อุทยานแห่งชาติ
ดอยอินทนนท์
เชยี งราย พืน้ ที่ 481.89 ตารางกโิ ลเมตร
แมฮองสอน พะเยา ท่ีต้ังท่ีทำ�การอุทยานแห่งชาติ : 119 หมู่ 7 บ้านขุนกลาง ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง
เชียงใหม จ.เชียงใหม่
นาน การเดนิ ทาง : จากตวั เมอื งเชยี งใหม่ใชท้ างหลวงหมายเลข 108 ไปทางสนั ปา่ ตอง - ดอยหลอ่
- จอมทอง ก่อนถึงอำ�เภอจอมทอง จะมีทางเลี้ยวขวาข้ึนดอยอินทนนท์ ไปตามทางหลวง
ลำพน� ลำปาง แพร หมายเลข 1009 ราว 31 กิโลเมตร เลยบ้านแม่กลางและถึงท่ที ำ�การอุทยานแห่งชาติ
กว่าจะเป็ นอุทยานแห่งชาติ
อุตรดติ ถ ดอยอนิ ทนนท์นน้ั แต่ก่อนไม่ไดช้ ่อื น้ี แตช่ าวบ้านเรียกกนั วา่ “ดอยหลวง” หรอื “ดอย
อา่ งกา” ชอื่ ดอยหลวง มาจากขนาดของดอยท่ีใหญ่มาก ซงึ่ ยงั ไม่มีชอื่ เฉพาะชาวบ้านจึงเรยี ก
ตาก สุโขทยั
พ�ษณุโลก
เพชรบูรณ
กำแพงเพชร พจ� ต� ร
นครสวรรค
อุทัยธานี
206
กันว่า “ดอยหลวง” (หลวง : เป็นภาษาเหนือ แปลวา่ ใหญ่) ส่วน
ช่อื ดอยอา่ งกา มเี รอ่ื งเลา่ วา่ หา่ งจากยอดดอยไปทางทิศตะวนั ตก
ประมาณ 300 เมตร มีหนองน้ําแห่งหนึ่งลักษณะเหมือนอ่าง
ฝูงกาจำ�นวนมากมายมักพากันไปเล่นน้าํ ท่หี นองน้าํ แห่งน้ี จึงพา
กนั เรียกวา่ “อ่างกา” และภเู ขาขนาดใหญแ่ หง่ นนั้ ก็เลยเรยี กกัน
ว่า “ดอยอ่างกา” แต่ก็มีบางกระแสกล่าวว่า คำ�ว่า “อ่างกา”
นั้น แท้จริงแล้วมาจากภาษาปกาเกอะญอ (กะเหร่ียง) แปลว่า
“ใหญ่” เพราะฉะน้ันคำ�ว่า “ดอยอ่างกา” จึงแปลว่าดอยท่ีมี
ความใหญ่นัน่ เอง
ในอดีตน้ันป่าไม้ทางภาคเหนืออยู่ในความควบคุมของเจ้า
ผู้ครองนครตา่ ง ๆ ทด่ี แู ลพน้ื ทท่ี ง้ั มวล สมยั พระเจา้ อนิ ทวชิ ยานนท์
เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ (องค์สุดท้าย) พระองค์ให้ความสำ�คัญ
กับปา่ ไม้อย่างมาก โดยเฉพาะป่าในบริเวณดอยหลวง ทรงรับส่ัง
ว่า หากส้ินพระชนม์ลงให้นำ�อัฐิบางส่วนขึ้นไปสร้างสถูปบรรจุไว้
บนดอย คนจึงเรียกดอยน้วี า่ “ดอยอินทนนท”์
โครงการหลวงอินทนนท์ แตม่ ขี อ้ มลู บางกระแสกลา่ ววา่ ทด่ี อยหลวงเรยี กวา่ ดอยอนิ ทนนท์
น้ัน เพราะเป็นการให้เกียรติเจ้าผู้ครองนคร จึงต้ังช่ือจากคำ�ว่า “ดอย
หลวง” ซึ่งเป็นชื่อที่มีความซ้ํากับดอยหลวง ของอำ�เภอเชียงดาว แต่
ภายหลังมีชาวเยอรมัน มาทำ�การสำ�รวจและวัดระยะ ซึ่งปรากฎผลว่า
ดอยหลวงหรอื ดอยอา่ งกา ที่อ�ำ เภอแม่แจ่มมีความสงู กวา่ ดอยหลวงของ
อ�ำ เภอเชียงดาว จงึ เปลีย่ นชื่อใหม่ เพื่อไม่ให้มีความซ้ําซ้อนกัน และเรียก
ดอยแห่งน้ีว่า “ดอยอนิ ทนนท์”
อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ เดิมเป็นส่วนหน่ึงของ “ป่าสงวน
แห่งชาติดอยอินทนนท์” ต่อมาได้ถูกสำ�รวจและจัดต้ังเป็นหน่ึงในสิบสี่
ป่าท่ีทางรัฐบาลให้ดำ�เนินการเป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งคร้ังแรกกรมป่าไม้
เสนอให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำ�หนดพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติดอย
อินทนนท์ใหม้ ีพ้นื ที่ 1,000 ตารางกิโลเมตร แตเ่ น่อื งจากในพ้นื ทีม่ ชี มุ ชน
207
ตา่ ง ๆ อาศัยอยกู่ ่อนหลายชมุ ชน จงึ ทำ�การสำ�รวจใหม่ และกันพืน้ ท่ที ร่ี าษฎรอยูม่ าก่อน และคาดว่าน่าจะมปี ัญหาในอนาคตออกไปจากพืน้ ที่
อทุ ยานแหง่ ชาติ จงึ เหลอื พน้ื ทท่ี จ่ี ะประกาศเปน็ อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยอนิ ทนนท์ 270 ตารางกโิ ลเมตร ประกาศคณะปฏวิ ตั ิ ฉบบั ท่ี 223 ลงวนั ท่ี
2 ตุลาคม 2515 ลงในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 89 ตอนที่ 148 เปน็ ลำ�ดับที่ 6 ของประเทศ และในวันที่ 13 มิถนุ ายน 2521 รัฐบาลประกาศ
พน้ื ทเี่ พ่ิมอีกเปน็ 482.4 ตารางกิโลเมตร
เม่อื วนั ท่ี 16 มกราคม 2517 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ รและสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิต์ิ พระบรม
ราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จที่บริเวณดอยขุนกลาง อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ได้ทรงมีพระราชกระแสรับส่ังให้
พิจารณาด�ำ เนนิ การขยายอาณาเขตของอุทยานแห่งชาติออกไปคลมุ ถงึ พน้ื ทท่ี เ่ี ปน็ แหลง่ กำ�เนิดต้นน้าํ ลำ�ธารเพิ่มขึ้นอีก
กรมป่าไม้จึงได้ทำ�การตรวจสอบและสำ�รวจเพ่ิมเติมปรากฏว่า ตามที่กำ�หนดแนวเขตอุทยานแห่งชาติระบุพ้ืนที่ตำ�บลแม่ศึก ซึ่งมิได้
อยู่ในแนวเขตอุทยานแห่งชาติและมิได้ระบุท้องท่ีตำ�บลช่างเคิ่งและตำ�บลท่าผา ซึ่งอยู่ในแนวเขตอุทยานแห่งชาติดังกล่าว ประกอบกับ
ทางราชการกองทัพอากาศประสงค์ที่จะกันพื้นที่บางส่วนเพื่อก่อสร้างสถานีเรดาร์เพื่อใช้ในราชการกองทัพอากาศ เนื้อท่ี 0.0537 ตาราง
กโิ ลเมตร และคณะรฐั มนตรีได้มมี ติเห็นชอบให้ดำ�เนินการได้เมอื่ วนั ท่ี 27 กุมภาพนั ธ์ 2517 อกี ทง้ั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประสงคท์ ี่
จะปรบั ปรุงขยายแนวเขตอทุ ยานแหง่ ชาตอิ อกไป โดยกำ�หนดปา่ สงวนแหง่ ชาตอิ ินทนนท์ ป่าสงวนแห่งชาติจอมทอง และปา่ สงวนแห่งชาติ
208
แมแ่ จม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ เปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ ซง่ึ ทป่ี ระชมุ คณะกรรมการแหง่ ชาตคิ รง้ั ท่ี 1/2518 เมอ่ื วนั ท่ี 4 เมษายน 2518 ไดม้ มี ตเิ หน็ ชอบ
ใหก้ องอทุ ยานแห่งชาติ กรมปา่ ไม้ ด�ำ เนินการเพกิ ถอนป่าสงวนแหง่ ชาตทิ งั้ 3 ปา่ จัดตั้งเปน็ อุทยานแหง่ ชาติ โดยมีพระราชกฤษฎกี าก�ำ หนด
บรเิ วณปา่ ดอยอินทนนท์ ในท้องท่ตี �ำ บลแมน่ าจร ต�ำ บลชา่ งเค่ิง ต�ำ บลท่าผา อ�ำ เภอแม่แจม่ ต�ำ บลแมว่ นิ ตำ�บลทุ่งป้ี อ�ำ เภอสนั ป่าตอง และ
ต�ำ บลสองแคว ตำ�บลยางคราม ต�ำ บลบ้านหลวง ตำ�บลสบเตยี๊ ะ อำ�เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เปน็ อุทยานแหง่ ชาติ ซ่งึ ลงประกาศใน
ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ที่ 95 ตอนที่ 62 ลงวันท่ี 13 มถิ ุนายน 2521 รวมพื้นท่ี 482.40 ตารางกโิ ลเมตร โดยให้ยกเลิกประกาศคณะปฏวิ ตั ิ
ฉบบั ท่ี 223 ลงท่ี 2 ตลุ าคม 2515
แตใ่ นปัจจบุ ันอุทยานแห่งชาตดิ อยอินทนนท์ ได้มกี ารเพิกถอนพื้นทีป่ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษาเล่มท่ี 126 ตอนที่ 84 ลงวนั ที่ 11
พฤศจิกายน 2552 จำ�นวน 0.51 ตารางกโิ ลเมตรเพอ่ื กอ่ สรา้ งโครงการอา่ งเก็บนาํ้ แมห่ อย เพ่อื ประโยชน์ในการจดั เก็บแหลง่ นํา้ ใชเ้ พ่อื การ
อุปโภคบริโภคและการเกษตรกรรม รวมทั้งช่วยบรรเทาอุทกภัยท่ีเกิดขึ้นในเขตพ้ืนท่ีอำ�เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ จึงเหลือพ้ืนที่รวม
481.89 ตารางกิโลเมตร มพี ้ืนทีค่ รอบคลุมท้องทอี่ ำ�เภอจอมทอง อำ�เภอแม่แจม่ อ�ำ เภอแม่วาง และอ�ำ เภอดอยหลอ่ จังหวัดเชียงใหม่
พ้ืนทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติดอยอนิ ทนนท์มคี วามสูงจากระดบั ทะเลปานกลาง 400 - 2,565.3341 เมตร เปน็ ภูเขาท่สี ูงที่สุดในประเทศไทย
มีพื้นท่ี 482.4 ตารางกิโลเมตร ครอบคลมุ พ้นื ทใ่ี นเขตอำ�เภอจอมทอง อ�ำ เภอแม่แจม่ อำ�เภอแม่วาง และอำ�เภอดอยหล่อ จังหวดั เชยี งใหม่
สภาพป่าบนยอดดอยเป็นป่าดิบชนื้ หรอื ท่ีเรียกว่าป่าฝน ในระดับท่ตี าํ่ ลงมาจงึ เป็นป่าเตง็ รงั บา้ ง ปา่ เบญจพรรณบา้ ง ดอยอนิ ทนนท์ จงึ เป็นป่า
ต้นน้าํ ทีม่ คี วามส�ำ คัญอย่างมาก
ปา่ ผนื ใหญ่ เกดิ เปน็ ล�ำ หว้ ยหลายสาย ท�ำ ใหด้ อยอนิ ทนนทเ์ ปน็ อทุ ยานแหง่ ชาตหิ นง่ึ ทม่ี นี า้ํ ตกสวย สงู ใหญ่ ทง้ั หมดเปน็ นา้ํ ตกทต่ี กจาก
หน้าผาหินท้ังหมด นอกจากจะมีน้ําตกต่าง ๆ ท่ีสวยงามแล้ว อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามและเป็นที่นิยม
เช่น เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติอ่างกาหลวง พระมหาธาตุเจดีย์นภเมทนีดล พระมหาธาตุเจดีย์
นภพลภมู ิสริ ิ
การเดนิ ทางเขา้ หาน้าํ ตกตา่ ง ๆ ในอทุ ยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ค่อนข้างจะสะดวก สว่ นใหญ่ทางจะลาดยางถึงลานจอดรถ แล้วเดิน
เทา้ ต่อ ใกลบ้ า้ งไกลบ้าง แตกตา่ งกนั มีเพยี งไมก่ แ่ี ห่งเท่านัน้ ท่ีเดนิ ไกล โดยใหใ้ ชท้ างหลวงหมายเลข 1009 (จอมทอง - อนิ ทนนท์ ) แลว้ จะมี
ทางแยกไปยงั นา้ํ ตกตา่ ง ๆ
ดอยผาต้ัง
209
ไปอำเภอแมวาง
ยอดดอยอนิ ทนนท
กว�ิ แมป าน นำ้ ตก ลานกางเตน็ ทด งสน
น้ำตก สิร�ภูมิ
ไปบา นปา ปงเปย ง ลานเสด็จ บา น นำ้ ตก
บาน แมก ลางหลวง วชริ ธาร
น้ำตกแทน พระสงั ข พระมหาธาตุนภเมทนีดล ข�นกลาง
ไปอำเภอแมแ จม และพระมหาธาตนุ ภพลภมู สิ ิร� น้ำตก
ท่ที ำการ สิรธ� าร
น้ำตกแมปาน อทุ ยานแหง ชาติ
น้ำตก ดอยอนิ ทนนท
หวยทรายเหลือง
1192 ดา น 2 นำ้ ตก นำ้ ตก น้ำตก ศนู ยบ รก� าร
หนวยพท� กั ษอุทยานแหงชาติน้ำตกแมป าน ผาดอกเสีย้ ว วงั มวง ปางควาย นกั ทองเท่ยี ว
(แมแ จม) น้ำตก ดา น 1
แมกลาง
นำ้ ตกแมย ะ 1009
ไปจงั หวดั เชยี งใหม
108
อำเภอจอมทอง
ไปอำเภอฮอด
210
นำ้�ตกแม่ยะ
ที่ต้ัง : หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ อน.3
(แมย่ ะ) หมู่ 7 บา้ นหวั เสอื ต.จอมทอง อ.จอมทอง
จ.เชียงใหม่
พิกัด : 457697E 2038836N
การเข้าถึง : จากสามแยกขึ้นดอยอินทนนท์
เข้ามาตามทางหลวงหมายเลข 1009 เข้ามาราว
1 กิโลเมตร มีทางเลี้ยวซ้ายเข้านํ้าตกแม่ยะ
ไปตามทางจนสุดสาย ระยะทางราว 14
กิโลเมตร ถึงลานจอดรถ แล้วเดินเท้าไปราว
200 เมตร ถงึ ตวั นา้ํ ตก
211
ลักษณะ : เป็นน้ําตกหน้าผาหินขนาดใหญ่ ท่ีเกิดจากลำ�ห้วย
แม่ยะ ไหลตกลงจากหน้าผาลดหลั่นลงมาเป็นชั้นเล็ก ๆ ถึง 30
ชนั้ เอียงลงมา 60 องศา สูงราว 90 เมตร หน้าน้าํ ตกยาวลงมา
ราว 260 เมตร ในช่วงฤดูฝนสายนํ้าตกจะแผ่กว้างเต็มลานหิน
มีน้าํ ตลอดท้งั ปี
นํ้าตกแม่ยะเกิดในบริเวณร่องน้ําท่ีใกล้แนวแปรสัมผัส
(contact metamorphism) ระหว่างหินอัคนีคาร์บอนิเฟอรัส
พวกหินแกรนิตที่แทรกตัดหินแปรชนิดหินไนส์ เนื้อสีเทาดำ�
ประจดุ ขาว ประกอบดว้ ยแรช่ นดิ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ แรค่ วอรต์ เฟลดส์ ปาร์
ไมก้า ยุคพรีแคมเบรยี นขึ้นมา หินบรเิ วณนี้แสดงร้ิวขนานชดั เจน
(foliation) ทแ่ี สดงเนอ้ื รปู ดวงตา (augen) และดว้ ยแรงทม่ี ากระท�ำ
ใหแ้ ร่ในหินแยกเป็นแถบ แรส่ ขี าว และแถบแร่สดี �ำ และเรยี กหนิ
น้ีว่า หนิ ไนส์ (gneiss)
212
น้ำ�ตกแม่กลาง
ที่ตั้ง : หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ อน.1( แม่กลาง) หมู่ 20
บ้านน้าํ ตกแม่กลาง ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชยี งใหม่
พิกัด : 464953E 2045028N
การเข้าถึง : เข้ามาตามทางหลวงหมายเลข 1009 ท่ีจะข้ึนสู่ดอย
อนิ ทนนท์ ราว 8 กโิ ลเมตร จากทางแยกกอ่ นถงึ ดา่ นตรวจของอทุ ยาน
แหง่ ชาติ บรเิ วณบา้ นขนุ กลาง จะมที างแยกเขา้ นา้ํ ตกทางซา้ ยมอื เขา้ ไป
ราว 500 เมตร ถงึ ลานจอดรถ แลว้ เดนิ เทา้ ตามเสน้ ทางราว 100 เมตร
พบนา้ํ ตกชน้ั ลา่ งสดุ จะมเี สน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติ เดนิ เลยี บนา้ํ ตกขน้ึ ไป
ดา้ นบนตามทางเดนิ ฝง่ั ขวาของนา้ํ ตก (หนั หนา้ เขา้ หานา้ํ ตก) จะผา่ นผาหนิ
ท่ีมีรูปเขียนก่อนประวัติศาสตร์ (ผาคันนา) แล้วเดินไปจนถึงด้านหลัง
ศนู ยบ์ รกิ ารนกั ทอ่ งเทย่ี ว (เกา่ ) รวมระยะทางราว 500 เมตร จากนา้ํ ตก
213
ภาพเขยี นสีผาคันนา
ลักษณะ : เป็นนา้ํ ตกหน้าผาหนิ ทไ่ี หลลดหลัน่ ลงมา นา้ํ ตกสงู ประมาณ 30 เมตร ตกลงมายังเบอื้ งล่าง มแี อง่ นา้ํ ใหญ่ ชอ่ื วังน้อย และวังหลวง
กอ่ นจะไหลกลายเปน็ แก่งเล็ก ๆ ตอ่ ไป เป็นทน่ี ยิ มมาเล่นนา้ํ
ในปี 2501 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ�เนนิ มาทอดพระเนตรนา้ํ ตกแมก่ ลางแห่งนดี้ ้วย
214
นำ้�ตกปางควายหรอื วงั ควาย
ที่ต้ัง : หมู่ 20 บ้านนาํ้ ตกแมก่ ลาง ต.บา้ นหลวง อ.จอมทอง จ.เชยี งใหม่
พิกัด : -
การเขา้ ถงึ : อยรู่ มิ ถนนหมายเลข 1009 เลยศนู ยบ์ รกิ ารนกั ทอ่ งเทย่ี ว (เกา่ ) เหนอื นา้ํ ตกแมก่ ลางมาราว 2 กโิ ลเมตร จอดรถในลานดนิ เลก็ ๆ
ทางซา้ ยมอื รมิ ถนน แลว้ เดนิ ลงไปนา้ํ ตก
215
ลักษณะ : เปน็ แก่งนา้ํ กว้าง ที่ล�ำ ธารนํา้ ไหลลาดลงมาตามลานหนิ แตล่ ะ
ชั้นไม่สงู มาก นํา้ ไหลลดหลัน่ กนั ลงมา กลายเป็นแกง่ น้ําตลอดเส้นทางการ
ไหลของนํ้า ในช่วงใบไม้เปล่ียนสีรอบ ๆ นํ้าตกปางควายจะมีสีสันของป่า
เต็งรงั ที่เปล่ียนสสี วยงามมาก นํ้าตกน้ีเหมาะกับการเล่นนํ้า
หินบริเวณน้ําตกปางควายเป็นหินหน่วยหินแปรยุคแคมเบรียน
ประกอบด้วยหินไนส์ หนิ แคลซิลเิ กต เป็นหนิ แปรทีเ่ กดิ จากการแปรสภาพ
แบบไพศาล (Regional Metamorphism) เกิดจากการแปรสภาพของ
หินเดิม ซ่ึงเป็นไปได้ท้ังหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร ภายใต้อิทธิพล
ของความร้อนหรือความดัน หรือท้ังสองอย่างภายใต้เปลือกโลก หินแปร
ประกอบด้วยแร่ใหม่ ซ่ึงเกิดจากกระบวนการแปรสภาพ หินแปรกลุ่มน้ี
สามารถมองเหน็ ร้วิ ลายของการแปรสภาพทเ่ี รียกวา่ ร้วิ ขนาน (foliation)
ได้ชัดเจน เนื้อหินมีการเรียงตัวของเม็ดแร่ หรืออาจมีการแสดงการแยก
ชน้ั ของแร่ บรเิ วณนา้ํ ตกหรอื พลาญหนิ ทแ่ี สดงรว้ิ ขนานอยา่ งชดั เจน และลด
ระดบั เปน็ ขน้ั บนั ไดทเ่ี กดิ การกดั เซาะของแมน่ า้ํ ทางนาํ้ หว้ ย เปน็ ตน้
216
น�้ำ ตกวังมว่ ง
ที่ต้ัง : หมู่ 20 บ้านนาํ้ ตกแม่กลาง ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
พิกัด : 464710E 2045964N
การเขา้ ถงึ : เลยน้ําตกปางควายขน้ึ ไปราว 1 กโิ ลเมตร จะมีทางเขา้ ลานจอดรถที่อยลู่ ึกเข้าไปจากถนน 1009 ราว 50 เมตร นํา้ ตกอย่ตู ิด
ลานจอดรถ
ลักษณะ : แท้จริงแล้วน้ําตกวังม่วงนี้มีสภาพเป็นแก่งนํ้ามากกว่า เพราะไม่มีชั้นน้ําตกต่างระดับกันชัดเจน หากแต่เป็นแก่งนํ้าท่ีไหลลาด
หล่ันกันลงมา ผมู้ าทอ่ งเทีย่ วนยิ มมาเล่นนํ้า มาปิกนิก พาครอบครัวมานง่ั รับประทานอาหารกนั เพราะแกง่ นํ้าไม่อันตราย และเข้าถงึ ได้ง่าย
217
น�ำ้ ตกวชิรธาร
ที่ต้ัง : หมู่ 17 บ้านสบหาด ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
พิกัด : 457384E 2049901N
การเข้าถึง : อยู่บริเวณกิโลเมตรท่ี 20.7 ของทางหลวงหมายเลข 1009 (สาย
จอมทอง - ดอยอินทนนท์) มีทางแยกขวามือ ขับรถไปตามถนนที่คดเค้ียวไปอีก
ประมาณ 250 เมตร จึงถงึ นา้ํ ตกวชริ ธาร แลว้ เดนิ เทา้ ราว 30 เมตร
218
ลักษณะ : เดมิ ช่อื “ตาดฆ้องโยง” ภายหลงั ได้เปลย่ี นช่อื ตามพระนามของพระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจา้ อยู่หัว ครั้งด�ำ รงพระอสิ รยิ ยศ
เป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกฎุ ราชกุมาร เป็นน้าํ ตกขนาดใหญเ่ กดิ จากลำ�ห้วยแม่กลาง สงู ประมาณ 70 - 80 เมตร ตัวนํ้าตกอยู่
สงู จากระดับทะเลประมาณ 750 เมตร สายนํา้ ไหลตกจากหน้าผาหนิ ลงสูแ่ อง่ นา้ํ เบื้องลา่ ง มนี ํ้าไหลตลอดทง้ั ปี ในยามแสงอาทติ ยส์ ่องกระทบ
ละอองน้าํ จะปรากฏสายรุง้ งดงามเหนือธารนา้ํ ตรงขา้ มมีหน้าผาสูงชนั เรียกวา่ “ผาม่อนแก้ว” หรอื ในภายหลังเรียกวา่ “ผาแวน่ แกว้ ”
นํ้าตกน้ีมีธรณีสัณฐานท่ีโดดเด่น โดยมีหน้าผาสูงชันที่วางตัวสองทิศทาง เกิดจากรอยแตกของหินท่ีปรับตัวต้ังฉากกับโครงสร้างหลัก
ของภูมิภาคท่ีวางตวั ในแนวเหนือ - ใต้ เมอ่ื มกี ารกัดเซาะในแนวดง่ิ อย่างตอ่ เน่อื ง เกิดเปน็ หนา้ ผาทม่ี สี ายน้ําขนาดใหญ่ตกลงมาจากความสงู
กวา่ 70 เมตร บรเิ วณนาํ้ ตก เป็นหนิ แปรยุคพรีแคมเบรียน ประกอบดว้ ยหนิ ไนส์ หินแคลซลิ ิเกต เป็นหินแปรที่เกดิ จากการแปรสภาพแบบ
ไพศาล เกดิ จากการแปรสภาพของหินเดมิ ซ่งึ เปน็ ไปได้ทัง้ หนิ อคั นี หินตะกอน และหนิ แปร ภายใต้อิทธพิ ลของความรอ้ นหรือความดัน หรอื
ท้ังสองอย่างภายใต้เปลือกโลก หินแปรประกอบด้วยแร่ใหม่ ซึ่งเกิดจากกระบวนการแปรสภาพ หินแปรกลุ่มนี้สามารถมองเห็นริ้วลายของ
การแปรสภาพท่ีเรียกว่า ริ้วขนาน (foliation) ได้ชัดเจน เนื้อหินมีการเรียงตัวของเม็ดแร่ หรืออาจมีการแสดงการแยกช้ันของแร่ บริเวณ
นา้ํ ตกหรอื พลาญหินทแ่ี สดงร้วิ ขนานอย่างชดั เจน และลดระดับเป็นข้นั บนั ไดท่ีเกดิ การกัดเซาะของแม่นา้ํ ทางน้ํา ห้วย เป็นตน้
219
นำ้�ตกสิริธาร
ที่ต้ัง : หมู่ 17 บา้ นสบหาด ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
พิกัด : 455623E 2050414N
การเขา้ ถึง : ริมทางหลวงหมายเลข 1009 (สายจอมทอง - ดอยอนิ ทนนท)์ ประมาณ
กโิ ลเมตรที่ 22 มีทางแยกเป็นถนนลงไปทางซา้ ยมอื ราว 50 เมตร แลว้ เดินเท้าลงไปตาม
บนั ไดราว 50 เมตร ถงึ จดุ ชมทวิ ทศั นน์ ้ําตกสิริธาร
ลักษณะ : เดิมน้ําตกแห่งน้ีมีชื่อว่า “น้ําตกป่าคา” ซึ่งเป็นนํ้าตกที่ไหลมาจากลำ�นํ้า
แม่กลาง บริเวณทิวเขาดอยอินทนนท์ และไหลลงสู่น้ําแม่ปิงท่ีอำ�เภอจอมทอง จังหวัด
เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2545 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชนนีพันปีหลวง เสด็จมาทอดพระเนตร ทรงพระราชทานนามนํ้าตกว่า
“น้ําตกสิริธาร” เป็นน้ําตกที่ไหลลงมาจากผาหินขนาดใหญ่ สูงประมาณ 50 เมตร ตก
ตอ่ เน่ืองกนั สองชั้นใหญ่ ๆ มปี ริมาณนาํ้ มากและไหลแรงตลอดทั้งปี ท้ังยังเป็นทีอ่ ยอู่ าศัย
ของสัตว์น้ําหายาก เช่น ปลาค้างคาว อินทนนท์ (Oreoglanis siamensis) ซึ่งเป็นดัชนี
บ่งชี้ถึงคุณภาพของแหล่งนํ้า เนื่องจากเป็นปลาที่มีความอ่อนไหวต่อความเปลี่ยนแปลง
ของสภาพนํ้า ท้ังยงั ต้องอาศยั อยใู่ นนํ้าทอี่ ุณหภมู ติ ่าํ เยน็ ในป่าตน้ นํ้าเทา่ น้ัน
220
บริเวณนํ้าตกน้ีเป็นหินแปรยุคพรีแคมเบรียน ประกอบด้วยหินไนส์ หินแคลซิลิเกต เป็นหินแปรที่เกิดจากการแปรสภาพแบบไพศาล
แสดงริ้วขนานชัดเจน และยังแสดงเนื้อรูปดวงตา (augen) ด้วยแรงที่มากระทำ�ให้แร่ในหินแยกเป็นแถบแร่สีขาว และแถบแร่สีดำ� จากหิน
เดมิ ซง่ึ เปน็ ไปไดท้ ง้ั หนิ อคั นี หนิ ตะกอน และหนิ แปร ภายใตอ้ ทิ ธพิ ลของความรอ้ นหรอื ความดนั ภายใตเ้ ปลอื กโลก ท�ำ ใหห้ นิ นม้ี กี ารแยกชน้ั แร่
อย่างชัดเจน และเปน็ สว่ นหนง่ึ ของแกน่ ซับซ้อนของธรณีวทิ ยาแปรสภาพดอยอินทนนท์
221
น้�ำ ตกผาดอกเส้ียว
ที่ต้ัง : หมู่ 17 บา้ นแม่กลางหลวง ต.บ้านหลวง
อ.จอมทอง จ.เชยี งใหม่
พิกัด : 451357E 2049484N
การเข้าถึง : ถ้าขึ้นมาจากอำ�เภอจอมทอง
ตามทางหลวงหมายเลข 1009 ทางเข้าจะอยู่
เลยทางลงบ้านแมก่ ลางหลวง กอ่ นถึงที่ท�ำ การ
อุทยานแห่งชาติราว 1 กิโลเมตร ทางซ้ายมือ
เดนิ เทา้ ลงไปตามทาง ราว 2 กโิ ลเมตร ถงึ นา้ํ ตก
ชั้นที่ 1 แล้วจะมีทางเดินเลาะเลี้ยวไปยังชั้น
ต่าง ๆ ตอ่ ไป
ลักษณะ : เส้นทางนี้เป็นเส้นทางเดินศึกษา
ธรรมชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รติ ปลายทางจะไปออก
ที่บ้านแม่กลางหลวง เป็นนํ้าตกหน้าผาหิน
ทม่ี คี วามสวยงาม ทา่ มกลางปา่ ทร่ี ม่ รน่ื มที ง้ั หมด
10 ชั้น รวมชั้นเล็กช้ันน้อยแต่เส้นทางเดิน
เที่ยวชมจะพบเห็นแค่ 5 ช้ัน นอกน้ันอยู่นอก
เส้นทางเดินเท้า นํ้าตกจะทิ้งระยะห่างกันไป
ตามลำ�ห้วย นํ้าตกสูงสุดราว 25 เมตร มีน้ํา
ไหลท้ังปี
222
น้ำ�ตกสิริภมู ิ
ที่ต้ัง : บา้ นขุนกลาง ต.บา้ นหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
พิกัด : 448869E 2050486N
การเขา้ ถึง : อยู่ใกลก้ บั ลานกางเตน็ ท์ปา่ สน เขา้ ไปเริ่มต้นทีห่ น้าโรงเรียนบา้ นขุนกลาง
จะมที างเข้าตรงข้ามโรงเรียน เขา้ ไปตามทางสายหลกั ราว 1.5 กโิ ลเมตร ถงึ ลานจอดรถ
แลว้ เดนิ เทา้ เข้าไปในสวนเฟินและพืชพนั ธ์ไุ ม้อนื่ ๆ ที่ถกู จดั แต่งเปน็ สวน ให้บรรยากาศ
ร่มรน่ื เดนิ เข้าไปราว 100 เมตร จากลานจอดรถ ถึงชั้นลา่ งสดุ ของนํ้าตก
ลักษณะ : เดมิ เรยี กวา่ นา้ํ ตกเลาลี ตามชอ่ื ของหวั หนา้ หมบู่ า้ นมง้ ทอ่ี าศยั อยใู่ กลน้ า้ํ ตก
ต่อมาจึงเปล่ียนช่ือเพ่ือเป็นการเฉลิมพระเกียรติของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง
223
เป็นน้าํ ตกที่ตกมาจากหนา้ ผาหินสูงตระหงา่ น คอ่ ยไหลไล้ลงมาตามหน้าผา แยกเป็นสองสายใกลก้ ัน สามารถเหน็ ได้จากไกล ๆ เกดิ
จากลำ�ห้วยท่ีไม่ใหญ่นัก แต่พอไหลตกแผ่มาตามหินหน้าผา จึงเห็นว่าเป็นนํ้าตกสายใหญ่ เม่ือตกลงมาถึงพื้นแล้วจะไหลผ่านสวนเฟิร์นและ
พชื พันธ์ทุ ีท่ ำ�เป็นสวนพรรณไมไ้ วด้ า้ นล่าง กอ่ นจะไหลลงไปรวมกับลำ�ห้วยอ่นื ๆ ยงั พน้ื ราบตอ่ ไป
บริเวณน้ําตกเป็นหินแปรยุคพรีแคมเบรียน ประกอบด้วยหินไนส์ หินแคลซิลิเกต ซึ่งเป็นหินที่แกร่งและทนทานต่อการกัดกร่อน
ทำ�ให้มีสภาพภูมิประเทศเป็นหน้าผาสูงชัน มีลวดลายการเรียงตัวของแร่ประกอบหิน แสดงว่าเป็นหินแปรท่ีเกิดจากการแปรสภาพแบบ
ไพศาล แสดงร้วิ ขนานชดั เจน และยังแสดงเนอ้ื หนิ รูปดวงตา (augen) ด้วยแรงทม่ี ากระท�ำ ให้แรใ่ นหนิ แยกเปน็ แถบแร่สขี าว และแถบแรส่ ดี ำ�
จากหินเดิมซ่ึงเปน็ ไปได้ท้งั หินอัคนตี ะกอน และหินแปร ภายใต้อิทธพิ ลของความรอ้ น หรอื ความดนั ภายใตเ้ ปลอื กโลก ทำ�ใหห้ ินน้มี กี ารแยก
ช้นั แร่อย่างชดั เจน และเป็นส่วนหนึ่งของแก่นซับซอ้ นของธรณีวิทยาแปรสภาพดอยอินทนนท ์
224
นำ้�ตกห้วยทรายเหลอื ง
ที่ต้ัง : หน่วยพิทกั ษอ์ ุทยานแห่งชาติที่ อน.2 (แม่แจม่ ) หมู่ 13 บ้านปา่ ปงเปยี ง ต.ชา่ งเคิง่ อ.แมแ่ จ่ม จ.เชียงใหม่
พิกัด : 442498E 2048258N
การเข้าถึง : ขับรถไปตามทางหลวงหมายเลข 1009 ผ่านท่ีทำ�การอุทยานแห่งชาติมุ่งหน้าขึ้นสู่ยอดดอย เลยที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ
ไปประมาณ 7 กิโลเมตร จะถึงด่านตรวจท่ี 2 ซ่ึงจะมีทางแยกซ้ายไปยังอำ�เภอแม่แจ่ม (ทางหลวงหมายเลข 1192) เข้าไปตามทางราว 6
กโิ ลเมตร จะมีทางเล้ียวขวาเข้าไปอกี ราว 2 กิโลเมตร ถงึ ลานจอดรถ แล้วเดนิ เท้าราว 100 เมตร ถึงนาํ้ ตก
ลักษณะ : เปน็ นา้ํ ตกหนา้ ผาหินท่ตี กลงมาจากหนา้ ผาสูงราว 30 เมตร ไหลลดหล่นั ต่อเนอ่ื ง แล้ววกมาทางซ้าย ลงสเู่ บื้องล่าง สภาพโดยรอบ
เปน็ ปา่ ดบิ เขาผสมผสาน มีท้ังสนสองใบ และสนสามใบ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชนนีพันปีหลวง เคยเสดจ็
ทอดพระเนตร เม่ือปี 2528
225
บริเวณนํ้าตกเป็นหินแปรยุคพรีแคมเบรียน ประกอบด้วยหินไนส์ หินแคลซิลิเกต เป็นหินแปรที่เกิดจากการแปรสภาพแบบไพศาล
แสดงร้ิวขนานชัดเจน และยังแสดงเนื้อหินรูปดวงตา (augen) ด้วยแรงท่ีมากระทำ�ให้แร่ในหินแยกเป็นแถบแร่สีขาว และแถบแร่สีดำ� จาก
หินเดิมซ่งึ เป็นไปไดท้ ั้งหินอัคนีตะกอน และหนิ แปร ภายใตอ้ ทิ ธพิ ลของความร้อน หรอื ความดันภายใตเ้ ปลือกโลก ท�ำ ให้หินน้มี กี ารแยกชนั้
แร่อย่างชัดเจน และเป็นส่วนหน่ึงของแกน่ ซบั ซอ้ นของธรณีวทิ ยาแปรสภาพดอยอนิ ทนนท์
หมายเหตุ : นักท่องเท่ียวสามารถมากางเต็นท์พักแรมที่หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติน้ีได้ มีส่ิงอำ�นวยความสะดวกในการพักแรมไว้
ครบครนั หนว่ ยพิทักษอ์ ทุ ยานแหง่ ชาติ อยหู่ า่ งจากตัวนํ้าตกราว 100 เมตร
226
นำ้�ตกแม่ปาน
ที่ต้ัง : หนว่ ยพทิ ักษ์อทุ ยานแหง่ ชาตทิ ่ี อน.2 (แมแ่ จ่ม) หมู่ 13 บา้ นปา่ ปงเปียง ต.ช่างเคิ่ง อ.แมแ่ จม่ จ.เชียงใหม่
พิกัด : -
การเข้าถึง : จากน้ําตกห้วยทรายเหลือง จะผ่านหน้าหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ เลยไปไม่ไกลจะเป็นสามแยก (ทางขวาไปออกบ้าน
ป่าปงเปียง ไปอำ�เภอขนุ ยวมได)้ เลย้ี วขวาเขา้ ไปตามทางราว 1.5 กโิ ลเมตร ถงึ ลานจอดรถ แลว้ เดนิ เทา้ เลาะเลยี บชายเขา ผา่ นปา่ สองฝง่ั บางชว่ ง
เป็นทางเลก็ ๆ เลยี บเขา ราว 1.7 กิโลเมตร ถึงน้าํ ตก
ลักษณะ : เป็นนํา้ ตกที่ตกลงมาจากหน้าผาหินสงู ราว 70 เมตร ไหลตกลงมา แลว้ หกั ตกลงทางซ้ายเป็นแอง่ น้ํา ก่อนจะไหลลงมาทิง้ ระยะ
หา่ งกนั ก่อนจะเป็นนํา้ ตกอกี สองช้ันสงู ราว 4 เมตร เป็นนํา้ ตกทีส่ ายน้ําไมก่ ว้างนกั แตต่ กสูง แล้วจึงตกไหลลงร่องเขาเล็ก ๆ ต่อไป ดา้ นล่าง
นํ้าตกเป็นแอง่ เลน่ ได้ แต่คนไม่นิยมเพราะหนิ ค่อนข้างลน่ื ในชว่ งเดือนกมุ ภาพันธ์ ตน้ เสีย้ วหนา้ นา้ํ ตกจะบานสะพรัง่ ท�ำ ใหบ้ ริเวณสวยงาม
227
บริเวณน้ําตกเป็นหินแปรยุคพรีแคมเบรียน
ประกอบด้วยหินไนส์ หินแคลซิลิเกต ซึ่งเป็นหินที่
แกร่งและทนทานต่อการกัดกร่อน ทำ�ให้มีสภาพ
ภูมิประเทศเป็นหน้าผาสูงชัน มีลวดลายการเรียงตัว
ของแร่ประกอบหิน แสดงว่าเป็นหินแปรท่ีเกิดจาก
การแปรสภาพแบบไพศาล แสดงริ้วขนานชัดเจน
และยงั แสดงเนือ้ หินรปู ดวงตา (augen) ด้วยแรงทมี่ า
กระทำ�ให้แรใ่ นหนิ แยกเปน็ แถบแร่สีขาว และแถบแร่
สีดำ� จากหนิ เดมิ ซ่ึงเปน็ ไปไดท้ ้งั หนิ อคั นตี ะกอน และ
หินแปร ภายใต้อิทธิพลของความร้อน หรือความดัน
ภายใต้เปลือกโลก ทำ�ให้หินนี้มีการแยกชั้นแร่
อย่างชัดเจน และเป็นส่วนหนึ่งของแก่นซับซ้อนของ
ธรณวี ิทยาแปรสภาพดอยอินทนนท ์
228
น�ำ้ ตกแท่นพระสังข์
ที่ต้ัง : หมู่ 13 บ้านป่าปงเปียง ต.ช่างเคิ่ง อ.แม่แจ่ม
จ.เชยี งใหม่
พิกัด : 442092E 2048436N
การเข้าถึง : จากนํ้าตกห้วยทรายเหลือง วิ่งไปตามทาง
เร่ือย ๆ จะผ่านหน้าหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ขับรถ
เลยไปไม่ไกล จะเจอสามแยก ทางขวาจะไปน้ําตกแม่ปาน
แตท่ างซ้าย ทางจะลงไปบา้ นป่าปงเปยี ง (ไปอกี ราว 2 กม.)
500 เมตร จากแยกนี้ จะมที างเดนิ เลก็ ๆ ซ้ายมือ เดินลงไป
ตามทาง จะเปน็ ทางลงหุบเขา ราว 300 เมตรจะถงึ นํา้ ตก
ลักษณะ : นํา้ ตกแทน่ พระสังขเ์ ป็นกลมุ่ น้าํ ตกเดียวกับกล่มุ
น้ําตกแม่ปาน อยู่ปลายนํ้าของนํ้าตกแม่ปาน เป็นน้ําตก
หน้าผาหนิ ไหลลาดเอียงราว 45 องศา วกคดไปมา ในหนา้
ลานหินระยะนํา้ ตกราว 80 เมตร สงู ราว 30 เมตร
229
นำ้�ตกลานเสดจ็
ที่ต้ัง : หมู่ 7 บ้านขนุ กลาง ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชยี งใหม่
พิกัด : 445206E 2052078N
การเขา้ ถึง : ใชท้ างหลวงหมายเลข 1009 ข้ึนไปยังยอดดอย เลยทางเข้าเจดยี ์นภเมทนดี ลไปราว 200 เมตร จะเป็นลานจอดรถซ้ายมือ
ท่ีน่ีเปน็ ทง้ั จดุ ชมพระอาทติ ยข์ น้ึ ตอนเชา้ และเปน็ จดุ เรม่ิ เดนิ เทา้ ไปเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตกิ ว่ิ แมป่ าน เดนิ ไปตามทางราว 200 เมตร ถงึ นา้ํ ตก
ลักษณะ : เป็นน้ําตกเล็ก ๆ ที่มีความสวยงามและยังที่เป็นหนึ่งในจุดท่องเท่ียวท่ีสำ�คัญในเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติก่ิวแม่ปาน ซึ่งเป็น
เส้นทางศกึ ษาธรรมชาติท่สี ำ�คญั ของอทุ ยานแห่งชาตดิ อยอินทนนท์ เป็นน้าํ ตกที่สายนํา้ ไหลลาดลงมาตามช้ันหินต่างระดับ แผ่กระจายลงมา
จากชนั้ หินสงู ราว 5 เมตร ชน้ั เดยี ว ไหลลาดลงมายงั ลานหินลาดด้านล่าง สายนา้ํ จะลาดไหลไปตามแนวหินเอียงลาดทางซ้าย (หันหน้าเขา้ หา
นา้ํ ตก) แลว้ จึงไปรวมเปน็ ล�ำ ธารน้ําเล็ก ๆ ในบรรยากาศป่าดึกดำ�บรรพ์ มี มอส เฟิน ขน้ึ กนั ตามก่ิงไม้ ท่อนไม้อยา่ งหนาตา
หมายเหตุ : ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนทย์ งั มีน้ําตกผาส�ำ ราญ นํ้าตกสองพ่ีน้อง นา้ํ ตกทลี อกยุ้ นํ้าตกธารทอง นา้ํ ตกป่าปงเปยี ง
และนํ้าตกออบน้อยด้วย
230
อุทยานแห่งชาติ
ตากสินมหาราช
พนื้ ท่ี 149 ตารางกโิ ลเมตร
เชยี งราย ท่ีตั้งท่ีทำ�การอุทยานแห่งชาติ : หมู่ 10 บา้ นลซี อ ต.แมท่ ้อ อ.เมืองตาก จ.ตาก
การเดนิ ทาง : ใชท้ างหลวงหมายเลข 105 (ตาก – แมส่ อด) ประมาณหลกั กโิ ลเมตรท่ี 25 จะพบ
แมฮอ งสอน พะเยา นา น ป้ายอุทยานแห่งชาติขนาดใหญ่ทางด้านขวามือ เล้ียวไปตามทางเข้า 1.5 กิโลเมตร ถึงที่ทำ�การ
เชยี งใหม อทุ ยานแหง่ ชาติ หรอื ถ้ามารถโดยสาร กรุงเทพฯ - แมส่ อด ลงหนา้ ทางเข้าอุทยานแหง่ ชาตแิ ลว้
ลำพ�น ลำปาง เดนิ เท้า 1.5 กิโลเมตร
แพร กว่าจะเป็ นอุทยานแห่งชาติ
อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช เดิมมีช่ือว่า “อุทยานแห่งชาติต้นกระบากใหญ่”
อตุ รดติ ถ เน่ืองจากมตี น้ กระบากทใ่ี หญส่ ดุ ในประเทศไทยเทา่ ทส่ี �ำ รวจพบในขณะน้ี โดยมนี ายสวาท ณ นา่ น
ชา่ งอนั ดบั 2 สถานโี ทรคมนาคม จงั หวดั ตาก ซง่ึ ไดร้ บั การบอกเลา่ จากชาวเขาเผา่ มเู ซอ วา่ มตี น้ ไม้
สุโขทยั พ�ษณุโลก ขนาดใหญ่ประมาณสิบคนโอบอย่ตู ้นหน่งึ และมีสะพานหินท่เี กิดข้นึ เองตามธรรมชาติ เม่อื ได้ไป
ตาก เพชรบูรณ สำ�รวจพบเห็นว่า เป็นสภาพธรรมชาติท่ีสวยงามควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ จึงได้ทำ�หนังสือถึง
กำแพงเพชร พจ� ต� ร
นครสวรรค
อุทัยธานี
231
กองอทุ ยานแหง่ ชาติ จ�ำ นวน 2 ฉบับ ลงวนั ท่ี 15 มถิ นุ ายน 2519 และวันท่ี 6 มกราคม 2520 รายงานถงึ ลกั ษณะทางธรรมชาตซิ งึ่ มีความ
โดดเด่น ไดแ้ ก่ ต้นกระบากใหญ่ สะพานหินธรรมชาติ นํ้าตกแมย่ ่าป้า มสี ภาพป่าทอ่ี ุดมสมบรู ณ์ มีนาํ้ ไหลตลอดทั้งปี และมสี ตั ว์ป่าท่ีชุกชุม
กองอุทยานแห่งชาติจึงได้มีคำ�สั่งให้ นายสมยศ สุขะพิบูลย์ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติลานสาง ออกไปตรวจสอบเห็นว่าเป็นจริงดังคำ�
บอกเลา่ มีความเหมาะสมทีจ่ ะจดั ตัง้ เป็นอุทยานแหง่ ชาตไิ ด้ และไปดำ�เนินการส�ำ รวจเพ่อื ก�ำ หนดพนื้ ทีป่ า่ ห้วยแม่ละเมา – ห้วยยะอุ ตำ�บล
พะวอ อ�ำ เภอแมส่ อด และป่าสงวนแหง่ ชาติป่าแม่ท้อ – หว้ ยตากฝัง่ ขวา ต�ำ บลแมท่ ้อ อ�ำ เภอเมืองตาก ครอบคลุมพน้ื ที่ 149 ตารางกโิ ลเมตร
ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งได้นำ�เสนอต่อคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 98 ตอนที่ 210 ลงวันท่ี 23
ธนั วาคม 2524 กำ�หนดให้พื้นท่ดี ังกล่าวเป็น “อุทยานแห่งชาติตน้ กระบากใหญ่” นบั เป็นอุทยานแหง่ ชาตอิ นั ดบั ที่ 38 ของประเทศไทย
ต่อมากองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ พิจารณาเห็นว่า เพ่ือเป็นการเทิดพระเกียรติแด่องค์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และเป็น
สริ ิมงคลแก่อทุ ยานแห่งชาติ ตลอดจนเพื่อเปน็ การรำ�ลกึ ถงึ สถานท่ีอนั มีคา่ ทางประวัตศิ าสตร์ของชาติไทย ได้แก่ จงั หวดั ตาก จงึ เห็นสมควร
เปลี่ยนช่ือ “อุทยานแห่งชาติต้นกระบากใหญ่” เป็น “อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช” กรมป่าไม้จึงได้ดำ�เนินการกราบบังคมทูล
ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต เพ่อื ใช้พระปรมาภไิ ธยของสมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราชเป็นชื่ออทุ ยานแห่งชาติ และไดพ้ ระราชทาน
พระบรมราชานญุ าตตามหนังสือสำ�นกั ราชเลขาธกิ าร พระบรมมหาราชวงั ลงวนั ที่ 31 สิงหาคม 2529 ให้ใชช้ อื่ ว่า “อทุ ยานแหง่ ชาติตากสนิ
มหาราช”
232
นอกจากความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่า และเอกลักษณ์ที่โดดเด่นทางลักษณะภูมิประเทศแล้ว ท้ังพ้ืนที่นี้ ในสมัยโบราณเคยเป็น
เสน้ ทางการเดินทพั ของขนุ สามชน เจา้ เมอื งฉอด (อ�ำ เภอแมส่ อดในปัจจบุ นั ) เพื่อบุกเข้าตเี มืองตากซ่ึงเป็นเมอื งหน้าดา่ นของไทยในขณะนั้น
นอกจากน้ี ยงั เป็นเสน้ ทางเดนิ ทพั ของพมา่ โดยพระเจ้าอลองพญากษตั ริยพ์ ม่า คราวยกทพั กลบั จากการลอ้ มกรุงศรีอยธุ ยา ขณะเสด็จกลบั
ระหวา่ งทางทรงประชวรและสน้ิ พระชนม์ในปา่ แหง่ น้ี
อทุ ยานแหง่ ชาตติ ากสินมหาราช ตงั้ อยู่ในท้องที่ 2 อำ�เภอ คอื อ�ำ เภอเมืองตาก และอำ�เภอแม่สอด ตดิ ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 105
(ตาก – แม่สอด) ห่างจากตวั อ�ำ เภอเมอื งตากประมาณ 35 กิโลเมตร ซง่ึ ประกาศทบั ซ้อนปา่ สงวนแห่งชาตปิ า่ แม่ละเมา ตำ�บลพะวอ อ�ำ เภอ
แมส่ อด จังหวัดตาก ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 954 (พ.ศ.2524) และประกาศทบั ซ้อนปา่ สงวนแหง่ ชาตปิ า่ แมท่ อ้ – ห้วยตากฝงั่ ขวา ตำ�บล
แม่ทอ้ อำ�เภอเมอื ง จังหวัดตาก ตามกฎกระทรวงฉบบั ที่ 145 (พ.ศ.2509)
จากสภาพภูมิประเทศที่สว่ นใหญเ่ ปน็ ทวิ เขาสงู ชนั สลับซับซ้อน มีพื้นท่รี าบอยเู่ พียงเลก็ น้อย มีแนวทิวเขาถนนธงชยั ผา่ นกลางอทุ ยาน-
แห่งชาติ ลักษณะเปน็ สันปันนาํ้ ซ่งึ เปน็ เสน้ แบง่ เขตระหวา่ งอ�ำ เภอเมอื งตากกบั อำ�เภอแมส่ อด เปน็ ต้นก�ำ เนิดของหว้ ยส�ำ คัญ ๆ เชน่ ทางดา้ น
อำ�เภอแมส่ อด ได้แก่ ห้วยตะปูเคาะ ห้วยยะอุ หว้ ยปลาหลด หว้ ยพลใู หญ่ หว้ ยผักหละ หว้ ยพระเจ้า หว้ ยปแู ป้ หว้ ยผาแกว และห้วยสะมนึ -
หลวง ไหลไปรวมกันเป็นห้วยแมล่ ะเมา ทางดา้ นอำ�เภอเมอื งตากมีจ�ำ นวน 7 หว้ ย ไดแ้ ก่ หว้ ยปางอา้ หว้ ยสลักพระ หว้ ยนํ้าดบิ ห้วยบง หว้ ย
ช้างไล่ หว้ ยโปร่งสกั และหว้ ยไมห้ ้าง ซง่ึ ไหลลงมารวมเป็นห้วยแม่ท้อ แล้วไหลลงสู่แมน่ าํ้ ปงิ
233
บา นปางสา งคำ หนวยพท� ักษ
อทุ ยานแหงชาตทิ ี่ ตม.4
(ไมห า ง)
1.2 กม.
10 กม.
นำ้ ตกผาขาว-ผาแดง 14 กม.น้ำตก
แมยา ปา
12 กม.
3 กม. หนวยพท� ักษ
อุทยานแหงชาติที่ ตม.2
หนวยพท� กั ษอุทยานแหง ชาตทิ ี่ ตม.3 (ปแู ป)
(ปางอา )
บา นปูแป 2.5 กม.
นำ้ ตกปางอา ตลาดนัด ไปเมอื งตาก
แมทอ
ปานงอำ้ ตา นกอ ย
บา นหวยไคร ตน กระบากใหญ อบต.แมท อ
ทีท่ ำการ บา นลานสาง
อทุ ยานแหงชาติ
ตากสินมหาราช
1 กม.
1 กม. อุทยานแหง ชาติ
11 กม. ลานสาง
ไปแมส อด AH1 บา นปางสาน ตลาดมเู ซอ AH1
16 กม. 12
บา นหวยยะอุ
234
นำ�้ ตกปางอ้าน้อย
ที่ต้ัง : หมู่ 10 บ้านลีซอ ต.แม่ท้อ อ.เมอื ง จ.ตาก
พิกัด : 492321E 1856952N
การเข้าถึง : จากทท่ี ำ�การอุทยานแห่งชาติ เดนิ ทางไปเรมิ่ ตน้ ทเี่ ส้นทางเดนิ ศึกษาธรรมชาตติ น้ กระบากใหญ่ เดินลงไปจนถึงทร่ี าบ จะเห็น
เปน็ ทางแยกไปคนละทางกับที่ไปตน้ กระบากใหญ่ โดยเดินเทา้ ต่อไปอีกราว 1 กโิ ลเมตร ถึงนํ้าตกปางอา้ น้อย
ลักษณะ : เป็นน้าํ ตกหนา้ ผาหนิ ในร่องเขาท่ถี กู ขนาบดว้ ยภูเขาสองขา้ ง ตกลงมาช้ันเดยี วลงมายงั ชอ่ งเขาเบื้องลา่ งสูงราว 8 เมตร หน้านํา้ ตก
กวา้ งราว 20 เมตร แลว้ ไหลไปในร่องเขาราว 20 เมตร ตกลงอกี ชั้นหนึ่งเปน็ ชัน้ เลก็ ๆ สงู ราว 2 เมตร ก่อนจะไหลเข้าไปในป่าลึก บรรยากาศ
รายรอบรม่ รืน่ มนี าํ้ ตลอดท้ังปี
ลกั ษณะทางธรณเี ป็นหนิ ควอร์ตไซต์ สีเทาออ่ น ถึงสีนํา้ ตาล ชั้นหินมีความหนามาก ประมาณ 30 - 50 เซนตเิ มตร ชัน้ หินมรี อยแตก
หลายทศิ ทาง
235
236
นำ้�ตกปางอา้
ที่ต้ัง : หมู่ 8 ต.แม่ทอ้ อ.เมือง จ.ตาก
พิกัด : 495064E 1861210N
การเข้าถึง : จากทางหลวงหมายเลข 1 จากก�ำ แพงเพชรมุ่งหน้าจังหวัดตาก กอ่ นข้ามสะพานแมน่ ้ําปงิ เข้าเมอื งตาก จะมที างแยกซา้ ยมอื ไป
แม่สอด (ทางหลวงหมายเลข 12 หรือ AH 1) เข้าไปตามทางจะเกือบถึงบ้านลานสาง จะเห็น อบต.แม่ท้อ ทางซ้ายมือ ตรงข้าม อบต.แมท่ อ้
จะมตี ลาดนดั ต�ำ บลแมท่ อ้ จะมที างเสน้ เลก็ ๆ เปน็ ทางล�ำ ลอง เขา้ ไปตามทางสายน้ี ราว 10 กโิ ลเมตร ถงึ หนว่ ยพทิ กั ษอ์ ทุ ยานแหง่ ชาตทิ ่ี ตม.2
(ปางอา้ ) แลว้ เดนิ เทา้ เลาะไปตามหว้ ยปางอ้า แลว้ จะเจอคลองรว่ ม เดินไปตามคลองร่วมนี้ จนถึงนาํ้ ตก รวมระยะทางราว 2.5 กิโลเมตร
ลักษณะ : เปน็ ลกั ษณะแกง่ หินในลำ�หว้ ย ช้ันท่ีเป็นนา้ํ ตกชัดเจนจะเป็นชั้นสงู ท่ีตกลาดเอยี ง 40 องศา ตกไหลลาดลงมาในรอ่ งหนิ ยาวราว
40 เมตร ตกลงมาเปน็ คลา้ ยแก่งหิน สายนา้ํ ถกู บบี ใหไ้ หลลงรอ่ งหินแคบ ๆ ก่อนจะไหลเปน็ ลำ�หว้ ยปกติ ออกไปรวมกบั หว้ ยแมท่ ้อต่อไป
237
น�้ำ ตกแม่ยา่ ปา้
ที่ต้ัง : หมู่ 11 บ้านลานสาง ต.แม่ท้อ อ.เมือง จ.ตาก
พิกัด : 489342E 1867654N
การเขา้ ถึง : จากหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ตม.2 (ปางอ้า) ยังคงใช้ถนนลำ�ลองเล็ก ๆ ที่มา
จากข้างตลาดนัดตำ�บลแม่ท้อเหมือนเดิม โดยเดินทางต่อไปตามทางราว 14 กิโลเมตร ถึงหน่วย
พิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ตม.4 (ไม้ห้าง) แล้วเริ่มเดินเท้าลัดเลาะไปตามคลองแม่ท้อก่อน แล้วจึง
เจอคลองโปร่งสักที่เป็นคลองร่วม ไปจนถึงนํ้าตก รวมระยะทาง 1.2 กิโลเมตร
ลักษณะ : เกิดจากห้วยแม่ย่าป้า แล้วไหลลงสู่ห้วยแม่ท้อ เป็นนํ้าตกที่ตกลงมาตามหน้าผาหินต่าง
ระดับ ตกลาดลงมาเป็นแก่งหิน และชั้นนํ้าตก 3 ชั้นใหญ่ ๆ ทิ้งระยะห่างกันราว 20 - 25 เมตร ชั้น
สูงสุดสายนํ้าตกเรี่ยไหลมาตามหินหน้านํ้าตก สูงราว 10 เมตร ลักษณะคล้ายกันทั้งสามชั้น แต่สูง
ไม่เท่ากัน
238
น�ำ้ ตกผาขาว-ผาแดง
ที่ต้ัง : บ้านปูแป้ ต.พะวอ อ.แม่สอด จ.ตาก
พิกัด : 476343E 1865996N
การเข้าถึง : ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ ออกมาปากทางเข้าใช้
ทางหลวงหมายเลข 12 หรือ AH1 มุ่งหน้าไปทางแม่สอด ราว 1
กิโลเมตร ถึงตลาดมูเซอร์ จากตลาดมูเซอร์ไปต่ออีก 15 กิโลเมตร ถึง
บ้านห้วยยะอุ เลยไป 3 กิโลเมตร ตรงช่วงนี้จะเป็นทางต่างระดับกัน
คือขาไปและขากลับ ทางจะต่างระดับกัน จะมีทาง เลี้ยวขวาเข้าบ้าน
ปางส้าน เข้าไป 4 กิโลเมตร ถึงบ้านปางส้าน เลยบ้านปางส้านไปอีก
จะถึงแยกเข้าบ้านห้วยไคร้ ตรงไปเรื่อย ๆ ราว 14 กิโลเมตร จากบ้าน
239
ปางส้านถึงบ้านปูแป้ เลยบ้านปูแป้ไปไม่ไกล ถึงหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ตม.3 (ปูแป้) จากนั้นเดินตามลำ�ห้วยผาแดง บางช่วงมีตัด
เลาะขึ้นเนินเล็ก ๆ ไปถึงนํ้าตก รวม 4 กิโลเมตรจากบ้านปูแป้
ลักษณะ : เกิดจากลำ�ห้วยผาขาว - ผาแดง นํ้าตกแห่งนี้ แต่เดิมเคยเป็นนํ้าตกที่ไหลผ่านชั้นหินสูงราว 30 เมตรแบบตกไหลลาดเอียง
ลงมาเป็นชั้นใหญ่ ๆ ราว 2 - 3 ชั้น หน้านํ้าตกแคบ ๆ ก่อนจะไหลเป็นแก่งนํ้าสูงราว 1 - 2 เมตร ลงไปตามแก่งในลำ�ห้วยอีกหลายแห่ง แต่
สภาพธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ทราบสาเหตุ จากลำ�ห้วยที่นํ้าเคยไหลข้ามชั้นหินกลายเป็นนํ้าตก ก็ไหลมุดก้อนหินออกไป
ไม่ปรากฏเป็นนํ้าตกให้เห็นอีกเลย มีเพียงหน้าผาหินแห้ง ๆ แต่ได้ยินเสียงนํ้าลอดไหลใต้กองหิน เป็นเช่นนี้มาหลายปีแล้ว
หมายเหตุ : ปิดบริการ
240
ท้องทรี่ าบเพชรบรู ณ์ มองจากจดุ ชมทวิ ทศั นอ์ ุทยานแห่งชาตติ าดหมอก
เชียงราย อุทยานแห่งชาติ
แมฮ อ งสอน พะเยา ตาดหมอก
เชียงใหม พืน้ ท่ี 290 ตารางกิโลเมตร
นา น
ที่ต้ังที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : 176 หมู่ 16 บ้านเฉลียงลับใหม่ ต.นาป่า อ.เมือง
ลำพน� ลำปาง แพร จ.เพชรบูรณ์
การเดินทาง : เร่ิมจากศาลากลางจังหวัดเพชรบูรณ์ไปทางทิศตะวันออกตามทางหลวง
อตุ รดิตถ หมายเลข 2271 ไปบ้านเฉลียงลับ ระยะทาง 12 กิโลเมตร ถึงสามแยกเล้ียวขวาไปทางบ้าน
นํ้าร้อน ตามทางหลวงหมายเลข 2275 ประมาณ 200 เมตร เหน็ ปา้ ยอุทยานแห่งชาติทางซา้ ยมอื
ตาก สโุ ขทัย เลี้ยวซ้ายขึ้นอุทยานแห่งชาตติ าดหมอก ตามเส้นทาง รพช. (บ้านเฉลียงลบั - ตาดหมอก) เข้าไป
พ�ษณุโลก ราว 2 กิโลเมตร ทีท่ �ำ การอทุ ยานแหง่ ชาตทิ างขวามือ
เพชรบูรณ
241
กำแพงเพชร พจ� ต� ร
นครสวรรค
อุทยั ธานี
ลานชมดาว
จุดชมทวิ ทัศนห์ ้วยนำ้�รนิ
กว่าจะเป็ นอทุ ยานแห่งชาติ
เมื่อปี 2532 จงั หวัดเพชรบูรณ์ ไดพ้ บนํ้าตกสวยงามเหมาะสมทีส่ มควรจะปรบั ปรุงใหเ้ ปน็ แหลง่ ท่องเท่ียว จงึ ได้ขอให้กรมปา่ ไมท้ ำ�การ
สำ�รวจพ้ืนที่ส่วนหน่ึงของป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่ ซ่ึงอยู่ในพื้นที่อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อจัดต้ังเป็นอุทยาน
แห่งชาติ และกรมป่าไม้ได้ส่งเจ้าหน้าท่ีเข้าดำ�เนินการเม่ือกลางปีงบประมาณ 2534 และมีความเห็นชอบให้บริเวณที่ดินป่าตะเบาะและป่า
ห้วยใหญ่ ในทอ้ งทต่ี �ำ บลหว้ ยใหญ่ ต�ำ บลบา้ นโคก และต�ำ บลนาปา่ อ�ำ เภอเมอื งเพชรบรู ณ์ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ใหเ้ ปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ น�ำ เสนอ
ร่างพระราชกำ�หนดให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ ได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติตามพระราชกฤษฎีกา ประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษา เมอื่ วันท่ี 30 ตลุ าคม 2541 จดั เป็นอทุ ยานแหง่ ชาตลิ ำ�ดบั ที่ 87 ของประเทศไทย มีพ้ืนที่ 290 ตารางกิโลเมตร
พื้นที่ในอุทยานแห่งชาติตาดหมอกน้ันเป็นเป็นทิวเขาสลับซับซ้อนเช่ือมต่อกับป่าภูเขียวและป่าของเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าตะเบาะ-
หว้ ยใหญ่ อทุ ยานแหง่ ชาตนิ ํ้าหนาว และเขตรักษาพันธสุ์ ตั วป์ ่าผาแดง จงึ นบั เป็นป่าผืนใหญ่ ทสี่ มบรู ณ์ จึงเปน็ ตน้ ก�ำ เนิดของหว้ ยนา้ํ ดำ� ห้วย
ผึ้ง หว้ ยกกไฮ ฯลฯ ซง่ึ เปน็ ตน้ นํ้าลำ�ธารของลมุ่ นา้ํ ปา่ สักและลุ่มนํา้ ชี
ในพ้ืนทอ่ี ุทยานแห่งชาตติ าดหมอกนัน้ มีนาํ้ ตกสองแหง่ ซ่งึ ถอื เป็นหัวใจสำ�คัญของเส้นทางเดนิ ศกึ ษาธรรมชาติ เพราะเส้นทางจะเลียบ
ลำ�หว้ ย ท่ีมพี ืชพรรณตา่ ง ๆ ที่นา่ สนใจ รวมท้งั บรรยากาศรม่ รนื่ ตลอดทางเดนิ เป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร ซึ่งเปน็ ระยะทางท่ไี ม่ไกล โดยนํา้ ตก
ท้งั สองแห่งจะอยูใ่ กลก้ นั ในเสน้ ทางเดนิ ศกึ ษาธรรมชาติ
242
ไปอำเภอหลมสัก
ไปอำเภอหลมสัก 2275
21
อ.เมืองเพชรบูรณ บานหวยใหญ น้ำตก
21 2326 สองนาง
ไปอำเภอหนองไผ 2271 ลานชมดาว น้ำตก
4037 ตาดหมอก
บา นเฉลยี งลบั
วดั เฉลียงลบั เขตบรก� ารทอ งเที่ยวหว ยบง
2275
ทีท่ ำการ
อุทยานแหง ชาติ
ตาดหมอก
ไปอำเภอบึงสามพนั
243
244
น�้ำ ตกสองนาง
ที่ต้ัง : หมู่ 16 บ้านเฉลียงลับใหม่ ต.นาป่า อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์
พิกัด : -
การเข้าถึง : ทั้งนํ้าตกสองนางและนํ้าตกตาดหมอกนี้ จะเข้าไปทางเดียวกัน และอยู่ใกล้กัน ผู้มาท่องเที่ยวเข้าไปแล้วก็ต้องพบเจอทั้งสอง
นํ้าตก จึงขอนำ�มาอธิบายรวมกัน ดังนี้
จากที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ ด้านล่าง (ก่อนขึ้นเขา) ขึ้นมาตามทาง ขึ้นเขาไปจะพบด่านตรวจอีกจุด ซึ่งทางซ้าย จะไปลานชมดาว
ซึ่งเป็นลานกางเต็นท์ แต่ถ้าไปนํ้าตกให้เลี้ยวขวา จะเจอเขตบริการการท่องเที่ยว (ห้วยบง) ซึ่งที่นี่จะมีบ้านพักและลานกางเต็นท์ ขับไป
ตามทางอีก 7 กิโลเมตร ถึงลานจอดรถ แล้วจึงเดินเท้าเข้าไปตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติมีข้ามลำ�ธารนํ้า เลาะลำ�ห้วยไปราว 2 กิโลเมตร
จะถึงนํ้าตกสองนางก่อน
ลักษณะ : เป็นนํ้าตกขนาดกลางที่สายนํ้าไหลลงสู่คลองห้วยบงแล้วจึงลงไปสู่อ่างเก็บนํ้าเฉลียงลับอีกครั้งหนึ่ง สายนํ้าตกมีทั้งต่อเนื่อง
และทิ้งระยะกัน 12 ชั้น แต่ละชั้นสูงไม่มาก ราว 3 - 6 เมตร ตกลาดลงมาต่อ ๆ กัน เป็นระยะทางนับร้อยเมตรลงมาตามซอกเขา แล้ว
ปลายนํ้าจะไหลวกไปทางซ้าย ตรงช่วงที่หักตกวกไปทางซ้ายนี่เอง ถ้าเป็นช่วงฤดูฝนหรือฝนตกหนัก ๆ จะมีนํ้าตกอีกสายหนึ่ง ไหลมาจาก
ทางขวาลงมาสมทบกัน
245
246
น้ำ�ตกตาดหมอก
ที่ต้ัง : หมู่ 16 บ้านเฉลียงลับ ต.นาป่า อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์
พิกัด : X754136.046378 Y1811752.788760
การเข้าถึง : จากนํ้าตกสองนาง ถ้าเป็นช่วงนํ้าไม่มาก สามารถปีนทวนนํ้าตกขึ้นไปถึงชั้นบนแล้วข้ามลำ�ธารมาทางขวา แล้วเดินเลาะ
หน้าผามาไม่ไกล จะถึงหน้านํ้าตกตาดหมอกได้ แต่ในฤดูฝนที่นํ้ามาก จะอันตราย ควรย้อนกลับออกไปนิดหนึ่ง แล้วจะพบทางไปนํ้าตก
ตาดหมอก ทางจะปีนขึ้นเขาที่ชันหน่อย แต่ไม่ไกล แล้วเดินเลาะไหล่เขาไป ทางจึงวกลงหุบเขาหน้านํ้าตกชั้นล่าง ระยะทางราว 100 เมตร
จากจุดเริ่มขึ้นเขาชันมาจนถึงนํ้าตกตาดหมอก
ลักษณะ : เป็นนํ้าตกที่สูงมาก เห็นได้จากป่าไกล ๆ ตกลงมาจากหน้าผาหินสูงราว ราว 100 เมตร ตกลงมาชั้นเดียว ด้วยพลังของสายนํ้า
อันมหาศาลที่ตกลงมาชั่วนาตาปี ทำ�ให้เกิดหินผุพังด้านล่างนํ้าตก กองทับถมกันหน้านํ้าตกด้านล่าง
หมายเหตุ : ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติตาดหมอกยังมีนํ้าตกห้วยนํ้ารินอีกแห่งหนึ่งด้วย
247
ตน้ มเหสักข์หรอื ต้นสักใหญ่
เชียงราย อุทยานแห่งชาติ
แมฮ องสอน พะเยา ต้นสักใหญ่
เชียงใหม พ้ืนท่ี 518.79 ตารางกโิ ลเมตร
นา น
ลำพ�น ลำปาง แพร
อุตรดิตถ ท่ีตั้งที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : หมู่ 3 บา้ นห้วยแบง ต.น้ําไคร้ อ.นํา้ ปาด จ.อตุ รดิตถ์
การเดินทาง : จากอำ�เภอเมืองอุตรดิตถ์ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1045 ไปเข่ือนสิริกิติ์ ก่อนเข้า
ตาก สุโขทัย ตัวเขอื่ นข้ามสะพานแม่น้ํานา่ นมาตามทางหลวงหมายเลข 1146 ไปจนถงึ สามแยกใหญ่ (มีสวนป่า
พ�ษณุโลก ปากปาดทางซ้ายมือ)เล้ียวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 117 อีกราว 11 กิโลเมตร เห็นทางเข้า
เพชรบรู ณ ท่ที ำ�การอทุ ยานแหง่ ชาตขิ วามือ เขา้ ไป 3 กโิ ลเมตร ถงึ ท่ที �ำ การอุทยานแหง่ ชาติ
กำแพงเพชร พจ� ต� ร 248
นครสวรรค
อุทัยธานี
กว่าจะเป็ นอุทยานแห่งชาติ
ประเทศไทยเคยมีการให้สัมปทานทำ�ไม้สักกันอย่างมากมาย ส่งไม้สักเป็นสินค้าออกจนกระท่ังพื้นท่ีป่าไม้สักที่เคยมีอยู่อย่างมากมาย
ในภาคเหนือลดจำ�นวนลงอย่างมาก ครั้นเมื่อพ้ืนท่ีสัมปทานหมดอายุลงไม่มีการต่ออายุและมีการปิดป่า ยกเลิกสัมปทานทั่วประเทศในปี
2532
เมือ่ ปดิ ปา่ แล้ว กรมป่าไม้ จงึ มคี ำ�สง่ั 475/2523 ลงวนั ที่ 23 มีนาคม 2532 ใหเ้ จ้าหน้าท่ีด�ำ เนนิ การสำ�รวจป่าสงวนแห่งชาติป่านํา้ ปาด
ปา่ ปากห้วยฉลอง ป่าห้วยสเี สยี ด ป่าคลองตรอนฝ่ังขวา และป่าคลองตรอนฝัง่ ซา้ ย จงั หวดั อุตรดติ ถ์ และจดั ต้ังใหเ้ ปน็ อุทยานแหง่ ชาติ โดยเริม่
ด�ำ เนินการต้งั แต่ เดอื นพฤศจิกายน 2532 เป็นตน้ ไป
บรรยากาศในป่าสกั บรเิ วณที่ทำ�การอทุ ยานแห่งชาติ
ยอดภเู มย่ี ง เสน้ ทางเดินป่าสุดฮติ ของอทุ ยานแหง่ ชาตติ น้ สกั ใหญ่
249
ผู้พชิ ติ ภูเมี่ยง
ภาพการทำ�ไม้สมัยก่อน จดั แสดงในห้องนิทรรศการ
ต่อมากรมป่าไม้ มคี �ำ สง่ั ที่ 1627/2532 ลงวันท่ี 19 ตลุ าคม 2532 ใหน้ ายไพโรจน์ ดาราเพ็ญ เจา้ พนกั งานปา่ ไม้ 5 กองอุทยานแห่งชาติ
ไปทำ�การสำ�รวจหาข้อมูลบริเวณป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองตรอนฝั่งซ้ายและฝ่ังขวา ท้องที่อำ�เภอเมือง และอำ�เภอนํ้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
เพื่อจะจัดตงั้ เปน็ อุทยานแหง่ ชาติ พบวา่ พน้ื ทด่ี ังกลา่ วประกอบไปดว้ ยปา่ ธรรมชาติท่สี มบูรณ์และนา้ํ ตกท่ีสวยงามหลายแหง่ เช่น น้าํ ตกหว้ ย
โปร่ง น้ําตกห้วยคอม และน้ําตกห้วยเนียม พร้อมทั้งยอดภูเขาคว่ําเรือ และภูเขาหงายเรือ และมีคลองท่ีช่ือว่า “คลองตรอน” เป็นคลอง
ซึ่งลำ�ห้วยต่าง ๆ ไหลมารวมกันที่คลองน้ีและไหลลงสู่แม่น้ําน่าน อีกทั้งยังเป็นป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งเป็นท่ีรู้จักของประชาชนและหน่วยงาน
ใกลเ้ คียงโดยทว่ั ไป จึงขออนุมตั ติ ้ังชื่ออุทยานแหง่ ชาติว่า “คลองตรอน” (ต่อมาได้มคี �ำ ส่ังเปลีย่ นช่ือเปน็ อุทยานแหง่ ชาติ “ตน้ สกั ใหญ่”)
ในคราวประชมุ คณะกรรมการอทุ ยานแหง่ ชาตคิ รง้ั ท่ี 4/2537 เมอ่ื วนั ท่ี 8 พฤศจกิ ายน 2537 มมี ตเิ หน็ ชอบใหจ้ ดั ตง้ั เปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ
และได้เสนอร่างพระราชกฤษฎีกาเพ่ือจัดต้ังเป็นอุทยานแห่งชาติ และได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม
2546 เป็นอทุ ยานแห่งชาตลิ �ำ ดับท่ี 103 ของประเทศ มพี น้ื ทค่ี รอบคลมุ ปา่ นา้ํ ปาด ปา่ ปากหว้ ยฉลอง ปา่ หว้ ยสเี สยี ด ปา่ คลองตรอนฝง่ั ขวา และ
ปา่ คลองตรอนฝง่ั ซา้ ย ในทอ้ งทต่ี �ำ บลแสนตอ ตำ�บลนํ้าไคร้ ตำ�บลน้ําไผ่ อำ�เภอน้ําปาด ตำ�บลถ้ําฉลอง อำ�เภอเมืองอุตรดิตถ์ ตำ�บลผาเลือด
อ�ำ เภอท่าปลา และตำ�บลนา้ํ พ้ี ตำ�บลผกั ขวง ต�ำ บลบอ่ ทอง อำ�เภอทองแสงขัน จงั หวดั อุตรดติ ถ์ มพี ้นื ท่ปี ่าที่สมบูรณ์ มลี ำ�หว้ ยต่าง ๆ แล้ว
ยงั มจี ุดเด่นทางธรรมชาติทสี่ �ำ คัญ และสวยงาม คอื นํา้ ตกหว้ ยเนยี ม นํ้าตกกกมอนแก้ว ถํา้ จันทร์ ถํ้าเจดีย์ ถ้ําเสอื ดาว ถาํ้ ผาต้ัง เขาภเู มีย่ ง มี
เนอื้ ทป่ี ระมาณ 518.79 ตารางกโิ ลเมตร
250
สมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง ไดเ้ สด็จพระราชด�ำ เนนิ
มาทอดพระเนตรต้นมเหสกั ข์ เปน็ การส่วนพระองค์ เมือ่ วนั ท่ี 14 มกราคม 2541
ทรงพระกรณุ าปลกู ต้นสัก จ�ำ นวน 1 ตน้ ท้ังทรงพระราชเสาวนยี ์
“ใหช้ ว่ ยกันดูแลต้นมเหสกั ข์ (ต้นสกั ใหญ่) ตน้ น้ีใหม้ อี ายยุ ืนยาวตลอดไป”
251
ไปฟากทา-ภูดู
ไปปากนาย 117 ไปหว ยมนุ
อำเภอนำ้ ปาด บา นหว ยเดือ่ 1239
1339
อช.ลำนำ้ นาน 1331
ไปเข�อ่ นสิร�กติ ิ์
1146 1212
117 นำ้ ตกคลองตรอน
น้ำตกหว ยทราย
บา นตนขนนุ
ยอดภูเมยี่ ง
อุทตยทนา่ที สนำักแกหใหางรญชา ติ บา นหว ยคอม นำ้ ตกหว ยเนียม
บา นหวยเนียม
ไปอำเภอทองแสนขนั 117 บา นเพย�
ไปอำเภอทองแสนขัน 1214
252
นำ้�ตกคลองตรอน
ที่ต้ัง : หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ สญ.1 (ต้นขนุน) หมู่ 3 บ้านต้นขนุน ต.นํ้าไผ่ อ.นํ้าปาด
จ.อุตรดิตถ์
พิกัด : 47Q 0684814E 1947120N
การเขา้ ถงึ : จากตวั อ�ำ เภอนา้ํ ปาด ใชท้ างหลวงหมายเลข 1339 ไปทางหว้ ยมนุ่ ซง่ึ ทางจะขน้ึ เนนิ
คดโค้งไปมา ราว 10 กิโลเมตร จะเจอทางสามแยก (ซ้ายมือไปห้วยมุ่น มีป้ายบอกตรงปากทาง)
ตรงไปราว 8 กิโลเมตร ถึงบ้านต้นขนุน มีทางเลี้ยวลงไปหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ อีกราว 1
กิโลเมตร แล้วเดินเท้าไปตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 2 กิโลเมตร ถึงนํ้าตก
ลักษณะ : เป็นนํ้าตกหินทราย มีหลายชั้น ชั้นใหญ่ที่สูงเกิน 3 เมตร มี 3 ชั้น ไหลตกลงมา ทิ้งระยะ
ราว 10 - 20 เมตร หน้านํ้าตกไม่กว้าง อยู่ท่ามกลางร่มเงาของต้นไม้ที่อยู่รายรอบ
ธรณีนํ้าตกนี้เป็นหินทรายนํ้าตาลแดงเนื้อละเอียดถึงปานกลาง เป็นตะกอนกึ่งกลมมน และ
มีการคัดขนาดดี พบโครงสร้างการวางชั้นเฉียงระดับ (Cross bedding) และรอยแตกหลายทิศทาง
จัดอยู่ในหน่วยหินภูพาน กลุ่มหินโคราช อายุครีเทเชียส หรือประมาณ 145.5 - 99.6 ล้านปี
253
254
น�ำ้ ตกห้วยทราย
ที่ต้ัง : หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ สญ.1 (ต้นขนุน) หมู่ 8 บ้านปางขามป้อม ต.นํ้าไผ่ อ.นํ้าปาด จ.อุตรดิตถ์
พิกัด : 47Q 0685243E 1945670N
การเขา้ ถึง : หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ สญ.1 (ต้นขนุน) นี้เป็นจุดเริ่มเดินเท้าขึ้นเขาไปยอดภูเมี่ยง โดยใช้เส้นทางเดียวกับที่ไปนํ้าตก
คลองตรอน แต่ก่อนถึงนํ้าตกคลองตรอนราว 60 เมตร จะมีป้ายบอกทางขึ้นยอดภูเมี่ยงทางขวามือ ทางค่อนข้างชัน จะเป็นเนินต่อเนื่องกัน
3 เนิน โดยนํ้าตกอยู่เนินที่สาม (เดินเท้าขึ้นเขาอีก 8 กม.ถึงยอดภูเมี่ยง)
ลักษณะ : เป็นนํ้าตกหินทราย ที่มีชั้นนํ้าตกราว 3 - 4 ชั้นมีทั้งที่ตกต่อเนื่องและทิ้งระยะแต่ไม่ห่างกันมากชั้นสูงสุดสูงราว 10 เมตร
255