอพยพ
รว มทงั้ การกาํ หนดเสน ทางเพื่อมใิ หข ดั ขวางการปฏิบัตกิ ารทางทหาร
๓.๒.๔ ปรบั ปรงุ พืน้ ทแ่ี ละสง่ิ อํานวยความสะดวกท่ไี ดร บั ความเสยี หายใหก ลับคืนสูสภาพที่
ปลอดภัยโดยเร็วท่สี ดุ
๓.๓ ในขณะเกดิ ภยั ธรรมชาติ หนวยจะเขารว มมอื กบั เจาหนา ที่สว นราชการอ่นื ๆ ทเี่ ก่ียวขอ งใน
การระงับและบรรเทาภัยนนั้ ๆ ทนั ที โดยมกี ารวางแผนและประสานงานกับไวลวงหนาทัง้ นี้ เพอ่ื ปอ งกนั มใิ ห
เกดิ การกาวกา ยหรือขดั แยงกนั ในขณะปฏบิ ตั ิงานการชว ยเหลือประทาํ ไดโดย
๓.๓.๑ การบริการทางแพทย สตั วแ พทย และการเกษตรกรรม
๓.๓.๒ การแจกจายเครือ่ งอปุ โภคบริโภค ทีจ่ ําเปนแกการทรงชีพ
๓.๓.๓ การบริการขนยาย และขนสงไปสูพืน้ ทีป่ ลอดภยั
๓.๓.๔ ปรบั ปรุงฟน ฟูพน้ื ทแ่ี ละส่งิ อาํ นวยความสะดวกทไี่ ดรับความเสียหายใหกลบั คนื
สภาวะเดิม เพอื่ ใหป ระชาชน กลบั เขาอยอู าศัยไดตามปกติ
๓.๓.๕ การปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั


๒๒๑

๓.๔ เมอื่ ประชาชนรองขอ หนว ยควรจะพจิ ารณาใหการชว ยเหลือโดยดว นตามขอบเขตแหง
ขีดความสามารถท่ีหนวยจะดาํ เนินการให หากเกดิ ขดี ความสามารถใหรายงานตามสายการบังคบั บัญชาจนถึง
ระดบั ทีส่ ามารถดาํ เนินการได

๔. หลักในการดาํ เนนิ งาน
๔.๑ เน่ืองจากประเทศไทยตกอยใู นภาวะทล่ี อแหลม ตออนั ตรายจากการแทรกซึมบอ นทาํ ลาย

ของกลมุ บุคคล ซง่ึ นิยมลทั ธกิ ารปกครองอนื่ ทไี่ มใ ชก ารปกครองแบบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ 
เปนประมขุ ดงั นั้น เปาหมายของการชวยเหลือประชาชนจงึ กาํ หนดนํ้าหนกั และความเรง ดวนใหก บั
ประชาชน เพ่ืออาศยั อยใู นพนื้ ทซ่ี ึ่งมกี ารปราบปรามการกระทําอนั เปนภยั ตอความมนั่ คงของชาตขิ องกลุม
บคุ คลดังกลาว

๔.๒ การชวยเหลอื ประชาชนควรมุงเนนหนกั ไปในทางสง เสรมิ ใหประชาชนรวมตัวกันแกไข
ปญหาของตนเองโดยอาศยั แนวทางปฏบิ ัตติ ามพระราชบญั ญตั หิ มูบา นอาสาพัฒนา พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘
เปน หลกั การใชกาํ ลงั ทหารและการใชเ ครอ่ื งทุน แรงของทหาร ตลอดจนงบประมาณเปน เพียงเพอื่ เสริมหรอื
ผลกั ดนั ใหประชาชน รวมตวั กนั แกไ ขปญหาของตนในขัน้ ตอนหรือพฒั นากา วหนา ตอไป

๔.๓ การชว ยเหลือประชาชนตามขอ ๒.๑ จะตองมกี ารสํารวจความตองการของประชาชน
ทําแผน และความตองการงบประมาณเสนอตามสายการบังคับบญั ชาถึงกองทพั บกทกุ ครัง้ โดยถือหลัก
ประหยดั และไดผลคุมคา การเปลีย่ นแผน – งาน – โครงการ ใหผ บู งั คบั บญั ชาระดบั แมท พั ภาคมีอํานาจ
สง่ั การได สาํ หรบั หนว ยขึ้นตรงกองทพั บกอน่ื ๆ รวมทงั้ หนว ยทีม่ ฐี านะเทยี บเทากองพลหรือ สว นการศกึ ษา
ของกองทพั บก ซ่ึงสงั กดั หรือฝายการบงั คบั บัญชาไวก บั หนวยนน้ั ๆ ใหผ บู งั คบั หนว ยท่ีมีอํานาจสั่งการได
และเม่อื เปล่ยี นแผนงาน โครงการแลว ใหร ายงานใหกองทพั บกทราบ

๔.๔ การชว ยเหลอื ประชาชน ๒.๒ ซงึ่ เปนการชว ยเหลือในกรณเี รง ดว นหรอื แกไ ขปญหาเฉพาะ
หนา ใหผ ูบังคบั หนว ยใชด ลุ พนิ ิจดําเนนิ การไดท นั ที โดยไมต องดาํ เนินการตามขอ ๔.๓ แตค งใหถ ือหลัก
ประหยดั และไดผ ลคมุ คาเปนแนวทาง หากตองการใหห นว ยเหนือสนับสนนุ เปน กรณีพิเศษ ใหร ายงาน
ตามสบายการบังคบั บญั ชาจนถึงกองทัพบก

๔.๕ การชว ยเหลอื ประชาชนตามคําส่งั น้ี ไมวากรณใี ดจะตองไมข ดั หรอื กอ ใหเกดิ ผลเสยี หายตอ
ภารกจิ ทางทหาร

๔.๖ กอ นทําการชวยเหลอื ประชาชน หากทําไดค วรไดม ีการประสานกบั สวนราชการอื่น ๆ ใน
พ้ืนที่เสียกอน เพ่ือปองกนั มใิ หเ ปนการปฏบิ ัติงานซา้ํ ซอ นกันโดยเปลาประโยชน

๔.๗ เมอื่ ไดมกี ารชวยเหลอื ในสงิ่ สาธารณูปโภคเสร็จสนิ้ แลว ใหทําการมอบหมายใหแ ก
ผูปกครองทองที่เปน ทางราชการ

๔.๘ การบริการทางดา นการแพทย กระทําเพอื่ เปน การเพม่ิ เตมิ งานของกระทรวงสาธารณสขุ
และเพ่อื หวังผลทางดานจติ วทิ ยา การจา ยยาและเวชภณั ฑ ควรจา ยใหเ ทา ทจี่ าํ เปนแกก ารรักษาพยาบาลข้ันตน

๔.๙ การแจกจายเคร่อื งอปุ โภค ควรพิจารณาแจกจา ยในกรณที ี่เห็นวา มีความจาํ เปนจรงิ ๆ
การแจกจายกระทาํ เพยี งเพ่อื ชว ยใหป ระชาชนสามารถดํารงชีพตอไปไดชัว่ ระยะเวลาหนึ่งเทา นน้ั โดยไมทาํ ให


๒๒๒

ประชาชนใชส ิง่ ของฟมุ เฟอ ย หรอื ทาํ ใหเ กดิ ความเกยี จคราน หรืออยา ใหเ ห็นเปนสิทธหิ รือปกติวิสยั ทว่ี า
ทหารเขาไปถงึ ที่ใดจะไดรับของแจกเสมอ การแจกจายตองใหถงึ มอื ผูร บั โดยตรง สง่ิ ของทจ่ี ะแจกจา ย
คณุ ภาพตอ งไมเกนิ มาตรฐานความเปน อยขู องทหารประจําการ

๔.๑๐ การชวยเหลอื ดว ยการสรา งการวตั ถุ เพอื่ เปนประโยชนแ กป ระชาชนเปน สวนรวมนนั้
การกอสรา งไมค วรเกนิ มาตรฐานความเปน อยขู องประชาชนในทองถนิ่ นั้นๆ

๔.๑๑ งบประมาณการชว ยเหลอื ประชาชนทหี่ นว ยไดรับการจดั สรรจากกองทพั บก ควรใหถ ึงมือ
ประชาชนทงั้ หมด ฉะนน้ั จะตองไมใชงบประมาณสวนนี้ไปเปน เงินคารับรอง คาเบี้ยเลี้ยง หรือคาส่งิ
อปุ กรณทหี่ นว ยมีอยแู ลว และสามารถแบงไปชวยเหลือประชาชนได

๔.๑๒ นํา้ มนั เชอ้ื เพลิงทกุ ประเภทท่ใี ชใ นการชว ยเหลอื ประชาชนนี้ โดยปกตใิ หใชใ นงบการฝก
หรือปฏิบตั กิ ารนอกทตี่ งั้ ซึง่ หนวยมีอยแู ลว หากหนวยพจิ ารณาเห็นวาจําเปน จะตอ งใชเ พมิ่ เติมเปน พเิ ศษ
ใหเ สนอขอมาพรอ มกบั แผน – งาน – โครงการของหนว ย

๔.๑๓ การจดั ซื้อ ใหห นว ยถอื ปฏบิ ตั ิตามระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรีวาดว ยการพสั ดแุ ละการจาง
พุทธศักราช ๒๔๙๘ และแบบธรรมเนียมของทางราชการท่ีกําหนดไว

๕. ผมู ีหนา ทป่ี ฏบิ ัติ ในการชว ยเหลอื ประชาชน ทุกระดบั หนว ยของกองทัพบก ตลอดจนทหารเปน
รายบคุ คล มหี นาท่ีใหก ารชว ยเหลือประชาชนทุกโอกาสเทา ทส่ี ามารถจะกระทาํ ได

๖. ความรบั ผดิ ชอบ ผูบ งั คบั บญั ชาทุกระดบั ชน้ั รบั ผดิ ชอบการดําเนินงานดา นการชว ยเหลอื
ประชาชนในหนว ย หรือสว นราชการในบังคบั บัญชาของตน ใหบ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคทกี่ าํ หนด

๖.๑ ในระดบั กองทัพบก ความรับผดิ ชอบการดาํ เนนิ การชว ยเหลอื ประชาชนกาํ หนดใหก รม
กิจการพลเรอื นทหารบก รับผิดชอบทางฝายอาํ นวยการ

๖.๒ ในระดับหนว ยทหารและสว นภมู ภิ าค ความรบั ผดิ ชอบการดําเนินงานการชว ยเหลือ
ประชาชน

๖.๒.๑ กองทพั ภาค มหี นาทีร่ บั ผิดชอบในฐานะเปน หนว ยบังคับบญั ชาและเปน หนว ย
ประสานการปฏิบตั ิเปนสว นรวมกับหนว ยอนื่ ๆ ที่เขามาปฏิบัติงาน ในพน้ื ทีร่ บั ผดิ ชอบของกองทพั บก เพ่ือให
ไดร บั ประโยชน สงู สดุ

๖.๒.๒ กองพล มหี นา ท่รี ับผดิ ชอบในฐานะผูปฏบิ ตั ิ
๖.๒.๓ มณฑลทหารบก และจังหวดั ทหารบกทข่ี ้นึ ตรงกบั กองทัพภาค มีหนาทรี่ บั ผดิ ชอบ
เชน เดยี วกบั หนวยในขอ ๖.๒.๒
๖.๒.๔ หนว ยขน้ึ ตรงกองทพั บกอนื่ ๆ รวมทง้ั หนว ยทมี่ ฐี านะเทียบเทากองพลหรือสว น
การศึกษาของกองทัพบก ซง่ึ สงั กัดหรอื ฝา ยการบงั คับบญั ชาไวก บั หนว ยนนั้ ๆ มีหนา ทีร่ ับผิดชอบเชนเดียวกบั
หนวยในขอ ๖.๒.๒ โดยประสานการปฏบิ ตั อิ ยา งใกลชดิ กับกองทพั ภาค
๗. ขอ แนะนาํ ในการปฏิบตั ิ


๒๒๓

๗.๑ การชว ยเหลือประชาชนจะบงั เกดิ ผลสงู สดุ ตามวตั ถุประสงคได ก็โดยข้นั ตนหนว ยและ
ทหารแตละบคุ คลควรกระทาํ ตนใหเ ปน ที่เล่อื มใสศรทั ธาของประชาชน โดยแสดงออกใหเ ห็นถงึ ความเปน ผูมี
ระเบยี บวินยั อนั เครง ครดั สุภาพออ นนอม ปฏิบัตติ อประชาชนเยยี่ งญาตแิ ละมติ รสนทิ

๗.๒ การชวยเหลอื ประชาชนทกุ ครัง้ ใหหนวยใชด ลุ ยพนิ จิ ในการดําเนนิ การตามขอบเขตแหง ขีด
ความสามารถของหนว ยท่ีจะแบง แรงงาน ส่งิ อปุ กรณห รือทรัพยส ินไปชว ยโดยไมก อ ใหเกิดความเสยี หายแก
การปฏิบัติภารกจิ หลักของหนวย

๗.๓ การชวยเหลือประชาชนทกุ ครง้ั ใหถ ือโอกาสดําเนนิ การทางดา นการปฏบิ ตั ิการทางจิตวิทยา
ไปพรอม ๆ กัน โดยมุง ชแี้ จงใหประชาชนไดท ราบถงึ นโยบายความหว งใยของรฐั บาลท่ีมีตอ ประชาชน
หนา ที่ และเหตผุ ลในการปฏิบตั ิการทางทหาร รวมท้ังการสารทางทหารอ่ืนๆ ท่ตี องการดว ย

๗.๔ ในยามสงครามหรอื ประกาศกฎอยั การศกึ หรอื ประกาศภาวะฉุกเฉิน หรอื ในขณะปฏบิ ตั กิ าร
ดว ยการใชก าํ ลงั ทหาร เพือ่ การปราบปรามคอมมวิ นสิ ต หรอื เพ่อื รกั ษาความสงบและความมนั่ คง
ภายในประเทศ การชวยเหลือประชาชนควรกระทําตามสถานการณที่เหมาะสมโดยระมัดระวงั ถึงการรกั ษา
ความลบั ความปลอดภยั ของหนว ยใหม ากทส่ี ุด และมใิ หป ระชาชนกลายเปนเคร่ืองกดี ขวางรง้ั หนว งการปฏบิ ัติ
ภารกิจหลักของหนวย

๗.๕ ในขณะเกดิ ภัยพิบตั ธิ รรมชาติการชว ยเหลอื ใหม ุง หนักไปในเรอื่ ง การบริการขนยา ย ขนสง
และบรรเทาภยั โดยใชแ รงงานและเครื่องมือของหนวยท่ีมอี ยแู ลว เปน หลกั หากหนวยไดพจิ ารณาเหน็ วา
จําเปนตองใชง บประมาณ เพือ่ ใหการชว ยเหลอื นอกเหนอื ไปจากแรงงานและ เคร่ืองมอื ของหนว ยทม่ี อี ยแู ลว
เปน หลัก หากหนว ยไดพ จิ ารณาเหน็ วาจําเปน ตองใชง บประมาณ เพ่ือใหก ารชว ยเหลอื นอกเหนอื ไปจาก
แรงงานและไดพจิ ารณาเหน็ วา จําเปน ตองใชงบประมาณ เพื่อใหก ารชวยเหลอื นอกเหนือไปจากแรงงานและ
เครื่องมือดงั กลา วแลว ใหร ายงานอนุมตั ดิ ว นถงึ กองทพั บก ดวยเคร่อื งมอื ส่อื สารท่เี รว็ ทส่ี ุดเพอ่ื จะได
พจิ ารณาใหการชว ยเหลอื ตอ ไป

๗.๖ ในขณะประชาชนประสพอบุ ตั เิ หตจุ ากภยั ใด ๆ ก็ตาม หนว ยและทหารทกุ คนซง่ึ ประสพเหตุ
ควรใหก ารชว ยเหลอื ทนั ที โดยไมต องไดรบั การรอ งขอ

๗.๗ การชวยเหลอื ประชาชน มไิ ดเ จาะจงเฉพาะการชวยเหลอื ดว ยวัตถเุ ทานนั้ การชว ยเหลือ
ทางดา นการแนะนํา และการใหการศึกษาอบรมแกประชาชน เพอื่ เริ่มในกิจกรรมตาง ๆ เกยี่ วกบั การ
สรางสรรคความม่ันคง และความเปน ปก แผนแกท อ งถ่นิ และหมบู านของตนยอ มมีความสําคญั ไมย ิ่งหยอน
ไปกวา การชวยเหลอื ทางดา นวัตถุ

๘. การประสานการปฏิบตั ิ
๘.๑ การรายงานผลการปฏิบตั ิ เพอ่ื ใหก องทพั บกไดท ราบผลการชว ยเหลอื ประชา

ชนสาํ หรับใชเปนขอ มลู ในการพิจารณาดําเนินการทางทหาร และทราบขอมลู ความส้นิ เปลืองในการชว ยเหลอื
ประชาชน จึงใหห นว ยทไ่ี ดท ําการชว ยเหลือประชาชนไปแลว รายงานผลการชว ยเหลอื ประชาชนทุก
รอบเดือน ตามแบบรายงานที่แนบทา ยคําสั่งนี้ เสนอผา น กรมกจิ การพลเรอื นทหารบกภายในสปั ดาหท ่ี ๒
ของเดือนถดั ไป


๒๒๔

๘.๒ แผนการชว ยเหลอื ประชาชนและการเสนอความตองการงบประมาณสาํ หรับปง บประมาณ
ใหม ใหเ สนอถึงกองทพั บก (ผา นกรมกจิ การพลเรอื นทหารบก) กอ นส้ินปง บประมาณเกา (กอนสน้ิ เดอื น
กนั ยายนของทุกป)

ส่งั ณ วันที่ ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๑๙
(ลงช่อื ) พลเอก บุญชัย บํารงุ พงศ

(บุญชัย บํารงุ พงศ)
ผูบ ัญชาการทหารบก

สาํ เนาถกู ตอง
พ.ท. กวี มีฤทธิ์
(กวี มีฤทธิ)์
อจ.อก.กศ.รร.ร.ศร.
๒๘ พ.ย.๒๙


๒๒๕

(สาํ เนา)
คําส่ังกองทพั บก
ที่ ๘๑/๒๕๒๕
เรอ่ื ง นโยบายการชว ยเหลอื เกษตรกร
------------------------------------------
๑. กลาวทว่ั ไป
การชวยเหลอื ประชาชนของกองทัพบกน้นั ถอื เปน นโยบายสาํ คญั ประการหน่งึ ท่หี นว ยตา ง ๆ
ในกองทัพบกจะตอ งปฏิบตั ิ ตามคําสงั่ กองทพั บก ที่ ๒๙๘/๒๕๑๙ ม.ิ ย. ๑๙ เรื่อง นโยบายการชวยเหลือ
ประชาชน เพอื่ เสรมิ สรา งความสัมพนั ธอ ันดรี ะหวา งทหารกับประชาชนใหป ระชาชนรว มมืออยางจรงิ จงั กับ
ฝา ยทหาร และสนับสนนุ กจิ กรรมตางๆ ของกองทัพบกและมคี วามเขาใจอนั ดตี อกัน ซ่งึ สนบั สนุนโดย
นโยบายของรฐั บาลในการพฒั นาเศรษฐกิจ เพื่อการยกระดบั ความอยดู กี นิ ดีของประชาชน
นโยบายสาํ คัญเรงดวนของรัฐบาลปจ จบุ ัน คอื การขจดั ความยากจนของเกษตรกร
ผมู รี ายไดนอ ย ตราบใดท่เี กษตรกรยังถกู นายทนุ พอคา คนกลางขดู รีดเอารัดเอาเปรยี บไดอ ยูเ ชน น้ีแลว ยากท่ี
เกษตรกรจะลมื ตาอา ปากพน จากความยากจนได จงึ เปนการสมควรทห่ี นวยทหารจะเขา ชว ยเหลือเกษตรกร
ใหพ นจากการ เอารัดเอาเปรียบจากนายทนุ เพ่อื เปน การตอบสนองนโยบายของรฐั บาลไดท ันที เน่อื งจาก
หนว ยทหารมีเคร่ืองมือเครอ่ื งใชแ ละกาํ ลงั คนสมบูรณ สามารถใหความชว ยเหลอื เกษตรกรไดท กุ พนื้ ท่ไี ด
ทนั ทตี ลอดเวลา
๒. วตั ถุประสงค นโยบายการชวยเหลอื เกษตรกรของกองทัพบก มวี ัตถปุ ระสงคส าํ คัญดังน้ี.-
๒.๑ เพ่ือสนบั สนนุ นโยบายของรฐั บาล ในการยกระดบั รายไดของเกษตรกร ซง่ึ เปน ประชาชน
สว นใหญของประเทศใหม ฐี านะทัดเทียมกบั ผปู ระกอบอาชีพสาขาอ่นื ๆ
๒.๒ เพอื่ ใหสอดคลองกับนโยบายการชว ยเหลอื ประชาชน ตามคําส่งั กองทพั บก ท๒ี่ ๙๘/๒๕๐๙
ลง ๙ มิ.ย.๑๙ เรื่อง การชว ยเหลอื ประชาชน โดยเฉพาะอยางยงิ่ ขยายความในขอ ๒.๒ ของคาํ สง่ั ๆ ดังกลาว
ใหห นว ยตา งๆ ของกองทัพบกยึดถือเปนแนวทางปฏบิ ตั ิ
๒.๓ เพ่อื ใหเกษตรกรมีความรสู ึกวารัฐบาลมไิ ดทอดท้ิงแลหะมีความหว งใย และเชน น้นั วา ทหาร
เปน มิตรกับเกษตรกรและประชาชนทัว่ ไป อันจะนาํ มาซ่งึ ความสมั พนั ธอนั ดรี ะหวางทหารกบั ประชาชน
๒.๔ เพื่อใหไดผลทางดา นการปฏบิ ตั กิ ารจติ วิทยากองทัพบก
๒.๕ เพ่ือสนบั สนุนและสงเสรมิ แผนงานปองกันและปราบปรามคอมมิวนสิ ตของกองทพั บกใหมี
ประสทิ ธภิ าพยิง่ ข้ึน
๓. ลักษณะของการชว ยเหลอื ประชาชน การชวยเหลอื เกษตรกร ควรดาํ เนนิ การในลกั ษณะดังน.ี้ -
๓.๑ การชวยเหลือกระทาํ ในกรณเี รง ดว น เพ่ือลดความเสยี หายแกเ กษตรทย่ี ากจน
๓.๒ การชว ยเหลือ และสง เสรมิ เกษตรกรทยี่ ากจนใหส ามารถขายผลผลิตของตนไดใ นราคา
ยตุ ิธรรม ไมถ กู พอคาคนกลางและนายทนุ เอาเปรยี บ กดราคาผลผลิตของเกษตรกรโดยไมเ ปน ธรรม
๔. ความรบั ผดิ ชอบ


๒๒๖

๔.๑ ใหแ มทพั ภาคเปน ผรู บั ผดิ ชอบดาํ เนินการใหค วามชว ยเหลอื เกษตรกรทย่ี ากจนภายในพน้ื ที่
รบั ผดิ ชอบของตน และกาํ หนดขอบเขตของการชวยเหลอื ใหบ งั เกิดผลดที ่ีสดุ ตามขดี ความสามารถและ
ทรัพยากรทม่ี อี ยู

๔.๒ แมท พั ภาคอาจมอบความรับผิดชอบใหแกผ ูบงั คบั บญั ชา ซึ่งเปนหนว ยรองของตนไดตาม
ความเหมาะสม ทัง้ น้ี เพอื่ ใหการชว ยเหลอื เกษตรกรบังเกดิ ผลดีท่สี ุดตามวัตถปุ ระสงคแ ละทันตอ เหตกุ ารณ
อยา งไรก็ตาม การมอบความรบั ผดิ ชอบนขี้ ึน้ อยกู บั ดุลยพนิ ิจของแมท พั ภาค

๕. การสนบั สนนุ
๕.๑ ใหใ ชเ บี้ยเลี้ยงในงบ ปจว.ของหนว ย
๕.๒ ใหใชเ ครดิต สป.๓ ของ ทภ.ซึ่ง ทบ.มอบให มทภ.ตา งๆ ไวแ กปญหาตา งๆ ในทภ.
๕.๓ ใหใ ชง บบรหิ ารซึ่งต้ังไวเ ปนยอดรวมที่ ทภ. เพอื่ แกป ญหาในการซอมบํารงุ ยานพาหนะของ

หนว ย ซงึ่ ทภ.สามารถสง่ั จา ยเพ่ิมเตมิ ใหห นว ยรองใน ทภ.ไดตามความจาํ เปน
๕.๔ ถา ทภ. ไดพ จิ ารณาแลวเหน็ วาการชวยเหลือเกษตรกรทีย่ ากจนมคี วามจําเปน จรงิ ๆ และเปน

ผลดีตอ การปฏบิ ัติ แตเ ปน การชวยเหลอื ทตี่ องการใชท รพั ยากรสนิ้ เปลอื งจาํ นวนมากจนกระทบกระเทอื นตอ
ภารกิจของหนว ยแลว กใ็ หร ายงานขอรับการสนบั สนุนจาก ทบ. ไดพ รอมกับรายงานเหตุผลมา เพอื่
ประกอบการพจิ ารณาดว ย

๖. การปฏิบัติ
๖.๑ ใหใ ชห นว ยทหารในพ้ืนทเ่ี ปน ผใู หการสนบั สนนุ
๖.๒ ใหค วามชวยเหลอื แกเ กษตรกรผไู ดรบั ความเดอื ดรอ นทยี่ ากจนหรือมรี ายไดน อ ยเปนอนั ดับ

แรก
๖.๓ ใหความชวยเหลือแกเ กษตรกรทีไ่ มม ียานพาหนะสง ผลผลิตของตน
๖.๔ ใหค วามชว ยเหลอื แกเ กษตรกรในชนบทหางไกลทพี่ อคาเขาไปไมถ ึง หรอื ไมเขาไปรับซ้ือ

ผลผลติ หรือพอคา เขา ไปถงึ แตกดราคาผลผลติ หรือบังคับซอ้ื ในราคาที่ไมเปน ธรรม
๖.๕ การชวยเหลอื ตอ งกระทําทนั ที เพราะผลผลติ ทางเกษตรเปน สนิ คา ไมย ดื หยนุ จนรอนาน

ไมไ ด เพราะจะเกดิ การเนา เสยี หรือเส่อื มคุณภาพ ขายไมไ ด แตค วรใหก ารชวยเหลือในระยะเวลาสั้น ๆ
ในภาวะทร่ี าคาผลผลิตทางเกษตรตกตาํ่ เทา นน้ั

๖.๖ ใหการชว ยเหลอื เกษตรกรเปน สว นรวมใหมากท่ีสุด เพื่อยกระดบั รายไดข องเกษตรกรให
สูงขึ้น ตามขีดความสามารถของหนวยโดยไมกระทบกระเทือนภารกิจทางทหาร

๗. ขอ แนะนําในการปฏิบตั ิ
๗.๑ ตดิ ตอประสานงานกบั เกษตรจงั หวดั และหนวยงานท่เี กย่ี วขอ งเพ่ือสงเสรมิ ใหก ารเพมิ่

ผลผลติ ของเกษตรกรบงั เกดิ ผลดที ีส่ ดุ
๗.๒ การขนสงผลผลติ ของเกษตรกร ควรดําเนนิ การเฉพาะในพนื้ ทท่ี ีไ่ มมีการขนสง เอกชน หรือ

ตองไมกระทบกระเทือนตอ ภารกิจการขนสงของเอกชน


๒๒๗

๗.๓ ใหแกทัพภาคและผูบงั คบั บัญชาทุกระดบั หนว ย กวดขนั สอดสอ งดแู ลการชวยเหลอื

เกษตรกรใหเปนไปตามวตั ถปุ ระสงค อยา ใหต กเปนเครอื่ งมือของพอ คา คนกลางหรอื นายทนุ เปน อันขาด

๗.๔ เม่อื ไดด าํ เนินการชว ยเหลือเกษตรกรไปแลว ใหทาํ การประชาสัมพันธผ ลการชวยเหลอื

เหลานั้นดว ย และหากเปน การชวยเหลอื ครั้งใหญ ควรแจงให ฝปส.ศปก.ทบ.ไปชว งในการ

ประชาสัมพนั ธ

๘. การรายงาน ใหร ายงานถึงกองทัพบก ดงั น.ี้

๘.๑ ใหห นว ยรายงานทนั ทที ี่ใหการชว ยเหลอื แกเ กษตรกร เพื่อใหผบู งั คับบญั ชารบั ทราบ

และเพอื่ ผลทางดานการปฏบิ ตั ิการจติ วิทยา

๘.๒ ใหร ายงานผลการชว ยเหลือเกษตรกรตามหวงระยะเวลาทกุ ๆ ๓ เดือน คอื

๘.๒.๑ ในหว ง ต.ค. – ธ.ค. ใหร ายงานภายใน ๑๕ ม.ค.

๘.๒.๒ ในหว ง ม.ค. – มี.ค. ใหร ายงานภายใน ๑๕ เม.ย.

๘.๒.๓ ในหวง เม.ย. – มิ.ย. ใหร ายงานภายใน ๑๕ ก.ค.

๘.๒.๔ ในหว ง ก.ค.- ก.ย. ใหร ายงานภายใน ๑๕ ต.ค. รวมทัง้ สรุปผลการชว ยเหลือ
ทัง้ ป พรอ มกบั วเิ คราะหและประเมนิ ผลมาดวย

ทง้ั น้ี ตั้งแตบ ัดนี้เปนตนไป

สงั่ ณ วันท่ี ๑๗ กุมภาพนั ธ ๒๕๒๕
(ลงชอ่ื ) พล.อ.ประยทุ ธ จารมุ ณี
(ประยุทธ จารมุ ณี)
ผบ.ทบ.

สําเนาถกู ตอง
พ.ท. กวี มฤี ทธิ์
(กวี มฤี ทธิ์)
อจ.อก.กศ.รร.ร.ศร.
๒๘ พ.ย.๒๙


๒๒๘

นโยบายและการสงั่ การของ ผบ.ทบ.ดา นกจิ การพลเรอื น
๑. ใหเรง รดั การจดั ต้ังมวลชนใน ทบ. โดยการอบรมปลกู ฝงอุดมการณท างการเมอื งในหนว ยทหาร
๒. เรงรดั การดําเนนิ การตามโครงการกองหนนุ เพื่อความมัน่ คงของชาติใหเ ปน ผลสาํ เรจ็ อยาง
จริงจงั
๓. การชว ยเหลือประชาชนใหด าํ เนินการ ในทุกดา นทันทเี ทาทีจ่ ะมขี ดี ความสามารถและดาํ เนนิ งาน
ปจว.ตอฝายตรงขามอยางรวดเรว็ และตอ เนอื่ ง เพือ่ สรา งความแตกแยกในขบวนการปฏบิ ัติในทุกวิถที าง
๔. ทบ. จะรว มมอื และสนบั สนนุ รัฐบาลในการพัฒนาดานทอ่ี ยูอาศัยจติ ใจประชาชนแหลง ชุมชน
ตาง ๆ ตลอดจนปลูกฝงตามอุดมการณทางการเมืองใหก บั เยาวชนทุกระดับชั้น
๕. ใหทกุ หนว ยสนบั สนุนโครงการพระราชดาํ ริ และโครงการพัฒนาเพอ่ื ความม่นั คง
๙. ฝอ.๕ หรอื นายทหารฝา ยกจิ การพลเรอื นกบั ภาวะฉุกเฉนิ ภายในประเทศ
๙.๑ ระหวางทีส่ ถานการณฉ กุ เฉนิ ภายในประเทศ อนั มสี าเหตุมาจากนํ้าทว ม แผนดินไหว คล่นื ลม
เพลงิ ไหม โรคระบาด การกอการจลาจล ประชาชนกอ ความไมส งบ เกดิ วาตภยั หรอื เหตุการณพิเศษอน่ื ๆ ที่อยู
นอกเหนอื ขดี ความสามารถในการควบคุมของเจาหนาทฝี่ า ยปกครองตามปกติไดน นั้ อาจจําเปน ตองใชกฎ
อัยการศกึ ขึ้นมา ในเหตกุ ารณด ังกลาวมาแลว นผ้ี ูบังคบั บญั ชาหนวยทหารอาจดําเนนิ การตามความจาํ เปนเพื่อ
ดํารงรกั ษาไวซ ่ึงกฎหมาย และคําสง่ั และเพ่อื ใหเ ปน หลกั ประกนั ไดว า มกี ารบรกิ ารทางดา นการปกครองเทาที่
จาํ เปน ท้ังนี้จะตอ งไดร บั การแนะนาํ จากหนวยเหนอื หรือดว ยความรเิ ร่ิมของตนเองเมอื่ มีเหตุการณบ งั คับให
จาํ ตองกระทําอยางเรง ดวน ในฐานะท่ีรัฐบาลมีความรับผดิ ชอบทางดา นพลเรือนแลว ความหนักเบาในการให
คําแนะนําทางทหาร ตอ สายงานดา นการปกครองตลอดจนถึงขอบเขตแหง อาํ นาจหนา ที่ทางทหาร ยอ มสุด
แลวแตค วามจาํ เปนของเหตกุ ารณนน้ั ๆ
๙.๒ ถงึ แมร ฐั บาลจะไมมีความจาํ เปน ทจ่ี ะประกาศใชก ฎอยั การศกึ กต็ าม แตก ย็ งั จะตองยดึ ถือเปน
ประเพณี ทน่ี ายกรัฐมนตรี หรือผูบ ังคบั หนวยทหารที่เทาเทยี มกนั จะตองออกประกาศใหป ระชาชนทราบ
ถงึ ลักษณะของภาวะฉกุ เฉนิ และอํานาจหนา ท่เี จาหนา ทีท่ ฝ่ี ายทหารในการดําเนินงานดวยประกาศดงั กลา ว
จะไมบงอาํ นาจหนา ทีข่ องผบู ังคับหนว ยทหารไวเลย อยางไรกต็ ามก็เปนแตเพยี งกําหนดพนื้ ที่ทอี่ ยูในการ
ควบคุมของฝา ยทหาร และความรับผดิ ชอบและหนา ทข่ี องเจา หนา ทีฝ่ า ยทหารทจ่ี ะตองปฏบิ ตั ิเทา นนั้ เอง
ฝอ.๕ หรือนายทหารฝายกจิ การพลเรือนของหนวย จะตองประสานงานกบั เจา หนา ทพี่ ลเรอื นและผูที่
เก่ยี วขอ งเพอื่ ดาํ เนินงานตางๆ ตามที่อํานาจหนาท่ขี องหนว ยของตน
๙.๓ ในฐานะทกี่ ฎอยั การศกึ เปนหลักการสําหรบั การปฏิบตั ิทพ่ี เิ ศษและใชเปน การช่ัวคราวดงั นน้ั
การยกรางประกาศ คาํ สง่ั คาํ แนะนํา ระเบยี บขอ บงั คบั หรือคาํ ส่งั คําช้แี จงนโยบายอื่นใดกต็ ามจะตอ งกระทาํ
ดว ยความระมดั ระวงั เปนอยา งยิ่ง การออกประกาศดังกลา วน้ี จะตอ งไมเ ปน การเพ่มิ สิทธแิ ละอํานาจให
มากกวาความจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งใชภายใตเหตุการณน นั้ ๆ จะตองกาํ หนดอาํ นาจหนา ท่ไี วโดยเฉพาะ และจะตอง
ไมมีผลตอภาวะฉุกเฉนิ เปนการถาวร และจะตองไมขยายขอบเขตใหกวา งขวางออกไป
๙.๔ การปฏบิ ัตกิ ารบรรเทาสาธารณภยั ถงึ แมวา จะไมม กี ารโจมตีของขาศกึ ก็ตาม หนว ยทหารพรอ ม
ดว ยกําลังพล ทีม่ ีระเบียบวินยั ความชํานาญทางดา นวชิ าการ เครอ่ื งมือเครื่องใชยามฉกุ เฉินสงิ่ อปุ กรณตา ง ๆ


๒๒๙

จํานวนมาก และขีดความสามารถเกี่ยวกบั การขนสง และการตดิ ตอส่ือสารนัน้ มักจะถูกนํามาใชในการกจิ การ
บรรเทาภยั พิบตั บิ อ ยๆ การปฏิบตั ิตา งๆ ยอมจะเปลย่ี นแปลงไปตามสภาพทอ งถิ่น และลักษณะของภาวะ
ฉกุ เฉนิ ในระยะแรก ๆ นนั้ จะตอ งมีการปฏิบตั ิเกีย่ วกับการกภู ยั การแจกจายส่ิงอปุ กรณบรรเทาทุกข การ
รักษาพยาบาลผบู าดเจบ็ การฌาปนกจิ ศพ การปองกนั โรคระบาด การปราบปรามโจรกรรม การควบคมุ
การจราจร และการจํากดั ท่ีอยขู องประชาชน สถานการณเชนน้ี อาจครอบคลุมถึงมาตรการตา ง ๆ ทางดา น
การควบคมุ ความหนกั เบาในการปกครองพลเรอื นหรอื ขอ พิจารณาทส่ี าํ คัญ ๆ ทางดานการตดิ ตอ และ
ประสานงานโดยธรรมดาแลว ชุดบรรเทาภัยพิบตั ิ ยอ มประกอบดว ยเจา หนา ทบ่ี รกิ ารทางเทคนคิ เปนหลัก
หนว ยกจิ การพลเรือนซ่งึ มีผเู ชี่ยวชาญ ทีไดร บั การฝก อบรม และมีความชํานาญมาแลวนบั วามีความเหมาะสม
ท่จี ะใชใ นการวางแผน หรอื กํากับดแู ล ทางฝายอํานวยการ หรือจะใชใ หเ ปน หนว ยปฏบิ ตั ิการอยางใดอยาง
หนงึ่ กไ็ ด


๒๓๐

(สําเนา)
พระราชบัญญตั ิ
วา ดว ยการบรหิ ารราชการในสถานการณฉ กุ เฉนิ
พ.ศ.๒๔๙๕
----------------------------------------------
ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วนั ท่ี ๘ มนี าคม พ.ศ.๒๔๙๕
เปนปท่ี ๗ ในรัชการปจ จุบนั
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯใหประกาศวา
โดยท่เี ปนการสมควรกําหนดวิธีบรหิ ารราชการบางประการไว ในเมอื่ สถานการณฉ ุกเฉิน เพ่ือความ
ม่นั คงหรอื ความปลอดภัยแหง ราชอาณาจักร ความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดขี องประชาชน และ
สวัสดิภาพของพลเมือง
จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบญั ญตั ขิ ึน้ ไวโ ดยคาํ แนะนําและยนิ ยอมของสภา
ผแู ทนราษฎร ดงั ตอ ไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตินีเ้ รยี กวา “พระราชบญั ญตั วิ าดว ยการบริหารราชการในสถานการณฉ กุ เฉนิ
พ.ศ.๒๔๙๕ “
มาตรา ๒ พระราชบญั ญัตนิ ้ใี หใ ชบังคบั ต้งั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปนตน ไป
มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี

“สถานการณฉุกเฉิน “ หมายความวา สถานการณอ นั อาจเปนภยั ตอ ความมั่นคง หรอื ความ
ปลอดภยั แหงราชอาณาจกั ร หรอื อันอาจทําใหประเทศตกอยใู นภาวะคบั ขนั หรือภาวะการรบหรอื การ
สงครามตามทจ่ี ะไดม ปี ระกาศใหท ราบ

“ ความมนั่ หรือความปลอดภยั แหง ราชอาณาจกั ร “ หมายความวา การใหเ อกราชของชาติ
หรอื สวสั ดภิ าพของประชาชนอยูใ นความม่นั คงและปลอดภัยรวมตลอดถงึ การท่ีใหป ระเทศดาํ รงอยใู นการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ภายใตร ฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย

“ เคหะสถาน “ หมายความวา ส่งิ ปลูกสรางรวมทัง้ ที่ดิน ในบริเวณไมว าจะมีรวั้ ไมก็ตาม
ตลอดถึงเรอื แพ ซึง่ บคุ คลเฉพาะตวั ผเู ดียว หรอื หลายคน ใชเ ปนทีอ่ าศยั กินอยหู ลบั นอน

“ พนักงานเจา หนาท่ี “ หมายความวา เจาพนักงานซ่งึ รัฐมนตรแี ตง ตั้งใหปฏบิ ตั ิการตาม
พระราชบญั ญัตินี้

“ รัฐมนตรี “ หมายความวา รัฐมนตรีผรู ักษาการตามพระราชบัญญตั นิ ี้
มาตรา ๔ บทแหง พระราชบัญญัตนิ ี้ จะใชบ งั คับไดต อเมอ่ื ไดม ีประกาศสถานการณฉกุ เฉนิ แลว


๒๓๑

ประกาศสถานการณฉ ุกเฉนิ นั้น จะประกาศทั่วราชอาณาจกั ร หรอื เฉพาะในเขตทองท่ใี ดกไ็ ด
สุดแลวแตความจาํ เปน โดยพฤติการณ

เมอ่ื สถานการณฉ กุ เฉินสน้ิ สดุ แลว ใหป ระกาศยกเลกิ ประกาศสถานการณฉ กุ เฉนิ นน้ั เสีย
มาตรา ๕ รฐั มนตรมี ีอํานาจท่จี ะประกาศ หา มมใิ หบ คุ คลใดออกนอกเคหสถานภายในระหวา ง
ระยะเวลาซง่ึ ไดประกาศกําหนดไว เวน แตจ ะไดร ับอนญุ าตจากพนกั งานเจา หนา ที่

บทบญั ญัตใิ นวรรคกอนมิใหใชบงั คับแกท หาร หรือตาํ รวจประจาํ การ หรือบุคคลประเภท
ซ่งึ จะไดย กเวน ไวใ นประกาศ

มาตรา ๖ พนักงานเจา หนา ทมี่ อี ํานาจเขา ไปในเคหสถาน หรอื สถานที่ใดๆ ระหวางอาทติ ยข ึ้นถึง
อาทติ ยต ก เพอื่ ตรวจคนในเมือ่ มีเหตุอันควรสงสยั วามีผกู ระทําการฝาฝนตอ บทแหงพระราชบัญญตั ิน้ี

มาตรา ๗ บุคคลใดมเี หตุควรสงสัยวาไดก ระทํา หรือพยายามจะกระทําการใดๆ อันเปน ภยั ตอความ
มัน่ คง หรอื ความปลอดภัยแหงราชอาณาจกั ร ใหพ นักงานเจา หนาทีม่ ีอาํ นาจจบั กมุ และคุมขังบคุ คลนัน้ ๆ ไว
เพอื่ ทําการสอบสวนไดไ มเ กนิ ๗ วนั

มาตรา ๘ รฐั มนตรีมีอาํ นาจทีจ่ ะประกาศหามมิใหม กี ารชมุ นุมหรือมั่วสุมกนั ณ ท่ใี ด ๆ เวน แตจะ
ไดร บั อนญุ าตจากพนกั งานเจา หนาท่ี

มาตรา ๙ รัฐมนตรมี ีอํานาจที่จะประกาศหาม มใิ หผกู ระทาํ การโฆษณาหรอื พิมพเ อกสารใด ๆ ซึ่ง
เหน็ วา ขอความซึง่ โฆษณานนั้ กระทบกระเทอื นถงึ ความม่ันคงหรอื ความปลอดภัยแหง ราชอาณาจักร หรือเปน
การกอกวนความสงบเรียบรอยองประชาชน

มาตรา ๑๐ รัฐมนตรีมอี ํานาจทจ่ี ะสง่ั หา มมใิ หผูใดออกนอกราชอาณาจกั รในเม่ือมเี หตอุ นั ควรเชอ่ื
ไดว า การออกไปนอกราชอาณาจกั รของบคุ คลนน้ั จะเปน การกระทบกระเทือนตอความมั่นคง หรือความ
ปลอดภยั ของประเทศ

มาตรา ๑๑ ถาบคุ คลใดมีพฤติการณ อนั ควรสงสยั วา ไดค บคิดกบั คนในตา งประเทศเพื่อกระทาํ การ
ใด ๆ อันจะเปน การเสยี หายแกประเทศ ใหร ฐั มนตรมี ีอาํ นาจสั่งใหต รวจจดหมายหรอื เอกสารติดตอ ใด ๆ ของ
ผูน ัน้ ได

มาตรา ๑๒ ในบริเวณหรอื เขตทองที่ อันมีความสําคัญทางการรกั ษาความม่นั คงหรือความปลอดภัย
แหงราชอาณาจักร หรอื จดุ ยทุ ธศาสตร ใหรัฐมนตรมี อี าํ นาจประกาศหา ม มใิ หค นตา งดาวเขาไป หรอื อยใู น
บรเิ วณ หรือเขตทองท่นี นั้

มาตรา ๑๓ คนตา งดาวคนใด กระทําการใด ๆ อนั อาจเปน ภยั ตอ ความมน่ั คง หรือความปลอดภยั
แหง ราชอาณาจักร รฐั มนตรมี อี ํานาจสั่งใหค นตางดาวนั้นอกไปเสยี จากราชอาณาจกั ร

เม่ือรัฐมนตรสี ัง่ ใหค นตา งดาวคนใดออกไปจากราชอาณาจักรใหน ําบทบญั ญตั วิ าดว ยการ
เนรเทศมาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๔ รฐั มนตรมี ีอาํ นาจทจี่ ะประกาศหา ม มใิ หค นตางดา วประการใด ๆ เพอื่ ประโยชน
ในการรักษาความมนั่ คง หรอื ความปลอดภัยแหง ราชอาณาจักร หรือสวัสดกิ ารภาพของประชาชนได


๒๓๒

มาตรา ๑๕ ผูใ ดฝา ฝนประกาศของรฐั มนตรี ตามความในมาตรา ๕ มคี วามผดิ ตอ งระวางโทษจาํ คุก

ไมเกินหนง่ึ ป หรอื ปรับไมเกนิ หน่งึ พนั บาท หรอื ทงั้ จําท้งั ปรบั

มาตรา ๑๖ ผใู ดฝา ฝน ประกาศของรฐั มนตรี อกตามความในมาตรา ๘ หรอื มาตรา ๙ มีความผิด

ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเ กิน ๕ ป หรือปรบั ไมเกนิ หา พนั บาท หรือทง้ั จําท้งั ปรับ

มาตรา ๑๗ ผใู ดฝาฝน คาํ สงั่ ของรัฐมนตรี ตามความในมาตรา ๑๐ มีความผิดตองระวางโทษจําคกุ

ไมเกินสบิ ป หรอื ปรับไมเ กนิ หนง่ึ หมนื่ บาท หรือทั้งจาํ ท้งั ปรบั

มาตรา ๑๘ คนตางดาวผใู ดฝาฝนประกาศของรฐั มนตรีตามความในมาตรา ๑๒ หรอื มาตรา ๑๔ ให

เนรเทศออกไปเสียนอกราชอาณาจักร

มาตรา ๑๙ ผใู ดสะสมอาวธุ ปน เคร่ืองกระสุนปน หรือวตั ถุระเบดิ ไวโดยผดิ กฎหมายใหลงโทษ

ตามทีบ่ ัญญตั ิไวในกฎหมายวา ดวยการชน้ั เปนทวีคูณ

ถา ผูกระทําความผดิ ตามมาตรานเ้ี ปนคนตา งดาว เม่อื พนโทษแลว ใหเ นรเทศออกไปเสยี นอก

ราชอาณาจักร

มาตรา ๒๐ บรรดาประกาศทอี่ อกโดยพระราชบัญญัตนิ ี้ ใหป ระกาศในราชกจิ จานุเบกษา
มาตรา ๒๑ ใหนายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย รกั ษาการตามพระราชบัญญตั ิ
นี้ และใหม อี าํ นาจแตงตัง้ พนักงานเจาหนา ที่ ออกประกาศคําสงั่ และกาํ หนดกจิ การอ่ืนเพือ่ ปฏบิ ตั กิ ารตาม
พระราชบัญญตั นิ ี้

ผรู ับสนองพระบรมราชโองการ

จอมพล ป. พิบลู สงคราม สําเนาถูกตอง
นายกรัฐมนตรี

นายดิเรก สวุ านสิ
(ดเิ รก สวุ านสิ )
จพง.ปค. ๕

สําเนาถูกตอง
พ.ท.กวี มฤี ทธิ์
(กวี มฤี ทธ)ิ์
อจ.อก.กศ.รร.ร.ศร.
๒๘ พ.ย.๒๙


๒๓๓

(สําเนา)
แถลงการณ
เรอื่ ง ประกาศสถานการณฉกุ เฉิน
------------------------------------
เนื่องจากชายแดนระหวางไทยกบั กมั พูชามรี าษฎรตงั้ บา นเรือนและแหลง ชุมชนอยเู รียงราย จึงมกั มี
โจรผูรา ยขามแดนเขา มาทาํ การปลนสดมภท รพั ยส นิ โดยเฉพาะอยางย่ิง สตั วพ าหนะและทําการประทษุ ราย
ตอ ชวี ิตและรางกายระหวางกันอยูเน่ืองๆ อาณาเขตระหวา งประเทศทงั้ สอง บางแหง มไิ ดอาศัยเขตแดน
ธรรมชาติ หลักเขตเดิมก็ถกู ทําลายสญู หายไปมาก ประกอบกบั ทองทีเ่ หลา นอ้ี ยูหางไกลจากทต่ี งั้ หนว ย
ราชการฝายปกครอง ทาํ ใหก ารดําเนนิ การของเจาหนา ทใ่ี นการคุม ครองปอ งกัน ไมใ ครไ ดผ ล และมักมขี อ
โตแยง ในเรื่องการรุกลํ้าเขตแดนกนั บอย ๆ ทาํ ใหก ารปราบปรามรกั ษาความสงบชายแดนไดร ับความยุงยาก
มาก รฐั บาลไดเ คยประกาศสถานการณฉ กุ เฉินบางจังหวดั ชายแดนดา นนี้ไปครัง้ หนง่ึ แลว ทําใหเ หตุราย
เบาบางลง การรักษาความสงบไดผลดีข้นึ บา ง จงึ ไดป ระกาศเลิกสถานการณฉุกเฉนิ น้ันเสีย เหตุการณอนั
กระทบกระเทอื นความสงบกก็ ลับลุกลามยง่ิ ขึ้นเปน การกระทบกระเทอื นตอ สวัสดภิ าพของประชาชน อนึ่งใน
ระยะนท้ี างสบื สวนปรากฏวา ไดม ีการแทรกซมึ ของขบวนการคอมมวิ นิสตในดา นนี้มากข้นึ ทําใหเ กดิ
สถานการณอ นั อาจเปน ภัยตอ ความมั่นคงหรือความปลอดภัยแหงราชอาณาจักร หากปลอ ยใหเหตกุ ารณ
เหลานเ้ี ปนไปโดยไมดาํ เนนิ การปอ งกันและปราบปรามอยางเฉียบขาดแลว ยอมจะกอ ใหเ กิดผลเสียหาย
รายแรงแกประเทศชาติขึน้ ได รฐั บาลจึงตอ งประกาศสถานการณฉ กุ เฉนิ ข้ึนในทองท่ี ดังกลา ว
เม่อื ไดประกาศสถานการณฉ กุ เฉินในเขตทองท่ีดังกลา วแลว นายกรฐั มนตรีและรัฐมนตรวี า การ
กระทรวงมหาดไทย ซงึ่ เปน ผูร ักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ ยอมมีอํานาจที่จะประกาศหามบังคบั หรือสัง่ การ
ใด ๆ อันจะเปน ผลแกการรกั ษาความสงบและปอ งกันการกระทาํ อนั เปน ภยั แกราชอาณาจกั รไดก วา งขวางกวา
ปกติ
รัฐบาลซึง่ มหี นาท่ีสาํ คัญในอันทีจ่ ะระงบั ทุกขบาํ รงุ สุข และสง เสริมสวัสดภิ าพของประชาชนกจ็ ะใช
อํานาจตามกฎหมายวา ดว ยการบริหารราชการในสถานการณฉกุ เฉนิ นี้ เพยี งเทาทจ่ี ําเปนแกการปราบปราม
และการรกั ษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศและประชาชน ดังจะเหน็ ไดว า เม่อื ไดประกาศสถานการณ
ฉุกเฉินแลว นายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทยซ่งึ เปน ผรู ักษาการตามพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ ไดอ อกประกาศหามเพยี งแตมิใหผ ูใด กระทาํ การโฆษณา หรอื พมิ พเอกสารใด ๆ ซ่ึงเหน็ วา ขอความ
ซึ่งโฆษณาหรอื จะโฆษณานน้ั กระทบกระเทอื นถึงความมั่นคงหรอื ความปลอดภยั แหง ราชอาณาจกั ร หรอื เปน
การกอกวนความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน สวนอํานาจประการอ่ืนน้ัน จะยังไมป ระกาศใชจ นกวา จะ
ปรากฏสถานการณรายแรงย่งิ ข้นึ จงึ ดาํ เนินการเทา ทจี่ ะพอเหมาะพอควรแกก ารจะระงับสถานการณน ้ันให
ส้นิ ไป มใิ หก ระทบกระเทือนความสงบสุข และความเปน อยูของประชาชนเกินควรแกการ
อน่งึ รัฐบาลใครขอแสดงใหท ราบวา การประกาศสถานการณฉ ุกเฉินนเี้ ปน เร่ืองทจี่ าํ เปนตอ ง
ดําเนินการเกย่ี วดว ยสถานการณช ายแดน มไิ ดเ กยี่ วกับภาวะทว่ั ไปทั้งประเทศ จึงขออยา ไดต นื่ ตระหนกตกใจ
อยา ไดห ลงเช่อื ในการปลุกปน ขยายใหเ ลอ่ื งลอื เกนิ กวาสถานการณทเี่ ปน จรงิ หรือเกดิ ความหว่ันวติ ก เกดิ ความ


๒๓๔

ระสาํ่ ระสายในการประกอบอาชพี ตามปกตแิ ตอยางใด การประกาศสถานการณฉ กุ เฉินนี้ จะคงมีอยเู พียงช่ัว
ระยะเวลาหนง่ึ เทานัน้ เมือ่ สถานการณฉ ุกเฉนิ สิ้นสดุ ลงแลว รฐั บาลจะประกาศยกเลกิ ประกาศสถานการณ
ฉกุ เฉนิ นที้ นั ที

สํานักคณะรัฐมนตรี
วนั ท่ี ๔ สิงหาคม ๒๕๐๑

สําเนาถกู ตอ ง

พ.ท. กวี มฤี ทธิ์
(กวี มีฤทธิ์)
อจ.อก.กศ.รร.ร.ศร.
๒๘ พ.ย.๒๙


๒๓๕

(สาํ เนา)
แตงตงั้ พนกั งานเจา หนา ท่เี พอื่ ปฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญัติ
วา ดว ยการบรหิ ารราชการในสถานการณฉ ุกเฉิน พ.ส.๒๔๙๕

-----------------------------
โดยท่ีไดมีประกาศสถานการณฉ กุ เฉินในเขตทอ งทจ่ี งั หวัดตราด จนั ทบุรี ปราจนี บุรี
บรุ รี มั ย สรุ ินทร ศรีสะเกษ และอําเภอเดชอดุ ม จังหวดั อบุ ลราชธานี เปน การสมควรแตง ตัง้ พนักงาน
เจา หนา ทเ่ี พอื่ ปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญัติ วาดวยการบริหารราชการในสถานการณฉกุ เฉนิ พ.ศ.๒๔๙๕
ฉะนัน้ อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๖๑ แหง พระราชบญั ญัตวิ าดว ยการบรหิ ารราชการใน
สถานการณฉ ุกเฉนิ พ.ศ.๒๔๙๕ จงึ แตง ตั้งใหผดู าํ รงตาํ แหนง ดังตอไปนี้ เปนพนกั งานเจาหนา ทใี่ นเขตทมี่ ี
ประกาศสถานการณฉุกเฉนิ คือ
(๑) ผูวา ราชการจงั หวดั
(๒) นายอาํ เภอ
(๓) ปลัดอาํ เภอประจาํ กิง่ อําเภอ
(๔) ปลดั อําเภอ
(๕) นายตํารวจทมี่ ยี ศตง้ั แตน ายรอ ยตาํ รวจตรีขนึ้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๔ สงิ หาคม ๒๕๐๑
พลเอก ถ. กติ ติขจร
นายกรฐั มนตรี

พลโท ป. จารุเสถียร
รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย

สาํ เนาถูกตอ ง
พ.ท. กวี มฤี ทธ์ิ
(กวี มฤี ทธ์ิ)
อจ.อก.กศ.รร.ร.ศร.
๒๘ พ.ย.๒๙


๒๓๖

(สาํ เนา)

ผนวก ๑๑

กจิ การพลเรอื น

ความมงุ หมาย เพ่ือใหทราบถึงบทบาท หนาที่ ความรับผดิ ชอบ ตลอดจนวิธีดําเนินงานในสาย

กิจการพลเรือนระดับกองพันและ กรม

เร่อื งและหมายเลข ซ.ม.และ ขอบเขตการสอน หลกั ฐาน

ชนดิ การสอน

กลาวทวั่ ไป ๑ –สช. ประวตั กิ ารเกิดกจิ การพลเรือน รส.๔๑ – ๑๐

ขอบเขตงานในหนา ที่ ๑ – สช. ใหท ราบถึงหนา ท่ี การปกครอง แนวสอน รร.กร.

กิจการพลเรือน เศรษฐกิจ และสงั คม กร.ทบ.คําส่ัง ทบ.

ที่ ๑๙/๒๕๒๗ ลง

๑๐ มกราคม๒๕๒๗

แนวความคิดดา นกจิ การ ๑ – สช. ใหทราบถึงหลกั ปฏิบัตกิ าร แนวสอนของ รร.ร.

พลเรือน ศร. นส.๑๐๑ – ๕

หนา ทีข่ องนายทหารกจิ การ ๑ – สช. ใหทราบถงึ หนา ท่ขี องนายทหาร -“–

พลเรือนและความรบั ผิดชอบ กจิ การพลเรอื นและการประสาน

งานกบั ฝา ยอํานวยการอ่ืนๆ

การจัดหนว ยกิจการพลเรือน ๒ – สช. ใหท ราบถึงการดาํ เนนิ งานดาน -“–

กจิ การพลเรอื นของ ทบ.และการ

จดั หนว ยกจิ การพลเรอื น

การบันทกึ และการรายงาน ๓ – สช. ใหท ราบถงึ งานในหนา ทีข่ องนาย -“–

ทหารกิจการ

กจิ การพลเรอื น พลเรือนภายใน ทก.พัน.และ ทก.

กรม เกี่ยวกับการบันทึกรายงาน

คาํ ส่ังและการประมาณการ ๔ – สช. ใหท ราบถงึ การประมาณการกิจการ -“–

พลเรือน คําส่งั

กิจการพลเรอื น กจิ การพลเรือน และ รปจ.กจิ การพลเรือน

ขา วสารพลเรือน ๒ – สช. ใหทราบถงึ ความตอ งการขาวกรอง -“–

การวางแผน และการรวบรวมขาวสาร

ของดานกจิ การพลเรอื น

การสง กาํ ลงั ของพลเรอื น ๒ – สช. ใหทราบถงึ แนวความคดิ เรอ่ื งการสง -“–

กาํ ลงั พลเรือนนโยบาย และการปฏบิ ตั ิ

มลู ฐานความรบั ผดิ ชอบ พรอ มทงั้ การ


การปฏิบัติงานทางกจิ การ ๑ – สช. ๒๓๗ -“–
พลเรอื นในการปราบปราม ๑ – ส. รส.๓๑ – ๑๖
ผกู อความไมส งบ แจกจา ย
สอบ กิจการพลเรอื น ใหทราบถึงความรับผดิ ชอบของ ผบ.
หนวย และ การชว ยเหลอื ประชาชน

เรื่องทศี่ ึกษามาแลวทง้ั หมด ทีก่ ลา วมา
แลว ทงั้ หมด

ตรวจถกู ตอง
พ.ท.กวี มฤี ทธ์ิ
(กวี มีฤทธ์)ิ
๒๘ พ.ย. ๒๙


๒๓๘

คณุ ธรรม ๔ ประการ
ที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั พระราชทานแกป วงชนชาวไทย
ในการสมโภชนก รุงรัตนโกสนิ ทร ๒๐๐ ป เม่ือวนั ที่ ๕ เมษายน ๒๕๒๕

---------------------------------------------
ประการแรก คือ การรกั ษาความสจั ความจรงิ ใจตอตวั เอง
ทป่ี ระพฤตปิ ฏบิ ตั อิ ยใู นความสัจ ความดนี ้ัน

ประการทีส่ อง คือ การรูจักขม ใจตนเอง ฝก ใจตนเอง
ใหป ระพฤติปฏิบตั ิอยใู นความสัจ ความดนี ัน้

ประการท่ีสาม คือ อดทน อดกล้ัน และอดออม
ท่ีจะไมป ระพฤตลิ วงความสจั สุจริต ไมวา จะดว ยเหตุประการใด

ประการที่ส่ี คือ การรูจักละวางความชั่ว ความทุจริต
และรจู กั สละประโยชนส ว นนอยของ เพ่ือประโยชนส ว นใหญ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
-

รวบรวมและเรยี บเรยี งโดย พ.ท.กวี มีฤทธ์ิ น.บ.


๒๓๙

บทที่ ๕

ตอนที่ ๑

เอกสารนํา

๑. บทเรียนเรอ่ื ง : การประมาณการสง่ิ อุปกรณ

๒. ความมุงหมาย : เพือ่ ใหท ราบวธิ ที าํ ประมาณการส่ิงอปุ กรณแ ตล ะประเภทท่ีใชส ้ินเปลืองเรว็

และเพอื่ เตรยี มการจดั หาลว งหนา ตลอดจนมาตรการประหยัดสงิ่ อปุ กรณ

๓. ขอบเขต สช./ป. เกีย่ วกบั การประมาณการสงิ่ อุปกรณของหนว ยใชร ะดบั กรม ร.

ลงมาดงั น้ี

๓.๑ ประมาณการ สป.๑

๓.๒ ประมาณการ สป.๓

๓.๓ ประมาณการ สป.๕

๓.๔ การประหยดั การสงกาํ ลงั

๔. งานมอบ ใหอ า นทาํ ความเขา ใจในเอกสารนี้ และเตรยี มขอสงสัยมาถามในหอ งเรยี น

พรอมกบั นาํ เอกสารนีม้ าในหองเรยี น

๕. หลักฐานอา งอิง: ๕.๑ นส.รร.ร.ศร.

๕.๒ คมู ือสง กาํ ลงั บํารุงของ ทบ. วาดว ยขอ มลู การสง กําลัง พ.ศ.๒๕๒๑

๕.๓ ระเบียบ ทบ. วาดว ยการสงกําลัง สป.๓ สาย พธ. พ.ศ.๒๕๒๔

ตอนที่ ๒

กลาวทั่วไป
๑. กลา วนาํ :

ผูบังคบั บัญชาทกุ ระดับหนว ยและฝายอํานวยการ ซงึ่ มหี นา ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การนําหนว ยทหาร ยอ ม
ตองมกี ารวเิ คราะหส ถานการณ พัฒนาการหรอื ตคี วามสาํ คัญ และวิเคราะหเพือ่ ประเมนิ คา ยุทโธปกรณที่
ตอ งการและนาํ มาใชใหก ารปฏบิ ัตกิ ารบรรลุภารกจิ ของหนว ย หรอื ทําการประเมนิ คา ของขดี ความสามารถ,
จดุ ออนหรือหนทางปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปนไปไดหรือหนทางปฏบิ ตั ทิ ม่ี ีความมุงหมายไวโดยเฉพาะนน้ั

การปฏิบตั ดิ งั กลาวแลวน้ียอมตอ งอาศยั ขอมูลสถติ ติ า ง ๆ จากคูมือ, จากประสบการณท ีแ่ ลว ๆ มาเปน
เครือ่ งมือ เพ่ือชว ยใหการประมาณการและวางแผนสนับสนุน เปนไปอยางเหมาะสม
๒. ประโยชน :

๒.๑ เพอื่ เปน แนวทางปฏิบัตแิ ละบทเรียนสําหรบั คิดประมาณการสง่ิ อปุ กรณ
๒.๒ เพอ่ื ทราบขอมลู ความตอ งการ และขีดจาํ กัดความสามารถของแตล ะบุคคล และยานพาหนะ
ตลอดจนสงิ่ อปุ กรณน น้ั ๆ
๒.๓ เพ่ือการพัฒนา หรอื ปอ งกนั มใิ หเกดิ ขอบกพรองในการวางแผน
๒.๔ เพื่อความสะดวก, รวดเร็ว, ตอ เน่อื งและทันเวลาในการสนบั สนนุ


๒๔๐

๓. การประมาณการส่ิงอุปกรณ
คือ การพจิ ารณาแผนการปฏิบตั ิ เพ่ือการจัดเตรยี มสิง่ อปุ กรณตามความตอ งการเปน ประจาํ วัน หรอื

เพือ่ ตอบสนองความตอ งการเปนคร้งั คราว และเปน การเตรียมการไวลว งหนาผลของการประมาณการสงิ่
อุปกรณน ี้ จะนาํ ไปเปน ขอ พจิ ารณาในการจดั ทาํ คาํ ขอ (เบกิ ) หรือรายงานขอรับการสนับสนุนตอ ไป
๔. การใชค มู อื หรือมาตรฐานการสงกาํ ลงั บาํ รงุ

คูมอื หรือมาตรฐานตา ง ๆ ทีใ่ ชเปนเคร่ืองมอื ประมาณการสงิ่ อปุ กรณท ีไ่ ดจ ัดทําขนึ้ นนั้ เหมาะสาํ หรับ
การประมาณการสงิ่ อปุ กรณเ พ่ือวางแผนขน้ั ตน หรือเพ่ือการทดแทน ในหนว ยระดบั กรม ร. ซึ่งจะตอ งพฒั นา
เปล่ียนแปลง ใหเหมาะสมกบั สถานการณร บ, อัตราการจัดหนว ยตลอดจนการศกึ ษาคน ควา และพัฒนา ซง่ึ
จะตองกระทําควบคูกนั ไปดว ย

ตอนที่ ๓

การประมาณการสง่ิ อุปกรณป ระเภท ๑
๑. เกณฑความส้ินเปลือง :

หมายถงึ อัตราหรือจํานวน สป.๑ ที่ใชบรโิ ภคใน ๑ วนั ตอยอดกาํ ลังพล ๑๐๐ คน ใหถอื เกณฑความ
ส้นิ เปลืองดงั นี้

๑.๑ เสบียงสนามประเภท ก.
๑.๑.๑ เนอ้ื สัตว, ปลา, ไข, (ไมรวมกระดกู สตั ว)
๑.๑.๒ ผกั , ผลไม
๑.๑.๓ น้าํ มนั หม,ู นา้ํ มนั พืช
๑.๑.๔ พริกแหง
๑.๑.๕ กะป
๑.๑.๖ กะเทยี ม
๑.๑.๗ น้ําปลา
๑.๑.๘ น้ําตาล
๑.๑.๙ เกลือ

๑.๒ เสบยี งสนามประเภท ข.
๑.๒.๑ เนื้อกระปอง ๓๐๐ กระปอ ง (หนัก ๔๕ กก.)
๑.๒.๒ ขาวสารเปน สวนรวม ของเสบียงประเภท ก และ ข, เกณฑความสน้ิ เปลอื ง ๑๐๐ กก.

(หนกั ๑๐๑ กก. รวมกระสอบ) ตอ ๑๐๐ คนตอวนั
๑.๓ เสบยี งสนามประเภท ค.
เปน เสบียงสาํ เร็จรูป ๑๐๐ ชดุ (หนกั ๘๐ กก.) ตอ ๑๐๐ คนตอวัน
๑.๔ เสบยี งสนามประเภท ง.
กรมแพทยท หารบกเปนกําหนดเกณฑความสน้ิ เปลือง


๒๔๑

๑.๕ เสบยี งเสริมเบ็ดเตล็ด
ไมมกี ารกําหนดเกณฑไว

๑.๖ เชอื้ เพลงิ สาํ หรับหุงตม
ใชเ ปน สวนรว มของเสบียงตามชนดิ ของเครื่องใหค วามรอ ย และจะใชก บั เสบยี งประเภท ก

และ ข เกณฑค วามสน้ิ เปลอื ง ๑๐๐ คนตอ วันดังน้ี :-
๑.๖.๑ ไมฟน ๐.๕ ควิ บิคเมตร
๑.๖.๒ นํา้ มนั กาด ๑๕ ลิตร
๑.๖.๓ นาํ้ มันโซลา ๑๘ ลติ ร
๑.๖.๔ กาซ (ไมกาํ หนดความสิน้ เปลอื งไว) : เปน ความรับผิดชอบของ อศ.ทบ.

๒. เสบยี งอตั ราพิกัด :
หมายถึงจาํ นวนเสบยี ง (อาหาร) ท่ไี ดร ับอนมุ ัติใหห นว ยสนบั สนนุ ทาํ การสะสม และรกั ษาระดับ

สะสมไว เพื่อเผชญิ กับสภาวการณฉุกเฉนิ อนั อาจเกดิ ขน้ึ โดยมไิ ดค าดคดิ ไว
จึงใหห นว ยระดบั กองพลทหารสะสมเสบยี งไดก องพล จาํ นวน ๗ วนั เพือ่ การแจกจายใหแ กหนว ย

ตา ง ๆ ดงั ตอ ไปนี้
๒.๑ ระดบั กองรอ ย เสบยี งประเภท ค ๑ วนั
๒.๒ ระดับกองพนั , กรมและกองพล เสบยี งประเภท ข ๑ วัน, ประเภท ค ๑วนั และเชอ้ื เพลิงหุงตม ๑

วนั ตอ หนว ย)
๓. ระดับสะสม สป.๑

ระดับสะสม สป.๑ ในยุทธบรเิ วณ ๔๕ วนั สงกําลงั ดงั นี้
๓.๑ ในเขตหนา ๘ วัน
๓.๒ ในเขตหลัง ๓๗ วนั
๔. ประเภทของความตองการ
แบงออกเปน ๔ ประเภท คอื
๔.๑ ความตองการข้ันตน หมายถึง ปรมิ าณ สป. ทหี่ นว ยตอ งมไี วใ นครอบครองของหนวย
ในข้นั ตอน เพอื่ การปฏิบตั กิ าร ซ่ึง สป. นน้ั ๆ หนวยไมเ คยไดร บั จา ยมากอน
๔.๒ ความตอ งการทดแทนหรอื เพ่ิมเติม หมายถงึ ปริมาณ สป. ท่ีหนวยใชเ สนอความ
ตอ งการ เพือ่ ใชท ดแทน สป. ข้ันตน ท่ไี ดใ ชส ิ้นเปลืองไป หรือเพื่อเพ่มิ เตมิ จากจํานวนท่มี ีอยูในครอบครอง
๔.๓ ความตอ งการสํารอง หมายถงึ ปรมิ าณ สป. ที่หนวยสนับสนุนมีสํารองไว เพือ่ การ
แจกจายหรอื ทดแทนใหก บั หนว ยใช
๔.๔ ความตองการตามโครองการ หมายถึง การเตรียม สป. ไวเ พอื่ ตอบสนองความตอ งการ
ตามโครงการของกองทพั บกที่กําหนด
๕. สตู รการคิดคํานวณความตอ งการ สป.๑ และเชอื้ เพลงิ หุงตม
๕.๑ ความตอ งการเสบียงสนามประเภท ก


๒๔๒

ใหห นว ยใชเ สนอความตอ งการโดยอาศัยยอดกาํ ลังพลประจาํ วนั ของหนว ย เปน
เกณฑก ารเบกิ ทางหนว ยสนับสนุนจะเปนผดู ําเนนิ การแบง จา ยใหตามสว นสัมพนั ธ รวมทงั้ ขาวสารและ
เชอ้ื เพลิงหุงตม ดว ย ตามเกณฑก ารจา ยทก่ี ําหนด

๕.๒ ความตอ งการเสบียงสนามประเภท ข, ค และเชอื้ เพลิงหงุ ตม วิธคี าํ นวณความตองการ
โดยใชสูตร ดงั น้ี.-

สตู ร : ยอดกาํ ลงั พลบรโิ ภค x เกณฑความส้นิ เปลอื ง x จํานวนวันบริโภค
= จํานวนที่ตอ งการทัง้ สนิ้

ตัวอยา งเชน : ให พนั ร.เบิกเสบยี งประเภท ข ๑ วัน และเสบียงประเภท ค ๑ วัน, ยอดกาํ ลงั พลทบ่ี รโิ ภค ๙๙๑
คน, จาํ นวนทต่ี องการทั้งสน้ิ เทา ไร ?
วธิ ีคดิ คาํ นวณ : ตามสูตรทก่ี าํ หนด
ความตอ งการเสบียงประเภท ข = ๙๙๑ x ๓๐๐ x ๑ = ๒,๙๗๓ กระปอ ง

๑๐๐
ความตองการเสบยี งประเภท ค = ๙๙๑ x ๑๐๐ x ๑ = ๙๙๑ ชดุ

๑๐๐
๖. วิธเี บกิ :

๖.๑ ระดบั กองรอ ย ถอื วาเปน หนว ยใชห รือหนว ยประกอบเล้ยี งท่เี ลก็ ทส่ี ุด และมีหนา ทที่ ําการเบิก
เสบยี งตามสายการสง กาํ ลัง

๖.๒ แบบฟอรม ท่ใี ชเบกิ เสบยี งประเภท ก, ข, ค และ ง (ใหดใู นเรื่องระบบการสง กําลงั สป.๑)
๖.๓ การคํานวณความตองการ ตามสตู รที่ ทบ.กาํ หนด
๗. การแจกจา ย สป.๑ :
สถติ ิการแจกจา ย สป.๑ ท่ไี ดจ ากการทดลองปฏิบตั ขิ องกองเกยี กกาย กรมพลาธิการทหารบก มีดังน้ี

ลาํ ดบั การแจกจา ย สป.๑ กลางวนั กลางคืน

นาที นาที

๑ จายใหห นว ยระดับกองรอ ยหรอื เทยี บเทา ๕ ๑๐

๒ จา ยใหห นวยระดับกองพนั หรอื เทยี บเทา ๑๐ ๑๕

๓ จายใหหนวยระดบั กรมหรือเทยี บเทา ๑๕ ๒๐

๔ จา ยใหห นว ยระดับกรมผสมหรอื เทยี บเทา ๓๐ ๔๐

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


๒๔๓

ตอนที่ ๔

การประมาณการสิ่งอุปกรณประเภท ๓
๑. กลา วทว่ั ไป :

๑.๑ ตามระเบยี บกองทัพบก วาดว ยการสงกําลัง สป.๓ สายพลาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๒๔ ลง ๒๐ พ.ค.
๒๕๒๔ ไดก าํ หนดวิธปี ฏบิ ัตขิ องเจา หนา ที่ ในเรือ่ งการกําหนดความตองการและอน่ื ๆ ใหเ ปน มาตรฐาน
เดียวกนั

๑.๒ คําจาํ กดั ความ
๑.๒.๑ สป.๓ หมายถึง นาํ้ มันเชื้อเพลิงและนํา้ มันอุปกรณ ที่อยใู นความรับผดิ ชอบของ

พธ.ทบ. ซ่งึ ใชเกย่ี วกับยานยนต, เครอ่ื งจกั รกล, เครอ่ื งใหแ สงสวางและเคร่ืองใหความรอน
๑.๒.๒ นํ้ามนั เชื้อเพลงิ หมายถงึ นา้ํ มันท่ใี ชเ ปน เชื้อเพลิงเผาไหม, ใชกาํ ลังงาน เชน นาํ้ มัน

แกสโซลีน, นา้ํ มนั ดีเซล, นา้ํ มนั เตา, น้ํามนั กา ด, น้ํามนั เชอื้ เพลิงไอพน, เปน ตน
๑.๒.๓ น้าํ มนั อุปกรณ หมายถงึ น้าํ มนั ทใ่ี ชใ นการหลอ ลน่ื และปรนนบิ ัติบํารงุ ยานยนตและ

เคร่ืองจกั รกล (เวน นํ้ามนั เช้อื เพลิง) เชน นาํ้ มนั หลอล่ืน, ไขขน , น้ํามนั หา มลอ, นาํ้ มนั ไฮโดรริค และน้าํ มัน
เบ็ดเตล็ดตาง ๆ เปนตน

๑.๒.๔ อตั รานา้ํ มนั หมายถึง จาํ นวนนาํ้ มันท่ี ทบ. กําหนดไวเ ปน อตั ราประจาํ ใหหนว ย
เบิกจา ยไดเปน การแนน อน

๑.๒.๕ เครดติ น้ํามัน หมายถงึ จํานวนนา้ํ มนั ท่ี ทบ.หรอื หนวยบังคบั บญั ชาทไี่ ดรับมอบหมาย
จาก ทบ. กําหนดใหห นว ยใชเ ฉพาะงานเปน ครง้ั คราว ใหห นว ยเบิกจายไดต ามความจาํ เปน แตไมเ กนิ จํานวนท่ี
กาํ หนด

๑.๒.๖ เกณฑจ า ยน้ํามนั หมายถงึ เกณฑท่ี ทบ. กาํ หนดขั้นใหห นว ยตา ง ๆ ถอื เปนหลกั ใน
การกาํ หนดความตองการ หรือการเบิกจายตามลักษณะของงาน ตามสวนสัมพันธห รอื ตามกฎเกณฑอ ่นื เชน :
เกณฑจายนา้ํ มนั ปรนนิบตั บิ าํ รุงตามระยะเวลา, เกณฑจ า ยนํา้ มนั อุปกรณตามสวนสมั พันธของนํา้ มนั เชื้อเพลงิ
หรอื เกณฑจา ยนํ้ามนั ธรุ การในการฝกศกึ ษาตามจํานวนผเู ขารบั การศึกษาและระยะเวลาของหลกั สตู ร

๑.๒.๗ เกณฑค วามสิ้นเปลืองน้ํามนั หมายถงึ เกณฑท่ี ทบ. กาํ หนดข้นึ ใหห นว ยตา ง ๆ ถอื
เปน หลกั ในการกําหนดความตอ งการหรือการเบิกจา ยตามชนดิ , ขนาด ของยานพาหนะหรือยทุ โธปกรณ
สัมพนั ธก ับระยะเวลาหรือระยะทางทใี่ ชงาน เชน รถยนตบ รรทุกขนาด ๑/๔ ตนั มีเกณฑค วามสิ้นเปลอื งนํ้ามนั
เช้ือเพลิง ๕ กม./ลติ ร หรอื เคร่ืองกาํ เนดิ ไฟฟา ขนาด ๕ กโิ ลวตั ตม ีเกณฑความสิ้นเปลอื งน้ํามันเช้อื เพลงิ ๕
ลิตร/ชม.เปนตน

๑.๒.๘ วนั สง กําลัง หมายถงึ จาํ นวน สป. ซ่ึงประมาณวา จะตองใชสิน้ เปลอื งใน ๑ วนั เปน
หลักในการประมาณการสิ่งอปุ กรณ

๑.๒.๙ นํา้ มนั ตามอัตราพกิ ัด หมายถึง จํานวนน้ํามนั ท่ีกาํ หนดใหห นว ยมไี วสาํ หรบั เติมให
เต็มถังเชอ้ื เพลิงของยานยนตท กุ คันทีม่ ีอยใู นหนว ย รวมทัง้ นา้ํ มันเตมิ เต็มถงั อะไหล ตามอัตราของยานยนตน นั้
ๆ ดวย เพอ่ื ใหพ รอมท่ีจะนาํ ออกปฏบิ ัติการไดทนั ทเี มื่อไดรบั คําส่ัง


๒๔๔

๑.๒.๑๐ สายการสงกาํ ลงั หมายถึง ความเกีย่ วพนั ในทางสง กาํ ลังของหนวยตามลําดบั เชน :
หนวยใช ------- หนว ยสนบั สนนุ โดยตรง -------- หนวยสนบั สนุนทว่ั ไป ------ กรมพลาธิการทหารบก ------
------ กองทพั บก เปน ตน

๑.๒.๑๑ สายการบงั คบั บัญชา หมายถงึ ความเกยี่ วพันในทางการบังคับบญั ชาของหนว ย
ตา ง ๆ ตามลําดบั เชน :

กองพัน ------------- กรม ------- กองพล -------- กองทัพภาค --------- กองทัพบก หรือ :- จทบ.---------
มทบ. -------- ทภ. ---------- ทบ.
๒. ประเภทน้าํ มัน :

เพ่ือความสะดวกสําหรบั การอา งองิ ในการเสนอความตอ งการและการแจกจา ยจงึ แบงประเภทน้ํามัน
ของ ทบ. ออกเปน ๓ ประเภท ในการเบกิ จา ยดังน้ี

๒.๑ น้ํามนั ประเภท ๑ ไดแ กน้าํ มนั ท่ี ทบ. กําหนดใหห นวยตา ง ๆ ทําการเบิกจา ยเพื่อใชสําหรับการ
ปฏบิ ตั งิ านประจาํ ในรปู แบบของ “อตั รานํ้ามัน” เชน อตั ราจา ยน้ํามนั ประจาํ เดอื น ใชใ นงานทรงชีพ และพึง
ปฏิบัตติ ามปกติของหนว ย, อัตราจายน้าํ มนั ประจาํ เดือนสาํ หรบั ใชใ นกิจการสายแพทย เปนตน

๒.๒ นาํ้ มนั ประเภท ๒ ไดแ กน้ํามนั ที่ ทบ. กําหนดใหห นวยตาง ๆ ทาํ การเบิกจา ยเพอื่ ใชสําหรับการ
ปฏบิ ตั งิ านพเิ ศษเฉพาะเปนคร้งั คราวในรูปแบบของ “เครดิต” หรือวงเงนิ งบประมาณ เฉพาะงานหรือใน
รูปแบบของเครดิตรวมเปน สว นกลาง สาํ หรับงานท่มี ิไดค าดคิดไว หรอื คาดไมถึง เชน เครดิตนํ้ามนั ฝก , นาํ้ มัน
ลองเครอื่ ง, นา้ํ มันลองเครื่อง, นํ้ามันผลิตสิง่ อุปกรณ และเครดิตน้าํ มันประเภท ๒ เปนตน

๒.๓ นํ้ามันประเภท ๓ ไดแ กน า้ํ มนั ที่ ทบ. กาํ หนดใหห นว ยตาง ๆ ทาํ การเบกิ จา ยเพอ่ื การสะสม เกบ็
รกั ษาไว สาํ หรับการรองจายใชงานหรอื สาํ หรบั เปนนํา้ มนั สาํ รอง เชน นํ้ามันเกณฑส ะสมนาํ้ มนั นอกเกณฑ
สะสม, นํา้ มันตามอตั ราพกิ ัด เปน ตน
๓. การกาํ หนดความตอ งการ

๓.๑ น้ํามนั ประเภท ๑ อัตราประจาํ เดือน “ใชงานธุรการ” ใหหนว ยกาํ หนดความตอ งการ
โดยประมาณ และแสดงรายละเอียดของงานธรุ การของหนว ยท่ีตองปฏบิ ัตเิ ปน ประจาํ เพ่ือขออนมุ ตั ิเปน เครดิต
สาํ หรับใชใ นแตล ะเดือนทีต่ อ งการไปกอนจนครบ ๓ เดอื น แลวจงึ รวบรวมรายละเอยี ดการใชจ รงิ ของ ๓
เดอื นทผ่ี า นมานนั้ โดยเฉลี่ยยอดน้ํามนั ท่ใี ชเ พอ่ื การกําหนดความตอ งการ เปน อตั ราน้าํ มันประจําเดอื นและใช
บญั ชแี สดงรายละเอียดการเสนอความตองการนํา้ มัน (ใชแบบ ทบ.๔๖๕-๓๒๑)

๓.๒ นํา้ มันประเภท ๑ อตั ราประจําเดอื น “ใชงานเฉพาะ” นอกเหนือจากอัตราน้าํ มันตามขอ ๓.๑ ซ่ึง
ตามธรรมดางานในลกั ษณะเชนนี้ จะไดรบั อนุมตั ิใหใ ชน ้าํ มนั ประเภท ๒ ในรปู ของเครดิตเปน รายเฉพาะงาน
นน้ั กอ น เมื่อพจิ ารณาเหน็ วา ตอ งปฏิบัตเิ ปน การประจาํ ตลอดไปใหห นว ยใชก าํ หนดความตอ งการ, โดยแสดง
รายละเอียดการใชเ ฉลยี่ เปนรายเดอื นในรอบ ๑ ปทผี่ า นมา เพอ่ื ขอตัง้ เปน อัตราประจาํ เดือนโดยใชบ ญั ชีแสดง
รายละเอียดการเสนอความตอ งการน้าํ มนั เชนเดยี วกบั ขอ ๓.๑


๒๔๕

๓.๓ นํ้ามันประเภท ๒ ความตองการสาํ หรบั งานใด จะตอ งกาํ หนดข้ึนโดยแสดงรายละเอียดการใช
นาํ้ มันโดยประมาณ สาํ หรบั การปฏบิ ตั ิงานตง้ั แตต น จนจบ โดยใชบญั ชีแสดงรายละเอียดการเสนอความ
ตอ งการนา้ํ มนั เชนเดยี วกบั ขอ ๓.๑

๓.๔ นํ้ามนั ประเภท ๓ ตามอตั ราพิกดั ใหกรมฝายยุทธบริการท่ีรับผิดชอบในการสง กําลงั ยานยนต
เปน ผแู จง ชนดิ , จํานวน, ขนาด, หมายเลขทะเบยี น, ความจขุ องถังเชือ้ เพลงิ สําหรับยานยนตทจี่ ะจา ยใหมเ สนอ
ตอกองทัพบก (ผา น พธ.ทบ.)

๓.๕ การคาํ นวณความตองการ ในการกาํ หนดความตองการนํ้ามนั สาํ หรับใชงานตาง ๆ ใหใ ช
หลกั เกณฑคาํ นวณสาํ หรับยานพาหนะ หรอื ยทุ โธปกรณท ีใ่ ชงานแตละประเภท, ชนิดและขนาดดังตอ ไปน.ี้ -

๓.๕.๑ ยานพาหนะทก่ี ําหนดเกณฑค วามสิน้ เปลอื งตามระยะทาง ในการเคลอ่ื นยา ยจาํ นวน
นํา้ มนั ทต่ี องการทัง้ สิน้ (สตู ร)

= ระยะทาง x จาํ นวนเท่ียวตอ วัน x จาํ นวนวันปฏิบตั ิ x จาํ นวนยานยนต
เกณฑค วามส้ินเปลือง กม./ลิตร

ตัวอยาง : ระยะทางเคลอื่ นยา ย ๖๐ กม., จาํ นวน ๒ เทย่ี วตอ วัน (ไป-กลบั ) ปฏบิ ตั งิ าน ๕ วนั ,
ใช รยบ. ๒ ๑/๒ ตัน ๖ x ๖ จาํ นวน ๔ คนั , เกณฑค วามสิ้นเปลอื งนํ้ามนั ดเี ซลหมุนเรว็ ๓ กม./ลติ ร
จาํ นวนนาํ้ มนั ทตี่ องการเทา ไร
วิธีคดิ : = ๖๐ x ๒ x ๕ x ๔ = ๘๐๐ ลติ ร


๓.๕.๒ ยุทโธปกรณทก่ี าํ หนดความสนิ้ เปลอื งตามระยะเวลาของการใชง าน จํานวนน้ํามนั ท่ี
ตองการท้ังส้นิ (สูตร)
= จํานวน ชม. ทํางานตอวัน x จํานวนวนั x จาํ นวนยุทโธปกรณ x เกณฑความสน้ิ เปลือง/ชม.
ตัวอยาง : เคร่อื งกาํ เนิดไฟฟา ๕ กิโลวตั ต, จาํ นวน ๒ เครอ่ื ง, ทํางานวนั ละ ๑๐ ชม.,ใชงาน ๑๕ วนั , เกณฑ
ความสิ้นเปลอื งนาํ้ มันแกส โซลีนยานยนต ๕ ลติ ร/ชม. จาํ นวนนํา้ มนั ทีต่ อ งการเทาไร
วิธคี ดิ = ๑๐ x ๑๕ x ๒ x ๕ = ๑,๕๐๐ ลติ ร
๓.๕.๓ อากาศยานทกี่ าํ หนดความสิ้นเปลอื งเปนจํานวนลติ ร/ชม. ในการบินจํานวนที่
ตอ งการทัง้ ส้ิน
= จาํ นวน ชม. ในการบินตอ เท่ียว x จาํ นวนเที่ยวบิน x จาํ นวนเครือ่ ง x เกณฑความสิ้นเปลืองลิตร/ชม.
ตวั อยา ง : ฮท. ๑ จาํ นวน ๓ เคร่อื ง, ทําการบนิ ๒ เทยี่ วบนิ , ทาํ การเทย่ี วละ ๒ ชม., เกณฑความสิ้นเปลืองนาํ้ มนั
เจพี ๔ จาํ นวน ๓๘๔ ลิตร/ชม. ความตอ งการน้ํามนั เจพี ๔ เทา ไร
วิธคี ดิ : = ๒ x ๒ x ๓ x ๓๘๔ = ๔,๖๐๘ ลติ ร
๓.๕.๔ งานที่ ทบ. กําหนดเปน เกณฑจ ายไวเ ฉพาะเรื่องโดยแนน อน แลวใหคิดคาํ นวณตาม
เกณฑจ ายทไ่ี ดก าํ หนดขน้ึ ไวน ัน้
๔. การเสนอความตอ งการ
๔.๑ ใหหนว ยซึง่ มีหนา ที่ในการกําหนดความตองการ เสนิความตอ งการตามกาํ หนดเวลาดังน้ี


๒๔๖

๔.๑.๑ นา้ํ มันประเภท ๑, นา้ํ มันประเภท ๒ (ตามแผนงานหรือโครงการ) และนํ้ามนั ประเภท
๓ (ตามอัตราพกิ ดั ) ใหห นว ยเสนอความตอ งการในรอบป ใหทันการพจิ ารณาแผนงบประมาณประจําปต ามท่ี
หนวยเหนอื กาํ หนด

๔.๑.๒ น้ํามนั ประเภท ๒ สาํ หรับงานท่เี กดิ ข้ึนเปนคร้ังคราว โดยมิไดเ สนอความตองการไว
ลวงหนา ใหเสนอเปนครงั้ คราวตามความจาํ เปนของงานทีต่ อ งปฏบิ ตั ิ
๕. ขอกําหนดอื่น ๆ

๕.๑ หนว ยนับในการจา ย
๕.๑.๑ น้าํ มนั เช้ือเพลิงและน้าํ มนั อปุ กรณอ ื่น ๆ (เวนไขขน ) ใหน ับเปน ลิตร เศษของลิตร

ตั้งแต ๐.๕ ลิตรขน้ึ ไปใหน ับเปน ๑ ลติ ร ถาตํ่ากวา ๐.๕ ลติ ร ใหต ัดออกไป
๕.๑.๒ ไขขน ทุกชนดิ ใหนบั เปน กโิ ลกรมั เศษของกิโลกรมั ต้งั แต ๐.๕ กก.ขึ้นไปใหน ับเปน

๑ กก. ถาตา่ํ กวา ๐.๕ กก. ใหต ดั ออกไป

ตอนท่ี ๕

การประมาณการส่งิ อุปกรณป ระเภท ๕
๑. คําจํากดั ความ

๑.๑ การสง กําลัง สป.๕ หมายถงึ การปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั การกาํ หนดความตอ งการ การควบคมุ การ
จัดหา, แจกจาย, ซอมบํารุงและการจาํ หนา ย สป.๕

๑.๒ กระสุน หมายถึง วัตถซุ ึง่ สรา งขึ้นเปนพิเศษบรรจวุ ตั ถรุ ะเบิดหรือวัตถเุ คมหี รือรวมกนั โดยการ
ขับเคล่อื นจากอาวุธ,การวาง, การขวางหรือการทิ้ง อนั จะเปน เหตใุ หเกิดอนั ตรายหรือความเสียหาย หรอื การ
รบกวนตอ ชวี ติ ทรัพยสนิ และยงั หมายรวมถึงส่งิ หอ หุมและสว นประกอบในการจดุ ระเบดิ ดว ย

๑.๓ วัตถุระเบิด หมายถึง สารผสมหรือสารประกอบ ซึง่ เม่อื ไดร บั ความรอนหรอื การกระทาํ ทาง
เมแคนิคสท่สี มสวนกัน จะกอใหเ กดิ ปฏกิ ริ ิยาทางเคมี ทาํ ใหเกดิ การระเบิดขนึ้ ทันทีอนั จะกอ ใหเ กิดความรอน
และแกสเปนจาํ นวนมาก

๑.๔ วตั ถุทางเคมี หมายถงึ ของแข็ง, ของเหลว หรอื แกส ซ่งึ มีคณุ สมบัตทิ างเคมีอันจะกอ ใหเ กิดการ
สังหาร, บาดเจบ็ หรอื รบกวนตอ ชวี ติ , ทรัพยสนิ , การทาํ มา นควัน, การใหค วันสแี ละการกอเพลิง

๑.๕ อัตรากระสนุ มลู ฐาน หมายถึง จาํ นวนกระสนุ ซ่ึง ทบ. อนมุ ัตใิ หม ีไวท ี่หนวยใชเพ่อื เผชิญกบั
สถานการณและสามารถนําไปมาไดด ว ยกาํ ลังพลและยานพาหนะของหนว ยใชแ ละยงั หมายรวมถึง สป.๕ ซงึ่
อนุมตั ไิ วใ นอตั ราตาง ๆ ท่ีกาํ หนดอกี ดว ย

๑.๖ สายการสง กาํ ลงั กระสนุ หมายถึง ความเกี่ยวพันตามลําดับดงั นี้
หนวยใช ---------- คลังสวนภมู ิภาค ----------- คลงั แสง --------- ทบ.

๑.๗ สายการบงั คับบัญชา หมายถงึ ความเก่ยี วพนั ตามลําดับดงั นี้
กองพัน ------------ กรม ----------- กองพล ------------- กองทัพภาค ------------

กองทพั บก หรือ ----------- สวนภมู ภิ าค -----------ทภ. -------------- ทบ.


๒๔๗

๑.๘ การควบคุมกระสนุ หมายถงึ การควบคมุ ทางบญั ชีและการควบคมุ ทางสง กาํ ลัง
๑.๙ อตั รากระสุนทต่ี องการ คอื จาํ นวนกระสุนจาํ นวนหน่งึ โดยประมาณการวา หนวยตอ งการใช
ตอวัน เพ่อื สนับสนุนการปฏบิ ตั กิ ารชั่วระยะเวลาหนึง่ โดยไมม ีขอจํากดั อัตราตายตัวอาจเปล่ยี นแปลงได อตั รา
กระสนุ ท่ตี องการนี้ กําหนดเปนจํานวน นดั /กระบอก/วนั อัตราปกติ จะคาํ นวณไว ๑๐ – ๑๕ วนั และอาจ
คํานวณไวท กุ ประเภท, บก, หนว ยเหนอื จะเปน ผปู ระกาศระยะเวลาทใี่ ช (คดิ เฉพาะอาวธุ ทใ่ี ชท างยุทธวิธี
เทา นั้น)
๑.๑๐ อตั รากระสนุ ทีใ่ ชไ ด คือ อตั ราความสิ้นเปลืองกระสุนซงึ่ มกี ระสนุ ที่จะจายเพมิ่ เติมใหไ ดจาํ กัด
แตเ พือ่ ใหใชไ ดตอเนือ่ งในชว้ั ระยะเวลาทีก่ าํ หนด จงึ กาํ หนดใหห นว ยใชอยางประหยดั ผบ.ยุทธบริเวณจะเปน
ผกู ําหนด พรอมกบั ระบุหว งระยะเวลาการใชไ ดท แี่ นน อนไวด วย

- อตั รากระสนุ ทีใ่ ชไ ดน ้นั แมท ัพอาจกําหนดอตั ราท่ใี ชไ ดขนึ้ ใหมก ไ็ ด แตต อ งไมเ กินจาํ นวน
ที่ ผบ.ช้ันเหนอื กาํ หนดหลกั การกําหนด เปน จํานวนนดั /กระบอก/วนั และจะกาํ หนดใหเฉพาะอาวธุ ของหนว ย
ทางยุทธวิธหี รอื ออาวุธทีม่ ีพลประจาํ ของหนว ยทไี่ มใชห นว ยทางยุทธวธิ ดี ว ย สวนหนว ยอน่ื ๆ อาจกาํ หนดให
ไดต ามความจาํ เปนทตี่ อ งใชใ นการรบตามเหตุการณ

- วัตถรุ ะเบดิ อนื่ ๆ กําหนดอัตราเปนหนว ยนบั เชน เปน ชน้ิ , เปน กอ น เปนลูก หรือเปน
นา้ํ หนกั โดยประมาณการทเ่ี หมาะสม ตอหนวย, ตอบุคคล หรือยานพาหนะตอวัน

๑.๑๑ การควบคมุ ทางบญั ชี หมายถึง กรรมวธิ ที างการบญั ชี เพือ่ ใหท ราบถึงจํานวนทีถ่ กู ตอง เชน
จํานวน, ทเ่ี กบ็ และสถานภาพกระสนุ ในความรบั ผิดชอบเกยี่ วกับสถานภาพ,คงคลงั และคางรับ เปน ตน

๑.๑๒ การควบคุมทางสงกาํ ลัง หมายถึง การดาํ เนนิ การเพอ่ื ใหก ระสุนตามตอ งการไดสัดสวน
สัมพันธกนั กบั ทรพั ยท ่มี ีอยู อนั จะกอใหเ กดิ ผลในทางงบประมาณ, การจดั หา, การแจกจา ย หรือการจาํ หนาย
๒. การควบคมุ สป.๕

๒.๑ ประเภทการควบคมุ
๒.๑.๑ การควบคมุ ทางสงกาํ ลงั หนวยในสายการสง กาํ ลงั ระดับต่ํากวา ตอ งอยใู นความ

ควบคุมของหนว ยระดับเหนอื กวา
๒.๑.๒ การควบคมุ ทางบัญชี ทุกหนว ยในสายการสงกาํ ลงั ตอ งจดั ต้ังหนวยบัญชีคมุ ขนึ้ ตาม

ความเหมาะสม
๒.๒ กรรมวิธีในการควบคมุ กระสนุ มาตรฐาน
๒.๒.๑ ทบ. กาํ หนดอตั รากระสุนมูลฐานเปน จํานวนนดั /กระบอก/ชนดิ อาวธุ
๒.๒.๒ จก.สพ.ทบ. อนุมตั จิ ายอตั รามูลฐาน
๒.๒.๓ อัตรามูลฐานใหใ ชกรณีฉกุ เฉินเทา น้นั
๒.๒.๔ ใหห นว ยใชห มนุ เวยี นกระสนุ ฝกทีใ่ หมก วา เขาเก็บแทนที่
๒.๒.๕ ตองรกั ษาใหม ีจํานวนครบอตั รามลู ฐานอยเู สมอ

๓. ชนิดการเบกิ
๓.๑ เบกิ ขนั้ ตน


Click to View FlipBook Version