The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สอนเสวนาสู่การเรียนรู้เชิงรุก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chtsan6, 2022-01-06 11:47:03

สอนเสวนาสู่การเรียนรู้เชิงรุก

สอนเสวนาสู่การเรียนรู้เชิงรุก

Keywords: การเรียนรู้เชิงรุก

ร่่วมกัันหาคำ�ำ ตอบว่่า ในตอนนี้้�การถามตรงตาม “หลัักการพููดที่่�ดีี ๖ ประการ
สำำ�หรัับการสอนแนวสานเสวนา” เพีียงใด การพููดขยายความไม่่เพีียงนำำ�ไปสู่�่
การแลกเปลี่่�ยนเพิ่่�มขึ้น� แต่่มีีการคิิดเพิ่่�มขึ้น� ด้้วยหรืือไม่่ แยกแยะระหว่่างการขยาย
ความเชื่่�อมโยงสาระวิชิ า กัับการเชื่่อ� มโยงความคิดิ
วงรอบที่�่ ๗ การอภิิปราย
วงรอบนี้้เ� ป็น็ การทำำ�ความเข้้าใจคุณุ ภาพของการอภิปิ รายในห้้องเรียี น และหาทาง
ยกระดับั คุณุ ภาพ กรอบแนวทางปฏิิบัตั ิดิ ้้านการอภิปิ รายครอบคลุมุ ทั้้ง� การอภิปิ ราย
ของนัักเรีียนและของครูู ในด้้านการจััดระบบ ตั้้�งคำำ�ถาม และขยายความ โดยต้้อง
เอาใจใส่่วัฒั นธรรมและแนวปฏิบิ ัตั ิทิั่่ว� ไปของการพููด ที่่พ� ัฒั นาโดยวงรอบที่่� ๑ เป็น็ ต้้นมา
ประเด็็นเชิิงทฤษฎีีอยู่�่ในบัันทึึกที่่� ๑๑ การทบทวนและวางแผนเริ่�มจากครููเลืือก
๒ ช่่วงในวีีดิิทััศน์์ที่่�บัันทึึกไว้้ก่่อนหน้้านี้้� ช่่วงหนึ่่�งเป็็นการอภิิปรายทั้้�งชั้้�นหรืือ
ในกลุ่่ม� ย่่อยนำำ�โดยครูู อีีกช่่วงหนึ่่�งเป็น็ การประชุุมกลุ่่ม� ย่่อยนำ�ำ โดยนักั เรีียน
ครููและครููพี่่�เลี้้�ยงร่่วมกัันอภิิปรายบัันทึึกที่่� ๑๑ (กรอบปฏิิบััติิที่่� ๗) เน้้นที่่�ข้้อ
พึึงปฏิิบััติิที่่�ตกลงกััน เช่่น ผลััดกัันพููด ให้้เกีียรติิต่่อการพููดและข้้อคิิดเห็็นของผู้�้อื่�่น
(กรอบฯ ที่่� ๑) การจัดั ที่่น�ั่่ง� และจัดั กลุ่่ม� นักั เรียี น (กรอบฯ ที่่� ๒) รวมทั้้ง� ทบทวนรููปแบบ
การพููดและการขัับเคลื่่�อนการเสวนา (กรอบฯ ที่่� ๓ - ๖) รวมทั้้�งเอาใจใส่่ปััญหา
การแสดงความเห็็นเชิิงสิิทธิิทางสัังคมและตััวตนของนัักเรีียน (student voice)
หากกิิจกรรมในวงรอบก่่อนๆ ได้้ผลดีี จะเห็็นสภาพที่่�นัักเรีียนรัับฟัังซึ่่�งกัันและกััน
และสนัับสนุุนกัันให้้หาคำ�ำ พููดมาแสดงออกความคิิดของตน รวมทั้้�งนัักเรีียนและครูู
มีกี ารถามคำำ�ถาม (วงรอบที่่� ๕) และดำ�ำ เนิินการพููดขยายความ (วงรอบที่่� ๖)
ครููและครููพี่่�เลี้้�ยงร่่วมกัันทบทวนวีีดิิทััศน์์ ๒ ช่่วงที่่�เลืือกไว้้ และประเมิินว่่ามีี
ความก้้าวหน้้าตามกรอบแนวปฏิิบััติิที่่� ๗ เพีียงไร และร่่วมกัันวางแผนพััฒนา
การจัดั การเรียี นต่อ่ เนื่อ�่ งจากวงรอบที่่� ๕ และ ๖ เพื่อ�่ ยกระดับั คุณุ ภาพของการถาม
เพื่่�อขัับเคลื่่�อนสู่่�การขยายความ ที่่�สำ�ำ คััญคืือ เน้้นให้้ครููมีีความสามารถเปลี่่�ยนแนว
การเสวนาจากปฏิิสััมพัันธ์์ครูู-นัักเรีียน ไปเป็็นนัักเรีียน-นัักเรีียน ในการประเมิิน

• 200 •

วีดี ิทิ ัศั น์ท์ ี่่น� ักั เรียี นเป็น็ ผู้น�้ ำ�ำ การอภิปิ ราย ให้้ประเมินิ ตามเงื่อ�่ นไขสำำ�หรับั การอภิปิ ราย
ที่่�นัักเรีียนเป็็นผู้�้ดำำ�เนิินการ ในบัันทึึกที่่� ๑๑ แล้้ววางแผนบทเรีียนที่่� (๑) ครููดููแล
ให้้เกิดิ การอภิปิ รายของนักั เรียี นทั้้ง� ชั้้น� อย่่างมีคี ุณุ ภาพสููง (๒) มีชี ่่วงที่่ม� ีกี ารอภิปิ ราย
กลุ่่�มย่่อยที่่�นักั เรีียนเป็น็ ผู้น้� ำำ�การอภิิปราย
ครููนำ�ำ แผนที่่ว� างไว้้ไปดำำ�เนินิ การสอน
ครููหรืือครููพี่่�เลี้้�ยงถ่่ายวีีดิิทัศั น์์ของการอภิิปรายทั้้�งชั้้น� และของการอภิิปรายกลุ่่�ม
ในการถ่่ายวีดี ิทิ ัศั น์ข์ องการอภิปิ รายกลุ่่ม� แนะนำำ�ให้้วางเครื่อ�่ งบันั ทึกึ เสียี งไว้้กลางวง
เพื่�่อจะบัันทึึกเสีียงนัักเรีียนชััดเจน วางกล้้องวีีดิิทััศน์์บนสามขาไว้้ห่่างๆ เพื่่�อบัันทึึก
ท่่าทางของสมาชิกิ กลุ่่�ม เอาไว้้ดููอวััจนภาษา บันั ทึกึ การอภิิปรายกลุ่่ม� ของกลุ่่ม� อื่�่นไว้้
เปรีียบเทียี บด้้วย
ครููและครููพี่่�เลี้้�ยงร่่วมกัันประเมิินความก้้าวหน้้าของการอภิิปรายตามหลัักการ
เปรีียบเทีียบคุุณภาพของการอภิิปรายกลุ่่ม� ย่่อย ตรงไหนทำ�ำ ได้้ดีี ตรงไหนทำ�ำ ได้้ไม่่ดีี
ในส่่วนที่่ท� ำ�ำ ได้้ไม่่ดีสี าเหตุมุ าจากอะไร เกิดิ จากครููวางแผนไม่่ดีี หรืือมาจากปฏิสิ ัมั พันั ธ์์
กลุ่่�มของนัักเรีียนเอง หรืือทั้้ง� สองปััจจััย หรืือจากปััจจัยั อื่น�่
ประเมินิ ว่่าการอภิปิ รายก้้าวหน้้าไปแค่่ไหนตามหลักั การพููดในห้้องเรียี น ๖ แบบ
ในบัันทึึกที่่� ๔ คืือ (๑) สะท้้อนความเป็็นทีีมเดีียวกััน (๒) สะท้้อนความเกื้้�อหนุุน
(๓) ต่า่ งตอบแทน (๔) อภิปิ รายตรวจสอบข้้อเท็จ็ จริงิ ร่่วมกันั (๕) สั่่ง� สม (๖) มีเี ป้า้ หมาย
มีีการพููดระดับั ๔ - ๖ หรืือไม่่
ครููและนัักเรีียนร่่วมกัันดููวีีดิิทััศน์์ของการประชุุมกลุ่่�มที่่�นัักเรีียนเป็็นผู้�้นำ�ำ
การอภิิปราย ให้้นักั เรีียนช่่วยกันั บอกว่่ามีีตรงไหนบ้้างที่่ค� วรปรับั ปรุุง
วงรอบที่�่ ๘ การโต้แ้ ย้ง้
ประเด็็นเชิิงทฤษฎีีอยู่่�ในบัันทึึกที่่� ๑๒ วงรอบนี้้�เป็็นการฝึึกการพููดของนัักเรีียน
ก้้าวหน้้าไปจากตอนก่่อนๆ อีกี ขั้�นหนึ่่ง� คืือ ไปสู่ก�่ ารโต้้แย้้งกันั

• 201 •

ครููดููวีีดิิทััศน์์จากวงรอบที่่� ๗ หรืือวงรอบก่่อนหน้้านั้้�น เลืือกตอนที่่�นัักเรีียน
อภิิปรายกัันแบบตรวจสอบข้้อเท็็จจริิงร่่วมกััน (deliberative) หรืือนัักเรีียนเสนอ
ข้้อคิดิ เห็น็ และปกป้้องข้้อเสนอนั้้น� เก็บ็ ไว้้ใช้้
ครููและครููพี่่เ� ลี้้ย� งร่่วมกันั อภิปิ รายบันั ทึกึ ที่่� ๑๒ ร่่วมกันั ทำ�ำ ความเข้้าใจว่่าการสอน
การโต้้แย้้งเป็็นการสร้้างพลวััตในห้้องเรีียนแบบจำำ�เพาะ การอภิิปรายแบบจำำ�เพาะ
ไปพร้้อมๆ กันั กับั ฝึกึ นักั เรียี นให้้คิดิ ในรููปแบบที่่จ� ำำ�เพาะ โดยพึงึ ตระหนักั ว่่า วงรอบนี้้�
ไปไกลกว่่าการโต้้แย้้งกัันทางวาจา คืือนัักเรีียนจะได้้เรีียนรู้้�ทั้้�งภาคทฤษฎีี และ
ภาคปฏิิบััติิของการโต้้แย้้ง ในทางทฤษฎีีจะได้้เรีียนรู้้�หลัักการและความหมายของ
การโต้้แย้้ง
ครููสร้้างรููปแบบกระบวนการในชั้้�นเรีียน ให้้นัักเรียี นคุ้้�นกับั “วัฒั นธรรมโต้้แย้้ง”
โดยไม่่ต้้องเอ่่ยคำำ�ว่่าโต้้แย้้งก็ไ็ ด้้ คืือให้้นักั เรียี นคุ้้น� เคยกับั การใช้้จนเคยชินิ กระบวนการ
นั้้�นคืือ การตั้้�งคำำ�ถาม (questioning) ตามด้้วยการขยายความ (extension)
และการอภิิปราย (discussion) แต่่ในนัักเรีียนชั้้�นโต ควรให้้เข้้าใจทฤษฎีีและศััพท์์
ของการโต้้แย้้ง ๖ ระดับั คืือ (๑) ยื่น่� ข้้อเสนอ (๒) เสนอตัวั อย่่าง (๓) เล่่าเรื่อ่� งราวสู่่�
ข้้อสรุปุ พร้้อมเหตุผุ ล (๔) โต้้วาทีรี ะหว่่างสองฝ่า่ ยที่่ม� องประเด็น็ ต่า่ งกันั (๕) โต้้แย้้ง
(dispute) (๖) ทะเลาะ (quarrel) ตามในบันั ทึึกที่่� ๒
ควรวางแผนการสอนโดยใช้้การโต้้แย้้งในทุุกรายวิิชาหรืือโมดุุลในหลัักสููตร
โดยคิดิ ไว้้ล่่วงหน้้าว่่าจะใช้้อะไรเป็น็ ตัวั จุดุ ชนวนการโต้้แย้้ง ใช้้เอกสาร/ หนังั สืือ โจทย์์
ของครูู หรืือกิิจกรรมภาคปฏิบิ ััติิ
ครููสอนบทเรีียนตามแนวทางข้้างบน โดยสอดใส่่ขั้้�นตอนของการโต้้แย้้งอย่่าง
เหมาะสม ตามในบัันทึึกที่่� ๑๒ เช่่น ขั้้�นเปิิดฉาก - ขั้้�นโต้้แย้้ง - ขั้้�นปิิดฉาก
ยื่�่นข้้อเสนอ - ให้้เหตุุผล - ให้้ข้้อมููลหลัักฐาน - พููดท้้าทายข้้อมููลหลัักฐาน -
พููดโต้้คำ�ำ ท้้าทาย
ครููหรืือครููพี่่�เลี้้�ยงบัันทึึกวีีดิิทััศน์์อย่่างน้้อย ๒ บทเรีียนที่่�แตกต่่างกัันในเนื้้�อหา
หรืือเป้้าหมายการเรียี นรู้้� (attitude, skills, knowledge)

• 202 •

ครููและครููพี่่เ� ลี้้ย� งร่่วมกัันดููบางตอนในวีีดิิทััศน์จ์ ากการถ่่ายทำ�ำ ๓ ครั้�ง ในวงรอบ
ที่่� ๗ และ ๘ เพื่่�อดููความก้้าวหน้้าของการพููดโต้้แย้้งตามหลัักการในบัันทึึกที่่� ๑๒
และตามเป้า้ หมายการเรีียนรู้้ใ� นหลัักสููตร
ครููและนัักเรีียนร่่วมกัันดููคลิิปวีีดิิทััศน์์และอภิิปรายกัันเพื่่�อเรีียนรู้้�การพููดโต้้แย้้ง
ในการร่่วมกัันสะท้้อนคิิดทั้้�งในระหว่่างครููกัับครููพี่่�เลี้้�ยง และระหว่่างครููกัับ
นัักเรีียน พึึงเอาใจใส่่ทั้้�งกระบวนการและสาระของการโต้้แย้้ง เกิิดการพััฒนา
ทั้้ง� ด้้านการพููดและด้้านปฏิสิ ัมั พันั ธ์ร์ ะหว่่างกันั ที่่จ� ะมีสี ่่วนทำำ�ให้้การโต้้แย้้งก่่อผลลัพั ธ์์
สููงหรืือไม่่
กระบวนการโต้้แย้้งพัฒั นาขึ้น� หรืือไม่่ นักั เรียี นและครููคล่่องขึ้น� ในการเริ่ม� ประเด็น็
ตรวจสอบคำำ�ถามที่่�ซัับซ้้อน และตรวจสอบข้้อมููลหลัักฐานในหลากหลายรููปแบบ
เก่่งขึ้ �นหรืือไม่่
กิจิ กรรมทบทวนใหญ่ต่ อนสิ้น�้ เทอม
ครููและครููพี่่�เลี้้�ยงร่่วมกัันตรวจสอบว่่า (๑) บัันทึึกวีีดิิทััศน์์ได้้รัับการจััดเก็็บและ
ติดิ ป้า้ ยชื่อ�่ อย่่างถููกต้้อง มีกี ารทำำ�ดัชั นีตี อนที่่ส� ำ�ำ คัญั เอาไว้้ใช้้งานภายหลังั (๒) มีบี ันั ทึกึ
ข้้อมููลการวางแผนและเป้า้ หมาย การตรวจสอบผล และข้้อเสนอแนะให้้ปรับั ปรุงุ ของ
วงรอบที่่� ๑ - ๘ แต่ล่ ะวงรอบ และจัดั เก็บ็ ไว้้ในที่่เ� ก็บ็ เอกสารของโครงการอย่่างเป็น็
ระบบ (๓) กำ�ำ หนดวิิธีปี ฏิิบััติิที่่ด� ีี ๑ - ๒ รายการ ในรููปของเรื่่�องเล่่า หรืือเป็็นคลิิป
วีีดิิทััศน์์ หรืือคลิิปเสีียงก็็ได้้ โดยอาจแนบปััญหาหรืือคำำ�ถามเป็็นข้้อสัังเกตด้้วยก็็ได้้
ในช่่วงการทบทวนนี้้� ให้้เอาใจใส่่การพููดเชิิงแสดงตััวตนหรืือเชิิงสัังคม (voice)
ความเท่่าเทีียม (equity) และการยอมรัับซึ่่�งกัันและกััน (inclusion) ของนัักเรีียน
ตรวจสอบว่่านัักเรีียนคนไหนพููดมากที่่�สุุดและน้้อยที่่�สุุด เพราะอะไร นัักเรีียนจาก
ครอบครััวที่่�ภาษาที่่�โรงเรีียนกัับภาษาที่่�บ้้านไม่่เหมืือนกััน หรืือนัักเรีียนที่่�ต้้องการ
ความช่่วยเหลืือพิิเศษด้้านการเรีียนรู้้� หรืือนัักเรีียนที่่�ต้้องการความช่่วยเหลืือพิิเศษ
ด้้านภาษาและการพููด มีีพัฒั นาการด้้านการพููดในห้้องเรียี นอย่่างไร ความก้้าวหน้้า
ด้้านการพููดในห้้องเรียี นมีคี วามแตกต่า่ งด้้านเพศ และด้้านเศรษฐฐานะของนักั เรียี น
หรืือไม่่

• 203 •

ครููทุุกคนและครููพี่่�เลี้้�ยงประชุุมพร้้อมกัันเพื่�่อแลกเปลี่่�ยนความสำำ�เร็็จ โดยอาจ
เสนอคลิิปประกอบ ร่่วมกัันทบทวนความสำ�ำ เร็็จและความก้้าวหน้้า รวมทั้้�งปััญหา
และแนวทางแก้้ปััญหา รวมทั้้�งช่่วยกัันคิิดว่่าทำำ�อย่่างไร จึึงจะทำำ�ให้้การสอนแนว
สานเสวนาจะกลายเป็น็ แนวปฏิบิ ัตั ิใิ นชั้้น� เรียี นทั่่ว� ไป รวมทั้้ง� ในการคิดิ ในชีวี ิติ ประจำ�ำ วันั
ทำำ�อย่่างไรนัักเรีียนจึึงจะพััฒนาตนเองได้้ต่่อเนื่�่องในเรื่�่องการพููดเพื่�่อเรีียนรู้้� แสดง
เหตุุผล และทำ�ำ ให้้ชีวี ิติ ดีขีึ้น�
เป้้าหมายสุุดท้้ายคืือห้้องเรีียนที่่�การพููดมีีลัักษณะเป็็นธรรม เท่่าเทีียม และให้้
ผลดีตี ่่อการเรียี นรู้้�
จะเห็็นว่่ากิิจกรรมที่่�เสนอนี้้� เน้้นเฉพาะที่่�การพููด หรืือการจััดชั้้�นเรีียนแบบ
สานเสวนา หากโรงเรีียนใดนำำ�ไปประยุุกต์์โดยให้้เป็็นกิิจกรรมผสม นำ�ำ เอาเรื่�่อง
การเรีียนรู้้�สาระวิิชาเข้้ามาบููรณาการด้้วย ก็็น่่าจะเกิิดความรู้ �ความเข้้าใจวิิธีีเรีียน
สาระวิชิ าผ่่านการสอนแนวสานเสวนา สามารถทำ�ำ วิจิ ัยั โดยตั้้ง� โจทย์ไ์ ด้้หลากหลายมาก
ขอย้ำ��ำ ว่่าครููและโรงเรีียนไทยที่่น� ำำ�แนวทางในบันั ทึกึ ชุุดนี้้ไ� ปใช้้ สามารถปรัับใช้้ได้้
อย่่างไม่่มีีขีีดจำำ�กััด ไม่่จำำ�เป็็นต้้องมีี ๘ วงรอบ จะมากหรืือน้้อยกว่่านี้้�ก็็ได้้ และ
เป้้าหมายของแต่่ละวงรอบก็็สามารถปรัับตามสภาพของนัักเรีียน และกระบวนการ
เหล่่านี้้�ตั้้�งโจทย์ว์ ิจิ ััยชั้้�นเรีียนได้้เป็็นร้้อยเป็็นพัันโจทย์์

• 204 •

จากเวทีีสานเสวนาเพื่่�อพััฒนาครูู สู่�แผนการจััดการเรีียนรู้้�ในหน่่วยวิิจััยพาเพลิิน

เรื่อ�่ งราวทั้้ง� หมดเริ่ม� จากในช่่วงสัปั ดาห์ท์ ี่่� ๕ ของภาคเรียี นวิริ ิยิ ะ คุณุ ครููหนึ่่ง� - ศรัณั ธร
แก้้วคููณ หัวั หน้้า ช่่วงชั้้น� ที่่� ๑ โรงเรียี นเพลินิ พัฒั นา และคุณุ ครููสุุ - สุภุ าพร กฤตยากรนุพุ งศ์์
หัวั หน้้าพัฒั นาหน่่วยวิชิ าคณิติ ศาสตร์์ ได้้ชวนคุณุ ครููโอ่่ง - นฤนาท สนลอย ผู้ช้� ่่วยหัวั หน้้า
ช่่วงชั้้�นที่่� ๑ เข้้าร่่วมเวทีีสานเสวนาเพื่่�อการพััฒนาครูู ครั้�งที่่� ๑ ในวัันพฤหััสบดีีที่่� ๙
กันั ยายน ๒๕๖๔

กิิจกรรมที่่�จััดขึ้้�นในครั้�งนั้้�นทำำ�ให้้ครููโอ่่งได้้เรีียนรู้้�การจััดการเรีียนการสอนของครูู
ในหลายโรงเรียี นที่่น� ่่าสนใจ ทั้้ง� จากห้้องของคุณุ ครููกานต์์ - บัวั สวรรค์ ์ บุญุ มาวงษา ในระดับั
ชั้้�นประถมปีีที่่� ๔ โรงเรีียนเพลิินพััฒนา ที่่�นำ�ำ เสนอเป็็นรายการแรกด้้วยคลิิปวีีดิิทััศน์์
ของแผน “สวนสัตั ว์อ์ ักั ษร ๓ หมู่่”� ที่่�ทำำ�ให้้เห็็นภาพห้้องเรียี นที่่�มีบี รรยากาศที่่ด� ีี ในการ
เรีียนรู้้� ทั้้�งครููและนัักเรีียนมีีความสุุขและความผ่่อนคลายพร้้อมเรีียนรู้้� ซึ่่�งผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ
ในเวที ี คืือ คุณุ ครููปาด - ศีลี วัตั ศุษุ ิลิ วรณ์์ ได้้ชี้้ใ� ห้้เห็น็ จุดุ ที่่ด� ีขี องห้้องเรียี นนี้้ค� ืือ การสร้้าง
ให้้เด็ก็ เกาะติดิ กับั การเรียี นรู้้� และเห็น็ วิธิ ีกี ารใช้้คำำ�ถามที่่เ� ป็น็ ลักั ษณะของคำ�ำ ถามประเภท
what ที่่จ� ะนำ�ำ พาไปสู่่ค� ำำ�ถามประเภท why หรืือ why not ได้้ในโอกาสต่่อไป

• 205 •

ลำ�ำ ดับั ถัดั มาเป็น็ ห้้องเรียี นของครููกิ๊๊ฟ� - จิติ ตินิ ันั ท์์ มากผล ที่่น� ำำ�เสนอคลิปิ วีดี ิทิ ัศั น์ข์ อง
แผน “ลายไทย ลายน้ำำ��” ในระดับั ชั้้น� ประถมปีทีี่่� ๒ โรงเรียี นเพลินิ พัฒั นา ที่่จ� ุดุ เด่่นยังั อยู่ท�่ี่่�
บรรยากาศของห้้องเรีียนที่่�ผ่่อนคลายเช่่นเดิิม ส่่วนตััวครููผู้�้สอนนั้้�นมีีลัักษณะท่่าทีีของ
ครููที่่�สอนเด็็กในระดัับประถมต้้น ครููมีีการพููดสะท้้อนเพื่่�อทบทวนความคิิดของนัักเรีียน
เพื่�่อนำ�ำ ไปสู่�่การเปิิดความคิิดของนัักเรีียนในประเด็็นของคุุณค่่า ความดีี ความงามหรืือ
ประสบการณ์ใ์ นชีวี ิติ ของนักั เรียี นอย่่างต่อ่ เนื่อ่� ง ซึ่่ง� คุณุ ครููปาดก็ไ็ ด้้ให้้ประเด็น็ คิดิ ต่อ่ ยอด
ที่่�น่่าสนใจคืือ การขัับเคลื่่�อนห้้องเรีียนด้้วยการสนทนาหรืือ dialogue นี้้�เมื่่�อเด็็กเกิิด
การเกาะติดิ กัับการเรีียนรู้้�แล้้ว บทบาทของครููในฐานะของผู้�พ้ ููดเพื่อ�่ สอนจะน้้อยลงไปได้้
อย่่างไร รวมถึึงพาเชื่่�อมโยงกัับหลัักการในหนัังสืือ ในเรื่่�องของการ feed forward คืือ
การขยายความในเรื่อ่� งที่่พ� ููดนั้้น� ออกไปสู่่�การอภิิปรายอย่่างกว้้างขวางอีีกด้้วย
ห้้องเรีียนต่่อไปคืือห้้องเรีียนของนัักเรีียน ระดัับชั้้�นประถมปีีที่่� ๕ โรงเรีียนเพลิิน
พััฒนา ของคุุณครููกิ๊๊�ก - นิินฤนาท นาคบุุญช่่วย ในแผนการเรีียนรู้้� “ขาว ข่่าว ข้้าว”
ซึ่่�งเป็็นการเรีียนรู้้�จากข่่าวปลาแลกข้้าวสาร ที่่�จัดั ให้้กับั เด็ก็ ในวัยั ที่่�เริ่�มมีคี วามคิิดเป็็นเหตุุ
เป็็นผลมากขึ้ �น เชี่่�อมโยงได้้มากขึ้ �น และเป็็นแผนที่่�มีีการสร้้างคำำ�ถามที่่�ดีีเพื่่�อสร้้าง
การเรีียนรู้้�ให้้กัับนัักเรีียนให้้คิิดได้้ทั้้�งลึึกและกว้้างมากขึ้ �น ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ คืือ คุุณสมพล
ชััยศิิริิโรจน์์ ได้้กล่่าวถึึงคุุณภาพของการสนทนาของชั้้�นเรีียนนี้้�ว่่าสามารถดึึงให้้คนที่่�ชม
วีีดิิทััศน์์รู้ �สึึกเหมืือนได้้เข้้าไปนั่่�งสนทนาอยู่�่ในห้้องเดีียวกัันได้้ เป็็นการสะท้้อนให้้เห็็นถึึง
ภาวะภายในของครููที่่ม� ีคี วามรู้ส� ึกึ อยากรู้อ� ยากเห็น็ ในความรู้ส� ึกึ นึกึ คิดิ ของเด็ก็ ซึ่่ง� เป็น็ สิ่่ง� ที่่�
คุุณสมพลคิิดว่่าเป็็นการสนทนาที่่�จริิง (real) จนเหนี่่�ยวนำำ�ให้้คนที่่�นั่่�งสัังเกตอยู่�่อยากที่่�
จะฟัังและอยากที่่�จะตอบคำ�ำ ถามที่่�ครููถามเด็็กๆ ในชั้้�นเรีียน และจุุดนี้้�เองที่่�ความอยากรู้�
อยากเห็น็ ของครููจะเป็น็ พลังั ให้้กับั การเรียี นรู้้ข� องเด็ก็ ได้้ และท่่านอาจารย์ว์ ิจิ ารณ์์ พานิชิ
ก็ไ็ ด้้เสริมิ ว่่าบรรยากาศในการสนทนาที่่ม� ีพี ลังั จะมีลี ักั ษณะของความจริงิ ใจและปลอดภัยั
ที่่�จะอยู่่�ในความต่่างได้้ ซึ่่�งวงสุุนทรีียสนทนาที่่�มีีความรู้ �สึึกถึึงความจริิงใจนี้้� ทำำ�ให้้
วงสุุนทรีียสนทนามีพี ลังั
ห้้องเรียี นถัดั ไปคืือห้้องเรียี นโครงงาน “ภููมิธิ รรม ภููมิไิ ทย รามเกียี รติ์์”� ของคุณุ ครููกลอย -
เกศรััตน์์ มาศรีี โรงเรีียนรุ่่�งอรุุณ ห้้องเรีียนนี้้�เป็็นห้้องเรีียนของนัักเรีียนชั้้�นประถม
ปีทีี่่� ๖ ที่่ม� ีบี รรยากาศแตกต่า่ งออกไปจากห้้องเรียี น ๓ ห้้องแรก ที่่ค� ุณุ สมพลตั้้ง� ข้้อสังั เกตว่่า
ห้้องเรียี นนี้้เ� ป็น็ ห้้องเรียี นที่่ค� รููมีเี ป้า้ หมายในการก่่อให้้เกิดิ ผลผลิติ ของงาน และเป็น็ พื้้น� ที่่�
ปลอดภััยให้้นัักเรีียนได้้ทำำ�งานอย่่างมีีประสิิทธิิผล ที่่�ทางทีีมมููลนิิธิิสยามกััมมาจลนำ�ำ ไป
ต่่อยอดว่่าครููจะทำำ�การสอนเสวนาในลัักษณะไหน จึึงจะช่่วยให้้ผู้้�เรีียนสามารถอยู่่�กัับ
การเรียี นรู้้แ� ละการทำ�ำ งาน ในขณะเดีียวกันั ก็เ็ กิิดความรู้ส� ึกึ ที่่�ผ่่อนคลายไปด้้วย”

• 206 •

ห้้องเรีียนสุุดท้้ายของเวทีีสานเสวนา ครั้�งที่่� ๑ คืือ ห้้องเรีียนภาษาไทยในหน่่วย
“กาพย์ย์ านีพี าเพลินิ ” ของคุณุ ครููแนนนี่่� - กนกวรรณ แหวนเพ็ช็ ร์์ โรงเรียี นบ้้านปลาดาว
ที่่ค� รููแนนนี่่ไ� ด้้สะท้้อนภาพให้้เห็น็ ว่่า นักั เรียี นเริ่ม� มีพี ัฒั นาการในการพููดคุยุ แลกเปลี่่ย� นกันั
มากขึ้�นหลัังจากที่่�ครููนำ�ำ การสอนเสวนาเข้้ามาในชั้้�นเรีียน และเนื่�่องจากเป็็นเด็็กในกลุ่่�ม
ชาติิพัันธุ์์�จึึงทำำ�ให้้ห่่างไกลจากเรื่่�องของการแต่่งกาพย์์ยานีี ผู้�้ทรงคุุณวุุฒิิได้้เสนอจุุดเน้้น
ของการทำ�ำ แผนภาษาไทยให้้ครููแนนนี่่ � ทั้้ง� เรื่อ�่ งของการใช้้เสียี งเพื่อ�่ เรียี นเรื่อ่� งกาพย์ก์ ลอน
จากท่่วงทำำ�นองเพลงชาติิพัันธุ์์�แต่่ละกลุ่่�ม เรีียนรู้้�ท่่วงทำำ�นองเพลงของคนในแต่่ละพื้้�นที่่�
รวมถึึงการสร้้างแผนการเรีียนรู้้�ที่่�มีีการเชื่่�อมโยงอย่่างเป็็นลำำ�ดัับเพื่่�อเป็็น scaffolding
ให้้กับั นักั เรียี นในการเรีียนรู้้�
จากการได้้เข้้าร่่วมชมคลิิปการสอนและรัับฟัังการสะท้้อนของผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิในวัันนั้้�น
ทำ�ำ ให้้ครููโอ่่งตั้้�งข้้อสัังเกตกัับตััวเองว่่า ปััจจุุบัันในการจััดการเรีียนการสอนเราก็็ใช้้
กระบวนการตั้้ง� คำำ�ถามเป็น็ หลักั ในการขับั เคลื่อ่� น การเรียี นรู้้ใ� ช้้กระบวนการสุนุ ทรียี สนทนา
รวมถึงึ เลืือกสื่อ�่ กิจิ กรรม ตั้้ง� โจทย์ใ์ นห้้องเรียี นเพื่อ่� ให้้เกิดิ การเรียี นเชิงิ รุกุ (active learning)
อยู่แ�่ ล้้ว แล้้วสิ่่ง� ที่่เ� ราสอนนั้้น� เหมืือนหรืือแตกต่า่ งจากการสอนเสวนาในบันั ทึกึ ของอาจารย์์
อย่่างไร คำำ�ถามนี้้�จึึงเป็็นคำ�ำ ถามจุุดประกายในวัันเริ่�มต้้น ทำำ�ให้้สนใจอยากอ่่านบัันทึึก
ของอาจารย์์เพื่่�อที่่�จะตอบตััวเองให้้ได้้ว่่าสิ่่�งที่่�เรากำำ�ลัังทำำ�อยู่�่นี้้�เหมืือนหรืือแตกต่่างกัับ
สิ่่ง� ที่่�บอกไว้้ในบัันทึึกอย่่างไร
นัับจากวัันนั้้�นเป็็นต้้นมา ครููโอ่่งได้้อ่่านและเลืือกสิ่่�งที่่�คิิดว่่าน่่าจะเป็็นประเด็็นในการ
เรีียนรู้้�เพิ่่�มให้้กัับการสร้้างแผนการสอนในหน่่วยวิิชาที่่�ดููแลอยู่�่คืือ หน่่วยวิิชาโครงงาน
วิิจััยประจำ�ำ ภาคเรีียน เมื่่�อศึึกษาความรู้�ในหนัังสืือแล้้วมีีหลายประเด็็นที่่�น่่าสนใจและ
พอที่่�จะตอบข้้อสงสััยได้้บ้้าง คืือ แนวทางในหนัังสืือจะทำำ�ให้้การออกแบบคำ�ำ ถาม
ในแผนการสอนรวมถึงึ การสนทนาในห้้องเรียี นของนักั เรียี นกับั ครูู หรืือระหว่่างนักั เรียี น
กัับนักั เรียี นให้้มีีเป้้าหมายที่่�คมชัดั มากขึ้�น
ดังั นั้้�น ประเด็น็ ที่่เ� ลืือกจะชวนครููน้้องๆ ในหน่่วยวิชิ าโครงการประจำ�ำ ภาคเรียี นศึกึ ษา
และทดลองนำ�ำ ไปทำำ�จะเป็็นประเด็็นของ
๑. การตั้้�งหมุุดหมายในการขัับเคลื่่�อนของความรู้�อย่่างเป็็นลำำ�ดัับ เพื่่�อเป็็นการสร้้าง

scaffolding ของการสร้้างสมรรถนะวิิจัยั ให้้กับั นักั เรียี น
๒. จังั หวะที่่ส� ามที่่เ� ป็น็ การปรับั กระบวนการ IRF (Initiation - Response - Feedback)

โดยเปลี่่ย� นตัวั F จาก feedback เป็็น feed forward

• 207 •

๓. เป้้าหมายของการตั้้�งคำ�ำ ถามเพื่่�อให้้ครููกำำ�หนดทิิศทางของคำ�ำ ถามที่่�จะใช้้ในแผน
การสอน โดยมีีหลัักการสำ�ำ คััญที่่�จะเลืือกไปใช้้คืือ คำำ�พููดใน “จัังหวะที่่�สาม” นี้้�
อาจมีีลัักษณะต่่างกัันได้้ ๒ แบบ คืือ (๑) เป็็นถ้้อยคำ�ำ เชิิงเอื้�อให้้เกิิดการคิิด
ต่อ่ เนื่อ�่ ง สู่ก่� ารทำำ�ความเข้้าใจวิธิ ีคี ิดิ และวิธิ ีเี รียี นของตนเอง (facilitative feedback)
(๒) เป็็นถ้้อยคำำ�ที่่�บอกว่่าคำ�ำ ตอบถููกหรืือไม่่ และควรทำ�ำ อะไรต่่อไป (directive
feedback)



เมื่อ�่ เลืือกประเด็น็ ได้้แล้้ว ครููโอ่่งจึงึ ทดลองทำ�ำ ตารางขอบเขตในการสอนเพื่อ่� จะกำ�ำ หนด
เป้า้ หมายในการเรียี นรู้้โ� ครงงานวิจิ ัยั ประจำ�ำ ภาคเรียี นตั้้ง� แต่่ สัปั ดาห์ท์ ี่่� ๗ - ๙ เพื่อ่� เตรียี ม
ไว้้เป็็นโครงสร้้างเพื่�่อสร้้างแผนการสอนร่่วมกัับคุุณครููในทีีมบููรณาการระดัับชั้้�นประถม
ปีีที่่� ๒ ดัังนี้้�

• 208 •

การทำ�ำ งานในแต่ล่ ะสััปดาห์์ของระดัับชั้้�นประถมปีที ี่่� ๒
เป้า้ หมายของชิ้้น� งานในวันั ชื่น่� ใจ ………………………………………………………….

เปา้ หมาย รปู แบบของจังหวะท่สี าม ค�ำ ถามท่ีใช้
ส.ท่ี ครั้งท่ี การเรยี นรู้ (feed forward)

แต่ละครั้ง

- ทำ�ำ ให้้เกิิดการคิดิ ต่อ่ เนื่�่อง ๑. ตั้้�งประเด็็นหรืือตั้้�งคำ�ำ ถาม
สู่�่การทำำ�ความเข้้าใจวิธิ ีคี ิิด ๒. การตอบสนอง
และวิธิ ีีเรียี นของตนเอง ๓. ขยายความ/ ถกเถีียง/
(facilitative feedback) พููดใหม่่/ ใช้้ถ้้อยคำำ�ใหม่่/
- บอกว่่าคำำ�ตอบถููกหรืือไม่่ ท้้าทาย/ สังั เคราะห์ใ์ หม่่/
ควรทำ�ำ อะไรต่่อไป ทำ�ำ ความชััดเจน/ สรุปุ /
(directive feedback) ทำ�ำ นาย







๘ ๔








ในวัันอัังคารที่่� ๒๐ กัันยายน ๒๕๖๔ เป็็นวัันนััดหมายการสร้้างแผนวิิจััยของทีีม
ครููโอ่่งได้้เล่่าให้้ฟัังถึึงประสบการณ์์ที่่�ได้้รัับจากการเข้้าร่่วมเวทีีสานเสวนาเพื่�่อพััฒนาครูู
ให้้คุุณครููบููรณาการระดัับชั้้�นประถมปีีที่่� ๒ ฟััง และได้้แลกเปลี่่�ยนความรู้�จากบัันทึึก
ให้้คุุณครููฟััง แล้้วชวนให้้ทุุกคนร่่วมกัันทำ�ำ งานตามแนวทางนี้้� รวมถึึงให้้เอกสารไปอ่่าน
เพื่่�อศึึกษาเพิ่่�มเติิมเพื่�่อหาประเด็็นที่่�สนใจเพิ่่�มเติิม จากนั้้น� จึึงได้้กำ�ำ หนดเป้้าหมายในการ
เรีียนรู้้�ในช่่วงท้้ายของการเรียี นวิจิ ัยั ดังั นี้้�

• 209 •

การทำ�ำ งานในแต่ล่ ะสััปดาห์ข์ องระดัับชั้้�นประถมปีที ี่่� ๒
เป้า้ หมายของชิ้้น� งานในวันั ชื่น�่ ใจ รููปแบบการนำำ�เสนอ... สร้้างสรรค์ช์ ิ้้น� งานวิจิ ัยั ในรููปแบบโปสเตอร์์

ส.ท่ี ครั้งที่ เปา้ หมายการเรยี นรู้ รปู แบบของจังหวะทีส่ าม ค�ำ ถามที่ใช้
(feed forward)

๑ เรีียนรู้้�การเป็น็ เหตุุ บอกว่่าคำ�ำ ตอบถููกหรืือไม่่ ๑. เด็ก็ ๆ สังั เกตเห็็นอะไรในภาพบ้้าง
และเป็็นผล ควรทำำ�อะไรต่่อไป ๒. เด็ก็ ๆ คิิดว่่าภาพนี้้�คืือเหตุหุ รืือผล
สนทนาเรื่่�อง (directive feedback) (ผล) เหตุคุ ืือ คนทิ้้ง� ขยะ (คำ�ำ ถาม
ความเป็น็ เหตุเุ ป็น็ ผล เพิ่่�มในห้้องเรียี นเนื่่อ� งจากเด็็กบอก
และการเขีียน ว่่าภาพคืือผล)
แผนผัังเหตุผุ ล ๒. เด็ก็ ๆ คิิดว่่าผลที่่เ� กิิดจากภาพนี้้�
จะเป็็นอย่่างไรได้้บ้้าง (น้ำ�ำ� เสีีย
มีกี ลิ่่น� เหม็็น สััตว์์ตาย)
๓. เด็ก็ ๆ สังั เกตเห็็นสััญลักั ษณ์อ์ ะไร
ที่่�ใช้้ในแผนผังั (ลููกศร) และ
การที่่ห� ัวั ลููกศรชี้้ไ� ปที่่�คำำ�ว่่า
น้ำ�ำ� เสีีย มีกี ลิ่่น� เหม็็น สัตั ว์์ตาย
น่่าจะหมายความว่่าอย่่างไร
๘ (เป็็นผลที่่เ� กิดิ ขึ้้�น)

๔. สิ่่�งที่่อ� ยู่ป�่ ลายลููกศรน่่าจะเรียี กว่่า
อะไร (เหตุุ)

๒ จากแผนผังั เหตุ-ุ ผล บอกว่าค�ำ ตอบถูกหรือไม่ ๑. เด็ก็ ๆ คิิดว่่าแผนผัังเหตุุและ
สู่�การค้้นหาเหตุุและ ควรทำ�อะไรต่อไป ผลมีีข้้อดีอี ย่่างไร และจะนำำ�มาใช้้
ผลในงานวิจิ ััย (directive feedback) ในการทำ�ำ งานวิิจัยั อย่่างไร
- สนทนาเรื่่อ� งการ ๒. จากภาพการทดลอง ไข่่ในแก้้วทั้้ง� ๒
ทดลองไข่่จมน้ำ�ำ� ใบมีีความแตกต่่างกัันอย่่างไร
และไข่่ลอยน้ำำ�� ๓. เพราะเหตุใุ ดไข่่ในแก้้วใบที่่� ๑ จึึง
และการเขีียน จม และไข่่ในแก้้วใบที่่� ๒ จึึงลอย
แผนผัังเหตุุ ๔. ถ้้าจะลองมาเขีียนแผนผังั เหตุุ
และผล และผล จากการทดลองอะไร
เป็็นเหตุุ อะไรเป็็นผล

• 210 •

ส.ที่ ครั้งที่ เป้าหมายการเรียนรู้ รปู แบบของจังหวะท่ีสาม คำ�ถามที่ใช้
(feed forward)

๓ การตั้้ง� สมมติิฐาน ทำ�ำ ให้้เกิิดการคิดิ ต่่อเนื่อ�่ ง ๑. เด็็กๆ คิิดว่่าการตั้้ง� สมมติิฐาน
งานของนัักเรีียน สู่่ก� ารทำ�ำ ความเข้้าใจ คืืออะไร
- สนทนาเรื่�่องการ วิิธีคี ิิดและวิิธีเี รีียนของ ๒. เด็็กๆ คิิดว่่าการตั้้�งสมมติิฐาน
ทดลองกาเปลี่่�ยนสีี ตนเอง (facilitative มีีข้้อดีีต่อ่ งานวิิจัยั อย่่างไร
ของน้ำ�ำ� อััญชันั จาก feedback) ๓. เด็็กๆ คิิดว่่าของสองสิ่่ง� นี้้�
กรด สู่่ง� านทดลอง จะเกี่่ย� วข้้องกัันอย่่างไร
ของนักั เรีียน ๔. เด็ก็ ๆ คิิดว่่าจากการคาดเดา
ถ้้า... จะทำำ�ให้้... ผลการทดลองนี้้จ� ะนำำ�มาเขีียน
สมมติฐิ านได้้อย่่างไร

๔ แลกเปลี่่�ยนเรียี นรู้้� ไม่ได้ใช้คำ�ถาม ท�ำ งานเปน็ กลมุ่ เพ่อื
การตั้้ง� สมมติฐิ าน ใหค้ รูตรวจสอบงาน
ของนัักเรียี น +
ปรับั ปรุุงแก้้ไข
การตั้้�งสมมติิฐาน
- ตรวจสอบ
สมมติิฐานของ
ตนเองจากตัวั อย่่าง
ที่่ค� รููให้้
- นักั เรียี นพัฒั นางาน
ของตนเองโดย
ใส่่ข้้อมููลในผััง
เหตุผุ ลและความรู้�

• 211 •

ส.ท่ี ครั้งที่ เปา้ หมายการเรยี นรู้ รปู แบบของจังหวะทสี่ าม ค�ำ ถามท่ีใช้
(feed forward)

๕ เรีียนรู้้�การออกแบบ ทำำ�ให้้เกิิดการคิดิ ต่่อเนื่อ�่ ง ๑. จากที่่เ� ด็็กๆ ได้้ตั้้�งสมมติฐิ าน
การทดลองจาก สู่่�การทำ�ำ ความเข้้าใจ ที่่�เป็็นการคาดเดาผลการทดลอง
สมมติิฐานที่่�ตั้้ง� ไว้้ วิิธีคี ิิดและวิิธีเี รียี นของ อย่่างเป็น็ เหตุเุ ป็น็ ผลมาแล้้ว เด็ก็ ๆ
ของครูู ตนเอง (facilitative คิิดว่่าเราสามารถทำำ�การทดลอง
- เรียี นรู้้�ตัวั อย่่างของ feedback) เลยได้้หรืือไม่่ เพราะอะไร
ครููแล้้วนัักเรีียน ๒. เด็ก็ ๆ คิิดว่่าการออกแบบ
ออกแบบอุุปกรณ์์ การทดลองเป็็นอย่่างไร
วัตั ถุดุ ิิบและวิธิ ีี ๓. เด็็กๆ คิิดว่่าการออกแบบ
การทดลองจาก การบัันทึกึ ผลการทดลอง
สมมติฐิ าน เป็็นอย่่างไร
๔. จากวิิดีโี อตััวอย่่างการทดลอง
สมุุนไพรพื้้�นบ้้านช่่วยกำ�ำ จัดั กลิ่่น�
มาให้้เด็็กๆ ช่่วยสังั เกตว่่าในวิิดีโี อนี้้�
มีวี ิิธีกี ารออกแบบการทดลอง และ
การเก็็บผลการทดลองอย่่างไร
๕. จากหััวข้้องานวิจิ ัยั ของครูู เด็็กๆ
คิดิ ว่่าครููมีีวิิธีกี ารทดลองอย่่างไร
๖. แล้้วเด็็กๆ คิิดว่่าครููควรจะมีี
การบัันทึกึ ผลการทดลองอย่่างไร

๖ ออกแบบการทดลอง ทำ�ให้เกิดการคิดต่อเนื่อง ๑. เด็็กๆ คิิดว่่าการออกแบบ
จากสมมตฐิ าน สกู่ ารท�ำ ความเข้าใจ การวางแผนการทดลองประกอบ
ที่ตั้งไว้ของนกั เรียน วธิ ีคดิ และวธิ ีเรยี นของ ไปด้้วยอะไรบ้้าง
๒. ให้้เด็็กๆ ช่่วยสัังเกตว่่าในวิดิ ีีโอนี้้�
ตนเอง (facilitative เป็็นการทดลองอะไร เขาใช้้
feedback) อะไรบ้้างในการทดลอง และ

มีขี ั้ �นตอนการทดลองอย่่างไร

• 212 •

ในการทำำ�งานมีีการชวนทีีมตั้้ง� เป้้าหมายหลัักแต่่ละครั้�งแล้้วทีมี จะไปหาสื่�อ่ เครื่�่องมืือ
โจทย์แ์ ละสร้้างคำ�ำ ถามที่่เ� หมาะสมเพื่อ�่ ดำ�ำ เนินิ การทำ�ำ แผนละเอียี ดอีกี ครั้ง� หนึ่่ง� ให้้สอดคล้้อง
กับั เป้า้ หมายโดยในช่่วงนี้้จ� ะให้้ทีมี ได้้ทำำ�งานด้้วยตนเอง จากนั้้น� จึงึ เข้้าสังั เกตการสอนของ
ครููในห้้องเรียี น ๒/๒ ผ่่านระบบ zoom ซึ่่ง� จากการเข้้าสังั เกตการสอนในห้้องเรียี น พบว่่า
ในช่่วงแผนแรกๆ คืือ แผนที่่� ๑ และ ๒ ยังั คงใช้้คำ�ำ ถามที่่�เตรียี มมาได้้ตรงเป็็นส่่วนใหญ่่
แต่่นัับตั้้�งแต่่แผนที่่� ๓ เป็็นต้้นไปเริ่�มที่่�จะปรัับไปใช้้คำ�ำ ถามที่่�แตกต่่างไปจากคำ�ำ ถามเดิิม
ที่่ต� ั้้�งไว้้ในแผนการสอนเดิิม ซึ่่ง� ปัญั หาที่่เ� กิิดขึ้้น� ในช่่วงนี้้�เป็็นเพราะ
๑. ช่่วงสััปดาห์์ที่่� ๘ เป็็นช่่วงที่่�ต้้องสร้้างแผนการสอนมากถึึง ๖ แผน และสััปดาห์์

ที่่� ๙ สร้้างแผนการสอนใหม่่ถึึง ๗ แผน ทำำ�ให้้ทีีมต้้องใช้้เวลาปรึึกษาและ
เขีียนแผนนอกเหนืือจากเวลาที่่�โค้้ชจััดไว้้ จึึงไม่่ได้้สร้้างแผนการสอนร่่วมกัับโค้้ช
และครููค่่อนข้้างรีีบในการหาและสร้้างสื่�่อ เขีียนแผน รวมถึึงการสร้้างคำำ�ถามที่่�
สอดคล้้องกับั หลัักคิดิ ที่่�ร่่วมกัันกำ�ำ หนดไว้้
๒. โค้้ชยัังไม่่ได้้เข้้าไปช่่วยทีีมในการทำ�ำ แผนอย่่างใกล้้ชิิด เนื่่�องจากยัังไม่่สามารถ
จัดั การเวลาให้้สอดคล้้องกับั งานที่่ม� ีีได้้
๓. หลัังจากโค้้ชเข้้าสัังเกตการสอนแล้้วยัังไม่่ได้้เข้้าคุุยแก้้ไขกัับครููทัันทีี เนื่่�องจาก
คุุณครููต้้องใช้้เวลาสร้้างแผนใหม่่ให้้ทัันต่่อการใช้้งานในสััปดาห์์นั้้�น รวมถึึงต้้อง
ใช้้เวลาในการช่่วยเหลืือนัักเรีียนนอกเวลาด้้วย
หลังั จากนั้้น� ในสัปั ดาห์ท์ี่่� ๙ โค้้ชนำำ�คลิปิ การสอนของคุณุ ครููน้ำ��ำ ข้้าว - วรันั ธรา ตันั เจริญิ
มาให้้เพื่่�อนครููคืือ คุุณครููเน - พนิิตา พิินภิิรมย์์ และคุุณครููปอ - นารีีรััตน์์ ทองดา
ได้้ศึึกษาร่่วมกัันโดยละเอีียด รวมถึึงยัังได้้แลกเปลี่่�ยนกัับทีีมครููบููรณาการเพื่่�อสะท้้อน
ประสบการณ์ใ์ นการใช้้แนวทางการตั้้ง� คำำ�ถามที่่ไ� ด้้ทำำ�โครงสร้้างร่่วมกันั ไว้้ ทำำ�ให้้สังั เกตเห็น็
ของแผนการสอนและภาพของห้้องเรียี นได้้ดัังนี้้�

• 213 •

การสร้้างแผนการสอน
๑. การตั้้ง� คำ�ำ ถามยังั ตั้้ง� คำ�ำ ถามที่่ส� อดคล้้องกับั สื่อ�่ และกิจิ กรรมของแผน ในการคาดการณ์์

คำำ�ตอบ ยังั ไม่่ได้้ยึดึ ในหลัักของ feed forward
๒. การตั้้�งคำำ�ถามในแผนจะเน้้นให้้เด็็กได้้สนทนากัับเพื่่�อให้้บรรลุุเป้้าหมายของแผน

คืือ ได้้เข้้าใจถึงึ ความรู้ช� ุดุ หนึ่่ง� ที่่ค� รููต้้องการจะป้อ้ นข้้อมููลให้้ เช่่น เข้้าใจความหมาย
ของคำำ�ว่่า เหตุุ-ผล เข้้าใจความหมายของการตั้้�งสมมติิฐาน เข้้าใจการออกแบบ
การวิจิ ัยั จากตัวั อย่่างที่่ค� รููนำ�ำ มาให้้นักั เรียี นเรียี นรู้้แ� ละทดลองทำำ�ความเข้้าใจร่่วมกันั
จะไม่่ได้้นำ�ำ เอาตัวั งานจริงิ ของนักั เรียี นมาเป็น็ สื่อ�่ ในการให้้นักั เรียี นสนทนาร่่วมกันั
ห้อ้ งเรียี น
๑. นัักเรีียนมีีการแลกเปลี่่�ยนกัันเป็็นกลุ่่�มเล็็กๆ ยัังไม่่สามารถจััดให้้มีีการสนทนา
ได้้อย่่างทั่่�วถึึง ในการสนทนา เมื่่�อนัักเรีียนแลกเปลี่่�ยนความรู้�นอกเหนืือไปจาก
ประเด็น็ ที่่ไ� ด้้ออกแบบไว้้ในแผนการสอน ครููยังั ไม่่ได้้นำำ�พาเด็ก็ ไปเรียี นรู้้ใ� นประเด็น็
เพิ่่ม� เติมิ ที่่�เกิดิ ขึ้้น� จากความสนใจของผู้�เ้ รีียน
เมื่อ่� ครููสอนครบจนถึงึ สัปั ดาห์ท์ี่่� ๙ แล้้ว จึงึ ได้้จัดั วงพููดคุยุ ให้้สมาชิกิ มีมี าแลกเปลี่่ย� นกันั
ว่่าครููเห็น็ ความสำ�ำ เร็จ็ ในเรื่อ�่ งใดจากการสอนแนวสานเสวนา ซึ่่ง� ครููได้้สะท้้อนการเรียี นรู้้�
ดัังนี้้�
๑. เด็็กที่่�เกิิดประโยชน์์คืือเด็็กที่่�ชอบแลกเปลี่่�ยน ส่่วนเด็็กที่่�ชอบลงมืือทำำ�ยัังไม่่มีี
ส่่วนร่่วมมากนักั
๒. เกิิดผลดีีกับั การโค้้ชของครููกับั เด็็กในวงเล็็กในช่่วงของการเรียี นรู้้ด� ้้วยตนเอง
๓. ชุุดคำำ�ถามที่่ค� รููเตรียี มไว้้ยัังไม่่เหมาะสมกัับเด็ก็ ทุุกคน
๔. เนื้้อ� หาความรู้ท�ี่่อ� ยู่ใ�่ นงานวิจิ ัยั ต้้องใช้้ประสบการณ์ข์ องเด็ก็ คนที่่ไ� ม่่มีปี ระสบการณ์์
จะยัังไม่่ค่่อยแลกเปลี่่�ยนกัับเพื่�่อน

• 214 •

ข้อ้ จำำ�กััดของการทำ�ำ แผนวิจิ ััยที่ผ่� ่่านมา
๑. การทำ�ำ แผนยัังไม่่ได้้เป็็นการไปสนทนาที่่�ตััวก้้อนความรู้�หรืืองานวิิจััยของเด็็ก

แต่่เป็น็ การชวนกันั เสวนาไปที่่ช� ุดุ ความรู้ท� ี่่ค� รููต้้องการให้้ข้้อมููล
๒. ข้้อจำำ�กััดเรื่่�องเวลาการสอนที่่�มีีเพีียง ๓๐ นาทีี ที่่�ครููต้้องนำ�ำ พาให้้นัักเรีียนเข้้าใจ

หลัักการความรู้ �ที่่�ครููจะต้้องให้้ข้้อมููล ทำำ�ให้้ไม่่ได้้พานัักเรีียนไปสนทนาต่่อเนื่�่อง
ในประเด็น็ ที่่�เด็็กสนใจ หรืือตั้้�งข้้อสังั เกตต่่อเนื่อ่� งในแผน เช่่น แผนไข่่จม ไข่่ลอย
๓. ข้้อจำำ�กััดส่่วนหนึ่่�งเกิิดจากตััวครูู เช่่น เมื่�่อเด็็กสนทนากัันจนเข้้าสู่่�เป้้าหมายของ
ตััวความรู้�ในครั้�งนั้้�นๆ แล้้ว ครููจะไม่่ได้้ไปต่่อในประเด็็นที่่เ� ด็ก็ สนใจให้้ลึึกขึ้น�
ประเด็็นที่่จ� ะนำำ�ไปพััฒนาต่อ่
๑. นำ�ำ หลัักของ ๔ คำำ�ถามสำ�ำ หรัับครูู (จากบัันทึึกบทที่่� ๒ พููดหลากชนิิด) มาเป็็น
แนวทางในการสร้้างแผนการจัดั การเรียี นรู้้�
(๑) มีวี ิธิ ีใี ดบ้้างที่่จ� ะส่่งเสริมิ ให้้นักั เรียี นทุกุ คนพููดเสนอความเข้้าใจหรืือข้้อคิดิ เห็น็

ของตนออกมา
(๒) ครููทำำ�อย่่างไรเพื่อ�่ ให้้นักั เรียี นเห็น็ ว่่าทุกุ ข้้อคิดิ เห็น็ ได้้รับั การรับั ฟังั และยอมรับั
(๓) เมื่อ�่ นักั เรียี นพููด ครููได้้ยินิ เสียี งของใคร (ของตัวั นักั เรียี นเอง หรืือไปจำำ�คำ�ำ พููด

มาจากที่่อ� ื่น่� )
(๔) หากคำ�ำ พููดของนักั เรียี นแหวกแนวไปจากแผนการสอนหรืือความคาดหวังั ของ

ครููจะทำ�ำ อย่่างไร
๒. สร้้างเป้้าหมายของแผนและตั้้�งแนวคำ�ำ ถามก่่อนจึึงค้้นหาสื่่�อที่่�เหมาะสมกัับ

คำ�ำ ถามนั้้น�
๓. เพิ่่ม� การสนทนาในเรื่่�องที่่น� ัักเรีียนให้้ความสนใจมากขึ้น�
๔. สร้้างแผนและคำำ�ถามย่่อยเพื่่อ� ใช้้ในการโค้้ชกลุ่่ม� ย่่อยกับั นัักเรียี น

• 215 •

ในวันั พุธุ ที่่� ๒๗ ตุลุ าคม ๒๕๖๔ ครููโอ่่งและคณะที่่ร� ่่วมบุกุ เบิกิ งานนี้้ม� าด้้วยกันั ยังั ได้้
นำำ�เอาประสบการณ์ใ์ นการจัดั การเรียี นการสอนโดยใช้้การสานเสวนาเพื่อ�่ พัฒั นางานวิจิ ัยั
ในระดัับชั้้�นประถมปีีที่่� ๒ ไปแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้�กัับเพื่่�อนครููที่่�โรงเรีียนเพลิินพััฒนา
ในงาน “ชื่น่� ใจ...ได้้เรียี นรู้้”� (ภาคครููเพลินิ ) ครั้ง� ที่่� ๒๐ เพื่อ่� ขยายการเรียี นรู้้ไ� ปสู่เ�่ พื่อ่� นครูู
ในระดับั ชั้้�นอื่่น� ๆ อีีกด้้วย

• 216 •

• 217 •

• 218 •

• 219 •

๑๖

สรุุปในแโลรงะขเ้้รอีียเสนนไทอยให้(้จนำ�ำบไ)ปใช้้

บันั ทึึกนี้�้ตีีความจากบท Epilogue แต่ผ่ มเขียี นเองเป็น็ ส่ว่ นใหญ่่

บัันทึึกชุุดสอนเสวนาสู่�่การเรีียนรู้้�เชิิงรุุกนี้้� ต้้องการสื่่�อว่่า คำำ�พููดของครูู
มีีความหมายต่่อการเรีียนรู้้�ของนัักเรีียนมากอย่่างที่่�เราคาดไม่่ถึึง คำำ�พููดของครูู
มีีความละเอีียดอ่่อนต่่อความรู้�สึึกของศิิษย์์ คำ�ำ พููดของครููที่่�ถููกต้้องตามหลัักการ
ให้้ผลดีีต่่อการเรีียนรู้้�ในทุุกด้้าน (domain) จึึงได้้มุ่่�งนำ�ำ เสนอทั้้�งสาระด้้านทฤษฎีี
และแนวทางปฏิบิ ัตั ิิเพื่่�อให้้ครููได้้ฝึกึ ทัักษะการพููดแนวสานเสวนา (dialogue) นี้้�
นี่่ค� ืือ “ปิยิ วาจา” เพื่อ�่ การเรียี นรู้้แ� ห่่งศตวรรษที่่� ๒๑ โดยครููพููดแบบ “คุรุ ุเุ สวนา”
ซึ่่�งหมายถึึงการสานเสวนาที่่�กระตุ้้�นโดยครูู (คุุรุุ + สานเสวนา) เพื่�่อให้้เกิิด
กระบวนการเรีียนรู้้�ที่่�ซัับซ้้อน ทั้้�งด้้านสัังคม การพััฒนาตััวตน การพััฒนาการพููด
การพััฒนาความคิิด การพััฒนาความรู้� ทัักษะ บุุคลิิก อารมณ์์ คุุณค่่า และอื่่�นๆ
และการสอนแบบนี้้เ� รียี กว่่า “สอนเสวนา” (สอน + สานเสวนา) (dialogic teaching)
จากคุรุ ุเุ สวนา (สานเสวนาที่่ก� ระตุ้้น� โดยครูู) สู่ศ่� ิษิ ย์เ์ สวนา (สานเสวนาที่่ก� ระตุ้้น�
โดยเพื่่�อนนัักเรีียนกัันเอง) ด้้วยเจตนาเอื้ �อให้้เพื่่�อนเกิิดการเรีียนรู้้�ในมิิติิที่่�ลึึกและ
เชื่อ�่ มโยง ด้้วยเจตนาสร้้างบรรยากาศการเรียี นรู้้แ� บบร่่วมมืือกันั ช่่วยเหลืือกันั ร่่วมกันั
สร้้างห้้องเรียี นและโรงเรียี นให้้เป็น็ พื้้น� ที่่แ� ห่่งความปลอดภัยั และเป็น็ สัปั ปายะสถาน
เพื่่�อการเรียี นรู้้ร� ่่วมกันั

• 220 •

การใช้้วาจาที่่�ถููกต้้องเหมาะสมเป็็นกลไกกระตุ้้�นสมอง ให้้สมองเจริิญงอกงาม
โดยเฉพาะสมองส่่วนสั่่�งสมงอกงามความดีีงาม ดัังนั้้�น คุุรุุเสวนาจึึงมีีผลสร้้าง
ความดีงี าม และความงอกงามไม่่เฉพาะต่่อศิิษย์์ แต่่ครููก็็ได้้รับั อานิสิ งส์น์ ี้้ด� ้้วย
มองจากวิิชาครูู นี่่�คืือส่่วนหนึ่่�งของการพััฒนาทัักษะของความเป็็นครูู ในการ
กระตุ้้�นพลัังภายในตััวนัักเรีียนออกมากระทำ�ำ การเพื่่�อการเรีียนรู้้� เป็็นลัักษณะหนึ่่�ง
ของ pedagogy of active learning เป็็นรููปแบบการเรีียนสู่�่มิิติิที่่�ลึึกและเชื่�่อมโยง
เพราะเป็น็ การเรีียนรู้้ท� ี่่�กระตุ้้�นให้้คิิดอยู่�่ตลอดเวลา
มองจากมุมุ ของความเสมอภาคทางการศึกึ ษา บันั ทึกึ ชุดุ นี้้ก� ระตุ้้น� ให้้ครููคำ�ำ นึงึ ถึงึ
นัักเรีียนในชั้้�นที่่�ด้้อยโอกาสในลักั ษณะต่่างๆ หรืือมองอีกี มุมุ หนึ่่ง� ว่่า เป็็นนักั เรีียนที่่�
ต้้องการความช่่วยเหลืือเป็็นพิิเศษในบางด้้าน ครููจะดำำ�เนิินการช่่วยเหลืือเป็็นพิิเศษ
รวมทั้้�งกระตุ้้น� ให้้เพื่อ�่ นนัักเรีียนช่่วยเหลืือกัันเองด้้วย
มองอีีกมุุมหนึ่่�ง นี่่�คืือเรื่่�องภาษา วััฒนธรรม และชั้้�นเรีียน ที่่�เชื่่�อมโยงกัับ
การศึึกษาและความไม่่เท่่าเทีียมกัันในสัังคม บัันทึึกชุุดนี้้�มุ่่�งส่่งเสริิมคำ�ำ พููด ภาษา
และปฏิสิ ัมั พันั ธ์ร์ ะหว่่างมนุษุ ย์ ์ ที่่ไ� ม่่เพียี งส่่งเสริมิ การเรียี นรู้้� แต่่ยังั ส่่งเสริมิ วัฒั นธรรม
ที่่�ให้้คุุณค่่าความเท่่าเทียี มกัันในสังั คม ที่่�สังั คมไทยต้้องการเป็็นอย่่างยิ่่ง�
ในโลกสมัยั ใหม่่ มนุษุ ย์ด์ ำ�ำ รงชีวี ิติ อยู่ใ�่ นสภาพแวดล้้อมที่่� “มีพี ิษิ ” นักั เรียี นจึงึ ต้้อง
ได้้รัับการฝึึกให้้สามารถ “อยู่่�ในปากงููได้้ โดยไม่่โดนเขี้�ยวงูู” (คำ�ำ ของท่่านพุุทธทาส
หมายความว่่าอยู่่�ในโลกที่่�เต็็มไปด้้วย สิ่่�งยั่่�วกิิเลสตััณหา โดยไม่่ถููกพิิษของมััน)
“สอนเสวนาสู่�่การเรีียนรู้้�เชิิงรุุก” จะค่่อยๆ สร้้างความเข้้าใจมายาคติิในโลกที่่�อยู่่�
นอกโรงเรีียน และรู้ว� ิธิ ีปี ้้องกัันไม่่ให้้ตนเองตกเป็็นเหยื่อ่� ของปัจั จัยั ลบในสังั คม นี่่ค� ืือ
ส่่วนหนึ่่�งของทัักษะชีีวิิตที่่�ครููสามารถกระตุ้้�นให้้นัักเรีียนร่่วมกัันทำำ�ความเข้้าใจ
ผ่่าน “สอนเสวนา” ได้้ คืือนิสิ ััยเรีียนรู้้จ� ากการกระทำำ�

• 221 •

ยิ่่ง� กว่่านั้้น� ครููสามารถกระตุ้้น� ความเป็น็ “ผู้ก้� ่่อการ” (agency) ที่่อ� ยู่ภ่� ายในตัวั ศิษิ ย์์
ให้้ร่่วมกันั กระทำ�ำ การเพื่่�อสร้้างสรรค์ส์ ่่วนเล็็กๆ ในชุมุ ชนของตนได้้ การเรียี นรู้้ท� ี่่�แท้้
ไม่่ได้้หยุดุ อยู่แ่� ค่่วาจาหรืือการพููด หรืือสานเสวนา ต้้องไปสู่ก่� ารกระทำ�ำ เพื่อ�่ เป้า้ หมาย
ที่่ย�ิ่่ง� ใหญ่่ (purpose) ซึ่่ง� เป็น็ ผลประโยชน์ท์ี่่เ� ลยประโยชน์ส์ ่่วนตน การนำ�ำ เอาข้้อสังั เกต
(observation) ที่่ไ� ด้้จากการกระทำำ�การมาสานเสวนากันั แบบสะท้้อนคิดิ (reflection)
จะนำำ�ไปสู่่ก� ารเรีียนรู้้ใ� นมิติ ิิที่่�ลึกึ และกว้้างขวางยิ่่ง� ขึ้น�
คุรุ ุเุ สวนา กระตุ้้น� สอนเสวนา เคลื่อ่� นสู่ก่� ารกระทำ�ำ การที่่ม� ีเี ป้า้ หมายเล็ก็ ๆ ที่่ย�ิ่่ง� ใหญ่่
สู่ก่� ารสะท้้อนคิดิ จากประสบการณ์ข์ องการกระทำ�ำ นำำ�สู่ก�่ ารเรียี นรู้้ท� ี่่ย�ิ่่ง� ใหญ่่ คืือ นิสิ ัยั
เรีียนรู้้�จากการกระทำ�ำ และทัักษะเรีียนรู้้�จากการปฏิิบััติิ เป็็นทัักษะชีีวิิตที่่�เป็็นคุุณ
ติดิ ตััวไปตลอดชีีวิติ
โรงเรีียนต้้องเป็็นแหล่่งฝึึกทัักษะทวนกระแสสัังคมที่่�มีีพฤติิกรรมผิิดๆ ให้้แก่่
เยาวชน ทักั ษะการเป็น็ มนุษุ ย์ผ์ ู้ก�้ ่่อการ (agentic person) เริ่ม� ต้้นจากการตั้้ง� คำำ�ถาม
ลามสู่เ�่ สวนา ขยายความคิดิ ต่อ่ เนื่อ่� งสู่ก่� ารปฏิบิ ัตั ิแิ ล้้วใคร่่ครวญสะท้้อนคิดิ เป็น็ วงจร
เรีียนรู้้ท� ี่่�ไม่่มีวี ัันจบ
การนำ�ำ ไปใช้้ในโรงเรีียนไทย
น่่าจะมีีขบวนการนำ�ำ ร่่อง ทดลองเอาวิิธีีการตามในบัันทึึกชุุดนี้้�ไปทดลองใช้้
ในโรงเรีียนที่่�สมััครเข้้ามาและได้้รัับการคััดเลืือกสััก ๒๐ โรงเรีียน โดยโรงเรีียน
ต้้องหาทรััพยากรสนัับสนุุน “กิิจกรรมครููร่่วมกัันพััฒนาตนเอง” มาใช้้จ่่ายเอง
หน่่วยงานพี่่�เลี้้�ยงอาจเป็็น กสศ. ร่่วมกัับมููลนิิธิิสยามกััมมาจล เรีียกโครงการนี้้�ว่่า
“PLC สอนเสวนา” ดำำ�เนินิ การ ๑ ปีกี ารศึกึ ษา ในโรงเรียี นประถมในพื้้น� ที่่ห� ่่างไกล
มีเี งื่�อ่ นไขว่่า ต้้องใช้้วิธิ ีกี ารนี้้ท� ุกุ ห้้องเรียี นในชั้้น� ประถมต้้น หรืือประถมปลายก็็ได้้
ทีีมพี่่�เลี้้�ยงพััฒนาเครื่�่องมืือวััดผลลััพธ์์การเรีียนรู้้�ที่่�ใช้้ง่่าย ไม่่ยุ่่�งยาก เอาไว้้ใช้้วััด
effect size ของการเรีียนการสอนของแต่่ละเทอม และของแต่่ละปีีการศึึกษา
สำ�ำ หรัับใช้้วััดผลกระทบต่่อผลลััพธ์์การเรีียนรู้้�ของนัักเรีียนในโครงการ เทีียบกัับ
นักั เรียี นในโรงเรียี นชั้้น� ที่่ไ� ม่่ได้้ใช้้ PLC สอนเสวนา ทีมี พี่่เ� ลี้้ย� งอาจไปวัดั effect size

• 222•

ของผลลััพธ์์การเรีียนรู้้�ในโรงเรีียนนอกโครงการจำำ�นวนหนึ่่�งเอาไว้้เปรีียบเทีียบด้้วย
ก็ย็ิ่่ง� ดี ี ดังั นั้้น� จะมีกี ารทดสอบผลลัพั ธ์ก์ ารเรียี นรู้้ต� อนต้้นปีกี ารศึกึ ษา ตอนจบเทอมแรก
และตอนจบปีกี ารศึึกษา
ก่่อนเริ่ม� ปีกี ารศึกึ ษา ทีมี พี่่เ� ลี้้ย� งฝึกึ วิธิ ีที ำ�ำ สอนเสวนาตามในหนังั สืือเล่่มนี้้ใ� ห้้แก่่ครูู
ที่่�เข้้าโครงการ เป็น็ การประชุุมเชิงิ ปฏิิบัตั ิกิ าร ๒ วันั โดยแต่่ละโรงเรียี นมีีครููพี่่�เลี้้ย� ง
(mentor) เข้้ารัับการฝึึกด้้วย แล้้วแต่่ละโรงเรีียนไปดำ�ำ เนิินการเอง มีีการประชุุม
Online PLC ร่่วมกััน ๒๐ โรงเรีียน โดยทีีมพี่่�เลี้้�ยงเป็็นผู้�้จััด เพื่�่อร่่วมกัันทำ�ำ
ความเข้้าใจว่่าแต่่ละโรงเรีียนดำ�ำ เนิินการอย่่างไร มีีข้้อค้้นพบอะไร มีีปััญหาอะไร
เอามาแชร์์กัันและช่่วยกันั แนะนำ�ำ วิิธีแี ก้้ปััญหา
เมื่�่อจบปีีการศึึกษามีีการประชุุมปฏิิบััติิการอีีก ๒ วััน เพื่�่อสรุุปบทเรีียน และ
ร่่วมกันั คิิดแนวทางพัฒั นาครููต่่อเนื่อ่� ง
เป็็นการพััฒนาครููแนว “ครููพััฒนาตนเอง และพััฒนากัันเอง” โดยมีีเป้้าหมาย
ที่่แ� ท้้จริิงอยู่�่ที่่ก� ารพัฒั นาผลลัพั ธ์์การเรีียนรู้้ข� องศิษิ ย์์

วิจิ ารณ์์ พานิิช
๒๔ เมษายน ๒๕๖๔ ปรับั ปรุุง ๒๗ เมษายน ๒๕๖๔

• 223 •

เรื่�องเล่่าจากเวทีีสานเสวนาเพื่อ่� พััฒนาครูู

เวทีสี านเสวนาเพื่อ่� พัฒั นาครููครั้ง� ที่่� ๔ จัดั ขึ้้น� เมื่อ่� วันั พฤหัสั บดีที ี่่� ๒๘ ตุลุ าคม ๒๕๖๔
เป็็นเวทีีที่่�ครููต้้นเรื่�่องทั้้�ง ๕ คน ที่่�ได้้เคยนำำ�เสนอผลการทดลองเอาหลัักการสอนเสวนา
ไปใช้้ในชั้้�นเรีียนในเวทีคี รั้ง� ที่่� ๒ ได้้กลัับมาพบกัันอีกี ครั้�ง และยิ่่�งไปกว่่านั้้น� เวทีนี ี้้ย� ัังเป็็น
เวทีีสุุดท้้ายของโครงการอีกี ด้้วย
คุุณครููมิิลค์์ - นิิศาชล พููนวศิินมงคล ครููผู้�้สอนหน่่วยภููมิิปััญญาภาษาไทย ระดัับ
ชั้้�นประถมปีีที่่� ๓ โรงเรีียนเพลิินพััฒนา ได้้นำ�ำ คลิิปการจััดการเรีียนการสอนแผน
“มโหสถชาดก” มาแลกเปลี่่�ยนเรียี นรู้้ก� ับั เพื่�อ่ นครูู เมื่อ่� คลิิปจบลง คุณุ ครููใหม่่ - วิิมลศรีี
ศุษุ ิิลวรณ์์ กระบวนกรของเวทีีได้้ถามคำำ�ถามว่่า

ครููใหม่่ : เวทีีวัันนี้้�เป็็นเวทีที ี่่� ๒ แล้้ว ครููมิิลค์์ได้้เรียี นรู้้�อะไรบ้้างคะ
ครููมิลิ ค์์ : สิ่่�งแรกเลยคืือได้้เรีียนรู้้�ความพิิถีีพิิถัันในการเลืือกสรรสิ่่�งที่่�ครููจะนำ�ำ มาสร้้าง

การเรีียนรู้้�ในชั้้�นเรีียน รู้้�สึึกได้้ว่่าถ้้าเราใช้้เวลาและเลืือกสรรมาเป็็นอย่่างดีี
เรื่อ่� งที่่เ� ลืือกมานั้้น� จะกลายเป็น็ ประเด็น็ ที่่ช� วนให้้เด็ก็ ๆ อยากรู้อ� ยากเห็น็ และ
อยากบอกเล่่าเรื่�่องราวความรู้ �ที่่�เชื่�่อมโยงกัับเรื่�่องราวของครูู ในคาบเรีียนนี้้�
จึงึ เกิดิ เป็็นบทสนทนาตลอดทั้้�งคาบเรีียน ตั้้�งแต่่ต้้นจนจบ
ครููใหม่่ : เรื่อ�่ งที่่เ� ลืือกมาเรียี นเป็น็ เรื่อ�่ งที่่เ� กิดิ จากคำ�ำ ถามคำ�ำ ตอบที่่ไ� ม่่สิ้้น� สุดุ ตั้้ง� แต่ว่ ิธิ ีกี าร
นำ�ำ มาเลืือกว่่าจะเรีียนเรื่่�องไหนดีี จนกระทั่่�งได้้คำำ�ตอบร่่วมกัันว่่าจะเรีียน
เรื่�่องหุุงข้้าวเปรี้�ยว เพราะเรื่�่องนี้้�ดููจะท้้าทายกว่่าเรื่�่องอื่�่นๆ เป็็นการนำ�ำ เรื่�่อง
ของปัญั หาเข้้ามาสร้้างปััญหาให้้ทั้้�งชั้้�นเรียี นช่่วยกันั คิดิ แก้้ไข
คุุณสมพล ชััยศิิริิโรจน์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิของโครงการ ได้้ร่่วมเติิมเต็็มว่่า ผมดููแล้้ว
เพลิดิ เพลินิ ไปกับั ปฏิกิ ริยิ าของเด็ก็ ๆ นะ ระหว่่างที่่ด� ููคลิปิ จากห้้องเรียี นนี้้ � ผมเกิดิ คำำ�ถาม
ว่่าครููมิลิ ค์ท์ ำ�ำ อะไรกับั เด็ก็ มาก่่อนหน้้านั้้น� ผมรู้ส� ึกึ ว่่าการเชื่อ�่ มโยงระหว่่างครููกับั เด็ก็ มีอี ยู่�่
ในระดัับหนึ่่�งแล้้ว ผมรู้�สึึกว่่าเด็็กๆ พร้้อม เด็็กๆ ตื่�่น พวกเขาตื่�่นเต้้นกัับคำำ�ถามที่่�ได้้มา

• 224 •

มีีความกระตืือรืือร้้นที่่�จะตอบ เรื่�่องที่่�ยกมามีีความน่่าสนใจ แต่่ก็็เชื่่�อว่่าถ้้าถามเรื่่�องอื่�่น
พวกเขาก็พ็ ร้้อมที่่จ� ะตอบ จากบทสนทนาของครููมิลิ ค์แ์ ละครููใหม่่ที่่เ� กิดิ ขึ้้น� ก่่อนหน้้าว่่าเด็ก็
รู้ส� ึกึ ท้้าทายจึงึ เลืือกเรื่อ�่ งนี้้ม� าเรีียนรู้้ � ผมขอคิดิ ในอีกี มุุมหนึ่่�งว่่าถ้้าเด็ก็ ไม่่ได้้รู้้ส� ึกึ เชื่อ�่ มโยง
กับั ครููมาก่่อน เกร็ง็ ๆ และระมัดั ระวังั ตัวั รู้้ส� ึกึ ไม่่ปลอดภัยั เขาอาจจะไม่่เลืือกเรื่อ�่ งที่่ท� ้้าทาย
เขาจะหัันไปเลืือกเรื่่�องที่่�ตอบง่่ายแทนที่่�จะเลืือกเรื่่�องที่่�ท้้าทาย เพราะรู้�สึึกปลอดภััยกว่่า
ผมจึงึ สงสัยั ใจว่่าครููมิลิ ค์ท์ ำำ�อย่่างไร แล้้วความท้้าทาย ความยาก ความขัดั แย้้งว่่า หุงุ ข้้าว
อย่่างไรโดยไม่่ใส่่หม้้อ ไม่่ใช้้ไฟ นี่่�เป็็นความขััดแย้้งที่่�มาจุุดประกายของการเรีียนรู้้�
เมื่่อ� เด็็กมีคี วามพร้้อม มีคี วามสนใจ
ครููมิลิ ค์์ : พยายามมองย้้อนกลัับมาดููตััวเองเหมืือนกัันค่่ะว่่า เราทำำ�อะไรในห้้องเรีียน

ที่่�ทำ�ำ ให้้เด็็กไว้้เนื้้�อเชื่�่อใจที่่�จะตอบคำำ�ถาม และรู้�สึึกสบายที่่�จะแลกเปลี่่�ยนกัับ
เราอย่่างสม่ำำ��เสมอ คิิดว่่าปััจจััยแรก คืือ เรื่�่องของกติิกาค่่ะ เรื่�่องของผู้�้พููด
และผู้ฟ�้ ังั เป็น็ สิ่่ง� ที่่ค� รููมิลิ ค์เ์ องให้้ความสำำ�คัญั มากๆ ว่่า เมื่อ�่ ไรที่่ม� ีผี ู้พ้� ููดครููมิลิ ค์์
ก็จ็ ะตั้้ง� ใจฟังั เขา เช่่นเดียี วกันั ครููมิลิ ค์จ์ ะย้ำ�ำ� เด็ก็ ๆ ว่่าเมื่อ�่ ไรที่่เ� พื่อ่� นพููดเราต้้อง
ตั้้ง� ใจฟังั เพื่�่อนเหมืือนกันั
ปััจจััยที่่�สองเป็็นเรื่�่องการให้้ความสำ�ำ คััญกัับคำ�ำ ตอบของเด็็กๆ จะเห็็นว่่าจะมีี
การเอ่่ยถึึงชื่่�อหรืือทวนคำ�ำ ตอบที่่�เด็็กๆ พููด คนที่่�ได้้ตอบจะรู้�สึึกว่่าเขา
มีีตัวั ตนและเขาก็็ได้้เป็็นส่่วนหนึ่่ง� ในการขัับเคลื่่อ� นห้้องเรีียน
ปััจจััยต่่อมาน่่าจะเป็็นท่่าทีีและน้ำ��ำ เสีียงของตััวครููที่่�ทำ�ำ ให้้เด็็กๆ รู้้�สึึกเป็็นมิิตร
รู้ส� ึกึ สบาย อยากจะพููดคุยุ กับั เรา เด็ก็ ก็เ็ ลยกล้้าที่่จ� ะแชร์เ์ รื่อ�่ งที่่ต� ัวั เองคิดิ ออกมา
อย่่างเป็็นธรรมชาติิ
คุณุ สมพล : ขอบคุุณมากครัับ ผมคิดิ ว่่าบทเรียี นสำ�ำ คัญั อยู่�่ตรงที่่�ผมได้้ยิินเมื่่อ� กี้้น� ี้้ด� ้้วย
ครููใหม่่ : น่่าจะมีเี รื่อ�่ งความคงเส้้นคงวาของครููด้้วยนะคะ เพราะบางทีเี ด็ก็ ก็ท็ ำ�ำ ตัวั ไม่่ถููก
ถ้้าวัันหนึ่่�งครููเป็็นอย่่างหนึ่่�ง และเปลี่่�ยนไปเปลี่่�ยนมา เมื่�่อเด็็กได้้เป็็นอิิสระ
ในทางความคิดิ เขาก็จ็ ะพบว่่าที่่ห� ้้องนี้้แ� หละที่่�เขาทำ�ำ แบบนั้้น� ได้้

• 225 •

คุุณครููปาด - ศีีลวััต ศุุษิิลวรณ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิอีีกท่่านหนึ่่�ง ได้้ร่่วมเสนอแนะว่่า
การหยิิบชาดกขึ้น� มาเรีียน ก้้าวต่่อไปควรไปให้้ถึึง virtue คืือการมาพููดคุุยกัันว่่าความดีี
ความจริงิ ความงาม คืืออะไร คำำ�ถามพวกนี้้ใ� นวิชิ าปรัชั ญาเรียี กว่่า “big question” ชาดก
เป็็นสติิปััญญาในระดัับ big question ในมุุมหนึ่่�งชาดกเรื่�่องนี้้�เล่่ามาเพื่�่อให้้เด็็กเข้้าใจ
ได้้ด้้วย ชั้้�นเรีียนของครููมิิลค์์ในแง่่พื้้�นฐานของ dialogue พบว่่าเด็็กเริ่�มมีี divergent
เกิิดความคิิดที่่�หลากหลาย มีีอิิสระ สบายตััว สบายใจที่่�จะพููด มีีการสนทนาที่่�แสดง
การถ่่ายเท character ขึ้้น� มาได้้แล้้ว น่่าพาไปให้้ถึงึ big question ผมคิดิ ว่่าคำ�ำ ถามเหล่่านี้้�
น่่าลองนำำ�ไปถามให้้พวกเขาลองพููดคุุยกันั ดููบ้้าง
ศ. นพ.วิิจารณ์์ พานิิช ได้้ร่่วมเติิมเต็็มว่่า ถ้้าหากมองในมุุมมองของภาษา ชื่�่อ
ข้้าวเปรี้�ยวตีคี วามได้้ว่่า นี่่เ� ป็็นชื่�่อของข้้าว จะเปรี้�ยวหรืือไม่่เปรี้ย� วก็ไ็ ม่่เป็็นไร เพราะเป็็น
วิสิ ามานยนาม มโหสถน่่าจะเล่่นลููกนี้้� ในขณะที่่ค� นทั่่ว� ไปจะใช้้คำำ�ว่่าเปรี้ย� วเป็น็ คำำ�คุณุ ศัพั ท์์
มาขยายความคำ�ำ ว่่าข้้าว บอกให้้รู้้�ว่่าข้้าวนี่่�มีีรสเปรี้�ยว ในเชิิงของภาษาก็็จะอธิิบายได้้
๒ แบบ
ประสบการณ์์จากชั้้�นเรีียนของครููมิิลค์์กำ�ำ ลัังบอกเล่่าข่่าวสารสำำ�คััญกัับทุุกคนว่่า
การสอนเสวนาจะให้้ผลลััพธ์์ที่่�ดีีเป็็นพิิเศษ เมื่่�อครููและเด็็กสามารถเชื่่�อมโยงถึึงกััน
โดยเรื่่�องราวหรืือประเด็็นที่่�เลืือกมาเรีียนรู้้�ร่่วมกัันในชั้้�นเรีียนนั้้�นเป็็นประเด็็นที่่�ทุุกคน
สามารถต่่อยอดความคิิดโดยใช้้ทั้้�งประสบการณ์์เดิิม จิินตนาการ และข้้อมููลในรููปแบบ
ต่่างๆ เพื่�่อให้้ได้้มาซึ่่�งคำำ�ตอบที่่�มีีความเป็็นไปได้้ ไม่่ใช่่คำ�ำ ตอบปลายปิิด หรืือคำ�ำ ตอบ
ที่่�ถููกต้้องที่่�สุุดเพีียงคำำ�ตอบเดีียวซึ่่�งจะดีียิ่่�งขึ้�นไปอีีก หากชั้้�นเรีียนนั้้�นชวนกัันตั้้�งคำ�ำ ถาม
และหาคำำ�ตอบต่่อสิ่่ง� ที่่เ� รียี กว่่า “โจทย์์ใหญ่่” ของชีวี ิิต

• 226 •

มโหสถชาดก คุุณครููมิลิ ค์์ - นิศิ าชล พููนวศินิ มงคล

ถัดั จากนั้้น� คุณุ ครููเปียี - วรรณวรางค์ ์ รักั ษทิพิ ย์์ ครููผู้ส้� อนหน่่วยวิชิ าโครงงานฐานวิจิ ัยั
ระดัับชั้้�นประถมปีีที่่� ๖ โรงเรีียนเพลิินพััฒนา ได้้นำำ�คลิิปการจััดการเรีียนการสอนแผน
“พร้้อมให้้ - ใฝ่่รัับ” มาแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้�ร่่วมกัับเพื่่�อนครููเพื่่�อนำ�ำ เสนอประสบการณ์์
เรื่่�องของการเปิิดพื้้�นที่่�ให้้เด็็กๆ ได้้พููดคุุยกัันเอง ตามที่่�ได้้รัับคำำ�แนะนำำ�จากผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ
ไปเมื่่อ� ครั้�งก่่อน
ครููเปีียเล่่าว่่าประสบการณ์ก์ ่่อนหน้้านี้้�คืือ หากครููให้้เด็็กๆ ไปแบ่่งกลุ่่�มพููดคุุยกัันเอง
เด็ก็ ก็ม็ ักั จะปิดิ ไมค์ ์ ปิดิ จอซึ่่ง� อาจเป็น็ เพราะไม่่รู้้จ� ะเริ่ม� ต้้นอย่่างไร ครั้ง� นี้้จ� ึงึ เริ่ม� จากการมีี
คู่ส่� าธิติ ให้้ทุกุ คนได้้เห็น็ บทบาทที่่ถ� ููกต้้องเหมาะสม และเพื่อ�่ ให้้ตัวั ครููผู้ส�้ อนเองได้้มองเห็น็
ความเป็็นไปได้้ ปััญหา หรืืออุุปสรรคที่่�จะเกิิดในห้้องเรีียนย่่อยล่่วงหน้้า ครููเปีียจึึงเลืือก
คู่�่สาธิิตมาทดลองวิิพากษ์์งานกัันผ่่านกระบวนการดัังกล่่าว โดยได้้ติิดต่่อนัักเรีียนที่่�
พร้้อมจะร่่วมมืือมาได้้ ๒ คน คืือ ต้้นไม้้ และต้้นข้้าว มาเป็น็ นักั เรียี นสาธิติ การดำำ�เนินิ การ
แนะนำ�ำ งานกันั ผ่่านไปได้้ด้้วยดี ี นักั เรียี นทั้้ง� คู่เ�่ ล่่าถึงึ ความรู้ส� ึกึ สนุกุ และบทบาทที่่ไ� ด้้รับั ด้้วย
ความกระตืือรืือร้้น ทำ�ำ ให้้ครููเกิดิ ความมั่่น� ใจที่่จ� ะเชิญิ ชวนเจียี อี้ � ซึ่่ง� เป็น็ เพื่อ่� นสนิทิ กับั ต้้นไม้้
และเป็็นเด็็กที่่�เปิิดใจพร้้อมปรัับปรุุงงานอยู่่�แล้้วก็็รัับหน้้าที่่�เป็็นผู้�้ “ใฝ่่รัับ” โดยมีี ต้้นไม้้
เป็็นฝ่า่ ย “พร้้อมให้้” และมีีต้้นข้้าวมาเป็็นผู้�ส้ ังั เกตการณ์์และกล่่าวสะท้้อนปรากฏการณ์์
ที่่�พบเห็น็
ศ. นพ.วิิจารณ์์ พานิิช ได้้ร่่วมเติิมเต็็มว่่า โอกาสหน้้าอยากให้้มีีการชวนกัันวาง
criteria ว่่าการเป็็นฝ่่ายให้้ที่่�ดีีกัับการเป็็นฝ่่ายรัับที่่�ดีีมีีลัักษณะอย่่างไรบ้้าง แล้้วคอยดููว่่า
ผลที่่อ� อกมาจะแตกต่า่ งจากที่่ผ� ่่านมาอย่่างไร ผมชอบมากว่่านี่่ค� ืือ peer evaluation เป็น็
peer feedback แล้้วก็ย็ ังั มีี observer learning ว่่าเพื่อ�่ นที่่ท� ำ�ำ หน้้าที่่ส� ังั เกตการณ์ไ์ ด้้เรียี น
รู้�อะไรบ้้าง นี่่ด� ีมี ากเลยเพราะเป็น็ การเรีียนรู้้�อีีกชั้้�นหนึ่่ง� ขอบคุณุ มากครัับ
คุุณวรวััจน์์ สุุวคนธ์์ ผู้�้ทรงคุุณวุุฒิิของโครงการ ได้้กล่่าวเสริิมในประเด็็นเดีียวกัันว่่า
ผมเห็น็ ด้้วยกับั คุณุ หมอวิจิ ารณ์ม์ ากๆ เพราะนี่่เ� ป็น็ วิธิ ีกี ารเดียี วกันั กับั ที่่ผ� มใช้้กับั ผู้บ้� ริหิ าร
ธนาคารเช่่นเดีียวกัันนะครัับ การที่่�เปิิดโอกาสให้้มีีการฝึึกการให้้ feedback ระหว่่าง
สองคน แล้้วก็ม็ ีี observer ที่่ค� อยสังั เกตการณ์แ์ ล้้วก็ใ็ ห้้คำ�ำ แนะนำ�ำ เพราะนี่่เ� ป็น็ อีกี ทักั ษะ
ที่่�สำำ�คััญมากๆ ในการใช้้ชีีวิิตในปััจจุุบััน นอกจากนั้้�นยัังเป็็นแบบฝึึกที่่�ดีีมากๆ ที่่�ช่่วย

• 228 •

สร้้างให้้เด็็กเกิิด growth mindset พร้้อมเปิิดใจรัับฟััง เรีียนรู้้� แล้้วยัังรู้�สึึกว่่าเรายััง
พัฒั นาต่อ่ ได้้ โดยที่่ใ� ช้้ feedback จากเพื่อ�่ นๆ แล้้วก็เ็ ป็น็ โอกาสให้้เกิดิ self reflection ด้้วย
คืือการสะท้้อนคิดิ ถึงึ ตัวั ตนของตัวั เอง ที่่อ� ยากจะเสริมิ ครููเปียี ๒ เรื่อ�่ งคืือ เรื่อ่� งแรกคล้้ายๆ
คุุณหมอวิิจารณ์์ คืือ เมื่�่อกี้้�ตอนที่่�ได้้ฟัังเด็็กๆ คุุยกััน เขาจะเน้้นเรื่�่องของเนื้้�อหา
ผมอยากจะเพิ่่�มว่่าแม้้แต่่ในตััวของผู้้�รัับเองว่่า เขามีีความรู้�สึึกอย่่างไรเวลาที่่�ได้้ยิิน
feedback แบบนี้้� แล้้วผมว่่าจะเป็น็ ตัวั สะท้้อนด้้วยว่่า ผู้ใ้� ห้้เองให้้ในลักั ษณะแบบนี้้ต� ัวั คนรับั
เขารู้ส� ึกึ อย่่างไร การให้้บางอย่่างทำ�ำ ให้้คนรับั รู้ส� ึกึ อยากจะไปปรับั ปรุงุ เปลี่่ย� นแปลงตัวั เอง
การให้้บางอย่่างอาจจะทำ�ำ ให้้เกิิดความรู้�สึึกต่่อต้้านว่่าทำำ�ไมให้้ feedback แบบนี้้� ผมว่่า
นี่่�ก็็อาจจะเป็็นประเด็็นการเสวนาที่่�มาคุุยกัันได้้นอกเหนืือจากเรื่�่องของเนื้้�อหา เรื่�่องของ
ความรู้�สึึกที่่�เกิิดขึ้้�นกัับทั้้�งผู้้�ให้้กัับผู้้�รัับ ตััวผู้้�ให้้เองก็็น่่าจะได้้เรีียนรู้้�อะไรหลายๆ อย่่าง
อาจจะมาชวนกัันคุุยด้้วยว่่าจากการที่่�เราให้้นี่่�เราได้้เรีียนรู้้�อะไรจากเรื่�่องนี้้�บ้้าง นี่่�เป็็น
ข้้อแรกที่่อ� ยากฝากไว้้
ข้้อที่่� ๒ ผมไม่่แน่่ใจว่่าจะยากไปสำ�ำ หรับั เด็็กรึเึ ปล่่า แต่่เป็็นอีีกเรื่อ่� งหนึ่่ง� ที่่เ� ราให้้ความ
สำ�ำ คััญกัับผู้้�นำำ� หรืือผู้�้บริิหารในทุุกระดัับขององค์์กร คืือเรื่่�องของ coaching คืือการให้้
feedback โดยที่่�ไม่่ได้้ให้้ feedback ตรงๆ แต่่ว่ าใช้้เป็็นลัักษณะของคำำ�ถาม เพื่่�อให้้
คนรัับไปพิจิ ารณาเองว่่าคนรัับจะสามารถปรัับปรุุงสิ่่ง� ที่่เ� ขาทำ�ำ อยู่�ไ่ ด้้อย่่างไร โดยที่่�ไม่่ต้้อง
ให้้ความคิดิ เห็็นของตัวั เอง หรืือไม่่ต้้องไปตััดสิิน อัันนี้้ผ� มว่่าเป็็นอีกี ทัักษะหนึ่่ง� ที่่น� ่่าสนใจ
จากที่่�ได้้เห็็นจากในคลิิปคิิดว่่าเด็็กๆ น่่าจะทำ�ำ ได้้ เป็็นทักั ษะค่่อนข้้าง advance และเป็็น
สิ่่ง� ที่่เ� ราต้้องการมากในปัจั จุุบััน
คุณุ ครููปาด - ศีีลวััต ศุุษิลิ วรณ์์ ได้้ร่่วมเสนอแนะว่่า ผมเคยเห็็นว่่าวงประชุมุ lesson
study ระดัับนานาชาติิ จะมีีคนนำ�ำ เสนอ และมีีคนที่่� response สุุดท้้ายคนที่่�นำ�ำ เสนอ
จะต้้องทำำ�การ response to response อีีกทีี ในมุุมของผม นี่่�เป็็นธรรมเนีียมที่่�ดีี และ
อยากจะชวนให้้เด็ก็ ลองฝึกึ ทักั ษะนี้้ � คืือการตอบสนองต่อ่ การตอบสนองของคนอื่น�่ ซึ่่ง� เขา
จะต้้องฝึกึ ตัวั เองอีกี ขั้น� ต้้องละความยึดึ มั่่น� ในตัวั เอง และสื่อ่� สารกลับั ไปอย่่างสร้้างสรรค์์
ตรงประเด็น็ ตอบได้้ว่่าอะไรทำ�ำ ได้้ อะไรทำำ�ไม่่ได้้ อะไรที่่ค� ิดิ ว่่ายัังมีีข้้อน่่าสงสััยอยู่่�
ครููเปียี : มีีเด็็กสะท้้อนมาเหมืือนกันั ว่่ายังั อยากให้้มีคี รููอยู่�ด่ ้้วย

• 229 •

ครููปาด : ใช่่ เพราะจุุดเริ่�มต้้นในการทำำ�ให้้ทั้้�งหมดเป็็น ownership ของเด็็กนี้้�ยากอยู่่�
แล้้วนะ แต่พ่ อเด็็ก มีี divergent มีคี วามคิิดที่่�หลากหลายแล้้ว เด็็กกับั เด็็ก
จะ convergent หรืือรวมความคิิดที่่�หลากหลายกลัับมา ก็็ไม่่ง่่าย ถ้้าเด็็ก
กัับเด็็กมีีครููคอยตะล่่อมความคิิดให้้ก็็จะง่่ายสำ�ำ หรัับเขา แต่่พอไม่่มีีครูู
แล้้วเด็็กกัับเด็็กต้้อง convergent กัันเองนี่่�เป็็นทัักษะที่่�สำ�ำ คััญมาก เรื่�่องนี้้�
จะเกิิดขึ้้�นได้้ ต้้องฝึึกตอบสนองต่่อการตอบสนองก่่อน ถ้้าเขาทำ�ำ ได้้ เขาจะ
มีีความสามารถในการพากลุ่่�มของตััวเองไปสู่�่ข้้อสรุุปร่่วมที่่�ดีีกว่่าเดิิม หรืือ
อาจจะไปถึงึ การสังั เคราะห์ใ์ หม่่ก็ไ็ ด้้ สามารถทำ�ำ ให้้ความเห็น็ ก กับั ความเห็น็ ข
ซึ่่ง� น่่าสนใจทั้้ง� คู่�่ และมีหี ลักั ฐานสนับั สนุนุ ความคิดิ ที่่แ� ข็ง็ แรงทั้้ง� คู่่� ไม่่รู้้ว� ่่าอะไร
ถููกอะไรผิดิ แบบนี้้ต� ้้องไปหาจุดุ ที่่ส� ังั เคราะห์ใ์ หม่่ที่่ด� ีกี ว่่าความเห็น็ เดิมิ ลำำ�พังั
มีีครููอยู่�่ด้้วย นี่่�ก็็เป็็นโจทย์์ยากของครููแล้้ว ครููจะเล่่นเกมนี้้�ได้้นี้้�ไม่่ง่่ายเลย
แต่่จุดุ สููงสุดุ เลยคืือเด็ก็ เล่่นเกมนี้้โ� ดยไม่่มีีครูู

ครููเปียี : เปียี มองว่่านี่่เ� ป็น็ การฝึกึ แบบเป็น็ ขั้้น� บันั ไดนะคะ ถ้้าเขาได้้เห็น็ ขั้้น� บันั ไดนี้้� แล้้ว
เริ่ม� เห็น็ ว่่าใครทำำ�ได้้ เปีียว่่าเด็ก็ ไปได้้

ศ. นพ.วิจิ ารณ์์ : เป็น็ ไปได้้ไหมที่่จ� ะชวนเด็ก็ ที่่�ได้้รับั คำำ�แนะนำ�ำ สะท้้อนคิดิ ว่่าตรงจุุดไหน
ที่่�คำำ�แนะนำ�ำ ซึ่่�งอาจจะเป็็นคำำ�ถาม ช่่วยให้้เกิิดคุุณค่่าต่่องานของเขา หรืือ
เกิดิ คุณุ ค่่าต่อ่ ตัวั เขาแต่อ่ าจจะไม่่เกิดิ คุณุ ค่่าโดยตรงต่อ่ ตัวั ชิ้้น� งาน เช่่น ทำำ�ให้้
เขาคิดิ ขยายไปจากเดิมิ และนึึกถึึงประเด็น็ อื่่�นๆ ได้้อีกี นึึกได้้ว่่าชิ้้น� งานของ
เขายัังขาดประเด็็นอะไรที่่�น่่าเติิมเพิ่่�มเข้้าไป หรืือข้้อสะกิิดนั้้�นช่่วยทำำ�ให้้
เขาใส่่หลัักฐานข้้อมููลต่่างๆ ทำ�ำ ให้้เกิิดความแม่่นยำ�ำ น่่าเชื่่�อถืือขึ้�น อัันหลัังนี้้�
ผมคิดิ ว่่าน่่าจะเป็น็ ประโยชน์ม์ าก เพราะข้้อสะกิดิ ตรงนี้้จ� ะเป็น็ การตั้้ง� คำำ�ถาม
เชิงิ ไม่่ค่่อยเชื่อ่� ต้้องการหาหลักั ฐานให้้ชัดั เจนขึ้้น� อีกี หน่่อย ผมว่่านี่่น� ่่าจะเป็น็
ข้้อเรียี นรู้้ส� ำำ�หรับั ในวงทั้้�งหมดได้้ดีีมาก ขอบคุณุ ครับั

• 230 •

พร้้อมให้้ - ใฝ่่รับั คุุณครููเปียี - วรรณวรางค์์ รักั ษทิพิ ย์์



หนังสือเลม นเ้ี ขียนข้ึนเพือ่ ช้แี นวทาง
จดั การเรยี นรูแบบทีเ่ รยี กวา active learning
หรอื การเรยี นรูเชิงรุก โดยมเี ปาหมาย
เพื่อฝกนักเรยี นใหเรียนรจู ากการปฏบิ ตั ติ าม
ดว ยการคิดทีเ่ รียกวา การใครครวญสะทอนคิด
(reflection) ที่นำไปสูการฝก ทกั ษะการเรียนรู
ทนี่ ักเรียนกำกับการเรยี นรูของตนเอง
(self-directed learning) เปน
ผานกระบวนการ สานเสวนา (dialogue)
ระหวางนักเรียนกับครู
และระหวางนักเรียนกับเพื่อนนกั เรยี นดวยกนั
เพื่อใหเ กิดการเรยี นรทู ส่ี นุกเรา ใจ
(student engagement)
กระตุนสมองใหเจรญิ งอกงาม
และสรา งพัฒนาการรอบดาน
ตามแนวทางของการเรียนรใู นศตวรรษท่ี ๒๑

ศ. นพ.วจิ ารณ พานชิ


Click to View FlipBook Version