The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ati002009, 2022-03-23 21:48:35

02 รายงานวิชาการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

- 129 -






















































ข ค






















รูปที่ 7.15 (ก) เก็บตัวอยางบรเวณหนาตัดดินบรเวณอางเก็บนำ บานไทรทอง ตำบลทองมงคล อำเภอบางสะพาน

จังหวัดประจวบครขันธ ทีความลึก 160-210 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย


กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง
(zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 130 -





















































ข ค















ื่

รูปที่ 7.16 (ก) เก็บตัวอยางบรเวณบอขุดดินเพอนำไปใชประโยชน วดเขากระจิ ตำบลกำเนิดนพคุณ อำเภอ

บางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 50-90 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย
กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง
(zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 131 -






















































ข ค

















รูปที 7.17 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพ่อสรางที่อยอาศัย บานคลองลอย ตำบลรอนทอง อำเภอ


บางสะพาน จังหวัดประจวบครีขันธ ทีความลึก 90-120 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน


หินแกรนิต กลุมวิทยาหิน GR (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินแกรนตที่มีระดับการผุพังของ

มวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาลปนเหลือง

- 132 -



7.2.3.4 ตำบลชัยเกษม



บริเวณเปดหนาดนเพ่อสรางทอยูอาศัย บานหนองหญาปลอง ตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน











จังหวัดประจวบครีขนธ พกด 47P 555863 E 1259701 N สูงจากระดับน้ำทะเล 51 เมตร เกบตวอยางที ่
ความลึก 180-240 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินทราย สีน้ำตาล ตัวอยาง
เปนดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.18)

7.2.4 อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ


ทำการสำรวจและเกบตวอยางดนแบบไมคงสภาพในพนทอำเภอทบสะแก จังหวัด










ประจวบครีขนธ จำนวน 5 ตัวอยาง ครอบคลุมขอบเขตตำบลอางทอง ตำบลนาหูกวาง และตำบลเขาลาน
อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR กลุมวิทยาหิน SS1 และกลุมวิทยาหิน SS2 มีรายละเอียดดังนี้
7.2.4.1 ตำบลอางทอง



(1) บริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานตะแบกโพรง ตำบลอางทอง อำเภอทบสะแก







จังหวัดประจวบครีขนธ พกด 47P 549174 E 1266515 N สูงจากระดับน้ำทะเล 10 เมตร เกบตวอยางที ่


ความลึก 90-130 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR เปนหินแกรนิตเนือละเอยด

กลุมวิทยาหิน GR ตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาลปนเทา (รูปที่ 7.19)
(2) บริเวณขดบอน้ำเพ่อการเกษตร บานสีดางาม ตำบลอางทอง อำเภอทบสะแก จังหวัด



ประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 560808 E 1262071 N สูงจากระดับน้ำทะเล 42 เมตร เก็บตัวอยางที ่
ความลึก 80-120 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS2 เปนหินทรายแทรกสลับหินโคลน
ตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.20)
7.2.4.2 ตำบลนาหูกวาง


บริเวณบอขุดดนเพ่อนำไปใชประโยชน ตำบลนาหูกวาง อำเภอทับสะแก จังหวัด

ประจวบคีรีขนธ พิกัด 47P 564951 E 1269709 N สูงจากระดับน้ำทะเล 39 เมตร เก็บตัวอยางที ่
ความลึก 80-130 เซนตเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินทราย สีน้ำตาล ตัวอยาง


เปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนเหลือง (รูปที่ 7.21)
7.2.4.3 ตำบลเขาลาน





(1) บริเวณเปดหนาดินเพอสรางทอยูอาศัย ตำบลเขาลาน อำเภอทบสะแก จังหวัด



ประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 558405 E 1279546 N สูงจากระดับน้ำทะเล 130 เมตร เกบตวอยางที ่
ความลึก 60-110 เซนตเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR เปนหินแกรนิตเนือดอก ตวอยาง




เปนดินทราย สีน้ำตาลปนเทา (รูปที่ 7.22)

- 133 -






















































ข ค



















รูปที 7.18 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพอสรางทีอยอาศย บานหนองหญาปลอง ตำบลชัยเกษม






อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบครีขันธ ทีความลึก 180-240 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐาน


เปนหินทราย กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของ
มวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 134 -






















































ข ค

















ื่
รูปที่ 7.19 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานตะแบกโพรง ตำบลอางทอง อำเภอทับสะแก

จังหวัดประจวบคีรขันธ ทีความลึก 90-130 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินแกรนต




เนื้อละเอียด กลุมวทยาหิน GR (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินแกรนิตทีมีระดับการผุพังของ
มวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาลปนเทา

- 135 -






















































ข ค



















รูปที 7.20 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณขุดบอน้ำเพอการเกษตร บานสีดางาม ตำบลอางทอง อำเภอทับสะแก

จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 80-120 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทรายแทรกสลับ
หินโคลน กลุมวทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายแทรกสลับหินโคลนทีม ี





ระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีนำตาลปนแดง


- 136 -






















































ข ค
















ื่



รูปที่ 7.21 (ก) เก็บตัวอยางบรเวณบอขุดดินเพอนำไปใชประโยชน ตำบลนาหูกวาง อำเภอทับสะแก จังหวด



ประจวบคีรขันธ ที่ความลึก 80-130 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวทยาหิน SS1


(ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะ
ของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนเหลือง

- 137 -






















































ข ค




















รูปที 7.22 (ก) เก็บตัวอยางบรเวณเปดหนาดินเพอสรางทีอยอาศัย ตำบลเขาลาน อำเภอทับสะแก จังหวัด





ประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 60-110 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินแกรนต กลุมวทยาหิน GR

(ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินแกรนิตที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะ
ของตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาลปนเทา

- 138 -





(2) บริเวณเปดหนาดินเพ่อทำถนน ตำบลเขาลาน อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบครีขนธ






พิกด 47P 560577 E 1282033 N สูงจากระดบน้ำทะเล 176 เมตร เกบตวอยางท่ความลึก 80-120

เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR เปนหินแกรนิต ตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาล
ปนแดง (รูปที่ 7.23)
7.2.5 อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ


ทำการสำรวจและเกบตวอยางดนแบบไมคงสภาพในพนทอำเภอกยบุรี จังหวัดประจวบครีขนธ













จำนวน 3 ตวอยาง ครอบคลุมขอบเขตตำบลหาดขาม อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS2 และกลุมวิทยาหิน
SS3 มีรายละเอยดดังนี้

7.2.5.1 ตำบลหาดขาม





(1) บริเวณหนาตดดนบริเวณอางเกบน้ำ บานรวมไทย ตำบลหาดขาม อำเภอกยบุรี จังหวัด



ประจวบครีขนธ พกด 47P 569025 E 1339409 N สูงจากระดับน้ำทะเล 186 เมตร เกบตัวอยางทความ




ลึก 80-120 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS2 เปนหินทราย สีน้ำตาลปนแดง ตัวอยาง
เปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.24)


(2) บริเวณบอขุดดินเพอนำไปใชประโยชน บานโปงกระสัง ตำบลหาดขาม อำเภอกยบุรี






จังหวัดประจวบครีขนธ พกด 47P 584872 E 1339545 N สูงจากระดับน้ำทะเล 73 เมตร เกบตวอยางที ่

ความลึก 60-90 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS3 เปนหินทรายแทรกสลับหินโคลน

ตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.25)

(3) บริเวณบอขุดดนเพ่อนำไปใชประโยชน บานยางชุมเหนือ ตำบลหาดขาม อำเภอกุยบุรี


จังหวัดประจวบครีขนธ พิกด 47P 574999 E 1336457 N สูงจากระดับน้ำทะเล 78 เมตร เก็บตวอยางที ่



ความลึก 100-150 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS2 เปนหินทราย สีน้ำตาล ตัวอยาง
เปนดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.26)


7.2.6 อำเภอสามรอยยอด จังหวัดประจวบครีขันธ



ทำการสำรวจและเกบตวอยางดนแบบไมคงสภาพในพนทอำเภอสามรอยยอด จังหวัด









ประจวบครีขนธ จำนวน 2 ตวอยาง ครอบคลุมขอบเขตตำบลศิลาลอย และตำบลไรเกา อยูในหินฐานกลุม



วิทยาหิน SS1 และกลุมวิทยาหิน SS2 มีรายละเอียดดังนี้


- 139 -



7.2.6.1 ตำบลศิลาลอย


บริเวณเปดหนาดินเพือทำถนน บานหนองแก ตำบลศิลาลอย อำเภอสามรอยยอด จังหวัด









ประจวบครีขนธ พกด 47P 583125 E 1361683 N สูงจากระดับน้ำทะเล 202 เมตร เกบตวอยางทความ
ลึก 80-130 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินทราย สีน้ำตาลปนเทา ตัวอยาง

เปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาล (รูปที่ 7.27)
7.2.6.2 ตำบลไรเกา
บริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานหนองจิก ตำบลไรเกา อำเภอสามรอยยอด จังหวัด





ประจวบครีขนธ พกด 47P 582911 E 1353398 N สูงจากระดบน้ำทะเล 104 เมตร เกบตวอยางทความ






ลึก 80-130 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS2 เปนหินทราย สีน้ำตาลแดง ตัวอยาง
เปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.28)
7.2.7 อำเภอปราณบุร จังหวัดประจวบคีรีขันธ

ื้

ทำการสำรวจและเก็บตัวอยางดินแบบไมคงสภาพในพนทอำเภอปราณบุรี จังหวัด
ี่
ประจวบคีรีขันธ จำนวน 3 ตัวอยาง ครอบคลุมขอบเขตตำบลเขาเจา และตำบลหนองตาแตม อยูในหิน
ฐานกลุมวิทยาหิน SS1 กลุมวิทยาหิน FS1 และกลุมวิทยาหิน SS2 มีรายละเอียดดังนี้

7.2.7.1 ตำบลเขาเจา

(1) บริเวณหนาตดดินบริเวณอางเก็บน้ำ บานทาทง ตำบลเขาเจา อำเภอปราณบุรี จังหวัด


ประจวบคีรีขนธ พิกัด 47P 581441 E 1370839 N สูงจากระดับน้ำทะเล 57 เมตร เก็บตัวอยางที ่

ความลึก 160-200 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินทราย สีน้ำตาล ตัวอยาง

เปนดนทรายปนทรายแปง สีน้ำตาล (รูปที่ 7.29)




(2) บริเวณเปดหนาดินเพอสรางทอยูอาศย บานทาไมลาย ตำบลเขาเจา อำเภอปราณบุรี








จังหวัดประจวบครีขนธ พกด 47P 567843 E 1364839 N สูงจากระดับน้ำทะเล 57 เมตร เก็บตวอยางที ่



ความลึก 100-140 เซนตเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน FS1 เปนหินโคลน ตวอยางเปน

ดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาลปนเหลือง (รูปที 7.30)
7.2.7.2 ตำบลหนองตาแตม
บริเวณบอขดดนเพอนำไปใชประโยชน บานหวยพลับ ตำบลหนองตาแตม อำเภอปราณบุรี







จังหวัดประจวบครีขนธ พกด 47P 586876 E 1368411 N สูงจากระดบน้ำทะเล 91 เมตรเกบตวอยางที ่








ความลึก 160-200 เซนตเมตรจากผิวดน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS2 เปนหินโคลน ตวอยางเปน
ดินโคลน สีขาวปนเหลือง (รูปที่ 7.31)

- 140 -






















































ข ค




















รูปที่ 7.23 (ก) เก็บตัวอยางบรเวณเปดหนาดินเพอทำถนน ตำบลเขาลาน อำเภอทับสะแก จังหวดประจวบคีรีขันธ


ที่ความลึก 80-120 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินแกรนิต กลุมวิทยาหิน GR (ค) หนาตัด


ดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินแกรนิตทีมีระดับการผุพงของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของ

ตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาลปนแดง

- 141 -






















































ข ค
















รูปที่ 7.24 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณหนาตัดดินบริเวณอางเก็บนำ บานรวมไทย ตำบลหาดขาม อำเภอกุยบุรี



จังหวดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 80-120 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน




SS2 (ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุทีเกิดจากหินทรายทีมระดับการผุพงของมวลหินสูง (zone IV)


(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 142 -























































ข ค















รูปที่ 7.25 (ก) เก็บตัวอยางบรเวณบอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน บานโปงกระสัง ตำบลหาดขาม อำเภอกุยบุร ี




จังหวดประจวบครขันธ ทีความลึก 60-90 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทรายแทรกสลับ



หินโคลน กลุมวิทยาหิน SS3 (ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายแทรกสลับหินโคลนทีมี





ระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีนำตาลปนแดง

- 143 -






















































ข ค

















รูปที่ 7.26 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณบอขุดดินเพ่อนำไปใชประโยชน บานยางชุมเหนือ ตำบลหาดขาม อำเภอ


กุยบุรี จังหวัดประจวบครีขันธ ที่ความลึก 100-150 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย

กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายทีมีระดับการผุพงของมวลหินสูง




(zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีนำตาลปนแดง



- 144 -






















































ข ค
















รูปที 7. 27 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพ่อทำถนน บานหนองแก ตำบลศิลาลอย อำเภอสามรอย


ยอด จังหวัดประจวบคีรขันธ ที่ความลึก 80-130 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย

กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุทีเกิดจากหินทรายทีมีระดับการผุพงของมวลหินสูง



(zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาล

- 145 -






















































ข ค


















รูปที่ 7.28 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานหนองจิก ตำบลไรเกา อำเภอสามรอยยอด




จังหวดประจวบครขันธ ที่ความลึก 80-130 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยาหิน





SS2 (ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุทีเกิดจากหินทรายทีมระดับการผุพงของมวลหินสูง (zone IV)


(ง)ลักษณะ ของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 146 -






















































ข ค

















รูปที 7.29 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณหนาตัดดินบริเวณอางเก็บนำ บานทาทุง ตำบลเขาเจา อำเภอปราณบุร ี


จังหวัดประจวบคีรีขันธ ทีความลึก 160-200 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย


กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายทีมีระดับการผุพงของมวลหินสูง

(zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาล

- 147 -






















































ข ค
















รูปที 7.30 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพอสรางที่อยอาศัย บานทาไมลาย ตำบลเขาเจา อำเภอ





ปราณบุรี จังหวดประจวบครีขันธ ทีความลึก 100-140 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินโคลน




กลุมวิทยาหิน FS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินโคลนทีมีระดับการผุพงของมวลหินสูง

(zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาลปนเหลือง

- 148 -






















































ข ค

















รูปที 7.31 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณบอขุดดินเพ่อนำไปใชประโยชน บานหวยพลับ ตำบลหนองตาแตม

อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบครีขันธ ที่ความลึก 160-200 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหิน

โคลน กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินโคลนที่มระดับการผุพงของมวลหิน


สูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลน สีขาวปนเหลือง

- 149 -



7.2.8 อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ




ทำการสำรวจและเกบตวอยางดนแบบไมคงสภาพในพนทอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบครีขนธ










จำนวน 2 ตวอยาง ครอบคลุมขอบเขตตำบลหวยสัตวใหญ และตำบลหนองพลับ อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน


SS1 มรายละเอยดดังนี้

7.2.8.1 ตำบลหวยสัตวใหญ 




บริเวณเปดหนาดนเพ่อทำถนน บานทุงกระทิง ตำบลหวยสัตวใหญ อำเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 566323 E 1378573 N สูงจากระดบน้ำทะเล 160 เมตร เก็บตัวอยางที ่

ความลึก 100-130 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินทรายแทรกสลับ
หินดินดาน ตัวอยางเปนดินเหนียวปนทรายแปง สีน้ำตาล (รูปที่ 7.32)

7.2.8.2 ตำบลหนองพลบ

บริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานเนินพะยอม ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน จังหวัด


ประจวบคีรีขันธ พิกด 47P 578206 E 1376377 N สูงจากระดับน้ำทะเล 94 เมตร เก็บตัวอยางที ่
ความลึก 70-110 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินทราย สีน้ำตาลแดง
ตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.33)

- 150 -






















































ข ค
















รูปที่ 7.32 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพื่อทำถนน บานทุงกระทิง ตำบลหวยสัตวใหญ อำเภอหัวหิน

จังหวัดประจวบคีรีขันธ ทีความลึก 100-130 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทรายแทรก
สลับหินดินดาน กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายแทรกสลับ

หินดินดานที่มระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินเหนียวปนทรายแปง

สีน้ำตาล

- 151 -























































ข ค
















รูปที่ 7.33 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพ่อทำถนน บานเนินพะยอม ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน


จังหวดประจวบครีขันธ ที่ความลึก 70-110 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวิทยา

หิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุทีเกิดจากหินทรายทีมีระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV)


(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 152 -





7.3 วิธีการวิเคราะหคณสมบติทางกายภาพของดิน



การจำแนกกลุมดิน ดงแสดงในตารางท 7.3 โดยใชระบบมาตรฐานของ Unified Soil



Classification (รูปท่ 7.34 และรูปท 7.35) เปนระบบการจําแนกดินท่ใชกนอยางกวางขวางใน




งานวิศวกรรมโยธา โดยทำการจําแนก 3 วิธีการ คอ (1) การหาคาพิกัดอตตะเบิรก (Atterberg’s Limits)

(2) การทดสอบหาคาความถวงจำเพาะเม็ดดิน (Specific Gravity of Soil) และ (3) การหาขนาดเมดดิน


(Grain Size Analysis) และมีขั้นตอนในการจำแนกดังนี้

1 แบงตามลักษณะขนาดเม็ดดิน เปนดินพวกเมดหยาบไดแก กรวด (Gravel) และทราย


(Sand) และพวกเม็ดละเอียด ไดแกดินเหนียว (Clay) และดินทราย (Silt)




2. แบงยอยตามลักษณะการกระจายตวของเมดดน แบงเปน 2 จำพวกใหญ ๆ คือ (1) ดนท ่ ี
มการคละขนาดตะกอนดี (Well Graded Soil) คือดินทมีขนาดเม็ดตะกอนตั้งแตขนาดละเอียดจนถึง








ขนาดหยาบปะปนกน และ (2) ดนทมการคละขนาดตะกอนไมด (Poorly Graded Soil) คือ ดนทมเมด







ขนาดเทา ๆ กัน หรือขนาดเม็ดตะกอนขาดชวง หรือขาดตะกอนขนาดใดขนาดหนึ่งไป
3. แบงยอยตามคา Atterberg’s Limits คือ จุดการเปลี่ยนสถานภาพของมวลดิน

โดยอาศยคาความชืนในสถานภาพพลาสติกของดิน (Plasticity Index, P.I.) ซงไดจากผลตางของพิกัด

ึ่






เหลว (Liquid Limit, L.L.) และพกดพลาสตก (Plastic Limit, P.L.) โดยคาดชนีพลาสติกเปนตวแสดงถง ึ




ความเหนียวของดนและความไวของการเปลียนสถานะตอความชืนของมวลดน เชน ดินเม็ดละเอียดท่ม ี



คาดัชนีพลาสตกสูง เรียกวา High Liquid Limit และดินเมดละเอียดทมีคาดัชนีพลาสติกต่ำ เรียกวา



Low Liquid Limit สำหรับดินเม็ดหยาบนั้น เปนชนิดดินทีมคาดัชนีพลาสติกต่ำ หรือไมมคาดัชนีพลาสติก



(Non Plastic)
โดยการจําแนกกลุมดินนั้น ใชอกษรยอ 2 ตว ทำใหจดจำไดงาย และมความหมายในตวเอง






เชน G = Gravel (กรวด)‚ S = Sand (ทราย)‚ M = Silt (ดนทรายแปง)‚ C = Clay (ดนเหนียว)‚



W = Well Graded (เมดคละ)‚ P = Poorly Grade (เมดไมคละ)‚ H = High Liquid Limit (L.L. มคาสูง)‚



L = Low Liquid Limit (L.L. มคาต่ำ) หรือ O = Organic (ดนมอนทรียสารปนมาก) เมือถึงขันสุดทาย










จะมีอกษรยอแทน 2 ตว (ในกรณีกำกงใช 4 ตัว) เชน CH, GW, SP หรือ GM-CG, ML-CL


- 153 -



Hydrometer
1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1


Sieve Analysis 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1



Specific Gravity 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1



Atterberg’s Limits 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1






Sample Depth (cm.) 200-250 100-150 30-80 150-230 50-110 60-110 50-90 70-130 140-180 70-100 160-210 50-90 90-120 180-240
ตารางที่ 7.3 แสดงรายละเอียดตำแหนง ระดับความลึก จำนวน และประเภทงานทดสอบของตัวอยางแบบไมคงสภาพ



UTM N 1302115 1317852 1319945 1314138 1214327 1217959 1221560 1237199 1214558 1239732 1243155 1243071 1248193 1259701



UTM E 570611 575900 580990 586933 531680 534598 530037 536473 542878 539244 539188 552303 540440 555863



Zone 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P




อำเภอ บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน
เมือง เมือง เมือง เมือง นอย นอย นอย นอย นอย



ตำบล คลองวาฬ อาวนอย อาวนอย อาวนอย ไชยราช ไชยราช ชางแรก ชางแรก ทรายทอง ทองมงคล ทองมงคล กำเนดนพคุณ ิ รอนทอง ชัยเกษม





หมูบาน มะขามโพรง วัดเขากระจิ หนองหญาปลอง
ไรเครา ยานซื่อ วังมะเดื่อ ทองอินทร โปงเตย โปงดินดำ โปงสามสิบ น้ำดำ ไทรทอง คลองลอย


วิทยาหิน GR SS1 SS1 FS1 FS1 FS1 GR SS1 SS2 SS1 SS1 SS2 GR SS1





Station PKN01-02122563 PKN02-02122563 PKN03-02122563 PKN04-02122563 PKN05-15122563 PKN07-15122563 PKN06-15122563 PKN08-15122563 PKN09-15122563 PKN10-16122563 PKN11-17122563 PKN12-17122563 PKN13-17122563 PKN14-18122563




ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

- 154 -



Hydrometer 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1





Sieve Analysis 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1



Specific Gravity 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1



Atterberg’s Limits 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1




ตารางที่ 7.3 แสดงรายละเอียดตำแหนง ระดับความลึก จำนวน และประเภทงานทดสอบของตัวอยางแบบไมคงสภาพ (ตอ)
Sample Depth (cm.) 90-130 80-120 80-130 60-110 80-120 80-120 60-90 100-150 80-130 80-130 160-200 100-140 160-200 100-130 70-110




UTM N 1266515 1262071 1269709 1279546 1282033 1339409 1339545 1336457 1361683 1353398 1370839 1364839 1368411 1378573 1376377




UTM E 549174 560808 564951 558405 560577 569025 584872 574999 583125 582911 581441 567843 586876 566323 578206


Zone 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P




อำเภอ ทบสะแก ั ทบสะแก ั ทบสะแก ั ทบสะแก ั ทบสะแก ั กุยบุรี กุยบุรี กุยบุรี สามรอยยอด สามรอยยอด ปราณบุรี ปราณบุรี ปราณบุรี หัวหิน หัวหิน





ตำบล อางทอง อางทอง นาหูกวาง เขาลาน เขาลาน หาดขาม หาดขาม หาดขาม ศิลาลอย ไรเกา เขาเจา เขาเจา หนองตาแตม หวยสัตวใหญ หนองพลับ





หมูบาน ตะแบกโพรง สีดางาม รวมไทย โปงกระสัง ยางชุมเหนือ หนองแก หนองจิก ทาทุง ทาไมลาย หวยพลับ ทุงกระทิง เนนพยอม ิ




วิทยาหิน GR SS2 SS1 GR GR SS2 SS3 SS2 SS1 SS2 SS1 FS1 SS2 SS1 SS1





Station PKN15-18122563 PKN17-18122563 PKN16-18122563 PKN18-19122563 PKN19-19122563 PKN20-21122563 PKN21-21122563 PKN22-21122563 PKN23-21122563 PKN24-21122563 PKN25-22122563 PKN26-22122563 PKN27-22122563 PKN28-22122563 PKN29-22122563





ลำดับ 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

- 155 -









































































รูปที่ 7. 34 แสดงระบบจําแนกดินโดยระบบ Unified Soil Classification

- 156 -


































































รูปที่ 7.35 แสดงระบบจําแนกดินโดยระบบ Unified Soil Classification

- 157 -






7.3.1 การหาคาพกัดของอตตะเบิรก (Atterberg’s Limit)

ใชมาตรฐานการทดสอบอางองจาก ASTM D 427 และ ASTM D 4318 ทำการหาคาพิกด










เหลว (Liquid Limit) พกดพลาสตก (Plastic Limit) ซงเปนดชนี (Index) สำคญท่ใชในการบอกลักษณะ
และจำแนกประเภทของดิน (Soil Classification)
1) คาพกัดเหลว (Liquid Limit) ของดิน คือคาความชื้นของดินเม่อนำมาผสมและบรรจุใน




กระทะมาตรฐาน แลวปาดดวยมดปาดรองมาตรฐาน จึงทำการทดลองคาเคาะระหวาง 10-40 ครั้ง



(รองดนชนปด 13 มลลิเมตร) แลวนำผล (จำนวนครั้งในการเคาะตอคาความชื้น) มาเขียนกราฟ
ความสัมพันธระหวางคาความชื้นตอจำนวนครั้งในการเคาะ พิจารณาอานคาความชื้นที่คาเคาะ 25 ครั้ง


2) คาพกัดพลาสติก (Plastic Limit) ของดนคือคาความชื้นของดินเมอสามารถปนเสนดิน
ื่


ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1/8 นิ้ว แลวเริ่มปรากฏรอยแตกบนเสนดินนั้น
7.3.2 การวิเคราะหหาขนาดของเม็ดดิน (Graine Size Analysis)

ใชมาตรฐานการทดสอบอางองจาก ASTM D 422 - 63 เพอหาคาขนาดของเมดดินและการ
ื่






กระจายตัวของเมดดน การทดสอบแบงเปน 2 วิธี โดยพจารณาตามความเหมาะสมของขนาดเมดดนและ

ตามชนิดของดินตัวอยางที่นำมาทดสอบ
1) วิธีรอนผานตะแกรง (Sieve Analysis) ใชวิธีการรอนเปยก (Wet Sieve) ใชทดสอบดน


ประเภทท่มเมดละเอยด ครังแรกทำการลางดนผานตะแกรงเบอร 200 จนน้ำใส (แสดงวาดินเมดละเอียด






ผานตะแกรงหมดแลว) สวนท่คางนำไปอบแหง แลวนำมารอนผานตะแกรงทมีขนาดมาตรฐาน (ซ่งใชกับ










ตวอยางทมขนาดเมดใหญกวา 0.075 มิลลิเมตร) ชั่งหาน้ำหนักของตวอยางดนท่คางในแตละตะแกรง






แลวคำนวณหาเปอรเซ็นตของตวอยางดนทผานตะแกรงรอนแตละขนาดโดยน้ำหนัก จากนันนำคาทไดมา








เขียนเสนความสัมพันธในกราฟ Semi-log
2) วิธีไฮโดรมิเตอร (Hydrometer Test) ใชวิธีการทดสอบจากน้ำดินเหนียวท่ลางผาน





ตะแกรงเบอร 200 โดยผสมน้ำดนเหนียวใหเขากน เทน้ำดนเหนียวใสกระปองปนดน (Dispersion Cup)


เติมน้ำยาทเตรียมไว นำเขาเครื่องปนผสมดินประมาณ 10 นาที นำตัวอยางท่ปนแลวใสกระบอกเตมน้ำ







จนถึงขีด 1,000 ลูกบาศกเซนตเมตร เขยาใหเขากน จากนันจุมไฮโดรมิเตอรลงในกระบอกแลวอานคา














เม่อชวงเวลาผานไปตามเวลาท่กำหนด พรอมทงอานคาอณหภูมิของตวอยางเปนครังคราว จนกระทงคา





ท่อานคงทหรือเปลี่ยนแปลงนอยมาก จึงหยุดการทดสอบ ทำการเขยากระบอกเทน้ำดนเหนียวออก


จากกระบอกใสภาชนะ ลางเศษดินที่กนกระบอกใหหมด แลวจึงนำไปอบใหแหง

- 158 -



7.3.3 การทดสอบหาความถวงจําเพาะของดิน (Specific Gravity of Soil)



การทดสอบหาคาความถวงจำเพาะของเม็ดดิน (Specific Gravity of Soil) ใชมาตรฐานการ




ทดสอบอางองจาก ASTM D 854-83 ทำการทดสอบโดยนำดินตัวอยางทแหงประมาณ 50 กรัม
มาทดสอบโดยนำมาผสมน้ำกลั่นแลวกวนใหเขากันโดยใชเครื่องปน เทสวนผสมน้ำดินลงในขวดหาคาความ

ถวงจำเพาะขนาด 500 ลูกบาศกเซนติเมตร ทำการตมไลฟองอากาศ ประมาณ 10 นาที จนฟองอากาศ

หมดแลวปลอยใหเย็นที่อณหภูมิหอง จากนั้นนำไปชั่งน้ำหนักและวัดอุณหภูมิของน้ำดินในขวด เทสวนผสม
ในขวดคาความถวงจำเพาะลงในถาดนำไปอบใหแหง เพื่อชั่งน้ำหนักดินแหงที่แนนอนอีกครั้ง





7.4 คณสมบติทางกายภาพของดิน
ผลการทดสอบคณสมบัติทางกายภาพของดินขนพื้นฐานของจังหวัดประจวบครีขนธ จำนวน
ั้








29 ตัวอยาง ดงแสดงในตารางท 7.4 และตารางท 7.5 สามารถจําแนกประเภทของดนตามระบบ

มาตรฐานของ Unified Soil classification (UCS) ออกเปนทังหมด 7 กลุมดิน ดังนี้


7.4.1 กลุม GC (Clayey gravel)






ดินพวกเมดหยาบเปนดินในกลุมกรวดมเมดละเอยดปน กรวดมดนเหนียวปน กรวด-ทราย-

ดนเหนียวผสมกน โดยมดนเม็ดหยาบคางบนตะแกรงเบอร 4 มากกวาหรือเทากับครึ่งหนึงของสวนท่เปน









เม็ดหยาบ และมดนเม็ดละเอยดผานตะแกรงเบอร 200 มากกวา 12% มีคาดัชนีพลาสตก (Plasticity

Index, P.I.) มากกวา 7% คาความถวงจําเพาะของดินประมาณ 2.67 จำนวน 2 ตัวอยาง ไดแก 

1) PKN02-02122563 บริเวณบานยานซ่อ ตำบลอาวนอย อำเภอเมือง หินฐานเปนหิน
ทรายในกลุมวิทยาหิน SS1

2) PKN17-18122563 บริเวณบานสีดางาม ตำบลอางทอง อำเภอทบสะแก หินฐานเปนหิน

หินทรายแทรกสลับหินโคลนในกลุมวิทยาหิน SS2
7.4.2 กลุม SP-SM (Poorly graded sands - Silty sands)







ดนพวกเมดหยาบเปนดนในกลุมทรายทครึงหนึงของสวนทเปนเมดหยาบ มขนาดคละกนไมด ี










ทรายปนกรวดมเมดละเอยดปนบางหรือไมมเลย (SP) ถงกลุมทรายมตะกอนทรายปน ทราย-ตะกอนทราย







ผสมกน (SM) โดยมดนเมดละเอยดผานตะแกรงเบอร 200 อยูระหวาง 5% - 12% คาความถวงจําเพาะ



ของดนประมาณ 2.66 จำนวน 1 ตัวอยาง ไดแก PKN18-19122563 บริเวณอางเก็บน้ำเขอนเขาลาน



ตำบลเขาลาน อำเภอทับสะแก หินฐานเปนหินแกรนิตในกลุมวิทยาหิน GR

- 159 -




Soil Group (USCS) SC GC SC SM CL ML SC MH CL SM SC SC SM SC SM



Specific Gravity 2.64 2.67 2.65 2.66 2.71 2.65 2.68 2.69 2.70 2.66 2.65 2.65 2.66 2.66 2.64




PI ( %) 19.48 8.77 11.49 5.87 21.95 18.15 25.39 21.36 13.71 14.73 11.16 8.99
Atterberg’sLimits PL ( %) 23.81 17.74 18.31 25.61 19.62 27.79 20.67 38.82 21.87 Non-plastic 19.45 21.36 Non-plastic 19.43 Non-plastic






LL ( %) 43.29 26.51 29.79 31.48 41.57 45.94 46.06 60.18 35.58 34.18 32.52 28.42




UTM N 1302115 1317852 1319945 1314138 1214327 1217959 1221560 1237199 1214558 1239732 1243155 1243071 1248193 1259701 1266515

ตารางที่ 7.4 แสดงผลการทดสอบดินขั้นพื้นฐาน (คาพิกัดอัตตะเบิรก และความถวงจําเพาะของเม็ดดิน)
UTM E 570611 575900 580990 586933 531680 534598 530037 536473 542878 539244 539188 552303 540440 555863 549174





อำเภอ บางสะพานนอย บางสะพานนอย บางสะพานนอย บางสะพานนอย บางสะพานนอย บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน

เมือง เมือง เมือง เมือง ทับสะแก



ตำบล คลองวาฬ อาวนอย อาวนอย อาวนอย ไชยราช ไชยราช ชางแรก ชางแรก ทรายทอง ทองมงคล ทองมงคล กำเนิดนพคุณ รอนทอง ชัยเกษม อางทอง





หมูบาน มะขามโพรง หนองหญาปลอง ตะแบกโพรง
ไรเครา ยานซื่อ วังมะเดื่อ ทองอินทร โปงเตย โปงดินดำ โปงสามสิบ น้ำดำ ไทรทอง วัดเขากระจิ คลองลอย







กลุมหิน หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายเนื้อเกรยแวก หินตะกอนเนื้อละเอียด บางสวนกึ่งแปรสภาพ หินตะกอนเนื้อละเอียด บางสวนกึ่งแปรสภาพ หินตะกอนเนื้อละเอียด บางสวนกึ่งแปรสภาพ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเกรยแวก

หินแกรนิต หินแกรนิต หินทรายอารโคส หินทรายอารโคส หินแกรนิต หินแกรนิต



วิทยาหิน GR SS1 SS1 FS1 FS1 FS1 GR SS1 SS2 SS1 SS1 SS2 GR SS1 GR




ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

- 160 -




Soil Group (USCS) GC SC SP-SM SM CL CL SM CL CL SC CL CL CL SM





Specific Gravity 2.67 2.67 2.66 2.65 2.69 2.68 2.64 2.70 2.68 2.64 2.72 2.73 2.68 2.65



PI ( %) 16.88 16.36 6.17 19.65 16.64 14.38 14.13 18.01 17.05 17.50 14.30 6.24

Atterberg’sLimits PL ( %) 24.25 17.97 Non-plastic 35.41 20.11 19.86 Non-plastic 24.14 22.61 20.21 17.73 22.00 23.02 30.72






LL ( %) 41.13 34.33 41.58 39.76 36.50 38.52 36.74 38.22 34.78 39.50 37.32 36.96




UTM N 1262071 1269709 1279546 1282033 1339409 1339545 1336457 1361683 1353398 1370839 1364839 1368411 1378573 1376377
ตารางที่ 7.4 แสดงผลการทดสอบดินขั้นพื้นฐาน (คาพิกัดอัตตะเบิรก และความถวงจําเพาะของเม็ดดิน) (ตอ)


UTM E 560808 564951 558405 560577 569025 584872 574999 583125 582911 581441 567843 586876 566323 578206





อำเภอ
ทับสะแก ทับสะแก ทับสะแก ทับสะแก กุยบุรี กุยบุรี กุยบุรี สามรอยยอด สามรอยยอด ปราณบุรี ปราณบุรี ปราณบุรี หัวหิน หัวหิน





ตำบล อางทอง นาหูกวาง เขาลาน เขาลาน หาดขาม หาดขาม หาดขาม ศิลาลอย ไรเกา เขาเจา เขาเจา หนองตาแตม หวยสัตวใหญ หนองพลับ





หมูบาน ยางชุมเหนือ
สีดางาม รวมไทย โปงกระสัง หนองแก หนองจิก ทาทุง ทาไมลาย หวยพลับ ทุงกระทิง เนินพยอม







กลุมหิน หินทรายแทรกสลับกับหิน ตะกอนเนื้อละเอียดกึ่งแปร
หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินแกรนิต หินแกรนิต หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ ายอารโคส หินทร หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินตะกอนเนื้อละเอียด บางสวนกึ่งแปรสภาพ หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายเนื้อเกรยแวก






วิทยาหิน SS2 SS1 GR GR SS2 SS3 SS2 SS1 SS2 SS1 FS1 SS2 SS1 SS1



ลำดับ 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

- 161 -


SC GC SC SM CL ML SC MH CL SM SC SC SM SC SM
(USCS)
Soil Group
0.001 18.46 9.74 13.31 22.17 25.26 31.47 22.03 42.25 26.81 5.57 20.45 22.87 1.94 11.53 5.96

0.002 19.12 10.33 14.59 22.17 26.53 32.66 22.88 45.37 28.06 6.09 21.61 24.79 2.13 13.00 7.12


0.005 21.34 15.09 21.11 25.03 32.72 36.86 25.68 52.81 31.51 7.77 25.39 29.71 3.81 18.07 10.67

0.009 0.019 23.75 27.89 17.96 20.98 25.67 31.90 26.46 29.83 41.45 58.19 43.52 51.34 26.42 27.59 58.48 61.83 34.30 39.55 9.52 11.61 28.14 31.57 33.02 36.91 5.07 8.16 20.09 22.69 13.16 15.76



Grain Size Analysis, mm. 0.037 0.07 30.94 32.53 23.64 24.55 36.81 39.25 36.38 44.42 70.42 75.57 57.43 62.50 28.01 29.20 61.83 64.64 45.90 51.28 14.34 17.07 35.02 37.04 39.47 42.85 11.45 13.40 25.28 27.76 18.97 21.23









ตารางที่ 7.2 แสดงผลการทดสอบดินขั้นพื้นฐาน (การหาขนาดเม็ดดินดวยวิธีรอนผานตะแกรง และวิธีไฮโดรมิเตอร)
0.42 0.15 34.51 42.43 27.52 31.02 45.12 55.00 49.47 56.84 81.95 92.68 67.14 74.36 30.92 36.64 66.21 68.52 61.53 67.22 21.41 43.42 41.34 54.30 46.80 52.03 20.11 39.16 30.17 35.51 22.62 32.01


2.00 85.91 42.24 63.59 63.33 96.56 79.88 63.25 75.71 69.36 76.30 70.71 63.72 76.16 49.48 69.25

4.76 99.46 59.77 79.14 79.15 98.91 91.44 89.57 86.48 80.76 86.48 84.47 86.40 89.78 66.89 99.09


9.53 100.00 74.50 86.85 92.06 100.00 95.35 98.54 96.05 89.52 94.58 94.07 96.39 95.34 81.22 100.00


UTM N 1302115 1317852 1319945 1314138 1214327 1217959 1221560 1237199 1214558 1239732 1243155 1243071 1248193 1259701 1266515



UTM E 570611 575900 580990 586933 531680 534598 530037 536473 542878 539244 539188 552303 540440 555863 549174



อำเภอ เมือง เมือง เมือง เมือง บางสะพาน นอย บางสะพาน นอย บางสะพาน นอย บางสะพาน นอย บางสะพาน นอย บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน ทับสะแก




ตำบล คลองวาฬ อาวนอย อาวนอย อาวนอย ไชยราช ไชยราช ชางแรก ชางแรก ทรายทอง ทองมงคล ทองมงคล กำเนิดนพคุณ รอนทอง ชัยเกษม อางทอง



หมูบาน ไรเครา ยานซื่อ วังมะเดื่อ มะขามโพรง ทองอินทร โปงเตย โปงดินดำ โปงสามสิบ น้ำดำ ไทรทอง วัดเขากระจิ คลองลอย หนองหญา ปลอง ตะแบกโพรง







กลุมหิน หินทรายเนือเกรยแวก ้ หินทรายเนือเกรยแวก ้ หินตะกอนเนือละเอียด ้ บางสวนกึงแปรสภาพ ่ หินตะกอนเนือละเอียด ้ บางสวนกึงแปรสภาพ ่ หินตะกอนเนือละเอียด ้ บางสวนกึงแปรสภาพ ่ หินทรายเนือเกรยแวก ้ หินทรายเนือควอตซ ้ หินทรายเนือเกรยแวก ้ หินทรายเนือเกรยแวก ้ หินทรายเนือควอตซ ้ หินทรายเนือเกรยแวก ้
หินแกรนิต หินแกรนิต หินทรายอารโคส หินทรายอารโคส หินแกรนิต หินแกรนิต




วิทยา หิน GR SS1 SS1 FS1 FS1 FS1 GR SS1 SS2 SS1 SS1 SS2 GR SS1 GR

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

- 162 -


GC SC SP-SM SM CL CL SM CL CL SC CL CL CL SM
(USCS)
Soil Group
0.001 6.01 18.67 2.20 13.07 34.69 40.72 5.65 29.87 45.64 27.04 32.57 24.79 34.20 40.45

0.002 7.37 19.60 2.79 13.07 34.69 42.07 6.52 32.10 45.64 29.19 33.71 27.60 35.48 41.72


0.005 9.49 22.88 3.91 15.31 37.79 46.29 8.49 37.86 50.09 33.19 40.54 35.78 39.49 43.64


0.009 10.97 24.67 4.78 17.17 38.91 49.49 10.27 40.60 53.70 35.31 43.32 41.82 43.90 45.68


0.019 12.13 27.11 6.14 20.40 41.07 54.00 12.41 44.46 59.01 36.14 45.40 48.56 50.98 45.79
Grain Size Analysis, mm. 0.037 0.07 12.73 13.19 29.88 33.14 7.22 8.66 23.66 26.10 44.03 50.01 56.66 59.13 14.59 17.46 48.14 50.75 63.10 69.41 36.14 37.26 47.60 50.01 52.68 55.67 54.41 57.88 45.79 47.30



ตารางที่ 7.1 แสดงผลการทดสอบดินขั้นพื้นฐาน (การหาขนาดเม็ดดินดวยวิธีรอนผานตะแกรง และวิธีไฮโดรมิเตอร) (ตอ)



0.15 14.56 36.05 10.02 27.36 58.13 62.47 35.46 53.77 71.70 38.76 51.18 58.47 59.91 51.03

0.42 16.04 44.85 12.43 34.70 61.32 66.88 47.99 58.77 75.73 40.68 53.22 63.36 62.65 54.96


2.00 19.61 73.99 25.79 73.78 65.38 75.09 62.95 69.63 82.66 52.20 65.22 78.42 70.66 59.23


4.76 50.42 89.88 75.95 97.82 76.38 92.92 83.20 85.56 91.05 76.02 84.83 91.96 84.51 79.10


9.53 77.89 96.99 92.64 100.00 90.03 97.48 93.22 94.48 100.00 93.55 96.44 97.93 95.59 91.95


UTM N 1262071 1269709 1279546 1282033 1339409 1339545 1336457 1361683 1353398 1370839 1364839 1368411 1378573 1376377



UTM E 560808 564951 558405 560577 569025 584872 574999 583125 582911 581441 567843 586876 566323 578206



อำเภอ ทับสะแก ทับสะแก ทับสะแก ทับสะแก กุยบุรี กุยบุรี กุยบุรี สามรอย ยอด สามรอย ยอด ปราณบุรี ปราณบุรี ปราณบุรี หัวหิน หัวหิน



ตำบล อางทอง นาหูกวาง เขาลาน เขาลาน หาดขาม หาดขาม หาดขาม ศิลาลอย ไรเกา เขาเจา เขาเจา หนองตาแตม หวยสัตวใหญ หนองพลับ



หมูบาน สีดางาม รวมไทย โปงกระสัง ยางชุม เหนือ หนองแก หนองจิก ทาทุง ทาไมลาย หวยพลับ ทุงกระทิง เนินพยอม





กลุมหิน หินทรายอารโคส หินทรายเนือควอตซ ้ หินทรายเนือเกรยแวก ้ หินแกรนิต หินแกรนิต หินทรายอารโคส หินทรายเนือควอตซ ้ หินทรายแทรกสลับ หินตะกอนเนื้อละเอียด กึ่งแปรสภาพ หินทรายอารโคส หินทรายเนือควอตซ ้ หินทรายเนือเกรยแวก ้ หินทรายอารโคส หินทรายเนือควอตซ ้ หินทรายเนือเกรยแวก ้ หินตะกอนเนือละเอียด ้ บางสวนกึงแปรสภาพ ่ หินทรายอารโคส หินทรายเนือควอตซ ้ หินทรายเนือเกรยแวก ้ หินทรายเนือเ





วิทยา หิน SS2 SS1 GR GR SS2 SS3 SS2 SS1 SS2 SS1 FS1 SS2 SS1 SS1


ลำดับ 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

- 163 -





7.4.3 กลุม SM (Silty sands)


ดนพวกเมดหยาบเปนดนในกลุมทรายเมดละเอียดปนทราย มตะกอนทรายปน ทราย-






ตะกอนทรายผสมกน ขนาดคละกันดี โดยมีดนเมดละเอียดผานตะแกรงเบอร 200 มากกวา 12%





มคาดัชนีพลาสตก (Plasticity Index, P.I.) นอยกวา 4% หรือไมมีคาดัชนีพลาสตก (Non Plastic)

คาความถวงจําเพาะของดินประมาณ 2.64 - 2.66 จำนวน 7 ตัวอยาง ไดแก 
1) PKN04-02122563 บริเวณบานมะขามโพรง ตำบลอาวนอย อำเภอเมอง หินฐานเปน

หินทรายแปงแทรกสลับหินทรายในกลุมวิทยาหิน FS1
2) PKN10-16122563 บริเวณตำบลทองมงคล อำเภอบางสะพาน หินฐานเปนหินทราย
ในกลุมวิทยาหิน SS1
3) PKN13-17122563 บริเวณบานคลองลอย ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน หินฐาน
เปนหินแกรนิตในกลุมวิทยาหิน GR


4) PKN15-18122563 บริเวณบานตะแบกโพรง ตำบลอางทอง อำเภอทับสะแก หินฐาน
เปนหินแกรนิตในกลุมวิทยาหิน GR


5) PKN19-19122563 บริเวณตำบลเขาลาน อำเภอทบสะแก หินฐานเปนหินแกรนิต

ในกลุมวิทยาหิน GR


6) PKN22-21122563 บริเวณบานยางชุมเหนือ ตำบลหาดขาม อำเภอกยบุรี หินฐานเปน

หินทรายในกลุมวิทยาหิน SS2


7) PKN29-22122563 บริเวณบานเนินพะยอม ตำบลหนองพลับ อำเภอหัวหิน หินฐานเปน
หินทรายในกลุมวิทยาหิน SS1


7.4.4 กลุม SC (Clayey sands)






ดนพวกเม็ดหยาบเปนดนในกลุมทรายเมดละเอยดปนทราย มเศษดนเหนียวปน ทราย-



ดินเหนียวผสมกัน ขนาดคละกันไมดี โดยมีดินเม็ดละเอยดผานตะแกรงเบอร 200 มากกวา 12% มีคาดัชนี




พลาสตก (Plasticity Index, P.I.) มากกวา 7% คาความถวงจําเพาะของดนประมาณ 2.64 - 2.68
จำนวน 8 ตัวอยาง ไดแก 
1) PKN01-02122563 บริเวณบานไรเครา ตำบลคลองวาฬ อำเภอเมอง หินฐานเปน

หินแกรนิตในกลุมวิทยาหิน GR

2) PKN03-02122563 บริเวณบานวังมะเดอ ตำบลอาวนอย อำเภอเมอง หินฐานเปนหินทราย



ในกลุมวิทยาหิน SS1

- 164 -



3) PKN06-15122563 บริเวณบานโปงดินดำ ตำบลชางแรก อำเภอบางสะพานนอย หินฐาน

เปนหินแกรนิตในกลุมวิทยาหิน GR

4) PKN11-17122563 บริเวณบานไทรทอง ตำบลทองมงคล อำเภอบางสะพาน หินฐานเปน

หินทรายในกลุมวิทยาหิน SS1

5) PKN12-17122563 บริเวณวัดเขากระจิ ตำบลกำเนิดนพคณ อำเภอบางสะพาน หินฐาน

เปนหินทรายในกลุมวิทยาหิน SS2

6) PKN14-18122563 บริเวณบานหนองหญาปลอง ตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน

หินฐานเปนหินทรายในกลุมวิทยาหิน SS1

7) PKN16-18122563 บริเวณ ตำบลนาหูกวาง อำเภอทับสะแก หินฐานเปนหินทราย

ในกลุมวิทยาหิน SS1

8) PKN25-22122563 บริเวณบานทาทง ตำบลเขาเจา อำเภอปราณบุรี หินฐานเปน


หินทรายในกลุมวิทยาหิน SS1



7.4.5 กลุม MH (Inorganic silts)
ดนพวกเม็ดละเอยดเปนดนกลุมตะกอนทรายอนินทรียและทรายละเอยดหรือตะกอนทราย













ปนไมกาหรือดนเบา ตะกอนทรายทยืดหยุน โดยมดนเมดละเอยดผานตะแกรงเบอร 200 มากกวา 50%

มีคาพิกัดเหลว (Liquid Limit, L.L.) มากกวา 50% คาความถวงจําเพาะของดนประมาณ 2.69


จำนวน 1 ตวอยาง ไดแก PKN08-15122563 บริเวณบานโปงสามสิบ ตำบลชางแรก อำเภอบางสะพานนอย



หินฐานเปนหินทรายในกลุมวิทยาหิน SS1
7.4.6 กลุม ML (Inorganic silts and very fine sand)



ดนพวกเม็ดละเอียดเปนดนในกลุมตะกอนทรายอนินทรียและทรายละเอยดมาก


หินฝุนทรายละเอยดปนตะกอนทรายหรือดนเหนียวมความเหนียวเล็กนอย โดยมีดินเม็ดละเอียดผาน



ตะแกรงเบอร 200 มากกวา 50% มีคาพิกัดเหลว (Liquid Limit, L.L.) นอยกวา 50% มคา Atterberg limits




อยูใตเสน A คาความถวงจําเพาะของดนประมาณ 2.65 จำนวน 1 ตัวอยาง ไดแก PKN07-15122563

บริเวณบานโปงเตย ตำบลไชยราช อำเภอบางสะพานนอย หินฐานเปนหินทรายแปงแทรกสลับหินดนดาน
ในกลุมวิทยาหิน FS1

- 165 -




7.4.7 กลุม CL (Clay of low to medium plasticity)

ดินพวกเม็ดละเอยดเปนดินในกลุมดินเหนียวอนินทรีย มความเหนียวตำ-ปานกลาง






ดนเหนียวปนทราย ดนเหนียวปนตะกอนทราย โดยมดินเม็ดละเอยดผานตะแกรงเบอร 200 มากกวา

50% มีคาพิกัดเหลว (Liquid Limit, L.L.) นอยกวา 50% มีคา Atterberg limits อยูเหนือเสน A

คาความถวงจําเพาะของดินประมาณ 2.68 - 2.73 จำนวน 9 ตัวอยาง ไดแก 

1) PKN05-15122563 บริเวณบานทองอนทร ตำบลไชยราช อำเภอบางสะพานนอย
หินฐานเปนหินโคลนปนกรวดในกลุมวิทยาหิน FS1

2) PKN09-15122563 บริเวณบานน้ำดำ ตำบลทรายทอง อำเภอบางสะพานนอย หินฐานเปน

หินทรายในกลุมวิทยาหิน SS2

3) PKN20-21122563 บริเวณบานรวมไทย ตำบลหาดขาม อำเภอกยบุรี หินฐานเปน

หินทรายในกลุมวิทยาหิน SS2


4) PKN21-21122563 บริเวณบานโปงกระสัง ตำบลหาดขาม อำเภอกยบุรี หินฐานเปน
หินทรายแทรกสลับหินโคลนในกลุมวิทยาหิน SS3

5) PKN23-21122563 บริเวณบานหนองแก ตำบลศิลาลอย อำเภอสามรอยยอด หินฐาน

เปนหินทรายในกลุมวิทยาหิน SS1

6) PKN24-21122563 บริเวณบานหนองจิก ตำบลไรเกา อำเภอสามรอยยอด หินฐานเปน

หินทรายในกลุมวิทยาหิน SS2


7) PKN26-22122563 บริเวณบานทาไมลาย ตำบลเขาเจา อำเภอปราณบุรี หินฐานเปน

หินโคลนในกลุมวิทยาหิน FS1
8) PKN027-22122563 บริเวณบานหวยพลับ ตำบลหนองตาแตม อำเภอปราณบุรี หินฐาน

เปนหินโคลนในกลุมวิทยาหิน SS2



9) PKN028-22122563 บริเวณบานทงกระทิง ตำบลหวยสัตวใหญ อำเภอหัวหิน หินฐาน
เปนหินทรายแทรกสลับหินดินดานในกลุมวิทยาหิน SS1



บทที่ 8


บทสรุปและขอเสนอแนะ





8.1 บทสรุป




การศึกษาพนที่ออนไหวตอการเกดดนถลมในพนทจังหวัดประจวบคีรีขนธ โดยการวิเคราะห


ื้




ขอมูลในระบบสารสนเทศภูมศาสตร ดวยแบบจําลองทางสถต Bivariate probability และการให






คาน้ำหนัก (Weighting) พิจารณาจาก 7 ปจจัยทีเกยวของกบการเกิดดินถลม ไดแก วิทยาหิน หนารับ




น้ำฝน ทศทางการไหลของน้ำ ระยะหางจากโครงสรางทางธรณวิทยา ระดับความสูง ความลาดชัน และการ
ใชประโยชนที่ดิน สามารถสรุปผลจากการวิเคราะหไดดังนี้









1. ปจจัยทมความสัมพันธกบการเกดดินถลมในพนทจังหวัดประจวบครีขนธ เรียงลำดับตาม




ความสำคัญมากไปนอย คือ (1) วิทยาหิน (2) การใชประโยชนท่ดน (3) ระดับความสูง (4) ความลาดชัน
(5) ระยะหางจากโครงสรางทางธรณีวิทยา (6) ทิศทางการไหลของน้ำ และ (7) หนารับน้ำฝน ตามลำดับ

2. การกระจายตวของรองรอยดนถลมพบสวนใหญอยูในพืนทีทีมระดบความสูงตั้งแต 600-








800 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีความลาดชันอยูในชวง 40-50 องศา บริเวณพนทปาทีมตนไม 
ี่


ื้




ใหญ และสามารถพบไดในกลุมวิทยาหิน GR จำพวกหินแกรนิต และกลุมวิทยาหิน SS1 จำพวกหินทราย

เนื้อเกรยแวก
3. พื้นที่ความออนไหวตอการเกิดดินถลมจำแนกออกเปน 5 ระดับ
1) ระดับต่ำมาก (Very low) มีพนทประมาณ 349 ตารางกโลเมตร คดเปนรอยละ 9.70






ของพื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลมทงหมด
ั้



2) ระดับต่ำ (Low) มพนทประมาณ 1,084 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 30.14


ของพื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลมทงหมด
ั้

3) ระดับปานกลาง (Moderate) มีพนทประมาณ 1,694 ตารางกโลเมตร คดเปนรอยละ

ี่
ื้
47.08 ของพื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลมทั้งหมด




4) ระดบสูง (High) มพนทีประมาณ 374 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 10.41

ี่
ของพื้นท ออนไหวตอการเกิดดินถลมทั้งหมด


5) ระดบสูงมาก (Very high) มพนทีประมาณ 96 ตารางกิโลเมตร คดเปนรอยละ 2.67




ั้
ของพื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลมทงหมด

- 168 -







4. การทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของดินขนพ้นฐาน สามารถจําแนกประเภทของดน
ออกเปนทั้งหมด 7 กลุม ดังนี้





1) ดินกลุม GC (Clayey gravel) คือ ดนพวกเมดหยาบเปนดนในกลุมกรวดมเมด


ี่
ละเอียดปน กรวดมดนเหนียวปน กรวด-ทราย-ดนเหนียวผสม พบกระจายตวในพนททีม ี

ื้




หินฐานประกอบดวย หินทรายในกลุมวิทยาหิน SS1 และหินทรายแทรกสลับหินโคลน
ในกลุมวิทยาหิน SS2
2) ดินกลุม SP-SM (Poorly graded sands - Silty sands) คือ ดินพวกเม็ดหยาบเปน



ดินในกลุมทรายท่ครึงหนึ่งของสวนท่เปนเม็ดหยาบ มีขนาดคละกันไมดี ทรายปนกรวด



มีเมดละเอยดปนบางหรือไมมเลย (SP) ถึงกลุมทรายมตะกอนทรายปน ทราย-ตะกอน





ทรายผสมกน (SM) พบกระจายตวในพนททมหินฐานประกอบดวย หินแกรนิตใน







กลุมวิทยาหิน GR


3) ดินกลุม SM (Silty sands) คือ ดนพวกเมดหยาบเปนดนในกลุมทรายเมดละเอยด








ปนทราย มตะกอนทรายปน ทราย-ตะกอนทรายผสมกน ขนาดคละกนด พบกระจายตว





ในพนททมหินฐานประกอบดวย หินทรายแปงแทรกสลับหินทรายในกลุมวิทยาหิน FS1




หินทรายในกลุมวิทยาหิน SS1 หินแกรนิตในกลุมวิทยาหิน GR และหินทรายใน


กลุมวิทยาหิน SS2
4) ดินกลุม SC (Clayey sands) คือ ดนพวกเมดหยาบเปนดนในกลุมทรายเม็ดละเอียด



ปนทราย มเศษดินเหนียวปน ทราย-ดินเหนียวผสมกน ขนาดคละกันไมดี พบกระจายตัว


ี่
ี่

ื้
ในพนททมหินฐานประกอบดวย หินแกรนิตในกลุมวิทยาหิน GR หินทรายใน
กลุมวิทยาหิน SS1 และหินทรายในกลุมวิทยาหิน SS2
5) ดินกลุม MH (Inorganic silts) คือ ดนพวกเม็ดละเอียดเปนดินกลุมตะกอนทราย

อนินทรียและทรายละเอยดหรือตะกอนทรายปนไมกาหรือดนเบา พบกระจายตัวในพื้นท ี่



ที่มีหินฐานประกอบดวย หินฐานเปนหินทรายในกลุมวิทยาหิน SS1

6) ดินกลุม ML (Inorganic silts and very fine sand) คือ ดินพวกเมดละเอียดเปน
ดินในกลุมตะกอนทรายอนินทรียและทรายละเอยดมากหินฝุนทรายละเอยดปนตะกอน




ทรายหรือดนเหนียวมีความเหนียวเล็กนอย พบกระจายตัวในพนททมหินฐาน

ี่
ื้
ี่

ประกอบดวย หินทรายแปงแทรกสลับหินดินดานในกลุมวิทยาหิน FS1

- 169 -




7) ดินกลุม CL (Clay of low to medium plasticity) คือ ดนพวกเม็ดละเอียดเปน

ดินในกลุมดินเหนียวอนินทรีย มความเหนียวตำ-ปานกลาง ดนเหนียวปนทราย




ดนเหนียวปนตะกอนทราย พบกระจายตวในพนททมหินฐานประกอบดวย หินโคลนปน








กรวดในกลุมวิทยาหิน FS1 หินทรายในกลุมวิทยาหิน SS2 หินทรายแทรกสลับหินโคลน
ในกลุมวิทยาหิน SS3 และหินทรายในกลุมวิทยาหิน SS1
8.2 ขอเสนอแนะ





1. การศึกษาหาแนวทางเพ่อวิเคราะหพ้นท่ออนไหวตอการเกิดดนถลมใหทันสมย และเปน

ปจจุบันนั้น ตองอาศัยขอมูลที่มีการปรับปรุงแกไขอยูเสมอ จึงจะเกิดความถูกตองของแบบจำลองมากที่สุด



2. ขอมูลท่นำมาใชในการวิเคราะหตองท่มีความถูกตอง ควรมีการจัดเก็บฐานขอมูลใหอยูใน


ื่

รูปแบบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพอใหงายตอการใชงานและการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แกไขขอมล

ใหมีความเปนปจจุบัน และถูกตองมากที่สุด






3. การใชภาพถายดาวเทยมทมความละเอยดสูง และการออกภาคสนาม เพอเกบขอมูล




ทงขอมูลดานธรณีวิทยาและขอมลรองรอยดนถลมควบคกัน จะทำใหไดขอมลทถูกตอง และทำใหการทำ













แผนที่รองรอยดินถลมและแผนที่พื้นที่ออนไหวตอการเกดดินถลมมีความถกตอง แมนยำมากยิ่งขึ้น




4. การทำรายละเอยดของการใชประโยชนของพนทอาจจะชวยในการอธิบายการเปลียนแปลง


ของสภาพแวดลอมที่มีผลตอการเกิดดินถลมได



เอกสารอางอิง










กรมทรัพยากรธรณี, 2551, การจำแนกเขตเพอการจัดการดานธรณีวทยาและทรัพยากรธรณี จังหวดประจวบครีขันธ: กรุงเทพฯ, กรมทรัพยากร

ธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตและสงแวดลอม, 102 หนา.








_______________, 2550ข, ธรณีวิทยาประเทศไทย (พมพครั้งท 2 ฉบับปรับปรุง): กรุงเทพฯ กรมทรัพยากรธรณี, 628 หนา.
ี่
_______________, 2556, แผนที่ธรณีวิทยา ฉบับพกพา มาตราสวน 1:1,000,000 (Geological map of Thailand, scale




1:1,000,000): กรุงเทพฯ กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตและสงแวดลอม.


กรมอุตุนยมวิทยา, 2564, สภาพอากาศและสภาพภูมอากาศ [Online]: แหลงทีมา: https://www.tmd.go.th/index.php



[2563, กุมภาพันธ 22]


คณะทรัพยากรธรรมชาต มหาวทยาลยสงขลานครินทร, 2540, การจัดการสาธารณภัยในภาคใตของประเทศไทย (สงขลา):


คณะทรัพยากรธรรมชาต มหาวทยาลยสงขลานครินทร.




ชูศักดิ์ คีรีรัตน, 2554, ปฐพกลศาสตร: กรุงเทพฯ, ทอป, 813 หนา.

นิพนธ ตั้งธรรม และปรีชา คูรัตน, 2516, ดินเลื่อนไหลในปาดิบเขาดอยปย เชียงใหม การวิจัยลุมน้ำหวยคอกมา 16 ตุลาคม 2516:

มหาวทยาลัยเกษตรศาสตร คณะวนศาสตร ภาควชาอนรักษวทยา.






นิวต เรืองพานิช, 2513, ความสัมพนธระหวางปริมาณฝนและลักษณะการไหลของนำในลำธาร ลุมนำหวยคอกมา ดอยปย








ี่

จังหวัดเชียงใหม: กรุงเทพฯ, การวิจัยลุมน้ำคอกมา เลมท 6 วิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

บริษัท เว็บสวัสดี จำกัด (มหาชน), 2560, ขอมลการเดนทางไปจังหวัดจันทบุรี, บริษัท เว็บสวัสดี จำกัด (มหาชน) [Online]: แหลงที่มา:



http://www.sawadee.co.th/thai/chantaburi/transportation.html [2563, กุมภาพนธ 22]


ปริญญา นุตาลัย และวันชัย โสภณสกุลรัตน, 2532, การปองกันอุทกภัยภาคใต: เอกสารประกอบการสมมนา เลมท 1 วนที่ 17-18






สิงหาคม 2532 โรงแรมเจบ หาดใหญ สงขลา, 34 หนา.


พิสุทธิ์ วิจารสรณ สุรินทร ไวยเจริญ สถิระ อุดมศรี อนุวตร โพธมาน และสุพร บญประคับ, 2533, รายงานการศกษาสาเหตและ










การประเมนความเสยหายบริเวณพนทอุทกภัยของจังหวดนครศรีธรรมราช และสราษฎรธาน ในสวนที่เกี่ยวของกับลักษณะ









ดินและธรณีวิทยา: กรุงเทพฯ, กองสำรวจดนและจำแนกดน กรมพฒนาทดนและสหกรณ.
มณเฑียร กังศศิเทียม, 2543, กลศาสตรของดนดานวศวกรรม: กรุงเทพฯ, บริษัท อัมรินทรพริ้นต้ง แอนด พับลิชชง จำกัด, 371 หนา.












เมธา ศรีทองคำ, 2561, การศกษาลกษณะและสมบติของดินท่มวัตถุตนกำเนดจากหินแกรนิตบริเวณจังหวดอุทัยธาน: กรุงเทพฯ,






กลมสำรวจจำแนกดน กองสำรวจและวจัยทรัพยากรดน กรมพฒนาทดน กระทรงเกษตรและสหกรณ, 151 หนา.







ราชบัณฑิตยสถาน. (2544). พจนานกรมศัพทธรณีวทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 384 หนา.



สำนกงานโครงการพฒนาแหงสหประชาชาต (UNDP), 2559, คูมือการประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัต: กรุงเทพฯ, สำนกงาน







โครงการพฒนาแหงสหประชาชาต สำนกงานประเทศไทย.

ศูนยวิจัยปาไม, 2537, รายงานฉบับสุดทายโครงการศึกษาเพื่อกำหนดพนที่เสี่ยงตอการเกิดอุทกภัยและภัยธรรมชาติในพนที่ลมน้ำ
ุ
ื้

ื้
ภาคใต: กรุงเทพฯ, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.


ื้
ศศวิมล นววิธไพสฐ, 2551, รายงานการวิเคราะหพนที่เสี่ยงภัยดินถลม จังหวัดพังงา: รายงานวชาการ, กองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม,


กรมทรัพยากรธรณี, ฉบับที่ กธส 7/2551, 76 หนา.

วรวุฒ ตันติวานช, 2535, ธรณีวิทยาภัยพบัติ เนื่องจากแผนดนถลมที่บานกระทูนเหนือ จังหวัดนครศรีธรรมราช: รายงานวชาการ,





กองธรณีวิทยา, กรมทรัพยากรธรณี, ฉบับที 1, 30 หนา.

สถาบนสารสนเทศทรัพยากรนำและการเกษตร (องคการมหาชน), 2561, [Online]: แหลงทีมา:




http://www.thaiwater.net/current/YearlyReport2018/rain.html [2563, กุมภาพันธ 22]
Akgün, A., and Bulut, F., 2007, "GIS-based landslide susceptibility for Arsin-Yomra (Trabzon, North Turkey)
region: Environmental geology, v. 51, no. 8, p.1377-1387.

- 172 -


Anbalagan, R., 1992, Landslide hazard evaluation and zonation mapping in mountainous terrain: Engineering.
Geology., v. 32, p.269-277.
Anonymous, (n.d). Retrieved January 6, 2021, from

http://nfile.snru.ac.th/download.aspx?cv=1&NFILE=TEACHER_157_12082015220052848.pdf
Aleotti, P., and Chowdhury, R., 1999, Landslide hazard assessment: summary review and new perspectives:
Bulletin of Engineering Geology and the Environment, v. 58, no. 1, p.21-44.
Ayalew, L., and Yamagishi, H., 2005, The application of GIS-based logistic regression for landslide susceptibility
mapping in the Kakuda-Yahiko Mountains: Central Japan, v. 65, no. 1–2, p.15-31.
ASTM, 2000, Standard Test Methods for Liquid Limit, Plastic Limit, and Plasticity Index of Soils - D4318-84: West

Conshohocken, Pennsylvania, USA, ASTM International, p.14.
______________, 2000, Standard Test Method for Particle Size Analysis of Soils - D422-63: West
Conshohocken, Pennsylvania, USA, ASTM International, p.8.
______________, 2000, Standard Test Methods for Specific Gravity of Soil Solids by Water Pycnometer - D854-
02: West Conshohocken, Pennsylvania, USA, ASTM International, p.7.
Bunopas, S., 1981, Paleogeographic history of western Thailand and adjacent parts of Southeast Asia – A plate
tectonics interpretation: Victoria University of Willington, unpublished Ph.D. thesis, 810 p.; reprinted 1982
as Geological Survey Paper no.5, Geological Survey Division, Department of Mineral Resources, Thailand.
Carrara, A., and R., Pike, 2008, GIS technology and models for assessing landslide hazard and risk:

Geomorphology (Amsterdam), v. 94. p.3-4.
Cardinali, M., Reichenbach, P., Guzzetti, F., Ardizzone, F., Antonini, G., and Galli, M., 2002, A geomorphological
approach to the estimation of landslide hazards and risks in Umbria, Central Italy: Natural Hazards and
Earth System Sciences, v. 2, p.57-7.
Cevik, E., and T., Topal, 2003, GIS-based landslide susceptibility mapping for a problematic segment of the
natural gas pipeline, Hendek (Turkey): Environmental geology, v. 44, no. 8, p.949-962.
Chung, C. F., and Fabbri, A. G., 2003, Validation of spatial prediction models for landslide hazard mapping:

Natural Hazards v. 30, no. 3, p.451-472.
Craig, R. F., 2004, Craig's soil mechanics (7 ed.): Taylor & Francis, 464 p.
th
Cruden, D., and Varnes, D., 1996, ‘Landslide Types and Processes’, In S. R. Turner (ed) Landslides Investigation
and Mitigation: Transportation research board national research council, Special Report, v. 247, p.36–75.
Dahal, R., Hasegawa, S., Nonomura, A., Yamanaka, M., Dhakal, S., and Paudyal, P., 2008, Predictive modelling
of rainfall-induced landslide hazard in the Lesser Himalaya of Nepal based on weights-of-evidence:
Geomorphology, v. 102, no. 3-4, p.496-510.
_______________, Hasegawa, S., Nonomura, A., Yamanaka, M., Masuda, T., and Nishino, K., 2008, GIS-based
weights-of-evidence modelling of rainfall-induced landslides in small catchments for landslide

susceptibility mapping: Environmental Geology, v. 54, no. 2, p.311-324.
_______________, Hasegawa, S., Nonomura, A., Yamanaka, M., Masuda, T., and Nishino, K., 2008, GIS-based
weights-of-evidence modelling of rainfall-induced landslides in small catchments for landslide
susceptibility mapping: Environmental Geology, v. 54, no. 2, p.311-324.
Dai, F. C., and Lee, C. F., 2001, Terrain-based mapping of landslide susceptibility using a geographical
information system: a case study: Canadian Geotechnical Journal, v.38, no.5, p.911-923.

- 173 -


_______________, 2002, Landslide characteristics and slope instability modelling using GIS, Lantau Island Hong
Kong: Geomorphology, v. 42, no. 3–4, p.213-228.
Dearman, W.R., 1974, Weathering classification in the characterisation of rock for engineering purposes in

British practice: Bulletin of the International Association of Engineering Geology, v.9, p.33-42.
______________, 1976, Weathering classification in the characterisation of rock - A revision: Bulletin of the
International Association of Engineering Geology, v.13, p.123-127.
______________, 1991, Engineering geological mapping. Butterworth-Heinemann, 396 p.
Ercanoglu, M., and Gokceoglu, C., 2004, Use of fuzzy relations to produce landslide susceptibility map of a
landslide prone area (West Black Sea Region, Turkey): Engineering Geology, v. 75, no. 3-4, 229-250.

Ermini, L., Catani, F., and Casagli, N., 2005, Artificial Neural Networks applied to landslide susceptibility
assessment: Geomorphology, v. 66, no. 1-4, p.327-343.
Garson, MS., Mitchell AHG., and Trit AR., 1975, The Geology of the Phuket - Phangnga Area in Peninsula,
Thailand: London, HMSO.
Guzzetti, F., Carrara, A., Cardinali, M., and Reichenbach, P., 1999, Landslide hazard evaluation: a review of
current techniques and their application in a multi-scale study: Central Italy, Geomorphology, v. 31, no.
1-4, p.181-216.
Hasanat, M. H. A., Ramachandram, Dhanesh and Rajeswari, 2010, Bayesian belief network learning algorithms
for modeling contextual relationships in natural imagery: a comparative study: Artificial Intelligence

Review, v. 34, no. 4, p.291-308.
He, Y., and Beighley, R. E., 2008, GIS-based regional landslide susceptibility mapping: a case study in southern
California: Earth Surface Process and Landforms, v. 33, p.380–393.
Hewlett, J. D., and Hibbert, A. R., 1967, Factors affecting the response of small watersheds to precipitation in
humid areas: Forest hydrology, v. 1, p.275-290.
Hearn, G. J., 2016, A3 Slope materials, landslide cause and landslide mechanisms. Engineering Geology Special
Publications, v.24, p.15-57.

Hillel, D., 2008, Soil in the Environment, Academic Press, p.15-26.
Hoover, M. D., and Hursh, 1943, Influence of topography and soil‐depth on runoff from forest land: Eos.
Transactions American Geophysical Union, v. 24, no. 2, p. 693-698.
_______________, 1950, Hydrologic characteristics of South Carolina piedmont forest soil: Soil Science Society
of America Proceedings, v. 14, p. 353-358.
Hornbeck, J. W., and K.G. Reinhart, 1964, Water Quality and Soil Erosion as Affected in Steep Terrain: Journal
of Soil and Water Conservation, v. 19, no. 1, p.23-27.

Khampilang, N., 2015, Landslide assessment in a remote mountain region: a case study from the Toktogul
region of Kyrgyzstan: Central Asia, Ph.D. Thesis, University of Portsmouth.
Kingbury, A.P., Hastie, J.W., and Harrington, A.J., 1991, Reginal landslip hazard assessment using a Geographic
Information System, In D., H., Bell, ed., landslides Glissements de terrain. Edited: Geology Department,
Univ. of Canterbury, Christchurch New Zealand: Balkerma, Rotterdam: Rotterdam, p.995–1,000.
Lessing, P., Messenia, C. P., and Fonner, R. F., 1983, Landslides risk assessment: Environmental Geology, v. 5,
no. 2, p.93-99.

- 174 -


Malamud, B. D., Turcotte, D. L., Guzzetti, F., and Reichenbach, P., 2004, Landslide inventories and their
statistical properties: Earth Surface Processes and Landforms, v. 29, no. 6, p.687-711.
Matsukura, Y., and Tanaka, Y., 1983, Stability analysis for soil slips of two gruss-slopes in Southern Abukuma

Mountains: Japan. Trans. Japan.
Mehrotra, G. S., Sarkar, S., and Dhamaraju, R., 1991, Landslide hazard assessment in Rishikeshtehri Area,
Garhwal Himalaya, India, In D. H. Bell, ed., Landslides Glissement De Terrain: Geology Department,
University of Canterbury, Christchurch, New Zealand.
Miller, S., 2007, Geographical Information Systems (GIS) applied to Landslide Hazard Mapping and Evaluationin
North-East Wales: Liverpool, University of Liverpool.

Nakapadungrat, S., Beckinsale, R.D., and Suensilpong, S., 1984, Geochronology and geology of Thai granites:
Conference on Application of Geology and the National Development, Chulalongkorn University,
Bangkok, November, v. 19–22, p.75–93.
Nandi, A., and Shakoor, A., 2010, A GIS-based landslide susceptibility evaluation using bivariate and
multivariate statistical analyses: Engineering Geology, v. 110, no. 1- 2, p.11-20.
Nawawitphisit, S., 2010, Using GIS and remote sensing techniques to predict landslides in Southwest
Guatemala: M.Sc. Dissertation, University of Bristol.
Neuhäuser, B., and Terhorst, B., 2007, Landslide susceptibility assessment using “weights-of-evidence” applied
to a study area at the Jurassic escarpment (SW-Germany): Geomorphology v. 86, no. 1-2, p.12-24.

Okagbue, C. O., 1989, Predicting landslips caused by rainstorms in residual/colluvial soil of Nigerian hillside
slopes: Natural Hazards, v. 2, p.133–141.
Ohlmacher, G. C., and Davis, J. C., 2003, Using multiple logistic regression and GIS technology to predict
landslide hazard in northeast Kansas USA: Engineering Geology, v. 69, no. 3–4, p.331-343.
Park, N. W. and Chi K. H., 2008, Quantitative assessment of landslide susceptibility using high‐resolution
remote sensing data and a generalized additive model: International Journal of Remote Sensing, v. 29,

no. 1, p. 247-264.
Pradhan, B., and Lee, S., 2010, Delineation of landslide hazard areas on Penang Island, Malaysia, by using
frequency ratio, logistic regression, and artificial neural network models: Environmental Earth Sciences, v.
60, no. 5, p.1037-1054.
Putthapiban, P., 1984, Geochemistry, Geochronology and tin mineralization of Phuket granites, Phuket,
Thailand: unpublished Ph.D. thesis, La Trobe University Victoria, Australia, 421 p.
Nianxueo, Z., and S., Zhupingo, 1992, Probability analysis of rain-related occurrence and revival of landslides
in Yunyang-Fengjie area in East Sichuan. International symposium on landslides.

Nwajide, C. S., Okagbue, C. O., and Umeji, A. C., 1988, Slump-debris flows in the Akovolwo mountains area of
Benue State, Nigeria: Natural Hazards, v. 1, p.145–154.
Regmi, K.., Naidoo, J., and Pilkinng, P., 2010, Understanding the processes of translation and transliteration in
qualitative research: International Journal of Qualitative Methods, v., 9, no. 1, p.16-26.
Rice, R. M., and Foggin, G. T., 1971, Effects of high intensity storms in soil slippage on mountainous water-
sheds in southern California: Water Resource Research, v., 7, no. 6, p.1485–1496.
Selby, M.E., 1993, Hillslope materials and processes. Oxford University Press, Oxford.

- 175 -


Serizawa, M., 1981, On runoff phenomena during a storm in a small basin of uppermost reach of River
Yamaguchi. Hydrology, v. 11, p.8-15.
Soeters, R., and van Westen, C. J., 1996, Slope instability recognition, analysis, and zonation: Washington, DC,

Transportation Research Board.
Suzen, M., and Doyuran, V., 2004, Data driven bivariate landslide susceptibility assessment using geographical
information systems: a method and application to Asarsuyu catchment; Turkey: Engineering Geology, v.
71, p.303-321.
Tangtham, N., 1999, Observed and hypothetical effect over time of the terraced forest plantation on soil and
water losses at Doi Angkhang highland project: Chiang Mai.

Teerarungsigul, S., 2006, Landslide prediction model using remote sensing, GIS and field geology: a case study
of Wang Chin district, Phrae province, Northern Thailand: Suranaree University of Technology, Nakhon
Ratchasima, 190 p.
Thiery, Y., Malet, J. P., Sterlacchini, S., Puissant, A., and Maquaire, O., 2007, Landslide susceptibility assessment
by bivariate methods at large scales: Application to a complex mountainous environment:
Geomorphology, v. 92, no. 1-2, p.38-59.
Trimble, G. R., Hale C. E., and Potter, H. S., 1951, Effect of Soil Cover Condition on Soil-Water Relationhips:
Station Paper NE-39. Upper Darby, PA: U.S. Department of Agriculture, Forest Service, Northeastern Forest
Experiment Station, 44 p.

Tsukamoto, Y., 1966, Raindrops under forest canopies and splash erosion: Bull Tokyo Univ Agri Tech For, v. 5,
p. 65-74.
UNISDR., 2004, Living with Risk: A global review of disaster reduction initiatives Neneva: United Nations, v. 1.
Van Den Eeckhaut, Vanwalleghem, M., Peosen, T., Govers, J., Verstraeten, G., Vandekerckhove, G., and
Liesbeth, 2006, Prediction of landslide susceptibility using rare events logistic regression: a case-study in
the Flemish Ardennes (Belgium): Geomorphology, v. 76, no. 3-4, p.392-410.
Van Westen, C. J., Castellanos, E., and Kuriakose, S. L., 2008, Spatial data for landslide susceptibility, hazard,

and vulnerability assessment: An overview, Engineering Geology, v. 102, no. 3–4, p.112-131.
_______________, Quan Luna, B., Vargas Franco, R., Malet, J. P., Jaboyedoff, M., Horton, P., and Kappes, M.,
2010, Development of training materials on the use of Geo-information for Multi-Hazard Risk Assessment
in a Mountainous Environment, in Proceedings of the Mountain Risks International Conference: Firenze,
Italy, 24–26 November 2010, p.469–475.
Varnes, D.J., 1978, Slope movement types and processes: Landslides analysis and control special report 176.
National Academy of Sciences.
_______________, 1984, Landslide Hazard Zonation: a review of principles and practice: UNESCO, Darantiere,
Paris, 61 p.

Wichai Pantanahiran, 1994, The use of landsat imaery and digital terrain models to assess and predict
landslide activity in tropical areas: a dissertation submitted in partial fulfillment of the requirments for
the degree of doctor of philosophy in natural resources, University of Rhode Island, 56 p.
Yalcin, A., 2008, GIS-based landslide susceptibility mapping using analytical hierarchy process and bivariate
statistics in Ardesen (Turkey): Comparisons of results and confirmations: Catena, v. 72, no. 1, p.1-12.

- 176 -


_______________, Reis, S., Aydinoglu, A. C., and Yomralioglu, T., 2011, A GIS-based comparative study of
frequency ratio, analytical hierarchy process, bivariate statistics and logistics regression methods for
landslide susceptibility mapping in Trabzon, NE Turkey: Catena, v. 85, no. 3, p.274-287.

Yesilnacar, E., and Topal, T., 2005, Landslide susceptibility mapping: A comparison of logistic regression and
neural networks methods in a medium scale study, Hendek region (Turkey): Engineering Geology, v. 79,
no. 3-4, p.251-266.
Yilmaz, I., 2009, Landslide susceptibility mapping using frequency ratio, logistic regression, artificial neural
networks and their comparison: a case study from Kat landslides (Tokat—Turkey): Computers &
Geosciences, v. 35, no. 6, p.1125-1138.




Click to View FlipBook Version