The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ati002009, 2022-03-23 21:48:35

02 รายงานวิชาการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

รายงานวิชาการ


ฉบับที่ กธส. 13/2564











จังหวัดประจวบคีรีขันธ์: รายงานพื้นที่อ่อนไหวต่อการเกิดดินถล่ม


PRACHUAP KHIRI KHAN: LANDSLIDE SUSCEPTIBILITY REPORT


















































กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม


กรมทรัพยากรธรณี


กันยายน 2564

อธิบดีกรมทรัพยากรธรณ ี


นายสมหมาย เตชวาล



ผูอำนวยการกองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม


นายนมิตร ศรคลัง


ผูอำนวยการสวนมาตรฐานและขอมูลธรณีพิบัติภัย

นายสุวิทย โคสุวรรณ




จัดพิมพโดย กองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม กรมทรัพยากรธรณ ี
ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี

กรุงเทพฯ 10400

โทรศพท 0-2621-9802 โทรสาร 0-2621-9795



พิมพครั้งที่ 1 กนยายน 2564
จำนวน 30 เลม









ขอมลการลงรายการบรรณานุกรม


ี่
จังหวัดประจวบคีรีขันธ: รายงานพื้นทออนไหวตอการเกิดดินถลม/-- กรุงเทพมหานคร :
กองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม กรมทรัพยากรธรณี, 2564

176 หนา : 78 ภาพประกอบ : 24 ตาราง

รายงานวิชาการ ฉบับที่ กธส. 13/2564

สารบัญ



สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………………..……...………..III


สารบัญรูป..................................................................................................................................................VII
สารบัญตาราง……………………………………………………………………………………………………………..……...…….XVI


บทคดยอ……………………………………………………………………………………………………………………..……...…XVII


กตตกรรมประกาศ...................................................................................................................................XIX


บทท 1 บทนำ .......................................................................................................................................... 1
1.1 ความเปนมา ...................................................................................................................... 1
1.2 วัตถุประสงคและเปาหมาย ................................................................................................ 2

1.2.1 วัตถุประสงค ........................................................................................................ 2

1.2.2 เปาหมาย ............................................................................................................. 2
1.3 ขอบเขตการศึกษา ............................................................................................................. 2

1.3.1 งานวิเคราะหขอมูลพื้นฐาน .................................................................................. 2

1.3.2 งานสำรวจภาคสนาม ........................................................................................... 2

1.3.3 งานศึกษาและวิเคราะห ....................................................................................... 2

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ................................................................................................ 3


บทท 2 วรรณกรรมปริทศน ...................................................................................................................... 5



2.1 นิยามศพท ......................................................................................................................... 5
2.2 ดินถลม .............................................................................................................................. 7

2.2.1 ความหมายของดนถลม ....................................................................................... 7
2.2.2 การจำแนกประเภทของดนถลม ........................................................................... 7

2.3 ปจจัยที่เปนสาเหตุของการเกิดดินถลม ............................................................................ 13
2.3.1 สภาพภูมประเทศ (topography) ...................................................................... 13

2.3.2 สภาพธรณวิทยาและปฐพวิทยา (Geology and Pedology) ............................ 14


2.3.3 สภาพพืชพรรณและการใชที่ดิน (vegetation and land use) ......................... 15
2.3.4 ปริมาณน้ำฝน (Rainfall) .................................................................................. 16


2.4 แนวความคิดเกี่ยวกับการทำแผนที่พื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลม ................................ 17
2.5 วิธีการศึกษาพื้นทออนไหวตอการเกดดินถลม .................................................................. 18
ี่



บทท 3 ขอมลพืนฐาน ........................................................................................................................... 19



3.1 ที่ตั้งและอาณาเขต ........................................................................................................... 19
3.2 ลักษณะภูมประเทศ ......................................................................................................... 19


IV




สารบัญ



3.3 ลักษณะภูมิอากาศ ........................................................................................................... 21

3.3.1 ฤดูกาล .............................................................................................................. 21

3.3.2 พายุหมุนเขตรอน .............................................................................................. 23
3.3.3 ปริมาณฝน ........................................................................................................ 23


3.4 ลักษณะธรณวิทยา ........................................................................................................... 24
3.4.1 ลำดับชั้นหิน ...................................................................................................... 24

3.4.2 หินอคนี ............................................................................................................. 31
3.5 ธรณีวิทยาโครงสราง ........................................................................................................ 31

3.5.1 การวางตัวชั้นหิน ............................................................................................... 32
3.5.2 ชั้นหินคดโคง ..................................................................................................... 32

3.5.3 รอยแตกและรอยเลื่อน ...................................................................................... 32
3.6 ธรณีวิทยาประวัติ ............................................................................................................ 32

3.7 กลุมวิทยาหิน .................................................................................................................. 33

3.7.1 กลุมวิทยาหิน SS1 ............................................................................................. 33

3.7.2 กลุมวิทยาหิน SS2 ............................................................................................. 34

3.7.3 กลุมวิทยาหิน SS3 ............................................................................................. 34

3.7.4 กลุมวิทยาหิน FS1 ............................................................................................. 34

3.7.5. กลุมวิทยาหิน CB1 ........................................................................................... 42

3.7.6 กลุมวิทยาหิน CT .............................................................................................. 42
3.7.7 กลุมวิทยาหิน F-MET1 ...................................................................................... 42

3.7.8 กลุมวิทยาหิน GR .............................................................................................. 42

3.7.9 กลุมวิทยาหิน VOL2 .......................................................................................... 47
3.7.10 กลุมวิทยาหิน COL ......................................................................................... 47

3.7.11 กลุมวิทยาหิน AL ............................................................................................ 47
3.7.12 กลุมวิทยาหิน TER .......................................................................................... 47

3.7.13 กลุมวิทยาหิน BEA .......................................................................................... 47

3.7.14 กลุมวิทยาหิน MC ........................................................................................... 48


บทที 4 วิธีการศึกษา .............................................................................................................................. 53
4.1 ขนรวบรวมขอมูล ............................................................................................................ 53



4.2 การสำรวจลักษณะทางธรณีวิทยา .................................................................................... 53

V




สารบัญ



4.2.1 หลักการจำแนกกลุมวิทยาหินสำหรับการศึกษาดินถลม ..................................... 54




4.2.2 ปจจัยทเปนเกณฑในการจำแนกหนวยหิน .......................................................... 54
4.3 การจัดการขอมูล ............................................................................................................. 59
4.4 การทำแผนที่รองรอยดินถลม ........................................................................................... 60

4.5 การวิเคราะหแบบจำลองดินถลมทางคณิตศาสตร ............................................................ 66

4.5.1 Area cross tabulation ................................................................................... 70
4.5.2 Frequency ratio (Fr) ...................................................................................... 70

4.5.3 การใหน้ำหนัก (Weighting) .............................................................................. 70

4.6 การตรวจสอบแบบจำลองดนถลม (validation) .............................................................. 71

4.6.1 สมมตฐาน .......................................................................................................... 71


4.6.2 เทคนิคทีใชในการตรวจสอบ .............................................................................. 71

บทท 5 การวิเคราะหพื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลม .......................................................................... 75



5.1 แผนทรองรอยดนถลม (Landslide Inventory Map) ..................................................... 75



5.2 ปจจัยที่เกี่ยวของกับการเกิดดินถลม ................................................................................ 77
5.2.1 วิทยาหิน (Lithology) ....................................................................................... 77
5.2.2 หนารับน้ำฝน (Aspect) ..................................................................................... 77

5.2.3 ทิศทางน้ำไหล (Flow direction) ...................................................................... 82

5.2.4 ระยะหางจากโครงสรางทางธรณวิทยา (The distance to structure) ................... 82

5.2.5 ระดบความสูง (Elevation) ............................................................................... 82

5.2.6 ความลาดชัน (Slope) ....................................................................................... 86
5.2.7 การใชประโยชนที่ดิน (Land use) ..................................................................... 86

5.3 การใหคาน้ำหนัก (Weighting) ........................................................................................ 89

5.4 พื้นที่ความออนไหวตอการเกิดดินถลม ............................................................................. 90
5.5 การตรวจสอบความถูกตองของแบบจําลอง ..................................................................... 94

บทที่ 6 การสำรวจรองรอยดินถลมในพื้นที่สำรวจ ................................................................................. 97

6.1 ประเภทดินถลมชนิดเลื่อนไถล (Slides) ........................................................................... 98
6.1.1 อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ........................................................ 98


6.2 ประเภทดนถลมชนิดไหล (Flows) ................................................................................. 100
6.2.1 อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ .......................................................... 100

VI




สารบัญ



6.2.2 อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ...................................................... 103


บทที่ 7 การทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของดิน .............................................................................. 109
7.1 การเกบตัวอยางแบบถูกรบกวน (disturbed sampling) .............................................. 109

7.2 ขอมูลของตัวอยางดินแบบไมคงสภาพ ........................................................................... 116
7.2.1 อำเภอเมอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ ................................................................ 116

7.2.2 อำเภอบางสะพานนอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ ............................................... 121

7.2.3 อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ...................................................... 127
7.2.4 อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ .......................................................... 132


7.2.5 อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบครีขนธ ............................................................... 138

7.2.6 อำเภอสามรอยยอด จังหวัดประจวบครีขนธ .................................................... 138


7.2.7 อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบครีขนธ .......................................................... 139


7.2.8 อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ .............................................................. 149
7.3 วิธีการวิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพของดิน .............................................................. 152




7.3.1 การหาคาพกดของอตตะเบิรก (Atterberg’s Limit)............................................ 157

7.3.2 การวิเคราะหหาขนาดของเมดดน (Graine Size Analysis) .................................. 157


7.3.3 การทดสอบหาความถวงจําเพาะของดน (Specific Gravity of Soil) .................... 158



7.4 คณสมบัตทางกายภาพของดิน ....................................................................................... 158

7.4.1 กลุม GC (Clayey gravel) .............................................................................. 158
7.4.2 กลุม SP-SM (Poorly graded sands - Silty sands) .................................... 158
7.4.3 กลุม SM (Silty sands) ................................................................................... 163
7.4.4 กลุม SC (Clayey sands) ............................................................................... 163

7.4.5 กลุม MH (Inorganic silts) ............................................................................. 164
7.4.6 กลุม ML (Inorganic silts and very fine sand)........................................... 164

7.4.7 กลุม CL (Clay of low to medium plasticity) ........................................... 165



บทท 8 บทสรุปและขอเสนอแนะ ....................................................................................................... 167

8.1 บทสรุป ......................................................................................................................... 167
8.2 ขอเสนอแนะ ................................................................................................................. 169

เอกสารอางอิง ...................................................................................................................................... 171

VII




สารบัญรูป


รูปที่ 2.1 ประเภทของดินถลมจำแนกโดยอาศัยชนิดของการเคลื่อนที่ ชนิดของมวลเคลื่อนท ี่

ธรรมชาติของการเคลื่อนที่ อัตราการเคลื่อนที่ และความชื้น

(คดลอกและดัดแปลงจาก Varnes, 1978) ............................................................................................... 10
รูปที่ 3.1 แผนที่ภูมิประเทศจังหวัดประจวบคีรีขันธ.................................................................................................. 20







รูปที่ 3.2 แผนทแสดงรองความกดอากาศตำ ทศทางลมมรสุม และทางเดนพายุหมนเขตรอน
ที่เขาสูประเทศไทย ..................................................................................................................................... 22

รูปที่ 3.3 ปริมาณฝนรายเดอนจังหวัดประจวบคีรีขันธในชวง 12 ป พ.ศ. 2546 - 2558 ....................................... 23


รูปที่ 3.4 แผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดประจวบคีรีขันธ ................................................................................................... 25
รูปที่ 3.5 แผนที่กลุมวิทยาหินพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ ..................................................................................... 35

รูปที่ 3.6 (ก) หินทรายเกรยแวกสีเทาดำ แทรกสลับกบหินโคลน บริเวณทางหลวงชนบทหมายเลข 1032



ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบครีขนธ พกด 541814E 1248247N 47P

(ข) ลักษณะเนือหินทรายเกรยแวก สีเทาดำ ............................................................................................. 38



รูปที่ 3.7 (ก) หินทรายอารโคส บริเวณตำบลทรายทอง อำเภอบางสะพานนอย จังหวัดประจวบครีขนธ
พิกัด 47P 538945E 1214910N สูงจากระดับน้ำทะเล 70 เมตร (ข) ลักษณะเนื้อ
หินทรายอารโคส สีเทาถงน้ำตาลแกมมวง................................................................................................ 39



รูปที่ 3.8 (ก) หินทรายแทรกสลับหินโคลนเนือปนกรวด บริเวณตำบลสามกระทาย อำเภอกยบุรี

จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 591565E 1342598N (ข) ลักษณะเนือหินทราย

สีเทาแกมเขยว ............................................................................................................................................ 40

รูปที่ 3.9 (ก) หินโคลน บริเวณตำบลเขาจาว อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ
พิกัด 47P 567814E 1362811N (ข) ลักษณะเนือหินโคลน สีเทาแกมแดง .......................................... 41



รูปที่ 3.10 (ก) หินปูน บริเวณสำนักสงฆเกาะไผ ตำบลไรใหม อำเภอสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ
พิกัด 47P 600239E 1347498N สูงจากระดับน้ำทะเล 20 เมตร



(ข) ลักษณะเนื้อหินปูน สีสดสีเทาถง เทาออน สีผุสีเทาดำถงเทาน้ำตาล .............................................. 43
รูปที่ 3.11 (ก) หินควอรตไซต บริเวณตำบลสามรอยยอด อำเภอสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ
พิกัด 47P 606170E 1357526N สูงจากระดับน้ำทะเล 11 เมตร (ข) ลักษณะหินควอรตไซต 
สีน้ำตาลแกมเหลือง มีการแตกหักมาก ..................................................................................................... 44



รูปที่ 3.12 หินโผลปรากฏเปนดานหินไนส บริเวณหนาดนเกา ตำบลสามรอยยอด อำเภอสามรอยยอด
จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 604636E 1359886N ..................................................................... 45
รูปที่ 3.13 หินไมกาชีสต บริเวณตำบลทับใหญ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนธ

พิกัด 47P 598329E 1378731N .............................................................................................................. 45

VIII




สารบัญรูป




รูปท 3.14 (ก) หินแกรนิต บริเวณตำบลทองมงคล อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบครีขนธ
ี่

พิกัด 47P 537587E 1243360N (ข) ลักษณะเนื้อหินแกรนิต เนื้อหินคอนขางผุมาก
สีผุสีน้ำตาลเหลืองออน .............................................................................................................................. 46

รูปที่ 3.15 ตะกอนเศษหินเชิงเขา บริเวณตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ

พิกัด 47P 595849E 1393654N สูงจากระดับน้ำทะเล 14 เมตร ......................................................... 48

ี่
รูปท 3.16 ตะกอนน้ำพา บริเวณตำบลเกาะหลัก อำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ
พิกัด 47P 5843994E 1308529N (ข) ลักษณะตะกอนเปนทรายปนทรายแปง

สีน้ำตาลแดง ................................................................................................................................................ 49

รูปที่ 3.17 (ก) ตะกอนตะพกลำน้ำ บริเวณตำบลหวยสัตวใหญ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบครีขนธ




พิกัด 47P 558577E 1385315N (ข) ลักษณะตะกอนเปนทรายปนกรวด
สีน้ำตาล ...................................................................................................................................................... 50
รูปที่ 3.18 (ก) ตะกอนชายหาด บริเวณตำบลสามรอยยอด อำเภอสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ

พิกัด 47P 0609859E 1349555Nสูงจากระดับน้ำทะเล 6 เมตร (ข) ลักษณะตะกอนเปน

ทราย กรวด ทรายแปง สีเทา มเศษเปลือกหอยปน ................................................................................. 51

ี่
รูปท 3.19 (ก) ตะกอนที่ลุมน้ำขึ้นถึง บริเวณตำบลดอนยายหนู อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ

พิกัด 47P 602694E 1342076N สูงจากระดบน้ำทะเล 3 เมตร (ข) ลักษณะตะกอนเปน
ดินเคลย สีเทาดำ เนื้อออนนิ่ม .................................................................................................................. 52


รูปที่ 4.1 ตวอยางรองรอยดนถลมแสดงสีขาว (บน) และสีแดง (ลาง) จากภาพ Google earth

ี่
จังหวัดนครศรีธรรมราชและพื้นที่ใกลเคียง ถายภาพเมื่อวันท 18 มนาคม 2556 ................................ 64



รูปที่ 4.2 (บน) ดนถลมชนิดการไหลของเศษหินและดน น้ำตกคลองนารายณ ตำบลคลองนารายณ


อำเภอเมอง จังหวัดจันทบุรี ตำแหนง 48P 0193269 E 1392548 N (ลาง) รอยดินถลม

ชนิดการเลื่อนไถลระนาบโคง บานโขดทราย ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ 
จังหวัดตราด ตำแหนง 48P 02771880 E 1296422 N ......................................................................... 65
รูปที่ 4.3 แผนภูมิการวิเคราะหแบบจำลองดนถลม ................................................................................................... 66

รูปที่ 4.4 ตวอยางกราฟแสดงความถกตอง (success rate curve) ของแบบจำลอง .............................................. 73





รูปที่ 5. 1 แผนที่รองรอยดินถลมในพื้นที่จังหวัดประจวบครีขนธ ในชวง 3 ปที่ผานมา
(พ.ศ. 2558–2560) ..................................................................................................................................... 76
รูปที่ 5.2 แผนที่แสดงกลุมวิทยาหิน 14 กลุม ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ....................................................... 80

รูปที่ 5.3 แผนที่แสดงหนารับน้ำฝน 10 กลุม ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ ....................................................... 81

IX




สารบัญรูป




รูปที่ 5.4 แผนที่แสดงทิศทางการไหลของน้ำ 8 กลุม ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ
มีระยะหางแตละกลุม 45 องศา ................................................................................................................ 83

รูปที่ 5.5 แผนที่แสดงระยะหางจากโครงสรางทางธรณีวิทยา 16 ชวงในพื้นที่จังหวัดประจวบครีขันธ

มีระยะหางแตละชวง 200 เมตร ............................................................................................................... 84

รูปที่ 5.6 แผนที่แสดงระดับความสูง 7 ชวง ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ

มีระยะหางแตละชวง 200 เมตร ............................................................................................................... 85

รูปที่ 5.7 แผนทแสดงความลาดชัน 8 ชวง ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ

มีระยะหางแตละชวง 10 องศา ................................................................................................................. 87


รูปที่ 5.8 แผนที่แสดงการใชประโยชนที่ดิน 8 กลุม ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขนธ ............................................ 88
รูปที่ 5.9 แผนที่พื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลมจังหวัดประจวบคีรีขันธ .............................................................. 91



รูปที่ 5.10 กราฟ AUC แสดงคาความถกตองของแบบจำลองดนถลม ..................................................................... 95


รูปที่ 6.1 ลักษณะดินถลมชนิดการเลือนไถลของเศษหินและดนบนระนาบเรียบ (Debris Slide)


บริเวณ บานทงเชือก ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ


พิกัด 47P 0539300E 1243900N ........................................................................................................... 99

รูปท 6.2 ลักษณะดินถลมชนิดการเลื่อนไถลของเศษหินและดินบนระนาบเรียบ (Debris Slide)

บริเวณบานคลองเพลิน ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ
พิกัด 47P 0539400E 1254900N ........................................................................................................... 99


รูปที่ 6.3 ลักษณะดนถลมชนิดการไหลของเศษหินและดน (Debris flow)

บริเวณบานเขาปอ ตำบลอางทอง อำเภอทบสะแก จังหวัดประจวบครีขนธ



พิกัด 47P 0551900E 1268936N ......................................................................................................... 101

รูปที่ 6.4 (ก) ลักษณะดนถลมชนิดการไหลของเศษหินและดน (Debris flow) บริเวณบานเขาปอ


ตำบลอางทอง อำเภอทบสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0551900E 1268936N

(ข) ลักษณะเนื้อหินของเศษหินแกรนิตที่แผกระจายตามรองน้ำบนเขา .............................................. 102
รูปที่ 6.5 ลักษณะดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน (Debris flow) บริเวณรองน้ำ


บริเวณอทยานน้ำตกบัวสวรรค บานหัวเขา ตำบลหวยยาง อำเภอทบสะแก

จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0565279E 1290767N ................................................................ 103
ี่
รูปท 6.6 ลักษณะดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน (Debris flows) บริเวณสวนยางพารา
บานทงเชือก ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ


พิกัด 47P 0537900E 1244300N ......................................................................................................... 104

X




สารบัญรูป



รูปที่ 6.7 ลักษณะดนถลมชนิดการไหลของเศษหินและดน (Debris flow) บริเวณทางน้ำ



และสวนยางบางสวน พนทบานตะแบกโพรง ตำบลชัยเษม อำเภอบางสะพาน



จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0548560E 1266130N ................................................................ 105
รูปท 6.8 ลักษณะดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดน (Debris flow) บริเวณพื้นที่การเกษตร
ี่

บานเขามน ตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ

พิกัด 47P 0544749E 1263179N ......................................................................................................... 106
รูปที่ 6.9 รองรอยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน (Debris flows)



บริเวณบานเขามน ตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบครีขนธ

พิกัด 47P 0544749E 1263179N ......................................................................................................... 107
รูปที่ 7.1 รายละเอียดขอมูลการเก็บตัวอยางตะกอนดินบนถุงกระสอบ ................................................................ 111

รูปที่ 7.2 ภาพรางหนาตัดการพุผังของหินแกรนิตแสดงระดับการผุพังตั้งแตระดับ I-VI กรอบสีแดง
คือตำแหนงที่เลือกเก็บตัวอยางดิน (Modified from Ruxton and Berry, 1957) ........................... 111

ี่
รูปที่ 7.3 ตัวอยางหนาตัดดินทแสดงระดับการผุพังของหินแกรนิต (zone III-VI)
กรอบสีแดงแสดงตำแหนงเกบตัวอยางดิน ............................................................................................. 112

รูปที่ 7.4 แผนที่แสดงตำแหนงการเก็บตัวอยางดินในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ ............................................. 115

รูปที่ 7.5 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานไรเครา ตำบลคลองวาฬ อำเภอเมอง




จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 200-250 ซม. จากผิวดน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน
หินแกรนิต กลุมวิทยาหิน GR (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินแกรนิต

ทีมระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตวอยางเปน



ดนทราย สีน้ำตาลปนแดง ........................................................................................................................ 117
รูปที่ 7.6 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อทำถนน บานยานซื่อ ตำบลอาวนอย อำเภอเมือง
จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 100–150 ซม. จากผิวดน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน

หินทราย กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทราย

ที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปน
ดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง ................................................................................................. 118

รูปที่ 7.7 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย บานวังมะเดื่อ ตำบลอาวนอย อำเภอเมอง


จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 40-70 ซม. จากผิวดน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน
หินทราย กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทราย

ที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปน

ดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง ................................................................................................. 119

XI




สารบัญรูป



รูปที่ 7.8 (ก) เกบตวอยางบริเวณบอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน บานมะขามโพรง ตำบลอาวนอย อำเภอเมอง



จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 150-230 ซม. จากผิวดน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน

หินทรายแปงแทรกสลับหินทราย กลุมวิทยาหิน FS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุ
ที่เกิดจากหินทรายแปงแทรกสลับหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)

(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 120

รูปที่ 7.9 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย บานทองอินทร ตำบลไชยราช


อำเภอบางสะพานนอย จังหวัดประจวบครีขันธ ที่ความลึก 50-110 ซม. จากผิวดน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปน หินโคลนปนกรวด กลุมวิทยาหิน FS1 (ค) หนาตัดดินของ

ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินโคลนที่มีระดับการ ผุพังของมวลหินสูง (zone IV)
(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาล .............................................................. 122


รูปที่ 7.10 (ก) เกบตวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศย บานโปงเตย ตำบลไชยราช อำเภอบางสะพาน



นอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ ทความลึก 70-110 ซม. จากผิวดน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน
ี่
หินทรายแปงแทรกสลับหินดินดาน กลุมวิทยาหิน FS1(ค) หนาตดดินของชั้นดินและหินผุ



ทีเกดจากหินทรายแปงแทรกสลับหินดินดานที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)

(ง) ลักษณะของตวอยางเปนดินทรายแปงสีน้ำตาล ............................................................................... 123
รูปที่ 7.11 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อทำถนน บานโปงดินดำ ตำบลชางแรก
อำเภอบางสะพานนอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 50-90 ซม. จากผิวดน

(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินแกรนิตเนื้อสม่ำเสมอ กลุมวิทยาหิน GR (ค) หนาตัดดิน

ของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินแกรนิตที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)
(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาล ..................................................................................... 124

รูปท 7.12 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อทำถนน บานโปงสามสิบ ตำบลชางแรก
ี่

อำเภอบางสะพานนอย จังหวัดประจวบครีขันธ ที่ความลึก 70-130 ซม. จากผิวดน

(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินดินดาน กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดิน
และหินผุที่เกิดจากหินดินดานที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)

(ง) ลักษณะของตวอยางเปนดนโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 125

รูปท 7.13 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย บานน้ำดำ ตำบลทรายทอง
ี่
อำเภอบางสะพานนอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 140-180 ซม. จากผิวดิน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปน หินทราย กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของชั้นดิน


และหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มระดับการผุพังของ มวลหินสูง (zone IV)


(ง) ลักษณะของตวอยางเปนดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 126

XII




สารบัญรูป



รูปที่ 7.14 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อนำไปใชประโยชน ตำบลทองมงคล

อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 70-100 ซม. จากผิวดน

(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของ
ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)

(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายสีน้ำตาลปนแดง ......................................................................... 128

รูปที่ 7.15 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณหนาตัดดินบริเวณอางเก็บน้ำ บานไทรทอง ตำบลทองมงคล

อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 160-210 ซม. จากผิวดน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของ

ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายทมระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)



(ง) ลักษณะของตวอยางเปนดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 129


รูปที่ 7.16 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณบอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน วัดเขากระจิ ตำบลกำเนิดนพคุณ

อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 50-90 ซม. จากผิวดน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของ

ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)


(ง) ลักษณะของตวอยางเปนดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 130




ี่

รูปท 7.17 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดนเพื่อสรางทอยูอาศย บานคลองลอย ตำบลรอนทอง
อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 90-120 ซม. จากผิวดน

(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินแกรนิต กลุมวิทยาหิน GR (ค) หนาตัดดินของ
ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินแกรนิตที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)
(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาลปนเหลือง .................................................................... 131
รูปที่ 7.18 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย บานหนองหญาปลอง ตำบลชัยเกษม

อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 180-240 ซม. จากผิวดิน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของ

ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)

(ง) ลักษณะของตวอยางเปนดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 133

รูปที่ 7.19 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานตะแบกโพรง ตำบลอางทอง




อำเภอทบสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 90-130 ซม. จากผิวดิน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินแกรนิต เนื้อละเอียด กลุมวิทยาหิน GR (ค) หนาตัดดินของ
ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินแกรนิตที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)

(ง) ลักษณะของตวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาลปนเทา ......................................................................... 134

XIII




สารบัญรูป







รูปที่ 7.20 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณขุดบอน้ำเพอการเกษตร บานสีดางาม ตำบลอางทอง อำเภอทบสะแก

จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 80-120 ซม. จากผิวดน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน
หินทรายแทรกสลับหินโคลน กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุท ี่
เกดจากหินทรายแทรกสลับหินโคลนที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)

(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 135


รูปที่ 7.21 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณบอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน ตำบลนาหูกวาง อำเภอทบสะแก
จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 80-130 ซม. จากผิวดน (ข) ลักษณะของหินฐาน

เปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจาก

หินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยาง

เปนดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนเหลือง ...................................................................................... 136
รูปที่ 7.22 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย ตำบลเขาลาน อำเภอทบสะแก


จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 60-110 ซม. จากผิวดน (ข) ลักษณะของหินฐาน
เปนหินแกรนิต กลุมวิทยาหิน GR (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจาก

หินแกรนิตที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยาง

เปนดนทราย สีน้ำตาลปนเทา .................................................................................................................. 137
รูปที่ 7.23 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อทำถนน ตำบลเขาลาน อำเภอทับสะแก
จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 80-120 ซม. จากผิวดน (ข) ลักษณะของหินฐาน

เปนหินแกรนิต กลุมวิทยาหิน GR (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจาก

หินแกรนิตที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยาง
เปนดนทราย สีน้ำตาลปนแดง ................................................................................................................. 140

รูปที่ 7.24 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณหนาตัดดินบริเวณอางเก็บน้ำ บานรวมไทย ตำบลหาดขาม


อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 80-120 ซม. จากผิวดน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของ

ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)
(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 141

รูปที่ 7.25 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณบอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน บานโปงกระสัง ตำบลหาดขาม

อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 60-90 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของ
หินฐานเปนหินทรายแทรกสลับหินโคลน กลุมวิทยาหิน SS3 (ค) หนาตัดดินของชั้นดิน


และหินผุที่เกดจากหินทรายแทรกสลับหินโคลนที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)
(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 142

XIV




สารบัญรูป



รูปที่ 7.26 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณบอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน บานยางชุมเหนือ ตำบลหาดขาม

อำเภอกยบุรี จังหวัดประจวบครีขนธ ที่ความลึก 100-150 ซม. จากผิวดน




(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของ
ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)
(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 143



รูปที่ 7. 27 (ก) เกบตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อทำถนน บานหนองแก ตำบลศลาลอย
อำเภอสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 80-130 ซม. จากผิวดิน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของ


ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพงของมวลหินสูง (zone IV)
(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาล .............................................................. 144

รูปที่ 7.28 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อทำถนน บานหนองจิก ตำบลไรเกา
อำเภอสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 80-130 ซม. จากผิวดิน

(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของ

ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)

(ง)ลักษณะของตวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง ................................................... 145
รูปที่ 7.29 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณหนาตัดดินบริเวณอางเก็บน้ำ บานทาทง ตำบลเขาเจา


อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 160-200 ซม. จากผิวดิน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของ

ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)
(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาล .............................................................. 146

รูปที่ 7.30 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย บานทาไมลาย ตำบลเขาเจา


อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 100-140 ซม. จากผิวดน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินโคลน กลุมวิทยาหิน FS1 (ค) หนาตัดดินของ

ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินโคลนที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)
(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาลปนเหลือง .............................................. 147

รูปที่ 7.31 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณบอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน บานหวยพลับ ตำบลหนองตาแตม


ี่
อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ทความลึก 160-200 ซม. จากผิวดน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินโคลน กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของ
ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินโคลนที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)
(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลน สีขาวปนเหลือง ......................................................................... 148

XV




สารบัญรูป





รูปที่ 7.32 (ก) เกบตวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อทำถนน บานทุงกระทิง ตำบลหวยสัตวใหญ อำเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 100-130 ซม. จากผิวดน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน

หินทรายแทรกสลับหินดินดาน กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุ


ที่เกิดจากหินทรายแทรกสลับหินดนดานทีมระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)

(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินเหนียวปนทรายแปง สีน้ำตาล ............................................................ 150
รูปที่ 7.33 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อทำถนน บานเนินพะยอม ตำบลหนองพลับ

อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 70-110 ซม. จากผิวดน
(ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของ

ชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)


(ง) ลักษณะของตวอยางเปนดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง .................................................. 151
รูปที่ 7.34 แสดงระบบจําแนกดนโดยระบบ Unified Soil Classification ............................................................ 155

รูปที่ 7.35 แสดงระบบจําแนกดนโดยระบบ Unified Soil Classification ............................................................ 156


XVI



สารบัญตาราง





ตารางท 2.1 แสดงการจำแนกชนิดของดนถลม (ดดแปลงจาก Varnes, 1978) ................................................... 11








ตารางท 2.2 แสดงการจำแนกระดบความเร็วในการเคลือนทของมวลดน

(Cruden and Varnes, 1996) ................................................................................................................. 12


ตารางท 3.1 คำอธิบายแผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดประจวบคีรีขันธ ........................................................................... 26

ตารางท 3.2 คำอธิบายกลุมวิทยาหินพนที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ ........................................................................ 36

ื้
ตารางท 4.1 ตารางการจำแนกหินอคนี (Dearman, 1991) ................................................................................... 55




ตารางท 4.2 ตารางการจำแนกหินตะกอน (Dearman, 1991) ............................................................................... 56

ตารางท 4.3 ตารางการจำแนกหินแปร (Dearman, 1991) .................................................................................... 57


ี่



ตารางท 4.4 สรุปชนิดและแหลงทมาของขอมูล ....................................................................................................... 60




ตารางท 4.5 หลักการจำแนกลักษณะของดนถลมจากการแปลความหมายภาพถายทางอากาศ
และภาพดาวเทยม (ดดแปลงจาก Miller, 2007 และ Soeters and Westen, 1996) ..................... 62


ตารางท 4.6 ปจจัยที่นำมาใชในแบบจำลองดินถลม ................................................................................................ 67





ตารางท 4.7 ตารางแสดงชวงคา AUC ทใชอางองความถกตองของโมเดล






(Hasanat and others, 2010) ................................................................................................................ 73




ตารางที 5.1 ความสัมพนธระหวางรองรอยดนถลมกบปจจัยทควบคมการเกดดินถลม ....................................... 78
ี่






ตารางท 5.2 การใหน้ำหนักดวยวิธี Reliability weighting เรียงจากมากไปหานอย ........................................... 89


ตารางท 5.3 การใหน้ำหนักดวยวิธี Accountability weighting เรียงจากมากไปหานอย .................................. 89



ตารางท 5.4 การใหน้ำหนักดวยวิธีเฉลี่ย Average weighting เรียงจากมากไปหานอย ..................................... 90




ตารางท 5.5 ระดับความออนไหวตอการเกดดินถลม 5 ระดับ จำแนกตามวิธี STDV .......................................... 90







ตารางท 5.6 พืนทีออนไหวตอการเกิดดนถลมจำแนกตามตำบล ............................................................................ 92



ตารางท 5.7 แสดงคาความถกตองของแบบจำลอง .................................................................................................. 94




ตารางท 6.1ขอมูลรองรอยดินถลมในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขนธ ....................................................................... 97




ตารางท 7.1 เกณฑการผุพงของมวลหิน (ดัดแปลงจาก Ruxton and Berry (1957)

Dearman (1976) Fookes (1997) และ Hearn (2016)) .................................................................. 110


ื้



ตารางท 7.2 แสดงตำแหนงเกบตัวอยางแบบไมคงสภาพในพนที่ศกษาจังหวัดประจวบคีรีขนธ ...................... 113


ตารางท 7.3 แสดงรายละเอยดตำแหนง ระดบความลึก จำนวน และประเภทงาน


ทดสอบของตวอยางแบบไมคงสภาพ ..................................................................................................... 153


ตารางท 7.4 แสดงผลการทดสอบดินขั้นพื้นฐาน


(คาพกดอตตะเบิรก และความถวงจําเพาะของเมดดน) ...................................................................... 159







ตารางท 7.5 แสดงผลการทดสอบดินขั้นพื้นฐาน


(การหาขนาดเม็ดดินดวยวิธีรอนผานตะแกรง และวิธีไฮโดรมิเตอร) .................................................. 161

บทคัดยอ





การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อกำหนดขอบเขตระดับความออนไหวตอการเกดดินถลมพื้นที่

จังหวัดประจวบคีรีขันธ ดวยการวิเคราะหพนที่ที่มีโอกาสเกดดินถลมในอนาคตดวยแบบจำลองทางสถิติแบบ
ื้


สองตัวแปร (Bivariate probability) และการใหคาน้ำหนัก (Weighting) พจารณารวมกบรองรอยดินถลมใน


อดีตซึ่งไดจากการแปลขอมลภาพถายดาวเทียม Google Image ในชวงป พ.ศ. 2558–2560 และการสำรวจ
ภาคสนามเพมเติม จำนวน 667 รองรอยดินถลม ควบคูกบการวิเคราะหรวมกบปจจัยทเกี่ยวของกบการเกิด
ี่
ิ่





ดินถลม (Controlling factors) ทั้ง 7 ปจจัย ไดแก (1) วิทยาหิน (2) หนารับน้ำฝน (3) ทิศทางการไหลของน้ำ
(4) ระยะ หางจากโครงสรางทางธรณีวิทยา (5) ระดับความสูง (6) ความลาดชัน และ (7) การใชประโยชนที่ดิน
จากการศึกษาพื้นที่ออนไหวตอการเกดดินถลมในพนที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวาปจจยทม ี

ื้



ี่

ความสัมพนธกบการเกิดดินถลม เรียงลำดับตามความสำคัญมากไปนอย คือ (1) วิทยาหิน (2) การใชประโยชน


ที่ดิน (3) ระดับความสูง (4) ความลาดชัน (5) ระยะหางจากโครงสรางทางธรณีวิทยา (6) ทิศทางการไหลของน้ำ
และ (7) หนารับน้ำฝน ตามลำดับ โดยการกระจายตัวของรองรอยดินถลมสวนใหญพบอยูในพื้นที่ที่มีระดับความ
ื้
สูงตั้งแต 600-800 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีความลาดชันอยูในชวง 40-50 องศา บริเวณพนทปาที่มี
ี่
ตนไมใหญ และสามารถพบไดในกลุมวิทยาหิน GR จำพวกหินแกรนิต และกลุมวิทยาหิน SS1 จำพวกหินทราย
เนื้อเกรยแวก นอกจากนี้ยังสัมพันธกับมรสุมตะวันออกเฉยงเหนือ พายุหมุนเขตรอน และมรสุมตะวันตกเฉียงใต


ื้
ผลจากการวิเคราะหแบบจำลองดินถลม สามารถจำแนกพนที่ออนไหวตอการเกดดินถลมออกเปน 5 ระดับ


ื้
ื้
ไดแก 1) ระดับต่ำมาก (Very low) มีพนที่ประมาณ 349 ตารางกโลเมตร คิดเปนรอยละ 9.70 ของพนที่
ื้


ออนไหวตอการเกดดินถลมทั้งหมด 2) ระดับต่ำ (Low) มีพนทประมาณ 1,084 ตารางกิโลเมตร
ี่


คิดเปนรอยละ 30.14 ของพนที่ออนไหวตอการเกดดินถลมทั้งหมด 3) ระดับปานกลาง (Moderate) มีพนที่
ื้
ื้

ื้

ประมาณ 1,694 ตารางกโลเมตร คิดเปนรอยละ 47.08 ของพนที่ออนไหวตอการเกดดินถลมทั้งหมด
ื้


4) ระดับสูง (High) มีพื้นที่ประมาณ 374 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 10.41 ของพนที่ออนไหวตอการเกด
ดินถลมทั้งหมด และ 5) ระดับสูงมาก (Very high) มีพื้นที่ประมาณ 96 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 2.67


ของพนที่ออนไหวตอการเกิดดินถลมทงหมด ทั้งนขอมูลที่ไดจากการศึกษาพื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลม
ั้

ื้
ี้
สามารถนำไปใชอธิบายสภาพแวดลอมของแตละพื้นทถึงสาเหตุของการเกดดินถลมไดอยางถูกตอง และ

ี่


ยังสามารถนำไปใชเปนเครื่องมอในการวางแผนบริหารจดการธรณีพบัติภัยในระดับทองถิ่น (Local zoning)

เพื่อสนับสนุนการลดผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชนไดทันตอเหตุการณ


คำสำคัญ: ดินถลม (Landslide), แบบจำลองทางสถิติแบบสองตัวแปร (Bivariate probability),

การใหคาน้ำหนัก (Weighting), ระดับทองถิ่น (Local zoning), ปจจัยที่เกี่ยวของกับการเกิดดินถลม
(Controlling factors)



กิตติกรรมประกาศ





คณะผูจัดทำขอขอบคุณ ทานผูตรวจราชการกรมทรัพยากรธรณ นางสุรีย ธีระรังสิกล ผูที ่






พัฒนาโครงการลดผลกระทบจากธรณพบัตภัย ท้งการนำเทคโนโลยีใหม ๆ มาบริหารจัดการพนทเสี่ยงภัย
ี่

ดนถลม ขอขอบคุณ นายนิมิตร ศรคลัง ผูอำนวยการกองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม และนายสุวิทย โคสุวรรณ





ผูอำนวยการสวนมาตรฐานและขอมลธรณพบัตภัย ทใหการสนับสนุน ดานความรูวิชาการ พรอมคำแนะนำ






ี่
ั้


ตลอดจนการแกปญหาทเกดขนทงภาคสนามและสำนักงาน นอกจากนีขอขอบคุณ ผูอำนวยการสำนักงาน
ึ้
ทรัพยากรธรณเขต 1 นายสุธี จงอัจฉริยกุล ผูอำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรณเขต 3 นายทนกร ทาทอง



ผูอำนวยการสำนักงานทรัพยากรธรณเขต 4 นายสมศกดิ์ วัฒนปฤดา ทีใหการสนับสนุนในดานตาง ๆ




ทำใหงานสำเร็จลุลวงไปดวยดี
ื้






ี่


ขอขอบคณประชาชนในพนท เจาหนาทหนวยงานทองถน เจาหนาทหนวยรักษาพนธุสัตวปา








และเจาหนาทอทยานแหงชาติทใหความรวมมอทังในเรืองการใหขอมูลดนถลม และแบงปนประสบการณ 

ี่


ที่ประสบ รวมถงการชวยเหลือในการเขาพื้นที่สำรวจ และสิ่งที่ประทับใจคือ การมีน้ำใจของคนในทองถน


สุดทายนี ขอขอบคณคณะผูจัดทำทกคนท่ทำงานกันอยางหนักตลอด 1 ป ขอขอบคุณสถานที ่





5 จังหวัด ทีใหคณะผูจัดมีโอกาสไดเรียนรูหลาย ๆ อยางท้งทางวิชาการ และชีวิตการทำงาน นอกจากนี ้



ขอขอบคุณทีมงานท่มีความสามัคคี คอยชวยเหลือซ่งกันและกัน เสนอแนวคิด คำแนะนำตางๆ ทำใหได 



รายงานวิชาการเลมนีออกมามประสิทธิภาพและความถูกตองมากทสุด และคณะผูจัดทำคาดหวังอยางยิง






วารายงานวิชาการเลมนีจะสามารถนำไปพัฒนาความรู ความเขาใจเกยวกับภัยพิบัติดินถลม และใช



ประกอบการวางแผนเตรียมพรอมรับมือกับภัยพิบัติดินถลมที่จะเกิดขนในอนาคตได 
ึ้

คณะผูจัดทำ

กนยายน 2564



- 1 -








บทที่ 1

บทนำ






1.1 ความเปนมา


ดินถลมเปนไดท้งภัยธรรมชาติและภัยท่เกิดจากมนุษยทสรางความเสียหายท้งตอชีวิตและ









ทรัพยสินของประชาชนในพ้นทตาง ๆ ทวโลก รวมท้งประเทศไทย จะเห็นไดวาในระยะเวลาหลายปที ่










ผานมามีเหตุการณดินถลมเกิดข้นในหลายพนท่อยางตอเนื่อง และมแนวโนมทจะเกิดบอยข้น เนื่องจาก


สภาพอากาศโลกทมีความแปรปรวนมากข้น รวมทงการรบกวนของมนุษย เชน การขยายตัวของชุมชน












เขาไปต้งถ่นฐานในพนทเสี่ยงภัยดินถลม และมีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนทดินใหเปนไปตาม


ความตองการ จากปจจัยเหลานีลวนมีสวนกระตนใหปญหาดินถลมมความรุนแรง และมความถของ











การเกิดดินถลมบอยครั้ง ดังนั้นจึงมแนวคิดเก่ยวกับการศึกษาและวิเคราะหพ้นท่เสี่ยงตอการเกิดดนถลม

เพอเปนแนวทางลดและบรรเทาความเสียหายจากพบัตภัยดินถลมดวยเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิค



ื่
ึ่
การสำรวจระยะไกล (geographic information system and remote sensing techniques) ซงเปน




ื้
เทคโนโลยีทถูกนำมาใชในการศึกษาพิบัติภัยดินถลมอยางแพรหลายท้งการศกษาในพนทขนาดใหญ
ี่

ื้

ี่
(regional zoning) และรายพนท (local zoning) จัดเปนเครื่องมอในการบริหารจัดการทีมประสิทธิภาพ



และรวดเร็ว รวมถึงการจัดทำฐานขอมูลในรูปแบบสารสนเทศท่งายตอการปรับเปลี่ยนขอมูลเม่อม ี

การสำรวจเพิ่มเติม




กรมทรัพยากรธรณในฐานะหนวยงานราชการทมีหนาทรับผิดชอบในการบริหารจัดการ



ทรัพยากรธรณและธรณีพิบัติภัยของประเทศ ดำเนินการสำรวจ ศึกษา วิจัย ปจจัยตาง ๆ ท่สงผลใหเกิด
ธรณพบัตภัยและตดตามพฤติกรรมของธรณพิบัตภัยตาง ๆ เพ่อประเมินสถานภาพ กำหนดขอบเขตพนท ่ ี











เสียงภัย จัดทำแนวทางหรือมาตรการปองกนบรรเทาผลกระทบจากธรณพบัตภัยตาง ๆ พัฒนาขีด













ความสามารถในการคาดการณและพยากรณความเสียงตอการเกิดธรณพิบัตภัย เพอเพ่มขดสมรรถนะ





ในภารกิจหลักนัน จึงไดเกิดโครงการจัดทำแผนท่พนทออนไหวตอการเกิดดินถลมระดับรายละเอียด



ื่
โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสำรวจระยะไกลควบคกบการสำรวจภาคสนามมาใช เพอทำ




ความเขาใจกบลักษณะสภาพแวดลอมของพนทเสี่ยงภัยดินถลม และใชในการจัดทำฐานขอมลในรูปแบบ





สารสนเทศที่งายตอการปรับเปลี่ยนขอมูล มีความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

- 2 -






1.2 วตถประสงคและเปาหมาย

1.2.1 วัตถุประสงค 



เพื่อกำหนดขอบเขตระดับความออนไหวตอการเกิดดินถลมของพื้นที่ดวยแบบจำลองทางสถต ิ

1.2.2 เปาหมาย






มแบบจำลองทางคณตศาสตรเพอการวิเคราะหพนทออนไหวตอการเกิดดินถลมระดับ





รายละเอียด (landslide susceptibility model) ท่สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลใหเปนปจจุบันไดงายและ



แผนทพื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลม (landslide susceptibility map)


1.3 ขอบเขตการศึกษา



การศึกษาพ้นท่ออนไหวตอการเกิดดนถลมในระดบจังหวัด เปนขอมลเชิงพนทมีลักษณะ










เปนกริด (raster data) มโครงสรางเปนชองเหลียม เรียกวา จุดภาพ หรือ Grid cell เรียงตอเนื่องกัน







ในแนวราบและแนวดง ในแตละจุดภาพสามารถเก็บคาได 1 คา มความละเอยดของขอมูลอยูท 10 เมตร


ซึ่งสามารถแบงงานออกเปน 3 สวนดังนี้
1.3.1 งานวิเคราะหขอมูลพื้นฐาน
1) รวบรวมและเตรียมฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร และภาพดาวเทียม


2) แปลความหมายรองรอยดนถลมเบืองตน ขอมลทางธรณวิทยา โครงสรางทางธรณวิทยา




ธรณีสัณฐานวิทยาจากขอมูลสัมผัสไกล ไดแก ภาพถายทางอากาศ และภาพดาวเทียม
1.3.2 งานสำรวจภาคสนาม

1) ดำเนินการสำรวจตรวจสอบขอมูลรองรอยดินถลมทไดจากการแปลขอมูลดาวเทียม

พรอมสำรวจรองรอยดินถลมปจจุบันในภาคสนาม

ื้

2) สำรวจลักษณะธรณวิทยาและแบงกลุมวิทยาหินในพนที่เสี่ยงตอการเกิดดินถลม
1.3.3 งานศึกษาและวิเคราะห
ศึกษาวิเคราะหแบบจำลองทางสถตแบบสองตัวแปร (Bivariate probability) และการให



คาน้ำหนัก (weighting) เพอหาคาความสัมพนธระหวางรองรอยดินถลมในอดีตในรูปแบบอัตราสวน





ความนาจะเปน หรือความหนาแนนของการกระจายตัวของดินถลมในแตละกลุมยอยในปจจัยท่เกยวของ


กบดินถลม


- 3 -




1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ


ื้

1) แบบจำลองในการศึกษาพนทออนไหวตอการเกิดดินถลมในพนทตนแบบทสามารถ
ี่
ี่
ื้



ื้
ี่


นำไปใชเปนแนวทางในการจัดทำขอมูลพนทออนไหวตอการเกิดดินถลมในพนทอนในแตละภูมภาค



ื่
ของประเทศ





2) ขอมูลฐานและปจจัยทใชในการพจารณาการเกดดนถลมอยูในรูปแบบสารสนเทศภูมศาสตร





(Geographic Information System, GIS) ท่มีความสัมพนธกับตำแหนงในเชิงพนท (Spatial data)












ซงรูปแบบและความสัมพนธของขอมูลเชิงพนททงหลายจะสามารถนำมาวิเคราะหดวย GIS และทำให



สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธกับเวลาได



3) มขอมลฐานพนทออนไหวตอการเกิดดินถลมสำหรับใชในการเปนขอมูลต้งตนใน


ื้
ี่
การกำหนดขอบเขตพื้นที่เสี่ยงภัยดินถลม (landslide risk zoning)
4) แนวทางในการศึกษาลักษณะทางกายภาพของชั้นดินในพื้นที่ลาดชัน และวิธีการเลือกเก็บ

ตัวอยางดินในชั้นที่อยูในแนวศกยภาพเลื่อนไถล เพอใหเขาใจถึงกลไกและกระบวนการทำงานของการเกด




ดินถลม





ึ่
5) ขอมลทางวิศวกรรมขนพ้นฐานของชันดินและหินผุของหินฐานในพ้นทเสียงภัย ซงเปน





ขอมูลสนับสนุนในการวิเคราะหชนิดของการเกิดดินถลม (landslide type) ซ่งมีประโยชนอยางมาก

ี่
ในการวิเคราะหระดับความรุนแรงของพื้นทที่ไดรับผลกระทบจากดินถลม
6) ขอมูลชั้นดินที่อยูในแนวศักยภาพเลื่อนไถล และลักษณะดินถลมในพื้นที่เสี่ยงภัย


7) ฐานขอมูลสำคัญสำหรับการศึกษาและวิจัยดินถลมทังในเรืองของการปรับปรุง การวิเคราะห
แบบจำลองดินถลม เพื่อใหครอบคลุมขอมูลที่จะนำไปสูการพยากรณและคาดการณตอไป



บทที่ 2


วรรณกรรมปริทัศน







2.1 นยามศพท

คำศัพททใชในรายงานฉบับนี้ บางสวนอางอิงจากพจนานุกรมศัพทธรณวิทยาฉบับ










ราชบัณฑิตยสถาน (2544) คมอการทำแผนทดนถลม (Fell, 2550) และหนังสือคำศัพทจากคมือ




การประเมนความเสียงจากภัยพิบัติ ซ่งจัดทำโดย สำนักงานโครงการพฒนาแหงสหประชาชาต ิ


(United Nations Development Programme: UNDP, 2559) ท้งนี คำศัพทจะจัดเรียงตามลำดับ


ความสำคัญ และความสัมพนธของความหมาย ดังนี้

1) ภัยธรรมชาติ (natural hazard) คอ ภัยทเกดจากธรรมชาติ เชน แผนดินไหว ดนถลม
ี่


และโคลนถลม คลื่นใตน้ำหรือสึนามิ การระเบิดของภูเขาไฟ วาตภัย อุทกภัย และอื่น ๆ




2) ภัยพบัต (hazard) คอ ภัยเหตุการณทเกิดจากธรรมชาตหรือการกระทำของมนุษย










ทอาจนำมาซงความสูญเสียตอชีวิตทรัพยสิน ตลอดจนทำใหเกดผลกระทบทางเศรษฐกจ สังคม และ
สิ่งแวดลอม


3) ความเสียงภัย (risk) คือ ความเสี่ยงท่มโอกาสหรือความเปนไปไดในการไดรับ




ผลกระทบทางลบจากการเกดภัย โดยผลกระทบสามารถเกดขนกบชีวิต สุขภาพ การประกอบอาชีพ


ทรัพยสิน และบริการตาง ๆ ทั้งในระดับบุคคล ชุมชน สังคม หรือประเทศ
4) ดินถลม (landslide) คือ การเคลื่อนที่ของมวลหิน เศษหิน ดิน ตามลาดชัน






5) ดนถลมมพลัง (active landslide) คือ ดนถลมทปจจุบันยังมีการเคลือนตัว สามารถ
เปนไดทั้งการเคลื่อนตัวครั้งแรก (first-time) และการเกิดซ้ำ (reactivation)
6) ดนถลมอุบัติซ้ำ (reactivated landslide) คือ การเคลื่อนตัวของมวลดินอีกครั้ง

หลังจากมีการหยุดเคลื่อนตัว




7) แผนท่รองรอยดนถลม (landslide inventory map) คือ แผนท่ดินถลมท่แสดง




ตำแหนง จำแนก ปริมาณ กิจกรรม รวมถึงวันท่เกิดเหตุการณดินถลมแตละพนท่ อีกท้งเปนพ้นฐาน






ท่สำคัญมากในการประเมนความออนไหวตอการเกดดินถลม (landslide susceptibility) โอกาส
เกิดดินถลม (landslide hazard) และความเสี่ยงภัย (landslide risk)

- 6 -





8) แผนทออนไหวตอการเกิดดินถลม (landslide susceptibility map) คือ แผนที ่
แสดงความออนไหวตอการเกิดดนถลมเปนการประเมินเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพของการจำแนก















ปริมาณ (หรือพ้นที่) และการกระจายเชิงพนทของดินถลมทมอยูหรืออาจเกดข้นในพ้นทออนไหว
ตอการเกิดดินถลม ยังอาจรวมคำอธิบายของความเร็วและความรุนแรงของดินถลมทมีอยูหรือที ่


อาจเกิดขึ้น ความนาจะเปนที่อาจจะเกิดดินถลม ซึ่งบอกชนิดของดินถลม และตำแหนงที่จะเกิด


ี่
ี่




9) แผนททมโอกาสเกิดดินถลม (landslide hazard map) คอ แผนทแสดงพนทท ี่
ื้

มโอกาสเกิดดินถลมเปนผลผลิตทไดมาจากการประเมินแผนทความออนไหวตอการเกิดดินถลมท่ม ี





การกำหนดรอบความถี่โดยประมาณ (ความนาจะเปนรายป) ตอการถลมที่อาจจะเกิดขึ้น

10) ระดับหรือขอบเขตความรุนแรง (zoning) คือ พ้นท่ท่มการจัดระดบความไว




ตอการเกดดินถลม ทังของพนทออนไหวตอการเกดดินถลม พนทเสี่ยงภัยดินถลม และพนททไดรับ


ื้
ี่
ื้

ี่

ี่
ื้
ี่
ผลกระทบจากดินถลม

11) แผนทเสี่ยงภัยดินถลม (landslide risk map) คือ แผนท่แสดงผลการประเมิน
ี่

ความเสี่ยงดินถลมเปนผลผลิตท่ไดจากการประเมินพ้นท่ท่มีโอกาสเกดดนถลม ซงบงบอกระดับ






ึ่

ผลกระทบทเกดขนตอองคประกอบทมความเสียงจากเหตการณภัยในพนทหนึง ๆ โดยมากแสดงผล

















เปนระดับสี
12) ดิน (soil)




ก) ความหมายทางธรณวิทยา คือ มวลวัสดทเกดจากการผุพงของผิวโลกจากหินหรือ


ชั้นตะกอนและยังไมจับตัวกันวางตัวบนหินดาน
ื้
ข) ความหมายทางปฐพศาสตร คือ เทหวัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมพนโลกอยูเปนชั้นบาง ๆ


เกิดจากการสลายตัวของหินและแรผสมคลุกเคลากับอินทรียวัตถ ซ่งประกอบดวยอินทรียวัตถ ุ

อนินทรียวัตถุ น้ำ และอากาศ
ค) ความหมายทางวิศวกรรม คือ วัตถุทางธรรมชาตท่เกิดจากการแปรสภาพหรือ









สลายตวของหินและแรธาตุ ซงทบถมกนในสภาพทไมแนนอาจจะมอนทรียวัตถเปนสวนประกอบดวย




หรือไมก็ได แต “ดิน” หมายถึง กรวด (gravel) ทราย (sand) ทรายแปง (silt) และดินเหนียว (clay)



13) ดินกำเนิดโดยการสลายของหิน ณ ทตั้ง (residual soil) คือ ดนทเกดจากการผุพัง



ของหินตนกำเนิด เนื่องจากขบวนการปฏิกิริยาตอดิน ฟา อากาศ และตะกอนทับถมอยูกับท ี่




14) ดนกำเนิดโดยการพดพาไปตกตะกอน (transported soil) คือ ดินท่เกดจากการ

ี่

ถูกพัดพาจากแหลงกำเนิดโดยตัวกลาง และไปทับถมในอกทหนึ่ง ตัวกลางทพดพาอาจเปนน้ำ ลม


และธารน้ำแข็ง

- 7 -





15) ตะกอนน้ำพา (alluvium) คอ กรวด หิน ดิน ทราย และสิงอ่น ๆ ท่เกดจากการ



พัดพาของน้ำไปสะสมตัว ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่ง เชน alluvial ตะกอนรูปพัดบริเวณที่ราบเชิงเขา
16) เศษหินเชิงเขา (colluvium) คือ กอนหินขนาดตาง ๆ ท่แตกหักกระจัดกระจาย



ึ่

ี่
มากองทับถมระเกะระกะอยูเชิงเขาซงเปนการแตกสลายตัวของเขาหินระยะแรก โดยเริ่มผุพงจากทสูง
รวงลงมาไปหาที่ต่ำเพราะแรงดึงดูดของโลก
17) ตวอยางแบบถูกรบกวน (disturbed sample) คอ ตัวอยางดินที่ไดจากการตอก ขุด


หรือตักที่ทำใหตัวอยางดินเปลี่ยนสภาพ เนื่องจากถกรบกวนจากแรงกระทำภายนอก


18) ระบบจำแนกดนเอกภาพ (Unified Soil Classification System, USCS) คอ


ระบบการเรียกชื่อดินจากการจำแนกจากผลการทดสอบขนาดของเม็ดดินและการกระจายตัวของดน
(grain size distribution) ขีดเหลว (liquid limit) และดัชนีพลาสติก (plastic index)



19) ระนาบการเลือนไถล (slip plane) คอ แนวระนาบท่หินผุหรือดินเคลื่อนตัวผาน



โดยปกติแนวระนาบจะประกอบไปดวยชั้นที่แข็งรองรับดานลางชั้นดินที่ออนกวา



20) วิทยาหิน (lithology) คือวิชาท่วาดวยลักษณะทางกายภาพของหิน โดยการศกษา
จากหินโผลหรือหินตัวอยาง

2.2 ดินถลม



2.2.1 ความหมายของดินถลม






ดินถลม (landslide) เกดจากการเคลื่อนทของมวลดน มวลหินลงมาตามลาดเขาดวย
อทธิพลของแรงโนมถวงของโลก (Cruden and Varnes, 1996) สามารถเกดขนเองตามธรรมชาต ิ







โดยมปจจัยภายนอกเปนตัวกระตุนหรือตัวเรง (triggering factors) เชน ปริมาณน้ำฝนทตกหนัก

อยางตอเนื่อง ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของชั้นน้ำใตดินสงผลใหชันดินและหินเสียสมดุลจนถึงขาด







เสถยรภาพ กลาวคอกลไกและกระบวนการควบคมการเคลือนทของมวลดนทเปนผลจากน้ำฝน




เปนตัวเรง และการเปลียนแปลงของระดับน้ำใตดนเปนสาเหตุ นอกจากนีปรากฏการณดนถลม





สามารถเกดขนไดจากการกระทำของมนุษย เชน การตัดถนน ตีนเขาถูกทำใหขาดเสถียรภาพ การตดไม 





ทำลายปา ขาดพชพรรณปกคลุม และยึดเกาะดิน ทำใหงายตอการเกิดการพังทลาย และดินถลม
2.2.2 การจำแนกประเภทของดินถลม
ึ่

การจำแนกประเภทของดนถลม และการพงทลายของลาดเขา (รูปท 2.1) ซงใชใน




รายงานฉบับนียึดหลักเกณฑการจำแนกของ British Geological Survey (BGS) เปนแนวทาง โดย

ื้

หลักเกณฑดงกลาวมพนฐานมาจากการจำแนกประเภทดินถลมของ Varnes (1978) ซงอาศัยหลักการ
ึ่


- 8 -









พืนฐาน 2 ประการในการจำแนก ไดแก 1) ชนิดของการเคลือนท (type of movement: falls,
topples, slides, spreads, flows) และ 2) ชนิดของมวลเคลื่อนที่ (type of material: rock, debris,





earth) (ตารางท 2.1) และการจำแนกระดบความเร็วในการเคลื่อนทของมวลดิน (Cruden and Varnes,

1996) (ตารางท 2.2) ดินถลมแตละประเภทสามารถอธิบายไดดังนี้

ึ้
1) การรวงหลน (falls) เปนการเคลื่อนททเกดขนอยางรวดเร็วมาก (extremely rapid)
ี่

ี่


เปนการหลุด รวง กระดอน และกลิงอยางเปนอสระภายใตแรงโนมถวงของโลกจากหนาผาหรือพนที ่












ลาดชันทมมมเอียงเทสูง มักเกดตามระนาบพนผิวทมการเคลื่อนทดวยแรงเฉือนนอยหรือไมมีเลย






เชน รอยแตกหรือรอยแยกในชันหิน สามารถจำแนกไดเปน 3 แบบตามชนิดของวัสดุ ไดแก 

ก) หินรวง (rock fall) หินที่หลุดรวง

ข) เศษหินและดน (debris fall) ตะกอนดินเม็ดหยาบและหินที่หลุดลวงบริเวณเชิงเขา
ค) ดินรวง (earth fall) ตะกอนดินเม็ดละเอียดที่หลุดตกลงมา
2) การลมคว่ำ (topples) เปนการเคลื่อนทในลักษณะลมคว่ำมาขางหนา (forward








rotation) ภายใตแรงโนมถวงของโลก โดยมจุดหมนหรือแกนของการหมนอยูทีฐานของระนาบ

รอยชันความไมตอเนื่อง (basal discontinuities)



3) การเลือนไถล (slides) คือการเคลือนทของมวลบนระนาบการเฉอน (shear or



rupture surfaces) สามารถแบงออกเปน 2 ประเภทตามลักษณะของระนาบการเคลือนท ไดแก 





การเลือนไถลบนระนาบโคง (rotational slide or slump) และการเลื่อนไถลบนระนาบเรียบ





(translational slide) การเลือนไถลบนระนาบโคง มจุดเดนคอ ระนาบของการเคลือนทจะมีลักษณะ




โคงคลายชอน (spoon-like shape) หรือรูปประทนหงาย (concave-upward failure surfaces)


ี่
สวนการเลื่อนไถลบนระนาบเรียบ (planar rupture surface) มวลวัสดมกจะเคลื่อนทบนระนาบที ่


คอนขางขนานกับความลาดชันหรือตามระนาบรอยแตก และทิศทางการวางตัวของชั้นหิน


4) การแผออกดานขาง (lateral spread) เปนลักษณะการแตกและยืดออกดานขาง


ี่
ของชั้นหิน (coherent rocks) หรือชั้นดินทมความเชื่อมแนน (cohesive soils) เนื่องจากแรงดง

(tension) หรือแรงเฉอน (shear) สวนใหญมักเกดสัมพันธกับแผนดินไหว และปรากฏการณดินไหล








(liquefaction) บนพ้นราบหรือพ้นท่ท่มความลาดชันนอย หรือเกดจากการท่มีหินหรือดินท่แข็งและ



ี่


ไมอมน้ำวางตัวทบอยูบนชั้นดินทอมน้ำ เมอชั้นดินทอมน้ำถกทบดวยน้ำหนักทมากกจะไหลออกดานขาง







ื่








ทำใหชั้นดินและชั้นหินที่อยูดานบนแตกออกและยุบตัว
ี่
5) การไหล (flows) เปนการเคลื่อนทในลักษณะคลายของไหล (flow-like movement)

ของวัสดุแหงหรือวัสดทอมตวไปดวยน้ำลงมาตามความลาดชันและแรงโนมถวงของโลก สามารถแบง






ออกเปนชนิดตาง ๆ ดังนี้

- 9 -



ก) หินไหล (rock flow: deep creep) หรือ หินถลม (rock avalanche) เปนการไหล

ี่
อยางรวดเร็วท่สุด (extremely rapid) ของเศษหิน (fragmented rocks) จากกองหินทเลื่อนไถล

(rock slide) หรือถลม (rock fall) มากอนหนา




ข) เศษวัสดธรณีไหล (debris flow) เปนการเคลือนทอยางรวดเร็วมาก (very rapid)

ของเศษหินและตะกอนดินที่อมตัวไปดวยน้ำบนเสนทางการไหลที่มีอยูเดิม (established paths) เชน
ิ่


รองธาร (gullies) และรองน้ำลำดบทหนึงหรือสอง (first-or second-order drainage channels)






ปกตการไหลของเศษหินและตะกอนดนมักจะมาจากดินถลมประเภทอ่น ๆ ท่เกิดข้นบนทางลาดชัน


โดยมีน้ำเปนตัวกลางพดพาเอาเศษหินและตะกอนดินไหล รวมถึงซากตนไมกอนทจะไหลลงมากอง



ทับถมบริเวณที่ราบเชิงเขาในลักษณะของเนินตะกอนรูปพัดหนาหุบเขา


ค) การถลมของเศษวัสดธรณ (debris avalanche) เปนการไหลอยางรวดเร็วมากถึง



ิ่
มากทสุด (very rapid to extremely rapid) ของเศษหินและตะกอนดินท่มความชื้นหรืออมตัว

ไปดวยน้ำ (partially or fully saturated debris) สามารถพบไดทั่วไปบนพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง






ง) ดินไหล (earth flow) เปนการเคลื่อนทีของชั้นดนหรือชันหินทมตะกอนขนาด
ละเอียดหรืออนุภาคของดินเหนียวเปนองคประกอบหลัก (fine-grained materials or clay-bearing










rocks) มกเกดบนพนททมความลาดชันไมสูงนัก (moderate slopes) โดยอตราความเร็วในการไหล

จะแปรผันตรงกับปริมาณความชื้นในดิน

จ) โคลนไหล (mud flow) หรือ ดนไหลแบบเร็วมาก (rapid earth flow) เปนการไหล
อยางรวดเร็วมากถงมากท่สุด (very rapid to extremely rapid) ของตะกอนดนทประกอบไปดวย






อนุภาคของทราย ทรายแปง และดินเหนียว ไมนอยกวารอยละ 50 และมีคาความชื้นในสถานภาพ

พลาสติกของดิน (plastic index) > รอยละ 5



ฉ) การคบตว (creep) เปนการคืบหรือไหลคลานอยางชา ๆ ดวยอตราความเร็วคงที


ไปตามการเอียงเทของชั้นดินหรือหิน สามารถแบงออกเปน 3 ประเภท คือ การคบตามฤดกาล




(seasonal creep) การคบอยางตอเนือง (continuous creep) และการคบแบบเรง (progressive

creep)



6) ดนถลมแบบซับซอน (complex landslide) เปนการเคลือนทของมวลดนมากกวา



ี่

หนึงชนิดในธรรมชาติมวลดินทเกดการเคลื่อนทกอนมกไปกระตุนใหเกดการเคลื่อนทในรูปแบบอน

ื่
ี่



ี่
ตามมา เชน การเลื่อนไถลบนระนาบโคงของชันดนบนไหลเขาสามารถไถลลงมาสูตีนเขา และมวลดิน



สามารถไหลตอไปไดขึ้นอยูกับปริมาณความชื้นในดิน

- 10 -










































































รูปที 2.1 ประเภทของดินถลมจำแนกโดยอาศยชนิดของการเคลื่อนที่ ชนดของมวลเคลื่อนที่ ธรรมชาติ

ของการเคลื่อนที่ อัตราการเคลื่อนที่ และความชื้น (คัดลอกและดัดแปลงจาก Varnes, 1978)

- 11 -







ตารางที่ 2.1 แสดงการจำแนกชนดของดินถลม (ดัดแปลงจาก Varnes, 1978)

ชนิดของมวลเคลื่อนที่ (type of Material)



ชนิดการเคลื่อนท ี่ ดนในเชิงวศวกรรม (Engineering soils)
(type of Movement) ชั้นหิน (bedrock) predominately coarse predominately fine

> 20 % gravel and < 20 % gravel and
coarse grain coarse grain
การรวงหลน การรวงหลน การรวงหลน

การรวงหลน (falls) ของหิน ของเศษหินและดิน ของดิน
(rock fall) (debris fall) (earth fall)
การลมคว่ำ การลมคว่ำ การลมคว่ำ
การลมคว่ำ (topples) ของหิน ของเศษหินและดิน ของดิน

(rock topple) (debris topple) (earth topple)
ระนาบโคง
การเลื่อนไถล (rotational) การเลื่อนไถล การเลื่อนไถล การเลื่อนไถล
ของหิน ของเศษหินและดิน ของดิน
(slides) ระนาบเรียบ (rock slide) (debris slide) (earth slide)
(translational)
การแผกระจายออก การแผกระจายออก การแผกระจายออก
การแผกระจายออกดานขาง
ดานขางของหิน ดานขางของเศษหินและดิน ดานขางของดิน
(lateral spreads)
(rock spread) (debris spread) (earth spread)
การไหล การไหล

ของเศษหินและดิน ของดิน
(debris flow) (earth flow)
การไหลของหิน การถลม โคลนไหล

การไหล (flows) (rock flow: Deep ของเศษวัสดุธรณี (mud flow หรือ
creep)
(debris avalanche) rapid earth flow

การคืบตัวของดิน (soil creep)



การเคลื่อนที่แบบซับซอน มีชนิดการเคลื่อนที่ตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป
(complex) (combination of two or more principle types of movement)

- 12 -





ตารางที่ 2.2 แสดงการจำแนกระดับความเร็วในการเคลื่อนที่ของมวลดิน (Cruden and Varnes, 1996)











ระดับความเรว คำอธิบาย ความเรว ความเรวทวไป นัยสำคญของการทำลายทเปนไปได
3

ี่
7 รวดเร็วทสุด 5 x 10 5 เมตร/วนาท ี ความรุนแรงระดับสูงสุด; สิ่งกอสรางถูกทำลาย


โดยการปะทะกนของวตถทเคลื่อนที่ มีการ



สูญเสียหลายชีวิต การอพยพเปนไปไดยาก
6 รวดเร็วมาก 5 x 10 3 เมตร/นาท ี สูญเสียสิ่งมีชีวิตบาง; ความเร็วรวดเร็วมาก
1
จนยากจะทำใหอพยพไดทุกคน
5 รวดเร็ว 5 x 10 1.8 เมตร/ชวโมง การอพยพยังเปนไปได; สิ่งปลูกสราง
-1


ทรัพยสิน และเครื่องมือถูกทำลายเสียหาย
4 ปานกลาง 5 x 10 13 เมตร/เดือน สิ่งปลูกสรางชั่วคราวและสิ่งปลูกสรางที่ไวตอ
-3
ความรูสึกบางสวนยังสามารถบำรุงซอมแซม
ชั่วคราวได

3 ชา 5 x 10 1.6 เมตร/ป  การเยียวยาการกอสรางยังสามารถดำเนินตอได
-5
ระหวางการเคลื่อนไหวน; สิ่งปลูกสรางที่ไมไวตอ
ี้
ความรูสึกยังสามารถบำรุงซอมแซม โดยมีการทำ
เปนประจำ ถาการเคลื่อนไหวโดยรวมไมมาก

เกินไปในระหวางระยะเรงความเร็ว


-7
2 ชามาก 5 x 10 16 มิลลิเมตร/ป สิ่งกอสรางถาวรบางแหงยังไมไดรับความ
เสียหาย


-7
1 ชาที่สุด < 5 x 10 < 16 มิลลิเมตร/ป ยังไมสามารถตรวจจับไดหากปราศจากเครื่องมือ
วัด; การกอสรางยังเปนไปไดแตควรระมัดระวัง

- 13 -




2.3 ปจจัยที่เปนสาเหตุของการเกดดินถลม



2.3.1 สภาพภูมิประเทศ (topography)







ลักษณะภูมประเทศทมอทธิตอความรุนแรงและโอกาสตอการเกดดนถลม คอ ความลาดชัน





(slope) ความยาวของความลาดชัน (slope length) ทศทางของความลาดชัน (aspect of slope)


ระดบความสูงของพื้นที่ (elevation) และภูมสัณฐาน (landform) วาเปนลักษณะสันเขาแบบยอดเขาแหลม

ยอดเขามน หนาผา และเชิงเขาเปนตน สิ่งเหลานี้จะมบทบาทตอการเคลื่อนทหรือการเลื่อนไหลของ
ี่



มวลดินตามลาดเขา จากหลาย ๆ งานวิจัยพบวาปจจัยความลาดชันและความสูงของพ้นท่มีผลตอระดับ
ความรุนแรงของการเกิดดินถลม กลาวคือ เมอพนทมีความลาดชันนอยกวา 5 องศา และความสูงนอยกวา
ื่
ี่
ื้
100 เมตร จะใหความรุนแรงตอการเกดดินถลมต่ำ (Anbalagan, 1992; Kingsbury and others, 1991)






ี่

ในขณะทระดับความรุนแรงตอการเกดดินถลมจะสูงข้นเม่อพ้นท่มความลาดชันมากกวา 45 องศา และ





ความสูงมากกวา 300 เมตร อยางไรกตามยังพบวาพนท่ท่มความลาดชันระหวาง 21 - 40 องศา มโอกาส




เกิดดินถลมมากทสุด (Lessing and others, 1983; Mehrotra and others, 1991) สำหรับใน
กรณีศึกษาทีบานกะทนเหนือ อำเภอพปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช พบวารอยดนถลมทไดจากการ










แปลภาพถายทางอากาศ จำนวน 1,826 รอยดนถลม สวนมากรอยละ 70 พบอยูในบริเวณทมความลาดชัน



ระหวาง 30 องศา ถึง 60 องศา (วรวุฒิ ตันติวนิช, 2535)








ี่

ความสูงของพนทเปนปจจัยหนึงทมความสัมพนธกบการเกิดดินถลม เนื่องมาจากพนทท ่ ี
ื้







มีความสูงมากยอมมีการกัดเซาะพงทลายรุนแรง ตามหลักการของการปรับตัวของพนโลก พนท่ทอยูใน








ทสูงกจะมการกรอน (erosion) มากตามไปดวย เชน การศกษาของ Anbalagan (1992) ไดจําแนกระดับ







ความสูงต่ำของภูมประเทศตามระดบความรุนแรงทเกดดนถลมเปน 3 ระดบ คอ ระดบความรุนแรงทเกด

ี่




ดินถลมต่ำพบทระดบความสูงนอยกวา 100 เมตร ระดบความรุนแรงทเกดดนถลมปานกลาง พบทระดบ









ี่

ความสูง 100 - 300 เมตร และระดับความรุนแรงทเกดดินถลมสูง พบที่ระดับความสูงมากกวา 300 เมตร



อยางไรก็ตามพ้นทท่สูงชันมาก เชน หนาผาหินสวนใหญประกอบดวยชั้นหินมากกวาชันดิน จึงมความ








คงทนมากกวาบริเวณทเปนไหลเขาหรือลาดเขา ดงตวอยางจากการศกษาของศนยวิจัยปาไม (2537)





ไดรายงานผลการศึกษาการเกิดดินถลมในพืนทภาคใตวา ตำแหนงท่พบดนถลมในระดับความสูงต่ำกวา




200 เมตร พบ 14 แหง ระดบความสูง 200-500 เมตร พบ 1,050 แหง ระดบความสูง 500-800 เมตร


พบ 744 แหง และระดับความสูงมากกวา 800 เมตร พบนอยลง โดยพบเพยง 187 แหง อันเนืองจาก

บริเวณที่ศึกษาที่ระดับความสูงขึ้นเปนชั้นหินมากกวาชั้นดิน

- 14 -




2.3.2 สภาพธรณวิทยาและปฐพวิทยา (Geology and Pedology)


สภาพธรณีวิทยาท่แตกตางกันใหชั้นดินตางชนิดกัน และความหนาตางกน เชน หินแกรนิต




แสดงลักษณะไมมีความเปนเนื้อเดยวกน (heterogeneous) มีอัตราการผุพงสูง แรทเปนองคประกอบ






เม่อผุพังแลวจะใหชันดนเปนตะกอนทราย หรือตะกอนทรายปนดนเหนียว (วรวุฒิ ตันติวนิช, 2535)






สวนหินภูเขาไฟ มีอัตราการผุพังสูง และใหชันดนทรายปนดนเหนียว หรือดนเหนียว สวนหินตะกอน







เชน หินดนดาน หินโคลน เม่อผุพังจะใหชันดินเหนียวเปนสวนใหญ สวนพ้นท่ท่มีลักษณะธรณีวิทยาเปน





หินแปร เชน หินชนวน (slate) หินควอรตไซต (quartzite) มโอกาสเกดดนถลมไดงายกวาหินตะกอนเชน

หินปูน หินโดโลไมต (limestone/dolomite) และหินทราย (Mehrotra and others, 1991) นอกจากนี ้

การพิจารณาจากอัตราการผุพงอาจจะสามารถบงบอกถึงโอกาสเกิดดินถลมได เชน ปจจัยการผุพังสลายตัว
ี่

ของหินแบงเปน 3 กลุม คอ กลุมท 1 หินมีการผุพงสลายตัวเร็วแตโอกาสเกดดินถลมต่ำ ไดแก หินควอรตไซต 






หินปูน หินแกรนิต หินแกบโบร และหินไนส กลุมท 2 หินมการผุพงสลายตวปานกลางมโอกาสเกิดดินถลม







ปานกลาง ไดแก หินดนดาน และหินทรายแปง และกลุมท่ 3 หินมการผุพงสลายตวชาแตมโอกาสเกด











ดนถลมสูง ไดแก หินชนวน หินฟลไลต และหินชีสต นอกจากนียังพบวาโครงสรางทางธรณวิทยามผลตอ



อตราการผุพงของหิน โดยเฉพาะหินทอยูในเขตรอยเลื่อน มรอยแตกและรอยแยกมาก สงผลใหอตรา














การผุพงสูงตามมาดวย เนืองจากมีชองวางใหน้ำ และอากาศผานเขาไปทำปฏิกริยาทางเคมไดงายขน


(Anbalagan, 1992)
ั้
ึ้



การเกดดินถลมระดับต้น (shallow landslide) มีความหลากหลายทางชนิด ทงนี้ขนอยูกบ
ชนิดของดนทเปนผลมาจากการผุพงของชันหินตนกำเนิด พิสุทธิและคณะ (2533) ไดศกษา











ดินท่เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินแกรนิต บริเวณท่เกิดดินถลมอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช



พบวาดนสวนใหญเปนดินทราย สามารถแบงเปน 2 ชั้นคือ ดินชั้นบนเปนดนรวนเหนียวปนทราย
(sandy clay loam) ซงประกอบดวยอนุภาคขนาดทรายรอยละ 50 - 65 ดินชั้นลางเปนดินเหนียวปนทราย
ึ่
(sandy clay) ซงประกอบดวยอนุภาคขนาดทรายรอยละ 30 - 45 จากขอมูลนี้จะเห็นวาดินทราย
ึ่


มแรงยึดเหนี่ยวของเม็ดดินมีนอยทำใหเกดการพงทลายไดงาย โดยปกติแลวถาดินแหงสนิทจะไมม ี





แรงยึดเหนียวเกดขนเลย ดินจะมีแรงยึดเหนี่ยวเพมขนเมอดินไดรับความชื้นเพมขนและจะคอย ๆ ลดลง


ิ่

ื่
ึ้
ึ้


เมอดินไดรับความชื้นมากขนเรือย ๆ จนเกนขดจํากดพลาสติก (plastic limit: PL) ดนแทบจะไมมีแรง






ื่






ยึดเหนียวหรือไมมเลย เมอดินไดรับความชื้นมากข้นจนถึงขีดจํากัดความเหลว (liquid limit: LL)








ดินจะอยูในสภาพเหลวและไหลได คาทไดจากผลตางระหวางคาขดจํากัดความเหลวกับคาขดจํากด







พลาสตก เรียกวา ดชนีพลาสติก (plastic Index: PI) ใชเปนตัวเปรียบเทยบปริมาณความชืนทสามารถ



ึ่
เพมใหดินไดโดยดินไมเปลียนสภาพเปนของเหลว ซงดินแตละชนิดมีคาดชนีพลาสติกไมเทากน ดนทีม ี
















คาดัชนีพลาสติกต่ำ (PI = 5) เชน ดนทรายแปง เมอไดรับความชืนเพยงเล็กนอยจะเปลียนสภาพเปน


ี่



ของเหลวไดงายกวาดินทมคาดัชนีพลาสติกสูง (PI = 20) เชน ดินเหนียวตองไดรับความชืนเขาไปมากกวา
จึงจะเปลียนสภาพเปนของเหลว


- 15 -




2.3.3 สภาพพืชพรรณและการใชที่ดิน (vegetation and land use)






พืชพรรณและสิงปกคลุมดินมีอทธิพลตอการเปลียนแปลงพ้นท่ เชน พนท่เกษตรกรรม














พนทีปาทีมความหนาแนนมาก พ้นท่ท่มพืชพรรณหนาแนนปานกลาง พ้นท่ทมีพืชพรรณปกคลุมนอย








และพืนทีทีไมมสิงปกคลุม (Anbalagan, 1992) เนื่องจากพืชชวยทำใหดินรวนซย เม่อฝนตกลงมาน้ำฝน






แทรกซมและไหลผานลงสูดินชั้นลางไดดี นอกจากนี้รากพืชยังชวยยึดอนุภาคดนไมใหแตกหลุด และ
เลือนไหลไดงาย คณะทรัพยากรธรรมชาต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (2540) ไดรายงานการศกษา






สภาพดนถลมบริเวณไหลเขาของเทอกเขาหลวงในจังหวัดนครศรีธรรมราช พบวาบริเวณท่เกดดินถลม



สวนใหญเปนบริเวณลาดไหลเขาที่มการถางปาเพื่อปลูกยางพารา ซงมระบบรากฝอย ขาดรากแกวยึดเกาะ






ชั้นดินเปนปจจัยท่สงเสริมใหเกิดการขาดเสถียรภาพงายขน เมอมการกระตุนดวยปริมาณน้ำฝน





(วรวุฒิ ตันติวนิช, 2535) แมวาบางแหงมีความลาดชันไมมากนัก แตรอยแผลทเกิดดินถลมจะเปดกวาง








สวนบริเวณท่เปนปาซงมสภาพคอนขางสมบูรณมีการเกิดดนถลมบาง แตรอยแผลของการถลมจะเกดใน



บริเวณทมีความลาดชันสูง นอกจากนี้อตราการแทรกซึมของน้ำยังเปนปจจัยเสริมในการเกดดนถลม เชน


บริเวณปาผลัดใบ(deciduous forest) อัตราการแทรกซึมของน้ำมีคามากกวา 1,270 มลลิเมตรตอชัวโมง





สวนปาสน (Pine forest) มีคาระหวาง 36-1,270 มลลิเมตรตอชัวโมง (Hornbeck and Reinhart, 1964)

ยังพบวาในดนชันฮวมสหรือโอ อัตราการแทรกซึมของน้ำมคาสูงถง 5,994 มลลิเมตรตอชัวโมง ดินชันเอม ี










คาระหวาง 1,600-3,353 มิลลิเมตรตอชั่วโมง และดินชั้นบี (B horizon) มีคาระหวาง 230-432 มลลิเมตร

ตอชั่วโมง (Trimble and others, 1951)

ี่

กรณีศึกษาในประเทศไทยบริเวณพนทปาตนน้ำภาคเหนือ ซงเปนปาดิบเขาก็พบเชนเดียวกน
ึ่

ื้



วาแทบไมมน้ำไหลบาบนผิวหนาดนเลย (นิวัต เรืองพานิช, 2513) เปรียบเทยบกบพนทรางปรากฏวา



ี่


ปริมาณน้ำไหลบาบนผิวหนาดินมีมากกวาพ้นท่ปาดบเขาถง 2 เทา (นิพนธ และคณะ, 2516) โดยภายใต 






สภาพปาทีปกคลุมดวยเนื้อดนปนทรายหรือเนือดนเหนียวท่ปกคลุมไปดวยฮวมส และเศษซากพช




จะมอัตราการแทรกซึมน้ำไมแตกตางกันมากนัก โดยใหเหตุผลวาชองวางของดินในระดับความลึกประมาณ

60 เซนตเมตร จากผิวดนแทบจะไมแตกตางกัน Hoover (1950) หมายความวาบริเวณพนท่ลุมน้ำทีมี










ปาไมปกคลุมจะไมมน้ำไหลบาบนผิวหนาดน น้ำในลำธารทเห็นเปนน้ำทไหลผานดนลาง (subsurface flow)







ี่
เทานั้นทลงสูลำธาร (นิวัต เรืองพานิช, 2513; Hoover and Hursh, 1943; Hewlett and Hibbert,










1967; Tsukamoto, 1966) อกทงประเภทของปายังพบความแตกตางของปริมาณน้ำทพชดดซบไวในดน


เชน ปาดบแลง ปาดบเขา ปาดบชื้น ปาเบญจพรรณผสมไมสัก และปาเตงรัง มคาประมาณรอยละ 30, 9,










19, 39, และรอยละ 62 ของปริมาณฝน ตามลำดบ จะเห็นวาพนท่ปาดิบเขามน้ำทถกพืชดดซบไวนอย













ทสุด เนืองจากมลักษณะของใบเปนมนและมขนาดเล็กเปนสวนใหญ นอกจากนีสภาพของบรรยากาศยัง

เต็มไปดวยเมฆหมอกและมคาความชื้นสัมพัทธสูงในขณะทปาชนิดอ่น ๆ มีน้ำท่ถูกพืชดูดซับไวประมาณ






40% ถง 60% (Tangtham, 1999)

- 16 -




2.3.4 ปรมาณน้ำฝน (Rainfall)








จากปจจัยสำคญดงทกลาวมาแลว ปริมาณน้ำฝนยังเปนปจจัยภายนอกทมากระตนใหระบบ


ี่

ึ้
ื่
และกลไกลการพังทลายของดิน หรือการเคลื่อนทของมวลดินเกิดขึ้นเร็วขน กลาวคือ เมอมฝนตกน้ำฝนจะ



ซึมลงไปในดินดวยอทธิพลของแรงโนมถวง ระยะแรกการแทรกซม (infiltration) ของน้ำฝนลงไปในดน


คอนขางเร็วเนื่องจากความชื้นในดนยังมนอย เมอมฝนตกนานขนในดนจะมความชื้นมากขนอตราการ




ึ้








แทรกซมจะชาลงทงนี้ขนอยูกบประเภทของเนื้อดิน ถาเปนดินเนื้อหยาบจำพวกดินทรายการแทรกซมของ

ั้
ึ้




น้ำลงไปในดินกเปนไปอยางรวดเร็ว แตถาเปนดินเนื้อละเอยดจำพวกดนเหนียวการแทรกซึมจะคอนขางชา

ี่


ี่


ปริมาณน้ำทแทรกซมลงไปในดนจะไปกกเกบไวในชองวางในดน (soil pore) ถาปริมาณน้ำมีมากกวาทดิน

จะเกบกกไวไดก็จะไหลผานลงสูชั้นน้ำใตดินหรือชั้นน้ำบาดาล (groundwater) ปริมาณน้ำฝนทตกลงมายัง
ี่








พนดนแทรกซึมลงไปในดนขนอยูกับอตราการแทรกซม (infiltration rate) ถาปริมาณน้ำฝนทตกลงมาใน







อัตรานอยกวาอัตราการแทรกซึม น้ำฝนจะแทรกซึมลงในดินท้งหมด แตถาปริมาณน้ำฝนทตกลงมาใน

อตราท่มากกวาอัตราการแทรกซม น้ำฝนทเหลือจากการแทรกซึมลงในดนก็จะเกิดการไหลบาผิวดิน






(surface runoff) ลงสูที่ต่ำ กรณีที่มพืชพรรณหรือปาไมขึ้นปกคลุมพื้นดินปริมาณน้ำฝนทตกลงมาบางสวน
ี่



จะถกยึดไวโดยใบกงกาน และลำตน จะมมากหรือนอยขนอยูกบชนิดของพชพรรณหรือประเภทของปาไม






















เมอน้ำฝนทตกแทรกซึมลงในดน ดนกจะไดรับความชื้นเพมขนทำใหดนมีน้ำหนักเพมขนมผลทำใหแรงยึด





เหนี่ยวระหวางมวลดินดวยกันหรือระหวางมวลดินกับหินลดลง ขณะเดียวกันแรงตานตอการยึดเหนี่ยวหรือ

ื้

ึ้

ี่
แรงผลักดันมเพมมากขน ประกอบกับสภาพพนทตามลาดไหลเขามความลาดชัน และมแรงโนมถวงของโลก

ิ่



จึงเปนสาเหตใหดนและหินแตกหลุดออกจากกนและเกดการถลมลงมา ดงตวอยางของ ปริญญา นุตาลัย





และวันชัย โสภณสกลรัตน (2532) พบวาเมอมปริมาณฝนตกตงแต 260 มิลลิเมตรขนไปภายในเวลา







24 ชัวโมง จะเกดดนถลมตามลาดไหลเขาหลายแหง อยางไรก็ตามนอกจากปริมาณน้ำฝนท่ยังตองศกษา








ิ่
เพมเติมแลวยังมีปจจัยจากความสัมพนธของความถและปริมาณน้ำฝน พบวาจำนวนของการเกิดดนถลม

มีความสัมพนธกับความถ่และปริมาณน้ำฝน กลาวคือ ในระดับรุนแรงมากตองมีปริมาณฝนตกสะสม



มาแลว 2 วัน มากกวา 140 มิลลิเมตร และความหนาแนน (rainfall intensity) ของฝนมากกวา
35 มลลิเมตรตอชั่วโมง ในระดบรุนแรงตองมีปริมาณฝนตกสะสมมาแลว 2 วันปริมาณน้ำฝนระหวาง 80 -




140 มลลิเมตร ความหนาแนนของฝนมากกวา 15 มิลลิเมตรตอชัวโมง และระดบรุนแรงนอยตองม ี




ปริมาณฝนตกสะสมมาแลว 2 วัน ปริมาณน้ำฝนมากกวา 40 มิลลิเมตร ความหนาแนนของฝนมากกวา


10 มลลิเมตรตอชัวโมง และการคาดคะเนปริมาณและความหนาแนนของฝนสามารถแบงเปน 3 ระดบ



กลาวคือ (1) ระดบรุนแรงนอย ตองมีฝนตกติดตอกันมากกวา 3 วัน มปริมาณฝนระหวาง 270-300



มิลลิเมตร และความหนาแนนของฝนระหวาง 90-100 มลลิเมตรตอวัน (2) ระดับปานกลาง ตองมีฝนตก


ติดตอกันมากกวา 2 วัน มปริมาณฝนระหวาง 280-300 มลลิเมตร และความหนาแนนของฝนระหวาง


140-150 มลลิเมตรตอวัน และ (3) ระดับรุนแรง ตองมีฝนตกมากกวา 6 วันมปริมาณฝนระหวาง 480-


500 มลลิเมตร และความหนาแนนของฝน ระหวาง 80-85 มิลลิเมตรตอวัน (Nianxueo and Zhupingo,1992)

- 17 -





อยางไรก็ตามการศึกษาปริมาณน้ำฝนท่มีผลตอการเกิดดินถลมยังตองพิจารณารวมกับการเปลี่ยนแปลง
ึ่



ของระดับน้ำใตดิน ซงมวงจรการเปลี่ยนแปลงแตกตางกันในแตละฤดูกาล และเปนสาเหตหลักใน
การเคลื่อนตัวของมวลดิน
2.4 แนวความคิดเกี่ยวกับการทำแผนที่พื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลม




ภัยพิบัติทางธรรมชาติ คือ “ภัยพิบัตท่มีโอกาสเกดขน ในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึงภายใน






บริเวณที่เกิดปรากฏการณธรรมชาติอาจสรางความเสียหาย” (Varnes, 1984) คำจำกดความรวมถงขนาด

ท่ต้งทางภูมิศาสตร และคาบอบัติซ้ำของการเกิด (Carrara and Pike, 2008) ซงขนาดจะเปนตัวบงบอก










ความรุนแรงของปรากฏการณทางธรรมชาต ซ่งเปนเง่อนไขทางพฤตกรรมและพลังของการทำลายลาง







ทตงทางภูมศาสตรจะเปนตวบงชีถงการระบุสถานท่ทอาจเกดปรากฏการณ เวลาจะเปนตวบงชีถงความถ ่ ี









ของเหตุการณ (temporal frequency)







การประเมนอนตรายจากภัยพบัตดนถลมจึงตองคำนึงถง ขนาดทตั้ง และเวลาของท้งปจจัย



ควบคุมและปจจัยกระตุน (Ayalew and Yamagishi, 2005; Dahal and others, 2008) อยางไรก็ตาม
ี่
เปนการยากทจะทำนายคณลักษณะที่สำคัญทงสามประการดังทกลาวมา โดยเฉพาะอยางยิ่งชวงเวลาทจะ
ี่

ี่
ั้



เกดเหตุการณ นอกจากนีทงตวแปรภายใน (ปจจัยควบคุมดินถลม) และตวแปรภายนอก (ปจจัยกระตน)









ี่
ถูกใชในการกำหนดการเกิดภัยพบัติดินถลมในพนท (Cevik and Topal, 2003) ตัวแปรภายในทเปน
ื้



ตัวกำหนดความออนไหวตอการเกิดดนถลมประกอบดวย ธรณวิทยาของชันหิน (bedrock geology)

ธรณสัณฐานวิทยา (geomorphology) ความหนาของชันดิน (soil depth) ชนิดของดิน (soil type)


ระดับของความลาดชัน (slope gradient) หนารับน้ำฝนของความลาดชัน (slope aspect) ความนูนลาด
(slope convexity) ความเวาโคงลาด (slope concavity) ระดบความสูงจากระดบน้ำทะเลปานกลาง



(elevation) คณสมบัตทางวิศวกรรมของวัสดุธรณท่มีความลาดชัน รูปแบบของการใชประโยชนท่ดิน






(land use pattern) รูปแบบของทางน้ำ (drainage pattern) และอน ๆ (Dahal and others, 2008)


ี่


ื้

ี่
ตัวแปรภายนอกทเปนตัวกระตุนใหเกดดินถลมในพนททมความออนไหวประกอบดวย ฝนตกหนัก
ี่

แผนดินไหว การประทของภูเขาไฟ (Cevik and Topal, 2003) หรือการละลายของหิมะ (Malamud
and others, 2004)


ความออนไหวตอการเกดดนถลม (landslide susceptibility) นิยมใชกนอยางกวางขวาง




(Akgün and Bulut, 2007) และใชแทนทคำวา “ความเสียงภัยดินถลม” (landslide hazard) เนืองจาก







สามารถกำหนดพนทเสี่ยงภัยดินถลมไดโดยไมตองอางถงเวลาและขนาด (Dai and Lee, 2001)
ื้
ี่
ี่

นอกจากนี้ความออนไหวตอการเกิดดินถลมคอ ความเปนไปไดที่จะเกิดดินถลมในอนาคตในพนที่ทกำหนด
ื้










ข้นอยูกบทงสองตัวแปรคอ ตวแปรภายในทเปนปจจัยควบคุมการเกิดดนถลม และตวแปรภายนอกท ่ ี

เขามากระตุนมีความแตกตางขึ้นอยูกับเฉพาะพื้นที่ และเกิดขึ้นชั่วคราว

- 18 -









แผนทพ้นท่ออนไหวตอการเกิดดินถลมพิจารณาจากการกระจายตวของการเกิดดินถลม

ในอดีตและปจจัยควบคุมตาง ๆ (Nandi and Shakoor, 2010) ดวยเหตุนี จึงมีความสำคัญตอการระบุ







การเกิดดินถลมในอดีตอยางแมนยำ และกำหนดความสัมพันธระหวางขอมลเชิงพ้นทท่แสดงถึงลักษณะ

ทางกายภาพและเหตุการณดนถลมทเกดข้น เพ่อกำหนดความออนไหวท่เชือถอไดของการเกิดดินถลม

















ในอนาคต (Park and Chi, 2008) โดยขนตอนสำหรับการประเมนและการทำแผนทความออนไหวตอ
การเกิดดนถลมในอดีตทผานมา มีความยากลำบากและใชเวลานาน (Dahal and others, 2008)






แตเนื่องจากการพฒนาของระบบภูมิศาสตรสารสนเทศ (GIS) และแอพพลิเคชันทางคอมพวเตอร ทำให


ในปจจุบันการวิเคราะหความออนไหวในการเกิดดินถลมสามารถทำไดงายขึ้น (Dahal and others, 2008)
2.5 วิธีการศึกษาพื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลม






วิธีการทางสถต คอ การวิเคราะหรวมกนของปจจัยททำใหเกิดดินถลมในอดีตถกกำหนด






ในเชิงสถิติและการคาดการณเชิงปริมาณจะทำข้นสำหรับพ้นทท่ไมมีดินถลมในปจจุบัน แตมีสภาพที ่


คลายคลึงกน (Soeters and van Westen, 1996) ในปจจุบันแนวทางทางสถิติถือเปนเทคนิคที่เหมาะสม






ทสุดสำหรับการประเมนความออนไหวตอการเกดดนถลม (Dai and others, 2001) เนืองจากเปนไปตาม

วัตถประสงค งายตอการปรับปรุง และสามารถทำซ้ำได (He and Beighley, 2008) วิธีการทางสถิตทีใช





สำหรับการวิเคราะหภัยพบัตดินถลมในโครงการนีคือ วิธีการวิเคราะหแบบสองตัวแปร (Bivariate


statistical analysis)


การวิเคราะหทางสถติสองตวแปรหลักคอ (1) ตวแปรปจจัยทควบคุมดินถลม เชน สภาพ









ธรณวิทยา ความลาดชัน การใชประโยชนท่ดน และอ่น ๆ และ (2) แผนทการกระจายตวของการเกด




ดินถลม โดยคาน้ำหนักจะถกคำนวณใหแตละชั้น (class) ของแผนท่ปจจัยท่เปนสาเหต (Soeters and



Van Westen, 1996; Süzen and Doyuran, 2004) มีการจัดอันดับชั้นของขอมูลโดยใชความหนาแนน
ของการเกิดดนถลม (Ayalew and Yamagishi, 2005) วิธีการนี้จะสมมติวาปจจัยทงหมดไมม ี
ั้




ความสัมพนธซงกนและกน (Suzen and Doyuran, 2004) วิธีการวิเคราะหทางสถิตแบบสองตวแปรนี้





ถือวาเปนวิธีทมประสิทธิภาพและมีความยืดหยุน แตกมขอจำกดอยูหลายประการ (Thiery and others,











ึ่
2007) ซงขอจำกัดอาจรวมถึงการสูญเสียคุณภาพและความถูกตองของขอมลดวย การลดความซับซอน



ของขอมลเฉพาะเรืองทใหตวแปรปจจัยมากเกินไปจนเกิดขอผิดพลาดของคาความออนไหวของขอมล












การแปลงคาปจจัยตอเนื่องใหเปนแบบไมตอเนืองมแนวโนมทจะตองอาศยความเห็นของผูเชี่ยวชาญใน










การกำหนดขอบเขตของชันขอมล วิธีการวิเคราะหทางสถิตแบบสองตวแปรมวิธีการตาง ๆ ท่แตกตางกน






ออกไป ซงประกอบดวย วิธีการอัตราสวนของความถ (Pradhan and Lee, 2010) วิธีการคาน้ำหนักของ

ึ่

หลักฐาน (Regmi and others, 2010) วิธีการคาของขอมล (information value method) (Süzen



and Doyuran, 2004) แบบจำลองความนาจะเปนของ Bayesian และปจจัยความแนนอน (certainty
factors) (Soeters and van Westen, 1996)

บทที่ 3


ขอมูลพื้นฐาน





3.1 ที่ตั้งและอาณาเขต


จังหวัดประจวบคีรีขันธเปนจังหวัดภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยูบริเวณตอนบน

ของภาคใต ระหวางเสนละติจูดที่ 12 องศา 31 ลิปดาเหนือ ถึง 11 องศา 24 ลิปดาเหนือ และลองจจูด

ที่ 99 องศา 9 ลิปดาตะวันออก ถง 102 องศา 9 ลิปดาตะวันออก อยูหางจากกรุงเทพมหานคร



ตามเสนทางรถยนตประมาณ 399 กโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 6,367 ตารางกโลเมตร มีอาณาเขตติดกบ

ั้
บริเวณใกลเคียงทง 4 ดาน ไดแก (1) ทิศเหนือติดตอกับจังหวัดเพชรบุรี (2) ทิศใตติดตอกบจังหวัดชุมพร

(3) ทิศตะวันออกติดตอกับอาวไทย (4) ทิศตะวันตกติดตอกับสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา

3.2 ลักษณะภูมิประเทศ




ลักษณะภูมประเทศโดยทั่วไปของจังหวัดประจวบคีรีขนธเปนพนที่ทมีความแตกตางของ
ี่
ื้
ลักษณะภูมิประเทศ ตั้งแตเทือกเขาสูงไปจนถึงที่ราบลุมและที่ราบชายฝงทะเล (รูปที่ 3.1) โดยบริเวณทาง
ตะวันตกของจังหวัดมีลักษณะเปนเทือกเขาสูงสลับซับซอนของเทือกเขาตะนาวศรีกั้นเขตแดนระหวาง
ประเทศไทยและประเทศพมา สวนบริเวณทางตะวันออกของจังหวัดเปนพนที่ราบลุมและที่ราบชายฝง
ื้
ทะเล ซึ่งเปนบริเวณที่มีการสะสมตัวของตะกอนทางน้ำและตะกอนชายฝงทะเล โดยสามารถแบงลักษณะ
ภูมิประเทศของจังหวัดประจวบคีรีขันธออกเปน 5 บริเวณ มีรายละเอียดดังนี้




1) บริเวณเทอกเขาสูง อยูทางตะวันตกของจงหวัดมีลักษณะเปนเทอกเขาสูงสลับซับซอน

ของเทือกเขาตะนาวศรีเปนพรมแดนระหวางประเทศไทยกบประเทศพมา วางตัวในแนวเหนือ-ใต

เปนแหลงกำเนิดทางน้ำสำคัญหลายสาย เชน แมน้ำปราณบุรี แมน้ำกยบุรี คลองบางสะพาน และ

คลองบางนางรม และคลองกรูด ยอดเขาสูงสุดมีความสูงประมาณ 1,215 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล
ปานกลาง ครอบคลุมอำเภอหัวหิน อำเภอปราณบุรี อำเภอสามรอยยอด อำเภอกุยบุรี อำเภอเมือง
อำเภอทับสะแก อำเภอบางสะพาน และอำเภอบางสะพานนอย


2) บริเวณเนินเขา อยูทางตอนกลางของจังหวัดมีลักษณะเปนภูเขาสลับเนินเขา และเขาโดด
มีความสูงประมาณ 50-300 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง ครอบคลุมอำเภอหัวหิน อำเภอปราณบุรี

อำเภอกุยบุรี อำเภอสามรอยยอด อำเภอเมือง อำเภอทับสะแก อำเภอบางสะพาน และอำเภอบางสะพานนอย

- 20 -



















































































รูปที่ 3.1แผนที่ภูมิประเทศจังหวัดประจวบคีรีขันธ

- 21 -




ื้
3) บริเวณลอนลาดและตะพัก มีลักษณะเปนพนที่เนินลาด สูง-ต่ำสลับกัน มีความสูงประมาณ
10-50 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง บางบริเวณพบชั้นดินปกคลุมสามารถทำการเกษตรได 

ื้
4) บริเวณที่ราบลุม อยูทางตอนกลางคอนไปทางตะวันออกของจังหวัด มีลักษณะเปนพนที่
ลูกคลื่นลอนตื้น และที่ราบลุมแมน้ำ มีความสูงประมาณ 5-10 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง



ครอบคลุมอำเภอหวหน อำเภอปราณบุรี อำเภอสามรอยยอด อำเภอกุยบุรี บางสวนของอำเภอเมือง
อำเภอทับสะแก และอำเภอบางสะพาน

5) บริเวณที่ราบชายฝงทะเล อยูทางตะวันออกสุดของจังหวัดติดกับอาวไทย กระจายตัวเปน


บริเวณกวางในแนวเหนือ-ใต ประมาณ 5-10 กิโลเมตร มีลักษณะเปนพื้นที่ลุมชุมน้ำ พื้นที่ลุมน้ำขึ้นถึง และ

พื้นที่ชายหาดที่ไดรับอทธิพลจากการขึ้นลงของน้ำทะเล มีความสูงประมาณ 1-5 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล


ปานกลาง ครอบคลุมอำเภอหัวหน อำเภอปราณบุรี อำเภอสามรอยยอด อำเภอกยบุรี อำเภอเมือง อำเภอ

ทับสะแก อำเภอบางสะพาน และอำเภอบางสะพานนอย


3.3 ลักษณะภูมิอากาศ


ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดประจวบคีรีขนธ (กรมอตุนิยมวิทยา, 2563) อยูภายใตอิทธิพล



ของมรสุมที่พดประจำฤดูกาล 2 ชนิด (รูปที่ 3.2) คือ มรสุมตะวันออกเฉยงเหนือ ซึ่งพดพามวลอากาศเย็น



และแหงจากประเทศจีนเขาปกคลุมประเทศไทยในชวงฤดูหนาวประมาณกลางเดือนตุลาคมถงเดือน



กมภาพนธ ทำใหจังหวัดประจวบคีรีขนธมีอากาศหนาวเย็น แตยังคงมีฝนตกตอเนื่องอกระยะหนึ่งจนถึง


เดือนธันวาคม และมรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งพดพามวลอากาศชื้นจากทะเลและมหาสมุทรเขาปกคลุม


ประเทศไทยในชวงฤดูฝนประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ทำใหจงหวัดประจวบคีรีขันธ
มีฝนตกชุกและอากาศชุมชื้น
3.3.1 ฤดูกาล


ฤดูกาลของจังหวัดประจวบคีรีขันธ พจารณาตามลักษณะของลมฟาอากาศของประเทศไทย
สามารถแบงออกเปน 3 ฤดู ดังนี้


1) ฤดูหนาว เริ่มตนประมาณกลางเดือนตุลาคมถงประมาณกลางเดือนกุมภาพนธ ซึ่งเปน

ชวงที่มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพดพาเอามวลอากาศเย็นและแหงปกคลุมประเทศไทย ประกอบกับ


รองความกดอากาศสูงจากประเทศจีน ทำใหมีอากาศหนาวเย็นและแหงทั่วไป ในบางปฤดูหนาวอาจเริ่มชา
กวากำหนดได ทั้งนี้ขนอยูกับบริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนที่แผลงมาปกคลุมประเทศไทยดวย
ึ้
ี่


โดยบางปจะยังคงมีฝนตกตอเนื่องจนถงเดือนพฤศจิกายน ซึ่งในชวงเดือนธันวาคมจะเปนเดือนทมีอากาศ
หนาวที่สุดในรอบป

- 22 -




2) ฤดูรอน เริ่มตนประมาณกลางเดือนกมภาพนธถึงกลางเดือนพฤษภาคม ซึ่งเปนชวง


วางเวนของมรสุม ลักษณะอากาศโดยทั่วไปจะไมรอนอบอาวมากนัก เนื่องจากจังหวัดประจวบคีรีขนธเปน

จังหวัดที่ติดกับทะเล โดยเดือนเมษายนจะเปนเดือนที่มีอากาศรอนอบอาวมากที่สุดในรอบป

3) ฤดูฝน เริ่มตนประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ซึ่งเปนชวงที่มรสุม



ตะวันตกเฉียงใตพดพาเอามวลอากาศชื้นจากทะเลและมหาสมุทรอินเดียปกคลุมประเทศไทย ประกอบกบรอง


ความกดอากาศต่ำที่พาดอยูบริเวณภาคใตของประเทศไทย ทำใหจงหวัดประจวบคีรีขนธในระยะนี้อากาศ

จะมีความชุมชื้นและมีฝนตกชุกมากขึ้น ตั้งแตประมาณกลางเดือนพฤษภาคมเปนตนไป และหลังจาก
กลางเดือนตุลาคมเปนตนไปฝนจะเริ่มลดนอยลงอยางรวดเร็ว อยางไรก็ตามนอกจากปจจัยดังกลาวที่จะ



ึ้
ทำใหมีฝนตกชุกแลว ยังขนอยูกบอทธิพลของพายุหมุนเขตรอนที่เคลื่อนตัวเขาใกลหรือเขาสูประเทศไทยใน


ชวงดังกลาวดวย

















































รูปที่ 3.2 แผนที่แสดงรองความกดอากาศต่ำ ทิศทางลมมรสุม และทางเดินพายุหมุนเขตรอนที่เขาสูประเทศไทย

- 23 -




3.3.2 พายุหมุนเขตรอน

พายุหมุนเขตรอนที่เคลื่อนตัวผานหรือเขาสูจังหวัดประจวบคีรีขันธ มีแหลงกำเนิดจากทะเล
จีนใตและมหาสมุทรแปซิฟกเหนือดานตะวันตก โดยเคลื่อนตัวเขาสูอาวไทยกอนเคลื่อนขึ้นฝงประเทศไทย

ั้

บริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ ทำใหพายุหมุนเขตรอนออนกาลังอยูในขนพายุดีเปรสชันเปนสวนใหญ



ซึ่งไมมีกาลังและความรุนแรงมากนัก นอกจากทำใหเกดฝนตกหนักลมกระโชกแรงเปนครั้งคราว และ


ื้
มีบางครั้งที่อาจจะเกดน้ำทวมฉับพลันไดในบางพนที่ รวมถึงเกดความเสียหายตอสาธารณูปโภคตาง ๆ ได


โดยพายุหมนเขตรอนมักจะเคลื่อนตัวผานหรือเขาสูจังหวัดประจวบคีรีขันธ ตั้งแตเดือนกนยายนไปจนถึง

สิ้นเดือนพฤศจิกายน โดยเฉพาะในเดือนตุลาคมและพฤศจกายนจะเปนชวงที่พายุหมุนเขตรอนมีโอกาส

เคลื่อนเขาสูพื้นที่ไดมากที่สุด
3.3.3 ปริมาณฝน
ื้
ี่

เนื่องจากจังหวัดประจวบคีรีขนธมีลักษณะภูมิประเทศอยูในพนทอบฝน ทำใหมีปริมาณฝน

คอนขางนอย โดยปริมาณฝนเฉลี่ยตลอดทั้งปบริเวณอำเภอเมองประมาณ 1,091.8 มิลลิเมตร และ


มีจำนวนวันฝนตกประมาณ 121 วัน สวนพื้นทบริเวณอำเภอหัวหินมปริมาณฝนเฉลี่ยตลอดทั้งปประมาณ
ี่
955.1 มิลลิเมตร และมีจำนวนวันฝนตกประมาณ 107 วัน เดือนตุลาคมเปนเดือนที่มีฝนตกชุกมากที่สุด
ื่
ในรอบป โดยปริมาณฝนมากที่สุดใน 24 ชั่วโมง วัดได 429.2 มิลลิเมตร เมอวันที่ 2 พฤศจิกายน 2512
ที่สถานีอุตุนิยมวิทยาหัวหิน อำเภอหัวหิน (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2563) (รูปที่ 3.3)



































รูปที่ 3.3 ปริมาณฝนรายเดือนจังหวัดประจวบคีรีขันธในชวง 12 ป พ.ศ. 2546 - 2558

- 24 -



3.4 ลักษณะธรณีวิทยา




ลักษณะทางธรณีวิทยาของจังหวัดประจวบคีรีขนธ ตามขอมูลแผนที่ธรณีวิทยามาตราสวน

ื่
1:50,000 (กรมทรัพยากรธรณี, 2551) และรายงาน “การจำแนกเขตเพอการจดการดานธรณีวิทยาและ
ทรัพยากรธรณี ประจวบคีรีขันธ” (กรมทรัพยากรธรณี, 2551) ประกอบดวย หินแปร หินตะกอน หินอัคนี

และตะกอนรวน โดยจังหวัดประจวบคีรีขันธรองรับดวยหินแข็งที่มีอายุตั้งแตมหายุคพาลีโอโซอกตอนตน

(มากกวา 570 ลานป) จนถึงยุคควอเทอรนารี (ตะกอนปจจุบัน) โดยรอยละ 40 รองรับดวยหินแข็งจำพวก
หินตะกอนและหินแปร รอยละ 15 เปนหินอัคนี และรอยละ 45 เปนตะกอนปจจุบัน โดยหินเหลานี้

สามารถแยกออกจากกันไดโดยอาศัยลักษณะและสวนประกอบของเนื้อหิน การวางตัวของชั้นหิน


สภาพแวดลอมของการสะสมตะกอน ตลอดจนซากดึกดำบรรพตาง ๆ แผนที่ธรณีวิทยา และคำอธิบาย
แผนที่ธรณีวิทยา แสดงดังรูปที่ 3.4 และตารางที่ 3.1



3.4.1 ลำดับชั้นหิน

หินที่พบในจังหวัดประจวบคีรีขันธ สามารถอธิบายเรียงลำดับจากหินอายุแกที่สุดไปยังหนที่


มีอายุออนกวาตามลำดับ ไดดังนี้


3.4.1.1 หินยุคพรีแคมเบรียน (PE – Precambrain)




หมวดหนเขาเตา พบกระจายตัวเล็กนอยทางทศตะวันออกของบานทับใต อำเภอหัวหิน และ
บานสามรอยยอด อำเภอสามรอยยอด ประกอบดวย หินออรโทไนส และหินไนสรูปตา พบการคดโคงของ


หินหลอมละลาย และหินที่มีการแตกหักบดอัด ไดแก หินบราสโดไมโลไนต หนอลตราไมโลไนต

หินไมโลไนตไนส หินซิลิมาไนตไมกาชีสต และหินออน แถบชั้นบางของหินแคลกซิลิเกต หินควอรตไซด และ
หินควอตซไมกาชีสต สวนใหญ


3.4.1.2 หินยุคแคมเบรียน–ออรโดวิเชียน (EO – Cambrain-Ordovocian)


หมวดหนเขาทับทิม พบกระจายตัวเปนหยอม ๆ บริเวณทิศตะวันออกของบานวังพง และ
บานปราณบุรี อำเภอปราณบุรี และพบเล็กนอยบริเวณบานสามรอยยอด อำเภอสามรอยยอด ประกอบดวย
หินควอรตไซต สีน้ำตาลแกมเหลือง มีการแตกหักมาก หินควอตซชีสต หินไมกาชีสต และหินชีสต

สีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลแกมเหลือง


3.4.1.3 หินยุคออรโดวิเชียน (O - Ordovocian)



พบกระจายตัวเปนหยอมเล็ก ๆ ทางทิศเหนือของบานสามรอยยอด ติดกับชายฝงอาวไทย

ประกอบดวย หินปูนเนื้อโดโลไมต สีเทาหินออนสีเทา ไมแสดงชั้น หินฟลไลต สีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลแกมแดง

- 25 -


















































































รูปที่ 3.4 แผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดประจวบคีรีขันธ

- 26 -



ตารางที่ 3.1 คำอธิบายแผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดประจวบคีรีขันธ



ยค หินตะกอน หินชั้น และหินแปร
PERIOD SEDIMENTARY AND METAMORPHIC ROCKS

Qb ตะกอนชายหาด: ทราย กรวด ทรายแปง มีเปลือกหอย เศษปะการัง และเศษซากพืช



Qtf ตะกอนที่ลุมราบน้ำขึ้นถึง: ดินเคลยสีเทา หรือสีเทาปนเขียว เนื้อออนนิ่ม ชั้นหนา
มีชั้นทรายละเอียด และชั้นพีตแทรกสลับ พบเปลือกหอยบาง
Qmr ตะกอนที่ลุมชุมน้ำ: ดินเคลย เนื้อนิ่ม สีดำ มีเศษพวกพืชหญา หรือพืชน้ำปะปนมาก มีน้ำขัง
ควอเทอรนารี Qa ตะกอนน้ำพา : กรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนียว

QUATERNARY
Qbo ตะกอนสันทรายเกา: ทรายเนื้อปานกลางถึงหยาบ การคัดขนาดปานกลาง ความกลมมนดี
มีเศษเปลือกหอยปน
Qt ตะกอนตะพัก: กรวด และทราย



Qc ตะกอนเศษหินเชิงเขาและตะกอนผุพังอยูกับที่: เศษหิน ประกอบดวยหินควอรตไซต 

หินทราย หินทรายแปง หินแกรนิต ทราย และทรายแปง ดินลูกรัง และดินเทอราโรซา



จูแรสซิก JKI หินทราย สีน้ำตาลแกมแดง เนื้อละเอียดถงปานกลาง เม็ดแรเหลี่ยม การคัดขนาดดี
ั้

JURASSIC เปนแถบชนบางถึงชั้นหนา สลับดวยชั้นหินกรวดมน กรวดประกอบดวยหนทราย
แรควอตซ และหินดินดาน เม็ดคอนขางกลมถึงกลม เนื้อหินเปนทราย และทรายแปง

Tr หินทราย สีน้ำตาลแกมแดง เนื้อละเอียดถงปานกลาง เม็ดแรเหลี่ยม การคัดขนาดดี

ไทรแอสซิก เปนแถบชั้นบางถึงชั้นหนา สลับดวยหินกรวดมน กรวดประกอบดวย หนทราย
ึ่
แรควอตซ และหินดินดาน กรวดกงกลมถึงกลม วัสดุประสานเปนทรายและทรายแปง
TRIASSIC
ตอนลางเปนหินกรวดมน ฐานกรวดประกอบดวย หินปูน รูปรางเหลี่ยม หินทรายและ
แรควอตซ รูปรางกึ่งกลมถึงกลม วัสดุประสานเปนทรายและทรายแปง สีแดง




P หินปูน สีเทาถึงเทาเขม เปนชั้นถึงไมแสดงชั้น มีหินเชิรตเปนกระเปาะ หินปูนเนื้อโดโลไมต
เพอรเมียน พบซากดึกดำบรรพจําพวกฟวซูลินิด แบรคิโอพอด ปะการัง แอมโมนอยด และไครนอยด


PERMIAN
พบหินทรายและหินดินดานบาง

CPkc หินทรายอารโคส สีขาวถงสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อละเอียดมากถึงปานกลาง การคัด

ั้
ขนาดปานกลางถงดี ไมแสดงชน และเปนแถบชั้นบาง หินโคลนสีขาว สีเทาปานกลาง
เนื้อละเอียดมากถึงละเอียด การคัดขนาดดีชั้นบาง และเปนแถบชั้นบาง เม็ดแรเหลี่ยม
พบซากดึกดำบรรพจําพวกหอยตะเกียง พลับพลึงทะเล และไบรโอซัว
คารบอนิฟอรัส

ื้

CARBONIFEROUS CPkp หินควอรตไซต หินฮอรนเฟลสและหินชนวน พบบริเวณสัมผัสกับหินอคนี หินทรายเนอ


เกรยแวก สีเทาแกมเขยวถึงสีเทาปานกลาง เนื้อละเอยดมากถึงปานกลาง การคัดขนาดไมดี


เม็ดแรเหลี่ยมถงกลม หินดินดาน สีเทาแกมเขยวถงสีเทาปานกลาง แตกเปนแผนเรียบ




ื้


และแถบชนบาง หินทรายอารโคส สีขาวถงสีน้ำตาลแกมเหลืองออน เนอละเอยดมากถง

ั้


ปานกลาง การคัดขนาดปานกลางถึงดี เม็ดแรคอนขางเหลี่ยมถึงกลม



- 27 -



ตารางที่ 3.1 คำอธิบายแผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดประจวบคีรีขันธ (ตอ)

ยุค หินตะกอน หินชั้น และหินแปร
PERIOD SEDIMENTARY AND METAMORPHIC ROCKS

CPkh หินทรายและหินโคลนเนื้อปนกรวด สีเทาแกมเขยว สีเทา เนื้อละเอยดถึงปานกลาง




เนื้อแนน แขง ลักษณะกรวดกึ่งเหลี่ยมถึงกึ่งมน ความมนนอยถงปานกลาง การคัด
ขนาดไมดี ประกอบดวย แรควอรต หินทราย หินปูน และหินแกรนิต มีการเรียงตัวของ
คารบอนิฟอรัส เม็ดกรวดบริเวณใกลแนวรอยเลื่อน และพบหนควอรไซต หินฮอรนเฟล และ

CARBONIFEROUS หินทรายแปรสภาพบริเวณสัมผัสกับหินแกรนิต

CPlp หินโคลนสีเทา แสดงชนบางชัดเจน แทรกสลับชน บางกบหินทรายสีขาวขน เนื้อละเอียด
ั้

ั้
ุ
เม็ดกงกลม ความมนนอย บริเวณตอนกลางแทรกดวยหินทรายเนอเฟลดสปาร สีขาว
ื้
ึ่
เนื้อปานกลางกึ่งกลม ความมนนอย
ื้
ไซลูเรียน SD หินทรายเนื้อควอรต หินทรายเนอดิน สีน้ำตาล เทา และน้ำตาลแกมแดง เนื้อละเอียด
SILURIAN ถึงหยาบ เม็ดกึ่งกลม การคัดขนาดดี สลับดวยหินดินดานและหินทรายแปง บางแหง

ถูกแปรสภาพเปนหินควอรตไซต หินฟลไลต และหินชนวน ชั้นหินเชิรต พบซากดึกดำบรรพ 



จําพวกเทนตะคิวไลต

ออรโดวิเชียน O หินปูนเนื้อโดโลไมต สีเทา หินออนสีเทา ไมแสดงชั้น หินฟลไลต สีน้ำตาลถึงสีน้ำตาล

ORDOVICAIN แกมแดง
แคมเบรียน EO หินควอรตไซต สีนำตาลแกมเหลือง มีการแตกหกมาก หินควอตซชสต หนไมกาชีสต




CAMBRIAN และหินชีสต น้ำตาลถึงสีน้ำตาลแกมเหลือง


พรี-แคมเบรียน PE หินออรโทไนส และหนไนสรูปตา พบการคดโคงของหนหลอมละลาย หินที่มีการ


PRE-CAMBRIAN แตกหักบดอด ไดแก หินบราสโดไมโลไนต หินอลตราไมโลไนต และหินไมโลไนตไนส
หินซิลิมาไนตไมกาชีสต หินออน แถบชั้นบางของหินแคลกซิลิเกต หินควอรตไซด และ
หินควอรตไมกาชีสต
ยุค หินอัคนี
PERIOD IGNEOUS ROCKS


Kgr หินอัคนีชนดหินแกรนิต มีแรไบโอไทต ฮอรนเบลนด-มัสโคไวต-ทัวรมาลีนเปน
ครีเทเชียส
CRETACEOUS สวนประกอบ
Kv หินไรโอไลต หินเถาภูเขาไฟเนื้อไรโอไลต สีเทาถึงสีเทาเขม เนื้อดอก





คารบอนิฟอรัส E Cgr E หินอคนีชนิดหนแกรนิตบริเวณแปรสัมผัส หินคาตาคลาสติแกรนิต หนไบไอไทต
CARBONIFEROUS แกรนิต

- 28 -



3.4.1.4 หินยุคไซลูเรียน – ดีโวเนียน (SD – Silurian-Devonian)



พบกระจายตัวเปนหยอม ๆ บริเวณหวยวังยางทางทิศตะวันตกของบานทับใต อำเภอหัวหิน
ประกอบดวย หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อดิน สีน้ำตาล เทา และน้ำตาลแกมแดง เนื้อละเอียด

ถึงหยาบ เม็ดกึ่งกลม การคัดขนาดดี แทรกสลับดวยหินดินดาน และหินทรายแปง บางแหงถูกแปรสภาพ



เปนหินควอรตไซต หินฟลไลต หินไมกาชีสต และหนชนวน ชั้นหินเชิรต พบซากดึกดำบรรพจำพวก
เทนตะคิวไลต

3.4.1.5 หินยุคคารบอนิเฟอรัส – เพอรเมียน (CP - Carboniferous-Permian)


1) กลุมหินแกงกระจาน: หมวดหินแหลมไมไผ (Cplp) พบกระจายตัวในแนวทิศเหนือ-ใต
ตามทางหลวงหมายเลข 4 ตั้งแตบริเวณบานทุงมะเมา และบานหนองหญาปลอง อำเภอเมือง รวมทั้งพบ

บริเวณเทือกเขาทางดานตะวันตกของจังหวัดติดชายแดนไทย-พมา ประกอบดวย หินโคลนสีเทา ชั้นบาง



แสดงชั้นหนชัดเจน แทรกสลับดวยหินทราย สีขาวขุน เนื้อละเอยด เม็ดกึ่งกลม ความมนนอย บริเวณ
ึ่
ตอนกลางแทรกดวยหินทรายเนื้อเฟลดสปาร สีขาว เนื้อปานกลาง กงกลม ความมนนอย บางบริเวณ
มีหินทรายแสดงการเชื่อมประสานของเม็ดตะกอน



2) กลมหนแกงกระจาน: หมวดหินเกาะเฮ (Cpkh) พบกระจายตัวเล็กนอยทางตอนกลางของ
ุ

ื่


พนที่ ทางทศใตของอางเกบน้ำเขอนคลองบง อำเภอเมือง และบริเวณใกลอางเกบน้ำยางชุม อำเภอกยบุรี



ื้

ื้
รวมทงพบทางตอนใตของพนที่บริเวณทิศตะวันตกของบานไชยราช อำเภอบางสะพานนอย ตอเนองไปในเขต
ื่
ั้

จังหวัดชุมพร ประกอบดวย หินทราย และหินโคลนเนื้อปนกรวด สีเทาแกมเขียว สีเทา เนื้อละเอยดถง

ปานกลาง เนื้อแนน แข็ง ลักษณะกรวดกงเหลี่ยมถึงกงมน ความมนนอยถึงปานกลางการคัดขนาดไมดี
ึ่
ึ่

ประกอบดวย แรควอตซ หินทราย หนปูน และหินแกรนิต มีการเรียงตวของเม็ดกรวดบริเวณใกลแนวรอย

เลื่อน และพบหินควอรตไซต หินฮอรนเฟลส และหินทรายแปรสภาพบริเวณสัมผัสกบหินแกรนิต

ุ
3) กลมหินแกงกระจาน: หมวดหินเขาพระ (Cpkp) พบกระจายตัวเปนบริเวณกวาง
สวนใหญจะกระจายตัวทางดานตะวันตกของพนที่ในแนวเหนือ-ใต ติดชายแดนไทย-พมา ตอเนื่องจาก
ื้

ื้
จังหวัดเพชรบุรีถึงจังหวัดชุมพร ครอบคลุมพนที่ทางดานตะวันตกของอำเภอหัวหน อำเภอปราณบุรี
อำเภอสามรอยอด อำเภอกยบุรี อำเภอเมือง อำเภอทับสะแก อำเภอบางสะพาน และอำเภอบางสะพาน



นอยประกอบดวย หินทรายเนื้อเกรยแวก สีเทาแกมเขียวถึงสีเทาปานกลาง เนื้อละเอยดมากถงปานกลาง


การคัดขนาดไมดี เม็ดแรเหลี่ยมถึงกลม หินดินดาน สีเทาแกมเขยวถงสีเทาปานกลาง แตกเปนแผนเรียบ


และแถบชั้นบาง หินทรายอารโคส สีขาวถึงสีน้ำตาลแกมเหลืองออน เนื้อละเอยดมากถงปานกลาง

การคัดขนาดปานกลางถึงดี เม็ดแรคอนขางเหลี่ยมถึงกลม


Click to View FlipBook Version