The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ati002009, 2022-03-23 21:48:35

02 รายงานวิชาการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

- 79 -




ตารางที่ 5.1 ความสัมพันธระหวางรองรอยดินถลมกับปจจัยที่ควบคุมการเกิดดินถลม (ตอ)


% of total area % of Landslide Frequency ratio
ปจจัย กลุม Classes
(a) scar (b) (b/a)
ทางธรณีวิทยา 4 600-800 11.00 11.26 1.02
(เมตร) 5 800-1000 7.66 8.03 1.05
The distance 6 1000-1200 5.29 5.93 1.12

to structure 7 1200-1400 3.77 3.68 0.98
(m.) 8 1400-1600 2.72 0.68 0.25
9 1600-1800 2.02 0.00 0.00
10 1800-2000 1.60 0.08 0.05
11 2000-2200 1.32 0.00 0.00
12 2200-2400 1.10 0.15 0.14
13 2400-2600 0.94 0.00 0.00
14 2600-2800 0.82 0.00 0.00
15 2800-3000 0.74 0.00 0.00
16 > 3000 7.02 0.00 0.00
5 .ระดับ 1 < 0 22.11 0.00 0.00
ความสูง 2 0-200 47.63 16.88 0.35
(เมตร) 3 200-400 17.05 47.40 2.78
Elevation 4 400-600 8.88 22.83 2.57
(m.) 5 600-800 3.41 11.23 3.30
6 800-1000 0.76 1.66 2.18
7 1000-1200 0.16 0.00 0.00
8 1200-1400 0.01 0.00 0.00
6. ความ 1 0-10 61.37 5.66 0.09
ลาดชัน 2 10-20 17.52 26.28 1.50
(องศา) 3 20-30 12.88 34.29 2.66
Slope 4 30-40 6.60 26.21 3.97
(degree) 5 40-50 1.45 7.18 4.93
6 50-60 0.15 0.38 2.50
7 60-70 0.02 0.00 0.00
8 70-80 0.00 0.00 0.00
7. การใช 1 แหลงน้ำ (Water) 2.28 0.00 0.00
ประโยชนที่ดิน 2 พื้นที่ปามีตนไมใหญ (Trees) 53.08 95.61 1.80
(Land use) 3 ทุงหญา (Grass) 0.15 0.00 0.00

4 พืชพรรณในพื้นที่ลุมน้ำทวมถึง 0.79 0.00 0.00
(Flooded Vegetation)
5 พื้นที่เกษตรกรรม (Crops) 23.44 0.00 0.00
6 พุมไม (Scrub/Shrub) 10.98 4.39 0.40
7 สิ่งปลูกสราง (Built Area) 9.17 0.00 0.00
8 พื้นที่โลงไมมีพืชพรรณใบเขียว (Bare Ground) 0.11 0.00 0.00

- 80 -




















































































รูปที่ 5.2 แผนที่แสดงกลุมวิทยาหิน 14 กลุม ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ 

- 81 -



















































































รูปที่ 5.3 แผนที่แสดงหนารับน้ำฝน 10 กลุม ในพืนที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ

- 82 -




5.2.3 ทิศทางการไหลของน้ำ (Flow direction)




ี่
ทิศทางการไหลของน้ำ เปนปจจัยที่เกยวของกับการเกดดินถลม บงบอกถึงทิศทางการไหล
ื้
ของทางน้ำ และการกดเซาะในพนที่ ทิศทางการไหลของน้ำ สามารถแบงออกเปน 8 กลุม มีระยะหาง

แตละกลุม 45 องศา คือ 1) ทิศตะวันออก (90 deg) 2) ทิศตะวันออกเฉียงใต (135 deg) 3) ทิศใต

(180 deg) 4) ทิศตะวันตกเฉยงใต (225 deg) 5) ทิศตะวันตก (270 deg) 6) ทิศตะวันตกเฉยงเหนือ

(315 deg) 7) ทิศเหนือ (0 deg) และ 8) ทิศตะวันออกเฉยงเหนือ (45 deg) (รูปที่ 5.4) จากการ


เปรียบเทียบกบรองรอยดินถลมพบวาทิศทางน้ำไหลที่มีความสัมพนธตอการเกดดินถลม (Fr ≥ 1) คือ


ทิศตะวันออกเฉียงใต (Fr = 2.50) ทิศใต (Fr = 1.38) ทิศตะวันออก (Fr = 1.30) และทิศตะวันตกเฉียงใต
(Fr = 1.02) ตามลำดับ


5.2.4 ระยะหางจากโครงสรางทางธรณีวิทยา (The distance to structure)




โครงสรางทางธรณีวิทยาเปนปจจัยที่สงผลกับเสถยรภาพของชั้นดิน/หิน ที่แสดงถงการผุพง



เนื่องจากมีกลุมรอยเลื่อนระนอง และกลุมแนวแตกพาดผานในพนที่จังหวัดประจวบคีรีขนธ (รายละเอยด
ื้
เพมเติมหัวขอที่ 3.5 บทที่ 3) ระยะหางจากโครงสรางทางธรณีวิทยาแบงออกเปน 16 ชวง มีระยะหาง
ิ่
ื้
แตละชวง 200 เมตร (รูปที่ 5.5) พบวาพนที่ทอยูใกลบริเวณโครงสรางทางธรณีวิทยาและมีระยะหางไม
ี่
เกน 1,200 เมตร มีความสัมพนธอยางมีนัยสำคัญกับการกระจายตัวของรองรอยดินถลม (Fr ≥ 1)



โดยมีความสัมพนธระหวางรองรอยดินถลมกบระยะหางระหวาง 200-400 เมตร (Fr = 1.44) ระยะหาง


ระหวาง 0-200 เมตร (Fr = 1.27) ระยะหางระหวาง 400-600 เมตร (Fr = 1.16) ระยะหางระหวาง
1,000-1,200 เมตร (Fr = 1.12) ระยะหางระหวาง 800-1,000 เมตร (Fr = 1.05) และระยะหางระหวาง
600-800 เมตร (Fr = 1.02) ตามลำดับ

5.2.5 ระดับความสูง (Elevation)


ระดับความสูงของพนทจังหวัดประจวบคีรีขันธถูกจำแนกออกเปน 7 ชวง มีระยะหางแตละ
ื้
ี่
ื้
ี่
ื่
ชวง 200 เมตร (รูปที่ 5.6) เพอใหเห็นความแตกตางของพนที่ พบวาพื้นทที่อยูในชวงระดับความสูงตั้งแต
200-1,000 เมตร มีความสัมพนธอยางมนัยสำคัญกบการกระจายตัวของรองรอยดินถลม (Fr ≥ 1) โดยมี




ความสัมพนธสูงสุดระหวางรองรอยดินถลมกับระดับความสูง 600 – 800 เมตร (Fr = 3.30) ระดับความ
สูง 200 – 400 เมตร (Fr = 2.78) ระดับความสูง 400 – 600 เมตร (Fr = 2.57) และระดับความสูง 800
– 1,000 เมตร (Fr = 2.18) ตามลำดับ

- 83 -





















































































รูปที่ 5.4 แผนที่แสดงทิศทางการไหลของน้ำ 8 กลุม ในพื้นที่จังหวดประจวบคีรีขันธ มีระยะหางแตละกลุม
45 องศา

- 84 -






















































































รูปที่ 5.5 แผนที่แสดงระยะหางจากโครงสรางทางธรณวิทยา 16 ชวงในพืนที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ
มีระยะหางแตละชวง 200 เมตร

- 85 -




















































































รูปที่ 5.6 แผนที่แสดงระดับความสูง 7 ชวง ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีระยะหางแตละชวง 200 เมตร

- 86 -



5.2.6 ความลาดชัน (Slope)


มุมของความลาดชัน (Slope angle) เปนปจจัยหลักของการวิเคราะหเสถียรภาพความลาดชัน

(Lee and Min, 2001) ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธแบงความลาดชันออกเปน 8 ชวง มีระยะหางแตละ
ชวง 10 องศา มีความลาดชันตั้งแต 0-80 องศา (รูปที่ 5.7) พบวาพื้นที่ที่มีความลาดชันที่อยูในชวงตั้งแต

10–60 องศา มีความสัมพนธอยางมีนัยสำคัญกบการกระจายตัวของรองรอยดินถลม (Fr ≥ 1)



โดยมีความสัมพนธระหวางรองรอยดินถลมกบความลาดชัน 40-50 องศา (Fr = 4.93) ความลาดชัน 30-

40 องศา (Fr = 3.97) ความลาดชัน 20-30 องศา (Fr = 2.66) ความลาดชัน 50-60 องศา (Fr = 2.50)
และความลาดชัน 10-20 องศา (Fr = 1.50) ตามลำดับ อยางไรก็ตามพบวาพนทที่มีความลาดชันสูงกวา
ี่
ื้
ื้


60 องศา ไมพบรองรอยดินถลม เนื่องจากเปนพนที่ที่รองรับดวยหนแขงเปนสวนใหญ มีความคงทน
แข็งแรง และใหชั้นดินนอย
5.2.7 การใชประโยชนที่ดิน (Land use)


การใชประโยชนที่ดินหรือลักษณะของสิ่งปกคลุมดินเปนปจจัยที่สงผลตอเสถียรภาพของ

ชั้นดิน/หิน และการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการไหลของน้ำบริเวณผิวดิน ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขนธแบง

ื้
ลักษณะการใชประโยชนที่ดินออกเปน 8 กลุม คือ 1) แหลงน้ำ (Water) 2) พนที่ปามีตนไมใหญ (Trees)

ื้

3) ทุงหญา (Grass) 4) พืชพรรณในพนที่ลุมน้ำทวมถึง (Flooded Vegetation) 5) พื้นที่เกษตรกรรม

(Crops) 6) พุมไม (Scrub/Shrub) 7) สิ่งปลูกสราง (Built Area) และ 8) พื้นที่โลงไมมีพชพรรณใบเขยว


(Bare Ground) (รูปที่ 5.8) จากการเปรียบเทียบกบรองรอยดินถลม พบวาการใชประโยชนที่ดิน
ที่มีความสัมพันธตอการเกิดดินถลม (Fr ≥ 1) คือ พื้นที่ปามีตนไมใหญ (Trees) (Fr = 1.80)

- 87 -




















































































ื้
รูปที่ 5.7 แผนที่แสดงความลาดชัน 8 ชวง ในพนที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีระยะหางแตละชวง 10 องศา

- 88 -




















































































รูปที่ 5.8 แผนที่แสดงการใชประโยชนที่ดิน 8 กลุม ในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ

- 89 -



5.3 การใหคาน้ำหนัก (Weighting)






การใหน้ำหนักกบปจจัยที่นำมาวิเคราะหในแบบจำลอง อนเนื่องมาจากแตละปจจยที่นํามา

วิเคราะหมีคาความสำคัญไมเทากัน เปนการวิเคราะหหลังการหาคาความสัมพันธกบการกระจายตัวของ



ดินถลมกบปจจัยทั้ง 8 ชนิด โดยพิจารณาจากคาอตราสวนความนาจะเปน (b/a) หรือความหนาแนนของ
ี่

การกระจายตัวของดนถลมในแตละกลุมยอยในปจจัยทเกี่ยวของกบดินถลมที่มีคามากกวาหนึ่ง ((b/a) ≥ 1)


ดวย 3 วิธี คือ
1) การใหคาน้ำหนักแบบ Reliability weighting (RP) พบวาปจจัยทางระดับความสูงเปน



ปจจยหลักที่มีความสัมพนธกบการกระจายตัวของดินถลม รองลงมาเปนวิทยาหิน ความลาดชัน การใช



ี่
ประโยชนทดิน ทศทางการไหลของน้ำ ระยะหางจากโครงสรางทางธรณีวิทยา และหนารับน้ำฝนตามลำดับ

ดังตารางที่ 5.2
ตารางที่ 5.2 การใหน้ำหนักดวยวิธี Reliability weighting เรียงจากมากไปหานอย
Reliability Type of Factors Rank Wi W(Nj) Wi*100
2.76 Elevation 1 7 0.25 25.00
2.31 Lithology 2 6 0.21 21.43
2.44 Slope 3 5 0.18 17.86
1.80 Land use 4 4 0.14 14.29
1.47 Flow direction 5 3 0.11 10.71

1.03 The distance to structure 6 2 0.07 7.14
1.74 Aspect 7 1 0.04 3.57


2) การใหคาน้ำหนักแบบ Accountability weighting (AP) พบวาปจจยทางวิทยาหินเปน
ปจจัยหลักทมีความสัมพนธกบการกระจายตัวของดินถลม รองลงมาเปนการใชประโยชนที่ดิน ระยะหางจาก


ี่
โครงสรางทางธรณีวิทยา ความลาดชัน ระดับความสูง ทิศทางการไหลของน้ำ และหนารับน้ำฝน ตามลำดับ
ดังตารางที่ 5.3

ตารางที่ 5.3 การใหน้ำหนักดวยวิธี Accountability weighting เรียงจากมากไปหานอย
Accountability Type of Factors Rank Wi W(Nj) Wi*100

1.00 Lithology 1 7 0.25 25.00
0.96 Land use 2 6 0.21 21.43
0.95 The distance to structure 3 5 0.18 17.86
0.94 Slope 4 4 0.14 14.29

0.83 Elevation 5 3 0.11 10.71
0.83 Flow direction 6 2 0.07 7.14
0.75 Aspect 7 1 0.04 3.57

- 90 -



3) การใหคาน้ำหนักแบบเฉลี่ย Average weighting (Av) ระหวาง AP และ RP ปจจัยหลัก

ที่มีความสัมพนธกับการกระจายตัวของดินถลมคือ วิทยาหิน รองลงมาคือ การใชประโยชนที่ดิน ระดับ

ความสูง ความลาดชัน ระยะหางจากโครงสรางทางธรณีวิทยา ทิศทางการไหลของน้ำ และหนารับน้ำฝน
ตามลำดับ ดังตารางที่ 5.4


ตารางที่ 5.4 การใหน้ำหนักดวยวิธีเฉลี่ย Average weighting เรียงจากมากไปหานอย

Rank Type of Factors RP AP Average
1 Lithology 21.43 25.00 23.21

2 Land use 14.29 21.43 17.86
3 Elevation 25.00 10.71 17.86

4 Slope 17.86 14.29 16.07
5 The distance to structure 7.14 17.86 12.50

6 Flow direction 10.71 7.14 8.93
7 Aspect 3.57 3.57 3.57



5.4 พื้นทความออนไหวตอการเกิดดินถลม
ี่


คาดัชนีคาความออนไหวของพื้นที่ดินถลม (LSI) สามารถจำแนก 5 ระดับ วิธีการ STDV
ื้

ดังตารางที่ 5.5 คือ 1) ระดับต่ำมาก (Very low) มีพนที่ครอบคลุมประมาณ 349 ตารางกโลเมตร คิดเปน
รอยละ 9.70 2) ระดับต่ำ (Low) มีพื้นที่ครอบคลุมประมาณ 1,084 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 30.14

3) ระดับปานกลาง (Moderate) มีพื้นที่ครอบคลุมประมาณ 1,694 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 47.08

4) ระดับสูง (High) มีพนที่ครอบคลุมประมาณ 374 ตารางกโลเมตร คิดเปนรอยละ 10.41 และ
ื้
ื้
5) ระดับสูงมาก (Very high) มีพนทครอบคลุมประมาณ 96 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 2.67
ี่
โดยพื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลมสามารถจำแนกตามตำบลได ดังตารางที่ 5.6

ตารางที่ 5.5 ระดับความออนไหวตอการเกิดดินถลม 5 ระดับ จำแนกตามวิธี STDV

ระดับความออนไหวตอการเกิดดนถลม พื้นท ี่

เปอรเซ็น
Landslide susceptibility level ตร.กม.
ระดับต่ำมาก (very low) 348.84 9.70

ระดับต่ำ (low) 1,084.48 30.14

ระดับปานกลาง (moderate) 1,693.55 47.08
ระดับสูง (high) 374.47 10.41

ระดับสูงมาก (very high) 96.22 2.67

- 91 -




















































































รูปที่ 5.9 แผนที่พื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลมจังหวัดประจวบคีรีขันธ

- 92 -



ตารางที่ 5.6 พื้นที่ออนไหวตอการเกิดดินถลมจำแนกตามตำบล


ระดับความออนไหวตอการเกิดดนถลม (ตร.กม.)

อำเภอ ตำบล ต่ำมาก ต่ำ ปานกลาง สูง สูงมาก

(very low) (low) (moderate) (high) (very high)

เมืองประจวบคีรีขันธ ประจวบคีรีขันธ 0.03 0.03 0.00 0.00 0.00
เกาะหลัก 0.54 0.59 8.52 11.47 3.40

คลองวาฬ 0.32 2.45 5.01 3.78 0.73

หวยทราย 4.34 0.61 20.49 17.99 2.57
อาวนอย 23.08 51.84 87.75 18.52 3.42

บอนอก 2.04 16.07 42.51 4.23 0.00


กุยบุรี กุยบุรี 1.56 5.85 8.32 0.79 0.00
กุยเหนือ 0.04 0.03 0.00 0.00 0.00

เขาแดง 2.21 6.50 0.47 0.00 0.00

ดอนยายหนู 1.44 9.60 1.76 0.00 0.00

สามกระทาย 11.11 24.66 4.66 0.03 0.00
หาดขาม 28.33 109.49 257.71 21.89 0.00


ทับสะแก ทับสะแก 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
อางทอง 7.59 5.40 2.80 16.06 9.79

นาหูกวาง 5.72 27.15 13.78 7.27 3.37

เขาลาน 4.98 2.77 26.05 29.35 15.54

หวยยาง 1.57 0.14 6.05 18.01 10.32

แสงอรุณ 3.01 0.22 2.79 3.56 2.27

บางสะพาน กำเนิดนพคุณ 2.34 7.33 0.96 0.00 0.00
พงศประศาสน 4.59 14.83 3.65 0.14 0.00

รอนทอง 9.32 42.24 45.11 24.26 10.36

ธงชัย 2.81 14.49 3.19 0.01 0.00

ชัยเกษม 13.25 35.92 19.27 24.10 7.10

ทองมงคล 11.17 32.98 16.16 19.50 13.92

แมรำพึง 2.33 1.85 0.67 0.00 0.00

- 93 -



ี่
ตารางที่ 5.6 พื้นทออนไหวตอการเกิดดินถลมจำแนกตามตำบล (ตอ)

ระดับความออนไหวตอการเกิดดนถลม (ตร.กม.)

อำเภอ ตำบล ต่ำมาก ต่ำ ปานกลาง สูง สูงมาก

(very low) (low) (moderate) (high) (very high)
ปากแพรก 0.45 2.41 0.04 0.00 0.00
บางสะพานนอย

บางสะพาน 2.85 13.93 0.84 0.00 0.00
ทรายทอง 13.50 24.14 2.04 0.05 0.00
ชางแรก 14.48 57.71 106.04 50.09 13.07


ไชยราช 9.47 47.88 94.82 19.77 0.15

ปราณบุร ี ปราณบุร ี 1.35 0.99 0.00 0.00 0.00
เขานอย 0.08 0.02 0.00 0.00 0.00

ปากน้ำปราณ 4.94 5.40 0.08 0.00 0.00

หนองตาแตม 11.69 36.02 27.82 2.69 0.00

วังกพง 4.35 1.51 0.00 0.00 0.00

เขาจาว 16.12 67.22 173.96 17.53 0.00

หัวหิน หัวหิน 1.42 0.11 3.22 2.67 0.00

หนองแก 6.80 6.22 0.88 0.69 0.00
หินเหล็กไฟ 4.81 0.27 6.60 4.07 0.20

หนองพลับ 27.85 117.19 108.91 3.79 0.00

ทับใต 14.42 15.05 6.76 0.95 0.00

หวยสัตวใหญ 17.83 82.55 169.09 20.70 0.00

บึงนคร 15.70 57.19 26.78 0.99 0.00

สามรอยยอด สามรอยยอด 8.49 27.43 6.46 0.00 0.00

ศิลาลอย 3.31 38.49 134.50 9.09 0.00
ไรเกา 11.60 21.11 198.86 17.98 0.00

ศาลาลัย 3.54 21.62 25.91 1.59 0.00

ไรใหม 10.05 26.96 22.26 0.87 0.00

- 94 -



5.5 การตรวจสอบความถูกตองของแบบจําลอง


จากการตรวจสอบความถกตองของแบบจำลองโดยวิธีการหาพื้นที่ใตกราฟ (Area under


the curve, AUC) ดังตารางที่ 5.7 โดยการสรางกราฟระหวางดัชนีรอยละของคาความออนไหวตอการเกด
ดินถลม(Susceptibility index) (แกน X) และคาสะสมของรองรอยดินถลม (Cumulative landslide %)
(แกน Y) (รูปที่ 5.10) โดยแบงทั้งสองคาออกเปน 100 ชวง ชวงละ 1% ของคาสะสมทั้งหมด

โดยคา susceptibility จะมีคาลดลงจากซายไปขวา (Very high to very low) สวนคารองรอยดินถลม

ี่

ื้
จะมีคาเพิ่มขึ้นจากลางไปบน พนทใตกราฟที่มความถูกตองและนาเชื่อถือจะอยูในชวง 0.5 ถึง 1.0

ยิ่งคาเขาใกล 1.0 มากเทาไหรแบบจำลองยิ่งมีความนาเชื่อถือมากเทานั้น นอกจากนี้ถาพจารณาจาก


จำนวนดินถลมที่อยูในแตละชวง แบบจำลองที่ดีคาความออนไหวตอการเกดดินถลมอยูในชวงสูงมาก
ื้
(Very high susceptibility class) จะมีจำนวนดินถลมในพนที่มากที่สุด และคาดินถลมจะลดลงเรื่อย ๆ
ตามคาความออนไหวที่มีคาลดลง
ตารางที่ 5.7 แสดงคาความถูกตองของแบบจำลอง


ชวงคาความออนไหว รอยละของดินถลม รอยละสะสมของดินถลม
(Susceptibility Range) (% landslide) (% Cumulative Landslide)

100-100 0.00 0.00

90-100 64.95 64.95
80-100 16.89 81.84

70-100 9.63 91.47

60-100 7.00 98.47
50-100 1.53 100.00

40-100 0.00 100.00

30-100 0.00 100.00
20-100 0.00 100.00

10-100 0.00 100.00

0-100 0.00 100.00

- 95 -





















































รูปที่ 5.10 กราฟ AUC แสดงคาความถูกตองของแบบจำลองดินถลม

จากการตรวจสอบแบบจำลองวิธีการหาพนที่ใตกราฟ (ตารางที่ 5.7) พบวาชวงรอยละ
ื้
90-100 (10%) ซึ่งคาความออนไหวตอการเกิดดินถลมอยูในชวงสูงมาก (Very high susceptibility)

จะเห็นไดวาดินถลมที่พบในชวงนี้มีคารอยละ 64.95 ชวงรอยละ 80-100 (10%) ซึ่งคาความออนไหวตอ

การเกดดินถลมอยูในชวงสูงถึงสูงมาก (High to Very high susceptibility) จะเห็นไดวาดินถลมที่พบ

ในชวงนี้มีคารอยละ 16.89 ซึ่งเมื่อรวมกันแลวคารอยละดินถลมมีคา 81.84 ซึ่งถือวาเปนคาเกนครึ่งนึงของ

ื้
จำนวนดินถลมทั้งหมด และพนที่ใตกราฟมีคา 0.8494 หรือรอยละ 84.94 แสดงวาแบบจำลองนี้มีคาความ
ถูกตองอยูในเกณฑดี (Good)



บทที่ 6


การสำรวจรองรอยดินถลมในพื้นที่สำรวจ





จากการสำรวจรองรอยดินถลมในพนที่จงหวัดประจวบคีรีขันธ พบรองรอยดินถลมในพนที่
ื้
ื้

ั้
ศึกษาทั้งหมด 50 รอย แบงเปนดินถลมชนิดเลื่อนไถล (Slides) ทงหมด 41 รอย และดินถลมชนิดไหล
(Flow) ทั้งหมด 9 รอย สวนใหญพบกระจายตัวอยูในขอบเขตพื้นที่อำเภอบางสะพาน รองลงมาเปนอำเภอ
ทับสะแก ตามลำดับ (ตารางที่ 6.1) อยูในหินฐานกลุมวิทยาหินทั้งหมด 3 กลุม มีรายละเอียดดังนี้


ตารางที่ 6.1ขอมลรองรอยดินถลมในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ

ลำดับ ประเภท กลุม หมูบาน ตำบล อำเภอ จังหวัด Zone UTM E UTM N
ดินถลม วิทยาหิน

1 debris slide FS1 หินราง รอนทอง บางสะพาน ประจวบคีรีขันธ 47P 542900 1255400
(14 รอย)

2 debris slide FS1,SS1 วังน้ำเขียว รอนทอง บางสะพาน ประจวบคีรีขันธ 47P 539300 1243900
(27 รอย)
3 debris flow GR เขาปอ อางทอง ทับสะแก ประจวบคีรีขันธ 47P 551900 1268936

(5 รอย)
4 debris flow GR หัวเขา หวยยาง ทับสะแก ประจวบคีรีขันธ 47P 565279 1290767
(1 รอย)

5 debris flow GR ทุงเชือก รอนทอง บางสะพาน ประจวบคีรีขันธ 47P 537900 1244300
(1 รอย)
6 debris flow GR ตะแบกโพรง ชัยเกษม บางสะพาน ประจวบคีรีขันธ 47P 548560 1266130

(1 รอย)
7 debris flow GR เขามัน ชัยเกษม บางสะพาน ประจวบคีรีขันธ 47P 544749 1263179

(1 รอย)

- 98 -



6.1 ประเภทดินถลมชนิดเลื่อนไถล (Slides)


ดินถลมชนิดเลื่อนไถลสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ตามลักษณะของระนาบการเคลื่อนที่


ไดแก การเลื่อนไถลบนระนาบโคง (Rotational slide or Slump) ระนาบของการเคลื่อนที่จะมีลักษณะ
โคงคลายชอน (spoon-like shape) หรือรูปประทุนหงาย (concave-upward failure surfaces) และ

การเลื่อนไถลบนระนาบเรียบ (Translational slide) ระนาบของการเคลื่อนที่จะมีลักษณะคอนขางขนาน

กับความลาดชัน หรือตามระนาบรอยแตก และทิศทางการวางตัวของชั้นหิน สามารถจำแนกชนิดยอยของ
ดินถลมชนิดเลื่อนไถลไดขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุธรณี (รายละเอียดเพิ่มเติมในบทที่ 2)



จากการสำรวจดินถลมชนิดเลื่อนไถลในพื้นที่จงหวัดประจวบคีรีขันธ พบรองรอยดินถลม
ื้
ทั้งหมด 41 รอย อยูในลักษณะภูมิประเทศเปนที่ลาดเชิงเขา ครอบคลุมขอบเขตพนที่อำเภอบางสะพาน


ั้

อยูในหนฐานกลุมวิทยาหินทงหมด 2 กลุม ไดแก กลุมวิทยาหิน FS1 จำพวกหนตะกอนเนื้อละเอยด
บางสวนกึ่งแปรสภาพ และกลุมวิทยาหิน SS1 จำพวกหินทรายเนื้อเกรยแวก มีรายละเอียดดังนี้
6.1.1 อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ

จากการสำรวจพบรองรอยดินถลมชนิดเลื่อนไถลในอำเภอบางสะพาน ทั้งหมด 41 รอย


ครอบคลุมขอบเขตตำบลรอนทอง อยูในหินฐานกลุมวิทยาหินทั้งหมด 2 กลุม ไดแก กลุมวิทยาหน FS1
และกลุมวิทยาหิน SS1 มีรายละเอียดดังนี้


6.1.1.1 ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ

(1) บริเวณแนวเขาบานหินราง สำรวจพบดินถลมชนิดการเลื่อนไถลของเศษหินและดิน

บนระนาบเรียบ (Debris slide) จำนวน 14 รอย รองรอยดินถลมมีลักษณะเปนรอยแนวยาวสีน้ำตาล

ตามที่ลาดเชิงเขา อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน FS1 จำพวกหินตะกอนเนื้อละเอยด บางสวนกงแปรสภาพ
ึ่
มีวัสดุธรณีประกอบดวย เศษหินโคลน หินดินดาน หินโคลนปนกรวด และหินทรายแปง ปะปนกบตะกอน

ดินสีน้ำตาล


(2) บริเวณแนวเขาบานวังน้ำเขียว บานคลองลอย บานทุงเชือก และบานคลองเพลิน
สำรวจพบดินถลมชนิดการเลื่อนไถลของเศษหินและดินบนระนาบเรียบ (Debris slide) จำนวน 27 รอย
รองรอยดินถลมมีลักษณะเปนรอยแนวยาวสีน้ำตาลตามที่ลาดเชิงเขา อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน FS1


จำพวกหินตะกอนเนื้อละเอยด บางสวนกงแปรสภาพ มีวัสดุธรณีประกอบดวย เศษหินโคลน หินดินดาน
ึ่
หินโคลนปนกรวด และหินทรายแปง ปะปนกบตะกอนดินสีน้ำตาล และกลุมวิทยาหิน SS1 จำพวก

หินทรายเนื้อเกรยแวก มีวัสดุธรณีประกอบดวย เศษหินทรายเนื้อเกรยแวกปะปนกับตะกอนดินทรายปน

ทรายแปง สีน้ำตาล (รูปที่ 6.1-6.2)

- 99 -




































รูปที่ 6.1 ลักษณะดินถลมชนิดการเลื่อนไถลของเศษหินและดินบนระนาบเรยบ (Debris Slide) บรเวณ


บานทุงเชือก ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0539300E 1243900N






































รูปที่ 6.2 ลักษณะดินถลมชนิดการเลื่อนไถลของเศษหินและดินบนระนาบเรียบ (Debris Slide) บรเวณ
บานคลองเพลิน ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0539400E 1254900N

- 100 -



6.2 ประเภทดินถลมชนิดไหล (Flows)


ดินถลมชนิดไหลเปนการเคลื่อนที่ในลักษณะคลายของไหล (Flow-like movement)

ของวัสดุแหงหรือวัสดุที่อิ่มตัวไปดวยน้ำลงมาตามความลาดชันและแรงโนมถวงของโลก สามารถจำแนก
ชนิดยอยของดินถลมชนิดไหลไดหลากหลายชนิดขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ เชน ชนิดของมวลวัสดุ ลักษณะ

ภูมิประเทศ ความลาดชันทางน้ำ และความชื้นในดิน เปนตน (รายละเอียดเพิ่มเติมในบทที่ 2)

จากการสำรวจดินถลมชนิดการไหลในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบรองรอยดินถลม

ทั้งหมด 9 รอย อยูในลักษณะภูมิประเทศเปนเทือกเขาหินสลับซับซอน บริเวณพื้นทการเกษตร และบริเวณ
ี่
ื้

ี่
รองน้ำ ครอบคลุมขอบเขตพนทอำเภอทับสะแก และอำเภอบางสะพาน เกดดินถลมชนิดไหลในลักษณะ
ของเศษหินและดินไหล (Debris flow) เปนการเคลื่อนที่อยางรวดเร็วมาก โดยมีน้ำเปนตัวกลางพดพาเอา


เศษหิน ตะกอนดิน และซากตนไมไหลลงมากองทับถมบริเวณที่ราบเชิงเขาในลักษณะของเนินตะกอนรูป
พัดหนาหุบเขา กระจายตัวอยูเปนบริเวณกวาง และกระจายตัวอยูในรองน้ำ พบอยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน
GR จำพวกหินแกรนิต มีรายละเอียดดังนี้


6.2.1 อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ



จากการสำรวจพบรองรอยดินถลมชนิดไหลในอำเภอทบสะแก ทั้งหมด 6 รอย ครอบคลุม
ขอบเขตตำบลหวยยาง และตำบลอางทอง อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR มีรายละเอียดดังตอไปนี้


6.2.1.1 ตำบลอางทอง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ

บริเวณรองน้ำบนเขา บานเขาปอ สำรวจพบดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน

(Debris flow) จำนวน 5 รอย แผกระจายตามรองน้ำบนเขาและมลักษณะเปนรอยสีขาวแนวยาวตาม

ที่ลาดเชิงเขาระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR จำพวกหินแกรนิต มีวัสดุธรณี

ประกอบดวย บล็อกหินแกรนิต รูปรางกึ่งมน ขนาดกรวดใหญมาก ปะปนกับตะกอนดินทราย (รูปที่ 6.3-6.4)


6.2.1.2 ตำบลหวยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ

บริเวณรองน้ำอทยานน้ำตกบัวสรรค บานหัวเขา สำรวจพบดินถลมชนิดการไหลของ



เศษหินและดิน (Debris flow) จำนวน 1 รอย แผกระจายตามรองน้ำ อยูในหนฐานกลุมวิทยาหน GR
จำพวกหินแกรนิต มีวัสดุธรณีประกอบดวย บล็อกหินแกรนิต รูปรางกงมน ขนาดกรวดใหญมาก ปะปนกบ
ึ่

ตะกอนดินทราย (รูปที่ 6.5)

- 101 -








































































รูปที่ 6.3 ลักษณะดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน (Debris flow) บริเวณบานเขาปอ ตำบลอางทอง

อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0551900E 1268936N

- 102 -





































































รูปที่ 6.4 (ก) ลักษณะดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน (Debris flow) บริเวณบานเขาปอ

ตำบลอางทอง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0551900E 1268936N (ข) ลักษณะเนื้อ
หินของเศษหินแกรนิตที่แผกระจายตามรองน้ำบนเขา

- 103 -






































รูปที่ 6.5 ลักษณะดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน (Debris flow) บริเวณรองน้ำบริเวณอุทยาน
น้ำตกบัวสวรรค บานหัวเขา ตำบลหวยยาง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0565279E

1290767N


6.2.2 อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ

จากการสำรวจพบรองรอยดินถลมชนิดไหลในอำเภอบางสะพาน ทั้งหมด 3 รอย ครอบคลุม

ขอบเขตตำบลรอนทอง และตำบลชัยเกษม อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR มีรายละเอียดดังนี้


6.2.2.1 ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ

บริเวณพนที่สวนยางพารา บานทุงเชือก สำรวจพบดินถลมชนิดการไหลของเศษหนและดิน
ื้

(Debris flow) จำนวน 1 รอย แผกระจายเปนบริเวณกวางในพื้นที่สวนยางพาราและตามรองน้ำ อยูในหิน

ฐานกลุมวิทยาหิน GR จำพวกหินแกรนิต มีวัสดุธรณีประกอบดวย บล็อกหินแกรนิต รูปรางกึ่งมนถงมน

ขนาดกรวดใหญมาก ปะปนกับตะกอนดินทราย (รูปที่ 6.6)


6.2.2.2 ตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ


ื้
1) บริเวณพนที่สวนยางพารา บานตะแบกโพรง สำรวจพบดินถลมชนิดการไหลของเศษหิน
และดิน (Debris flow) จำนวน 1 รอย แผกระจายเปนบริเวณกวางในพื้นที่สวนยางพาราและตามรองน้ำ

อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR จำพวกหินแกรนิต มีวัสดุธรณีประกอบดวย บล็อกหินแกรนิต รูปรางกงมน
ึ่
ถึงมน ขนาดกรวดใหญมาก ปะปนกับตะกอนดินทราย (รูปที่ 6.7)

- 104 -



2) บริเวณพื้นที่การเกษตร บานเขามัน สำรวจพบดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน

(Debris flow) จำนวน 1 รอย แผกระจายเปนบริเวณกวางในพื้นที่สวนยางพาราและตามรองน้ำ อยูในหิน

ฐานกลุมวิทยาหิน GR จำพวกหินแกรนิต มีวัสดุธรณีประกอบดวย บล็อกหินแกรนิต รูปรางกึ่งมนถงมน
ขนาดกรวดใหญถึงใหญมาก ปะปนกับตะกอนดินทราย (รูปที่ 6.8-6.9)





































รูปที่ 6.6 ลักษณะดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน (Debris flows) บริเวณสวนยางพารา บานทงเชือก
ุ
ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0537900E 1244300N

- 105 -








































































รูปที่ 6.7 ลักษณะดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน (Debris flow) บริเวณทางน้ำและสวนยาง

พื้นที่บานตะแบกโพรง ตำบลชัยเษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0548560E
1266130N

- 106 -










































































รูปที่ 6.8 ลักษณะดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน (Debris flow) บรเวณพื้นที่การเกษตร บานเขามัน
ตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0544749E 1263179N

- 107 -







































รูปที่ 6.9 รองรอยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากดินถลมชนิดการไหลของเศษหินและดิน (Debris flows)

บริเวณบานเขามัน ตำบลชัยเกษม อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 0544749E
1263179N



บทที่ 7


การทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของดิน






7.1 การเก็บตัวอยางแบบถูกรบกวน (disturbed sampling)




การเกบตัวอยางดินในพนทสำรวจใชวิธีการเก็บตัวอยางแบบถูกรบกวน (Disturbed






sampling) เพอนำมาทดสอบคุณสมบัตทางกายของดินสำหรับการวิเคราะหพนทเสี่ยงภัยดินถลม





โดยใชหลักการเก็บตวอยางดินหรือหินผุอางองเกณฑการผุพังของมวลหินประยุกตจาก Ruxton and
Berry (1957) Dearman (1976) Fookes (1997) และ Hearn (2016) ดังตารางท่ 7.1 ซงตัวอยางดินท ี่
ึ่




เกบจากภาคสนามจะถูกจัดเก็บไวในถงกระสอบทมีการปดปากถุงอยางมดชิด โดยบนกระสอบจะแสดง











รายละเอียดของจุดเกบตัวอยาง ไดแก เลขทจุดสำรวจ วันท่เกบตวอยาง พิกดเก็บตวอยาง ความสูงจาก

ระดับน้ำทะเลปานกลาง ทตั้ง สถานท หมบาน ตำบล อำเภอ จังหวัด ภาพวาดหนาตัดชั้นดิน/ชั้นหินระยะ
ู
ี่
ี่
เก็บตัวอยางดิน และชนิดของหินฐาน (รูปที่7.1) พิจารณาเลือกตำแหนงเก็บตัวอยางดังนี้


1) เลือกหนาตดดิน (soil profile) ที่แสดงลำดับชันดิน/หินที่ชัดเจน และเปนดินที่อยูที ่
เดิม แสดงเกณฑการผุพังตั้งแตระดับ 1-6 (zone I-VI)
ก) zone I ชั้นหินตนกำเนิด (parent rock) แสดงชั้นหินสด (fresh bedrock)
ข) zone II ชั้นหินมีการผุพังเล็กนอยตามรอยแตก
ค) zone III เปนชั้นที่แสดงหินเปนหลัก

ง) zone IV ชันดนและหินผุทีเกิดจากการผุพังจากหินดาน มีลักษณะผุพังสูง (highly


weathered) บางสวนพบหินกอนที่มีลักษณะมนกลม
จ) zone V ชั้นดิน ที่เกิดจากการผุพังอยางสมบูรณ (completely weathered)
ฉ) zone VI ชั้นดินที่พัฒนาเปนดินที่อยูที่เดิมโดยสมบูรณ (fully developed residual soil)


2) ตำแหนงท่เลือกเก็บตวอยางดิน เลือกเก็บดินตามเกณฑการผุพังระดับ 4 (zone IV)




ี่
ซึ่งเปนบริเวณที่มการผุพงสูง มีชั้นดินหนา และมีเปอรเซ็นตของหินแขงตำ (< 50%) ตามตัวอยางรูปท 7.2


และรูปท 7.3 กรอบสีแดง โดยเลือกจากชั้นดินทอยูใกลกับเกณฑการผุพังต้งแตระดับ 3 (zone III) เปน














ชันหินทมีอัตราการผุพังปานกลางทประกอบดวยเศษหินพ้นแตกหักปนตะกอนดน โดยเก็บตวอยางดิน
อยางนอย 15-20 กโลกรัม บรรจุลงในกระสอบที่เตรียมไว และมัดปากถุงกระสอบใหแนนหนา



3) เก็บรายละเอียด ตำแหนง และรางภาพหนาตัดของชั้นดนหรือหิน บันทกลงใน
แบบฟอรมแผนดินถลม และกระสอบที่ใชเก็บตัวอยาง

- 110 -




ื้
จากการสำรวจและเกบตัวอยางดินแบบไมคงสภาพในพนที่สำรวจ ไดทำการเกบตัวอยางดิน

ี่
ทั้งหมด 29 ตัวอยาง (ตารางท 7.2) ครอบคลุมขอบเขตอำเภอเมือง อำเภอบางสะพานนอย อำเภอ

บางสะพาน อำเภอทับสะแก อำเภอกยบุรี อำเภอสามรอยยอด อำเภอปราณบุรี และอำเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ อยูในหินฐานกลุมวิทยาหินทั้งหมด 5 กลุม ไดแก กลุมวิทยาหิน SS1 กลุมวิทยาหิน SS2

กลุมวิทยาหิน SS3 กลุมวิทยาหิน FS1 และกลุมวิทยาหิน GR (รูปที่ 7.4)

ตารางที่ 7.1 เกณฑการผุพังของมวลหิน (ดัดแปลงจาก Ruxton and Berry (1957) Dearman (1976)
Fookes (1997) และ Hearn (2016))



เกณฑการผุพัง การผุพง คำอธิบาย

T ดินที่เกิดโดยการพดพา ดินที่ถูกกัดกรอนสลายตัวออกจากหินดานแลวถูกพัด
(transported soil) พาไปสะสมตัวที่อื่น เชน เศษหินเชิงเขา (colluvium)

VI พัฒนาเปนดินที่อยูที่เดิม เนื้อหินทั้งหมดกลายเนดิน โครงสรางของมวลหิน
โดยสมบูรณ และองคประกอบของวัสดุถูกทำลาย
(fully developed residual soil) เนื้อหินทั้งหมดถูกยอยสลายเปนดิน โครงสรางดั้งเดิม

ผุพังโดยสมบูรณ
V
ดินที่อยูที่เดิม IV (completely weathered) ของมวลหินสวนใหญคงสภาพเดิม

มากกวารอยละ 50 ของเนื้อหินถูกยอยสลาย
ผุพังสูง
(highly weathered) กลายเปนดิน สีเปลี่ยน หนาตัดชั้นหินอาจปรากฏ

ลักษณะของแกนหิน (core stone) ที่ไมมีการเชื่อม
ประสานกัน

III ผุพังปานกลาง นอยกวารอยละ 50 ของเนื้อหินถูกยอยสลาย
(moderate weathered) แกนหินยังคงแข็งแรง
ชั้นหิน และหินผุ II ผุพังเล็กนอย เนื้อหินมีการผุพังเล็กนอย มวลหินมีความสมบูรณ


(slightly weathered)

I
หินสด
(fresh) ไมปรากฎการผุพังของมวลหิน

- 111 -




หมายเลขจุดเก็บตัวอยาง/
ST.1 / 20.06.2021 วันเดือนปที่เก็บตัวอยาง

47P 530344E / 1674542N 400 m.

บานยานซื่อ ต.อาวนอย พิกัดตำแหนงเก็บตัวอยาง (ระบบ UTM)


อ.เมือง จ.ประจวบคีรีขันธ ความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง
0 m.




60 m. ทตัง หมูบาน ตำบล อำเภอ

เก็บตัวอยาง จังหวัด ที่เก็บตัวอยาง
100 m. 60-80 cm. S1:

หินฐาน: หนทราย Greywa

กลุมวิทยาหินและชนดของหินฐาน
cke
ภาพวาดหนาตัดชั้นดิน

รูปที่ 7.1 รายละเอียดขอมูลการเก็บตัวอยางตะกอนดินบนถุงกระสอบ





































รูปที 7.2 ภาพรางหนาตัดการพผังของหินแกรนตแสดงระดับการผุพงตังแตระดับ I-VI กรอบสีแดงคือ


ตำแหนงที่เลือกเก็บตัวอยางดิน (Modified from Ruxton and Berry, 1957)

- 112 -









































รูปที่ 7.3 ตัวอยางหนาตัดดินที่แสดงระดับการผุพงของหินแกรนิต (zone III-VI) กรอบสีแดงแสดงตำแหนง

เก็บตัวอยางดิน

- 113 -





เปดหนาดินเพื่อทำถนน เปดหนาดินเพื่อทำถนน เปดหนาดินเพื่อทำถนน เปดหนาดินเพื่อทำถนน เปดหนาดินเพื่อทำถนน
คำอธิบาย เปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย บอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน เปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย เปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย เปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย บอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน หนาตัดดินบริเวณอางเก็บน้ำ บอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน เปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย เปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย








Sample Depth (cm.) 200-250 100-150 30-80 150-230 50-110 60-110 50-90 70-130 140-180 70-100 160-210 50-90 90-120 180-240 90-130




UTM N 1302115 1317852 1319945 1314138 1214327 1217959 1221560 1237199 1214558 1239732 1243155 1243071 1248193 1259701 1266515


UTM E 570611 575900 580990 586933 531680 534598 530037 536473 542878 539244 539188 552303 540440 555863 549174



Zone 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P



อำเภอ บางสะพานนอย  บางสะพานนอย  บางสะพานนอย  บางสะพานนอย  บางสะพานนอย  บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน บางสะพาน

เมือง เมือง เมือง เมือง ทบสะแก ั
ตารางที่ 7.2 แสดงตำแหนงเก็บตัวอยางแบบไมคงสภาพในพื้นที่ศึกษาจังหวัดประจวบคีรีขันธ

ตำบล คลองวาฬ อาวนอย อาวนอย อาวนอย ไชยราช ไชยราช ชางแรก ชางแรก ทรายทอง ทองมงคล ทองมงคล กำเนดนพคุณ ิ รอนทอง ชัยเกษม อางทอง





หมูบาน มะขามโพรง วัดเขากระจิ หนองหญาปลอง ตะแบกโพรง
ไรเครา ยานซื่อ วังมะเดื่อ ทองอินทร โปงเตย โปงดินดำ โปงสามสิบ น้ำดำ ไทรทอง คลองลอย







กลุมหิน หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายเนื้อเกรยแวก หินตะกอนเนอละเอียด ื ้ หินตะกอนเนอละเอียด ื ้ หินตะกอนเนอละเอียด ื ้ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายเนื้อเกรยแวก

หินแกรนิต บางสวนกึงแปรสภาพ ่ บางสวนกึงแปรสภาพ ่ บางสวนกึงแปรสภาพ ่ หินแกรนิต หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ หินแกรนิต หินแกรนิต




วิทยาหิน GR SS1 SS1 FS1 FS1 FS1 GR SS1 SS2 SS1 SS1 SS2 GR SS1 GR





Station PKN01-02122563 PKN02-02122563 PKN03-02122563 PKN04-02122563 PKN05-15122563 PKN07-15122563 PKN06-15122563 PKN08-15122563 PKN09-15122563 PKN10-16122563 PKN11-17122563 PKN12-17122563 PKN13-17122563 PKN14-18122563 PKN15-18122563




ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

- 114 -





ขุดบอน้ำเพื่อการเกษตร เปดหนาดินเพื่อทำถนน เปดหนาดินเพื่อทำถนน เปดหนาดินเพื่อทำถนน เปดหนาดินเพื่อทำถนน เปดหนาดินเพื่อทำถนน
คำอธิบาย บอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน เปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย หนาตัดดินบริเวณอางเก็บน้ำ บอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน บอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน หนาตัดดินบริเวณอางเก็บน้ำ เปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศัย บอขุดดินเพื่อนำไปใชประโยชน








Sample Depth (cm.) 80-120 80-130 60-110 80-120 80-120 60-90 100-150 80-130 80-130 160-200 100-140 160-200 100-130 70-110




UTM N 1262071 1269709 1279546 1282033 1339409 1339545 1336457 1361683 1353398 1370839 1364839 1368411 1378573 1376377


UTM E 560808 564951 558405 560577 569025 584872 574999 583125 582911 581441 567843 586876 566323 578206



Zone 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P 47P



อำเภอ ทบสะแก ั ทบสะแก ั ทบสะแก ั ทบสะแก ั กุยบุรี กุยบุรี กุยบุรี สามรอยยอด สามรอยยอด ปราณบุรี ปราณบุรี ปราณบุรี หัวหิน หัวหิน
ตารางที่ 7.2 แสดงตำแหนงเก็บตัวอยางแบบไมคงสภาพในพื้นที่ศึกษาจังหวัดประจวบคีรีขันธ (ตอ)




ตำบล อางทอง นาหูกวาง เขาลาน เขาลาน หาดขาม หาดขาม หาดขาม ศิลาลอย ไรเกา เขาเจา เขาเจา หนองตาแตม หวยสัตวใหญ หนองพลับ





หมูบาน
สีดางาม รวมไทย โปงกระสัง ยางชุมเหนือ หนองแก หนองจิก ทาทุง ทาไมลาย หวยพลับ ทุงกระทิง เนนพยอม ิ







กลุมหิน ตะกอนเนื้อละเอียดกึ่งแปรสภาพ ื ้
หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินแกรนิต หินแกรนิต หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายแทรกสลับกับหิน หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินตะกอนเนอละเอียด บางสวนกึงแปรสภาพ ่ หินทรายอารโคส หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเกรยแวก หินทรายเนื้อเกรยแวก






วิทยาหิน SS2 SS1 GR GR SS2 SS3 SS2 SS1 SS2 SS1 FS1 SS2 SS1 SS1





Station PKN17-18122563 PKN16-18122563 PKN18-19122563 PKN19-19122563 PKN20-21122563 PKN21-21122563 PKN22-21122563 PKN23-21122563 PKN24-21122563 PKN25-22122563 PKN26-22122563 PKN27-22122563 PKN28-22122563 PKN29-22122563




ลำดับ 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

- 115 -




















































































รูปที่ 7.4 แผนที่แสดงตำแหนงการเก็บตัวอยางดินในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ

- 116 -



7.2 ขอมูลของตัวอยางดินแบบไมคงสภาพ



7.2.1 อำเภอเมือง จังหวัดประจวบครีขันธ



ื้
ี่
ทำการสำรวจและเกบตัวอยางดินแบบไมคงสภาพในพนทอำเภอเมอง จังหวัด


ประจวบครีขนธ จำนวน 4 ตัวอยาง ครอบคลุมขอบเขตตำบลคลองวาฬ และตำบลอาวนอย อยูในหินฐาน




กลุมวิทยาหินท้งหมด 3 กลุม ไดแก กลุมวิทยาหิน GR กลุมวิทยาหิน SS1 และกลุมวิทยาหิน FS1



มีรายละเอียดดังนี้
7.2.1.1 ตำบลคลองวาฬ

บริเวณเปดหนาดนเพอทำถนน บานไรเครา ตำบลคลองวาฬ อำเภอเมอง จังหวัด











ประจวบครีขนธ พกด 47P 570611 E 1302115 N สูงจากระดับน้ำทะเล 201 เมตร เกบตวอยางทความ


ลึก 200-250 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR เปนหินแกรนิตเนือสม่ำเสมอ ตวอยาง


เปนดินทราย สีน้ำตาลปนแดง (รูปที 7.5)
7.2.1.2 ตำบลอาวนอย


ื่
(1) บริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานยานซอ ตำบลอาวนอย อำเภอเมือง จังหวัด

ประจวบครีขนธ พกัด 47P 575900 E 1317852 N สูงจากระดับน้ำทะเล 80 เมตร เก็บตัวอยางทีความลึก



100–150 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินทรายเนื้อเกรยแวก สีน้ำตาล
ตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.6)






(2) บริเวณเปดหนาดนเพอสรางทอยูอาศัย บานวังมะเดื่อ ตำบลอาวนอย อำเภอเมอง

จังหวัดประจวบคีรีขันธ พิกัด 47P 580990 E 1319945 N สูงจากระดับน้ำทะเล 65 เมตร เกบตัวอยางที ่
ความลึก 40-70 เซนตเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินทรายเนือเกรยแวก


สีน้ำตาลปนเทา ตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.7)
(3) บริเวณบอขุดดินเพ่อนำไปใชประโยชน บานมะขามโพรง ตำบลอาวนอย อำเภอเมือง





จังหวัดประจวบครีขนธ พิกัด 47P 586933 E 1314138 N สูงจากระดับน้ำทะเล 65 เมตร เก็บตวอยางที ่
ความลึก 150-230 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน FS1 เปนหินทรายแปงแทรกสลับหิน

ทราย สีน้ำตาล ตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.8)

- 117 -























































ข ค



















รูปที 7.5 (ก) เก็บตัวอยางบรเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานไรเครา ตำบลคลองวาฬ อำเภอเมอง





จังหวดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 200-250 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินแกรนิต



กลุมวิทยาหิน GR (ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุทีเกิดจากหินแกรนิตทีมีระดับการผุพงของมวลหินสูง


(zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาลปนแดง

- 118 -






















































ข ค























รูปที 7.6 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพือทำถนน บานยานซือ ตำบลอาวนอย อำเภอเมอง

จังหวัดประจวบครีขันธ ทีความลึก 100–150 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย


กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง
(zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 119 -






















































ข ค




















รูปที่ 7.7 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพอสรางที่อยูอาศย บานวังมะเดื่อ ตำบลอาวนอย อำเภอเมอง

ื่
จังหวัดประจวบคีรขันธ ที่ความลึก 40-70 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย

กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินทรายที่มีระดับการผุพังของมวลหินสูง
(zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 120 -




















































ข ค















รูปที 7.8 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณบอขุดดินเพ่อนำไปใชประโยชน บานมะขามโพรง ตำบลอาวนอย



อำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 150-230 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน
หินทรายแปงแทรกสลับหินทราย กลุมวิทยาหิน FS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุทีเกิดจากหินทราย


แปงแทรกสลับหินทรายที่มระดับการผุพังของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทราย

ปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 121 -



7.2.2 อำเภอบางสะพานนอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ


ทำการสำรวจและเกบตวอยางดนแบบไมคงสภาพในพนทอำเภอบางสะพานนอย








จังหวัดประจวบคีรีขันธ จำนวน 5 ตัวอยาง ครอบคลุมขอบเขตตำบลไชยราช ตำบลชางแรก และ
ตำบลทรายทอง อยูในหินฐานกลุมวิทยาหินท้งหมด 4 กลุม ไดแก กลุมวิทยาหิน FS1 กลุมวิทยาหิน GR



กลุมวิทยาหิน SS1 และกลุมวิทยาหิน SS2 มีรายละเอียดดังนี้
7.2.2.1 ตำบลไชยราช
(1) บริเวณเปดหนาดินเพื่อสรางที่อยูอาศย บานทองอนทร ตำบลไชยราช อำเภอบางสะพานนอย




จังหวัดประจวบคีรีขนธ พกด 47P 531680 E 1214327 N สูงจากระดบน้ำทะเล 126 เมตร เกบตวอยาง






ทีความลึก 50-110 เซนติเมตรจากผิวดน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน FS1 เปนหินโคลนปนกรวด ตัวอยาง

เปนดนโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาล (รูปที่ 7.9)




(2) บริเวณเปดหนาดินเพอสรางทอยูอาศัย บานโปงเตย ตำบลไชยราช อำเภอบางสะพานนอย



จังหวัดประจวบคีรีขนธ พกด 47P 534598 E 1217959 N สูงจากระดับน้ำทะเล 126 เมตร เกบตัวอยาง



ทีความลึก 70-110 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน FS1 เปนหินทรายแปงแทรกสลับ

หินดินดาน ตัวอยางเปนดินทรายแปง สีน้ำตาล (รูปที่ 7.10)

7.2.2.2 ตำบลชางแรก

(1) บริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานโปงดินดำ ตำบลชางแรก อำเภอบางสะพานนอย





จังหวัดประจวบคีรีขนธ พกด 47P 530037 E 1221560 N สูงจากระดับน้ำทะเล 287 เมตร เกบตัวอยาง





ทความลึก 50-90 เซนตเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR เปนหินแกรนิตเนือสม่ำเสมอ
ตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาล (รูปที่ 7.11)


(2) บริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานโปงสามสิบ ตำบลชางแรก อำเภอบางสะพานนอย


จังหวัดประจวบคีรีขันธ พกัด 47P 536473 E 1237199 N สูงจากระดับน้ำทะเล 126 เมตร เกบตัวอยาง
ที่ความลึก 70-130 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินดินดาน สีน้ำตาลปนเทา
ตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.12)
7.2.2.3 ตำบลทรายทอง





บริเวณเปดหนาดนเพอสรางทอยูอาศัย บานน้ำดำ ตำบลทรายทอง อำเภอบางสะพานนอย





จังหวัดประจวบครีขนธ พกด 47P 542878 E 1214558 N สูงจากระดับน้ำทะเล 61 เมตร เกบตวอยางที ่

ความลึก 140-180 เซนตเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS2 เปนหินทรายเนืออารโคส


ตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.13)

- 122 -



















































ข ค

















รูปที่ 7.9 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพ่อสรางที่อยอาศัย บานทองอินทร ตำบลไชยราช อำเภอ




บางสะพานนอย จังหวดประจวบคีรีขันธ ทีความลึก 50-110 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน

หินโคลนปนกรวด กลุมวทยาหิน FS1 (ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุที่เกิดจากหินโคลนที่มีระดับการ


ผุพงของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาล


- 123 -


















































ข ค





















รูปที 7.10 (ก) เก็บตัวอยางบรเวณเปดหนาดินเพอสรางที่อยอาศัย บานโปงเตย ตำบลไชยราช อำเภอ



บางสะพานนอย จังหวดประจวบคีรีขันธ ทีความลึก 70-110 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน





หินทรายแปงแทรกสลับหินดินดาน กลุมวทยาหิน FS1 (ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุทีเกิดจากหินทรายแปง

แทรกสลับหินดินดานที่มีระดับการผุพงของมวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายแปง

สีน้ำตาล

- 124 -



















































ข ค

















รูปที่ 7.11 (ก) เก็บตัวอยางบรเวณเปดหนาดินเพ่อทำถนน บานโปงดินดำ ตำบลชางแรก อำเภอบางสะพานนอย



จังหวัดประจวบคีรีขันธ ทีความลึก 50-90 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินแกรนิตเน้อ


สม่ำเสมอ กลุมวิทยาหิน GR (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินแกรนิตที่มระดับการผุพังของ

มวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาล

- 125 -



















































ข ค




















รูปที 7.12 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพอทำถนน บานโปงสามสิบ ตำบลชางแรก อำเภอ

บางสะพานนอย จังหวดประจวบคีรีขันธ ทีความลึก 70-130 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน


หินดินดาน กลุมวิทยาหิน SS1 (ค) หนาตัดดินของชั้นดินและหินผุที่เกิดจากหินดินดานที่มระดับการผุพังของ

มวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินโคลนปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 126 -



















































ข ค






















รูปที 7.13 (ก) เก็บตัวอยางบรเวณเปดหนาดินเพอสรางทีอยอาศัย บานนำดำ ตำบลทรายทอง อำเภอ


บางสะพานนอย จังหวดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 140-180 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปน


หินทราย กลุมวิทยาหิน SS2 (ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุทีเกิดจากหินทรายที่มระดับการผุพังของ

มวลหินสูง (zone IV) (ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง

- 127 -



7.2.3 อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ


ทำการสำรวจและเกบตวอยางดนแบบไมคงสภาพในพนทอำเภอบางสะพาน จังหวัด









ประจวบคีรีขันธ จำนวน 5 ตวอยาง ครอบคลุมขอบเขตตำบลทองมงคล ตำบลกำเนิดนพคุณ ตำบล
รอนทอง และตำบลชัยเกษม อยูในหินฐานกลุมวิทยาหินทั้งหมด 3 กลุม กลุมวิทยาหิน SS1 กลุมวิทยาหิน
SS2 และกลุมวิทยาหิน GR มีรายละเอียดดังนี้
7.2.3.1 ตำบลทองมงคล
(1) บริเวณเปดหนาดินเพอนำไปใชประโยชน ตำบลทองมงคล อำเภอบางสะพาน จังหวัด




ประจวบครีขนธ พกด 47P 539244 551929 E 1239732 N สูงจากระดับน้ำทะเล 97 เมตร เก็บตัวอยาง



ทีความลึก 70-100 เซนตเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินทราย สีน้ำตาลปนแดง


ตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.14)
(2) บริเวณหนาตัดดนบริเวณอางเก็บน้ำ บานไทรทอง ตำบลทองมงคล อำเภอบางสะพาน

จังหวัดประจวบครีขนธ พกด 47P 539188 E 1243155 N สูงจากระดับน้ำทะเล 72 เมตร เกบตวอยางที ่






ความลึก 160-210 เซนตเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS1 เปนหินทราย สีน้ำตาลปนแดง


ตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.15)
7.2.3.2 ตำบลกำเนิดนพคุณ




บริเวณบอขดดนเพ่อนำไปใชประโยชน วัดเขากระจิ ตำบลกำเนิดนพคณ อำเภอบางสะพาน

จังหวัดประจวบครีขนธ พกด 47P 552303 E 1243071 N สูงจากระดบน้ำทะเล 20 เมตร เกบตวอยางที ่






ความลึก 50-90 เซนติเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน SS2 เปนหินทราย สีน้ำตาลปนเทา
ตัวอยางเปนดินทรายปนทรายแปง สีน้ำตาลปนแดง (รูปที่ 7.16)
7.2.3.3 ตำบลรอนทอง

บริเวณเปดหนาดินเพ่อสรางท่อยูอาศัย บานคลองลอย ตำบลรอนทอง อำเภอบางสะพาน



จังหวัดประจวบครีขันธ พกด 47P 540440 E 1248193 N สูงจากระดับน้ำทะเล 89 เมตร เกบตวอยางที ่




ความลึก 90-120 เซนตเมตรจากผิวดิน อยูในหินฐานกลุมวิทยาหิน GR เปนหินแกรนิต ตวอยางเปน

ดินทราย สีน้ำตาลปนเหลือง (รูปที่ 7.17)

- 128 -






















































ข ค
















รูปที 7.14 (ก) เก็บตัวอยางบริเวณเปดหนาดินเพอนำไปใชประโยชน ตำบลทองมงคล อำเภอบางสะพาน






จังหวดประจวบคีรีขันธ ที่ความลึก 70-100 ซม. จากผิวดิน (ข) ลักษณะของหินฐานเปนหินทราย กลุมวทยาหิน


SS1 (ค) หนาตัดดินของชันดินและหินผุทีเกิดจากหินทรายทีมระดับการผุพงของมวลหินสูง (zone IV)





(ง) ลักษณะของตัวอยางเปนดินทราย สีน้ำตาลปนแดง


Click to View FlipBook Version