The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by newzeroone01, 2022-12-01 21:53:28

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

รวมเอกสารวิชากิจการพลเรือนโรงเรียนการบิ

๒๔๘

๓.๒ เบิกทดแทน
๓.๓ เบิกพเิ ศษ
๓.๔ กระสุนฝก
๔. ผูสิทธเิ บิก
ให ผบ.หนว ย หรอื ผูร กั ษาราชการหรือผทู ําการแทนเทานั้น เปนผูมีสทิ ธเิ บกิ และมอบฉนั ทะรบั ของ
แทน โดยสงลานเซ็นตามระเบียบ ทบ.วา ดว ยการสง ลายเซน็ พ.ศ. ๒๕๑๐
๕. การประมาณการ สป.๕
๕.๑ อตั รากระสุนมลู ฐานที่ตองการ :-

= จํานวนอาวุธ x จํานวนนดั ทกี่ ําหนด
ตัวอยา ง = ๑๐๐ x ๓๘๐ = ๓๘,๐๐๐ นัด

๕.๒ อตั รากระสนุ ทตี่ อ งการ เปนจํานวนกระสุนของอาวธุ ทุกชนิด โดยการกําหนดเปน จํานวนนดั ตอ
กระบอกตอ วนั เพือ่ ใหห นว ยมกี ระสุนปฏบิ ตั กิ ารไดอยางตอเนือ่ งกัน ช่ัวระยะเวลาหนง่ึ

- เกณฑค วามสนิ้ เปลอื งกระสนุ ใหถอื ตารางการใชก ระสนุ ตามลกั ษณะการรบเพือ่ เปน แนวทาง
การทาํ ประมาณการใชก ระสนุ ไปพรางกอน
สตู ร : การคิดคาํ นวณความตองการ ดงั นี้ : -

+ [ จํานวนอาวธุ x จํานวนนดั ท่ใี ชในวนั แรก
จาํ นวนอาวุธ x จาํ นวนนดั ท่ใี ชใ นวนั ตอ ไป x จาํ นวนวนั ทเ่ี หลอื

ตวั อยา ง : ค. ๘๑ มม. จาํ นวน ๓ กระบอก, จาํ นวนนดั ทใ่ี ชในวนั แรก ๗๐ นดั , จํานวนนดั ท่ีใชใ นวันตอไปวัน
ละ ๔๐ นัด, ทาํ การเขา ตที ม่ี น่ั ถาวรของขา ศึก จาํ นวน ๓ วนั ความตอ งการกระสนุ ค.๘๑ มม. ทั้งส้ิรเทา ไร?
วธิ ีคดิ ๑) ความตองการวันแรก = ๓ x ๗๐ = ๒๑๐ นดั

๒) ความตอ งการวนั ตอ ไป = ๓ x ๔๐ x ๒ = ๒๔๐ นดั
ความตองการทั้งส้ิน = ๒๑๐ + ๒๔๐ = ๔๕๐ นดั

๖. สป.๓ : เกณฑค วามสิ้นเปลือง สป. ๓
- ประกอบคําสงั่ ทบ. ท่ี ๓๖๗/๑๗ ลง ๑๘ ก.ย.๑๗

๗. อตั รากระสนุ มลู ฐาน :-
- ตามคําส่งั ทบ. (เฉพาะ) ที่ ๑๔๖/๒๗ ลง ๑๑ มิ.ย.๑๗

๘. ความตอ งการวสั ดุปอ มสนาม :-
- คูม ือการสั่งกาํ ลังบํารงุ ของ ทบ. วาดว ยมลู การสงกาํ ลังบาํ รงุ พ.ศ. ๒๕๒๑

เกณฑค วามสนิ้ เปลืองนาํ้ มนั เชื้อเพลิง สําหรับยานพาหนะในการใชง านและนํา้ มนั เตม็ ถัง
ประกอบคําสั่ง ทบ.ที่ ๓๖๗/๑๗ ลง ๑๘ ก.ย.๑๗

--------------------------------------------------------------------------------------------


๒๔๙

๗. อัตรากระสนุ มูลฐาน
(ลบั มาก)

๗. ตามคําสงั่ ทบ. (เฉพาะ) ท่ี ๑๔๖/๒๗ ลง ๑๑ ม.ิ ย.๒๗ เร่ือง อตั รามูลฐาน

จาํ นวน แยกประเภท หมาย
นดั / เหตุ
ลําดับ ชนิดอาวุธ กระบอก ชนดิ กระสนุ จํานวน ชนวน จาํ นวน
๑๐ ชนวน
๑. ขนาด ๑๒ ๒๑ นดั -
๒. ปพ.๘๖ (๑๑ มม.) ๓๘๐ -
๓. ปลย.เอม็ .๑๖ ขนาด ๑๒ เบอร ๐๐ ๑๐ -
๓๘๐
(๕.๕๖ มม.) ธรรมดา ๒๑ -
๔. ปลย.๑๑ (เอชเค.
ธรรมดา ๓๐๔
๓๓) (๕.๕๖มม.)
๕. ปก.๗.๖๒ มม. สอ งวถิ ี ๗๖

- พ้นื ดิน ธรรมดาสองวถิ ี ๓๐๔
.๖. ปก.๙๓ (.๕๐ นิว้ )
๗๖
- พืน้ ดิน
๗. ค.๔๐ มม. ๓๑๐๐ ธรรมดา-สองวถิ ี ๓๑๐๐

- เอ็ม ๗๙ ๖๓๐ ธรรมดา-สองวถิ ี ๖๓๐
- เอ็ม ๒๐๓
๘. ค.๘๘ (๖๐ มม.) ๓๐
๙. ค.๙๓ (๘๑ มม.)
- พื้นดนิ
๑๐. ค.๙๔ (๔.๒ นว้ิ )
- พื้นดนิ
๑๑. ค. ๑๒๐ มม.
๑๒. ปรส.๑๐๖ มม.
๑๓. เครอ่ื งยงิ จรวด
๗๓ มม.
๑๔. อาวธุ นําวิถดี รา
กอน
๑๕. พลุสัญญาณปน
ปากกา


๒๕๐

๘. ความตองการวสั ดุปอ มสนาม (สป.๔)
๑. ความตอ งการกระสอบทราย :-

๑.๑ ทําแบบ : กรุลาดแถวเดย่ี วเรยี งตามยาว
จาํ นวนที่ใช : ๑๖๐ ถุง ตอพื้นที่ ๑๐๐ ตารางฟตุ
ใชค น ๑๖ คน/ชม./๑๐๐ ตารางฟตุ

๑.๒ ทําแบบ : สลบั ตามทางตัง้ -และทางยาว
จํานวนทใ่ี ช : ๗๒๐ ถงุ ตอพน้ื ท่ี ๑๐๐ ตางรางฟุต
ใชคน ๑๖ คน/ชม./๑๐๐ ตางรางฟตุ

๑.๓ ทําแบบ : ถม, เชงิ เทนิ , พนู ดิน
จํานวนท่ีใช : ถงุ ตอ ๑๐๐ ลูกบาศกฟตุ
ใชคน : ๒๐ คน/ชม.๑๐๐ ลูกบาศฟุต

๒. ความตอ งการเครอื่ งกดี ขวางประเภทลวดหนามหบี เพลง
๒.๑ ความยาวของเคร่ืองกีดขวางทางยทุ ธวธิ ี :-
สาํ หรับท่มี นั่ ต้งั รับ = ๑ _๑_ เทา ของกวา งดา นหนา
๒.๒ ความยาวของเครอื่ งกดี ขวางปองกนั ตน :-
สาํ หรบั ทที่ ่นั ตง้ั รับ = ๕ เทา ของกวา งดา นหนา
๒.๓ ความยาวของเครื่องกดี ขวางทางยทุ ธวิธี :-
ในการต้งั รบั ปราณตี = ๕ เทา ของกวางดานหนา
๒.๔ ความยาวของเคร่อื งกดี ขวางปองกนั ตน :-
ในการตงั้ รบั ปราณตี = ๖ เทา ของกวา งดา นหนา

๓. ความตอ งการ : จาํ นวนขดลวดหบี เพลง ที่จะใชร ะยะ ๓๐๐ เมตร
๓.๑ ลวดหีบเพลง ๒ แนว, แสวงเครื่อง ๑๐๐ ขด
๓.๒ ลวดหบี เพลง ๓ แนว, แสวงเครือ่ ง ๑๔๘ ขด
๓.๓ ลวดหบี เพลง ๓ แนว, มาตรฐาน ๕๙ ขด

หมายเหตุ
ก. ลวดหีบเพลงแสวงเคร่ือง ๑ ขด ยดื ไดย าว ๖ เมตร (๒๐ ฟุต)
ข. ลวดหบี เพลงมาตรฐาน ๑ ขด ยืดไดยาว ๑๕ เมตร (๕๐ ฟตุ )
ค. ตอ งมลี วดเกลย้ี งเบอร ๑๖ เพอ่ื ใชผูกมัดดว ย
ง. เสาเหลก็ เกลียว และขาเหลก็ ตวั ยูตามจํานวน


๒๕๑

ตอนที่ ๖

การประหยัดการสงกาํ ลงั
๑. กลาวทว่ั ไป :

๑.๑ การประหยดั การสง กาํ ลงั เปนความรบั ผดิ ชอบของ ผบ.หนวยทกุ ระดบั และมคี วามสําคัญมาก
ทส่ี ุดในเขตหนา ซง่ึ ทหารทุกคนจะตอ งไดร บั การปลูกฝงนสิ ัยในเรื่องพนื้ ฐานของการปรนนิบัตบิ าํ รงุ รักษา
ยุทธภัณฑตา ง ๆ ในความรบั ผดิ ชอบของตนและของหนว ย ใหส ามารถใชการไดดตี ลอดจนการถนอม การ
เก็บ การซอ มบาํ รงุ การใชอยางประหยัด

๑.๒ การประหยัดการสง กําลงั ตอ งไมค ิดแตเ พยี งออมเทาน้นั นกั การทหารจะตอ งมองการไกล คือ
ตองคํานึงถงึ ความเปน ไปไดข องทรพั ยากรตาง ๆ ที่จะใหก ารสนบั สนนุ ทางสง กาํ ลงั แกส ว นกาํ ลังรบใน
แนวหนา ยอมมคี วามตอ งการเครือ่ งมอื การรบ และอน่ื ๆ เพอ่ื การสูร บท่ีมีประสทิ ธภิ าพอยูในครอบครอง
ตลอดเวลา ดงั นั้นการออมเขา ไวอาจหมายถึงชีวิตหรอื ความพายแพก็ได

๑.๓ ฝอ.๔ จะตอ งประสานกบั ฝยก. เพือ่ ใหมนั่ ใจวา ไดม ีการฝก หรือฟน ฟูในเรื่องการประหยดั ใหแก
สว นกาํ ลงั ทกุ หนว ยในกรม ร. และเนนในเรอ่ื งมาตรการปองกนั ไมใหม กี ารละเมิดการประหยดั การสง กําลงั

๑.๔ ตวั อยา งของการละเมดิ การประหยัด
๑.๔.๑ ทหารละทงิ้ หรอื โยนท้งิ ยทุ ธภณั ฑเ พ่อื ลดน้ําหนกั
๑.๔.๒ การสะสมสิ่งอุปกรณเกินความจาํ เปน หรือไมไดร บั อนุมัติ
๑.๔.๓ การใชย านพาหนะโดยไมจ ําเปนหรือไมคุมคา
๑.๔.๔ การนาํ สป. งดใชการไปใชประโยชนก อ นการซอ มบํารุง
๑.๔.๕ ไมป ฏบิ ัติตามระบบการซอมบํารงุ ตามที่ ทบ. กาํ หนด

๒. สรปุ สาระสาํ คญั :
การประมาณการสิ่งอปุ กรณแ ละการประหยดั
๒.๑ การประมาณการสิ่งอปุ กรณ คอื การพิจารณาแผนการสง กําลงั บํารุงเพอ่ื เตรียมสนบั สนุนตกาํ ลัง

รบหรอื เปน การจดั หาลวงหนา และผลของการประมาณการนี้ จะนําไปเปน การจดั ทาํ คําขอหรอื เบกิ ตอ ไป
๒.๒ เกณฑความสิน้ เปลือง สป.๑ หมายถึงอัตราหรอื จาํ นวน สป.๑ ท่ีใชบรโิ ภคใน ๑ วนั ตอ ยอด

กําลงั พล ๑๐๐ คน ตามเกณฑจ ายที่ ทบ.กาํ หนด ซ่ึงไดแ กเสบียงประเภท ก,ข และ ค รวมถงึ เชื้อเพลิงที่ใชใ น
การหุงตมทใ่ี ชก บั เสบียงประเภท ก หรอื ข ตามชนดิ ของเครอื่ งใหความรอนนั้น ๆ ดว ย

๒.๓ เสบยี งอตั ราพิกดั หมายถงึ จํานวนเสบยี งที่ไดรับอนมุ ัตใิ หทําการสะสมไวเพ่อื เผชิญกบั
สถานการณฉ ุกเฉนิ ซงึ่ มิไดคาดคดิ ไว

๒.๔ เกณฑค วามสิ้นเปลืองน้าํ มนั หมายถงึ เกณฑที่ ทบ.กําหนดขน้ึ เพอ่ื ใหห นว ยตาง ๆ ยดึ ถือเปน
หลักปฏิบตั ิในการกําหนดความตองการใหเ ปน ระเบียบเดยี วกนั ตลอดจนขอ กําหนดอน่ื ๆ

๒.๕ อัตรากระสุนมูลฐาน หมายถงึ จํานวนกระสนุ ท่ี ทบ.อนุมตั ใิ หม ีไวท ห่ี นว ยใชเพ่ือเผชญิ กบั
สถานการณ และหมายรวมถงึ สป.๕ ซึ่งอนมุ ตั ิไวในอัตราตา งๆ ทกี่ ําหนดอีกดว ย


๒๕๒

๒.๖ การประหยัดการสง กําลงั เปน ความรับผดิ ชอบของ ผบ.หนวยทกุ ระดบั ที่จะตอ งพจิ ารณาอยา ง
ถอ งแทค อื ไมค ดิ แตเพยี งออมเทา นั้น


๒๕๓

บทที่ ๖

ตอนท่ี ๑

เอกสารนํา

บทเรยี นเรือ่ ง : บันทกึ และรายงานการสง กาํ ลังบาํ รุง

ความมงุ หมาย : เพอื่ ใหทราบถึงความสําคญั ของเอกสาร การบนั ทกึ และรายงาน ตลอดจนวิธี

ปฏบิ ัตติ อ เอกสารทางการสง กําลงั บาํ รุงของหนวย

ขอบเขต : การเตรียมเอกสารตา ง ๆ ที่ใชส าํ หรับบนั ทกึ และรายงานในหนว ยระดบั กรม

ร. ลงมา

๑. บนั ทกึ ประจาํ วนั

๒. เอกสารแยกเร่อื ง

๓. แผนที่สถานการณ

๔. การรายงาน

งานมอบ : ใหอ า นทําความเขา ใจในเอกสารน้ี และเตรียมขอ สงสัยมาถามในหอ งเรียน

พรอมกับเอกสารนาํ เอกสารน้มี าในหอ งเรียน

หลกั ฐานอา งองิ : นส.รร.ร.ศร.

ตอนที่ ๒

บันทกึ การสง กําลงั บํารุง
๑. กลาวทวั่ ไป

๑.๑ การจัดทาํ บันทึกตา ง ๆ ทางการสงกาํ ลังบาํ รงุ ข้นึ ในสํานกั งานของ ฝอ.๔ ก็เพอื่ ใชเ ปนภาพบนั ทึก
การปฏิบัติการของหนวย ระหวางทาํ การรบเพ่อื ความมุง หมายทางประวตั ศิ าสตร หรอื ประสบการณของ
หนวยบันทกึ ตา ง ๆ ทจี่ ดั ทําขึ้นอยา งตอ เนอ่ื ง จะเปน ประโยชนตอ การจัดทาํ รายงานทางการสงกําลงั บาํ รงุ ของ
หนวยเปน อยางดี

๑.๒ บันทกึ ระบบการบนั ทกึ ของแผนก ฝอ.๔ เพ่อื ใหไ ดข า วสารสาํ คัญแกผ ูบังคับบัญชา และฝา ย
อาํ นวยการ แกหนว ย, แกห นว ยเหนอื , หนว ยรองและหนว ยอื่น ๆ ท่เี กย่ี วของ เพ่อื นาํ ไปใชประโยชนใน
การวางแผนตามหนา ทข่ี องตน
๒. บนั ทกึ ประจําวนั (บปว.)

๒.๑ คือการบนั ทึกขาวสาสน ตามเหตกุ ารณทเี่ กดิ ขึ้น และสง ผา นเขา มายังสํานกั งานแลว บันทึกไวโดย
เรยี งลาํ ดับเหตกุ ารณเ หลานน้ั ไวใ นบันทึกประจาํ วนั ซึง่ จาํ นวนรายละเอยี ดท่ีบนั ทกึ อาจแตกตา งกันไปบาง อนั
เนื่องจากเจา หนาทที่ ีม่ ีอยูใ นแผนกและประเภทการรบท่ีดาํ เนนิ การอยใู นขณะนน้ั เชน เม่อื มีเกตกุ ารณส ําคญั ๆ
จงึ จะบนั ทึกลง หรือเมือ่ พิจารณาถงึ ความจาํ เปน และควรบนั ทึกลง เชน เม่อื ไดข าวสาสนสาํ คญั , การเยยี่ มเยยี น
ของ ผบ. และ ฝอ.ชั้นเหนอื , ขอ สรุปผลการประชุมของหนว ยและการออกไปจากทต่ี ัง้ ทก. ของ ผบ.หนวย
และ ฝอ. หรอื หวั หนาแผนกเปน ตน


๒๕๔

๒.๒ การลงบนั ทึกประจาํ วนั ของหนว ย ใหทาํ การบันทกึ ตามหว งระยะเวลาของแตละวนั และ
ครอบคลมุ ๒๔ ชั่วโมง โดยเร่ิมบนั ทึก วนั เวลาการเปด บปว. ไวในชอ งเหตกุ ารณในแบบฟอรม เสยี กอ น คร้ัน
เมื่อมีขา วสาสนหรือคําสั่งเขา มาก็ใหบนั ทกึ เรียงไปตามลาํ ดับกอนหลงั วธิ กี ารบนั ทกึ ขา ว ถาขา วสาสน ที่เปน
ขอ เขยี น ใหสรุปความสัน้ ๆ แตตองกระทดั รดั ชดั เจนอานไดค วามและเก็บขา วตน ฉบบั นน้ั ๆ ไวในแฟม
บปว. ดว ย แตถ า เปนคําสัง่ ดวยวาจา จะตอ งบนั ทึกรายละเอียดใหสมบรู ณม ากทส่ี ุด เทา ทจี่ ะทาํ ได

เมอ่ื ทําการบนั ทกึ จนถึงสนิ้ หว งระยะเวลาของแตล ะวนั ผบู นั ทึกจะตอ งทาํ การสรุปเหตกุ ารณสาํ คญั ๆ
เพือ่ เปนผลตอ การปฏบิ ตั ใิ นวันตอไป ลงไวตอนสุดทา ยของรายการทไี่ ดบนั ทกึ ไวแ ตล ะวนั ดว ย ซึง่ ขอ สรุป
ควรมสี าระสําคญั ท่ีจําเปน แกหนว ย จะตองปฏบิ ตั ิในวนั ตอไปและ (ทาํ ไม ?)

๒.๓ ผูทีด่ แู ลรกั ษา บปว. ของหนวย ระดับการกรมและกองพนั คอื ฝอ.๑ เม่อื หนว ยตองทํา บปว.
แบบรวมการทง่ั หนว ย การบนั ทกึ ก็เปน หนาทขี่ อง ฝอ.๑ รับผิดชอบโดยตรว เมอื่ หนว ยตอ งแยกการบันทึก ก็
ใหแตล ะ ฝอ. จดั ทํา บปว. ขนึ้ ภายในแผนกของตนหรอื อาจรว มกัน ๒ ฝอ. เมอ่ื ครบรอบ ๑ วนั แลว ตอ ง
รวบรวมสงให ฝอ.๑ ของหนว ย เพอื่ เกบ็ ไวเปน หลกั ฐานของหนว ยและดําเนนิ การตอไป

๒.๔ ระบบการบันทึกประจาํ วนั อาจกาํ หนดเปน คาํ สงั่ ไวใ นระเบยี บปฏบิ ัตปิ ระจําของหนว ย
๒.๕ ประเภทเอกสาร บปว. เปน เอกสารประเภทถาวร ลกั ษณะเอกสารเปนแบบฟอรม ตายตัวซ่งึ ทบ.
กาํ หนด
๓. เอกสารแยกเรือ่ ง
๓.๑ เอกสารแยกเรือ่ งของแผนก ฝอ.๔ คอื การบันทกึ ขาวสาสน การสง กาํ ลงั บํารุงของหนว ยแบบแยก
รายการ โดยแยกเร่ืองบนั ทกึ ออกเปน ๕ เรอ่ื ง ดังตอ ไปน้ี

๓.๑.๑ การสงกาํ ลงั
๓.๑.๒ การขนสง
๓.๑.๓ การซอมบํารุง
๓.๑.๔ การสงกลบั สายแพทยแ ละการรกั ษาพยาบาล
๓.๑.๕ เบ็ดเตลด็
๓.๒ การบันทึก ใหบ ันทกึ เรือ่ งราวขา วสาสน เฉพาะสว นท่เี กยี่ วขอ งกบั แผนก ฝอ.๔ โดยตรง โดย
แยกรายการแตละเรอ่ื งไวใ หถ กู ตอ งดว ยเพ่อื ใชเ ปนบนั ทกึ ชว ยความจาํ หรือใชเ ปน พ้นื ฐานทาํ ประมาณการ
แผนและคําสั่ง หรอื การปฏบิ ัติงานของแผนก ฝอ.๔ นอกจากนย้ี งั ใชเพอ่ื ตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ าน และประกนั
ในความตอ เนอ่ื งของงานที่ตองกระทําปจจบุ ันหรอื ในอนาคตการปฏิบตั ติ อ ขอความแตล ะรายการท่บี นั ทกึ ไว
แลว ถารายการใดหมดความจําเปน หรอื ปฏบิ ตั ิแลวกใ็ หข ดี ฆาขอ ความนั้นเสยี เพอ่ื เปนสิ่งชส้ี อบวา ส่งิ นั้นได
ดําเนินการเสร็จเรียบรอยแลวและไมจาํ เปน ตองสอบทางซ้ําอีก หรือเมอ่ื เหน็ วาเรอื่ งใดหรือทกุ เรือ่ งหมดความ
จําเปน ใหทําลายได
๓.๓ แบบของบันทึกเอกสารแยกเรื่อง ไมม แี บบฟอรม ตายตวั และมไิ ดจํากดั หว งระยะเวลาบนั ทึก
เหมอื นบันทกึ ประจาํ วนั ฉะนน้ั ใหพิจารณาถงึ ภารกจิ หรอื งานตามความเหมาะสม
๓.๔ ประเภทเอกสาร จัดเปน เอกสารประเภทช่ัวคราว เพอื่ ความสะดวก/รวดเรว็ ในการใชป ระโยชน


๒๕๕

๔. แผนท่สี ถานการณ
๔.๑ แผนทสี่ ถานการณ ของแผนก ฝอ.๔ ทจี่ ัดทาํ ขนึ้ เพื่อใชส าํ หรบั บนั ทกึ เหตกุ ารณต าง ๆ ตาม

สถานการณท่เี กิดข้นึ หรอื เมอื่ ไดหลกั ฐานมาและเปนเร่ืองราวทางการสงกาํ ลังบาํ รงุ โดยเฉพาะ เวน แตเมอ่ื
ผบ.หนว ย กาํ หนดใหท ําเปน แผนท่ีสถานการณช ว ยรบ กจ็ ะตองบนั ทกึ รว มกนั กบั ฝอ.๑ และฝอ.๕ ของหนวย
แต ฝอ.๔ จะตอ งเปน ผูดแู ลรกั ษาและพฒั นาใหทนั สมยั อยูเสมอ

๔.๒ การปฏบิ ตั ิ ขา วสาสน ตางๆ ทสี่ งเขามาและเกยี่ วของกบั ฝอ.๔ ใหล ง บปว. ไวเปน หลักฐาน
เสียกอน และถา เหน็ วาจําเปน ตอ งบันทกึ บนแผนทส่ี ถานการณก ใ็ หบนั ทึกลงทันทีแตถ า ไมจ าํ เปนตอ งลง ก็ให
ทําการบนั ทึกในเอกสารแยกเร่ืองของ ฝอ.๔ รายละเอยี ดสําคัญ ๆ ท่ีควรนํามาบนั ทึกบนแผนทสี่ ถานการณ
ยอ มจะแสดงใหทราบถงึ เสน เขตปฏบิ ตั กิ าร, การวางกาํ ลงั ของหนว ยทางยุทธวิธีเทา ทค่ี วรทราบ, ที่ตง้ั ทางการ
สงกาํ ลงั บํารงุ ปจ จุบนั หรอื แผนในอนาคต, เสน หลกั สง กาํ ลงั , เสน ทางสง กําลงั เปนตน

อนงึ่ การบันทึกจะตอ งลงรายการสาํ คัญของแบบฟอรม ท่กี าํ หนดไดบ นแผนทส่ี ถานการณ
ดา น ซายบน/ซายลาง, และดา นขวาบน/ขวาลา งตามความจําเปน ทเ่ี กี่ยวของดวย

๔.๓ ระบบการบนั ทกึ อาจใหบนั ทกึ แบบรวมการหรอื แยกการ การบันทึกแบบรวมการหมายถงึ
ทุก ฝอ. บนั ทึกโดยใชแผนทีส่ ถานการณเดยี วกนั ทั้งหนว ย ถาแยกการ หมายถึง การแยกเปน คู ฝอ.หรอื
การแยกเดย่ี ว แตละ ฝอ. ทําข้นึ เอง ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู ับนโยบายของ ผบ.หนว ย

๔.๔ ประเภทเอกสาร แผนทสี่ ถานการณจ ดั เปน เอกสารประเภทชว่ั คราว หลังจากใชบ นั ทกั เหตุการณ
และหมดความจาํ เปน ตอการใชป ระโยชนก ็ใหล บออกได

ก. ตัวอยา ง : แบบฟอรมบนั ทกึ ประจําวัน

ข. ตวั อยาง : แบบฟอรมเอกสารแยกเรื่อง


๒๕๖

ค. ตวั อยาง : แผนท่สี ถานการณ
กรม ร. ทําการรบดวยวิธีรกุ

ตอนท่ี ๓

รายงานการสง กําลงั บํารุง
๑. กลา วนาํ

๑.๑ การอาํ นวยการ กาํ กับดูแลและการควบคมุ การยุทธ จะบังเกดิ ผลดีตามวตั ถปุ ระสงคของ
ผูบ งั คบั บญั ชา ยอ มขึ้นอยดู ับระบบการรายงานที่ใหข า วสารอนั เปนประโยชนและทนั เวลาของหนว ยรายงาน

๑.๒ ชนิดและแบบของรายงาน, ขอบเขตและระยะเวลาของรายงาน ยอ มขนึ้ อยกู ับภารกิจหรือความ
ตองการของหนว ย เพื่อใหไดห ลักฐานสําคัญทีจ่ ําเปนแกการบริหารหรือวางแผนปฏบิ ตั ิการตามภารกจิ ใหเ กิด
ประสทิ ธิภาพ

๑.๓ นโยบายการรายงาน เกย่ี วกับวธิ ีดาํ เนนิ การและระบบการควบคมุ รายงาน โดยธรรมดาจะระบุไว
ในระเบยี บปฏบิ ตั ปิ ระจําของหนวยเหนือ
๒. ประเภทของรายงาน

๒.๑ ลกั ษณะของการรายงาน อาจเปน แบบขอเขยี นหรอื แบบเสน ขายเรขาหรอื รูปตาราง ซ่งึ จดั ทํา
จากหนวยงานแหงหน่ึงสงไปยงั หนว ยงานอกี แหง หนึ่ง ตามสถานการณท่ีเกดิ ข้นึ หรอื เฉพาะกรณี เชนระหวาง
หนวยเหนือ, หนวยรอง, หนว ยขางเคียงหรอื หนว ยงานอื่น ๆ ทเี่ กยี่ วของ เปนตน

๒.๒ ประเภทของรายงาน โดยทวั่ ไปแบงออกเปน ๓ ประเภท คือ
๒.๒.๑ รายงานตามระยะเวลา
๒.๒.๒ รายงานตามความจาํ เปน
๒.๒.๓ รายงานเฉพาะกรณี
- รายงานตามระยะเวลา หมายถึง การรายงานขาวสารท่สี าํ คัญ ๆ ตามระบบการรายงานหรอื

อยา งมรี ะเบยี บ ในหว งวนั เวลาทีห่ นว ยเหนือกําหนดไว เชน รายงานประจาํ วนั , ประจําสัปดาห, ประจําเดือน
และประจาํ ปเ ปนตน

รายงานตามความจําเปน หมายถงึ การทาํ รายงานที่นอกเหนือไปจากรายงานตามระยะเวลาท่ี
กลาวแลว ซึง่ ผบู ังคบั บัญชาไดก ําหนดวัตถปุ ระสงคของรายงานเปน การประจําไวว า ใหร ายงานทันทีเม่ือไดมี
เหตุการณสําคญั ๆ เกิดขนึ้ แกห นว ยหรอื บุคคลหรอื ยทุ โธปกรณต ามลกั ษณะท่รี ะบไุ วนน้ั เชน เม่ือเกดิ


๒๕๗

อปุ ท วเหตุ, ถกู รอบโจมตีจากขาศึก, ขาศกึ ยงิ กระสุน ป. หรือ ค. มาตกในพน้ื ที่ และอ่ืน ๆ ทีอ่ ยูในลกั ษณะ
คลา ยคลงึ กนั นี้

- รายงานเฉพาะกรณี หมายถงึ การรายงานในกรณีพิเศษเม่อื ผูบ งั คับบัญชาส่ังใหจดั ทําขน้ึ
ตามประสงคเ พียงคร้ังคราวเดยี วซึ่งตามธรรมดาใหทําการรายงานเม่อื สัง่

๒.๓ การตรวจสอบรายงาน นับวา เปน สิ่งจาํ เปนแกห นว ยอันจะกอ ใหเ กิดผลดตี อ ผบ.หนว ย และ
ฝอ. หรอื หนวยงานท่ีเกีย่ วขอ ง จงึ ควรยดึ ถอื ปฏบิ ัตอิ ยา งตอ เนอ่ื งดังน้ี

๒.๓.๑ ทกุ ระดบั หนว ย จะตอ งมีบญั ชีตรวจสอบเอกสารเขา – ออกไวประจําสํานักงาน
ของตน

๒.๓.๒ จดั ทาํ คาํ แนะนาํ แกเ จา หนา ท่ผี ูจดั ทาํ รายงานไว
๒.๓.๓ ใชแ บบฟอรม รายงานที่กําหนดข้นึ เพ่อื ความสะดวก, รวดเรว็ และเปนการลดงานทาง
ธุรการลงดว ย
๒.๓.๔ มกี าํ หนดการตรวจสอบรายงาน ตามระยะเวลาเพือ่ ผลทางการยกเลิกรายงานท่ี
ลา สมัยนัน้ เสยี
ตวั อยาง : แบบฟอรมรายงานการสงกําลงั บํารงุ ตามระยะเวลา


๒๕๘

(ประเภทเอกสาร)
บก.หนว ยรายงาน
ตําบลท่ตี ้งั
วนั ทีแ่ ละเวลา

รายงานสง กาํ ลังบํารุงตามระยะเวลา..........................................................................................
หวงระยะเวลา (วันที่..............เวลา............ถงึ วนั ท.่ี ............เวลา.............)
อา งถึง : แผนที่.............มาตราสว น............ระวางแผนที.่ ...............)
คําแนะนําการทําลาย (ถามี) เชน ใหท ําลายภายใน ๒๔ ชม. นบั จากที่ไดร บั รายงานแลว เปน ตน
๑. สถานการณสง กาํ ลงั บํารงุ ขณะสน้ิ หวงระยะเวลา เชน

- แนวเสน เขต, สถานท่ตี ้งั ทางการสง กําลงั บาํ รุง, หนวยสงกาํ ลงั บํารงุ ทเ่ี ก่ียวขอ ง เชน หนว ยบรกิ าร
ขนสง , ซอ มบาํ รงุ , การแพทยและเบด็ เตลด็ อนื่ ๆ (ใหแ สดงลงบนแผนที่หรือแผน บรวิ ารประกอบรายงาน เมอ่ื
สามารถกระทําได)
๒. การสงกําลงั (อาจทําในรปู แบบตารางเรยี งลําดับลงไปได)

๒.๑ กาํ ลงั พลทร่ี ับการสนบั สนนุ โดยแยกเปน ทหาร, เชลยศึก, พลเรือนและสตั ว
๒.๒ สถานภาพสิง่ อุปกรณ

๒.๒.๑ ระดบั สะสม ในแตล ะระดับหนว ยทไ่ี ดร ับอนุมตั ใิ หส ะสม สป. นน้ั ๆ แสดง ยอดรบั
– จา ย – คงเหลือ ขณะส้นิ หว งระยะเวลา และจํานวน สป. ท่ีหนว ยกําลังดําเนนิ การเบิกและจดั สง ดว ย

๒.๒.๒ รายงานส่งิ อปุ กรณทขี่ าดแคลน ใหแสดงรายการตามลําดบั สป. ท่ีขาดแคลน
เชน เดยี วกับระดบั สะสมในขอ ๒.๒.๑

๒.๓ การจดั หาในทอ งถนิ่ ใหแ สดงรายการปรมิ าณและคุณคาของวัสดุท่ีจดั หามาไดจ ากทองถ่ินนน้ั ๆ
(ตามความเปน จรงิ หรือเทาท่ีประมาณได)

๒.๔ เบด็ เตลด็ อ่นื ๆ แสดงรายการ สป.เกนิ อตั รา, เกนิ คลัง, สป. เกบ็ ซอมหรอื กซู อ ม,วสั ดุหรอื
ยุทโธปกรณท ย่ี ดึ ไดจ ากขา ศกึ และ สป. พิเศษอื่น ๆ เชน เอกสารสายสารบรรณ, รายการส่ิงของในรานคา ,
รายการ สป. สนบั สนุนกิจการพลเรือน และ สป. บาํ รงุ ความสขุ เปน ตน

(ประเภทเอกสาร)


๒๕๙

๓. การขนสง
ใหแสดงรายการทเี่ กีย่ วของ โดยกลาวอยางสน้ั ๆ เกยี่ วกบั การเคลือ่ นยา ยที่สาํ คัญ ๆ รวมถงึ ตําบลท่คี ับ

ขนั ตา ง ๆ ขณะท่ีผานไปนนั้ มีสถานการณอ ยา งไรเปนตน
๓.๑ การขนสงทางถนน
๓.๑.๑ แสดงจาํ นวนตนั ของ สป. ที่ขนสง, จาํ นวนยานพาหนะทใ่ี ชและจาํ นวนแรงงานทใี่ ช

ในแตละภารกจิ และแตละทอ งถ่นิ
๓.๑.๒ แสดงจาํ นวนยานพาหนะและเครอื่ งมือเครอ่ื งใชใ นการขนสง โดยแยกประเภทใช

การได, งดใชก ารและสงซอ ม
๓.๑.๓ การปฏิบัติ ณ ตําบลปลายทางการขนสง แตล ะแหงใหแสดงจาํ นวนตนั ของ สป.

จํานวนยานพาหนะและจาํ นวนแรงงานที่ใช และจํานวน สป. ทีร่ อการขนสงตลอดจนเคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ นการ
ขนสง ณ ตําบลปลายทางนัน้ ๆ ดว ย

๓.๒ การขนสง ทางน้ํา คงปฏบิ ตั เิ ชน การขนสงทางถนนในขอ ๓.๑
๓.๓ การขนสง ทางรถไฟ คงปฏบิ ัตเิ ชน การขนสงทางถนนในขอ ง ๓.๑
๓.๔ การขนสง ทางทอ คงปฏิบัตเิ ชน เดียวกับขอ ๓.๑
๓.๕ การขนสง ทางอากาศยาน คงปฏบิ ตั ิเชนเดียวกบั ขอ ๓.๑
๔. การซอมบํารุง (อาจกําหนดแยกเปน แตล ะสายยทุ ธบรกิ ารเพ่อื ใหเ กดิ ความสะดวกและงายยิ่งขนึ้ )
- การซอมบํารงุ ตาละสายงาน ใหแ สดจํานวนของยุทธภณั ฑใ นรายการสาํ คญั ๆซ่ึงรอการซอ มเทาที่มี
อยูในครอบครองของหนว ยในขณะสนิ้ สดุ หวงระยะเวลา ของการรายงานตลอดจนรายการจาํ นวนทไ่ี ดรบั คืน
เรียบรอยแลว และยอดคงเหลือขณะสนิ้ สดุ หว งระยะเวลาแลว ดว ย
๕. การสงกลบั สายแพทยและการรกั ษาพยาบาล (ควรเรยี งลําดบั รายการลงในรปู แบบตารางรายงาน) เกยี่ วกบั
๕.๑ การสง กลบั

๕.๑.๑ กําลังพลที่บาดเจบ็ , ปวย, ตาย, สง กลับไปปฏิบตั หิ นาท่ตี ามเดิม นบั ตั้งแตเร่มิ ตน เม่ือ
รับเขามาในหนวยทีท่ าํ การรกั ษาพยาบาล จนถงึ ขณะส้นิ สดุ หวงระยะเวลาการรายงานใหลงรายการโดยแยก
คนไข ฝายสัมพันธมิตร, พลเรือนและเชลยศึก (ถาสามารถระบไุ ด)

---------------------------------------------------------------------

(ประเภทเอกสาร)
๕.๑.๒ สตั วท สี่ ญู เสยี คงใหป ฏิบตั เิ ชน เดยี วกับกําลงั พล
๕.๒ การรกั ษาพยาบาล ใหแ สดงรายการจํานวนเตยี งทไ่ี ดรับอนุมัติ และท่มี ใี ชก ารอยูข ณะนั้น และ
อาจแสดงท่ีตัง้ การสัตวร กั ษด ว ย
๖. เบ็ดเตลด็
๖.๑ เสนเขต : แสดงเมื่อมีการเปล่ียนแปลง ระหวางหวงระยะเวลาและการดําเนนิ การตา ง ๆ ที่
เกย่ี วของกบั การเปล่ยี นแปลงน้นั ๆ


๒๖๐

๖.๒ ที่บงั คบั การ ทีต่ ั้งและการดาํ เนนิ งานตาง ๆ ท่มี สี ว นเกยี่ วของกับการเคล่อื นยา ยระหวางหว ง
ระยะเวลาของการรายงาน

๖.๓ เม่ือมกี ารเปลี่ยนแปลง การมอบหมายหนา ทีร่ ายงาน ระหวา งหว งระยะเวลาโดยแสดงวนั ทแี่ ละ
เวลาไวด วย

๖.๔ การระวงั ปอ งกัน แสดงรายการเปลยี่ นแปลงแผนการระวังปอ งกนั ทีไ่ ดก ระทําไปและความ
เสียหายตา ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ กบั กจิ การสง กําลังบาํ รุง อันเน่ืองจากการกระทาํ ของขา ศึก, การบอนทาํ ลายหรือเกดิ
จากภยั ธรรมชาติ

๖.๕ แผนและคําสง่ั การไดร ับหรือจายแผนและคําส่งั , คําแนะนาํ ตาง ๆ ฉบบั มูลฐาน (ตน ฉบบั ) ให
แนบสําเนาคําส่ังแตล ะฉบบั หรือเฉพาะสวนทเ่ี ปลย่ี นแปลงของคาํ สัง่ ทไี่ ดแจกจา ยออกไปภายหลังรายงาน
ฉบับกอนหนา นนั้

๖.๖ กิจการชว ยรบอนื่ ๆ เกี่ยวกบั การสง กําลงั , การใชแ รงงานพลเรอื นและเชลยศึก
๖.๗ การกอ สรา ง ใหแสดงรายการในโครงการสําคัญ ๆ โดยแสดงเปนเปอรเ ซน็ ตข องการกอ สรา งท่ี
เสร็จแลว หรือที่กะวาจะทาํ ตอ ไปอกี ในแตล ะโครงการนน้ั ๆ
๖.๘ สถานท่ีตัง้ ทางการสงกําลงั บาํ รงุ ท่ีสาํ คัญ ๆ ของแตละสายยทุ ธบรกิ าร และแสดงปริมาณงานที่
กาํ ลังกระทําและกระทาํ เสรจ็ แลว และงานทย่ี ังคางอยู เมอ่ื สนิ้ สดุ หว งระยะเวลาโดยแยกประเภทของงานที่ทาํ
ดว ยและระบุชอ่ื สถานที่ตงั้ เปด,ปด (ระบทุ ีต่ ง้ั ,วนั ,เวลา)

(ประเภทเอกสาร)

(ลงชื่อ)....................
(ผบ.หนวย)

ผนวก................................
การแจกจา ย.....................................
การรับรองสาํ เนา.....................................
*หมายเหตุ :-

๑. รายงานตามระยะเวลา จะไมท าํ ลงบนแผนที่หรือแผน บรวิ าร
๒. ผนวก............ซึง่ ประกอบดวย แผนท,่ี แผน บรวิ าร และมาตราทานอน่ื ๆ ควรใชประกอบเพื่อให
ทาํ รายงานสั้นลง
๓. การใชคาํ ยอ และศัพททางทหาร ตองใหถกู ตองเหมาะสม
๔. การใชห วั ขอ รายงาน ตามกําหนดหรอื ไดน ดั หมายกนั ไวลว งหนา จะชวยใหเกดิ ความงายย่งิ ขนึ้
เชน การใหสง มาตราทานทางสถิติของรายงานในระยะสน้ั ๆ ตามแบบเอกสารรายงานยอ นั้น ซ่ึงเปนแบบที่
ปฏบิ ัติกันทว่ั ๆ ไป และโดยเฉพาะหนวยรายงานระดบั ตาํ่ กวากองพลลงมา

(ประเภทเอกสาร)


๒๖๑

๗. สรุปสาระสําคญั : บันทกึ และรายงาน
๗.๑ บปว. ของหนว ย เปน เอกสารประเภทถาวร ใชเปนพน้ื ฐานการบนั ทึกประวตั ศิ าสตรของหนวย
๗.๒ บปว. ของหนว ย ใชบ นั ทกึ เหตกุ ารณข าวสาสนตา ง ๆ โดยเรียงลําดับและครอบคลมุ วงรอบ

๒๔ ชม. โดยธรรมดานยิ มปด บปว. เวลา ๒๔.๐๐ ในแตล ะวัน
๗.๓ เอกสารแยกเรือ่ ง เปนเอกสารประเภทช่ัวคราว ใชบ นั ทกึ ขา วสาสนตางๆ ทผี่ านการลง บปว.

แลว และเกย่ี วขอ งกจิ การสง กาํ ลงั บํารุง โดยทาํ การบนั ทึกแบบแยกรายการ ตามความหมายของกจิ การสง
กาํ ลงั บํารงุ แตล ะเร่อื ง

๗.๔ การปฏบิ ัติตอ เอกสารแยกเรอื่ ง หลังจากไดบนั ทกึ แลว ถารายการใดหรอื เร่อื งใดไดด ําเนนิ เสรจ็
แลวใหขีดฆา ขอ ความทบี่ กั ทึกไวเ พอ่ื เปน สงิ่ ชีส้ อบวางานนัน้ ๆ ไดปฏบิ ตั ลิ ุลวงไป หรอื ถา หมดความจําเปน
ในแตล ะรายการแลว ใหด งึ ออกทาํ ลายได

๗.๕ แผนทสี่ ถานการณ เปนเอกสารประเภทชว่ั คราว ใชบ นั ทึกเหตุการณต า ง ๆ เชนเสน เขต
ปฏบิ ตั ิการของหนว ย, ที่ต้งั , เสนทาง และเบ็ดเตล็ดอ่นื ๆ

๗.๖ รายงาน แบง ออกเปน ๓ ประเภทคือ
รายงานตามระยะเวลา, รายงานตามความจําเปน และรายงานเฉพาะกรณี (รายงานพิเศษ)

๗.๗ แบบฟอรมรายงานสงกาํ ลังบํารุงตามระยะเวลา ประกอบดว ย หวั ขอสําคญั ๖ ขอ ดงั ตอไปนี้
๑. สถานการณส ง กําลังบาํ รงุ
๒. การสง กําลงั
๓. การขนสง
๔. การซอมบํารุง
๕. การสง กลับสายแพทยแ ละการรักษาพยาบาล
๖. เบ็ดเตล็ด


๒๖๒

ท่ี ๗

ตอนที่ ๑

เอกสารนํา
๑. บทเรยี นเรอ่ื ง : แผนการสงกาํ ลงั บํารงุ
๒. ความมงุ หมาย : เพ่อื ใหท ราบขนั้ ตอนวางแผน แหละวิธกี ารทาํ ประมาณการ แผนและคาํ สง่ั ในหนา ทขี่ อง
นายทหารฝายสงกาํ ลงั บาํ รุง
๓. ขอบเขต : สช./ป. เกยี่ วกับ การทาํ ประมาณการแผนและคาํ สั่ง การสง กาํ ลงั บํารงุ ในหนว ยระดบั พนั .ร.
๔. งานมอบ : ใหอ า นทาํ ความเขา ใจในเอกสารน้ี และเตรียมขอ สงสัยมาถามในหองเรยี น พรอ มกับนํา
เอกสารนีม้ าในหอ งเรยี น
๕. หลักฐานอา งองิ : นส.รร.ร.ศร., สน. ๑๐๑ – ๕

ตอนท่ี ๒

กลา วทว่ั ไป
๑. ขอ พจิ ารณาทว่ั ไป

๑.๑ การในหนา ทขี่ องนายทหารฝา ยสงกาํ ลังบํารงุ ก็คอื รบั ผดิ ชอบตอผูบงั คบั บัญชาและชว ยเหลือ
ผูบังคับบัญชาใหสาํ เรจ็ ภารกจิ ไดด ว ย “การวางแผนสง กาํ ลังบํารงุ ” เกี่ยวกบั การทาํ ประมาณการ แผนและ
คําส่งั ทางการสง กาํ ลงั บาํ รุง เพ่อื สนับสนนุ ภารกิจทไ่ี ดร ับมอบ

๑.๒ การปฏิบัตงิ านและการดาํ เนนิ การวางแผน ในหนาทีข่ อง ฝอ.๔ จะเกดิ ผลดีเพยี งใดน้ัน ขึ้นอยกู บั
ความเจนจัด ความเชยี่ วชาญหรอื ความชํานาญงาน และการใชด ุลยพินิจ เปนประการสาํ คัญตน เหตทุ ี่จะ
กอใหเ กดิ อปุ สรรคขดั ขวางความสาํ เรจ็ ภารกจิ หรอื เกดิ ปญ หาทต่ี อ งแกไ ขอยตู ลอดเวลาไดแ ก การกระทาํ จอง
ขาศึก, สภาพภูมปิ ระเทศ, ลมฟา อากาศ และขอ จาํ กัดของฝายเราเองซึง่ สงิ่ เหลา น้ี ฝอ.๔ จะตอ งใชหลกั
ประมาณการเขา พจิ ารณาอยา งมรี ะบบ เพือ่ ใหไดห นทางปฏบิ ตั ิทีด่ ที สี่ ุด แลวกาํ หนดเปน แผนการสง กําลัง
บาํ รงุ ขึ้น และเสนอแผนใหผ ูบังคบั บญั ชาทราบ หลังจากผูบ งั คบั บญั ชาอนุมัติแลว จะตอ งดาํ เนินการแจกจา ย
แผน ไปยังหนวยหรือเจาหนาทีท่ ี่เหย่ี วของทราบเพ่ือปฏบิ ัติตามแผนทกี่ ําหนดตอ ไป การแจกจา ยแผนและการ
แจงแผนสงกาํ ลงั บาํ รุงอาจกําหนดเปน คาํ สงั่ ชนอดตาง ๆ

๑.๓ พนั ธกิจของ ฝอ.๔ ทตี่ องกระทําอยา งตอ เนื่องตลอดเวลามี ๕ ประการ คอื
๑.๓.๑ แสวงหาขา วสาร
๑.๓.๒ ประมาณการ
๑.๓.๓ เสนอแนะ
๑.๓.๔ เตรยี มแผนและคาํ สั่ง
๑.๓.๕ กาํ กบั ดแู ล


๒๖๓

๒. ความสัมพนั ธการปฏบิ ัติงานของผูบังคับบัญชากับนายทหารฝา ยสงกาํ ลงั บาํ รุง (ฝอ.๔)

ฝอ. การวางแผน ผบ.
รับภารกจิ
ใหข าวสาร กบ. วิเคราะหภารกจิ และ
๑ ใหแนวทางวางแผน
ประมาณการ กบ. ๑. ๓. ประมาณสถานการณ- ตกลงใจ
ใหแนวคดิ การปฏบิ ัติ
เตรียมแผนและคาํ สงั่ กบ. ๔. ๕.
สําเนาแผน/คาํ ส่ัง/แจกจา ย อนมุ ตั ิแผนคําสง่ั
กํากับดแู ล ๖. ๗. กํากับดแู ล
๘.

ภารกจิ สําเร็จ

๓. ความสมั พันธของงาน ระหวา งแผนกบั ประมาณการสงกาํ ลังบํารุง
แผนการสง กาํ ลังบํารุงจะสมบรู ณได ยอ มตอ งอาศัยผลจากการประมาณการสง กาํ ลงั บาํ รงุ ดงั นน้ั การ

ทาํ แผนจะตอ งกระทําภายหลงั หรืออาจกระทําพรอ ม ๆ กบั ประมาณการแตแผนจะเสรจ็ สมบรู ณกอนประมาณ
การ ยอ มเปนไปไมได

ตอนท่ี ๓

ประมาณการสงกําลงั บํารงุ
๑. กลาวนาํ :

๑.๑ การปฏบิ ตั งิ านอยา งใดอยางหนึ่งใหส าํ เร็จไดน นั้ ยอ มมหี นทางปฏิบัตใิ หสาํ เรจ็ ไดหลายหนทาง
ดวยกัน ผทู ป่ี ฏบิ ัตจิ ะตอ งใชค วามคิดใครครวญ พจิ ารณาหรือวิเคราะหง านนั้นๆเสยี กอ นท่จี ะลงมอื กระทาํ
ท้ังน้ีเพ่ือใหไ ดห นทางปฏิบตั ทิ ่ดี ีทสี่ ดุ เพยี งหนทางหน่ึงนนั่ เอง และเมอ่ื ปฏบิ ตั แิ ลวจะตองสําเร็จภารกจิ ไดจ ริง
ซ่งึ การกระทาํ การดงั กลา วแลวนี้ ทางการทหารเรียกวา “ประมาณการ”

๑.๒ ประมาณการสง กําลังบาํ รงุ ทถ่ี ูกตอ งสมเหตุสมผลจะเปนพน้ื ฐานสําคญั ในการวางแผนสงกาํ ลงั
บาํ รงุ ใหถูกตอ งและเหมาะสมตามเจตนาของผูบ ังคับบัญชาไปดว ย จากเหตผุ ลดงั กลา วกอ นทําการวางแผน
จะตองทําประมาณการเสยี กอ นนั่นเอง ข้นั ตอนของการประมาณการสง กาํ ลังบํารงุ จะตองกระทําอยา งมีระบบ
และรวดเร็ว ทง้ั ตองมขี อ มลู พืน้ ฐานตา ง ๆ เกี่ยวกบั ขอ เท็จจริง, สมมตุ ิฐาน, ขอ คิดเหน็ อน่ื ๆ และการพจิ ารณา
ถงึ ปจจัยทัง้ มวลท่จี ะเปนผลกระทบตอ สถานการณห รือภารกิจสาํ เร็จของหนว ย ขอมลู พ้นื ฐานตา ง ๆ ดงั กลาว
จะไดมาจากการประสานกับฝายอาํ นวยการหรือฝายกจิ การพเิ ศษที่เกยี่ วขอ งในกิจการนั้น ๆ


๒๖๔

๑.๓ การประมาณการและการวางแผนสงกําลงั บํารงุ ในหนว ยระดบั กรม ร. ลงมามกั กระทําดว ย
ความผดิ (ในใจ) เปน หลกั โดยอาศัยการจดบันทกึ เปน เคร่อื งชว ย เพอ่ื มิใหมองขามสาระสาํ คัญตาง ๆ ไปเสยี
และการบันทกึ น้ีจะตอ งประกอบดวย หัวขอสาํ คญั ๆ ทค่ี วรยดึ ถอื เปน แนวทางในการประมาณการสง กําลัง
บาํ รงุ
๒. ศัพทและความหมาย

๒.๑ ประมาณการ (ESTIMATE) : ในกิจกรรมท่ัวไป หมายถึง การปรมิ าณงานหรอื คาใชจ า ยทไี่ ด
กําหนดไวอ ยางครา วๆ เชน ประมาณการในการกอ สรา งเปน ตน

๒.๒ ประมาณการ : ทางการทหารหมายถงึ : การวิเคราะหส ถานการณ การตีความการพัฒนา และ
ประเมนิ คาหนทางปฏบิ ตั ิท่ีเปนไปได หรอื ทาํ การวิเคราะหเ พ่อื ประเมนิ คาความตองการ ขอ จํากัดหรอื
อุปสรรคตลอดจนผลกระทบกระเทือนตา งๆ ท่ีจะตดิ ตามมา

๒.๓ ประมาณการสงกาํ ลงั บาํ รุง (LOGISTIC ESTIMATE) คือ การตรวจสอบปจ จยั ทง้ั มวล อนั เปน
ผลกระทบตอสถานการณส งกาํ ลงั บํารงุ หรือผลการประเมินคา ท่ไี ดจากการตรวจสอบอยางมีระบบตอปจจัย
ตาง ๆ ทางดานสงกําลังบาํ รุง ซง่ึ จะมีอทิ ธพิ ลตอ การสนบั สนนุ หนทางปฏบิ ตั ติ ามแผนการยทุ ธทก่ี าํ หนดไว
ทั้งนีเ้ พ่อื ใหไดข อ สรุปตา ง ๆ และขอ จาํ กัด, การหาทางออกหรอื ขอ แกไ ขตา งๆ ตามลักษณะของอิทธิพลท่มี ี
ผลกระทบกระเทอื นตอการปฏบิ ตั ิ

๒.๔ ประมาณสถานการณ (ESTIMATE OF THE SITUATION) คอื กรรมวธิ อี ันชอบดว ยเหตุผล ซึ่ง
ผบู ังคับบญั ชาใชพ ิจารณาสถานการณท ้ังมวล เพ่อื ใหไ ดข อตกลงใจในการปฏบิ ัติภารกจิ ใหบรรลุผลสําเร็จ
อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนแนวความคดิ ในการใชห นว ยดว ย
๓. วัตถุประสงคของการกระทาํ ประมาณการสง กาํ ลังบาํ รุง

๓.๑ กอนทผี่ บู ังคับบัญชาจะประกาศขอ ตกลงใจการปฏิบัตภิ ารกิจ ยอมจะตองไดร บั ขอเสนอแนะ
ประมาณการ จากฝายอํานวยการของตน ตามแนวทางการวางแผนท่ีกาํ หนดใหใ นขน้ั ตน เพื่อนาํ มาเปน
ขอ พจิ ารณาการประมาณการสถานการณของตนใหเ หมาะสมย่ิงข้นึ สาํ หรับขอเสนอแนะในหนาทข่ี อง ฝอ.๔
นัน้ จะไดแ กรายละเอยี ดตาง ๆ ที่ ฝอ.๔ ไดจ ดั ทาํ เปน ขอสรุปทางการสงกําลงั บาํ รุงขึน้ ซึง่ ไดแกข อ ที่ ๕ ของ
ประมาณการสงกาํ ลงั บํารงุ นั่นเอง

๓.๒ ผลทไ่ี ดรับจากประมาณการสงกําลงั บํารุง จะเปนหลกั ประกนั ในความเชอื่ ม่นั ของ ผบ. และ ฝอ.
ในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ เพือ่ ลดขอ ผดิ พลาดหรอื บกพรอ งตา ง ๆ ใหเหลอื นอ ยท่ีสุดและเพื่อเปนการเตรยี มการ
แกไ ขปญ หาตา ง ๆ ท่อี าจเกดิ ขนึ้ ระหวางปฏบิ ัติภารกิจดว ย
๔. ขอ พจิ ารณาการทาํ ประมาณการสงกาํ ลงั บาํ รงุ

๔.๑ ประมาณการสง กาํ ลงั บํารุง จะตอ งกระทําอยางตอ เน่ืองตลอดเวลาของการรบตลอดจนการให
ขอเสนอแนะตอ ผบู งั คบั บญั ชาเกี่ยวกับสถานการณ และสถานภาพทางการสงกาํ ลังบาํ รุงของหนว ยทตี่ อง
ประสบปญ หายุง ยากให ผบ. ของตนทราบอยูเสมอ

๔.๒ กอ นเรมิ่ ตน ทําประมาณการ สง กาํ ลงั บํารุง ฝอ.๔ จะตองประสานกบั ฝอ.ทเ่ี ก่ยี วขอ ง เพอื่ ขอ
ทราบเรอ่ื งสาํ คัญ ๆ ดงั นี้


๒๖๕

๔.๒.๑ ภารกจิ
๔.๒.๒ สถานการณและขอพิจารณาเก่ียวกบั :-

๑) สถานการณข า วกรอง
๒) สถานการณท างยุทธวธิ ี
๓) สถานการณก ําลงั พล
๔) สถานการณก จิ การพลเรือน
๕) สถานการณส งกาํ ลงั บํารงุ
๖) สมมุตฐิ าน
๗) ปจ จยั พิเศษอนื่ ๆ
๕. หัวขอ แบบฟอรม ของประมาณการ
๕.๑ ประมาณการสงกาํ ลังบาํ รุง ประกอบดว ยหวั ขอใหญ ๕ ขอ คอื
๕.๑.๑ ภารกจิ
๕.๑.๒ สถานการณและขอ พจิ ารณา
๕.๑.๓ วเิ คราะห
๕.๑.๔ เปรยี บเทยี บ
๕.๑.๕ ขอ สรปุ (หรือขอเสนอแนะ)
๕.๒ ความหมาย :-
๕.๒.๑ ภารกจิ (ปญ หา) : ภารกจิ เปนขอ แรกของประมาณการ หมายถงึ ภารกจิ ทีห่ นว ย
ไดรบั มอบหมายมาตามสายการบงั คับบัญชาจากหนวยเหนือโดยจะระบใุ หท ราบถึง ใคร, ทาํ อะไร, เม่ือไร,
ท่ไี หน, อยางไรและทาํ ไม
๕.๒.๒ สถานการณแ ละขอ พจิ ารณา (ขอ เท็จจริง) : หมายถงึ ขา วสารตาง ๆ ทไ่ี ดมาจาก
ประสานกบั ฝอ. เพอ่ื ฝอ.๔ จะนาํ ไปประกอบการทาํ ประมาณการในข้ันการวเิ คราะหหนทางปฏบิ ัติตาม
แผนการยทุ ธท่ีกาํ หนดขนึ้ ฉะน้นั การประสานงานกับ ฝอ. ตาง ๆ จะตอ งกระทาํ ใหเรียบรอ ยกอ นทีจ่ ะเรมิ่
ออกไปทาํ การตรวจภูมปิ ระเทศจรงิ
๕.๒.๓ วิเคราะห หมายถงึ การประเมินคา ตามตอ งการอยา งมีเหตผุ ล โดยวเิ คราะห
สถานการณและหนทางปฏบิ ัตกิ ารยุทธกําหนดไวท่ีละหนทาง ใหครบทกุ หนทางปฏบิ ัติ แตละหนทางปฏิบตั ิ
ใหวเิ คราะหเ รอื่ งสําคญั ๕ เร่ืองคือ การสง กําลัง, การขนสง , การซอมบาํ รงุ , การสงกลับและการรกั ษาพยาบาล
และสถานที่ตงั้ สง กําลงั บํารงุ เพอื่ คน หาขอ จาํ กดั หรอื อปุ สรรคตาง ๆ ทส่ี ําคญั ๆ การตรวจสอบหรือวิเคราะห
มีขอพจิ ารณาดงั น้คี ือ
๑) ความตอ งการ
๒) สงิ่ ท่มี อี ยหู รอื ขีดความสามารถ
๓) ขอ จํากดั ที่สําคัญ


๒๖๖

๕.๒.๔ เปรียบเทยี บ (ประเมินคา) หมายถึงการประเมนิ คาขอ จาํ กัดสาํ คัญ ๆ ทไ่ี ดจ ากการ
วเิ คราะห และขอจํากัดเหลานนั้ มีสว นเปนผลกระทบกระเทอื นตอ การสําเรจ็ ภารกจิ ซึง่ การพิจารณานี้รวมถึง
วธิ กี ารทจ่ี ะอาชนะตอขอจํากัดนัน้ ๆ ในแตล ะหนทางปฏบิ ัตดิ ว ย

หลักในการเปรียบเทยี บ จะตอ งพจิ ารณาอยา งมเี หตผุ ล โดยนาํ เอาขอจาํ กัดแตล ะขอมาเปน
ตัวตัง้ แลว นําหนทางปฏิบตั แิ ตละหนทางเขา มาเปรยี บเทยี บและประเมนิ คา วา หนทางปฏบิ ตั ใิ ด จะอํานวยให
สามารถสนับสนุนไดดที สี่ ุด เมื่อไดกระทาํ จนครบถว นทุกขอ จาํ กดั แลว กจ็ ะสามารถพจิ ารณาหรอื ตกลงใจ
เลอื กหนทางปฏบิ ตั ทิ ี่สามารถใหการสนบั สนนุ ไดด ีที่สุดไดหนทางหนง่ึ

๕.๒.๕ ขอสรุป หมายถึง ขอ ยตุ ขิ อง ฝอ.๔ ท่ีไดจ ากผลของการทาํ ประมาณการสง กาํ ลงั บํารุง
ขอ ๓ และ ๔ แลวจัดทาํ เปน ขอสรุปข้ึน ซงึ่ ขอสรปุ นี้จะตองนําไปเสนอแนะตอผบู ังคับบัญชา ณ ตาํ บลและ
เวลาท่กี าํ หนด

- หลักการจัดทําขอสรปุ (หรอื ขอ เสนอแนะ)
๕.๓ ขอสรุป ใหท ําการสรปุ เฉพาะสาระสําคัญ ๆ ท่ีจาํ เปนเทา นน้ั และจะตอ งนําไปเสนอและดว ย
วาจาให ผบ./ฝอ.ทราบ หลกั สาํ คญั ในการจดั ทําขอ สรุปก็คอื การตอบปญหา ๔ ประการตามลาํ ดบั ดังน้ี

ก. การสง กาํ ลังบาํ รงุ สามารถสนับสนุนภารกจิ น้นั ไดหรอื ไม?
ข. หนทางปฏบิ ตั ิใด สามารถใหก ารสนับสนุนไดด ีทส่ี ดุ ?
ค. ขอจาํ กดั ของหนทางปฏบิ ตั อิ ่นื ที่รองๆ ลงไปตามลําดบั ?
ง. ขอเนน ในหนทางทสี่ ามารถสนับสนนุ ไดดที สี่ ุดนั้น ยงั มีขอ จํากดั ใดบา งทตี่ อ งหาทางออก
หรอื แกไขเพม่ิ เตมิ อีกเพ่ือใหเ กดิ ความสะดวก งาย รวดเรว็ และประหยดั
๖. สรุปสาระสําคัญ
๖.๑ หวั ขอ ใหญ ๆ ของประมาณการสงกาํ ลงั บํารงุ ทงั้ ๕ ขอ ไดแ ก ภารกจิ ,สถานการณแ ละ
ขอ พจิ ารณา, วเิ คราะห, เปรยี บเทยี บแหละขอ สรปุ
๖.๒ ขอสรปุ เปน หัวขอ สดุ ทายของประมาณการสงกาํ ลังบาํ รุง ประกอบดว ยการตอบปญหา ๔
ประการตามลําดบั คอื :-
ก. สนบั สนุนภารกจิ ไดห รือไม?
ข. หนทางปฏิบตั ิใดจะใหก ารสนบั สนนุ ไดด ีท่สี ดุ ?
ค. ขอจํากัดสําคัญของหนทางปฏบิ ตั ริ องๆ ลงไป?
ง. ขอ เนน ขอ จาํ กัดทีต่ อ งหาทางออกหรอื ขอ แกไขเพม่ิ เตมิ ที่ตอ งดาํ เนนิ การมอี ะไรบา ง?

ตอนที่ ๔

แผนกการสง กาํ ลังบํารงุ
๑. กลา วทว่ั ไป

โดยธรรมดาแลว ในขณะที่ ฝอ.๔ กําลงั ทาํ การตรวจภมู ปิ ระเทศจรงิ เพอ่ื ประมาณการสง กาํ ลังบาํ รุง
ฝอ.๔ จะทําการวางแผนการสง กําลังบาํ รงุ ไปพรอ ม ๆ กันดว ย แตแผนการสงกําลังบํารุงจะเสร็จสมบรู ณ


๒๖๗

ไดน น้ั ยอ มตอ งอาศยั ผลจากการประมาณการสงกาํ ลังบํารงุ เปน พน้ื ฐาน จึงกลา วไดว า “แผนการสงกําลังบํารงุ
เกิดขึน้ ภายหลังการประมาณการสง กําลงั บาํ รุงเสรจ็ สิน้ แลว นัน่ เอง”
๒. คาํ จํากดั ความ

๒.๑ แผน คือ กาํ หนดการปฏบิ ัติการปฏบิ ัตกิ ิจการทางทหาร
๒.๒ แผนการสงกาํ ลงั บาํ รงุ คือ กําหนดการปฏบิ ัติกจิ การทางการสง กําลงั บํารงุ ท่ีตอ งการเพื่อภารกจิ
สําเรจ็ ตามทไ่ี ดร ับมอบหมายจากผบู งั คบั บญั ชา
ฉะนน้ั แผนจงึ ถอื ไดว า เปน รากฐานคําสงั่ ของผบู งั คับบญั ชา และแผนจะมีคุณคา เพียงใดยอ มขน้ึ อยู
กับการทไ่ี ดน ําแผนน้ันไปใช, การแจกจา ยแผนอยา งทว่ั ถงึ และการกาํ กบั ดูแล
๓. ความรับผดิ ชอบและขอบเขต
๓.๑ ฝอ.๔ เปน ผทู ําแผนสงกาํ ลังบาํ รงุ เพือ่ การสนบั สนุนการรบ ในหนว ยระดบั กรม, กองพัน คงทาํ
การวางแผนในใจ แตถงึ อยางไรกต็ าม ฝอ.๔ ยอ มตอ งอาศยั การบนั ทึกแผนการปฏิบัติตา ง ๆ ลงบน
แผน กระดาษดว ยเชนเดยี วกบั การประมาณการสง กาํ ลังบาํ รงุ
๓.๒ เม่อื ฝอ.๔ ไดกําหนดแผนของตนเสรจ็ สน้ิ แลว กจ็ ะนําแผนนัน้ เสนอตอ ผบู ังคับบญั ชาของตน
เพอื่ การอนุมตั แิ ผน แลวจงึ ทาํ การสําเนาแจกจา ยตอ ไป
๓.๓ ในโอกาสท่หี นว ยตองกาํ หนดเปน “แผนการชวยรบ” ของหนว ย กรณีเชน น้ี ฝอ.๔ จะตองเปน ผู
รวบรวมเอาแผนการกาํ ลังพลและแผนกจิ การพลเรือนเขา มาตอทา ยรายการของ ฝอ.๔ เขา ไวด ว ย เมอ่ื นําแผน
ท่งั สามทกี่ ลา วแลว มารวมกนั เขา จะเรียกวา “แผนการชว ยรบ” แลว ฝอ.๔ นาํ เสนอ ผบ.เพ่อื การอนมุ ัติและ
แจกจา ยหนว ยท่ีเกยี่ วขอ งตอไป
๓.๔ ฝอ.๔ จะตอ งเปน ผพู ัฒนาแผนการสงกาํ ลงั บาํ รุงใหท ันสมยั อยูเสมอ
๓.๕ วิธีการทีจ่ ะแจง ใหหนว ยและผทู ่ีเก่ยี วขอ งไดรบั ทราบและยดึ ถอื ปฏิบตั ิตามแผนน้นั ยอมมวี ธิ กี าร
กระทําใดหลายวิธี เชน:-

๓.๕.๑ คําสัง่ ยทุ ธการขอ ๔ (การชว ยรบ)
๓.๕.๒ คาํ ส่ังการชว ยรบ (แบบแผน บริวาร)
๓.๕.๓ ระเบยี บปฏบิ ตั ปิ ระจาํ
๓.๕.๔ คําสั่งเปน สว นๆ
๔. ลกั ษณะของแผนการสงกาํ ลังบํารุง
๔.๑ แผนการสง กําลังบาํ รุง ประกอบดว ยเร่ืองราวท่ีสําคญั ขอใหญๆ อยู ๓ ประการ คอื
๔.๑.๑ ยทุ โธปกรณและบรวิ าร
๔.๑.๒ การสงกลบั สายแพทยแ ละการรักษาพยาบาล
๔.๑.๓ เบด็ เตลด็
๔.๒ ยทุ โธปกรณแหละบรวิ าร แยกเปน เรอื่ งยอยๆ ๓ เรอื่ ง ไดแก
๔.๒.๑ การสงกาํ ลัง
๔.๒.๒ การขนสง


๒๖๘

๔.๒.๓ การบรกิ าร
๔.๓ แตละเรื่องทก่ี ลา วแลว นนั้ ฝอ.๔ จะตองพิจารณาถึงทตี่ งั้ , การควบคมุ , การรองขอ,ขอหามตา ง ๆ
แหละการระวงั ปอ งกัน เปนตน

ตวั อยา ง แผนการสง กาํ ลงั บาํ รงุ ระดับกรม, กองพนั
๑. ยุทโธปกรณและบรวิ าร

ก. การสงกําลงั
๑) สป.๑
ก) เสบียงตามอัตราพกิ ัดของหนว ย......................................................
ข) ตจ. สป.๑ ของ..............................ตง้ั ท่ีพิกดั ................................................
ค) ครวั ของ........................................ต้งั ท่พี กิ ัด..............................................
๒) สป.๒ และ ๔
ก) ตจ.สป.๒และ๔ ของ.......................ตัง้ ที่พกิ ัด.............................................
ข) การคมุ และการปฏิบัตใิ ห. ..........................................................................
๓) สป.๓
ก) ตจ.สป.๓ ของ................................ต้ังท่พี กิ ดั .........................................
ข) การควบคุมและการปฏบิ ตั ิให. ..............................................................
๔) สป.๕
ก) สกน. ของกองพลตง้ั ท.่ี ........................................................................
ข) ตจ. กระสนุ ของ..............................ตั้งท่พี ิกดั ......................................
ค) อตั รากระสนุ ท่ีใชไ ด ๕ – ๗ ธ.ค.
๑) ป. ๑๐๕ มม.= ๘๐ นดั /กระบอก/วนั
๒) ค.๔.๒” = ๖๐ นัด/กระบอก/วนั

ข. การขนสง
ก) หา ม รยบ.๒ ๑/๒ ตนั ข้ึนไปขางหนาเกนิ พ้นื ที่กองหนนุ ของ ……………………………

…………………………………………..
ข) กลางคนื ใหใ ชไฟพราง, ความเร็วกลางวนั ไมเกนิ ...............................................................

ความเรว็ กลางคนื ไมเ กนิ ....................................................................................................
ค. การซอ มบาํ รุง
ก) ตาํ บลรวม กช. ต้งั ท.ี่ ............................................................................
ข) พ้นื ทีซ่ อ มบาํ รงุ ตั้งที่...................................................................................
ค) สป.เก็บซอ มเกนิ ขดี ความสามารถในการสงกลบั ให...........................................................

.........................................................................................................................................
๒. การสงกลบั สายแพทยและการรักษาพยาบาล


๒๖๙

ก) ทพี่ ยาบาลของ.................................ตง้ั ทพี่ กิ ัด..............................................
ข) การสงกลับโดย ฮ. ให. ..................................................................................
ค) ขอหา ม........................................................................................................
๓. เบด็ เตลด็
ก) ขบวนสมั ภาระของ...........................ตัง้ ท.ี่ ......................................................
ข) ขบวนสมั ภาระ...........................ของ.........................ตงั้ ท.่ี ..............................
ค) สํานักงานสง กําลงั ของกองพลตัง้ ท่.ี ..................................................................
ง) การระวงั ปอ งกันขบวนสมั ภาระของ.............................ให.................................
.............................................................................................................................................

ตอนท่ี ๕

คําส่งั การสงกําลงั บาํ รุง
๑. กลา วทวั่ ไป

แผนการสงกําลงั บาํ รุงจะเกิดประโยชนห รือมีคาเพียงใดน้ัน ข้ึนอยกู ับการท่ไี ดน ําแผนนน้ั มาใช,
การแจกจา ยแผนอยา งทว่ั ถงึ , การกํากบั ดแู ลและการพฒั นาแผนใหทนั สมยั อยูเสมอ ซ่ึงเปน หนาทขี่ อง ฝอ.๔
จะตองดาํ เนินการ หลงั จากท่ี ผบ. ไดอนมุ ัตใิ หใ ชแผนน้นั ได การแจกจา ยแผนใหผ เู กย่ี วขอ งหรอื หนวยรอง
ทราบเพอื่ การปฏิบัติตามแผน ฝอ.๔ ยอมกระทําไดห ลายวธิ ี เชน คําสั่งยุทธการขอ ๔, คาํ สงั่ การชว ยรบ, รปจ.
ของหนวย และคาํ สง่ั เปนสว นๆ เปนตน
๒. คําสัง่ ยทุ ธการขอ ๔

๒.๑ ฝอ.๔ รับผดิ ชอบในการเตรยี มคาํ ส่ังยทุ ธการ ขอ ๔ ในสวนทเี่ กย่ี วของกบั การสงกําลงั บาํ รงุ และ
จะเปนผรู วบรวมคาํ ส่งั ยทุ ธการ ขอ ๔ ในสวนท่ีเกย่ี วกบั ธรุ การกาํ ลงั พลของ ฝอ.๑ และกจิ การพลเรือนของ
ฝอ.๕ เขา มาตอ ทายตามลําดบั

๒.๒ แบบฟอรมคําส่งั ยุทธการขอ ๔ (ระดบั กรมลงมา)
๔. การชวยรบ
ก. กลา วทว่ั ไป
๑. ขบวนสมั ภาระรบของ...............ต้ังท่ีพิกดั ...................................
๒.ขบวนสมั ภาระพกั ของ.............. ตัง้ ทพี่ กิ ัด...............................
๓ ผนวก...................แผนบรวิ ารการชวยรบ.........................
ข. ยทุ โธปกรณแ ละบรกิ าร
๑. การสง กาํ ลงั บาํ รงุ
ก. สป.๑
ข. สป.๒
ค. สป.๓


๒๗๐

ง. สป.๔
จ. สป.๕
ฉ.....................
๒. การขนสง
๓. การบริการ
๔. แรงงาน
๕. การซอ มบํารุง
ค. การสง กลับสายแพทยแ ละการรกั ษาพาบาล
๑. การสง กลับ
๒. การรักษาพยาบาล
ง. การกาํ ลังพล
จ. กิจการพลเรอื น
ฉ. เบ็ดเตลด็
หมายเหตุ ๑. ขอปลกี ยอ ยตา งๆ ในคาํ สงั่ ยทุ ธการขอ ๔ ถาเหน็ วารายการใดไมจาํ เปนตองเขียนลงในคําสงั่ ก็ให
ขา มรายการนั้นๆ ไปได โดยไมต อ งเขยี นหวั ขอ ลงไวใ นคาํ สงั่
๒. รายการใดถา มีรายละเอียดทีย่ ดื ยาว กใ็ หพ ิจารณาออกเปน ผนวก หรอื อนผุ นวก ประกอบอกี ได
๓. หลักการเขียนใหย ดึ ถือ ส้ัน ชดั เจน กะทดั รัด ปฏิบตั ไิ ด
๓. ตวั อยา งคําส่งั ยทุ ธการขอ ๔ (ระดับกองพันลงมา)
๔. การชวยรบ
ก.ท่ัวไป
๑) ธุรการและการสงกาํ ลังบํารุง ไมเปลย่ี นแปลงจาก รปจ.
๒) ท่ตี ั้งขบวนสมั ภาระรบของกองพนั ขนั้ ตน ตั้งพิกดั ๐๙๒๙๘๐ และเปลย่ี นยาย เมอ่ื ส่งั
๓) ขบวนสัมภาระพักของกองพนั ใหอยูในความควบคุมของกรม
ข. ยทุ โธปกรณและบรกิ าร
อตั รากระสุนที่ใชได ตงั้ แต ๑๕๐๘๐๐-๑๘๑๘๐๐ มิ.ย.- ค.๘๑ มม. ๘๐ นัด/กระบอก/วัน
ค. การสงกลบั และการรักษาพยาบาล หาใชน ํ้าในภูมปิ ระเทศมาทําการดื่ม
ง. การกาํ ลังพล:
จ. กจิ การพลเรือน:

ตอนที่ ๖

ระเบียบปฏิบัตปิ ระจํา (รปจ.)

๑. กลาวทว่ั ไป


๒๗๑

รปจ. คือคาํ แนะนําทไ่ี ดก าํ หนดขึน้ เพ่ือใหหนว ยปฏิบัตโิ ดยละเอยี ด เพอ่ื สนบั สนนุ การยทุ ธในครั้ง
น้ัน ๆ ไมวา จะเปนงานทางธุรการ หรอื ยทุ ธการกต็ าม โดยธรรมดาแลว รปจ. ในการสง กาํ ลงั บาํ รุงยอ มมี
รายละเอียดมากกวา ในคําสั่งชว ยรบ และบางเรือ่ งท่ีมใี น รปจ.แลว คาํ สงั่ ชวยรบกไ็ มนาํ ไปกลาว รปจ. ท่ดี ยี อม
ขจัดความยงุ ยากสับสนของผปู ฏิบตั ิลงไดม าก
๒. ความมุง หมายของ รปจ.

ก. งายตอ การเตรียมการ
ข. สะดวกและสมบูรณต อการฝก และการปฏิบตั แิ ละการปฏิบตั งิ านของหนวย
ค. สนบั สนนุ ความเขาใจและการทํางานเปน ชดุ ระหวา งผบู ังคับบัญชา, ฝา ยอํานวยการ,
หนวยทหาร และหนว ยท่ีมาสนบั สนนุ
ง. ลดความยุง เหยิงผดิ พลาดใหเหลือนอ ยทส่ี ดุ
๓. ความรบั ผดิ ชอบในการทํา รปจ.
การทาํ รปจ. อยูภายใตก ารกํากบั ดแู ลของ รอง ผบ.หนวย โดยมี ฝอ. แตล ะสายเปนผรู วบรม รปจ. ใน
สายของตนขน้ึ ท้ังนอ้ี ยใู นความเหน็ ชอบของ ผบ. หนว ยเสยี กอ นจึงจะสง ใหหนว ยรองปฏบิ ตั ิ
๔. รายละเอยี ดท่อี ยใู น รปจ. ของการสง กําลงั บาํ รุง
รายละเอียดทบี่ รรจอุ ยใู น รปจ. ของการสง กาํ ลงั บํารุงก็ไดแกเรือ่ งราวทงั้ ๕ ประการ ของการสงกาํ ลัง
บาํ รงุ นัน่ เอง แตล ะรายการก็มีรายละเอียดปลกี ยอยมากนอ ยตามความจาํ เปน ถา ขอ ใดมรี ายละเอียดมากก็ให
กาํ หนดเปนผนวก เรียงตามลาํ ดบั ตวั อักษรเชน ในเร่อื งการขนสง ท่เี กย่ี วกบั ระเบยี บการจราจร และการควบคุม
ซึ่งมีรายละเอยี ดมากกอ็ อกเปน ผนวกไวเปน ตน
๕. ตวั อยา งของ รปจ.

ระเบียบการปฏบิ ัตปิ ระจํา พล.ร.๔
(เฉพาะสว นเกยี่ วกับการสงกาํ ลงั บํารงุ )
๕. การสงกําลังบาํ รุง
ก. การสงกาํ ลงั
๑) สป.๑
(ก) รอบเสบยี งใหเริ่มตน ดวยอาหารม้ือเยน็
(ข) ยานเสบียง ๓ วัน
(ค) ใหสง คําขอเสบยี งไปยงั กองพล เวลา ๑๘๐๐
(ง) ใหก อง พธ.พล. สะสมเสบยี งอัตราพิกดั ไว ๗ วัน
(จ) ลาํ ดบั ความเรงดวนการแจกจา ยเสบยี งแกหนว ย
๒) สป. ๒ และ ๔
(ก) การเบิก สป.๒ รายการทมี่ ไิ ดควบคมุ ใหเบิกตามสายการสง กาํ ลงั
(ข) การเบกิ สป.๔ ใหเ บกิ ตามสายการบังคับบญั ชาและแนบคําอนมุ ัตไิ ปดวย
(ค) การแจกจา ยตามสายการสงกาํ ลัง


๒๗๒

๓) สป.๓ หนว ยระดบั กองพลลงมาใหใชถังนา้ํ เปลา แลกเปลีย่ นนํ้ามนั เตม็ ถงั เปน หลัก

๔) สป.๕

(ก) ใหร ายงานจํานวนขาดอตั รากระสุนมลู ฐานทยี่ ังไมไ ดร บั ทันที

(ข) ใหร ายงานจํานวนเกนิ อตั รากระสนุ มลู ฐาน

(ค) ใบเบิกกระสนุ จะตองสง ไป พรอ มกับรถบรรทกุ กระสนุ แลว ไปรายงานตอนายทหาร

กระสนุ กองพลกอ น

(ง) ใหรายงานจาํ นวนท่ีไดร ับไมค รบจากตาํ บลสง กระสนุ ของกองพันในเท่ยี วกลบั ให

นายทหารกระสนุ ของกองพลทราบ

(จ) หานาํ กระสุนออกจากรถบรรทุกกระสุน และหามนํารถไปใชในความมงุ หมายอยา งอื่น

โดยไมไ ดร บั คาํ สั่งจาก ผบ.พล.

๕) นาํ้ ใหรบั ไดจากตําบลทําน้ําเทา น้นั

๖) การเก็บซอม

(ก) ตําบลรวมในสนามรบ เปน ความรับผดิ ชอบของผูบ งั คบั บญั ชา
(ข) หนวยสงกลบั มายงั ตําบลรวมอปุ กรณเ กบ็ ซอ ม
(ค) ถามียทุ โธปกรณทไ่ี มสามารถสง กลบั โดยการขนสงของหนวย ใหรายงาน สธ.๔ กองพล
ทราบ

๗) ยุทโธปกรณท ่ยี ดึ ได ในความปลอดภยั ของเคร่ืองมอื เครือ่ งใชห รอื ยทุ โธปกรณ
(ก) ใหห นว ยเปน ผรู บั ผิดชอบ

ทย่ี ดึ ได

(ข) สป. ทแ่ี ปลกใหมใหรบี ทําการสงกลับดวน

ข. การสงกลับสายแพทยแ ละการรักษาพยาบาล

(๑) ใหหนวยรายงานทพี่ ยาบาลถงึ นายแพทยของกองพล

(๒) กองพลเปน ผูสงกลบั จากที่พยาบาลกองพันและกรม

(๓) คํารองขอใหสงกลบั ทางเฮลิคอปเตอร ใหส ง ถึงนายแพทยก องพลโดยตรง

ค. การขนสง

(๑) ใหยานพาหนะทกุ คันพรอมที่จะบรรทกุ สมั ภาระไดภ ายใน ๓๐ นามทเี ม่ือไดรบั คําส่ัง

(๒) ยานพาหนะในสภาพพรอมของหนว ย จะตองประกอบดว ยเจาหนา ที่ดังตอไปน้ี ดว ย

นายทหาร ๑ นาย ตอรถ ๒๕ คัน

นายสบิ ๑ นาย ตอ รถ ๑๕ คัน

พลขบั และผชู ว ยอยา งละ ๑ ตอ รถ ๑ คนั

ชดุ ซอม ๑ ชดุ เมื่อรถเกิน ๑๐ คนั

(๓) ใหใ ชไฟพรางในแนวหา มแสงไฟ

(๔) หามรถเจาหนาทส่ี อ่ื สารใชถ นนทางเดยี วทาํ การจดั ตัง้ และรกั ษาการตดิ ตอ ส่อื สาร


๒๗๓

(๕) คําขอใหส ง กาํ ลังทางอากาศใหสง สธ.๔ กองพล
(๖) ระเบยี บการจราจรและการควบคมุ (ผนวก ง)
ง. การซอมบํารงุ
(ก) ยุทโธปกรณสรรพวุธ ใหห นวยสง กลบั ไปยัง มว.ซบร. สวนหนา หรอื มว.ซบร. สว นหลังที่
สนับสนุน
(ข) ยทุ โธปกรณอ่ืนๆ ใหห นว ยสง กลบั ไปยงั ตําบลสง กาํ ลงั ที่เหมาะสม
จ. เบ็ดเตล็ด
(๑) การขยายเขตของกรมหนุนทไ่ี มข ัดกับการปฏบิ ัตกิ ารสง กาํ ลงั บาํ รุงหรอื คลังตาง ๆ ให
ประสานงานกบั สธ.๔ กองพล
(๒) การรายงาน รายงานตามระยะเวลาของ ฝอ.๔ ใหป ด รายงาน ๑๘๐๐ และสง ไดไ มเกนิ ๒๑๐๐
(๓) ใหหนว ยบริการทางงเทคนิครายงานท่ตี ง้ั คลงั ตางๆ ไปยงั สธ. กองพล
(๔) ถาหากไมไดก าํ หนดพนื้ ท่ขี บวนสมั ภาระ ของหนวยไวใ นคาํ สงั่ การชวยรบให

เลอื กเองแลว รายงานใหก องพลทราบ
ฯลฯ

ตอนท่ี ๗

แบบฝกหัดวิชาสง กาํ ลังบาํ รงุ
เรอื่ ง : พนั .ร. ทําการรบดวยวธิ รี ุก
๑.สถานการณท วั่ ไป
๑.๑ แผนทีป่ ระเทศไทย มาตราสวน ๑ :๕๐,๐๐๐ ระวาง อ.หัวหนิ อ.ปราณบุรี
๑.๒ ฝา ยขา ศกึ เมื่อ ๒๘ พ.ย........ ขาศกึ ไดเ คลอื่ นกาํ ลงั กองทหารขนาดใหญเ ขาประชดิ พรมแดนไทย
ดา นประเทศลาว เขมร และเตรียมปฏิบัติการตามแผนรกุ รานประเทศไทยตอไป
๑.๓ ฝายเรา เม่ือ ๒๘ พ.ย.......มทภ.๑ ส่งั การให พล.๑๐ นํากําลงั เขาพนื้ ท่ปี ฏบิ ตั กิ ารในเขต อ.หวั หิน
และ อ.ปราณบุรี โดยเรว็ ครน้ั เม่อื ๒๙ เม.ย.......... ร.๑๘ พนั .๑ ไดร บั คําสง่ั ใหเ ขา ยดึ ภมู ปิ ระเทศทาํ การตั้งรบั
ตามแนว บ.วงั กะทะ, บ.เขาใหญห นองแก, เขาสนามชยั และเขาไกรลาศ ใหแลว เสร็จใน ๒๙๑๔๐๐ พ.ย.......
๒. สถานการณเฉพาะ
๒.๑ เมือ่ ๓๐๐๕๐๐ พ.ย............ ขาศกึ ๑ กองพล ปล.ยน. ทําการยกพลขน้ึ บกทช่ี ายหาด อ.ชะอาํ จว.
เพชรบรุ ี และยดึ อ.ชะอําไวไดเ ม่ือ ๓๐๑๒๐๐ พ.ย........
๒.๒ เมือ่ ๐๑๐๕๐๐ ธ.ค....... ขาศึกสว นทเ่ี ขายดึ อ.ชะอํา ไดแบงกําลงั ออกเปน สองสวนโดยใหก าํ ลงั
สวนใหญเคลอื่ นยา ยขนึ้ ไปทางทิศเหนือ และกาํ ลงั อกี สวนหน่ึงประมาณ ๑ กรม ปล.ยน. เพิ่มเตมิ กาํ ลัง
เคล่อื นยา ยลงทางทิศใต ในเวลาตอ มากาํ ลงั สว นที่มงุ ลงทางทิศใต ไดปะทะกบั กาํ ลังของ ร.๑๘ พัน ๑
จนกระทง่ั เมอื่ ๐๑๐๘๐๐ ธ.ค........ ฝายเราตา นทานและใชก ําลงั ทางอากาศโจมตอี ยา งรุนแรง ทาํ ใหขาศึก
ประสบการสญู เสยี อยา งหนกั ไมส ามารถจะเคลื่อนทตี่ อไปไดจึงหยดุ ยดึ ภูมิประเทศอยบู รเิ วณเขาหนองสมอ


๒๗๔

๒.๓ เมอื่ ๐๑๐๘๐๐ ธ.ค....... ผบ.พล.๑๐ ตกใจทําการเขา ตขี า ศกึ สว นนท้ี ันที จึงสั่งการให ร.๑๖ เขาท่ี
รวมพลบรเิ วณพิกัด พีพี ๐๔๗๓ และใหพรอ มทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ามคําสัง่ ไดใ น ๐๑๑๑๕๐๐ ธ.ค........

๒.๔ เมือ่ ๐๑๐๙๐๐ ธ.ค. ........ หลังจากที่ ผบ.ร.๑๖ ไดร ับคําส่ังยุทธการและวางแผนเสรจ็ เรียบรอ ย
แลว จงึ สัง่ การให ร.๑๖ พนั .๑, พัน.๒ และ พนั .๓ นาํ กําลงั เขา ที่รวมพล ตามแผน บริวารและพรอมทีจ่ ะ
ปฏิบตั ิการตามคาํ สัง่ ไดใน ฤ๑๑๖๐๐ ธ.ค. .......

๒.๕ เมอ่ื ๐๑๑๐๐ ธ.ค....... หลังจากท่ี ผบ.ร.๑๖ พนั .๒ ไดร บั คําส่งั ยทุ ธการจาก ผบ.ร. ๑๖ เรยี บรอ ย
แลว จึงเรียกประชุมฝายอํานวยการและฝา ยกจิ การพเิ ศษของตนทันที เพอ่ื แจง ภารกิจใหทราบ และขอทราบ
ขา วสารขน้ั ตน จาก ฝอ. พรอ มกบั ไดใ หแ นวทางในการวางแผนแก ฝอ. จนเปนทีเ่ ขา ใจดี และให ฝอ. ไปจดั ทาํ
ประมาณการตามหนาที่ และกลับมาเสนอแนะใหทราบ ณ ท่ตี รวจการณของ ร.๑๘ พนั .๑ ใน ๐๑๑๓๐๐
ธ.ค.........

๒.๖ ภารกจิ และแนวทางในการวางแผนของ ผบ.ร.๑๖ พัน.๒ มีดังน้ี
๒.๖.๑ ภารกิจ ร.๑๖ พนั .๒ ทําการเขา ตผี า น ร.๑๘ พนั .๑ ใน ๐๒๐๕๓๐ ธ.ค.......... เพ่ือยึดที่หมาย

ก.๑ และเตรียมการเขาตที างทศิ เหนือตอไปเมื่อสง่ั
๒.๖.๒ แนวทางในการวางแผน เฉพาะท่เี กีย่ วของกับ ฝอ.๔ ก็คอื ให ฝอ.๔ เตรียมแผนสนับสนนุ

ทางดานสง กาํ ลงั บํารุงอยางพอเพยี งและตอ เน่ือง จงเพงเล็งเปนพิเศษในเรอ่ื ง สป.๕ และการสง กลบั ผูปว ยเจ็บ
สาหสั
๓. บง การท่ี ๑

สมมตุ ิให นทน. ปฏิบัติหนา ท่ี ฝอ.๔ ร.๑๖ พนั .๒ จงเขยี นประมาณการสงกําลงั บํารุงขอ ๑
๑............................................................................................................................................................
.........................................................................................................................
๔. สถานการณต อมา
หลงั จากท่ี ฝอ.๔ ร.๑๖ พนั .๒ ไดร บั ทราบภารกิจพรอมกบั ใหขาวสารชนั้ ตน ตอ ผบ.พนั และรบั ทราบ
แนวทางในการวางแผนจาก ผบ.พนั เสร็จสิ้นแลว กอ นทฝี่ อ.๔ จะออกไปทําการตรวจภมู ปิ ระเทศจะตอง
ประสานกับ ฝอ. อ่ืน ๆ ที่เก่ยี วของ เพอ่ื หารายละเอยี ดเพม่ิ เติมในการท่จี ะนาํ ไปเปนพ้ืนฐานทาํ ประมาณการ
ตามหนา ที่ตอไป ด้ังน้ี
๔.๑ ประสานกบั ฝอ.๓ ช้ีแจงวา หนทางปฏบิ ตั ใิ นการเขา ตคี รง้ั นีม้ ีหนทางปฏบิ ตั อิ ยู ๒ หนทาง คอื

ก) หนทางท่ี ๑ ร.๑๖ พัน.๒ เขา ตผี า น ร.๑๘ พัน.๑ (ทางขวา) ใน ๐๒๐๕๓๐ ธ.ค........ ตามทิศทาง
วัดหนองแก, ถนนเพชรเกษม เขายึด ทม.ก.๑

ข) หนทางท่ี ๒ ร.๑๖ พัน.๒ เขา ตผี า น ร.๑๘ พนั .๑ ใน ๐๒๐๕๓๐ ธ.ค.....ตามทศิ ทาง บ.หัวนา,
บ.หนองแก, บ.เขานาํ้ ทพิ ย, สนามกอลฟ บ.ทงุ อีอง่ึ , วดั เขาอติ ิสุคโต และเขายึด ทม.ก.๑

ค) การเขา ตีครั้งนี้คาดวาจะเสริ๗ภารกจิ ภายใน ๑ วนั
ง) ประชาชนใหค วามรว มมือกับฝายเราเปน อยา งดี


๒๗๕

๔.๒ ประสานกบั ฝอ.๒ ชแ้ี จงวาพื้นท่ีปฏบิ ตั ิการ พ้นื ดนิ เปน ดินปนทราย ไมเปน อุปสรรคตอการใช
พาหนะ มีถนนเพชรเกษมและทางรถไฟผานไปยังทห่ี มาย, สะพานทกุ แหง สามารถรับนํ้าหนักไดด,ี
ภูมปิ ระเทศเปน ปาโปรงใส ในเดือน ธ.ค. เปนฤดูหนาว, ไมม ฝี นตก, อณุ หภมู ิโดยเฉล่ยี ตอนเชา ๒๐ซ.
ตอนบาย ๓๐ ซ., เรมิ่ แสง ๑๘๔๓, ขา ศึกทําการต้งั รบั ดว ยกาํ ลงั ๒ กองรอย ปล. (+) มีกาํ ลังพลและ
ยทุ โธปกรณ ๘๐ %, ขา ศึกมมี ีทา ทวี า จะใชน ิวเคลยี ร

๔.๓ ประสานกับ ฝอ.๑ ช้แี จงวา ยอดกาํ ลังพลรับการสนบั สนนุ ในวันปฏิบัตกิ ารมีจํานวน ๙๙๑ นาย
๔.๔ สถานการณสง กําลงั บาํ รุง (ตามแผนบริวารการชว ยรบ) สถานภาพการสงกาํ ลังบํารงุ ของ ร.๑๖
พนั .๒ (ตามผนวก ก.)
๕. บงการที่ ๒

ให ฝอ.๔ ร.๑๖ พัน.๒ เขยี นประมาณการสงกําลงั บํารงุ ขอ ๒

............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................

...................................................................

สถานภาพการสงกาํ ลงั บํารุงของ ร.๑๖ พัน.๒

(เมือ่ ๐๑๐๘๐๐ ธ.ค........)

๑. การสง กําลงั

๑.๑ สป.๑ เสบียงประเภท ค. มไี วใ นครอบครองของหนวยแลว ๑ วนั

๑.๒ สป.๒, ๔ เสือ้ เกราะในอตั ราขาดแคลน ๑๐๐%, รยบ. ๒ ๑/๒ ตนั ๖x ๖ งด

ใชงาน ๒ คนั สงซอมข้นั ท่ี ๓, ตาขายพรางชนดิ ตางๆ ขาดแคลน

๑.๓ สป.๓ มตี ามอัตราพิกดั

๑.๔ สป.๕ - กระสนุ และวัตถรุ ะเบดิ มคี รบอัตรามูลฐาน

- อตั รากระสนุ ที่ใชไ ดของ ค.๘๑ มม. ๔๐ นดั /กระบอก/วนั

- อน่ื ๆ ไมจ าํ กดั

๒. การขนสง

๒.๑ ทางพนื้ ดนิ ยานยนตล อในอตั รา

๒.๒ ทางอากาศ ไมม ี ฮ. สนบั สนุน

๓. การซอ มบาํ รุง

๓.๑ รยบ. ๒ ๑/๒ ตัน ๖ x ๖ ของ รอย.สสช. จาํ นวน ๒ คนั กําลงั ซอ ม ข้นั ท่ี ๓ ใชเ วลาซอม ๖

ชั่วโมง

๓.๒ ช้นิ สว นซอมมตี ามอัตราพกิ ดั

๔. การสง กลับสายแพทยแ ละการรักษาพยาบาล


๒๗๖

๔.๑ การสงกลบั ทางพน้ื ดนิ รถยนตพ ยาบาล, เปลสนามและเจาหนา ที่ตามอัตรา
๔.๒ การสง กลับทางอากาศ ไมมี ฮ.สนบั สนุน
๔.๓ การรกั ษาพยาบาล เครอื่ งเวชภณั ฑแ ละเจาหนาทต่ี ามอตั รา
๕. เบ็ดเตล็ด
สถานการณส ง กาํ ลังบํารุง (ตามแผน บรวิ ารการชว ยรบ)
๖. สถานการณตอมา
หลังจากท่ี ฝอ.๔ ร.๑๖ พัน.๒ ทําการประสานงานกับ ฝอ.ทเ่ี กย่ี วขอ งเสร็จเรยี บรอยแลว จงึ เรม่ิ
เตรยี มการออกตรวจภมู ปิ ระเทศตามแผนตอ ไป และในการตรวจภูมปิ ระเทศน้นั ถา โอกาสอํานวยให ฝอ.๔
กจ็ ะรว มไปกบั ผบ.รอย.สสช., นยน., ผบ.มว.สร. ในขณะทาํ การตรวจภมู ปิ ระเทศ ฝอ.๔ จะตองยดึ ถือหนทาง
ปฏบิ ัตขิ อง ฝอ.๓ มาทําการวเิ คราะหท ีละหนทางปฏบิ ัติ
๗. บง การที่ ๓
ให ฝอ.๔ ร.๑๖ พนั .๒ เขยี นประมาณการสงกาํ ลังบํารุง ขอ ๓
๓. วิเคราะห

ก. หนทางปฏบิ ัติที่ ๑ ร.๑๖ พนั .๒ ทําการเขาตผี าน ร.๑๘ พนั ทางขวา …………………………..
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..

๑) การสง กาํ ลงั
ก) ความตองการ
(๑) สป.๑
(๒) สป.๒, ๔
(๓) สป.๓
(๔) สป.๕
ข) ส่งิ ทม่ี อี ยู
(๑) สป.๑
(๒) สป.๒, ๔
(๓) สป.๓
(๔) สป.
ค) ขอจํากัด
(๑).........................................................................................
(๒).........................................................................................
(๓).........................................................................................

๒) การขนสง
ก) ความตอ งการ


๒๗๗

(๑) เสน ทางสง กําลัง
(๒) การรับนาํ้ หนกั ของถนนและสะพาน
(๓) ความปลอดภัย
(๔) ยานพาหนะทจ่ี ะใช
(๕) ขา ยถนน
ข) สิง่ ที่มีอยู
(๑) เสนทางสง กาํ ลงั
(๒) การรับนา้ํ หนักของถนนและสะพาน
(๓) ความปลอดภัย
(๔) ยานพาหนะที่จะใช
(๕) ขา ยถนน
ค) ขอ จํากัด
(๑)
(๒)
(๓)
๓) การซอมบํารงุ
ก) ความตอ งการ
(๑) งานทางการซอ ม
(๒) ชน้ิ สว นซอ ม
(๓) เจาหนาทซ่ี อ ม
ข) สิ่งที่มีอยู
(๑) งานทางการซอ ม
(๒) ชนิ้ สว นซอ ม
(๓) เจาหนาทซ่ี อม
ค) ขอ จํากดั
(๑)
(๒)
(๓)
๔) การสง กลบั สายแพทยแ ละการรกั ษาพยาบาล
ก) ความตองการ
(๑) เสน ทางในทางสงกลบั
(๒) พาหนะทจ่ี ะใชท างบกและทางอากาศ
(๓) เจา หนา ทสี่ งกลับ


๒๗๘

(๔) การรักษาพยาบาล
ข) สิ่งท่ีมีอยู

(๑) เสน ทางในการสง กลับ
(๒) พาหนะทจี่ ะใช
(๓) เจาหนา ทสี่ งกลบั
(๔) การรกั ษาพยาบาล
ค) ขอ จํากดั
(๑)
(๒)
(๓)
๕) ท่ีต้ังสถานสงกาํ ลัง
ก) ความตอ งการ
(๑) ท่ีตั้งขบวนสัมภาระรบ
(๒) ท่ีตง้ั ขบวนสมั ภาระพกั
(๓) ตําบลจา ย
(๔) อน่ื ๆ
ข) สง่ิ ที่มีอยู
(๑) ทตี่ ั้งขบวน สภ.รบ
(๒) ทต่ี ั้งขบวน สภ.พัก
(๓) ตาํ บลจา ย
(๔) อนื่ ๆ
ค) ขอ จาํ กดั
(๑)
(๒)
(๓)
ข. หนทางปฏิบัติที่ ๒ ร.๑๖ พัน.๒ ทําการเขา ตีผาน ร.๑๘ พนั .๑.............................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
๑) การสง กําลัง
ก) ความตองการ
(๑) สป.๑
(๒) สป.๒, ๔


๒๗๙

(๓) สป.๓
(๔) สป.๕
ข) ส่งิ ที่มอี ยู
(๑) สป.๑
(๒) สป.๒, ๔
(๓) สป.๓
(๔) สป.๕
ค) ขอ จํากัด
(๑) ....................................................................................
(๒) ....................................................................................
(๓) ....................................................................................
๒) การขนสง
ก) ความตอ งการ
(๑) เสนทางสง กาํ ลัง
(๒) การรับนํา้ หนกั ของถนนและสะพาน
(๓) ความปลอดภยั
(๔) ยานพาหนะท่จี ะใช
(๕) ขา ยถนน
ข) ส่ิงทม่ี ีอยู
(๑) เสน ทางสง กําลงั
(๒) การรบั นา้ํ หนักของถนนและสะพาน
(๓) ความปลอดภัย
(๔) ยานพาหนะทีจ่ ะใช
(๕) ขา ยถนน
ค) ขอจํากดั
(๑)
(๒)
(๓)
๓. การซอมบาํ รุง
ก) ความตอ งการ
(๑) งานทางการซอ ม
(๒) ชน้ิ สวนซอ ม
(๓) เจา หนาทซ่ี อม


๒๘๐

ข) สิ่งที่มีอยู
(๑) งานทางการซอม
(๒) ชน้ิ สวนซอ ม
(๓) เจาหนาทซี่ อ ม

ค) ขอ จํากัด
(๑)
(๒)
(๓)

๔) การสง กลบั สายแพทยและการรกั ษาพยาบาล
ก) ความตอ งการ
(๑) เสนทางในการสง กลับ
(๒) พาหนะทจี่ ะใชท างบกและทางอากาศ
(๓) เจา หนา ทสี่ ง กลบั
(๔) การรกั ษาพยาบาล
ข) ส่งิ ทม่ี ีอยู
(๑) เสนทางในการสง กลบั
(๒) พาหนะทจ่ี ะใช
(๓) เจาหนา ทส่ี งกลบั
(๔) การรกั ษาพยาบาล
ค) ขอจาํ กัด
(๑)
(๒)
(๓)

๕) ที่ต้งั สถานสง กาํ ลงั บาํ รงุ
ก) ความตองการ
(๑) ท่ตี ั้งขบวนสัมภาระรบ
(๒) ขบวนสมั ภาระพกั
(๓) ตําบลจา ย
(๔) อน่ื ๆ
ข) สงิ่ ท่มี ีอยู
(๑) ทีต่ ้งั ขบวน สภ.รบ
(๒) ขบวน สภ.พกั
(๓) ตําบลจา ย


๒๘๑

(๔) อน่ื ๆ
ค) ขอ จาํ กัด

(๑)
(๒)
๘. สถานการณตอมา
หลงั จากที่ ฝอ.๔ ร.๑๖ พนั .๒ ไดท ําการวเิ คราะหใ นขอ ๓ ของประมาณการสง กําลงั บาํ รุงเสรจ็ สิ้น
แลว กจ็ ะไดข อ จาํ กดั ของแตละเรื่องในแตล ะหนทางปฏบิ ัติ ซึ่งขอ จาํ กดั เหลานี้คอื อุปสรรคท่ีสําคญั ซ่งึ มี
ผลกระทบตอ การสนับสนุนทางการสง กาํ ลังบํารุงตามภารกิจ และจะเปน ผลใหนําไปจดั ทําประมาณการในขอ
ตอ ไป
๙. บง การที่ ๔
ให ฝอ.๔ ร.๑๖ พนั .๒ เขยี นประมาณการสง กําลงั บาํ รุงขอ ๔ โดยการนาํ เอาขอ จํากัดทไ่ี ดม าเขียนไว
ก. หนทางปฏบิ ตั ทิ ี่ ๑ : มขี อจํากดั : -
๑) ๒)
๓) ๔)
ข. หนทางปฏบิ ตั ทิ ่ี ๒ : มีขอ จาํ กดั :-
๑) ๒)
๓) ๔)
๔ การเปรียบเทยี บ
ก) ขอจํากดั ท่สี าํ คญั ท่ีตอ งนาํ มาเขยี นเรียงกันไวแ ละตอ งนาํ ไปประเมนิ คา
๑) ๒)
๓) ๔)
๕) ๖)
๗) ๘)
ข) ขอจํากัดแตล ะขอทต่ี อ งทําการประเมนิ คา/เปรยี บเทยี บ
๑) ขอจํากดั ..................
ก) หนทางปฏบิ ตั ทิ ี่ ๑ ...................................................................
ข) หนทางปฏบิ ัติที่ ๒ ...................................................................
ค) อาํ นวยใหกบั หนทางปฏบิ ตั ทิ ี่
๒) ขอ จาํ กดั .........................................................................................
ก) หนทางปฏบิ ตั ิท่ี ๑ .....................................................................
ข) หนทางปฏิบัติที่ ๒ ......................................................................
ค) อํานวยใหกบั หนทางปฏบิ ัติท่ี .......................................................
๓) ขอ จํากัด ...........................................................................................


๒๘๒

ก) หนทางปฏบิ ัติที่ ๑ ......................................................................
ข) หนทางปฏิบัตทิ ่ี ๒ .......................................................................
ค) อาํ นวยใหก ับหนทางปฏบิ ัตทิ ี่ .........................................................
๔) ขอ จาํ กดั .............................................................................................

ก) หนทางปฏบิ ัติท่ี ๑ .........................................................................
ข) หนทางปฏบิ ัติท่ี ๒ .........................................................................
ค) อาํ นวยใหกบั หนทางปฏิบตั ิ .............................................................
๕) ขอ จํากดั .............................................................................................
ก) หนทางปฏิบตั ทิ ี่ ๑ .......................................................................
ข) หนทางปฏบิ ัตทิ ่ี ๒ ........................................................................
ค) อาํ นวยใหก บั หนทางปฏิบตั ิที่ .........................................................
๖) ขอจํากดั ...............................................................................................
ก) หนทางปฏบิ ตั ทิ ี่ ๑ ..........................................................................
ข) หนทางปฏบิ ัติท่ี ๒ ........................................................................
ค) อํานวยใหกบั หนทางปฏิบตั ิท่ี .........................................................
๗) ขอจํากัด ...............................................................................................
ก) หนทางปฏบิ ัตทิ ่ี ๑ .............................................................................
ข) หนทางปฏบิ ัติท่ี ๒ ............................................................................
ค) อาํ นวยใหกบั หนทางปฏบิ ตั ิท่ี ..........................................................
๘) ขอ จาํ กัด .............................................................................................
ก) หนทางปฏิบัติท่ี ๑ .............................................................................
ข) หนทางปฏบิ ัติที่ ๒ ..........................................................................
ค) หนทางปฏบิ ัตทิ ่ี ๓ ...........................................................................
๑๐. สถานการณตอมา
หลังจากทฝี่ อ.๔ ร.๑๖ พัน.๒ ทําการตรวจภูมิประเทศและทาํ ประมาการสง กาํ ลงั บาํ รุงใกลจ ะเสร็จลง
เพอื่ ใหไ ดข อ สรุปซง่ึ จะตอ งนาํ ไปเสนอแนะตอ ผบ.ร.๑๖ พัน.๒ ณ ตาํ บลและเวลาทีก่ ําหนด,ฝอ.๔ จึงไดทํา
การทบทวนรายการสําคัญ ๆ ท่ไี ดจากการวเิ คราะหและเปรียบเทียบแลวนาํ มาเขียนเปน ขอ สรุปตอ ไป
๑๑. บง การท่ี ๕
ให ฝอ.๔ ร.๑๖ พัน.๒ เขยี นประมาณการสงกาํ ลงั บาํ รุง ขอ ๕
ก............................................................................................................................................................
........................................................................................................................
ข ...........................................................................................................................................................
........................................................................................................................


๒๘๓

ค. ..........................................................................................................................................................

.......................................................................................................................

ง.............................................................................................................................................................

.........................................................................................................................

๑๒. สถานการณต อ มา

หลังจากท่ี ผบ.ร.๑๖ พนั .๒ รบั ขอ เสนอแนะจาก ฝอ.เสร็จสนิ้ และตกลงใจในการปฏบิ ตั แิ ลว จึงได

ประกาศขอตกลงใจและใหแ นวคดิ ในการปฏบิ ตั แิ ก ฝอ. เพอ่ื ให ฝอ. ไปเตรียมคําส่ังยทุ ธการตามหนาท่ี

๑๓. บง การท่ี ๖

ให ฝอ.๔ร.๑๖ พนั .๒ เตรียมคาํ ส่ังยทุ ธการขอ ๔ ในสว นทีเ่ กยี่ วขอ ง และรวบรวมเปน แผนการ

ชว ยรบของหนว ย (โดยแยกสว นทีเ่ ปน ขอ เขยี น และสว นที่เปน ผนวก ........แผน บริวาร การชว ยรบ ประกอบ
คาํ สั่งยทุ ธการ)

๔. การชวยรบ

เฉลย ประมาณการสง กาํ ลงั บํารงุ ในหนา ทขี่ อง ฝอ.๔ พนั .ร.
๑.เฉลย : บงการที่ ๑

๑. ภารกจิ : ร.๑๖ พัน.๒ ทําการเขาตผี าน ร.๑๘ พัน.๑ ใน ๐๒๐๕๓๐ ธ.ค........เพอื่ ยดึ ทหี่ มาย ก.๑ และ
เตรียมการเขา ตีตอ ไปทางทศิ เหนอื เมอ่ื ส่งั

ขอ แถลง ภารกิจเปนขอแรกของ “ประมาณการสงกําลังบาํ รงุ ” ซึ่ง ผบ.หนว ยเหนือเปน ผูมอบหมายลง
มาตามสายการบงั คับบัญชา โดยการสัง่ การดวยวาจาหรอื ลายลกั ษณอกั ษรกไ็ ด ฝอ.๔ จะยดึ ถอื เปนพน้ื ฐานใน
การทาํ ประมาณการขอตอๆ ไป

๒. เฉลย : บงการที่ ๒

๒. สถานการณและขอ พจิ ารณา :-

ก) สถานการณขาวกรอง (นําเรอ่ื งที่ ฝอ.๒ ช้แี จงมาเขยี น)

ข) สถานการณทางยุทธวิธี (นาํ เรอ่ื งท่ี ฝอ.๓ ชแ้ี จงมาเขยี น)

ค) สถานการณกําลังพล (นําเรือ่ งท่ี ฝอ.๑ ชีแ้ จงมาเขยี น)

ง) สถานการณก จิ การพลเรือน (นาํ เรือ่ งที่ ฝอ.๓ ชี้แจงมาเขยี น)

จ) สถานการณสงกาํ ลังบาํ รงุ (นําเร่ืองท่ี ฝอ.๔ ชี้แจงมาเขยี น)

ฉ) สมมติฐาน (นําเร่อื งท่ี ฝอ.๒ ชแี้ จงมาเขียน)

ช) ปจจยั พิเศษ (นําเร่ืองท่ี ฝอ.๒ ช้แี จงมาเขียน)

ขอ แถลง การเขยี นประมาณการสงกาํ ลังบาํ รุงขอ ๒ ลงในขอ ยอยตา ง ๆ แตล ะขอ นน้ั ฝอ.๔ได

ขอ เท็จจริงมาจากการประสาน และการช้แี จงจาก ฝอ.อน่ื ๆ ท่ีเก่ียวของ ซ่ึงเปนการปฏิบัติกอ นทต่ี นเอง

จะออกไปทาํ การตรวจภมู ปิ ระเทศจรงิ และ ฝอ.๔ จะตองอาศัยรายละเอยี ดจากประมาณการขอ ๑ – ๒ ทกี่ ลาว

มาแลว เปนพ้นื ฐานในการทําประมาณการขอ ตอ ไป

๓. เฉลย :- บงการที่ ๓


๒๘๔

๓. วิเคราะห

ก. หนทางปฏิบัติท่ี ๑ ร.๑๖ พัน.๒ เขา ตผี าน ร.๑๘ พัน.๑ ทางขวาใน ๐๒๐๕๓๐ ธ.ค.........

ตามทิศทางวัดหนองแก, ถนนเพชรเกษมเขา ยดึ ทห่ี มาย ก.๑

๑) การสงกําลงั

ก) ความตอ งการ

(๑) สป.๑ ตองการเสบยี ง ข.๑ วนั และเสบยี ง ค.๑ วนั

(๒) สป.๒,๔ ตองการ สป.๒ ครบตามอัตรา

(๓) สป.๓ ตามอตั ราพิกดั

(๔) สป.๕ กระสุน ค.๘๑ มม. ๕๐ นดั /กระบอก/วนั

ข) สิง่ ที่มีอยู

(๑) สป.๑ เสบยี ง ค. ๑ วนั

(๒) สป.๒, ๔ – เสือ้ เกราะขาดแคลน ๑๐๐ เปอรเซน็ ต

- รยบ.๒ ๑/๒ ตนั ๖ x ๖ งดใชการ ๒ คนั (ข้ันที่ ๓)
(๓) สป.๓ มีตามอัตราพกิ ัด
(๔) สป.๕ กระสนุ ครบตามอัตรามลู ฐาน เฉพาะ ค.๘๑ มม.อัตรากระสนุ ที่ใชได ๔๐

นัด/กระบอก/วัน

ค) ขอ จํากดั
(๑) เส้ือเกราะขาดอตั รา ๑๐๐ %
(๒) กระสนุ ทใ่ี ชไ ด ค.๘๑ มม. มนี อยกวาท่ตี อ งการ ๑๐ นดั

๒) การขนสง

ก) ความตอ งการ

(๑) เสน ทางสง กาํ ลงั เพื่อการสนับสนนุ หนว ยกองรอยขางหนา

(๒) การรับนํ้าหนักของถนนและสะพานใหไ ด ๒๐ ตัน

(๓) ความปลอดภัย ตอ งมกี ําลังคุมกนั ขบวนลําเลยี ง ขณะทาํ การขนสง และเครื่อง

พราง

(๔) ยานพาหนะท่จี ะใช ยานยนตล อตามอตั รา

(๕) ขายถนน เช่ือมตอ ระหวา งทางรถไฟกับถนนเพชรเกษมและชายทะเลหัวหนิ

ข) สิง่ ทีม่ ีอยู

(๑) เสนทางสง กําลัง มีถนนเพชรเกษมมงุ ตรงไปยงั ทม.ก.๑

(๒) การรบั นา้ํ หนักของถนนและสะพาน ไดม ากกวา ๒๐ ตนั

(๓) ความปลอดภยั ใชก าํ ลงั ของหนว ย ตาขา ยพรางยานยนตขาดแคลน

(๔) ยานพาหนะทจี่ ะใช ยานยนตลอในอตั รา

(๕) ขายถนน มีอยูทัว่ ไป แตม ีบางพน้ื ทเี่ ปน ทางแคบและนํา้ หนักไดน อ ย


๒๘๕

ค) ขอจาํ กัด ตาขา ยพรางยานยนต และเสน ทางบางตอนแคบ
๓. การซอ มบํารงุ

ก) ความตอ งการ
(๑) งานทางการซอ ม รยบ. ๒ ๑/๒ ตัน ๖ x๖ รอ ย.สสช. สงซอ มข้ันท่ี ๓ จํานวน

๒ คัน ตองเรง รดั ใหเ สรจ็ ทนั การเขาตี
(๒) ชนิ้ สวนซอ ม ตามอตั ราพกิ ดั
(๓) เจาหนา ทซ่ี อ ม ตอ งการชุดซอมเคลอ่ื นที่สนบั สนนุ โดยตรง

ข) สงิ่ ท่มี อี ยู
(๑) งานทางการซอม รยบ.๒ ๑/๒ ตัน ๖ X ๖, ๒ คัน ใชเ วลาในการซอมบํารุง

๖ ชม. คาดวาจะเสรจ็ ทันการเขาตี
(๒) ชนิ้ สวนซอ ม ครบตามอตั ราพกิ ัด
(๓) เจา หนาทซี่ อม ครบตามอัตราและชดุ ซอ มเคลอ่ื นทส่ี นับสนุนโดยตรง

ค) ขอจาํ กดั ไมม ี
๔. การสง กลับสายแพทยและการรกั ษาพยาบาล :-

ก) ความตอ งการ
(๑) เสน ทางในการสง กลับจาก นต.ถงึ ท่ีหมายและทพี่ ยาบาลกองพัน
(๒) ยานพาหนะทจ่ี ะใชรถยนตพ ยาบาล และ ฮ. สนับสนนุ โดยตรงเจาหนาท่ี

สงกลบั ตามอตั รา การรักษาพยาบาล ทพี่ ยาบาลกองพนั เจา หนาท่ีตามอตั รา
ข) สงิ่ ทีม่ ีอยู
(๑) เสน ทางสง กลับ ถนนเพชรเกษม และเสน ทางรมิ ทางรถไฟและชายทะเล
(๒) พาหนะทางบก รถยนตพ ยาบาลในอตั รา
(๓) เจาหนาทส่ี งกลับตามอัตรา
(๔) การรกั ษาพยาบาล จดั ตง้ั ที่พยาบาลกองพันและ จนท. ตามอตั รา
ค) ขอ จํากัดสงกลบั ทางอากาศ

๕. ทต่ี ัง้ สถานสง กําลังบํารุง
ก) ความตอ งการ
(๑) ทต่ี ้งั ขบวนสัมภาระรบของกองพัน ใหอ ยใู นยา นกลางและใกลถนน,ใกลนํ้า,

กวางขวางพอทีจ่ ะกระจายกาํ ลงั , กําบงั และซอนพรางและต้ังอยใู กล ๆ กบั ทก.พัน
(๒) ขบวนสัมภาระพกั ใหอ ยใู นความควบคมุ ของกรม
(๓) ตาํ บลจา ย สป. ตา งๆ กระจายกนั อยแู ละซอนพราง

ข) ส่ิงที่มอี ยู
(๑) ท่ตี ั้ง สภ.รบ ของกองพนั บรเิ วณหนองปาไผแ ละใกลกับ ทก.พัน
(๒) ทต่ี ้ัง สภ.พัก ตง้ั อยใู นพน้ื ท่ี สภ.กรม


๒๘๖

(๓) ตําบลจา ย สป.ตางๆ ต้งั อยใู นระยะปลอดภัย

ค) ขอจาํ กัด ไมม ี

ข. หนทางปฏิบัตทิ ่ี ๒ ร.๑๖ พนั .๒ เขาตผี าน ร.๑๘ พนั .๑ ใน ๐๒๐๕๓๐ ธ.ค.......... ตาม

ทิศทาง, บ.หนองแก, บ.เขานา้ํ ทิพย, สนามกอฟล, บ.ทุง ออี ึ่ง, วดั เขาอิตสิ คุ โต และเขา ยึด ทม.ก.๑

๑) การสง กาํ ลงั

ก) ความตอ งการ

(๑) สป.๑ เชนเดยี วกับหนทางปฏิบัตทิ ่ี ๑

(๒) สป.๒, ๔ เชนเดยี วกับหนทางปฏิบัตทิ ่ี ๑

(๓) สป.๓ เชน เดยี วกบั หนทางปฏบิ ัติท่ี ๑

(๔) สป.๕ เชน เดยี วกับหนทางปฏิบัตทิ ่ี ๑

ข) สิง่ ท่มี ีอยู

(๑) สป.๑ เชนเดยี วกับหนทางปฏิบัตทิ ี่ ๑

(๒) สป.๒, ๔ เชนเดยี วกบั หนทางปฏบิ ัตทิ ี่ ๑

(๓) สป.๓ เชน เดยี วกับหนทางปฏิบัติท่ี ๑

(๔) สป. ๕ เชน เดยี วกับหนทางปฏบิ ตั ทิ ่ี ๑

ค) ขอจํากดั

๒) การขนสง

ก) ความตอ งการ

(๑) เสน ทางสง กําลงั ถนนชนั้ ดจี าก นต.ตรงไปตามทศิ ทางเขาตแี ละสทู หี่ มาย

(๒) การรับนํา้ หนกั ของถนนและสะพานไมนอ ยกวา ๒๐ ตัน

(๓) ความปลอดภัย การคมุ กนั , กําบงั และซอ นพรางดี

(๔) ยานพาหนะทจี่ ะใช ยานลอ และ ฮ. สนบั สนุนโดยตรง

(๕) ขายถนน เชือ่ มตอ ระหวางกองรอยที่เขา ตีทางขวาและทางซาย

ข) ส่งิ ทมี่ ีอยู

(๑) เสน ทางสง กําลัง เปน ถนนดนิ และลกู รงั โดยตลอด เสน ทางคดเคีย้ วและออ มไกล

, บางตอนเปนทางแคบท้ังผิวจราจรไมมดเี ทา ทค่ี วร

(๒) การรับนา้ํ หนกั ของถนนไดป ระมาณ ๑๕ ตนั สะพานบางแหงรบั นา้ํ หนกั ได

เพียง ๑๐ ตนั

(๓) ความปลอดภัย ใชก าํ ลงั พลในอัตราคมุ กัน

(๔) ยานพาหนะทีจ่ ะใช ยานยนตใ นอัตรา ไมมี ฮ. สนับสนนุ โดยตรง

(๕) ขา ยถนน มบี างแตเ ปน ทางคดเค้ยี วมากแตกใ็ ชไ ด และบางแหง ทางแคบมาก

ค) ขอ จาํ กดั

(๑) เสนทางสง กําลงั บางแหง เปนทางแคบมาก


๒๘๗

(๒) การรับน้ําหนักของสะพาน บางแหงรบั ไดน อยกวาท่ตี องการ

๓. การซอ มบาํ รงุ

ก) ความตอ งการ

(๑) งานทางการซอมบาํ รุง เชนเดียวกบั หนทางปฏบิ ตั ทิ ่ี ๑

(๒) ชนิ้ สว นซอ ม ตามอัตราพกิ ัด

(๓) เจาหนา ทซ่ี อ ม ตามอตั ราพิกัดและจัดชดุ ซอมเคลื่อนท่ี

ข) สง่ิ ท่ีมีอยู

(๑) งานซอ มบาํ รงุ เชนเดียวกบั หนทางปฏบิ ตั ทิ ี่ ๑

(๒) ชนิ้ สว นซอ ม ครบตามอัตรา

(๓) เจาหนา ทซี่ อม ครบตามอัตราบรรจแุ ละจัดชดุ ซอมเคลอ่ื นทไ่ี ด

ค) ขอจํากัด

(๑) งานซอมบาํ รุง ตอ งเรง รัดใหเ สร็จกอ นการเขาตี

๔. การสง กลับสายแพทยแ ละการรกั ษาพยาบาล
ก) ความตอ งการ
(๑) เสนทางในการสง กลับถนนชน้ั ดแี ละเปนเสน ทางมงุ ไปตามทิศทางเขา ตี
(๒) พาหนะทจี่ ะใชทางบก
(๓) เจา หนา ทสี่ งกลบั นายสิบพยาบาลและพลเปลตามอัตรา
(๔) การรักษาพยาบาล เชนเดียวกับหนทางท่ี ๑
ข) สิ่งท่ีมอี ยู

(๑) เสนทางสง กลบั เปน ทางเกวยี น, ถนนลกู รงั , และคดเค้ียวมากผิวจราจรเปนฝนุ

(๒) พาหนะทจี่ ะใช รถพยาบาล, ไมมี ฮ. สนบั สนุนโดยตรง

(๓) เจาหนาทส่ี งกลบั มตี ามอัตราบรรจุ

(๔) การรักษาพยาบาล มีเชน เดยี วกบั หนทางที่ ๑

ค) ขอจาํ กัด

(๑) พาหนะทจี่ ะใชส งกลับทางอากาศ ไมม ี ฮ. สนับสนุนโดยตรง

๕) ทตี่ ั้งสถานสง กําลังบาํ รุง

ก) ความตอ งการ

(๑) ทต่ี ้งั ขบวนสัมภาระรบของกองพนั เชนเดยี วกบั หนทางท่ี ๑

(๒) ท่ีตัง้ ขบวนสมั ภาระพกั เชน เดยี วกับหนทางที่ ๑

(๓) ตาํ บลจา ย สป. และอน่ื ๆ เชนเดยี งกับหนทางท่ี ๑

ข) สงิ่ ท่มี ีอยู

(๑) ทต่ี ัง้ ขบวน สภ. รบ เชนเดยี วกบั หนทางที่ ๑

(๒) ท่ตี งั้ ขบวน สภ.พัก เชนเดยี วกบั หนทางท่ี ๑


๒๘๘

(๓) ตจ. และอ่นื ๆ เชนเดยี วกับหนทางที่ ๑

ค) ขอจํากดั ไมมี

ขอ แถลง

ก. ฝอ.๔ ร.๑๖ พนั .๒ เร่ิมออกทําการตรวจภูมปิ ระเทศจรงิ ตามแผนเพือ่ ทาํ การวิเคราะหหนทางปฏิบตั ิ

ตามที่ ฝอ.๓ เสนอมาแลวทลี ะหนทางปฏบิ ัติ โดยทําการวเิ คราะหเ กย่ี วกบั เรอื่ งการสง กาํ ลัง, การขนสง , การ

ซอ มบาํ รุง, การสง กลบั สายแพทย และทตี่ ง้ั สถานสงกําลงั บาํ รุงไปตามลาํ ดับ

ข. หวั ขอทจี่ ะนาํ มาทาํ การวเิ คราะหใ นแตละหนทางและแตล ะเร่อื งทัง้ ๕ เรอื่ งทก่ี ลาวมาแลว นั้น

จะตอ งพจิ ารณาถงึ ความตอ งการ, ส่งิ ทม่ี ีอยู และขอ จาํ กดั ซึ่งในแตละรายการน้ันถา ฝอ.๔ ตอ งการส่งิ ใดแลว

สง่ิ น้ันไมม หี รอื ขาดแคลน หรือหนว ยเหนอื ไมส ามารถสนบั สนุนได ใหถอื วา ส่งิ นั้นคือขอจาํ กดั สําคญั ที่ตอ ง

นํามาเขียนลงในขอ จาํ กดั ของแตละเร่อื ง

ค. การวเิ คราะหท่ีกลาวมาแลวท้ังหมด จะตองพิจารณาถงึ การใหก ารสนบั สนนุ หรือการแกไ ข

ขอจํากดั นนั้ ดว ย สมมุตวิ า ขอ จํากดั ใดทหี่ นวยเหนอื สามารถแกไ ขขอจาํ กดั นนั้ ๆใหไ ดแ ลว ส่งิ นนั้ ถอื วา ไมใ ช

ขอ จํากัดสาํ คญั
ง. ฝอ.๔ จะตอ งประเมนิ คาหรือวเิ คราะหอ ยา งแทจ ริง และเปน ระบบเพ่อื คน หาขอจาํ กดั หรอื อุปสรรค

เพ่อื การประมาณการขอ ตอไป
๔. เฉลย : บง การท่ี ๔

๔. เปรยี บเทยี บ
ก. ขอ จํากดั ที่สําคญั ซง่ึ ไดพ จิ ารณาแลว ในขั้นวเิ คราะหม ดี ังน้ี
๑) เส้ือเกราะ

๒) อตั รากระสนุ ทีใ่ ชไดของ ค.๘๑ มม.

๓) เสน ทางสง กําลงั

๔) การสงกลบั ทางอากาศ

ข. เปรยี บเทยี บระหวา งขอจํากดั และหนทางปฏบิ ัติ

๑) เส้อื เกราะ

ก) หนทางปฏิบัติท่ี ๑ ไมจําเปน ตองใช

ข) หนทางปฏบิ ตั ิที่ ๒ จาํ เปน ตองใชแ ตข าดแคลน

ค) อํานวยใหกับหนทางปฏบิ ัติที่ ๑

๒) อตั รากระสนุ ทใี่ ชไ ดข อง ค.๘๑ มม.

ก) หนทางปฏิบัติที่ ๑ ตอ งการ ๕๐ นัด/กระบอก/วนั

ข) หนทางปฏบิ ัติที่ ๒ ตองการเทา กบั หนทางท่ี ๑

ค) อํานวยใหหนทางปฏบิ ตั ิท่ี

๓) เสน ทางสงกาํ ลงั

ก) หนทางปฏบิ ตั ทิ ี่ ๑ มีถนนเพชรเกษมมุง เขาสู ทม.ก.๑ และรบั น้ําหนักไดม าก


๒๘๙

ข) หนทางปฏิบตั ทิ ี่ ๒ มีถนนดนิ และลกู รังแตค ดเคยี้ วและบางตอนทางแคบมาก
ค) อํานวยใหหนทางปฏิบตั ิท่ี ๑
๔) พาหนะสง กลบั ทางอากาศ
ก) หนทางปฏบิ ัติที่ ๑ ไมจ าํ เปนมากนกั เพราะเสนทางถนนสะดวก
ข) หนทางปฏบิ ตั ิที่ ๒ จําเปนจะตองใช ฮ. สนบั สนนุ เพราะเสนทางจาํ กัด
ค) อาํ นวยใหห นทางปฏบิ ตั ิท่ี ๑
ขอแถลง การเขยี นประมาณการสง กาํ ลงั บํารงุ ขอ ๔ เปรียบเทียบ
๑. หลักจากไดรวบรวมขอ จาํ กดั สําคัญ ที่ไดจ ากขั้นวเิ คราะหแ ลว ใหนาํ มาเขยี นเรยี งกนั เขา ตามขอ
๔ ก.
๒. นําขอ จํากดั นน้ั ๆ มาเขียนเปนตวั ตั้งทีละขอ จาํ กดั และใหนาํ หนทางปฏิบัตทิ ่ี ๑ – ๒ เขามา
เปรยี บเทียบ เพอ่ื ประเมนิ คาเกี่ยวกับความจาํ เปนตอ การสนบั สนนุ หนว ยปฏิบัตกิ ารในแตล ะหนทางปฏบิ ัติ
ตามขอ ๔ ข.
๓. หลงั จากไดประเมนิ คา เรยี บรอ ยแลว ผลรบั กค็ อื แตล ะขอ จํากัดนน้ั ๆ อํานวยใหแกห นทาง
ปฏบิ ัติใด
๔. ขอยตุ ิวาจะสามารถสนบั สนนุ หนทางใดไดดที ่ีสุดน้นั ใหพจิ ารณาวา ขอจํากดั ตาง ๆ อํานวยให
สามารถสนับสนุนหนทางปฏบิ ัติใดไดม ากกวา อกั หนทางหนง่ึ หรือหนทางอื่นหนทางปฏิบตั นิ ัน้ ยอม
สนับสนุนไดด ีที่สุด
๕. เฉลย : บง การท่ี ๕
๕. ขอสรปุ (ขอ เสนอแนะ)
ก. การสง กาํ ลงั บาํ รุงสามารถสนับสนุนภารกจิ เขาตคี รงั้ นี้ได
ข. ตามท่ี ฝอ.๓ เสนอหนทางปฏิบตั ิ ๒ หนทางนัน้ หนทางปฏิบตั ทิ ี่ ๑ สามารถสนบั สนุนไดดี
ทสี่ ดุ
ขอ ดี : ท่ตี งั้ สถานสงกําลงั บํารงุ และเสน ทางสง กาํ ลังสะดวก,รวดเรว็ ,ปลอดภัย
ขอ เสยี : อตั รากระสนุ ที่ใชไ ด มีนอ ยกวาอตั รากระสนุ ทต่ี องการ
ค. หนทางปฏิบัติท่ี ๒ สามารถสนบั สนุนได แตม ขี อจาํ กัดมากกวา หนทางปฏบิ ตั ิท่ี ๑
ขอ เสยี : เสนทางสง กําลังบางแหง ไมสะดวกและผิวจราจรเปนฝนุ ทําใหการสงกาํ ลังและ
สง กลบั ลา ชา , ไมป ลอดภยั
ง. ขอ เนน : อัตรากระสุนทีใ่ ชได ของ ค.๘๑ มม. มจี ํากดั จงึ เสนอใหห นว ยใชรอ งขอ
การยิงสนบั สนุนจากอาวธุ ชนิดอน่ื ใหม ากกวา, ยานพาหนะทกี่ าํ ลงั ดาํ เนินการซอ มบาํ รุงโดยหนว ยสนบั สนนุ
โดยตรง จะเรง รัดใหเสรจ็ ทนั ทกี อนการเขาตี และจะประสานกบั ทพ่ี ยาบาลหนา ของกองพลใหม ีการสง กลับ
ผปู วยเจบ็ ทางอากาศอกี ทางหนึง่ ดว ย อน่ื ๆ ไมม ปี ญหา
“ กระผมมีขอเสนอแนะใหท ราบเพียงเทา น”้ี


๒๙๐

ขอ แถลง : ประมาณการ กบ.ขอ ๕ เปน ขอ สดุ ทายของประมาณการซ่งึ ฝอ.๔ ตองนาํ ไปเสนอแนะตอ
ผบ.ณ ตาํ บล และเวลากาํ หนดนดั โดยการเสนอแนะดวยวาจาแบบรอยแกว ไมตอ งกลา วถึงขอ ใด ๆ ขอควร
ระวงั คือ การใชศ พั ทท างทหารที่เหมาะสมและเหตผุ ลขอ เท็จจรงิ เปนสาํ คญั โดยเฉพาะในขอนัน้ จะเนนให
ทราบถึงวธิ ีการหาทางออกหรือขอแกไ ขอุปสรรคตา งๆ ในความรับผดิ ชอบของ ฝอ.๔ จะตอ งดาํ เนินการดว ย
ตนเอง มิใชเ สนอให ผบ.หนว ยเปน ผดู ําเนนิ การให

ตวั อยาง : เฉลย คําส่ังยุทธการขอ ๔ (เฉพาะขอเขยี น)
เฉลย : บง การที่ ๖

๔. การชวยรบ
ก. ทว่ั ไป
๑) ธรุ การและการสงกําลังบาํ รุง ไมเ ปล่ียนแปลงจาก รปจ.
๒) ขบวนสัมภาระรบในขั้นตน ตง้ั ทีพ่ กิ ดั เอ็นพี ๐๕๘๕ หลังจากยดึ ทบ.ก.๑
ไดแ ลว จะเปล่ยี นยายไปตงั้ ทีพ่ กิ ัด ๐๕๙๒
ข. ยทุ โธปกรณแ ละบรกิ าร
- อัตรากระสนุ ท่ใี ชไ ดข อง ค.๘๑ มม. ๔๐ นดั /กระบอก/วนั
ค. การสงกลบั สายแพทยแ ละการรักษาพยาบาล
- ท่พี ยาบาลกองพนั ต้งั พกิ ดั เอน็ พี ๐๕๕๘๔๕

ขอแถลง การเตรยี มคําสง่ั ยทุ ธการขอ ๔ ทสี่ มบรู ณ (เฉพาะขอ เขยี น) ฝอ.๔ จะตองรวบรวมในสว นที่
เกย่ี วขอ งพับ ฝอ.๑ และ ฝอ.๕ ของหนวยเขา มาตอ ทา ยรายการตามลาํ ดบั “ตวั อักษรไทย” ที่ทางราชการ
กําหนดใชโ ดยจดั ทําเปนแผนการชว ยรบของหนว ยใหสมบรู ณแ ลวสงมอบใหกบั ฝอ.๓ ดําเนินการตอ ไป.

ตวั อยาง : แผนบริวารการชว ยรบ ประกอบคําสงั่ ยุทธการ
---------------------------------------------------------------------

(ประเภทเอกสาร)
อนุผนวก ๑ (แผน บริวารการชว ยรบ) ประกอบคาํ สัง่ ยทุ ธการท่ี ๓ – ร.๑๖ พนั .๒
อางถงึ แผนท่ีประเทศไทย มาตราสวน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ระวาง อ.หวั หิน และระวาง อ.ปราณบรุ ี

(ประเภทเอกสาร)


๒๙๑

แนวทางการทาํ แผนการเล้ยี งดูของกรม
(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ที่..................ของ..............ชุด
หนา ..................ของ.............หนา

ผนวก.............................(แผนการเล้ียงด)ู ประกอบคําส่ังยุทธการที่...........ร.........................
อางถงึ :
๑. เวลาและตาํ บลจา ยเสบียง

ก) ตจ.สป.๑ สว นหนาของกองพลตัง้ ในพนื้ ที่ขบวนสมั ภาระของกรม
ข) เวลาการแจกจา ยเสบยี งของ ตจ.สป.สวนหนา

๑) ร ........................................พัน..............................เวลา ๑๘๐๐
๒) ร ....................................... พัน.............................เวลา ๑๘๑๐
๓) ร ........................................พัน..............................เวลา ๑๘๒๐
๔) หนว ยอื่นๆ เวลา ๑๘๓๐
๒ สถานที่ตัง้ ครัวตั้งในพน้ื ทีข่ บวนสมั ภาระพักของกองพัน ณ บรเิ วณขบวนสัมภาระของกรม
๓ วิธแี จกจา ยและยานพาหนะทใี่ ชสง อาการและนาํ้
ก) การแจกจา ย ณ ทีเ่ ลยี้ งดูของหนว ย
ข) ยานพาหนะทใี่ ชสง อาหารใช รยบ.๒ ๑/๒ ตนั ๖ + ๖
๔ เวลาทย่ี านพาหนะออกจากทตี่ ้งั ครัว
ก) อาหารมอ้ื เยน็ เวลา ๑๖๓๐
ข) อาหารมอ้ื เชา เวลา ๐๖๓๐
ค) อาหารมอื้ กลางวัน เวลา ๑๑๓๐
๕ รายการ สป.ทีต่ องจัดสง ไปพรอ มเสบียง (เวน )
๖ ความตองการผูนําทางและตําบลแยกขบวน (เวน )
๗ ยานพาหนะทตี่ อ งปลอ ยการควบคุมและกลบั มาขนึ้ การควบคุม
ก) เวลาปลอยการควบคุมต้ังแตเ วลาทร่ี ถครัวถึงทเี่ ล้ียงดูของหนว ย
ข) เวลากลบั มาขนึ้ การควบคุมหลงั จากทหารรบั ประทานอาหารเสร็จ
๘ ใหจดั จนท. คมุ กนั ประจาํ รถสง อาหาร คันละ ๒ คน


๒๙๒

แนวทางการทาํ แผนการเลย้ี งดูของกองพัน
(ประเภทเอกสาร)
ชดุ ท่ี ....................ของ...........ชดุ
หนา..................... ของ...........ชุด

ผนวก.................(แผนการเลยี้ งดู) ประกอบคาํ สัง่ ยุทธการที่.......................ร.............พัน............
อางถงึ :

๑ เวลาและตําบลจา ยเสบียง
ก) ตจ.สป.๑ ของกองพนั ตง้ั บรเิ วณ ทก.รอย สสช.
ข) เวลาการแจกจา ยเสบยี งจาก ตจ.สป.๑ ของกองพัน
๑) รอย. อวบ.ที่ ๑ เวลา ๑๘๓๕
๒) รอย อวบ.ที่ ๒ เวลา ๑๘๔๐
๓) รอย อวบ.ที่ ๓ เวลา ๑๘๔๕
๔) หนวยอ่นื ๆ เวลา ๑๘๕๐

๑ สถานทีต่ ง้ั ครวั ในบรเิ วณขบวนสัมภาระพักของกองพนั
๓ การแจกจายและยานพาหนะท่ใี ชสงอาหารและน้าํ

ค) การแจกจา ย ณ ทีเ่ ลี้ยงดขู องกองรอ ย
ง) ยานพาหนะทใี่ ช รยบ.๒ ๑/๒ ตนั ๖ + ๖
๔ เวลาทยี่ านพาหนะออกจากที่ตงั้ ครวั
ก) มอ้ื เยน็ เวลา ๑๖๓๐
ข) มือ้ เชา เวลา ๐๖๓๐
ค) ม้ือกลางวัน เวลา ๑๑๓๐
๕ รายการ สป.ท่ีตองจัดสงไปพรอ มกับเสบยี ง (เวน )
๖ ความตองการผนู ําทางและตาํ บลแยกขบวน (เวน )
๗ ยานพาหนะทต่ี อ งปลอ ยการควบคุมและกลบั มาขน้ึ การควบคมุ
ก) เวลาปลอ ยการควบคมุ เมอื่ รถครวั ถงึ ท่ีเลีย้ งดูของหนว ย
ข) เวลากลบั มาข้นึ การควบคมุ เม่อื ทหารรบั ประทานอาหารเสร็จ
๘ จัด จนท.คุม กันประจาํ รถสงอาหาร คนั ละ ๒ คน

(ประเภทเอกสาร)


๒๙๓

แนวทางการทาํ แผนการเลีย้ งดูกองรอ ย
(ประเภทเอกสาร)
ชุดท่ี ...............ของ.............ชดุ
หนา ................ของ...........หนา

ผนวก..............(แผนการเลย้ี งดู) ประกอบคาํ สั่งยทุ ธการที่...............ร.........พัน........รอ ย.....
อางถึง :
๑ แบบเสบียงท่ีจะใช : เสบยี งประเภท ก ตามรอบเสบียง
๒ พ้ืนท่ีเล้ยี งดูของกองรอ ย : บรเิ วณ ทก.รอย
๓ พาหนะ ผูนําทางและพวกลําเลียง (เวน)
๔ การปลอยการควบคมุ และกลับไปข้นึ การควบคุม

ก) เวลาปลอ ยการควบคมุ เม่อื รถครวั ถงึ ทเ่ี ลีย้ งดขู องหนวย
ข) เวลากลบั ไปขึ้นการควบคุมเมื่อทหารรับประทานอาหารเสร็จ
๕ การกํากับการดแู ลภายใตการควบคมุ ของหนว ย : ใหรอง ผบ.รอย ควบคุมกาํ กับดแู ล
๖ การเลี้ยงดกู ําลงั พล ของหนว ยสมทบ : เชน เดยี วกบั หนวยในอตั รา

(ประเภทเอกสาร)


Click to View FlipBook Version