The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paretom21, 2021-04-23 00:05:13

พระราชบัญญัติ15.5x23

พระราชกฤษฎีกา
ก าหนดประเภทธุรกรรมในทางแพ่งและพาณิชย์ที่ยกเว้นมิให้น า
กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้บังคับ
พ.ศ. ๒๕๔๙


ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
เป็นปีที่ ๖๑ ในรัชกาลปัจจุบัน



พระบาทสมเดจพระปรมินทรมหาภมิพลอดลยเดช มีพระบรมราชโองการ


โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรก าหนดประเภทธุรกรรมในทางแพ่งและพาณิชยที่ยกเวนมิให้


น ากฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้บังคับ
อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๒๒๑ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และ
มาตรา ๓ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ อันเป็นกฎหมาย
ที่มีบทบัญญัตบางประการเกี่ยวกับการจ ากัดสิทธิและเสรภาพของบุคคลซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับ






มาตรา ๕๐ ของรฐธรรมนญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัตให้กระท าไดโดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัต ิ

แห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปน ี้


มาตรา ๑ พระราชกฤษฎกานี้เรยกว่า “พระราชกฤษฎกาก าหนดประเภทธุรกรรม





ในทางแพ่งและพาณิชยที่ยกเว้นมิให้นากฎหมายว่าดวยธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์มาใช้บังคับ

พ.ศ. ๒๕๔๙”
ี้
ั้

มาตรา ๒ พระราชกฤษฎกานให้ใช้บังคับตงแตวันถัดจากวันประกาศใน

ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป




มาตรา ๓ มิให้นาบทบัญญัตตามกฎหมายว่าดวยธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์มาใช้

บังคับแก่ธุรกรรมดังต่อไปน ี้
(๑) ธุรกรรมเกี่ยวกับครอบครัว
(๒) ธุรกรรมเกี่ยวกับมรดก
มาตรา ๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฎีกาน ี้
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พันต ารวจโท ทักษิณ ชินวัตร
นายกรัฐมนตร ี




หน้า | 35


ี้



หมายเหต :- เหตผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎกาฉบับน คือ ปัจจุบัน แม้ว่าพระราชบัญญตว่าด้วย





ธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ ไดบัญญัตรบรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์



และลายมือชื่ออเล็กทรอนกส์ให้เท่าเทียมกับธุรกรรมที่ท าบนกระดาษและการลงลายมือชื่อไว้แล้วก็ตาม





ื่

แตเนองจากการท าธุรกรรมบางประเภทยงไม่เหมาะสมที่จะให้กระท าไดดวยวิธีการทางอเล็กทรอนกส์
สมควรตราพระราชกฤษฎกาก าหนดประเภทธุรกรรมในทางแพ่งและพาณิชยที่ยกเว้นมิให้น ากฎหมายว่า


ด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้บังคับ จึงจ าเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกาน ี้


































หน้า | 36

ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ
ของหน่วยงานของรัฐ
พ.ศ. ๒๕๕๓



ดวยปัญหาดานการรกษาความมั่นคงปลอดภยให้กับสารสนเทศมีความรนแรง








เพิ่มขึ้นทั้งในประเทศและตางประเทศ อกทั้งยงมีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบตอภาครฐและภาคธุรกิจมาก

ขึ้น ท าให้ผู้ประกอบการ ตลอดจนองค์กร ภาครัฐ และภาคเอกชนที่มีการด าเนนงานใด ๆ ในรูปของข้อมูล

อิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบสารสนเทศขององค์กร ขาดความเชื่อมั่นต่อการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกส์ใน

ทุกรูปแบบ ประกอบกับคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ตระหนักถึงความจ าเป็นที่จะส่งเสรมและ


ื่


ผลักดนให้ประเทศสามารถยกระดบการแข่งขันกับประเทศอน ๆ โดยการนาระบบสารสนเทศและการ
สื่อสารมาประยุกต์ใช้ประกอบการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างแพร่หลาย จึงเห็นความส าคัญที่จะน า

กฎหมาย ข้อบังคับต่าง ๆ มาบังคับใช้กับการท าธุรกรรมทางอเล็กทรอนิกส์ทั้งในส่วนที่ตองกระท าและใน



ส่วนที่ตองงดเว้นการกระท า เพื่อช่วยให้การท าธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ของหนวยงานของรฐมีความ



มั่นคงปลอดภัยและมีความน่าเชื่อถือ

เพื่อให้การด าเนินการใด ๆ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนกส์กับหนวยงานของรัฐ หรือ

โดยหน่วยงานของรัฐมีความมั่นคงปลอดภัยและเชื่อถือได้ ตลอดจนมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล





คณะกรรมการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ จึงเห็นควรก าหนดแนวนโยบายและแนวปฏบัตในการรกษา
ความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศของหน่วยงานของรัฐ
อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๗ และมาตรา ๘ แห่งพระราชกฤษฎีกา


ก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการท าธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ภาครฐ พ.ศ. ๒๕๔๙ คณะกรรมการ


ธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์จึงไดจัดท าประกาศฉบับนี้ เพื่อเป็นแนวทางเบื้องตนให้หนวยงานของรัฐใช้ใน









การก าหนดนโยบาย และข้อปฏบัตในการรกษาความมั่นคงปลอดภยดานสารสนเทศ ซึ่งอยางนอยตอง



ประกอบด้วยสาระส าคัญ ดังต่อไปน ี้
ข้อ ๑ ในประกาศน ี้


(๑) ผู้ใช้งาน หมายความว่า ข้าราชการ เจ้าหนาที่ พนกงานของรฐ ลูกจ้าง ผู้ดแล


ระบบ ผู้บริหารขององค์กร ผู้รับบริการ ผู้ใช้งานทั่วไป
(๒) สิทธิของผู้ใช้งาน หมายความว่า สิทธิทั่วไป สิทธิจ าเพาะ สิทธิพิเศษ และสิทธิ
อื่นใดที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศของหน่วยงาน
(๓) สินทรัพย์ (asset) หมายความว่า สิ่งใดก็ตามที่มีคุณค่าส าหรับองค์กร
(๔) การเข้าถึงหรอควบคุมการใช้งานสารสนเทศ หมายความว่า การอนญาต


การก าหนดสิทธิ หรือการมอบอานาจให้ผู้ใช้งาน เข้าถึงหรือใช้งานเครอข่ายหรือระบบสารสนเทศ ทั้งทาง


อิเล็กทรอนิกส์และทางกายภาพ รวมทั้งการอนุญาตเช่นว่านั้นส าหรับบุคคลภายนอก ตลอดจนอาจก าหนด
ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าถึงโดยมิชอบเอาไว้ด้วยก็ได ้



หน้า | 37


(๕) ความมั่นคงปลอดภยดานสารสนเทศ (information security) หมายความว่า


การธ ารงไว้ซึ่งความลับ (confidentiality) ความถูกตองครบถ้วน (integrity) และสภาพพรอมใช้งาน

(availability) ของสารสนเทศ รวมทั้งคุณสมบัติอื่น ได้แก่ความถูกต้องแท้จริง (authenticity) ความรับผิด
(accountability) การห้ามปฏิเสธความรับผิด (non-repudiation) และความน่าเชื่อถือ (reliability)
(๖) เหตุการณ์ด้านความมั่นคงปลอดภัย(information security event)

หมายความว่า กรณีที่ระบุการเกิดเหตุการณ์ สภาพของบริการหรือเครือข่ายที่แสดงให้เห็นความเป็นไปไดที่





จะเกิดการฝ่าฝืนนโยบายดานความมั่นคงปลอดภยหรอมาตรการป้องกันที่ล้มเหลว หรอเหตการณ์อนไม่

อาจรู้ได้ว่าอาจเกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัย
(๗) สถานการณ์ดานความมั่นคงปลอดภยที่ไม่พึงประสงค์หรอไม่อาจคาดคิด





(information security incident) หมายความว่า สถานการณ์ดานความมั่นคงปลอดภยที่ไม่พึงประสงค์
หรือไม่อาจคาดคิด (unwanted or unexpected) ซึ่งอาจท าให้ระบบขององค์กรถูกบุกรุกหรือโจมตี และ
ความมั่นคงปลอดภัยถูกคุกคาม

ข้อ ๒ หนวยงานของรฐตองจัดให้มีนโยบายในการรกษาความมั่นคงปลอดภย




ด้านสารสนเทศของหน่วยงานเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยเนื้อหา ดังต่อไปน ี้
(๑) การเข้าถึงหรือควบคุมการใช้งานสารสนเทศ
(๒) จัดให้มีระบบสารสนเทศและระบบส ารองของสารสนเทศซึ่งอยู่ในสภาพพรอม


ใช้งานและจัดท าแผนเตรยมความพรอมกรณีฉุกเฉินในกรณีที่ไม่สามารถดาเนนการดวยวิธีการทาง




อิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้สามารถใช้งานสารสนเทศได้ตามปกติอย่างต่อเนื่อง
(๓) การตรวจสอบและประเมินความเสี่ยงด้านสารสนเทศอย่างสม่ าเสมอ


ข้อ ๓ หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อปฏิบัติในการรกษาความมั่นคงปลอดภยดาน

สารสนเทศของหน่วยงาน ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยกระบวนการ ดังต่อไปน ี้






(๑) หนวยงานของรฐตองจัดท าข้อปฏบัตที่สอดคล้องกับนโยบายการรกษาความ
มั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศของหน่วยงาน


(๒) หนวยงานของรฐตองประกาศนโยบายและข้อปฏบัตดงกล่าว ให้ผู้เกี่ยวข้อง




ทั้งหมดทราบเพื่อให้สามารถเข้าถึง เข้าใจ และปฏิบัติตามนโยบายและข้อปฏิบัติได ้
(๓) หน่วยงานของรัฐต้องก าหนดผู้รับผิดชอบตามนโยบายและข้อปฏิบัติดังกล่าวให้
ชัดเจน
(๔) หน่วยงานของรัฐต้องทบทวนปรับปรุงนโยบายและข้อปฏิบัติให้เป็นปัจจุบันอย ู่
เสมอ
ข้อ ๔ ข้อปฏบัตในดานการรกษาความมั่นคงปลอดภย ตองมีเนอหาอยางนอย
ื้








ครอบคลุมตามข้อ ๕ - ๑๕
ข้อ ๕ ให้มีข้อก าหนดการเข้าถึงและควบคุมการใช้งานสารสนเทศ
(access control) ซึ่งต้องมีเนื้อหาอย่างน้อย ดังน ี้



(๑) หนวยงานของรฐตองมีการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลและอปกรณ์ในการ

ประมวลผลข้อมูลโดยค านึงถึงการใช้งานและความมั่นคงปลอดภัย

(๒) ในการก าหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการอนญาตให้เข้าถึง ต้องก าหนดตามนโยบาย
ที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาต การก าหนดสิทธิ หรือการมอบอ านาจของหน่วยงานของรัฐนั้น ๆ
หน้า | 38


(๓) หนวยงานของรฐตองก าหนดเกี่ยวกับประเภทของข้อมูล ล าดบความส าคัญ



หรือล าดับชั้นความลับของข้อมูล รวมทั้งระดับชั้นการเข้าถึง เวลาที่ได้เข้าถึง และช่องทางการเข้าถึง
ข้อ ๖ ให้มีข้อก าหนดการใช้งานตามภารกิจเพื่อควบคุมการเข้าถึงสารสนเทศ
(business requirements for access control) โดยแบ่งการจัดท าข้อปฏิบัติเป็น ๒ ส่วนคือ การควบคุม


การเข้าถึงสารสนเทศ และการปรบปรงให้สอดคล้องกับข้อก าหนดการใช้งานตามภารกิจและข้อก าหนด
ด้านความมั่นคงปลอดภัย

ข้ อ ๗ ใ ห้ มี ก า ร บ ร ห า ร จั ด ก า ร ก า ร เ ข้ า ถึ ง ข อ ง ผู้ ใ ช้ ง า น
(user access management) เพื่อควบคุมการเข้าถึงระบบสารสนเทศเฉพาะผู้ที่ไดรบอนญาตแล้ว



ื่

และผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการสรางความตระหนกเรองความมั่นคงปลอดภยสารสนเทศ





(information security awareness training) เพื่อป้องกันการเข้าถึงจากผู้ซึ่งไม่ไดรบอนญาต โดยตองมี

เนื้อหาอย่างน้อย ดังน ี้
(๑) สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ใช้งาน เพื่อให้เกิดความตระหนัก ความเข้าใจถึง


ู้
ภยและผลกระทบที่เกิดจากการใช้งานระบบสารสนเทศโดยไม่ระมัดระวังหรอรเท่าไม่ถึงการณ์ รวมถึง
ก าหนดให้มีมาตรการเชิงป้องกันตามความเหมาะสม
(๒) การลงทะเบียนผู้ใช้งาน (user registration) ตองก าหนดให้มีขั้นตอนทาง






ปฏบัตส าหรบการลงทะเบียนผู้ใช้งานเมื่อมีการอนญาตให้เข้าถึงระบบสารสนเทศ และการตดออกจาก
ทะเบียนของผู้ใช้งานเมื่อมีการยกเลิกเพิกถอนการอนุญาตดังกล่าว

(๓) การบรหารจัดการสิทธิของผู้ใช้งาน (user management) ตองจัดให้มีการ


ควบคุมและจ ากัดสิทธิเพื่อเข้าถึงและใช้งานระบบสารสนเทศแต่ละชนดตามความเหมาะสม ทั้งนี้ รวมถึง
สิทธิจ าเพาะ สิทธิพิเศษ และสิทธิอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึง
(๔) การบริหารจัดการรหัสผ่านส าหรับผู้ใช้งาน (user password management)
ต้องจัดให้มีกระบวนการบริหารจัดการรหัสผ่านส าหรับผู้ใช้งานอย่างรัดกุม
(๕) การทบทวนสิทธิการเข้าถึงของผู้ใช้งาน (review of user access rights) ต้อง
จัดให้มีกระบวนการทบทวนสิทธิการเข้าถึงของผู้ใช้งานระบบสารสนเทศตามระยะเวลาที่ก าหนดไว้
ข้อ ๘ ให้มีการก าหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ใช้งาน (user responsibilities)
ู้

เพื่อป้องกันการเข้าถึงโดยไม่ไดรบอนญาต การเปิดเผย การล่วงร หรอการลักลอบท าส าเนาข้อมูล



สารสนเทศและการลักขโมยอุปกรณ์ประมวลผลสารสนเทศ โดยต้องมีเนื้อหาอย่างน้อย ดังน ี้



(๑) การใช้งานรหัสผ่าน (password use) ตองก าหนดแนวปฏบัตที่ดส าหรบ


ผู้ใช้งานในการก าหนดรหัสผ่าน การใช้งานรหัสผ่าน และการเปลี่ยนรหัสผ่านที่มีคุณภาพ


(๒) การป้องกันอปกรณ์ในขณะที่ไม่มีผู้ใช้งานที่อปกรณ์ ตองก าหนดข้อปฏบัตที่



เหมาะสมเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ไม่มีสิทธิสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ของหน่วยงานในขณะที่ไม่มีผู้ดูแล


(๓) การควบคุมสินทรพยสารสนเทศและการใช้งานระบบคอมพิวเตอร ์

(clear desk and clear screen policy) ตองควบคุมไม่ให้สินทรพยสารสนเทศ เช่น เอกสาร สื่อบันทึก


ข้อมูล คอมพิวเตอร์ หรือสารสนเทศ อยู่ในภาวะซึ่งเสี่ยงตอการเข้าถึงโดยผู้ซึ่งไม่มีสิทธิ และต้องก าหนดให้

ผู้ใช้งานออกจากระบบสารสนเทศเมื่อว่างเว้นจากการใช้งาน



(๔) ผู้ใช้งานอาจนาการเข้ารหัส มาใช้กับข้อมูลที่เป็นความลับ โดยให้ปฏบัตตาม
ระเบียบการรักษาความลับทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
หน้า | 39


ข้อ ๙ ให้มีการควบคุมการเข้าถึงเครอข่าย (network access control) เพื่อ
ป้องกันการเข้าถึงบริการทางเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต โดยต้องมีเนื้อหาอย่างน้อย ดังน ี้

(๑) การใช้งานบรการเครอข่าย ตองก าหนดให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงระบบ


สารสนเทศได้แต่เพียงบริการที่ได้รับอนุญาตให้เข้าถึงเท่านั้น
( ๒ ) ก า ร ย น ย น ต ว บุ ค ค ล ส า ห ร บ ผู้ ใ ช้ ที่ อ ย ภ า ย น อ ก อ ง ค์ ก ร
ู่








(user authentication for external connections) ตองก าหนดให้มีการยนยนตวบุคคลก่อนที่จะ
อนุญาตให้ผู้ใช้ที่อยู่ภายนอกองค์กรสามารถเข้าใช้งานเครือข่ายและระบบสารสนเทศขององค์กรได ้
(๓) การระบุอุปกรณ์บนเครือข่าย (equipment identification in networks) ต้อง
มีวิธีการที่สามารถระบุอุปกรณ์บนเครือข่ายได้ และควรใช้การระบุอุปกรณ์บนเครือข่ายเป็นการยืนยัน
(๔) การป้องกันพอรตที่ใช้ส าหรบตรวจสอบและปรบแตง ระบบ






(remote diagnostic and configuration port protection) ตองควบคุมการเข้าถึงพอรตที่ใช้ส าหรบ

ตรวจสอบและปรับแต่งระบบทั้งการเข้าถึงทางกายภาพและทางเครือข่าย

(๕) การแบ่งแยกเครอข่าย (segregation in networks) ตองท าการแบ่งแยก

เครือข่ายตามกลุ่มของบริการสารสนเทศ กลุ่มผู้ใช้งาน และกลุ่มของระบบสารสนเทศ

(๖) การควบคุมการเชื่อมต่อทางเครอข่าย (network connection control) ต้อง
ควบคุมการเข้าถึงหรือใช้งานเครือข่ายที่มีการใช้ร่วมกันหรอเชื่อมต่อระหว่างหนวยงานให้สอดคล้องกับข้อ


ปฏิบัติการควบคุมการเข้าถึง
(๗) การควบคุมการจัดเส้นทางบนเครอข่าย (network routing control) ตอง






ควบคุมการจัดเส้นทางบนเครอข่ายเพื่อให้การเชื่อมตอของคอมพิวเตอร์และการส่งผ่านหรอไหลเวยนของ
ข้อมูลหรือสารสนเทศสอดคล้องกับข้อปฏิบัติการควบคุมการเข้าถึงหรือการประยุกต์ใช้งานตามภารกิจ
ข้อ ๑๐ ให้มีการควบคุมการเข้าถึงระบบปฏิบัติการ (operating system access
control) เพื่อป้องกันการเข้าถึงระบบปฏิบัติการโดยไม่ได้รับอนุญาต โดยต้องมีเนื้อหาอย่างน้อย ดังน ี้

(๑) การก าหนดขั้นตอนปฏบัตเพื่อการเข้าใช้งานที่มั่นคงปลอดภย การเข้าถึง


ระบบปฏิบัติการจะต้องควบคุมโดยวิธีการยืนยันตัวตนที่มั่นคงปลอดภัย
(๒) การระบุและยืนยันตัวตนของผู้ใช้งาน (user identification and


authentication) ตองก าหนดให้ผู้ใช้งานมีข้อมูลเฉพาะเจาะจงซึ่งสามารถระบุตวตนของผู้ใช้งาน และ
เลือกใช้ขั้นตอนทางเทคนิคในการยืนยันตัวตนที่เหมาะสมเพื่อรองรับการกล่าวอ้างว่าเป็นผู้ใช้งานที่ระบุถึง


(๓) การบรหารจัดการรหัสผ่าน (password management system) ตองจัดท า
หรอจัดให้มีระบบบรหารจัดการรหัสผ่านที่สามารถท างานเชิงโตตอบ (interactive) หรอมีการท างานใน




ลักษณะอัตโนมัติ ซึ่งเอื้อต่อการก าหนดรหัสผ่านที่มีคุณภาพ
(๔) การใช้งานโปรแกรมอรรถประโยชน์ (use of system utilities) ควรจ ากัดและ
ควบคุมการใช้งานโปรแกรมประเภทอรรถประโยชน์ เพื่อป้องกันการละเมิดหรือหลีกเลี่ยงมาตรการความ
มั่นคงปลอดภัยที่ได้ก าหนดไว้หรือที่มีอยู่แล้ว

ึ่
(๕) เมื่อมีการว่างเว้นจากการใช้งานในระยะเวลาหนงให้ยตการใช้งานระบบ

สารสนเทศนั้น (session time-out)

( ๖ ) ก า ร จ า กั ด ร ะ ย ะ เ ว ล า ก า ร เ ชื่ อ ม ต อ ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ
(limitation of connection time) ต้องจ ากัดระยะเวลาในการเชื่อมต่อเพื่อให้มีความมั่นคงปลอดภยมาก

ยิ่งขึ้นส าหรับระบบสารสนเทศหรือแอพพลิเคชั่นที่มีความเสี่ยงหรือมีความส าคัญสูง
หน้า | 40


ข้อ ๑๑ ให้มีการควบคุมการเข้าถึงโปรแกรมประยกตหรอแอพพลิเคชั่นและ


สารสนเทศ (application and information access control) โดยต้องมีการควบคุม ดังน ี้
(๑) การจ ากัดการเข้าถึงสารสนเทศ (information access restriction) ต้องจ ากัด



หรอควบคุมการเข้าถึงหรอเข้าใช้งานของผู้ใช้งานและบุคลากรฝ่ายสนบสนนการเข้าใช้งานในการเข้าถึง



ี้

สารสนเทศและฟังก์ชัน (functions) ตาง ๆ ของโปรแกรมประยกตหรอแอพพลิเคชั่น ทั้งน โดยให้

สอดคล้องตามนโยบายควบคุมการเข้าถึงสารสนเทศที่ได้ก าหนดไว้

(๒) ระบบซึ่งไวตอการรบกวน มีผลกระทบและมีความส าคัญสูงตอองค์กร


ตองไดรบการแยกออกจากระบบอน ๆ และมีการควบคุมสภาพแวดล้อมของตนเองโดยเฉพาะ

ื่



ให้มีการควบคุมอปกรณ์คอมพิวเตอรและสื่อสารเคลื่อนที่และการปฏบัตงานจากภายนอกองค์กร


(mobile computing and teleworking)



(๓) การควบคุมอปกรณ์คอมพิวเตอรและสื่อสารเคลื่อนที่ ตองก าหนดข้อปฏบัต ิ

และมาตรการที่เหมาะสมเพื่อปกป้องสารสนเทศจากความเสี่ยงของการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และสื่อสาร
เคลื่อนที่




(๔) การปฏบัตงานจากภายนอกส านกงาน (teleworking) ตองก าหนดข้อปฏบัต ิ

แผนงานและขั้นตอนปฏิบัติเพื่อปรับใช้ส าหรับการปฏิบัติงานขององค์กรจากภายนอกส านักงาน
ข้อ ๑๒ หน่วยงานของรัฐที่มีระบบสารสนเทศต้องจัดท าระบบส ารอง ตามแนวทาง
ต่อไปน ี้
(๑) ตองพิจารณาคัดเลือกและจัดท าระบบส ารองที่เหมาะสมให้อยในสภาพพร้อม

ู่
ใช้งานที่เหมาะสม





(๒) ตองจัดท าแผนเตรยมความพรอมกรณีฉุกเฉินในกรณีที่ไม่สามารถดาเนนการ
ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้สามารถใช้งานสารสนเทศได้ตามปกติอย่างต่อเนอง โดยตองปรับปรง ุ
ื่






แผนเตรยมความพรอมกรณีฉุกเฉินดงกล่าวให้สามารถปรบใช้ไดอยางเหมาะสมและสอดคล้องกับการใช้

งานตามภารกิจ




(๓) ตองมีการก าหนดหนาที่และความรบผิดชอบของบุคลากรซึ่งดแลรบผิดชอบ


ระบบสารสนเทศ ระบบส ารอง และการจัดท าแผนเตรียมพร้อมกรณีฉุกเฉินในกรณีที่ไม่สามารถด าเนนการ
ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

(๔) ตองมีการทดสอบสภาพพรอมใช้งานของระบบสารสนเทศ ระบบส ารองและ

ระบบแผนเตรียมพร้อมกรณีฉุกเฉินอย่างสม่ าเสมอ

(๕) ส าหรับความถี่ของการปฏิบัติในแต่ละข้อ ควรมีการปฏบัตที่เพียงพอต่อสภาพ

ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ของแต่ละหน่วยงาน




ข้อ ๑๓ หนวยงานของรฐตองจัดให้มีการตรวจสอบและประเมินความเสี่ยงดาน
สารสนเทศโดยต้องมีเนื้อหาอย่างน้อย ดังน ี้



(๑) หนวยงานของรฐตองจัดให้มีการตรวจสอบและประเมินความเสี่ยงดาน

สารสนเทศที่อาจเกิดขึ้นกับระบบสารสนเทศ (information security audit and assessment) อยาง

น้อยปีละ ๑ ครั้ง

หน้า | 41



(๒) ในการตรวจสอบและประเมินความเสี่ยงจะตองดาเนนการ โดยผู้ตรวจสอบ





ภายในหนวยงานของรฐ (internal auditor) หรอโดยผู้ตรวจสอบอสระดานความมั่นคงปลอดภยจาก






ภายนอก (external auditor) เพื่อให้หนวยงานของรฐไดทราบถึงระดบความเสี่ยงและระดบความมั่นคง

ปลอดภัยสารสนเทศของหน่วยงาน


ข้อ ๑๔ หนวยงานของรฐตองก าหนดความรบผิดชอบที่ชัดเจน กรณีระบบ



คอมพิวเตอรหรอข้อมูลสารสนเทศเกิดความเสียหาย หรออนตรายใด ๆ แก่องค์กรหรอผู้หนงผู้ใด

ึ่










ื่
อนเนองมาจากความบกพรอง ละเลย หรอฝ่าฝืนการปฏบัตตามแนวนโยบายและแนวปฏบัต


ี้

ในการรกษาความมั่นคงปลอดภยดานสารสนเทศ ทั้งน ให้ผู้บรหารระดบสูงสุดของหนวยงาน



(Chief Executive Officer : CEO) เป็นผู้รับผิดชอบต่อความเสี่ยง ความเสียหาย หรืออันตรายที่เกิดขึ้น
ข้อ ๑๕ หนวยงานของรฐสามารถเลือกใช้ข้อปฏบัตในการรกษาความมั่นคง









ี้


ปลอดภยดานสารสนเทศ ที่ตางไปจากประกาศฉบับนได หากแสดงให้เห็นว่า ข้อปฏบัตที่เลือกใช้มีความ
เหมาะสมกว่าหรือเทียบเท่า
ข้อ ๑๖ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็น
ต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

ร้อยตรีหญิง ระนองรักษ สุวรรณฉวี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประธานกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกส์




















หน้า | 42

ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๕๙


เพื่อรักษาความมั่นคงทางการเงินและการพาณิชย์ ประโยชน์ในการเสริมสร้างความ
น่าเชื่อถือและยอมรับในระบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และเพื่อป้องกันความเสียหายต่อสาธารณชน ตลอดจน
เพื่อเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ให้เหมาะสมกับการแข่งขัน
ในปัจจุบัน ส่งเสริมให้ผู้ให้บริการมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๗ มาตรา ๙ มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ และมาตรา
๑๖ แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๑
คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกส์จึงก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจ

บริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้ให้บริการถือปฏิบัติดังน ี้

ข้อ ๑ ให้ยกเลิก
(๑) ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ เรอง หลักเกณฑ์ วิธีการ
ื่


และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๒

ื่
(๒) ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ เรอง หลักเกณฑ์ วิธีการ

และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕
(๓) ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ เรอง หลักเกณฑ์ วิธีการ
ื่


และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘
ื่
(๔) ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ เรอง หลักเกณฑ์ วิธีการ


และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ ๒ ในประกาศฉบับนี้ เว้นแต่จะก าหนดไว้เป็นอย่างอื่น


“ผู้ให้บรการ” หมายความว่า ผู้ประกอบธุรกิจให้บรการการช าระเงินทาง
อิเล็กทรอนิกส์ตามที่ก าหนดไว้ในบัญชีท้ายพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการช าระ
เงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบด้วยธุรกิจบรการที่ตองแจ้งให้ทราบก่อนให้บรการ (บัญชี ก)









ธุรกิจบรการที่ตองขอขึ้นทะเบียนก่อนให้บรการ (บัญชี ข) และธุรกิจบรการที่ตองไดรบอนญาตก่อน


ให้บริการ (บัญชี ค)
“ธุรกิจบริการที่ต้องแจ้งให้ทราบก่อนให้บริการ” (บัญชี ก) ได้แก่ การให้บริการเงิน
อเล็กทรอนกส์ที่ใช้ซื้อสินค้าหรอรบบรการเฉพาะอยางตามรายการที่ก าหนดไว้ล่วงหนาจากผู้ขายสินค้า









หรอให้บรการเพียงรายเดยว ทั้งน เว้นแตการให้บรการเงินอเล็กทรอนกส์ที่ใช้จ ากัดเพื่ออานวย






ี้


ความสะดวกแก่ผู้บรโภคโดยมิไดแสวงหาก าไรจากการออกบัตร ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศ
ก าหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ (e-Money บัญชี ก)





หน้า | 43

“ธุรกิจบริการที่ต้องขอขึ้นทะเบียนก่อนให้บริการ” (บัญชี ข) ได้แก่
(๑) การให้บริการเครือข่ายบัตรเครดิต (Credit Card Network)
(๒) การให้บริการเครือข่ายอีดีซี (EDC Network)
(๓) การให้บริการสวิตช์ชิ่งในการช าระเงินระบบหนึ่งระบบใด
(Transaction Switching บัญชี ข)
(๔) การให้บรการเงินอเล็กทรอนกส์ที่ใช้ซื้อสินค้า และหรอรบบรการเฉพาะอย่าง






ตามรายการที่ก าหนดไว้ล่วงหน้าจากผู้ขายสินค้าหรือให้บริการหลายราย ณ สถานที่ที่อยู่ภายใต้ระบบการ
จัดจ าหน่ายและการให้บริการเดียวกัน (e-Money บัญชี ข)
“ธุรกิจบริการที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนให้บริการ” (บัญชี ค) ได้แก่
(๑) การให้บริการหักบัญชี (Clearing)
(๒) การให้บริการช าระดุล (Settlement)
(๓) การให้บรการช าระเงินทางอเล็กทรอนกส์ผ่านอปกรณ์อยางหนงอยางใดหรือ
ึ่






ผ่านทางเครือข่าย

( ๔ ) ก า ร ใ ห้ บ ร ก า ร ส วิ ต ช์ ชิ่ ง ใ น ก า ร ช า ร ะ เ งิ น ห ล า ย ร ะ บ บ
(Transaction Switching บัญชี ค)
(๕) การให้บริการรับช าระเงินแทน



(๖) การให้บรการเงินอเล็กทรอนกส์ที่ใช้ซื้อสินค้า และหรอรบบรการเฉพาะอย่าง





ตามรายการที่ก าหนดไว้ล่วงหนาจากผู้ขายสินค้าหรอให้บรการหลายราย โดยไม่จ ากัดสถานที่และไม่อย ู่

ภายใต้ระบบการจัดจ าหน่ายและการให้บริการเดียวกัน (e-Money บัญชี ค)
“ธปท.” หมายความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารแห่ง
ประเทศไทย
“ผู้ว่าการ” หมายความว่า ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
“พนกงานเจ้าหนาที่” หมายความว่า ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย หรอผู้ซึ่ง



ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยแต่งตั้งให้ปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการ
การช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๑
หมวด ๑
คุณสมบัติของผู้ให้บริการ การแจ้งให้ทราบ การขอขึ้นทะเบียน และการขอรับใบอนุญาต


ข้อ ๓ ผู้ประสงค์จะเป็นผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข หรอบัญชี ค ตองมี





คุณสมบัตและไม่มีลักษณะตองห้ามตามที่ก าหนดไว้ในมาตรา ๘ และมาตรา ๙ แห่งพระราชกฤษฎกาว่า
ด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๑





ในกรณีผู้ประสงค์จะเป็นผู้ให้บรการเป็นนตบุคคล ให้กรรมการหรอผู้ซึ่งมีอานาจ
จัดการของนิติบุคคลต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามวรรคหนึ่งด้วย
ทั้งนี้ บุคคลตามวรรคหนึ่งและวรรคสองจะต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ด้วย
(๑) เคยต้องค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน หรือเคย
ต้องค าพิพากษาถึงที่สุดว่ากระท าความผิดฐานฟอกเงินตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน
หน้า | 44


(๒) เคยเป็นบุคคลที่ถูกก าหนดหรอตองค าพิพากษาถึงที่สุดว่ากระท าความผิดฐาน

สนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทาง
การเงินแก่การก่อการร้าย
ข้อ ๔ ผู้ประสงค์จะเป็นผู้ให้บริการตามบัญชี ค ในแต่ละประเภทธุรกิจ ต้องมีทุนจด
ทะเบียนซึ่งช าระแล้วดังน ี้
(๑) การให้บริการหักบัญชี (Clearing) ไม่ต่ ากว่า ๕๐ ล้านบาท
(๒) การให้บริการช าระดุล (Settlement) ไม่ต่ ากว่า ๒๐๐ ล้านบาท
(๓) การให้บริการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์อย่างหนงอย่างใด หรือ
ึ่
ผ่านทางเครือข่ายไม่ต่ ากว่า ๕ ล้านบาท
(๔) การให้บริการสวิตช์ชิ่งในการช าระเงินหลายระบบ (Transaction Switching
บัญชี ค) ไม่ต่ ากว่า ๕๐ ล้านบาท
(๕) การให้บริการรับช าระเงินแทน ไม่ต่ ากว่า ๕ ล้านบาท
(๖) การให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ซื้อสินค้า และหรือรับบริการเฉพาะอย่างตาม


รายการที่ก าหนดไว้ล่วงหนาจากผู้ขายสินค้าหรอให้บรการหลายราย โดยไม่จ ากัดสถานที่และไม่อยภายใต ้
ู่

ระบบการจัดจ าหน่ายและการให้บริการเดียวกัน (e-Money บัญชี ค) ไม่ต่ ากว่า ๒๐๐ ล้านบาท


ึ่
ผู้ประสงค์จะเป็นผู้ให้บรการมากกว่าหนงประเภทธุรกิจ ตองมีทุนจดทะเบียนซึ่ง
ช าระแล้วไม่ต่ ากว่าจ านวนทุนจดทะเบียนซึ่งช าระแล้วของประเภทธุรกิจที่ก าหนดไว้สูงสุด

ึ่
นอกจากตองมีคุณสมบัตตามวรรคหนงและวรรคสองแล้ว ผู้ประสงค์จะเป็นผู้

ให้บริการจะต้องมีคุณสมบัติโดยมีสถานภาพทางการเงินที่มั่นคง ที่แสดงให้เห็นว่าสามารถด าเนินธุรกิจและ

ให้บริการได้อยางตอเนอง และไม่มีความเสี่ยงที่อาจกอให้เกดความเสียหายตอผู้ใช้บรการ เช่น ฐานะและ





ื่
ผลการด าเนินงานที่ผ่านมา แผนการประกอบธุรกิจ โดยรวมถึงประมาณการรายได้ ค่าใช้จ่าย และงบลงทุน
ส าหรับระยะเวลา ๓ ปี

เมื่อไดรบอนญาตให้ประกอบธุรกิจแล้ว ห้ามผู้ให้บรการตามบัญชี ค ลดทุนจด



ทะเบียนซึ่งช าระแล้วก่อนไดรับอนุญาตจาก ธปท. เว้นแต่ผู้ให้บริการที่ไดรับอนญาตตามหลักเกณฑ์ที่ออก



ภายใต้พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๑ หรือประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๕๘ แล้วแต ่
กรณี

ื่

ข้อ ๕ ผู้ประสงค์จะเป็นผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข หรอบัญชี ค ตองยนแบบ



การแจ้งให้ทราบ แบบการขอขึ้นทะเบียน หรอแบบการขอรับใบอนญาต พรอมเอกสารหลักฐาน แล้วแต ่

ี้




กรณี ตามแบบแนบท้ายประกาศฉบับนหรอตามแบบที่คณะกรรมการจะแก้ไขเพิ่มเตมตอผู้ว่าการหรอ
พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ผู้ว่าการมอบหมาย
ึ่
กรณีที่ผู้ประสงค์จะประกอบธุรกิจเป็นผู้ให้บรการมากกว่าหนงประเภทธุรกิจ




สามารถยนแบบการแจ้งให้ทราบ แบบการขอขึ้นทะเบียน หรอแบบการขอรบใบอนญาต พรอมเอกสาร

ื่
หลักฐานตามที่ก าหนดในคราวเดียวกันได ้


ผู้ประสงค์จะเป็นผู้ให้บรการตองตรวจสอบและรบรองว่ามีคุณสมบัตและไม่มี


ลักษณะต้องห้ามตามประกาศฉบับนี้ด้วย

หน้า | 45


ข้อ ๖ ผู้ให้บรการที่ประสงค์จะประกอบธุรกิจตอไปเมื่อใบอนญาตครบก าหนด ให้



ื่





ยนค าขอตออายใบอนญาต พรอมเอกสารหลักฐานตามแบบที่คณะกรรมการก าหนด ตอผู้ว่าการหรอ




พนกงานเจ้าหนาที่ที่ผู้ว่าการมอบหมายภายในระยะเวลา ๙๐ วัน แตไม่นอยกว่า ๖๐ วัน ก่อนวันที่
ใบอนุญาตเดิมสิ้นอาย ุ




ในกรณีที่คณะกรรมการพิจารณาไม่ตอใบอนญาต และสั่งให้ผู้ให้บรการตอง
ปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดไปจนกว่าใบอนุญาตจะสิ้นอายุ พนักงานเจ้าหน้าที่จะแจ้งให้ผู้ให้บริการรายนั้น
ทราบเพื่อถือปฏิบัติต่อไป

ข้อ ๗ ในการพิจารณาออกใบอนญาต ตองด าเนนการใหแล้วเสรจภายใน ๔๕




วันท าการ นับแต่วันที่ได้แบบการขอรับใบอนุญาตและเอกสารถูกต้องครบถ้วน
ข้อ ๘ กรณีที่ใบรับแจ้ง ใบรับขึ้นทะเบียน หรือใบอนุญาต สูญหาย ถูกท าลาย หรือ

ื่


ช ารดเสียหายในสาระส าคัญ ให้ผู้ให้บรการยนค าขอรบใบแทน พรอมเอกสารหลักฐานตามแบบแนบท้าย

ประกาศฉบับนี้หรือตามแบบที่คณะกรรมการจะแก้ไขเพิ่มเติม ต่อผู้ว่าการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ผู้ว่าการ
ู้

ั้


มอบหมายภายในก าหนด ๓๐ วัน นบตงแตวันที่รถึงการสูญหาย การถูกท าลาย หรอการช ารดเสียหาย

แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ไดตรวจสอบความครบถ้วนและถูกต้องของเอกสารหลักฐานแล้ว




ให้พนกงานเจ้าหนาที่ที่ผู้ว่าการมอบหมายออกใบแทนของใบรบแจ้ง ใบรบขึ้นทะเบียนหรอใบอนญาต



แล้วแต่กรณี
หมวด ๒
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทั่วไปในการประกอบธุรกิจบริการการช าระเงิน
ทางอิเล็กทรอนิกส์



ข้อ ๙ ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ตองประกอบธุรกิจโดยปฏิบัต ิ
ื่




ตามแผน นโยบาย มาตรการ และระบบตาง ๆ ตามที่ไดยนแจ้งให้ทราบ ขึ้นทะเบียน หรอไดรบอนญาต


แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๐ กรณีผู้ให้บริการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ได้มีการเปลี่ยนแปลงการ

ื่







ดาเนนงานไปจากเอกสารที่ไดยนประกอบการแจ้งให้ทราบ การขึ้นทะเบียน หรอการไดรบอนญาตหรอ
หยุดให้บรการชั่วคราว ให้ผู้ให้บริการด าเนินการ ดังต่อไปน ี้

(๑) กรณีผู้ให้บริการตามบัญชี ข และบัญชี ค ย้ายส านักงานใหญ่ ให้ยื่นขออนญาต

จาก ธปท. ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน ก่อนเริ่มด าเนินการ
(๒) ผู้ให้บรการตองแจ้ง ธปท. ทราบล่วงหนาไม่นอยกว่า ๑๕ วัน ก่อนเรม




ิ่
ด าเนินการในกรณีดังต่อไปน ี้
(ก) ผู้ให้บริการตามบัญชี ก ย้ายส านักงานใหญ่

(ข) ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค เปลี่ยนแปลงระบบ
สารสนเทศพร้อมทั้งแสดงแผนภาพของระบบสารสนเทศ

(ค) ผู้ให้บรการตามบัญชี ข และบัญชี ค เพิ่ม ยกเลิก หรอเปลี่ยนแปลง




รปแบบของการให้บรการแตกตางจากที่ไดขึ้นทะเบียนหรอไดรบอนญาตไว้ แล้วแตกรณี ให้แจ้ง ธปท.






ทราบพร้อมข้อมูลรายละเอียดของระบบสารสนเทศ (ถ้ามี)
หน้า | 46

(ง) ผู้ให้บริการตามบัญชี ข และบัญชี ค เปลี่ยนแปลงชื่อนิติบุคคล




(จ) ผู้ให้บรการตามบัญชี ข และบัญชี ค หยดให้บรการชั่วคราวอนเกิดจาก
การเตรียมการไว้ล่วงหน้า เช่น การปิดปรับปรุงระบบงาน การปิดปรับปรุงพื้นที่ส านักงาน
(๓) ผู้ให้บริการต้องแจ้ง ธปท. ทราบภายใน ๑๕ วัน นับจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลง
ในกรณีดังต่อไปน ี้
(ก) ผู้ให้บริการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค เปลี่ยนแปลงกรรมการหรอ ื
ผู้ซึ่งมีอ านาจจัดการของนิติบุคคล ทั้งนี้ ผู้ให้บริการจะต้องตรวจสอบและรับรองคุณสมบัติของบุคคลที่เป็น





กรรมการหรอผู้ซึ่งมีอานาจจัดการของนตบุคคลว่ามีคุณสมบัตและไม่มีลักษณะตองห้ามตามข้อ ๓ ตาม

แบบหนังสือรับรองแนบท้ายประกาศฉบับนี้ด้วย

(ข) ผู้ให้บรการตามบัญชี ข และบัญชี ค เปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนซึ่งช าระ
แล้ว
(๔) กรณีผู้ให้บริการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค เปิดส านักงานสาขาแห่งใหม่
ยาย หรอปิดส านกงานสาขา ให้จัดท ารายงานสรปรายไตรมาส พรอมจัดส่งให้ ธปท. ภายใน ๓๐ วัน นับ





จากวันสิ้นไตรมาสตามแบบรายงานแนบท้ายประกาศฉบับน ทั้งน ส านกงานสาขาไม่รวมถึงจุดให้บริการ
ี้
ี้

ชั่วคราว หรือส านักงานหรือจุดให้บริการของตัวแทนที่ผู้ให้บริการแต่งตั้ง

(๕) กรณีผู้ให้บรการตามบัญชี ข และบัญชี ค หยดให้บรการชั่วคราวซึ่งส่งผลกระ


ทบในวงกว้างอันเนื่องมาจากเหตุจ าเป็นหรือมีพฤติการณ์พิเศษ ซึ่งไม่ได้มีการเตรียมการไว้ล่วงหนา ให้แจ้ง

ฝ่ายนโยบายระบบการช าระเงิน ธปท. และแจ้งผู้ใช้บริการทราบโดยทั่วกันภายใน ๒๔ ชั่วโมง นับแต่เวลาที่
หยุดให้บริการชั่วคราว



(๖) ผู้ให้บรการตองแจ้งให้ผู้ใช้บรการทราบล่วงหนาไม่นอยกว่า ๑๕ วัน ก่อนเรม


ิ่


ดาเนนการอยางนอย ๒ ช่องทาง โดยอาจแจ้งข้อมูลผ่านช่องทางอเล็กทรอนกส์ หรอแจ้งเป็นลายลักษณ์








อกษรหรอประกาศทางหนงสือพิมพ์ หรอปิดประกาศไว้ในที่เปิดเผย ณ สถานที่ท าการหรอจุดให้บรการ



ของตัวแทนแต่ละแห่งที่ให้บริการก็ได้ ในกรณีดังต่อไปน ี้
(ก) ผู้ให้บริการตามบัญชี ข และบัญชี ค เปลี่ยนแปลงชื่อนิติบุคคล




(ข) ผู้ให้บรการตามบัญชี ข และบัญชี ค หยดให้บรการชั่วคราวอนเกิดจาก
การเตรียมการไว้ล่วงหน้า เช่น การปิดปรับปรุงระบบงาน การปิดปรับปรุงพื้นที่ส านักงาน
(ค) ผู้ให้บริการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ย้าย หรือปิดส านักงานสาขา


ข้อ ๑๑ ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ตองก าหนดนโยบายในการ


เก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บรการ การก าหนดชั้นความลับในการเข้าถึงข้อมูล และการระบุตัวบุคคลที่มีสิทธิ
เข้าถึงข้อมูลดงกล่าวพรอมทั้งจัดให้มีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ถูกตองเชื่อถือไดและป้องกันผู้ที่ไม่มีหน้าที่




เกี่ยวข้องเข้าถึงหรือแก้ไขข้อมูลที่เก็บรักษา
ข้อ ๑๒ ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ตองรกษาความลับข้อมูล




ส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการโดยจะไม่เปิดเผยข้อมูลเหล่านั้นตลอดระยะเวลาการใช้บรการและภายหลังที่เลิก
ใช้บริการแล้วเว้นแต่กรณีต่อไปน ี้
ื่





(๑) การเปิดเผยโดยไดรบความยนยอมเป็นหนงสือหรอวิธีการอนใดทางอเล็กทรอ

นิกส์ตามที่ ผู้ให้บริการก าหนดจากผู้ใช้บริการ
(๒) การเปิดเผยเพื่อประโยชน์แก่การสอบสวน หรือการพิจารณาคด ี
(๓) การเปิดเผยแก่ผู้สอบบัญชีของผู้ให้บริการ
หน้า | 47

(๔) การเปิดเผยเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามกฎหมาย
(๕) การเปิดเผยเพื่อประโยชน์ในการก ากับดูแลระบบการช าระเงินของ ธปท.
ข้อ ๑๓ ผู้ให้บริการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ต้องมีการก าหนดข้อตกลงใน

การให้บรการไว้เป็นลายลักษณ์อกษร และเปิดเผยให้ผู้ใช้บรการทราบอยางชัดเจน ซึ่งอยางนอยตอง






ประกอบด้วย

(๑) สิทธิ หนาที่ และความรบผิดของผู้ให้บรการและผู้ใช้บรการ ทั้งในกรณีปกต ิ



และกรณีที่เกิด เหตุฉุกเฉิน
(๒) หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีปฏิบัติในการให้บริการ
(๓) ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้บริการ (ถ้ามี)



ทั้งนี้ ผู้ให้บริการมีหน้าที่ตดตามดูแลให้ผู้ใช้บรการปฏิบัตตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่
ก าหนด และกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงซึ่งท าให้ผู้ใช้บรการเสียประโยชน์ ผู้ให้บริการต้องแจ้งให้ผู้ใช้บรการ


ทราบล่วงหน้า โดยประกาศไว้ ณ สถานที่ท าการทุกแห่ง หรือด้วยวิธีการอื่นใดให้ผู้ใช้บริการสามารถ
ทราบได ้
ข้อ ๑๔ ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ตองดาเนนการเกี่ยวกับการ




เปิดเผยค่าธรรมเนียม ดังต่อไปน ี้




(๑) เปิดเผยรายละเอยดของค่าธรรมเนยมที่จะเรยกเก็บจากผู้ใช้บรการ โดย
ประกาศไว้ ณ สถานที่ท าการทุกแห่ง หรอดวยวิธีการอนใดให้ผู้ใช้บรการสามารถทราบได ทั้งน ในการ


ื่


ี้



ก าหนดค่าธรรมเนยมผู้ให้บรการตองก าหนดให้เป็นไปตามกลไกตลาดเพื่อให้เกิดการแข่งขันและตอง

ค านึงถึงความเป็นธรรมต่อผู้ใช้บริการด้วย


(๒) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าธรรมเนยม ผู้ให้บริการจะต้องประกาศรายละเอยดไว้
ณ สถานที่ท าการทุกแห่ง โดยในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงที่ท าให้ผู้ใช้บริการเสียประโยชน์ ผู้ให้บริการต้อง
ื่

แจ้งดวยวิธีการอนใด ให้ผู้ใช้บรการทราบล่วงหนาไม่นอยกว่า ๓๐ วัน ก่อนการเปลี่ยนแปลงจะมีผลใช้



บังคับ
(๓) จัดส่งประกาศค่าธรรมเนียมให้ ธปท. ทราบโดยเร็วในรูปเอกสารอิเล็กทรอนกส์

นับแต่วันที่ออกประกาศครั้งแรกและทุก ๆ ครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง


ข้อ ๑๕ ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ตองดาเนนการเมื่อมีการ


ร้องเรียนหรือมี ข้อโต้แย้งจากผู้ใช้บริการ รวมทั้งก าหนดกรอบเวลาเพื่อหาข้อยุติดังน ี้
(๑) จัดให้มีช่องทางและวิธีการส าหรับการรับข้อร้องเรยนจากผู้ใช้บริการ โดยอยาง





น้อยต้องจัดให้มีหมายเลขโทรศัพท์และที่อยู่ส านกงานหรือที่อยู่ส าหรับตดต่อทางจดหมายอิเล็กทรอนกส์ที่
สามารถติดต่อได ้



(๒) ก าหนดวิธีปฏบัตเกี่ยวกับขั้นตอนและการดาเนนการเพื่อหาข้อยตเป็นลาย






ลักษณ์อกษรโดยผู้ให้บรการตองดาเนนการตรวจสอบและแจ้งความคืบหนา รวมทั้งชี้แจงขั้นตอนการ





ด าเนินการพร้อมทั้งแจ้งก าหนดเวลาในการแก้ไขข้อร้องเรยนให้ผู้ร้องเรยนทราบภายใน ๗ วัน นับจากวันที่
ได้รับแจ้งการร้องเรียน







(๓) ดาเนนการแก้ไขข้อรองเรยนให้แล้วเสรจและแจ้งผลการดาเนนการให้ผู้
ร้องเรียนทราบโดยเร็ว
หน้า | 48

ข้อ ๑๖ ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ตองจัดท างบการเงินที่แสดง


ฐานะทางการเงินและผลการด าเนินงาน และจัดส่งให้ ธปท. ตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ โดยเริ่มตั้งแต่งวดแรกที่
ได้ประกอบธุรกิจ
(๑) งวดบัญชีในรอบระยะเวลา ๖ เดือนแรกของปีบัญชี ให้ผู้ให้บริการตามบัญชี ข
และบัญชี ค จัดส่งงบการเงินงวด ๖ เดือนแรกของปีบัญชี ให้ ธปท. ภายใน ๔๕ วัน นับแต่วันสิ้นงวด


(๒) งวดประจ าปีบัญชี ให้ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ซึ่งเป็นนต ิ
บุคคล จัดส่งงบการเงินประจ าปีที่ผ่านการรบรองของผู้สอบบัญชีรบอนญาตหรอผู้สอบบัญชี








ภาษอากร แล้วแตกรณี ให้ ธปท. ภายใน ๙๐ วัน นบแตวันสิ้นงวด และให้ผู้ให้บรการตามบัญชี ก ที่

เป็นบุคคลธรรมดา จัดส่งส าเนาแบบแสดงรายการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้ ธปท. ภายใน ๓๐ วัน
นับแต่วันที่ได้ยื่นเสียภาษีในแต่ละงวด
ข้อ ๑๗ ผู้ให้บริการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ต้องจัดท ารายงานที่เกี่ยวข้อง
ตามแบบและระยะเวลาที่ ธปท. ก าหนด และส่งให้ ธปท. ภายใน ๓๐ วัน นับจากวันสิ้นงวดที่ก าหนดให้
จัดท ารายงานนั้น โดยเริ่มตั้งแต่งวดระยะเวลาแรกที่ผู้ให้บริการเริ่มประกอบธุรกิจ
ทั้งนี้ ผู้ให้บริการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ทุกประเภท อาจต้องจัดท าข้อมูล
รายงานอื่นเพิ่มเติมตามที่ ธปท. ก าหนดด้วย

ข้อ ๑๘ ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ตองจัดให้มีระบบงานที่

สามารถตรวจสอบรายการย้อนหลังได ้


ข้อ ๑๙ กรณีผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ให้ผู้ให้บรการรายอน
ื่
หรือบุคคลอื่น (Outsourcing) มาด าเนินการแทนในงานระบบสารสนเทศ รวมถึงงานที่มีผลกระทบอย่างมี
นัยส าคัญต่อธุรกิจผู้ให้บริการจะต้องด าเนินการ ดังต่อไปน ี้
(๑) จัดให้มีกระบวนการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งการคัดเลือก ติดตาม ประเมินผล
และตรวจสอบการให้บรการของผู้ให้บรการรายอนหรอบุคคลอนอยางเหมาะสม โดยประเมินความเสี่ยง




ื่
ื่
ของการใช้บริการจากผู้ให้บริการรายอื่นอย่างสม่ าเสมอ
(๒) จัดให้มีการท าสัญญาการใช้บริการ ซึ่งระบุสิทธิของผู้ตรวจสอบ
ภายใน ผู้ตรวจสอบภายนอก และ ธปท. ในการเข้าตรวจสอบการดาเนินงานและการควบคุม

ภายในของผู้ให้บริการรายอื่นหรือบุคคลอื่นนั้นได ้



ทั้งน ผู้ให้บรการยงคงมีความรบผิดตอผู้ใช้บรการในการให้บรการที่ตอเนอง



ี้

ื่
ปลอดภัย น่าเชื่อถือ และความเสียหายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้น เสมือนกับการให้บริการโดยผู้ให้บริการเอง

ข้อ ๒๐ กรณีผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค แตงตงตวแทน
ั้





(Agent) ให้ด าเนินการแทนในการให้บรการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์แก่ผู้ใช้บรการ ผู้ให้บริการตอง
ปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ธปท. ประกาศก าหนด
ี้

ทั้งน ผู้ให้บรการยงคงมีความรบผิดตอผู้ใช้บรการในการให้บรการที่ตอเนอง
ื่






ปลอดภัย น่าเชื่อถือ และความเสียหายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้น เสมือนกับการให้บริการโดยผู้ให้บริการเอง


หน้า | 49



ข้อ ๒๑ ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ตองจัดให้มีการตรวจสอบ
ระบบสารสนเทศอยางนอยปีละหนงครง โดยให้เป็นไปตามแนวนโยบายและมาตรการการรกษาความ


ึ่
ั้

มั่นคงปลอดภยทางระบบสารสนเทศตามที่ ธปท. ก าหนด และจัดส่งส าเนาผลการตรวจสอบให้ ธปท.

ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ท าการตรวจสอบแล้วเสร็จ

ข้อ ๒๒ ผู้ให้บรการตามบัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ที่เป็นสถาบันการเงินภายใต ้

พระราชบัญญตธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๑ หรือที่มิใช่สถาบันการเงินตามประกาศของคณะปฏวัต ิ





ฉบับที่ ๕๘ หากมิไดมีการก าหนดหลักเกณฑ์ไว้เป็นการเฉพาะภายใตกฎหมายดงกล่าวแล้ว ให้ถือปฏบัต ิ

ตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปน ี้



(๑) การขออนญาตหรอแจ้งยายส านกงานใหญ่ ตามข้อ ๑๐ (๑) และข้อ ๑๐ (๒)

(ก)
(๒) การแจ้งเปลี่ยนแปลงกรรมการหรอผู้ซึ่งมีอ านาจจัดการของนติบุคคล และการ


เปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนซึ่งช าระแล้ว ตามข้อ ๑๐ (๓)
(๓) การเปลี่ยนแปลงชื่อนิติบุคคล ตามข้อ ๑๐ (๒) (ง) และข้อ ๑๐ (๖) (ก)

(๔) การหยดให้บรการชั่วคราว ตามข้อ ๑๐ (๒) (จ) ข้อ ๑๐ (๕) และข้อ ๑๐ (๖)

(ข)
(๕) การรายงานเปิดส านักงานสาขาแห่งใหม่ หรือย้ายหรือปิดส านักงานสาขา ตาม
ข้อ ๑๐ (๔)
(๖) การจัดท าและจัดส่งงบการเงินที่แสดงฐานะทางการเงินและผลการด าเนินงาน
ตามข้อ ๑๖
(๗) การจัดท าและจัดส่งรายงานที่เกี่ยวข้องตามแบบและระยะเวลาที่ ธปท. ก าหนด
ตามข้อ ๑๗
(๘) การจัดให้มีการตรวจสอบระบบสารสนเทศและจัดส่งส าเนาผลการตรวจสอบ
ตามข้อ ๒๑




ข้อ ๒๓ ในกรณีมีเหตจ าเป็นหรอพฤตการณ์พิเศษ ที่ท าให้ผู้ให้บรการไม่สามารถ


ื่


ี้




ดาเนนการดงตอไปนไดภายในระยะเวลาที่ก าหนด ให้ผู้ให้บริการยนขออนญาตขยายระยะเวลาตอ ธปท.
พร้อมชี้แจงเหตุผลความจ าเป็นและก าหนดเวลาที่จะด าเนินการแล้วเสร็จ โดย ธปท. อาจจะพิจารณาขยาย

ระยะเวลาหรอไม่ก็ได ้ ทั้งนี้ ธปท. มีอ านาจพิจารณาขยายระยะเวลาได้ไม่เกิน ๙๐ วัน นับแต่ระยะเวลาที่
ก าหนดสิ้นสุด
(๑) ยื่นขออนุญาตหรือแจ้งให้ ธปท. ทราบการเปลี่ยนแปลงการด าเนินงาน ตามข้อ ๑๐
(๒) จัดส่งงบการเงินที่แสดงฐานะทางการเงินและผลการด าเนินงาน ตามข้อ ๑๖
(๓) จัดส่งรายงานที่เกี่ยวข้องตามที่ ธปท. ก าหนด ตามข้อ ๑๗
(๔) จัดส่งส าเนาผลตรวจสอบระบบสารสนเทศ ตามข้อ ๒๑





ในกรณีมีเหตจ าเป็นหรอพฤตการณ์พิเศษที่ท าให้ผู้ให้บรการไม่สามารถให้บรการ




การช าระเงินทางอเล็กทรอนกส์ไดตามปกตตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่ก าหนดในประกาศ
คณะกรรมการหรอประกาศของ ธปท. และอาจส่งผลกระทบในการให้บรการอยางตอเนองหรอตอความ



ื่



ื่





นาเชื่อถือของระบบการช าระเงิน ให้ผู้ให้บรการยนขออนญาตยกเว้นการปฏบัตตามหลักเกณฑ์ตอ ธปท.

พรอมชี้แจงเหตผล ความจ าเป็น โดย ธปท. อาจจะพิจารณาอนญาตหรอไม่ก็ได ้ ทั้งน ธปท. มีอานาจ


ี้



พิจารณาอนุญาตได้ไม่เกิน ๙๐ วัน
หน้า | 50

ึ่
ในการอนญาตขยายระยะเวลาตามวรรคหนง หรออนญาตยกเว้นตามวรรคสอง



ธปท. อาจก าหนดเงื่อนไขใด ๆ ไว้เป็นรายกรณีด้วยก็ได ้


ในกรณีที่ผู้ให้บรการเห็นว่าจะไม่สามารถปฏบัตไดภายในระยะเวลาที่ก าหนดตาม


วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้ผู้ให้บริการยื่นขอขยายระยะเวลา พร้อมชี้แจงเหตุผลและความจ าเป็นต่อ ธปท.

และให้ ธปท. เสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาต่อไป ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจพิจารณาอนุญาตหรอไม่



ก็ได หรออาจพิจารณาอนญาตโดยก าหนดเงื่อนไขใด ๆ ไว้เป็นรายกรณีดวยก็ได ้ ทั้งน ธปท. และ
ี้

คณะกรรมการจะใช้เวลาในการพิจารณาให้แล้วเสรจภายใน ๔๕ วันท าการ นบแตวันที่ไดรบค าขอขยาย





ระยะเวลาและเอกสารถูกต้องครบถ้วน
หมวด ๓

หลักเกณฑ์เฉพาะส าหรับธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนกส์แต่ละประเภท

ส่วนที่ ๑
การให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Money)





ข้อ ๒๔ ผู้ให้บรการเงินอเล็กทรอนกส์บัญชี ก บัญชี ข และบัญชี ค ตองให้บรการ

ภายใต้เงื่อนไขดังน ี้
(๑) การให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ต้องบันทึกมูลค่าเป็นเงินสกุลบาท หรือเงินสกุล
ต่างประเทศ

(๒) ผู้ให้บริการตามบัญชี ข บัญชี ค ต้องก าหนดมูลค่าสูงสุดของเงินอิเล็กทรอนกส์
ที่สามารถใช้ได้ต่อบัตรหรือบัญชี โดยต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของผู้ใช้บริการและต้องมีการบรหาร

ความเสี่ยงที่ด ี
ื่
(๓) ผู้ให้บริการตามบัญชี ข บัญชี ค ต้องจัดให้มีระบบ กระบวนการหรอเครองมือ

การลงทะเบียนหรอวิธีการอนใดในการใช้บรการเงินอเล็กทรอนกส์ เพื่อดแลผู้ใช้บรการและจ ากัดความ



ื่






เสียหายขั้นสูงของมูลค่าเงินอเล็กทรอนกส์ หากเกิดกรณีบัตรสูญหายหรือถูกขโมย เมื่อผู้ใช้บรการร้องขอ
โดยผู้ให้บริการต้องชี้แจงระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังกล่าวให้ผู้ใช้บริการทราบล่วงหน้า
(๔) การให้บริการต้องไม่มีลักษณะเป็นการให้สินเชื่อ
(๕) ผู้ให้บรการตองเปิดเผยหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการขอแลกคืนเป็นเงินสดให้


ผู้ใช้บรการทราบ และหากการขอแลกคืนเป็นเงินสดเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขแล้ว ผู้




ให้บริการตามบัญชี ค จะต้องจัดให้มีการคืนเงินภายใน ๑๕ วัน นับจากวันที่ผู้ใช้บรการไดดาเนนการขอ

แลกคืน
(๖) ผู้ให้บรการตองจัดให้มีวิธีการที่ผู้ใช้บรการสามารถตรวจสอบยอดเงินคงเหลือ



วันหมดอายุ และแจ้งวิธีการดังกล่าวให้ผู้ใช้บริการทราบ

(๗) ผู้ให้บรการตองจัดให้มีระบบงานที่สามารถป้องกันไม่ให้ผู้ใช้บรการโอนเงิน


ระหว่างกันโดยไม่ผ่านระบบของผู้ให้บริการ


(๘) ผู้ให้บรการเงินอเล็กทรอนกส์บัญชี ข และบัญชี ค ตองจัดท าบัญชีเงินรบ



ล่วงหน้าที่ได้รับจากผู้ใช้บริการแยกไว้ต่างหากจากบัญชีอื่นของผู้ให้บริการ และแยกแสดงไว้ในงบการเงิน
ต่างหากให้ชัดเจนหรือแสดงไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินให้ชัดเจนก็ได ้
หน้า | 51



(๙) ผู้ให้บรการเงินอเล็กทรอนกส์บัญชี ค ที่มิไดเป็นสถาบันการเงินตาม





พระราชบัญญัตธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๑ จะประกอบธุรกิจอนเพิ่มเตมไดเฉพาะธุรกิจดงต่อไปน ี้

ื่
เท่านั้น

ื่

(ก) ธุรกิจที่บางส่วนหรอทั้งหมดเกี่ยวกับหรอเนองจากการให้บรการเงิน





ื่
อเล็กทรอนกส์โดยหากธุรกิจดงกล่าวเป็นธุรกิจบรการการช าระเงินทางอเล็กทรอนกส์ประเภทอน ให้


ด าเนินการแจ้งให้ทราบขึ้นทะเบียน หรือขอรับใบอนุญาต แล้วแต่กรณี


(ข) ธุรกิจอนที่สนบสนนธุรกิจบรการการช าระเงินทางอเล็กทรอนกส์ ตราบ



ื่
เท่าที่ไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยงอันจะกระทบต่อการด าเนินธุรกิจหลัก และเงินที่ได้รับล่วงหน้าจากผู้ใช้บริการ
ทั้งนี้ หากผู้ให้บริการประสงค์จะประกอบธุรกิจตามข้อ (ก) และหรือข้อ (ข) ผู้




ให้บรการตองขออนญาตเป็นรายกรณี โดยชี้แจงหลักการ เหตผล และการประเมินความเสี่ยงตางๆ ที่

เกี่ยวข้อง พร้อมจัดส่งข้อมูลและเอกสารประกอบการพิจารณาให้ ธปท. โดย ธปท. จะพิจารณาให้แล้วเสร็จ
ภายใน ๔๕ วันท าการ นับแตวันที่ไดรบค าขอและเอกสารถูกตองครบถ้วน อยางไรก็ตาม ธปท. อาจ









พิจารณาอนญาตหรอไม่ก็ได หรออาจพิจารณาอนญาตโดยก าหนดเงื่อนไขใด ๆ ไว้เป็นรายกรณีดวยก็ได ้


ั้
หรือสั่งระงับเป็นการชั่วคราว หรือยกเลิกการให้บริการนนในภายหลังด้วยก็ได้ หากพบว่ามีการด าเนนการ

ที่ไม่เป็นไปตามข้อเท็จจริงที่แจ้งเมื่อขออนุญาต หรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ ธปท. ก าหนด
ส่วนที่ ๒
การให้บริการเครือข่ายบัตรเครดต (Credit Card Network)

การให้บริการเครือข่ายอีดีซี (EDC Network) และ
การให้บริการสวิตช์ชิ่งในการช าระเงิน (Transaction Switching)


ข้อ ๒๕ ผู้ให้บริการเครือข่ายบัตรเครดต ผู้ให้บริการเครือข่ายอดีซี และผู้ให้บริการ



สวิตช์ชิ่งในการช าระเงินระบบหนงระบบใดหรอผู้ให้บรการสวิตช์ชิ่งในการช าระเงินหลายระบบ ตอง
ึ่


ก าหนดวัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีปฏบัตในการเข้ารวมและการออกจากระบบของ





ผู้ใช้บรการ (Access and Exit Criteria) ไว้อยางชัดเจนเป็นลายลักษณ์อกษร และเปิดเผยให้ผู้ใช้บรการ


ทราบโดยทั่วถึง เพื่อให้มั่นใจว่าการรับผู้ใช้บรการรายใหม่เพิ่มเติม จะไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยงและผลกระทบ
ต่อการใช้บริการของผู้ใช้บริการรายเดิม
ส่วนที่ ๓
การให้บริการหักบัญชี (Clearing)

ข้อ ๒๖ ให้น าความในข้อ ๒๕ มาใช้บังคับกับผู้ให้บริการหักบัญชีด้วย
ข้อ ๒๗ ผู้ให้บรการหักบัญชีตองจัดให้มีมาตรการจัดการความเสี่ยง เพื่อให้การ


ช าระดุลระหว่างผู้ใช้บริการส าเร็จลุล่วง โดยมีการช าระเงินตามภาระผูกพันภายในเวลาที่ก าหนด รวมทั้งวิธ ี


ปฏบัตที่เหมาะสมเพื่อรองรบกรณีที่ผู้ใช้บรการรายใดรายหนงไม่สามารถช าระดลได และตองเปิดเผยให้




ึ่



ผู้ใช้บริการทราบโดยทั่วถึง รวมทั้งมีหน้าที่ต้องติดตามดูแลให้ผู้ใช้บริการปฏิบัติตามมาตรการและวิธปฏบัต ิ
ดังกล่าวด้วย
หน้า | 52

ทั้งน ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงมาตรการจัดการความเสี่ยง ผู้ให้บรการหักบัญชี

ี้
ต้องแจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบล่วงหน้า และแจ้ง ธปท. ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน ก่อนเริ่มด าเนินการ

ข้อ ๒๘ ผู้ให้บริการหักบัญชีต้องแจ้งให้ ธปท. ทราบด้วยวาจาหรอโดยวิธอื่นใดโดย

ทันทีเมื่อมีเหตุดังน ี้

(๑) กรณีที่ผู้ใช้บริการรายใดรายหนึ่งไม่สามารถช าระดุลไดด้วยวิธีการปกติและตาม



เวลาที่ก าหนด เช่น มีเงินไม่เพียงพอส าหรบการช าระดล โดยตองใช้มาตรการจัดการความเสี่ยงและวิธี
ปฏิบัติที่ก าหนดเพื่อให้กระบวนการช าระดุลส าเร็จลุล่วง

(๒) กรณีที่ระบบของผู้ให้บรการขัดข้อง ท าให้ไม่สามารถค านวณยอดเงินแสดง
ความเป็นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ของผู้ใช้บริการ หรือไม่สามารถส่งข้อมูลดังกล่าวไปเพื่อท าการช าระดุลระหว่าง
เจ้าหนี้และลูกหนได้ด้วยวิธีการปกติและตามเวลาที่ก าหนด
ี้
ี้
ทั้งน ผู้ให้บรการหักบัญชีตองจัดส่งรายงานปัญหากรณีเกิดเหตขัดข้องตามแบบที่



ธปท. ก าหนดให้ ธปท. ภายในวันท าการถัดจากวันเกิดเหต ุ
ข้อ ๒๙ ในกรณีที่ผู้ให้บริการหักบัญชีมีการระงับการให้บริการกับผู้ใช้บริการรายใด

ื่


รายหนงเป็นการชั่วคราว ผู้ให้บรการตองแจ้งให้ผู้ใช้บรการรายอนทราบโดยทันที และในกรณีที่มีการ
ึ่

ยกเลิกการให้บริการกับผู้ใช้บรการรายใดรายหนึ่ง ให้แจ้งผู้ใช้บริการรายอนทราบล่วงหน้าไม่น้อยกวา ๑๕
ื่

วัน ทั้งนี้ ผู้ให้บริการหักบัญชีต้องแจ้ง ธปท. ทราบภายใน ๑๕ วัน นับจากวันที่มีการระงับหรือยกเลิกการ
ให้บริการ แล้วแต่กรณี
ส่วนที่ ๔
การให้บริการช าระดุล (Settlement)

ข้อ ๓๐ ให้น าความในข้อ ๒๕ มาใช้บังคับกับผู้ให้บริการช าระดุลด้วย





ข้อ ๓๑ ผู้ให้บรการช าระดลตองจัดให้มีวิธีการช าระดลเพื่อปรบฐานะความเป็น

ี้


เจ้าหนหรอลูกหนของผู้ใช้บรการที่เหมาะสม โดยค านงถึงความเสี่ยงจากการช าระดล

ี้
(Settlement Risk) ที่อาจท าให้ไม่สามารถช าระดุลได้ส าเร็จลุล่วงและส่งผลกระทบต่อผู้ใช้บริการรายอื่น




ข้อ ๓๒ ในกรณีที่ผู้ให้บรการช าระดลไม่สามารถดาเนนการปรบฐานะความเป็น


เจ้าหนหรอลูกหนของผู้ใช้บรการไดดวยวิธีการปกตและตามเวลาที่ก าหนด ให้ผู้ให้บรการช าระดุลแจ้งให้



ี้
ี้


ธปท. ทราบด้วยวาจาหรือโดยวิธีอื่นใดโดยทันที และต้องจัดส่งรายงานปัญหากรณีเกิดเหตุขัดข้องตามแบบ
ที่ ธปท. ก าหนด ภายในวันท าการถัดจากวันเกิดเหต ุ

ข้อ ๓๓ ในกรณีที่ผู้ให้บริการช าระดุลมีการระงับการให้บรการกับผู้ใช้บรการรายใด

รายหนึ่งเป็นการชั่วคราว ผู้ให้บริการต้องแจ้งให้ผู้ใช้บริการรายอื่นทราบโดยทันที และในกรณีที่มีการยกเลิก
การให้บริการกับผู้ใช้บริการรายใดรายหนึ่ง ให้แจ้งผู้ใช้บริการรายอื่นทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน
ี้
ทั้งน ผู้ให้บรการช าระดลตองแจ้ง ธปท. ทราบภายใน ๑๕ วันนบจากวันที่มีการ




ระงับหรือยกเลิกการให้บริการ แล้วแต่กรณี
หน้า | 53

ส่วนที่ ๕
การให้บริการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์อย่างหนึ่งอย่างใดหรือผ่านทางเครือข่าย





ข้อ ๓๔ ผู้ให้บริการช าระเงินทางอเล็กทรอนกส์ผ่านอุปกรณ์อย่างหนึ่งอย่างใดหรอ

ผ่านทางเครือข่ายที่มิใช่สถาบันการเงินตามพระราชบัญญตธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ต้องบันทึก







บัญชีเงินที่ไดรบจากการรบช าระเงินค่าสินค้า ค่าบรการ หรอค่าอนใดแยกไว้ตางหากจากบัญชีเงินทุน

ื่
หมุนเวียนอื่นของผู้ให้บริการและต้องจัดท าข้อมูลให้มีความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
ส่วนที่ ๖
การให้บริการรับช าระเงินแทน


ข้อ ๓๕ ผู้ให้บริการรับช าระเงินแทนต้องออกข้อก าหนดและให้บรการภายใตเงื่อนไขดังน ี้





ี้


(๑) ก าหนดหนาที่และความรบผิดของผู้ให้บรการที่มีตอเจ้าหนซึ่งผู้ให้บรการรบ
ช าระเงินแทนและผู้ใช้บริการ รวมถึงหน้าที่และความรับผิดของตัวแทนที่ผู้ให้บริการแต่งตั้งด้วย
(๒) ก าหนดวิธีปฏิบัติในการส่งข้อมูลรายการรับช าระเงินให้แก่เจ้าหน ี้
(๓) ผู้ให้บริการที่มิใช่สถาบันการเงินตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ.



ื่
๒๕๕๑ ตองบันทึกบัญชีเงินที่ไดรบจากการรบช าระเงินไว้ตางหากจากบัญชีเงินทุนหมุนเวียนอนของผู้


ให้บริการและต้องจัดท าข้อมูลให้มีความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน

ส่วนที่ ๗
การให้บริการที่เกี่ยวข้องกับบัตรเดบิตที่ออกและมีการใช้จ่ายภายในประเทศ

ข้อ ๓๖ ในส่วนน ี้
“ผู้ออกบัตร” (Issuer) หมายความว่า สถาบันการเงินที่ตกลงและยินยอมออกบัตร
เดบิตให้แก่บุคคลที่ผูกพันตนตามสัญญาบัตรเดบิต


“ผู้ให้บรการแก่ผู้รับบัตร” (Acquirer) หมายความว่า ผู้ที่ท าหน้าที่ให้บรการรับส่ง
ข้อมูลการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์จากบัตรเดบิตไปยังผู้ออกบัตร และจะจ่ายเงินค่าสินค้าหรือค่าบริการ
ให้แก่ผู้ประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการซึ่งมีสัญญาระหว่างกันว่าจะรับช าระราคาสินค้าหรือบรการ

ด้วยบัตรเดบิตตามเงื่อนไขที่ตกลงกัน
“ผู้ให้บริการ” หมายความว่า

(๑) ผู้ให้บริการการช าระเงินทางอเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์อย่างหนงอย่างใดหรอ

ึ่
ผ่านทางเครือข่ายตามบัญชี ค (๓) ที่เป็นผู้ออกบัตร (Issuer) และผู้ให้บริการแก่ผู้รับบัตร (Acquirer)
(๒) ผู้ให้บริการสวิตช์ชิ่งในการช าระเงินระบบหน่งระบบใดตามบัญชี ข (๓)


หรอผู้ให้บริการสวิตช์ชิ่งในการช าระเงินหลายระบบตามบัญชี ค (๔)
(๓) ผู้ให้บริการหักบัญชีตามบัญชี ค (๑)
(๔) ผู้ให้บริการช าระดุลตามบัญชี ค (๒)
หน้า | 54



“เครอข่ายบัตรเดบิต” หมายความว่า เครอข่ายการให้บรการการช าระเงินทาง




อเล็กทรอนกส์แก่สมาชิกซึ่งเป็นผู้ออกบัตรและผู้ให้บรการแก่ผู้รบบัตร โดยอยางนอยตองท าหนาที่





ให้บริการ ดังต่อไปน ี้
(๑) บริการด้านการตลาดภายใต้ชื่อทางธุรกิจของตน
(๒) บริการสวิตซ์ชิ่งในการช าระเงิน
(๓) บริการหักบัญชี

“มาตรฐานชิปการดกลาง” หมายความว่า มาตรฐานชิปการดที่ ธปท. ประกาศ

ก าหนด โดยได้หารือกับสมาคมธนาคารไทย สมาคมธนาคารนานาชาติ และสภาสถาบันการเงินของรัฐ เพื่อ
ใช้เป็นมาตรฐานกลางในการออกบัตรเดบิตของผู้ออกบัตร


ี่
ข้อ ๓๗ ผู้ให้บรการที่เกยวข้องกับบัตรเดบิตที่ออกและใช้จ่ายภายในประเทศ ตอง
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีปฏิบัติในการให้บริการ ดังต่อไปน ี้
(๑) ผู้ออกบัตร
(ก) ต้องใช้มาตรฐานชิปการ์ดกลาง

(ข) ตองออกบัตรให้ใช้บรการเครอข่ายบัตรเดบิตในประเทศ เว้นแตผู้ออก



บัตรใช้ระบบการรับส่งข้อมูลภายในของตนเอง

ั้


(ค) ในกรณีที่ออกบัตรเดบิตที่ใช้บรการเครอข่ายบัตรเดบิตตงแตสองรายขึ้น
ไปในบัตรเดบิตเดียวกัน (Multi-Brand) ต้องปฏิบัติในเรื่องตราสัญลักษณ์ที่ปรากฏบนบัตรเดบิต ให้เป็นไป
ตามข้อตกลงและค านึงถึงหลักความเท่าเทียมกัน



(ง) ตองให้ข้อมูลและรายละเอยดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายของบัตรเดบิตแตละ


ประเภทแก่ผู้ใช้บริการอย่างเพียงพอ ชัดเจน และถูกต้อง เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถเลือกใช้บริการไดอยาง
เหมาะสมตรงกับวัตถุประสงค์การใช้จ่ายของตนเอง


ในกรณีที่ผู้ออกบัตรจะออกบัตรเดบิตที่ใช้บรการเครือข่ายบัตรเดบิตตั้งแตสองราย


ขึ้นไปในบัตรเดบิตเดยวกัน (Multi-Brand) การออกบัตรดงกล่าวจะใช้เครอข่ายบัตรเดบิตรายใดมากกว่า

หนึ่งรายก็ได้แต่อย่างน้อยรายหนึ่งต้องเป็นเครือข่ายบัตรเดบิตในประเทศ
(๒) ผู้ให้บริการแก่ผู้รับบัตร


(ก) ตองจัดให้มีอปกรณ์และระบบที่สามารถรองรบบัตรเดบิตที่ใช้บรการ


เครือข่ายบัตรเดบิตในประเทศ และใช้มาตรฐานชิปการ์ดกลาง
(ข) ต้องไม่จ ากัดสิทธิผู้ประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการในการเลือกใช้
เครือข่ายบัตรเดบิต
(ค) ต้องให้ข้อมูลค่าธรรมเนียมและค่าบริการต่าง ๆ แก่ผู้ประกอบกิจการขาย
สินค้า หรือให้บริการในการใช้บริการอย่างเพียงพอ ชัดเจน และถูกต้อง

(๓) ผู้ให้บริการสวิตช์ชิ่งในการช าระเงิน ผู้ให้บริการหักบัญชี และผู้ให้บริการช าระดล
(ก) ตองดาเนนการให้ระบบของตนรองรบการใช้บัตรเดบิตไดทุกเครอข่าย







บัตรเดบิตหรอจัดให้ระบบของตนสามารถเชื่อมโยงกับระบบของผู้ให้บรการสวิตช์ชิ่งในการช าระเงน


ผู้ให้บริการหักบัญชีและผู้ให้บริการช าระดุลรายอื่นได้ด้วย


(ข) ตองดาเนนการให้ระบบของตนสามารถรองรบบัตรเดบิตที่ใช้บรการ





เครือข่ายบัตรเดบิตตั้งแตสองรายขึ้นไปในบัตรเดบิตเดยวกัน (Multi-Brand) และต้องไม่ด าเนินการใด ๆ อันเป็น
การจ ากัดสิทธิในการเลือกเครือข่ายบัตรเดบิตของผู้ประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการ
หน้า | 55

ข้อ ๓๘ ในกรณีที่ออกบัตรเดบิตที่ใช้บริการเครือข่ายบัตรเดบิตตั้งแต่สองรายขึ้นไป




ในบัตรเดบิตเดยวกัน (Multi-Brand) เมื่อผู้ประกอบกิจการขายสินค้าหรอให้บรการเลือกใช้บรการ
เครือข่ายบัตรเดบิตรายใดรายหนึ่งในการท าธุรกรรมแล้ว ผู้ให้บริการจะคิดค่าธรรมเนยมหรือค่าใช้จ่ายอน

ื่
เพิ่มเติมได้เฉพาะเครือข่ายบัตรเดบิตที่ใช้เท่านั้น
ข้อ ๓๘/๑ ในการให้บรการที่เกี่ยวข้องกับบัตรเดบิตที่ออกและมีการใช้จ่าย

ภายในประเทศผู้ให้บริการต้องด าเนินการเหล่านี้ภายในประเทศเท่านั้น


(๑) การรบส่งข้อมูลการใช้บัตรเดบิตระหว่างผู้ให้บรการแก่ผู้รบบัตร

(Acquirer) และผู้ออกบัตร (Issuer)
(๒) การให้บริการสวิตช์ชิ่งในการช าระเงิน (Transaction Switching)
(๓) การให้บริการหักบัญชี (Clearing)
(๔) การให้บริการช าระดุล (Settlement)

ข้อ ๓๘/๒ ในกรณีที่ผู้ให้บรการรายใดเห็นว่ามีความจ าเป็นและไม่สามารถ
ด าเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดตามข้อ ๓๗ ข้อ ๓๘ และข้อ ๓๘/๑ ได้ ให้ขอ
ี้




อนญาตขยายระยะเวลาการปฏบัตตามประกาศนเป็นการชั่วคราวจนกว่าเหตจ าเป็นจะหมดไป โดยชี้แจง
เหตุผลและความจ าเป็นต่อ ธปท. เป็นรายกรณี และให้ ธปท. มีอ านาจพิจารณาขยายระยะเวลาได้คราวละ
ไม่เกิน ๑๘๐ วัน นับแต่ระยะเวลาที่ก าหนดสิ้นสุด




ให้ ธปท. พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน ๔๕ วันท าการ นบแตวันที่ไดรบค าขอและ
เอกสารถูกต้องครบถ้วน
ข้อ ๓๘/๓ ในกรณีที่ผู้ให้บรการประสงค์จะใช้บรการจากผู้ให้บรการรายอนหรอ



ื่

ื่
บุคคลอื่นด้านงานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Outsourcing) ตามข้อ ๓๘/๑ (๑) - (๔) ให้ผู้ให้บริการยนขอ
อนุญาต ต่อ ธปท. พร้อมชี้แจงเหตุผลและความจ าเป็น

ให้ ธปท. พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน ๔๕ วันท าการ นบแตวันที่ไดรบค าขอและ



เอกสารถูกต้องครบถ้วน
ื่



การยื่นขออนญาตตามวรรคหนึ่งให้กระท าไดเฉพาะการใช้บรการจากผู้ให้บรการรายอน

หรือบุคคลอื่นด้านงานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Outsourcing) ในประเทศ เว้นแต่เป็นการด าเนินการตาม
ข้อ ๓๘/๑ (๑) ผู้ให้บริการอาจขออนุญาตใช้บริการจากผู้ให้บริการรายอื่นหรือบุคคลอื่นด้านงานเทคโนโลย ี
สารสนเทศ (IT Outsourcing) ในต่างประเทศได ้
ในกรณีที่ผู้ให้บริการตามข้อ ๓๖ (๑) เป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจ



ื่

ื่


สถาบันการเงินและไดปฏบัตตามหลักเกณฑ์การใช้บรการจากผู้ให้บรการรายอนหรอบุคคลอนดานงาน

เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Outsourcing) ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงินแล้ว ให ้
ถือว่าได้รับอนุญาตตามวรรคหนึ่ง
ข้อ ๓๘/๔ ในระหว่างที่ ธปท. พิจารณาตามข้อ ๓๘/๒ วรรคสอง และข้อ ๓๘/๓
วรรคสอง ให้ผู้ให้บริการยังคงให้บริการต่อไปได้ จนกว่า ธปท. จะมีค าสั่งในเรองดังกล่าว
ื่



หน้า | 56

หมวด ๔
บทเฉพาะกาล









ข้อ ๓๙ ผู้ให้บรการรายใดที่ไดรบอนญาต ไดขึ้นทะเบียน หรอแจ้งให้ทราบไว้อย ู่
ก่อนที่ประกาศฉบับนี้มีผลใช้บังคับ ให้ปฏิบัติดังน ี้

(๑) ผู้ให้บรการตองดาเนนการเกี่ยวกับคุณสมบัตและลักษณะตองห้ามของ






กรรมการหรอผู้ซึ่งมีอ านาจจัดการของนิติบุคคลของผู้ให้บริการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศฉบับน ี้
ภายใน ๑๘o วัน นับจากวันที่ประกาศมีผลใช้บังคับ
(๒) ผู้ให้บริการต้องด าเนินการจัดท าบันทึกบัญชีเงินที่ไดรับจากการประกอบธุรกิจ

การรับช าระเงินแยกไว้ต่างหากจากบัญชีเงินทุนหมุนเวียนอื่นของผู้ให้บริการภายใน ๑๘๐ วัน นับจากวันที่
ประกาศมีผลใช้บังคับ


(๓) ผู้ให้บรการตองดาเนนการจัดให้มีระบบ กระบวนการหรอเครองมือการ
ื่



ลงทะเบียนหรือวิธีการอื่นใดในการใช้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ ตามที่ก าหนดไว้ในประกาศฉบับนี้ภายใน ๑
ปี นับจากวันที่ประกาศมีผลใช้บังคับ
ี้
ข้อ ๔๐ ประกาศนให้ใช้บังคับนบแตวันถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานเบกษา



เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
อุตตม สาวนายน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประธานกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกส์

[เอกสารแนบท้าย]
๑. แบบการแจ้งให้ทราบ การประกอบธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (บัญชี ก)
๒. แบบการขอขึ้นทะเบียน การประกอบธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (บัญชี ข)
๓. แบบการขอรับใบอนุญาต การประกอบธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (บัญชี ค)



๔. แบบการขอรบใบแทน กรณีที่ใบรบแจ้ง ใบรบการขึ้นทะเบียน หรอใบอนญาต การประกอบธุรกิจ


บริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ สูญหาย ถูกท าลาย หรือช ารุดเสียหายในสาระส าคัญ


๕. แบบหนงสือรบรองคุณสมบัตผู้ประสงค์จะเป็นผู้ให้บรการ ผู้ให้บรการ กรรมการหรอผู้ซึ่งมีอานาจ





จัดการของผู้ประกอบธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์







หน้า | 57

ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน
ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการยื่นขอความเห็นชอบสถานที่ที่ใช้เก็บส ารองน ามัน
เชื อเพลิง และการมอบหมายให้บุคคลอื่นเก็บส ารองน ามันเชื อเพลิงแทน และการรายงานปริมาณ
น ามันเชื อเพลิง
คงเหลือรายวัน โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๓

ตามที่ได้มีประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการ

ยื่นขอ ความเห็นขอบสถานที่ที่ใช้เก็บส ารองน้ ามันเชื้อเพลิง และเงื่อนไขที่ผู้ได้รับความเห็นชอบต้องปฏบัต ิ
ื่
และประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรอง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการมอบหมายให้บุคคลอน เก็บ
ื่



ส ารองนามันเชื้อเพลิงแทน ซึ่งก าหนดให้ผู้ค้านามันตามมาตรา ๗ หรอผู้รบมอบหมายเก็บส ารองนามัน


เชื้อเพลิงแทน ต้องเก็บส ารองน้ ามันเชื้อเพลิงไว้ทุกขณะในสถานที่ที่ได้รับความเห็นชอบจากอธิบดีนั้น

เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ค้าน้ ามันตามมาตรา ๗ ในการยื่นขอความ

เห็นชอบสถานที่ ที่ใช้เก็บส ารองน้ ามันเชื้อเพลิง และ/หรือการมอบหมายให้ผู้อื่นเก็บส ารองนามันเชื้อเพลิง

แทน รวมไปถึง การรายงานปรมาณนามันเชื้อเพลิงคงเหลือรายวันในสถานที่ที่ไดรบความเห็นชอบให้ใช้





เป็นสถานที่ เก็บส ารองนามันเชื้อเพลิงตามกฎหมาย จึงอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๒ แห่ง
พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหาร ราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรม ทาง
อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๔

ประกอบมาตรา ๙ แห่งพระราชกฤษฎกาก าหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการท า
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๔๙ อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน ี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม ๒๕๖๓ เป็นต้นไป
ข้อ ๒ ในประกาศน ี้

“แบบค าขอ" หมายความว่า แบบขอความเห็นชอบสถานที่ที่ใช้เกบส ารองน้ ามันเชื้อเพลิง (ธพ.ธ
ื่


๓๖๔) และ/หรอแบบขอความเห็นขอบการมอบหมายให้บุคคลอนเก็บส ารองนามันเชื้อเพลิงแทน (ธพ.ธ
ื่
ื่
๓๐๕) ตามที่ก าหนดไว้ในประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรอง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการยนขอ


ความเห็นขอบสถานที่ที่ใช้เก็บส ารองนามันเชื้อเพลิง และเงื่อนไขที่ผู้ไดรบความเห็นชอบตองปฏบัตและ




หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการมอบหมายให้บุคคลอื่นเกบส ารองน้ ามันเชื้อเพลิงแทน

“ระบบ” หมายความว่า ระบบฐานข้อมูลสถานที่เก็บและปรมาณนามันเชื้อเพลิงส ารอง




ของประเทศ โดยเป็นระบบบรการในการยนขอความเห็นชอบสถานที่ที่ใช้เก็บส ารองนามันเชื้อเพลิง
ื่
และการยนขอความเห็นชอบการมอบหมายให้บุคคลอนเก็บส ารองนามันเชื้อเพลิงแทน และรวมไปถึง
ื่

ื่

การรายงานข้อมูลปรมาณนามันเชื้อเพลิงคงเหลือรายวันในสถานที่ที่ใช้เก็บส ารองเชื้อเพลิงที่ไดรบความ



เห็นชอบไว้แล้ว
“อธิบด” หมายความว่า อธิบดีกรมธุรกิจพลังงานหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมธุรกิจพลังงานมอบหมาย



หน้า | 58

ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน
ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยื่นแบบแจ้งทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อขอความเห็นชอบ
ลักษณะและคุณภาพของน ามันเชื อเพลิงเฉพาะส่วนที่ไม่เป็นไปตามที่กรมธุรกิจพลังงานก าหนด และ
การยื่นแบบรายงานทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแจ้งรายงานข้อมูลเกี่ยวกับการจัดหา
การจ าหน่าย และยอดคงเหลือของน ามันเชื อเพลิงที่ได้รับความเห็นชอบ พ.ศ. ๒๕๒๓


ตามที่ได้มีประกาศกรมธุรกิจพลังงานก าหนดลักษณะและคุณภาพของน้ ามันเชื้อเพลิง ออกตาม
ความในมาตรา ๒๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการค้าน้ ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๔๓ ซึ่งก าหนดให้ การ
จ าหน่ายหรือมีไว้เพื่อจ าหนายซึ่งน้ ามันเชื้อเพลิงที่มีลักษณะและคุณภาพแตกต่างจากที่ กรมธุรกิจพลังงาน

ก าหนด โดยให้ผู้ค้าน้ ามันต้องยื่นแบบแจ้งเพื่อขอความเห็นชอบต่ออธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน ตามหลักเกณฑ์

วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดกรมธุรกิจพลังงานก าหนด และตองไดรบความเห็นชอบจาก อธิบดกรมธุรกิจ




พลังงานก่อน นั้น
ื่


โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขปรบปรงหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการยนแบบแจ้ง

ทางอเล็กทรอนกส์เพื่อขอความเห็นชอบลักษณะและคุณภาพของนามันเชื้อเพลิงเฉพาะส่วนที่ไม่เป็นไป


ื่

ตามที่กรมธุรกิจพลังงานก าหนด ให้ครอบคลุมถึงการยนแบบรายงานทางอิเล็กทรอนกส์เพื่อแจ้งรายงาน

ข้อมูลการจัดหา การจ าหนาย และยอดคงเหลือของนามันเชื้อเพลิงที่ไดรบความเห็นขอบ อาศัยอานาจ




ตามความในมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัตระเบียบบรหารราชการแผ่นดน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไข






เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตระเบียบบริหารราชการแผ่นดน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๓๕ แห่ง
พระราชบัญญัตว่าด้วยธุรกรรมทางอเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกอบมาตรา ๘ แห่งพระราชกฤษฎกา



ก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการท าธุรกรรมทางอเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๕๔๙ อธิบดีกรมธุรกิจ

พลังงาน จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน ี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นต้นไป
ข้อ ๒ ให้ยกเลิกประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรอง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
ื่
ื่



ในการยนแบบแจ้งทางอเล็กทรอนกส์เพื่อขอความเห็นชอบลักษณะและคุณภาพของนามันเชื้อเพลิง
เฉพาะส่วนที่ไม่เป็นไปตามที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศก าหนด พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๖๐
ข้อ ๓ ในประกาศน ี้
“แบบแจ้ง” หมายความว่า แบบแจ้งลักษณะและคุณภาพของนมันเชื้อเพลิงเฉพาะส่วนที่
ไม่เป็นไปตามที่กรมธุรกิจพลังงานก าหนดเพื่อขอความเห็นขอบ ตามที่ก าหนดไว้ในประกาศ
กรมธุรกิจพลังงานว่าดวยการก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยนขอความเห็นขอบ
ื่

การเติมสารเติมแต่งในน้ ามันเชื้อเพลิง และการยื่นขอความเห็นขอบลักษณะและคุณภาพของ





หน้า | 59

ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการใช้บริการคลาวด์
พ.ศ. ๒๕๖๒

โดยที่ในปัจจุบันการให้บรการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์มีการใช้บรการคลาวด (Cloud





ื่



Computirg) อยางแพรหลาย อาศัยจากการให้บรการคลาวดจากผู้ประกอบการรายอน เพื่อให้บรการ


ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้บริการคลาวด์ มีความมั่นคงปลอดภัย ความน่าเชื่อถือ และมาตรฐานในการ
ให้บริการ ซึ่งเป็นที่ยอมรับ ในระดับสากล


อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๗ (๒) แห่งพระราชบัญญัตว่าดวยธุรกรรมทาง

อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่
๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ก าหนดแนวทางการใช้บริการคลาวด์ ดังต่อไปน ี้

ข้อ ๑ กรณีที่ผู้ให้บรการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์มีการใช้บรการคลาวด ไม่ว่าจะเป็น







ื่



การดาเนนการโดยผู้ให้บรการคลาวดอนหรอไม่ก็ตาม เพื่อวางมาตรฐานในการให้บรการและเป็น





ข้อมูลอางอง การประมวลผลดงกล่าวอาจดาเนนการตามแนวทางการใช้บรการที่ก าหนดตาม

เอกสารแนบท้าย ประกาศนี้ได ้




ข้อ ๒ การนาแนวทางการใช้บรการคลาวดตามที่ก าหนดในข้อ ๑ มาใช้ในการให้บรการ
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์นั้น ให้ค านึงถึงหลักเกณฑ์ขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นมาตรการขั้นต่ าในการลดความเสี่ยง
จากภยคุกคามของบรการ โดยจะตองตรวจสอบและประเมินความเสี่ยงอยางสม่ าเสมอ รวมทั้งปรบปรุง





มาตรการเพื่อรักษาความมั่นคงปลอดภัยอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

ประธานกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกส์










หน้า | 60

ประกาศกรมการขนส่งทางบก
เรื่อง แนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พ.ศ. ๒๕๖๒




เพื่อให้การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บรการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ใน

ภารกิจของ กรมการขนส่งทางบก อาศัยอ านาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา ๗ แห่งพระราชกฤษฎีกา


ก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการท าธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ภาครฐ พ.ศ. ๒๕๔๕ อธิบดกรมการ



ขนส่ง ทางบกโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์จึงออกประกาศไว้

ดังต่อไปน ี้
ข้อ ๑ กรมการขนส่งทางบกมีแนวปฏบัตในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของ


ผู้ใช้บริการมีดังน ี้
(๑) ข้อมูลเบื้องต้น
(ก) แนวปฏบัตในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล จัดท าขึ้นเพื่อใช้บังคับ


ตามนโยบาย การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของกรมการขนส่งทางบก
(ข) ก าหนดขอบเขตให้การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลน ใช้กับการ
ี้
ด าเนินการใด ๆ ของกรมการขนส่งทางบกต่อข้อมูลส่วนบุคคลที่กรมการขนส่งทางบกรวบรวม จัดเก็บ หรือ
ได้รับมาตามวัตถุประสงค์เท่านน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวรวมถึงข้อมูลที่ผู้ใช้บรการ ให้บริการของกรมการขนส่ง
ั้

ทางบกด้วย ซึ่งข้อมูลส่วนบุคคล คือ ข้อมูลที่ระบุตัวบุคคลของผู้ใช้บริการได้เช่นเดียวกับชื่อ ที่อยู่ หมายเลข
ประจ าตัวประชาชน หมายเลขโทรศัพท์ และอีเมล์ของผู้ใช้บริการ ทั้งนี้ ข้อมูลส่วนบุคคลในที่นี้ไม่ได้รวมถึง
ข้อมูลที่สาธารณชนสามารถเข้าถึงได้เป็นการทั่วไป นอกจากนี้ยังได้ระบุขอบเขตของนโยบายการคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคลของกรมการขนส่งทางบกดังกล่าวเพิ่มเติมว่าไม่ใช้กับแนวปฏิบัตตอข้อมูลส่วนบุคคลของ





ื่
หนวยงานอนที่กรมการขนส่งทางบกมิไดเกี่ยวข้องหรอสามารถควบคุมได และไม่ใช้บังคับกับแนวปฏิบัต ิ


ของบุคคลที่มิไดเป็นเจ้าหนาที่หรอพนกงานของกรมการขนส่งทางบก หรอที่กรมการขนส่งทางบกไม่มี




อ านาจควบคุมดูแล
(ค) กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ หรอนโยบายในการคุ้มครอง



ข้อมูลส่วนบุคคล กรมการขนส่งทางบก จะแจ้งประกาศให้ทราบและขอความยนยอมจากผู้ใช้บรการผ่าน




ทางหนาเว็บไซตของกรมการขนส่งทางบก (https://www.dlt.go.th) ล่วงหนาเป็นเวลาไม่นอยกว่า ๓๐
วัน



กรมการขนส่งทางบกอาจท าการปรบปรง หรอแก้ไขนโยบายการคุ้มครอง

ข้อมูลส่วนบุคคล โดยไม่ได้แจ้งให้ทราบล่วงหนา ทั้งนี้ เพื่อความเหมาะสมและความมีประสิทธิภาพในการ


ั้

ั้
ให้บรการ ดงนน จึงขอแนะนาให้ผู้ใช้บรการอานนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลก่อนทุกครงที่ใช้


บริการ
(๒) การเก็บรวบรวม จัดประเภท และการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล


หน้า | 61

ประกาศกรมการขนส่งทางบก
เรื่อง นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พ.ศ. ๒๕๒๒


โดยที่การด าเนินการของกรมการขนส่งทางบกซึ่งจะต้องปฏิบัติการตามกฎหมายว่า
ด้วยรถยนต์ และกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก จ าเป็นต้องมีการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลผู้ยืน








ขอดาเนนการ และบางกรณีมีความจ าเป็นตองดาเนนการทางอเล็กทรอนกส์ เพื่อให้สามารถบรการ
ประชาชนได้อย่างทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ


ดงนน เพื่อให้มีมาตรฐานในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บรการธุรกรรม
ั้
ทางอิเล็กทรอนิกส์ ในภารกิจของกรมการขนส่งทางบก อาศัยอ านาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา ๗

แห่งพระราชกฤษฎกา ก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการท าธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ภาครฐ พ.ศ.






๒๕๔๕ อธิบดกรมการขนส่ง ทางบกโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์จึง
ออกประกาศไว้ ดังต่อไปน ี้
ข้อ ๑ กรมการขนส่งทางบกมีนโยบายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เกี่ยวกับ
เรื่อง ดังต่อไปน ี้
(๑) การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลอย่างจ ากัด

กรมการขนส่งทางบกจะจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บรการธุรกรรมทาง


อเล็กทรอนกส์ ไว้เท่าที่จ าเป็น และเป็นการจัดเก็บจากเจ้าของข้อมูลโดยตรง ภายใตอานาจหนาที่และ



วัตถุประสงค์ ในการด าเนินงานของกรมการขนส่งทางบกตามที่กฎหมายก าหนด หรือรับรองตามมาตรา ๔
ั้
แห่งพระราชบัญญัต ข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ เท่านน ในกรณีที่กรมการขนส่งทางบกประสงค์

ื่

จะใช้ข้อมูลส่วนบุคคล ของผู้ใช้บรการเพื่อวัตถุประสงค์อน กรมการขนส่งทางบกจะแจ้งความประสงค์ให้
ผู้ใช้บริการทราบและ ขอความยินยอมจากผู้ใช้บริการก่อน เว้นแต่เป็นกรณีที่กฎหมายก าหนด หรือในกรณี
อื่น ๆ ตามที่ ก าหนดไว้ในนโยบายฉบับน ี้
(๒) คุณภาพของข้อมูลส่วนบุคคล
กรมการขนส่งทางบกมีการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บรการ



ธุรกรรม ทางอเล็กทรอนกส์ โดยข้อมูลที่จัดเก็บ กรมการขนส่งทางบกจะให้ความส าคัญถึงความถูกต้อง
ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันของข้อมูล
(๓) การระบุวัตถุประสงค์ในการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูล
กรมการขนส่งทางบก มีการรวบรวม จัดเก็บ ใช้ ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ


ธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรการผ่านอนเตอรเนต เช่น ระบบช าระภาษรถ





ระบบจองคิวใบขับขี่ (e - Booking) ระบบประมูลเลขทะเบียนรถ ระบบจองเลขทะเบียนรถ เป็นต้น การ
ให้บรการผ่านระบบ Mobile Application เช่น Tai - OK DLT - GPS DLT - eForm - IFound DLT -

Notification DLT - OR - License DLT - Check-in - Plus DLT - Inspection DLT


หน้า | 62

ประกาศส านักงานคณะกรรมการอ้อยและน าตาลทราย
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยื่นค าร้องขอรับหนังสืออนุญาตส่งน าตาลทราย
ออกนอกราชอาณาจกร และค าขอรับใบอนุญาตส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร

โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๖๑




โดยที่คณะกรรมการออยและนาตาลทรายไดออกระเบียบคณะกรรมการออยและ








นาตาลทรายว่าดวยการอนญาตให้ส่งออกนาตาลทราย พ.ศ. ๒๕๖๑ และกระทรวงพาณิชยไดมีค าสั่งที่

๕๖๙/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ ตลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ มอบอานาจให้ข้าราชการส านกงานคณะกรรมการออย



และน้ าตาลทรายมีอ านาจในการพิจารณาอนุญาตและลงนามในใบอนุญาตและหนังสือรับรอง Certificate

for Quota Eligbility ให้ส่งน้ าตาลทรายขาว น้ าตาลทรายขาวบรสุทธิ์ น้ าตาลทรายดิบ และน้ าตาลทราย


แดงออกนอกราชอาณาจักร และให้มีอานาจลงนามก ากับการแก้ไขในใบอนญาตและหนงสือรบรอง




Certificate for Quota Eligbility เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของรฐบาลในการให้บรการดวยระบบ


อเล็กทรอนกส์ประเทศไทย ๔.๐ อนเป็นการอานวยความสะดวกทางการค้า รวมถึงการลดขั้นตอนการ



ปฏิบัติในการปฏิบัติงาน

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๘ ประกอบมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัตว่า




ดวยธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ และข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๘ ข้อ ๑๑ ข้อ ๑๒ และข้อ ๑๓ แห่ง



ระเบียบคณะกรรมการออยและนาตาลทราย ว่าดวยการอนญาตให้ส่งออกนาตาลทราย พ.ศ. ๒๕๖๑


ส านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย จึงออกประกาศไว้ดังน ี้
ข้อ ๑ ในประกาศน ี้
“ค าร้องขอรับหนังสืออนุญาตส่งน้ าตาลทรายออกนอกราชอาณาจักร (แบบ กน.๙)




และค าขอรบใบอนญาตส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร (แบบ อ.๑) โดยวิธีการทางอเล็กทรอนกส์”
หมายความว่าค าร้องขอรับหนังสืออนุญาตส่งน้ าตาลทรายออกนอกราชอาณาจักร หรือค าขอรับใบอนุญาต
ส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร ที่ได้ด าเนินการผ่านการรับส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์


“หนงสืออนญาตให้ส่งนาตาลทรายออกนอกราชอาณาจักร (แบบ กน.๑๐) และ

ใบอนุญาตให้ส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร (แบบ อ.๒) โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า



หนงสืออนญาตให้ส่งนาตาลทรายออกนอกราชอาณาจักร หรอใบอนญาตให้ส่งสินค้าออกไปนอก


ราชอาณาจักร ที่ได้ด าเนินการผ่านการรับส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
ข้อ ๒ ให้บริษัทส่งออกที่ประสงค์จะยื่นค าร้องขอรับหนังสืออนุญาตส่งน้ าตาลทราย
ออกนอกราชอาณาจักร (แบบ กน.๙) และค าขอรับใบอนุญาตส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร (แบบ อ.
๑) โดยวิธีการทางอเล็กทรอนกส์ ยนค ารองขอลงทะเบียนตามคู่มือการใช้งานเพื่อลงทะเบียนเป็นผู้ยื่นค า



ื่
ร้องขอส่งออกน้ าตาลทรายไปนอกราชอาณาจักร โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ แนบท้ายประกาศน ี้

หน้า | 63



ื่

ข้อ ๓ ให้บรษทส่งออกยนค ารองขอรบหนงสืออนญาตส่งนาตาลทรายออกนอก






ราชอาณาจักร (แบบ กน.๙) และค าขอรบใบอนญาตส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร (แบบ อ.๑)โดย
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามคู่มือการใช้งานระบบยื่นค าร้องขอส่งออกน้ าตาลทรายไปนอกราชอาณาจักร
โดยวิธีการทางอเล็กทรอนิกส์ แนบท้ายประกาศน ี้


ข้อ ๔ ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอ านาจพิจารณาค ารองขอรับหนังสืออนุญาตส่งนาตาลทราย

ออกนอกราชอาณาจักร (แบบ กน.๙) และค าขอรับใบอนุญาตส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร (แบบ อ.



๑) โดยวิธีการทางอเล็กทรอนิกส์ พิจารณาออกหนงสืออนญาตให้ส่งน้ าตาลทรายออกนอกราชอาณาจักร
(แบบ กน.๑๐) และใบอนญาตให้ส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร (แบบ อ.๒) โดยวิธีการทาง

อิเล็กทรอนิกส์ ตามคู่มือการใช้งานระบบการพิจารณาค าร้องขอส่งน้ าตาลทรายออกนอกราชอาณาจักรโดย
วิธีการทางอเล็กทรอนกส์ การอนมัต (แบบ กน.๑๐) และคู่มือการใช้งานระบบการพิจารณาค้ารองขอส่ง





น้ าตาลทรายออกนอกราชอาณาจักร โดยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ การอนุมัติ (แบบ อ.๒) แนบท้ายประกาศน ี้
ข้อ ๕ ให้บริษัทส่งออกที่ได้ส่งน้ าตาลทรายออกนอกราชอาณาจักรแล้ว รายงานการ


ส่งนาตาลทรายออกนอกราชอาณาจักรตามแบบรายงานรายละเอยดการส่งออกนาตาลทรายโดยวิธีการ

ทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามคู่มือการใช้งานระบบการรายงาน (แบบ กน.๑๑) แนบท้ายประกาศ

ข้อ ๖ บริษัทส่งออกที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิกระบบให้บรการอเล็กทรอนิกส์ของ

ี้

ู่
ื่


ส านกงานคณะกรรมการออยและนาตาลทรายอยก่อนวันที่ประกาศนมีผลใช้บังคับ ให้สามารถยนค ารอง







ขอรบหนงสืออนญาตส่งนาตาลทรายออกนอกราชอาณาจักร (แบบ กน.๙) และค าขอรบใบอนญาตส่ง
สินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร (แบบ อ.๑) โดยวิธีการทางอเล็กทรอนกส์ตามระเบียบนแตทั้งนไม่เกิน

ี้

ี้

สามสิบวันนับจากวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ


ื่
ข้อ ๗ การยนขอลงทะเบียนเป็นผู้ยนค ารองขอส่งออกนาตาลทรายไปนอก
ื่
ราชอาณาจักรโดยวิธีการทางอเล็กทรอนิกส์ ตามข้อ ๒ การยื่นค าร้องขอรับหนังสืออนุญาตส่งน้ าตาลทราย

ออกนอกราชอาณาจักร (แบบ กน.๙) และค าขอรับใบอนุญาตส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร (แบบ อ.
๑) โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามข้อ ๓ การรายงานเมื่อได้ส่งน้ าตาลทรายออกนอกราชอาณาจักรแล้ว
ตามข้อ ๕ บริษัทส่งออกจะต้องยื่นเอกสารหลักฐานต่าง ๆ โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องครบถ้วน
ตามที่ก าหนดไว้ในระเบียบคณะกรรมการออยและนาตาลทราย ว่าด้วยการอนุญาตให้ส่งออกน้ าตาลทราย


พ.ศ. ๒๕๖๑
ประกาศ ณ วันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑
วรวรรณ ชิตอรุณ
เลขาธิการคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย



หน้า | 64

ประกาศกระทรวงการคลัง
ก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการใช้ระบบบริการ Tax Single Sign On



เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกแก่ผู้ที่ประสงค์จะยนค ารอง ค าขอ แบบแสดง

ื่
รายการ หรือ การด าเนินการใด ๆ ตามกฎหมายในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ อันเป็นการท าธุรกรรม ทาง


อเล็กทรอนกส์ภาครฐ กับ ๓ กรมภาษ ไดแก่ กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร ซึ่งเป็น




หนวยงานในสังกัดกระทรวงการคลัง โดยให้สามารถใช้ชื่อผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน





(Password) เดยวกัน ส าหรบการเข้าใช้ระบบบรการอเล็กทรอนกส์ของกรมสรรพากร กรมสรรพสามิต
และกรมศุลกากร หากกระท าผ่านระบบบริการ Tax Single Sign On ของกระทรวงการคลัง

การท าธุรกรรมทางอเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ หน่วยงานของรัฐตองก าหนดหลักเกณฑ์


และวิธีการ ตามที่ก าหนดในมาตรา ๓ แห่งพระราชกฤษฎกาก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการท า

ธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๔๕ ออกตามความในมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติว่าดวย


ธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ พ.ศ. ๒๕๕๔ กระทรวงการคลังจึงก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการใช้ระบบ
บริการ Tax Single Sign On ดังต่อไปน
ี้
ข้อ ๑ ในประกาศนี้
“ผู้ใช้บริการ" หมายความว่า บุคคลธรรมดา นิติบุคคล ห้างหุ้นส่วน หรือคณะบุคคล
ที่ได้ลงทะเบียนขอใช้ระบบบริการ Tax Single Sign On
“ผู้ให้บรการ” หมายความว่า กระทรวงการคลังซึ่งเป็นผู้ให้บรการระบบบรการ



Tax Single Sign On
“ระบบบริการ Tax Single Sign On” หมายความว่า ระบบบริการอเล็กทรอนกส์


ต้านภาษีของ ๓ กรมภาษี โดยใช้ชื่อผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน (Password) ชุดเดียว ในการเข้า
สู่ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของ ๓ กรมภาษี
“๓ กรมภาษ” หมายความว่า กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร

ข้อ ๒ ผู้ใช้บรการที่มีความประสงค์จะใช้ระบบบรการ Tax Single Sign On



ต้องลงทะเบียน โดยยื่นค าขอใช้ระบบบริการ Tax Single Sign On ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอรเน็ต ทาง
เว็บไซต (Web Site) ของกระทรวงการคลัง https://etax.mof.go.th โดยตองกรอกข้อมูลให้ถูกตอง



ครบถ้วน ตามความเป็นจริงทุกประการ





หน้า | 65

ประกาศส านักงานประกันสังคม
เรื่อง ขั นตอนการรับสมัครและขึ นทะเบียนผู้ประกันตนตามมาตรา ๔๐ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. ๒๕๖๑


เพื่อให้การด าเนินการรับสมัครและขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนตามมาตรา ๔๐ ผ่านระบบ




อเล็กทรอนกส์เป็นไปตามข้อ ๕ แห่งระเบียบส านักงานประกันสังคม ว่าดวยการรบสมัครและขึ้นทะเบียน
ผู้ประกันตนตามมาตรา ๔๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๓ แห่งพระราชกฤษฎีกาก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการใน
การท าธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ภาครฐ พ.ศ. ๒๕๔๙ ออกตามความในมาตรา ๓๕ วรรคหนง แห่ง


ึ่

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔


อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัตระเบียบบรหารราชการ

แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.

๒๕๔๕ เลขาธิการส านักงานประกันสังคมจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน ี้
ข้อ ๑ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป
ข้อ ๒ การรับสมัครและการตรวจสอบข้อมูลระบุตัวตน
๑) ผู้สมัครเข้าเว็บไซตของระบบลงทะเบียนผู้ประกันตนตามมาตรา ๔๐ ผ่าน

ช่องทางที่ส านักงานประกันสังคมก าหนด
๒) ให้ผู้สมัครกรอกข้อมูลระบุตัวตน ได้แก่ เลขประจ าตัวประชาชน ๑๓ หลักและเลข
ควบคุมบัตรประชาชน (Laser Code) ซึ่งอย่ด้านหลังบัตรประจ าตัวประชาชน (ตัวอย่าง LAx-


xxxxxxx-xx) ค านาหน้านาม ชื่อ - สกุล วันเดือนปีเกิด และ e-mail address หรือ หมายเลข
โทรศัพท์

๓) เมื่อผู้สมัครกรอกข้อมูลระบุตวตนเรียบร้อยแล้ว ระบบจะด าเนินการประมวลผล
ผ่านระบบ เว็บเซอรวิส (web service) และตรวจสอบข้อมูลและคุณสมบัตของผู้สมัครตามเงื่อนไขที่






ก าหนด ไดแก่การพิสูจนตวตน การมีอายครบ ๑๕ ปีบรบูรณ์และไม่เกิน ๖๐ ปีบรบูรณ์ และไม่เป็น



ผู้ประกันตนตามมาตรา ๓๓ และมาตรา ๓๙ โดยระบบจะแจ้งผลการตรวจสอบให้ผู้สมัครทราบเพื่อด าเนนการใน
ขั้นตอนต่อไป เฉพาะกรณีที่ผู้สมัครมีคุณสมบัต ตรงตามเงื่อนไขที่ส านกงานประกันสังคมก าหนดเท่านน

ั้

ทั้งนี้ หากผู้สมัครมีคุณสมบัตไม่ตรงตามเงื่อนไขที่ส านกงานประกันสังคมก าหนด ระบบ


จะแจ้งผลการตรวจสอบให้ทราบ และผู้สมัครจะไม่สามารถด าเนนการในขั้นตอนต่อไปได ้

ข้อ ๓ การให้ข้อมูล




๑) ให้ผู้สมัครกรอกข้อมูลส่วนบุคคล ไดแก่ ที่อยที่สามารถตดตอได หมายเลข
ู่
โทรศัพท์บ้านหรือโทรศัพท์มือถือที่สามารถติดต่อได้อย่างสะดวก


ื่
๒) ให้ผู้สมัครกรอกข้อมูลอน ไดแก่ กลุ่มอาชีพ รายไดตอเดอน สภาพรางกาย



(กรณีพิการให้ระบุความพิการ)




หน้า | 66


๓) ให้ผู้สมัครยืนยันข้อมูลการไม่เป็นสมาชิกของกองทุนบ าเหนจบ านาญข้าราชการ
กองทุนบ าเหน็จบ านาญข้าราชการกรุงเทพมหานคร กองทุนบ าเหน็จบ านาญข้าราชการท้องถิ่น หรือไม่เป็น




ื่



สมาชิกกองทุนของรฐวิสาหกิจหรอหน่วยงานอนของรฐที่มีลักษณะอยางเดยวกบกองทุนบ าเหนจบ านาญ
ู่
ของส่วนราชการรวมทั้งไม่เป็นเจ้าหนาที่ของรฐที่อยภายใตบังคับตามกฎหมายว่าดวยบ าเหนจบ านาญ











ข้าราชการ กฎหมายว่าดวยบ าเหนจบ านาญข้าราชการกรงเทพมหานคร หรอกฎหมายว่าดวยบ าเหนจ
บ านาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น

ระบบจะแจ้งให้ผู้สมัครยนยนความถูกตองของข้อมูล หากภายหลังส านกงาน



ประกันสังคมตรวจสอบพบว่าข้อมูลดังกล่าวเป็นเท็จ ส านักงานประกันสังคมสามารถยกเลิกการสมัครเป็น
ผู้ประกันตนตามมาตรา ๔๐ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ได ้
ข้อ ๔ การยืนยันการลงทะเบียน


เมื่อส านกงานประกันสังคมไดรบข้อมูลการสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา ๔๐


ผ่านระบบอเล็กทรอนกส์เรยบรอยแล้ว ระบบจะแจ้งให้ผู้สมัครยนยนการลงทะเบียนผู้ประกันตนตาม







มาตรา ๔๐ โดยให้ผู้สมัครเลือกยนยนการลงทะเบียน หรอยกเลิกการลงทะเบียน โดยส านกงาน





ประกันสังคมจะอนมัตการขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนตามมาตรา ๔๐ ผ่านระบบอเล็กทรอนกส์ และแจงผล


การพิจารณาอนุมัติให้ผู้สมัครทราบทันทีเฉพาะผู้สมัครที่ยืนยันการลงทะเบียนเท่านั้น
ข้อ ๕ การเลือกรูปแบบการจ่ายเงินสมทบ
๑) ทางเลือกที่ ๑ จ่ายเงินสมทบ ๗๐ บาท ต่อเดือน
๒) ทางเลือกที่ ๒ จ่ายเงินสมทบ ๑๐๐ บาท ต่อเดือน
๓) ทางเลือกที่ ๓ จ่ายเงินสมทบ ๓๐๐ บาท ต่อเดือน
ข้อ ๖ การช าระเงินสมทบ
ให้ผู้สมัครที่ได้รับการอนุมัติขึ้นทะเบียน ด าเนินการช าระเงินสมทบตามรูปแบบการ
จ่ายเงินสมทบที่เลือกไว้ ณ หนวยบรการรบช าระเงินที่ส านกงานประกันสังคมก าหนด โดยแจ้งเลข




ประจ าตัวประชาชน ๑๓ หลัก
ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑
สุรเดช วลีอิทธิกุล
เลขาธิการส านักงานประกันสังคม










หน้า | 67

ประกาศกรมทรัพย์สินทางปัญญา
ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขส าหรับการยื่นค าขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
และค าขออื่น ๆ ผ่านทางระบบการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Filing)


เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกในการให้บรการแก่ภาคธุรกิจเอกชนและ


ประชาชนทั่วไปในการยนค าขอจดทะเบียนเครองหมายการค้า หรือค าขออื่น ๆ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ื่
ื่
ื่
จึงเปิดให้บริการแก่ผู้ที่ประสงค์จะยนค าขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า และค าขออื่น ๆ ผ่านทางระบบ

การจดทะเบียนทรพยสินทางปัญญาทางอเล็กทรอนกส์ (e-Filing) แทนการมายนค าขอดวยตนเองได้อีก



ื่

ทางหนึ่ง

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๑ วรรคหนง แห่งพระราชบัญญตเครองหมาย
ื่


ึ่
การค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ และข้อ ๒ วรรคสาม แห่งกฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความใน

พระราชบัญญัต เครองหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเตมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔

ื่
(พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติเครองหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๗ วรรคหนึ่งแห่ง
ื่
พระราชบัญญัติการอ านวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓๕




แห่งพระราชบัญญัตว่าดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ พระราชกฤษฎกาก าหนดหลักเกณฑ์


และวิธีการในการท าธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ภาครฐ พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกอบกับมาตรา ๓๒ แห่ง






พระราชบัญญัตระเบียบบรหารราชการแผ่นดน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเตมโดยพระราชบัญญัตระเบียบ


บรหารราชการแผ่นดน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ อธิบดกรมทรพยสินทางปัญญาจึงออกประกาศไว้



ดังต่อไปน ี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศกรมทรัพย์สินทางปัญญา เรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขส าหรับการยื่นค าขอจดทะเบียนเครื่องหมาย และค ารองหรือค าขออื่น ๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต

ลงวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๙
ข้อ ๒ ในประกาศน ี้
ื่
ื่
“เครองหมายการค้า” หมายความรวมถึง เครองหมายบรการ เครองหมายรับรอง

ื่
และเครื่องหมายร่วม
“ผู้ยื่นค าขอ” หมายความว่า บุคคลที่ยื่นค าขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า หรือ
ค าขออน ๆ ผ่านทางระบบ e-Filing
ื่
“ค าขออื่น ๆ” หมายความว่า
(๑) ค าคัดค้านการจดทะเบียน ค าโต้แย้งค าคัดค้าน
(๒) ค าอุทธรณ์



(๓) ค าขอโอนหรอรบมรดกสิทธิในค าขอที่ยนจดทะเบียน ค าขอโอนหรอรบมรดก
ื่

สิทธิ ในเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้ว
(๔) ค าขอจดทะเบียนสัญญาอนุญาตให้ใช้เครองหมายการค้า ค าขอจดทะเบียนตอ
ื่

อายุสัญญาอนุญาตให้ใช้เครื่องหมายการค้า
(๕) ค าขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการจดทะเบียน
(๖) ค าขอต่ออายุการจดทะเบียน
(๗) ค าขอให้เพิกถอนการจดทะเบียน
หน้า | 68

(๘) ค าขอถือสิทธิวนที่ยนค าขอนอกราชอาณาจักรครงแรก หรอวันที่นาสินค้าที่ใช้



ื่
ั้

เคร่องหมายออกแสดงในงานแสดงสินค้าระหว่างประเทศเป็นวันย่นค าขอในราชอาณาจักรตามมาตรา

๒๘ หรอมาตรา ๒๘ ทวิ

(๙) หนังสือแสดงการปฏิเสธ
(๑๐) หนังสือแจ้งฟ้องคดีต่อศาล ค าพิพากษา และผลคด ี
(๑๑) ค าขออื่น ๆ และหนังสือต่าง ๆ
โดยไม่รวมถึงค าขอตรวจดทะเบียนหรอสารบบ ค าขอคัดส าเนาเอกสาร ค าขอให้


รับรองส าเนาเอกสารและรายการจดทะเบียน ค าขอใบแทนหนังสือส าคัญแสดงการจดทะเบียน


“ระบบ e-Filing” หมายความว่าระบบการจดทะเบียนทรพยสินทางปัญญาทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Filing)
ข้อ ๓ ในการยนค าขอจดทะเบียนเครองหมายการค้า หรอค าขออน ๆ ผ่านทาง
ื่
ื่

ื่


ระบบ e-Filing ให้ผู้ยนค าขอใช้ใบรบรองอเล็กทรอนกส์ (Electronic Certificate) ที่ไดรบจากกรม
ื่



ทรัพย์สินทางปัญญาแทนการลงลายมือชื่อในค าขอดังกล่าว
ื่


ข้อ ๔ ผู้ยนค าขอตองปฏบัตตามข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้งานตามที่

ระบบ e-Filing ก าหนด
หมวด ๑
ข้อก าหนดในการยื่นค าขอ และการส่งเอกสารหลักฐาน


ื่
ข้อ ๕ ให้ผู้ยื่นค าขอกรอกข้อมูลในค าขอจดทะเบียนเครองหมายการค้า หรือค าขอ
อื่น ๆ ที่ประสงค์จะยื่นผ่านทางระบบ e-Filing ให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งแนบเอกสารหลักฐานที่มีความ
ชัดเจนถูกต้อง ตามวิธีการ รูปแบบและมาตรฐานที่ระบบ e-Filing ก าหนดไว้

ื่
ข้อ ๖ ภายใต้บังคับข้อ ๕ และในกรณีที่ประกาศน้มิได้ก าหนดไว้เป็นอยางอน

ื่
ให้ผู้ยนค าขอแนบเอกสารหลักฐานตามที่ค าขอจดทะเบียนและค าขออน ๆ ในเรองนน ๆ ก าหนดไว้ให้
ั้
ื่
ื่
ครบถ้วน (ถ้ามี) เช่น
(๑) หนังสือมอบอ านาจ

ื่
(๒) ส าเนาบัตรประจ าตวประชาชนหรอบัตรประจ าตัวอน ๆ ที่ทางราชการออกให้

ของบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่งมิใช่ผู้ยื่นค าขอ
ื่
(๓) รายชื่อและเอกสารหรือค าชี้แจงแสดงความสัมพันธ์ของผู้มีสิทธิใช้เครองหมาย
ร่วม (กรณีค าขอจดทะเบียนเครื่องหมายร่วม)
ื่

(๔) ข้อบังคับหรอข้อก าหนดหลักเกณฑ์การใช้เครองหมายรบรอง (กรณีค าขอจด

ทะเบียนเครื่องหมายรับรอง)
(๕) หนังสือยินยอมจากผู้โอนหรือผู้รับโอนตามมาตรา ๕๑/๑
ื่

(๖) หนงสืออนญาตให้ใช้ลายมือชื่อหรอภาพของบุคคลอนเป็นเครองหมาย

ื่

การค้า (กรณีเครื่องหมายการค้าที่ขอจดทะเบียนเป็นลายมือชื่อหรือภาพของบุคคลอื่น)
(๗) ภาพถ่ายใบมรณบัตร หนังสือยืนยันของทายาทผู้รับมรดก ภาพถ่ายพินัยกรรม
หรือส าเนาค าสั่งตั้งผู้จัดการมรดก พร้อมด้วยส าเนาบัตรประจ าตัวประชาชนผู้เกี่ยวข้อง (กรณีการรับมรดก)
หน้า | 69

(๘) หนังสือส าคัญแสดงกรรมสิทธิ์ของผู้ซื้อเครื่องหมายการค้าจากการขายทอดตลาด
ของส านักงานบังคับคดีและวางทรัพย์ (กรณีการโอนโดยการขายทอดตลาด)
(๙) หนังสือแจ้งข้อเท็จจริงและเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการบังคับหลักประกันหรอ ื
ค าพิพากษาบังคับหลักประกัน (กรณีการโอนโดยกฎหมายว่าด้วยหลักประกันทางธุรกิจ)

(๑๐) หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุล หรอเอกสารหลักฐานประกอบการแก้ไข
เปลี่ยนแปลง (กรณีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการจดทะเบียน)

(๑๑) ส าเนาค าขอจดทะเบียนนอกราชอาณาจักร หนงสือรบรองการจัดงานแสดง

ื่


สินค้าระหว่างประเทศ เอกสารแสดงว่าผู้ขอไดนาสินค้าที่ใช้เครองหมายออกแสดงในงานแสดงสินค้า
ู่
ระหว่างประเทศ เอกสารแสดงว่านตบุคคลที่ยนค าขอจดทะเบียนครงแรกมีส านกงานแห่งใหญ่อยใน

ื่


ั้
ประเทศไทย เอกสารที่แสดงว่าผู้ขอมีภูมิล าเนาหรือประกอบอตสาหกรรมหรือพาณิชยกรรมอย่างจริงจังใน





ั้

ประเทศไทย หนงสือรบรองที่แสดงว่าค าขอจดทะเบียนครงแรกไม่เคยถูกปฏเสธหรอถอนคืนหรอละทิ้ง








หรอถูกปฏเสธหรอถอนคืนหรอละทิ้ง แตยงไม่เคยขอใช้สิทธิและไม่อาจดาเนนการใดตามกฎหมายของ
ประเทศนนและไม่ไดมีการเปิดเผยตอสาธารณชน ค าแปลเป็นภาษาไทย (กรณีขอถือสิทธิวันที่ยนค าขอ

ั้

ื่


นอกราชอาณาจักรเป็นครงแรกหรอวันที่นาสินค้าที่ใช้เครองหมายออกแสดงในงานแสดงสินค้าระหว่าง
ั้
ื่
ประเทศเป็นวันยื่นค าขอในราชอาณาจักร)


(๑๒) ส าเนาค าฟ้องหรอส าเนาค าพิพากษาฉบับที่ศาลรบรอง หรอส าเนาหนงสือ


รับรองคดีถึงที่สุด (กรณีแจ้งการฟ้อง หรือค าพิพากษาและผลคดี)
ื่
ข้อ ๗ ในกรณีที่เครองหมายการค้าที่ขอจดทะเบียนเป็นเสียงหรอประกอบดวย


ื่
ื่
เสียง ให้ผู้ยนค าขอแนบเครองหมายเสียงตามวิธีการ รปแบบ และมาตรฐานที่ระบบ e-Filing ก าหนดไว้

และให้ถือว่าได้ส่งสิ่งบันทึกเสียงที่ขอจดทะเบียนให้แก่นายทะเบียนแล้ว


ข้อ ๘ ในกรณีการคัดค้านการจดทะเบียนและการโตแยงค าคัดค้าน ให้ถือว่าการ
ยื่นค าคัดค้านการจดทะเบียน หรือค าโต้แย้งค าคัดค้านผ่านทางระบบ e-Filing เป็นการแนบส าเนา
ค าคัดค้านหรอส าเนาค าโตแยงให้แก่นายทะเบียนแล้ว



ข้อ ๙ ในกรณีการโอนสิทธิในค าขอจดทะเบียนหรอโอนสิทธิในเครื่องหมายการค้า

ให้ผู้ยนค าขอแนบสัญญาโอนในระบบ e-Filing พรอมกับค าขอ และให้ถือว่าเป็นการส่งสัญญาโอนให้แก่
ื่

นายทะเบียนแล้ว
ข้อ ๑๐ ในกรณีการโอนสิทธิในเครองหมายการค้า ให้เจ้าของเครื่องหมายการค้า
ื่
ส่งหนังสือส าคัญแสดงการจดทะเบียนหรอใบแทนหนังสือส าคัญแสดงการจดทะเบียน ให้แก่นายทะเบียน




ื่

ณ กรมทรพยสินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย ภายในสิบห้าวันนบถัดจากวันที่ไดยนค าขอผ่านทาง

ระบบ e-Filing
ในกรณีการขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าของตนเอง ให้เจ้าของ
เครื่องหมายการค้าส่งหนังสือส าคัญแสดงการจดทะเบียน ใบแทนหนังสือส าคัญแสดงการจดทะเบียน หรือ

ื่

หนงสือยนยนจากเจ้าของเครองหมายการค้าหรอตวแทนว่าหนงสือส าคัญสูญหาย ให้แก่นายทะเบียน ณ





กรมทรพยสินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย ภายในสิบห้าวันนบถัดจากวันที่ไดยนค าขอผ่านทาง



ื่

ระบบ e-Filing

หน้า | 70

หากเจ้าของเครองหมายการค้าไม่ส่งเอกสารภายในระยะเวลาที่ก าหนดในวรรค
ื่
ึ่


ื่
ื่

หนงหรอวรรคสอง ให้ถือว่าเจ้าของเครองหมายการค้าไม่ประสงค์จะดาเนนการโอนสิทธิในเครองหมาย
ื่
การค้าหรอให้เพิกถอนการจดทะเบียนเครองหมายการค้า และให้นายทะเบียนมีค าสั่งไม่อนญาตค าขอ


ดังกล่าว
ื่
ข้อ ๑๑ ในกรณีการขอจดทะเบียนสัญญาอนญาตให้ใช้เครองหมายการค้า การ


แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการการจดทะเบียนสัญญาอนญาตให้ใช้เครื่องหมายการค้า และการขอเพิกถอนการ

จดทะเบียนสัญญาอนญาตให้ใช้เครื่องหมายการค้า ให้เจ้าของเครื่องหมายการค้าหรือผู้ขอจดทะเบียนเป็น
ผู้ได้รับอนุญาตแนบสัญญาอนุญาต สัญญาอนุญาตซึ่งมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือเอกสารที่แสดงว่าสัญญา
อนุญาตให้ใช้เครื่องหมายการค้าสิ้นสุดแล้ว แล้วแต่กรณี มาพร้อมกับค าขอ และให้ถือว่าเป็นการส่งเอกสาร
ดังกล่าวให้แก่นายทะเบียนแล้ว
ข้อ ๑๒ ในกรณีการอุทธรณ์ค าสั่งหรือค าวินิจฉัยของนายทะเบียน หรือขอให ้
ื่

ื่
เพิกถอนการจดทะเบียนเครองหมายการค้าของบุคคลอน ให้ถือว่าการอทธรณ์หรอการยนค าขอให้เพิก
ื่

ถอนการจดทะเบียนเครองหมายการค้าผ่านทางระบบ e-Filing เป็นการแนบส าเนาค าอทธรณ์หรอค า


ื่
ขอให้เพิกถอนการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าด้วยแล้ว
ื่
ข้อ ๑๓ ในกรณีที่ผู้ยนค าขอประสงค์ส่งเอกสารหลักฐานอน ๆ เพิ่มเตมเพื่อ

ื่
ื่
ประกอบการพิจารณาของนายทะเบียนหรอคณะกรรมการเครองหมายการค้า เช่น เอกสารหลักฐานการ

น าสืบลักษณะบ่งเฉพาะที่เกดจากการใช้เครองหมายการค้า เอกสารหลักฐานประกอบค าขอถือสิทธิวันที่ยน
ื่

ื่
ค าขอนอกราชอาณาจักรครงแรกหรอวันที่น าสินค้าที่ใช้เครองหมายออกแสดงในงานแสดงสินค้าระหว่าง

ื่
ั้




ประเทศเอกสารประกอบค าคัดค้านหรอค าโตแยง เอกสารหลักฐานประกอบอทธรณ์หรอขอให้เพิกถอน

ื่
ื่

การจดทะเบียนเครองหมายการค้าของบุคคลอน ให้ส่งเอกสารหลักฐานดงกล่าวภายในสิบห้าวันนับถัด
จากวันที่ได้ย่นค าขอจดทะเบียนหรือค าขออ่น ๆ ผ่านทางระบบ e-Filing เว้นแตผู้ยนค าขอจะไดมี

ื่




ื่

หนงสือขอผ่อนผันการส่งเอกสารหลักฐานดงกล่าวไว้ ให้ผู้ยนค าขอส่งเอกสารหลักฐานดงกล่าวภายใน

ระยะเวลาที่ขอผ่อนผันไว้
ื่
ในกรณีที่ผู้ยนค าขอไม่ส่งเอกสารหลักฐานภายในระยะเวลาที่ก าหนดในวรรคหนึ่ง

และมิไดมีหนงสือขอผ่อนผันไว้ ให้ถือว่าผู้ยนค าขอไม่ประสงค์จะส่งเอกสารหลักฐานนั้น และค าขอนนจะ
ั้

ื่
ได้รับการพิจารณาโดยไม่มีเอกสารหลักฐานดังกล่าว


ข้อ ๑๔ ให้ผู้ย่นค าขอเก็บรักษาเอกสารหลักฐานต่างๆ ซึ่งได้ย่นผ่านทาง
ระบบ e-Filing ไว้เพื่อตรวจสอบในกรณีนายทะเบียนหรอคณะกรรมการเครองหมายการค้าเห็นว่า
ื่

เอกสารหลักฐานต่างๆ ไม่ชัดเจน ไม่ครบถ้วน หรือไม่ถูกต้อง
ข้อ ๑๕ การส่งเอกสารหลักฐานตามข้อ ๑๐ และข้อ ๑๓ ให้ใช้แบบหนงสือนาส่ง



เอกสารหลักฐานและค าชี้แจง (แบบ ก. ๒๐) โดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรบถึงนายทะเบียน หรอ ื

น าส่งด้วยตนเอง ณ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย ์

ในกรณีส่งทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรบ ให้ถือวันที่ประทับตราไปรษณียเป็น


ส าคัญ


ในกรณีการนาส่งดวยตนเอง ให้ถือวันที่กรมทรพยสินทางปัญญาไดรบเอกสาร




หลักฐานเป็นส าคัญ
หน้า | 71

หมวด ๒
การได้รับเลขที่ค าขอและวันยื่นค าขอรับจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
และการได้รับวันยื่นค าขออื่น ๆ



ื่
ื่
ข้อ ๑๖ ผู้ยนค าขอจะไดรบเลขที่ค าขอและวันยนค าขอจดทะเบียนเครองหมาย
ื่

การค้าในวันที่ผู้ยื่นค าขอได้ส่งข้อมูลของค าขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าเข้าสู่ระบบ e-Filing แล้ว
ื่
ในกรณีค าขออื่น ๆ ผู้ยื่นค าขอจะได้รับวันยื่นค าขออน ๆ เมื่อผู้ยื่นค าขอได้ส่งข้อมูล
ของค าขออื่น ๆ เข้าสู่ระบบ e-Filing แล้ว
หมวด ๓
การช าระค่าธรรมเนียมการยื่นค าขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า หรือค าขออื่น ๆ
และการช าระค่าธรรมเนยมตามการแจ้งหรือค าสั่งของนายทะเบียน


ื่
ข้อ ๑๗ ผู้ยนค าขอสามารถเลือกช าระค่าธรรมเนยมการยนค าขอจดทะเบียน
ื่

เครื่องหมายการค้าหรือค าขออื่น ๆ ในคราวเดียวกัน โดยวิธีการและระยะเวลาที่ก าหนด ดังต่อไปน ี้


(๑) กรณีช าระค่าธรรมเนยมผ่านผู้ให้บรการรบช าระค่าธรรมเนียมที่กรมทรพย์สิน


ทางปัญญาได้ท าความตกลงไว้ ให้ช าระภายใน ๒๒.๐๐ นาฬิกา ของวันถัดไปของวันที่ได้ย่นค าขอจด


ื่
ทะเบียนเครองหมายการค้า หรอค าขออน ๆ แล้วแตกรณี
ื่





(๒) กรณีช าระค่าธรรมเนยม ณ กรมทรพยสินทางปัญญา หรอส านกงานพาณิชย ์

จังหวัด ให้ช าระภายใน ๑๕.๓๐ นาฬิกา ของวันท าการถัดไปของวันที่ไดยื่นค าขอจดทะเบียนเครื่องหมาย

การค้าหรือค าขออื่นๆ


ื่
ในกรณีที่ผู้ยนค าขอไม่ช าระค่าธรรมเนยมภายในก าหนดเวลาตาม (๑) หรอ (๒)
หรือช าระไม่ครบถ้วน ให้ถือว่าผู้ยื่นค าขอไม่ประสงค์จะด าเนินการกับค าขอจดทะเบียนเครองหมายการค้า
ื่
ื่

ื่
ี้
ื่

หรอค าขออน ๆ หรอละทิ้งค าขอจดทะเบียนเครองหมายการค้า หรอค าขออนๆ แล้วแตกรณี ทั้งน นาย


ทะเบียนจะจ าหน่ายค าขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า หรือค าขออื่นๆ ออกจากระบบ e-Filing ต่อไป




การขอคืนค่าธรรมเนยมซึ่งช าระไม่ครบถ้วน สามารถดาเนนการได ณ
ื่

ื่


กรมทรัพย์สินทางปัญญา ภายใน ๓๐ วันนบแตวันยนค าขอจดทะเบียนเครองหมายการค้า หรอค าขอ

ื่
อนๆ แล้วแตกรณี
ื่

ข้อ ๑๘ กรณีที่นายทะเบียนแจ้งหรอมีค าสั่งให้ผู้ยนค าขอช าระค่าธรรมเนยม


ื่
ื่
การจดทะเบียนเครองหมายการค้า การจดทะเบียนสัญญาอนญาตให้ใช้เครองหมายการค้า หรอช าระ



ื่
ค่าธรรมเนยมอนใดเพิ่มเตม ผู้ยนค าขอสามารถเลือกช าระค่าธรรมเนยมภายในก าหนดเวลาการแจ้งหรือ

ื่
ค าสั่งของนายทะเบียนในคราวเดียวกัน โดยวิธีการและระยะเวลาที่ก าหนด ดังต่อไปน ี้


(๑) กรณีช าระค่าธรรมเนยมผ่านผู้ให้บรการรบช าระค่าธรรมเนยมที่กรมทรพย์สิน



ทางปัญญาได้ท าความตกลงไว้ หากช าระในวันสุดท้ายของวันครบก าหนดเวลาการแจ้งหรอค าสั่งของนาย

ทะเบียนให้ช าระภายใน ๒๒.๐๐ นาฬิกา ของวันดังกล่าว


หน้า | 72




(๒) กรณีช าระค่าธรรมเนยม ณ กรมทรพยสินทางปัญญา หรอส านกงานพาณิชย ์



จังหวัด หากช าระในวันสุดท้ายของวันครบก าหนดเวลาการแจ้งหรอค าสั่งของนายทะเบียน ให้ช าระภายใน
๑๕.๓๐ นาฬิกา ของวันดังกล่าว

ึ่
ในกรณีที่ผู้ยนค าขอไม่ช าระค่าธรรมเนยมภายในก าหนดเวลาตามวรรคหนง หรอ

ื่
ื่
ช าระไม่ครบถ้วน ให้ถือว่าผู้ยื่นค าขอไม่ประสงค์จะด าเนินการกับค าขอจดทะเบียนเครองหมายการค้า หรือ
ื่


ค าขออนๆ ตอไป และถือว่าเป็นการละทิ้งค าขอนน ทั้งน นายทะเบียนจะจ าหนายค าขอจดทะเบียน
ี้
ั้
เครื่องหมายการค้าหรือค าขออื่น ๆ ออกจากระบบ e-Filing ต่อไป
การขอคืนค่าธรรมเนยมซึ่งช าระไม่ครบถ้วน สามารถดาเนนการได ณ กรม





ทรัพย์สินทางปัญญา ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ได้ช าระค่าธรรมเนยมตามวรรคหนึ่ง
หมวด ๔
การแจ้งค าสั่ง ค าวินิจฉัยของนายทะเบียนหรือเจ้าหน้าที่

ข้อ ๑๙ การแจ้งค าสั่ง ค าวินิจฉัยของนายทะเบียนที่เกี่ยวกับการพิจารณาค าขอที่ได ้

ื่



ี้
ยนตามประกาศฉบับน ให้นายทะเบียนแจ้งให้ผู้ยนค าขอทราบหรอดาเนนการเป็นหนงสือทางไปรษณีย ์
ื่
ลงทะเบียนตอบรับ โดยให้แจ้งไปยังสถานที่ติดต่อที่ผู้ยื่นค าขอได้ให้ไว้ในค าขอนั้น
ในกรณีที่ไม่สามารถส่งหนังสือตามวรรคหนึ่งได้ ให้นายทะเบียนส่งหนังสือแจ้งค าสั่ง
ื่



ื่
ทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรบไปยงสถานที่ตดตอที่ผู้ยนค าขอไดให้ไว้ในค าขอจดทะเบียนเครองหมาย



ื่
การค้าหรือค าขออน ๆ อีกครั้งหนึ่ง เมื่อได้ส่งหนังสือดังกล่าวและเวลาได้ล่วงพ้นไปเจ็ดวันแล้ว ให้ถือว่าผู้ยน
ื่
ค าขอนั้นได้รับหนังสือนั้นแล้ว

หมวด ๕
บทเฉพาะกาล

ข้อ ๒๐ ให้การด าเนินการเกี่ยวกับค าขอจดทะเบียนเครองหมายการค้า หรือค าขอ
ื่
อื่นๆ ที่ได้ยื่นผ่านทางอินเทอร์เนต (e-Trademark filing) ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ อยู่ภายใต้ประกาศ


ื่
ื่
กรมทรพยสินทางปัญญา เรอง ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขส าหรบการยนค าขอจดทะเบียน


ื่


ื่


เครองหมาย และค ารองหรอค าขออน ๆ ผ่านทางอนเทอรเนต ลงวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๙ จนกว่าจะถึง

ที่สุด
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ทศพล ทังสุบุตร
อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา


หน้า | 73

ประกาศกรมทรัพย์สินทางปัญญา
ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขส าหรับการยื่นค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรค าร้องหรือค า
ขออื่น ๆ ผ่านทางระบบการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Filing)



เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกในการให้บรการภาคธุรกิจเอกชนและประชาชน


ทั่วไปในการย่นค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ค าร้องหรือค าขออ่น ๆ กรมทรัพย์สินทางปัญญาจึง

ื่




ื่
เปิดให้บรการแก่ผู้ที่ประสงค์จะยนค าขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตร ค ารองหรอค าขออน ๆ ผ่านระบบ


ื่





การจดทะเบียนทรพยสินทางปัญญาทางอเล็กทรอนกส์ (e-Filing) แทนการมายนค าขอดวยตนเองได้อีก
ทางหนึ่ง
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๘ (๒) มาตรา ๓๓ มาตรา ๖๕ มาตรา ๖๕


เบญจมาตรา ๖๕ ทศ และมาตรา ๗๔ แห่งพระราชบัญญตสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมข้อ

๔ วรรคสอง และข้อ ๙ วรรคสองแห่งกฎกระทรวงฉบับที่ ๒๒ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๗ วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติการอ านวยความสะดวกใน

การพิจารณาอนญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัตว่าดวยธุรกรรมทาง




อเล็กทรอนกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ พระราชกฤษฎกาก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการท าธุรกรรมทาง

อเล็กทรอนกส์ภาครฐ พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกอบกับมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัตระเบียบบรหารราชการ






แผ่นดน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเตมโดยพระราชบัญญตระเบียบบรหารราชการแผ่นดน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.





๒๕๔๕ อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญาจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปน ี้

ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศกรมทรพย์สินทางปัญญา เรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขส าหรับการยื่นค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ค าร้องหรือค าขออื่น ๆ ผ่านทางอินเทอร์เนต

ลงวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๘
ข้อ ๒ ในประกาศน ี้




“ผู้ยนค าขอ” หมายความว่า ผู้ยนค าขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตร ค ารองหรอ ื
ื่
ื่
ค าขออน ๆ ผ่านทางระบบ e-Filing
ื่
“ค าร้องหรือค าขออื่น ๆ” หมายความว่า
(๑) ค าขอรับความคุ้มครองการประดิษฐ์ในประเทศไทย
(๒) ค ารับรองเกี่ยวกับสิทธิขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรและ Statement
of Applicant’s Right to Apply for a Patent/ Petty Patent
ื่

ื่
ั้
(๓) ค าขอถือสิทธิให้ถือวันยนค าขอในตางประเทศเป็นครงแรกเป็นวันยนค าขอใน
ไทย
(๔) ค าขอแก้ไขเพิ่มเติมค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร
(๕) ค าขอเปลี่ยนแปลงประเภทของสิทธิ
(๖) ค าขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์
(๗) ค าขอตรวจค้นค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร และคัดส าเนาเอกสาร
(๘) ค าคัดค้าน
(๙) ค าโต้แย้ง
(๑๐) ค าขอน าพยานหลักฐานมาแสดงหรือแถลงเพิ่มเติม
หน้า | 74

(๑๑) ค าอุทธรณ์
(๑๒) ค าขอช าระค่าธรรมเนียมรายปี/คราวเดียว/ต่ออาย ุ
(๑๓) ค าขออื่น ๆ
(๑๔) ค าขอคืนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรหรือเลิกข้อถือสิทธิบางข้อ
(๑๕) ค าขอใบแทนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร หรือใบแทนใบอนุญาตให้ใช้สิทธิตาม
สิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร
(๑๖) ค าขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตให้เป็นตัวแทนสิทธิบัตร
(๑๗) ค าขอรับใบแทนใบอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนเป็นตัวแทนสิทธิบัตร
(๑๘) ค าขอแก้ไขเพิ่มเติมรายการในทะเบียนหรือใบอนุญาตให้เป็นตัวแทนสิทธิบัตรใหม่
(๑๙) ค าขอมีบัตร ค าขอมีบัตรใหม่และค าขอเปลี่ยนบัตรตัวแทนสิทธิบัตร
(๒๐) ค าขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตฯ (กรณีใบเดิมถูกเพิกถอน)
(๒๑) ค าขอบันทึกค ายินยอมให้บุคคลอื่นใช้สิทธิตามสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร
(๒๒) ค าขออนุญาตใช้สิทธิตามสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร
(๒๓) ค าขอให้ยกเลิกใบอนุญาตให้ใช้สิทธิตามสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร
(๒๔) ค าขอจดทะเบียนการอนุญาตให้ใช้สิทธิตามสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร

(๒๕) ค าขอจดทะเบียนการโอนสิทธิบัตรหรออนุสิทธิบัตร และการรับโอนสิทธิบัตร
หรืออนุสิทธิบัตรโดยทางมรดก
(๒๖) ค าขอรับบ าเหน็จพิเศษ
(๒๗) ค าร้องเพื่อขอฟื้นสิทธิให้ค าขอระหว่างประเทศยังคงมีผลในประเทศไทย
(๒๘) ค าร้องขอให้ทบทวนผลการพิจารณาค าขอระหว่างประเทศ
(๒๙) ค าร้องขอให้ด าเนินการกับค าขอระหว่างประเทศก่อนครบก าหนด ๓๐ เดือน
(๓๐) แบบค าร้องขอให้หน่วยงานอื่นตรวจสอบการประดิษฐ์
(๓๑) จดหมายชี้แจง
“ระบบ e-Filing” หมายความว่าระบบการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Filing)
ข้อ ๓ ในการยื่นค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ค าร้องหรือค าขออื่น ๆ

ผ่านทางระบบ e-Filing ให้ผู้ยนค าขอใช้ใบรบรองอเล็กทรอนกส์ (Electronic Certificate) ที่ไดรบจาก



ื่

กรมทรัพย์สินทางปัญญาแทนการลงลายมือชื่อในค าขอหรือค าร้องดังกล่าว
ข้อ ๔ ผู้ยื่นค าขอต้องปฏิบัติตามข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้งานตามที่ระบบ
e-Filing ก าหนด

ื่

ข้อ ๕ ผู้ยนค าขอมีหนาที่ตดตามและตรวจสอบ สถานะค าขอ การแจ้งค าสั่งค าวินจฉัย

ของพนักงานเจ้าหน้าที่ อธิบดี หรือคณะกรรมการสิทธิบัตร






ื่
ข้อ ๖ เมื่อผู้ยนค าขอไดยนค าขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตรค ารอง หรอค าขอ
ื่




ื่
อน ๆ ตามประกาศฉบับนแล้ว ให้ถือว่าผู้ยนค าขอมีความประสงค์ที่จะให้พนกงานเจ้าหนาที่ดาเนนการ
ี้

ื่
ี่
ี้

เกยวกบค าขอตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ตามประกาศฉบับนทุกประการแม้ภายหลัง
ผู้ยื่นค าขอจะไม่ได้ด าเนินการยื่นค าขอดังกล่าวผ่านทางระบบ e-Filing
หน้า | 75

หมวด ๑
ข้อก าหนดในการยื่นค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ค าร้องหรือค าขออื่น ๆ
และการส่งเอกสารหลักฐาน


ข้อ ๗ ให้ผู้ยื่นค าขอกรอกข้อมูลในค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ค าร้องหรือค า
ขออื่นๆ ที่ประสงค์จะยื่นต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญาผ่านทางระบบ e-Filing ให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้ง
แนบเอกสารหลักฐานตามที่พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ และอนุบัญญัติก าหนดไว้ในรูปของข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความชัดเจน ถูกต้องตามวิธีการ รูปแบบและมาตรฐานที่ระบบ e-Filing ก าหนดไว้



ข้อ ๘ ในการยนเอกสารหลักฐานส าหรบประกอบการพิจารณาของพนกงาน
ื่

เจ้าหน้าที่ อธิบดีหรือคณะกรรมการสิทธิบัตรตามข้อ ๗ ที่ไม่สามารถท าให้อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

ื่

ได้ให้ผู้ยื่นค าขอยนเอกสารหลักฐานดังกล่าวต่อพนกงานเจาหน้าที่ ณ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวง
พาณิชย หรอส่งทางไปรษณียซึ่งจะถือตราประทับไปรษณียเป็นส าคัญ ทั้งน ภายในระยะเวลาที่

ี้



พระราชบัญญัติสิทธิบัตรพ.ศ. ๒๕๒๒ และอนุบัญญัติก าหนดให้ต้องยื่นค าร้องหรือค าขออื่นๆ นั้นไว้
ื่





ื่

ข้อ ๙ การยนค าขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตร ค ารองหรอค าขออนๆ หรอ
เอกสารหลักฐานผ่านทางระบบ e-Filing ให้ถือเป็นการยื่นค าขอ เอกสารหลักฐาน และส าเนาเพื่อประกอบ




ค าขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตร ค ารองหรอค าขออนๆ ตามที่พระราชบัญญัตสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒
ื่


และอนุบัญญัติก าหนดแล้ว



ข้อ ๑๐ ในกรณีที่พนกงานเจ้าหนาที่ หรอคณะกรรมการสิทธิบัตร เห็นว่าเอกสาร




หรอหลักฐานที่อยในรปของข้อมูลอเล็กทรอนกส์ไม่ถูกตองครบถ้วนหรอไม่ชัดเจน พนกงานเจ้าหนาที่
ู่





จะเรยกให้ผู้ยนค าขอมาให้ถ้อยค าชี้แจง หรอให้ส่งเอกสาร หรอสิ่งใดเพิ่มเตมตามมาตรา ๒๗ แห่ง


ื่


ื่
พระราชบัญญัตสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ หรอคณะกรรมการสิทธิบัตรจะให้ผู้ยนค าขอนาพยานหลักฐานมา


แสดงหรือแถลงเพิ่มเติมตามมาตรา ๗๓ แห่งพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ ก็ได ้
หมวด ๒
การได้รับเลขที่ค าขอและวันยื่นค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร
และการได้รับวันยื่นค ารองหรือค าขออื่นๆ


ข้อ ๑๑ ผู้ยื่นค าขอจะได้รับเลขที่ค าขอและวันยื่นค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร
ในวันที่ผู้ยื่นค าขอได้ส่งข้อมูลของค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรเข้าสู่ระบบ e-Filing แล้ว
ในกรณีค าร้องหรือค าขออื่นๆ ผู้ยื่นค าขอจะได้รับวันยื่นค าร้องหรือค าขออื่นๆ เมื่อผู้
ยื่นค าขอไดส่งข้อมูลของค าร้องหรือค าขออื่นๆ เข้าสู่ระบบ e-Filing แล้ว




หน้า | 76

หมวด ๓
การช าระค่าธรรมเนียมการยื่นค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ค าร้องหรือค าขออื่น ๆ

และการช าระค่าธรรมเนยมตามการแจ้งหรือค าสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่



ื่
ข้อ ๑๒ ผู้ยนค าขอสามารถเลือกช าระค่าธรรมเนยมการยนค าขอรบสิทธิบัตรหรือ
ื่

อนุสิทธิบัตรค าร้องหรือค าขออื่น ๆ ในคราวเดียวกัน โดยวิธีการและระยะเวลาที่ก าหนด ดังต่อไปน ี้




(๑) กรณีช าระค่าธรรมเนยมผ่านผู้ให้บรการรบช าระค่าธรรมเนียมที่กรมทรพย์สิน
ทางปัญญาได้ท าความตกลงไว้ ให้ช าระภายใน ๒๒.๐๐ นาฬิกา ของวันถัดไปของวันยนค าขอรับสิทธิบัตร
ื่
หรืออนุสิทธิบัตรหรือของวันที่ได้รับวันยื่นค าร้องหรือค าขออื่น ๆ แล้วแต่กรณี
(๒) กรณีช าระค่าธรรมเนยม ณ กรมทรพยสินทางปัญญาหรอส านกงานพาณิชย ์





ื่
จังหวัด ให้ช าระภายใน ๑๕.๓๐ นาฬิกา ของวันท าการถัดไปของวันที่ได้รับเลขที่ค าขอและวันยนค า
ื่

ขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตร หรอของวันที่ไดรบวันยนค ารองหรอค าขออน ๆ แล้วแตกรณี




ื่






ื่
ในกรณีที่ผู้ยนค าขอไม่ช าระค่าธรรมเนยมภายในก าหนดเวลาตาม (๑) หรอ (๒)

ื่




หรอช าระไม่ครบถ้วน ให้ถือว่าผู้ยนค าขอไม่ประสงค์จะดาเนนการกับค าขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตร

ื่
หรือละทิ้งค าร้องหรือค าขออน ๆ แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ พนักงานเจ้าหน้าที่จะจ าหน่ายค าขอรับสิทธิบัตรหรอ

อนุสิทธิบัตรค าร้องหรือค าขออื่น ๆ ออกจากระบบ e-Filing ต่อไป


การขอคืนค่าธรรมเนยมซึ่งช าระไม่ครบถ้วน สามารถดาเนนการได ณ กรม







ื่

ทรพยสินทางปัญญา ภายใน ๓๐ วันนบแตวันที่ไดเลขค าขอและวันยนค าขอรับสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตร

หรือนับแต่วันที่ได้รับวันยื่นค าร้องหรือค าขออื่น ๆ แล้วแต่กรณี


ข้อ ๑๓ กรณีที่พนกงานเจาหนาที่แจ้งหรอมีค าสั่งให้ผู้ยนค าขอช าระค่าธรรมเนียม


ื่

การประกาศโฆษณาค าขอรบสิทธิบัตรตามมาตรา ๒๘ (๒) หรอมาตรา ๖๕ ประกอบดวยมาตรา ๒๘ (๒)




ค่าธรรมเนยมการออกอนสิทธิบัตรและค่าธรรมเนยมประกาศโฆษณาตามมาตรา ๖๕ เบญจ (๒)




ค่าธรรมเนยมการออกสิทธิบัตรตามมาตรา ๓๓ หรอมาตรา ๖๕ ประกอบดวยมาตรา ๓๓ แห่ง
พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ ผู้ยื่นค าขอสามารถเลือกช าระค่าธรรมเนยมภายในก าหนดเวลาการ

แจ้งหรือค าสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ในคราวเดียวกัน โดยวิธีการและระยะเวลาที่ก าหนดดังต่อไปน ี้



(๑) กรณีช าระค่าธรรมเนยมผ่านผู้ให้บรการรบช าระค่าธรรมเนียมที่กรมทรพย์สิน


ทางปัญญาไดท าความตกลงไว้ หากช าระในวันสุดท้ายของวันครบก าหนดเวลาการแจ้งหรอค าสั่งของ

พนักงานเจ้าหน้าที่ให้ช าระภายใน ๒๒.๐๐ นาฬิกา ของวันดังกล่าว

(๒) กรณีช าระค่าธรรมเนยม ณ กรมทรพยสินทางปัญญาหรอส านกงานพาณิชย ์





จังหวัด หากช าระในวันสุดท้ายของวันครบก าหนดเวลาการแจ้งหรอค าสั่งของพนกงานเจาหนาที่ ให้ช าระ



ภายใน ๑๕.๓๐ นาฬิกา ของวันดังกล่าว


ในกรณีที่ผู้ย่นค าขอไม่ช าระค่าธรรมเนียมภายในก าหนดเวลาตามวรรคหน่ง


หรือไม่ช าระให้ครบถ้วน ให้ถือว่าผู้ยนค าขอละทิ้งค าขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตรตามมาตรา ๒๘ (๒)

ื่
มาตรา ๖๕ ประกอบด้วยมาตรา ๒๘ (๒) มาตรา ๖๕ เบญจ (๒) มาตรา ๓๓ หรือมาตรา ๖๕ ประกอบด้วย
มาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ แล้วแต่กรณี
การขอคืนค่าธรรมเนียมซึ่งช าระไม่ครบถ้วน สามารถด าเนินการได้ ณ กรม

ทรัพยสินทางปัญญา ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ได้ช าระค่าธรรมเนียมตามวรรคหนึ่ง
หน้า | 77

หมวด ๔
การแจ้งค าสั่ง ค าวินิจฉัยของพนักงานเจ้าหน้าที่ อธิบดี หรือคณะกรรมการสิทธิบัตร



ข้อ ๑๔ การแจ้งค าสั่ง ค าวินิจฉัยของพนักงานเจ้าหน้าที่ อธิบดี หรือคณะกรรมการ


สิทธิบัตรที่เกี่ยวกับการพิจารณาค าขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตร ค ารองหรอค าขออน ๆ ที่ไดยนตาม
ื่
ื่





ประกาศฉบับน้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งผู้ย่นค าขอผ่านทางระบบ e-Filing และแจ้งเตือนทาง E-



ื่
mail address ของผู้ยนค าขอตามที่ระบุไว้ในใบรบรองอเล็กทรอนกส์ (Electronic Certificate)


การแจ้งโดยวิธีการตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้ยื่นค าขอได้รับแจ้งค าสั่งหรือค าวินจฉัย






เมื่อผู้ยนค าขอเรยกดค าวินจฉัยหรอค าสั่งผ่านทางระบบ e-Filing หรอเมื่อพ้นก าหนดเจ็ดวันนบแตวันที ่

ื่
พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งผ่านทางระบบ e-Filing และแจ้งเตือนทาง E-mail address ของผู้ย่นค าขอ

แล้วแตระยะเวลาใดจะสิ้นสุดลงก่อน




ในกรณีที่พนกงานเจ้าหนาที่มีความจ าเป็นจะตองท าหนงสือเพื่อแจ้งค าสั่ง ค า






วินิจฉัยของพนกงานเจ้าหนาที่ อธิบด หรอคณะกรรมการสิทธิบัตร โดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบ
รบ ให้แจ้งไปยงที่อยที่ผู้ยนค าขอไดให้ไว้ในแบบพิมพ์ค าขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตร


ู่




ื่


ข้อ ๑๕ ในกรณีที่พนกงานเจ้าหนาที่ไม่สามารถแจ้งค าสั่ง ค าวินจฉัยของพนกงาน


เจ้าหน้าที่ อธิบดี หรือคณะกรรมการสิทธิบัตร ให้ผู้ยื่นค าขอทราบหรือด าเนินการผ่านทาง ระบบ e-Filing และ
แจ้งเตือน ทาง E-mail address ของผู้ยื่นค าขอตามที่ผู้ยื่นค าขอได้ให้ไว้ อันเนื่องมาจากความขัดข้องของ



ระบบส่งข้อมูลระบบรบข้อมูล หรือเหตอนใด ให้พนักงานเจ้าหนาที่แจ้งค าสั่งหรอค าวินจฉัยดังกล่าวไปยงผู้

ื่


ยื่นค าขอเป็นหนังสือโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับแทนการแจ้งผ่านทางระบบ e-Filing
หมวด ๕
บทเฉพาะกาล

ข้อ ๑๖ ค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ค าร้องหรือค าขออื่น ๆ ที่ได้ยื่นผ่านทาง
ระบบ e-Filing ตามประกาศกรมทรัพย์สินทางปัญญา เรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขส าหรบ



ื่


การยน ค าขอรบสิทธิบัตรหรออนสิทธิบัตร ค ารองหรอค าขออน ๆ ผ่านทางอนเทอรเนต ลงวันที่ ๒๒


ื่


มิถุนายน ๒๕๕๘ ก่อนวันที่ประกาศฉบับนี้มีผลใช้บังคับ และอธิบดียังไม่มีค าสั่งตามมาตรา ๓๓ มาตรา ๖๕

ประกอบมาตรา ๓๓ หรอมาตรา ๖๕ เบญจ แห่งพระราชบัญญัตสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ ให้ถือว่าเป็น



ี้
ค าขอที่ไดยนตามประกาศฉบับนโดยอนโลม ให้ดาเนนการขอใบรบรองอิเล็กทรอนิกส์ตามวรรคหน่ง




ื่
เพื่อใช้ดาเนินการกับค าขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ค าร้องหรือค าขออ่น ๆ ของตนผ่านทาง


ระบบ e-Filing ตามประกาศฉบับน ี้
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ทศพล ทังสุบุตร
อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา
หน้า | 78

ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
หลักเกณฑ์การพิจารณาลงโทษปรับทางปกครอง
ส าหรับผู้ประกอบธุรกิจให้บริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐





อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัตว่าดวย



ธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ ประกอบมาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๓ แห่งพระราชกฤษฎกาว่า
ด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ได้ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการพิจารณาลงโทษปรับทางปกครองดังน ี้


ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกส์เรอง
ื่



หลักเกณฑ์การพิจารณาลงโทษปรบทางปกครองส าหรบผู้ประกอบธุรกิจให้บรการการช าระเงินทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐”
ข้อ ๒ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง หลักเกณฑ์


การพิจารณาลงโทษปรบทางปกครองส าหรบผู้ประกอบธุรกิจให้บรการการช าระเงินทางอเล็กทรอนิกส์


พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้อ ๓ ให้ประธานกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกส์เป็นผู้รักษาการตามประกาศน ี้

หมวด ๑
บททั่วไป

ข้อ ๔ ในประกาศน ี้
“การพิจารณาลงโทษปรบทางปกครอง” หมายความว่าการดาเนนการที่เกี่ยวกับ



การพิจารณาลงโทษปรับทางปกครองส าหรับผู้ประกอบธุรกิจให้บริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์


“พนกงานเจ้าหนาที่” หมายความว่า ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยหรอผู ้





ซึ่งผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยแตงตงให้ปฏบัตการตามพระราชกฤษฎกาว่าดวยการควบคุมดแล

ั้

ธุรกิจบริการการ ช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๑
“ผู้ถูกกล่าวหา” หมายความว่า ผู้ให้บริการตามที่ก าหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาว่าดวย



การควบคุมดูแลธุรกิจบรการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนกส์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณา
ในเบื้องต้นแล้วเห็นว่ามีการกระท าที่มีมูลเข้าข่ายเป็นการกระท าผิดที่มีโทษปรับทางปกครอง
“ผู้ถูกสั่งปรบ” หมายความว่า ผู้กระท าการฝ่าฝืนพระราชบัญญัตว่าดวยธุรกรรม



ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ ที่คณะกรรมการมีค าสั่งปรับ
“ค่าปรบ” หมายความว่า เงินค่าปรบทางปกครองที่คณะกรรมการก าหนดให้





ผู้กระท าการฝ่าฝืนพระราชบัญญัตว่าดวยธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ ช าระให้แก่

คณะกรรมการ
หน้า | 79


ข้อ ๕ ในการพิจารณาและมีค าสั่งลงโทษปรบทางปกครอง และการพิจารณา




ี้


อทธรณ์ค าสั่งดงกล่าว นอกจากที่ก าหนดไว้ในประกาศนให้นากฎหมายว่าดวยวิธีปฏบัตราชการทาง
ปกครองมาใช้บังคับโดยอนุโลม

ข้อ ๖ การแจ้งข้อกล่าวหา การแจ้งก าหนดนด การแจ้งค าสั่งลงโทษปรบทาง

ปกครอง หรือการอย่างอื่นให้กระท าเป็นหนังสือ
ข้อ ๗ ในกรณีมีเหตุจ าเป็นเร่งด่วนหรือผู้ให้บริการได้แสดงความจ านงให้แจ้งดวยวิธี

อื่นการแจ้งข้อกล่าวหา การแจ้งก าหนดนัด การแจ้งค าสั่งลงโทษปรับทางปกครอง หรือการอย่างอื่น จะใช้
วิธีส่งทางโทรสาร จดหมายอเล็กทรอนกส์ หรอวิธีอนตามที่ผู้ให้บรการไดแจ้งความจ านงไว้ก็ได แตตองมี


ื่








ี้

หลักฐานการส่ง และตองจัดส่งหนงสือแจ้งให้แก่ผู้ให้บรการในทันทีที่อาจกระท าได ในกรณีนให้ถือว่าผู้

ั้
ให้บริการได้รับแจ้งตามวัน เวลาที่ปรากฏในหลักฐานการส่งโทรสาร จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีอื่นนน
เว้นแต่จะมีการพิสูจน์ได้ว่าไม่มีการได้รับหรือได้รับก่อนหรือหลังจากนั้น
หมวด ๒
การพิจารณาและการมีค าสั่งลงโทษปรับทางปกครอง




ข้อ ๘ เมื่อพนกงานเจ้าหนาที่รวบรวมข้อเท็จจรงและพิจารณาในเบื้องตนแล้วเห็น


ว่าผู้ถูกกล่าวหาใดมีการกระท าที่มีมูลควรจะไดรบโทษปรบทางปกครอง ให้รายงานข้อเท็จจรงพรอมทั้ง




เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาตามความในหมวดนี้ต่อไป
ส่วนที่ ๑
การพิจารณาทางปกครอง

ข้อ ๙ การพิจารณาทางปกครองให้รวมถึงการด าเนินการ ดังต่อไปน ี้
(๑) การแสวงหาพยานหลักฐานที่เห็นว่าจ าเป็นแก่การพิสูจน์ข้อเท็จจริง

(๒) การรบฟังพยานหลักฐาน ค าชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหา ความเห็นของพนกงาน


เจ้าหน้าที่คณะกรรมการ หรือพยานบุคคลหรือพยานผู้เชี่ยวชาญที่พนกงานเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ หรือ
ผู้ถูกกล่าวหากล่าวอ้าง
(๓) การขอข้อเท็จจริงหรือความเห็นจากพยานบุคคล หรือพยานผู้เชี่ยวชาญ
(๔) การขอให้ผู้ครอบครองเอกสารส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง
(๕) การออกไปตรวจสถานที่




ผู้ถูกกล่าวหาตองให้ความรวมมือกับพนกงานเจ้าหนาที่และคณะกรรมการในการ
พิสูจน์ข้อเท็จจริงและมีหน้าที่แจ้งพยานหลักฐานที่ตนทราบแก่พนักงานเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการ


หน้า | 80

ข้อ ๑๐ เมื่อคณะกรรมการได้รับรายงานจากพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว หากพิจารณา
เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้กระท าผิดให้คณะกรรมการมีค าสั่งยกข้อกล่าวหาแต่ถ้าพิจารณาเห็นว่ามีมูลที่ผู้ถูก



กล่าวหาควรจะไดรบโทษปรบทางปกครองให้คณะกรรมการแจ้งข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบเพื่อ
โต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานของตน
ู่
ในกรณีที่คณะกรรมการพิจารณาแล้วเห็นว่าพยานหลักฐานที่มีอยไม่เพียงพอจะ

พิจารณาให้คณะกรรมการแจ้งให้พนกงานเจ้าหนาที่แสวงหาพยานหลักฐานเพิ่มเตมและรายงานตอ



คณะกรรมการเพื่อพิจารณาต่อไป
ื่



เมื่อไดรบแจ้งข้อกล่าวหาผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิยนค าชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาตอ
คณะกรรมการภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
ื่
สิทธิยนค าชี้แจงตามวรรคสามมิให้นามาใช้บังคับในกรณีดงตอไปนเว้นแต ่


ี้

คณะกรรมการจะเห็นสมควรปฏิบัติเป็นอย่างอื่น

ิ่

(๑) เมื่อมีความจ าเป็นเรงดวนหากปล่อยให้เนนช้าไปจะก่อให้เกิดความเสียหาย
อย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใดหรือจะกระทบต่อประโยชน์สาธารณะ

(๒) เมื่อเป็นข้อเท็จจรงที่ผู้ถูกกล่าวหาเองไดให้ไว้ในค าชี้แจงหรอในการให้ถ้อยค า


ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
(๓) เมื่อโดยสภาพเห็นได้ชัดในตัวว่าการให้โอกาสดังกล่าวไม่อาจกระท าได ้
ข้อ ๑๑ ภายใต้บังคับข้อ ๗ ในการแจ้งข้อกล่าวหา ให้คณะกรรมการแจ้งค าสั่งโดย
ท าเป็นหนังสือโดยมีสาระส าคัญ ดังต่อไปน ี้
(๑) ชื่อผู้ถูกกล่าวหา

(๒) การกระท าทั้งหลายที่เข้าข่ายเป็นความผิดที่มีโทษปรับทางปกครอง พรอมทั้ง
ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ตามสมควรเกี่ยวกับการกระท าดังกล่าว



(๓) บทบัญญัต ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรอข้อก าหนดตามกฎหมายว่าดวย
การควบคุมดแลการประกอบธุรกิจบรการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนกส์ที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาฝ่าฝืนไม่



ปฏิบัติหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง
ข้อ ๑๒ เมื่อคณะกรรมการได้แจ้งข้อกล่าวหาแล้วผู้ถูกกล่าวหาไม่ชี้แจงข้อกล่าวหา

ภายในก าหนดเวลา ตามข้อ ๑๐ วรรคสาม หรอเป็นกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรปฏบัตตามวรรคสี่ให้


คณะกรรมการพิจารณาพยานหลักฐานประกอบกับค าชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา (ถ้ามี) ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหา
ไม่ไดกระท าผิด ให้คณะกรรมการมีค าสั่งยกข้อกล่าวหา แตถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระท าผิดให้พิจารณา


ก าหนดโทษปรับทางปกครองแล้วมีค าสั่งลงโทษปรับทางปกครองต่อไป
ให้คณะกรรมการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบโดยเร็ว
ข้อ ๑๓ การประชุมของคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมอย่างนอยกึ่งหนง ึ่


จึงจะเป็นองค์ประชุม

ึ่
การลงมตของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนงให้มีหนงเสียงในการ
ึ่

ลงคะแนน ทั้งน้ ในกรณีที่ไม่ใช่การวินิจฉัยชี้ขาดเพื่อพิจารณาก าหนดโทษปรับทางปกครอง ถ้า
ปรากฏว่าคะแนนเสียงเท่ากันประธานในที่ประชุมอาจออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด


หน้า | 81

ส่วนที่ ๒
การก าหนดลงโทษปรับทางปกครอง




ข้อ ๔ ในการพิจารณาโทษปรบทางปกครองที่จะใช้กับผู้ถูกกล่าวหา

คณะกรรมการต้องค านึงถึงปัจจัย ดังต่อไปน ี้

(๑) ความผิดเกิดขึ้นโดยความจงใจ หรอความประมาทเลินเล่ออยางรายแรงหรือ


ขาดความระมัดระวังตามสมควร

(๒) ประโยชน์ที่ผู้ถูกกล่าวหาหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการกระท าผิดหรอบุคคลอน
ื่
ได้รับหรือจะได้รับจากการกระท านั้น
(๓) ความเสียหายที่เกิดจากการกระท านั้น
(๔) ระดับโทษปรับทางปกครองที่เคยใช้กับผู้ถูกกล่าวหารายอื่นในความผิดท านอง
เดียวกัน (ถ้ามี)
(๕) ประวัติการถูกลงโทษทางปกครองของผู้ถูกกล่าวหา หรือในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหา
เป็นนิติบุคคล ให้หมายความรวมถึงประวัติการถูกลงโทษปรับทางปกครองของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการ
กระท าของนิติบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้น
(๖) ข้อเท็จจริงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ ๓
ค าสั่งลงโทษปรับทางปกครอง



ข้อ ๑๕ ค าสั่งลงโทษปรับทางปกครองให้ท าเป็นหนังสือระบุ วัน เดอน ปี ที่ท าค าสั่ง

โทษปรับทางปกครองที่ลง รวมทั้งชื่อ ลายมือชื่อประธานกรรมการ
ข้อ ๑๖ ค าสั่งลงโทษปรบทางปกครองตองจัดให้มีเหตผลไว้ดวย และเหตผลนน

ั้




อย่างน้อยต้องประกอบด้วย
(๑) ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส าคัญ
(๒) ข้อกฎหมายที่อ้างอิง


(๓) ข้อพิจารณาและข้อสนบสนนในการใช้ดลพินจ ความในวรรคหนงไม่ใช้บังคับ
ึ่


กับกรณี ดังต่อไปน ี้
(๑) เหตุผลนั้นเป็นที่รู้กันอยู่แล้วโดยไม่จ าเป็นต้องระบุอีก
(๒) เป็นกรณีที่ต้องรักษาไว้เป็นความลับ



(๓) เป็นกรณีเรงดวน แตตองให้เหตผลเป็นลายลักษณ์อกษรในเวลาอันควรหากผู้



ถูกลงโทษร้องขอค าสั่งลงโทษปรับทางปกครองให้ใช้ตามแบบ ทปค. ๑ ท้ายประกาศน ี้
ข้อ ๑๗ การออกค าสั่งลงโทษปรบทางปกครอง คณะกรรมการอาจมีค าสั่งให้ผู้ถูก

ลงโทษด าเนินการใด ๆ เพื่อแก้ไขให้ถูกต้องหรือเหมาะสมได ้
หน้า | 82

ั้
ข้อ ๑๘ ค าสั่งลงโทษปรับทางปกครองให้มีผลใช้ยันต่อผู้ถูกลงโทษตั้งแต่ขณะที่ผู้นน
ได้รับแจ้งเป็นต้นไป

ส่วนที่ ๔
การอุทธรณ์




ข้อ ๑๙ การอทธรณ์ค าสั่งลงโทษปรบทางปกครองของคณะกรรมการตามมาตรา
๓๓ มาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔ ให้ผู้อุทธรณ์ยื่นฟ้องต่อ
ศาลปกครอง

ส่วนที่ ๕
การบังคับโทษปรับทางปกครอง




ข้อ ๒๐ เมื่อถึงก าหนดให้ช าระค่าปรบตามค าสั่งลงโทษปรบทางปกครองแล้วไม่มี


การช าระโดยถูกต้องครบถ้วน ให้หัวหน้าส านักงานคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มีหนังสือเตอน


ให้ผู้ถูกสั่งปรบช าระภายในเวลาที่ก าหนดแตตองไม่นอยกว่าเจ็ดวัน หนงสือแจ้งเตอนให้ช าระค่าปรับทาง




ปกครองให้ใช้ตามแบบ ทปค. ๒ ท้ายประกาศน ี้
เมื่อครบก าหนดเวลาให้นาเงินมาช าระตามหนังสือแจ้งเตือนแล้ว ถ้าผู้ถูกสั่งปรับไม่



ช าระหรอช าระค่าปรบไม่ครบถ้วน ให้คณะกรรมการฟ้องคดตอศาลปกครอง เพื่อบังคับช าระค่าปรับทาง


ปกครอง
บทเฉพาะกาล

ข้อ ๒๑ บรรดาการด าเนินการเพื่อลงโทษปรับทางปกครองใดที่ได้ด าเนินการไปแล้ว

ื่

ตามประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอเล็กทรอนกส์ เรอง หลักเกณฑ์การพิจารณาลงโทษปรบทาง

ปกครองส าหรับผู้ประกอบธุรกิจให้บริการการช าระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้ด าเนินการต่อไป
ตามประกาศฉบับดังกล่าวจนเสร็จสิ้น เว้นแต่การอุทธรณ์ค าสั่งลงโทษปรับทางปกครองและการบังคับโทษ
ปรับทางปกครอง


ี้

ข้อ ๒๒ ประกาศนให้ใช้บังคบตงแตวันถัดจากวันประกาศใน ราช
ั้

กิจจานเบกษา เป็นตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
พิเชฐ ดุรงคเวโรจน ์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ประธานกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกส์

หน้า | 83

[เอกสารแนบท้าย]

๑. ค าสั่งคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โทษปรับทางปกครอง (แบบ ทปค.๑)
๒. หนังสือแจ้งเตือนให้ช าระค่าปรับทางปกครอง (แบบ ทปค. ๒)




































หน้า | 84


Click to View FlipBook Version