The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มวิจัย-ชวัลลักษณ์-ปรางทิพย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by amshying, 2022-03-24 05:23:41

เล่มวิจัย-ชวัลลักษณ์-ปรางทิพย์

เล่มวิจัย-ชวัลลักษณ์-ปรางทิพย์

บทที่ 4

ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

การวิจัยเรื่องผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ ผสมผสานการสอนแบบ
ท่องจำคำศัพท์ที่มีต่อทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรยี น ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
โรงเรียนเทศบาล ๑ วดั ละไม มผี ลการวิเคราะห์ข้อมลู ดงั น้ี

4.1 สญั ลกั ษณ์ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาคน้ คว้า
4.2 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู
4.3 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

4.1 สญั ลกั ษณ์ทใ่ี ชใ้ นการศึกษาคน้ คว้า

ในการศึกษาค้นคว้านี้ คณะผู้วิจัยได้กำหนดสัญลักษณ์ที่ใช้ในการแปลความหมายของการ
วเิ คราะห์ข้อมูลดังน้ี

x̅ หมายถงึ คา่ เฉลีย่ เลขคณติ
S.D. หมายถึง คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน
N หมายถึง จำนวนขอ้ มูลท้ังหมด
E1 หมายถงึ ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอน
E2 หมายถงึ ประสทิ ธิภาพของผลลพั ธ์
T หมายถงึ ค่าสถิตทิ ดสอบ t-test
DF หมายถึง คา่ เฉลี่ยของผลตา่ งของคะแนน
Sig. หมายถงึ ระดบั นยั สำคญั ของการทดสอบ
* หมายถงึ นัยสำคญั ทางสถิติที่ระดบั .05

4.2 การนำเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

ในการศกึ ษาค้นคว้าครง้ั นี้ ผวู้ จิ ยั ไดเ้ สนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เปน็ 3 ตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 ศึกษาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ผสมผสานการสอน
แบบทอ่ งจำคำศพั ท์ ของนกั เรยี นระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ให้มปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80
ตอนท่ี 2 เปรียบเทียบทักษะการอา่ นออกเสยี งก่อนและหลังการเรียนดว้ ยกิจกรรมการเรียน
การสอน แบบโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์ ในรายวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที ่ี 3
ตอนท่ี 3 ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำศัพท์
ภาษาอังกฤษด้วยส่อื โฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์

39

4.3 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

ตารางที่ 4.3.1 ประสทิ ธภิ าพชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบ

ท่องจำคำศัพท์ ของนักเรียนระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพตาม

เกณฑ์ 80/80

ประสิทธิภาพดา้ น คะแนนเตม็ จำนวนนกั เรยี น x̅ S.D. ร้อยละ

E1 60 38 49.47 2.64 82.46
E2 30 38 25.89 2.31 86.32
ประสิทธภิ าพของชุดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบโฟนิกสผ์ สมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์

E1/E2 เทา่ กบั 82.46/86.32

จากตารางท่ี 4.3.1 พบว่า นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 มคี ะแนนจากการทำแบบฝึกทักษะ
หลังเรียนในชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์ ( E1)
โดยภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 82.46 และนักเรียนมีคะแนนจากการทำแบบวัดทักษะในการออกเสียง
ภาษาอังกฤษหลังเรียน (E2) คิดเปน็ ร้อยละ 86.32 ดงั น้ัน ดังน้ัน ผลการวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพของชุด
กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์ ของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนการสอน
แบบโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์ และประสิทธิภาพของผลลัพธ์มีประสิทธิภาพ
(E1/E2) โดยเฉล่ียเท่ากับ 82.46 /86.32 ซึง่ ผา่ นเกณฑ์ ที่กำหนดไวค้ อื 80/80

ตารางท่ี 4.3.2 เปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียทกั ษะการออกเสยี งภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลงั เรียน

โดยใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบโฟนิกสผ์ สมผสานการสอนแบบทอ่ งจำ

คำศัพทข์ องนักเรียนชนั้ ป.3

คะแนน N x̅ S.D. T Sig
หลังเรียน 38 25.89 2.31 35.26 0.00**

กอ่ นเรยี น 38 17.18 2.92

n = 38 df = 37 **มนี ยั สำคัญทางสถิตอิ ยู่ทีร่ ะดบั 0.01
จากตารางที่ 4.3.2 พบวา่ คะแนนเฉล่ยี ทักษะการออกเสียงภาษาองั กฤษก่อนเรียนและหลงั
เรยี นโดยใช้ใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบโฟนกิ สผ์ สมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์ของ
นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 แตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .01 โดยที่คะแนนหลงั
เรียนสูงกว่ากอ่ นเรยี น

40

ตารางที่ 4.3.3 คะแนนเฉลยี่ ความพงึ พอใจของนักเรยี นทีม่ ีต่อการฝึกทกั ษะการอา่ นออกเสยี ง

คำศัพท์ภาษาอังกฤษดว้ ยสื่อโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบทอ่ งจำคำศัพท์

ท่ี รายการประเมิน x̅ S.D. ระดับความพึงพอใจ

1 ครูแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ชัดเจน 4.79 0.41 มากที่สดุ

2 กจิ กรรมการเรยี นการสอนสอดคล้องกบั จุดประสงคก์ าร 4.76 0.43 มากที่สดุ

เรียนการสอน

3 เนือ้ หาเรียงตามลำดับความยาก งา่ ย ทำใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย 4.39 0.79 มากที่สดุ

4 คำศัพทท์ ีเ่ รียนไมย่ ากจนเกนิ ไป 4.95 0.32 มากที่สดุ

5 กิจกรรมการเรยี นการสอนสนุกและน่าสนใจ 3.92 1.05 มาก

6 ขนาดตัวอักษร รปู แบบตัวอักษรของบัตรคำและบตั รภาพ 4.24 0.85 มากที่สดุ

มคี วามชัดเจน

7 เนือ้ หาทส่ี อนทันสมัย นำไปใชไ้ ด้จริง 4.68 0.53 มากทีส่ ุด

8 ครูยอมรบั ความคิดเห็นของนักเรียน 4.68 0.47 มากทส่ี ุด

9 ครใู ห้ความสนใจแก่นกั เรยี นอย่างทัว่ ถงึ ขณะสอน 4.47 0.69 มากทส่ี ุด

10 ครูออกเสยี งชดั เจน น้ำเสยี งฟังง่าย 4.55 0.65 มากทส่ี ุด

11 สื่อที่ใชใ้ นการเรียนการสอนมีความนา่ สนใจ 4.97 0.16 มากทส่ี ุด

12 นกั เรยี นชอบการอา่ นแบบโฟนกิ ส์ 4.68 0.53 มากทส่ี ุด

13 วิธกี ารสอนอ่านแบบโฟนิกสท์ ำใหอ้ ่านออกเสยี งได้มากขน้ึ 4.42 0.79 มากทส่ี ุด

14 นกั เรยี นมคี วามรเู้ รื่องคำศัพท์มากขน้ึ 4.32 0.77 มากทส่ี ุด

15 นกั เรียนสามารถนำความรไู้ ปใช้กบั การเรียนวชิ า 4.82 0.39 มากทส่ี ุด

ภาษาองั กฤษในระดบั ท่ีสงู ขึ้น

16 นักเรียนมคี วามมัน่ ใจในการอ่านมากข้ึน 4.32 0.84 มากที่สดุ

17 นักเรียนมีความกลา้ แสดงออกมากข้ึน 4.05 0.87 มาก

18 นกั เรียนมคี วามต้งั ใจในการเรียนภาษาองั กฤษมากข้ึน 4.32 0.70 มากที่สดุ

19 นกั เรยี นอยากเรียนวิชาภาษาองั กฤษมากขึน้ 4.74 0.45 มากที่สดุ

20 ความเหมาะสมของเน้ือหา และเวลาในการสอน 4.47 0.73 มากทส่ี ุด

รวม 90.54 12.42

เฉลย่ี 4.53 0.62 มากทส่ี ดุ

จากตารางท่ี 4.3.3 พบว่านักเรียนมคี วามพึงพอใจต่อการฝึกทกั ษะการอ่านออกเสียงคำศัพท์
ภาษาอังกฤษด้วยสื่อโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สดุ
มีค่าเฉล่ยี (x̅) เทา่ กบั 4.53 และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.62 รายการประเมินท่ีนกั เรียน

41

มีความพึงพอใจสูงสุด คือ สื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนมีความน่าสนใจ มีความพึงพอใจในระดับมาก
ท่ีสดุ มคี า่ เฉลย่ี (x̅) เทา่ กับ 4.97 มีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากบั 0.16 รองลงมาไดแ้ ก่ คำศัพท์
ที่เรยี นไม่ยากจนเกนิ ไป มีความพงึ พอใจในระดับมากที่สุด มคี า่ เฉลยี่ (x̅) เทา่ กับ 4.95 มคี ่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.32 และ นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้กับการเรียนวิชาภาษาอังกฤษใน
ระดบั ที่สงู ขน้ึ มคี วามพงึ พอใจในระดบั มากที่สดุ มคี ่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.82 มีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(S.D.) เทา่ กบั 0.39 ตามลำดับ

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ ผสมผสานการสอนแบบ
ท่องจำคำศัพท์ที่มีต่อทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3
โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดละไม อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี นั้น ผู้วิจัยได้ดำเนินการตาม
ขน้ั ตอน และสรปุ ผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ดงั ตอ่ ไปน้ี

5.1 วตั ถุประสงคก์ ารวิจัย
5.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
5.3 เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัย
5.4 การเก็บรวบรวมข้อมลู
5.5 สรปุ ผลการวิจัย
5.6 การอภิปรายผล
5.7 ข้อเสนอแนะ

5.1 วัตถุประสงค์การวิจยั

5.1.1 เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำ
คำศพั ท์ ของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ให้มปี ระสทิ ธภิ าพตาม เกณฑ์ 80/80

5.1.2 เพอ่ื เปรยี บเทยี บทกั ษะการอ่านออกเสียงก่อนและหลังการเรยี นดว้ ยกจิ กรรมการเรียน
การสอน แบบโฟนกิ ส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์ในรายวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้น
ประถมศกึ ษาปีที่ 3

5.1.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำศัพท์
ภาษาองั กฤษดว้ ยสือ่ โฟนกิ ส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์

5.2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง

5.2.1 ประชากร
ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดละไม
อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์
ธานี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 2 หอ้ งเรยี น นักเรียนท้งั สนิ้ 78 คน

43

5.2.2 กลุ่มตวั อย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 โรงเรียน
เทศบาล ๑ วัดละไม อำเภอเกาะสมุย จงั หวัดสุราษฎร์ธานี ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 1
หอ้ งเรยี น นักเรียนทัง้ สิน้ 38 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มอยา่ งงา่ ย (Simple Random Sampling) โดย
ใชห้ อ้ งเรยี นเปน็ หน่วยสุ่ม

5.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ัย

5.3.1 แผนการจัดการเรียนรู้เร่ืองโฟนกิ ส์ ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 จำนวน 6 แผน
ใชเ้ วลา 12 ช่ัวโมง

5.3.2 แบบวัดทักษะในการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
จำนวน 1 ฉบับ เป็นแบบปรนัย ชนิดเลอื กตอบ 3 ตวั เลอื ก จำนวน 30 ขอ้

5.3.3 แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์
ผสมผสานแบบท่องจำคำศพั ท์

5.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

5.4.1 ขั้นกอ่ นการทดลอง
5.4.1.1 ผวู้ จิ ยั อธิบาย บทบาทหนา้ ทขี่ องนกั เรยี น บทบาทของผวู้ จิ ยั และวิธกี าร

จัดการเรียนรูโ้ ดยใช้บทเรียนโฟนิกส์ เพอ่ื ใหนกั เรียนเตรยี มตวั รบั การทดสอบก่อนเรยี น
5.4.2 ขนั้ ดำเนนิ การทดลอง
5.4.2.1 ดำเนินการทดสอบก่อนเรียน (Pre - test) โดยใช้แบบทดสอบวัดทักษะใน

การอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษเร่ืองโฟนิกส์ วชิ าภาษาองั กฤษ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3

5.4.2.2 ผู้วิจัยดำเนินกาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี
ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น โดยมีแบบฝึกทักษะการอ่านออกเสียง และสะกดคำเป็นสื่อในการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรู้ เพ่ือทดสอบองค์ความรทู้ ีน่ ักเรยี นไดร้ ับ

5.4.2.3 เมื่อสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้วิจัยดำเนินการทดสอบหลัง
เรียน (Post-test) ด้วยแบบทดสอบวดั ทักษะในการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษเรื่อง โฟนกิ ส์

5.5 สรปุ ผลการวจิ ยั

จากการศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ ผสมผสานการสอนแบบ
ท่องจำคำศัพท์ ที่มีต่อทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3
โรงเรยี นเทศบาล ๑ วัดละไม สรปุ ผลการศึกษาไดด้ งั นี้

44

5.5.1 ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบ
ท่องจำคำศัพท์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดละไม ผลลัพธ์มี
ประสิทธิภาพ (E1/E2) โดยเฉลี่ยเทา่ กับ 82.46 /86.32 ซึ่งมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไวค้ อื
80/80

5.5.2 ผลของการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบโฟนิกส์ ผสมผสานการสอนแบบท่องจำ
คำศัพท์ทีม่ ีต่อทักษะการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษของนักเรยี นระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียน
เทศบาล ๑ วัดละไม มีคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
.01 โดยที่คะแนนหลงั เรยี นสูงกว่ากอ่ นเรียน

5.5.3 ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมตี ่อการฝึกทักษะการอา่ นออกเสยี งคำศัพทภ์ าษาอังกฤษ
ด้วยสื่อโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำคำศัพท์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดละไม อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.53 และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) เท่ากบั 0.62

5.6 การอภปิ รายผล

การวิจัยเรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ ผสมผสานการสอนแบบ
ท่องจำคำศัพท์ ที่มีต่อทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3
โรงเรียนเทศบาล ๑ วดั ละไม สามารถอภปิ รายผลการวิจัยไดด้ ังนี้

5.6.1 ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ ผสมผสานการสอนแบบ
ท่องจำคำศัพท์ มีประสิทธิภาพ E1 เท่ากับ 82.46 และมีประสิทธิภาพ E2 เท่ากับ 86.32 ซึ่งเป็นไป
ตามเกณฑ์ 80/80 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการ การจัดการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์นั้น เป็นวิธีสอนที่
จัดลำดับความยากง่ายและมีความสมบูรณ์ในตัวโดยคำนึงถึงส่วนเบื้องต้นของเสียงและการนำไปใช้
(Huey 1912, 241-266)ดังนั้นถ้านักเรียนออกเสียงของตัวอักษรได้ถูกต้องจะสามารถประสมคำได้
และสามารถอ่านคำได้ (Anderson and Dearborn 1952, 205-208 อ้างถึงใน รุ่งอรุณ โรจน์รัตนา
ดำรง ไชยศรี 2560, 50) สอดคล้องกับผลการศึกษาของสุชาดา อินมี (2556, 141-148) ได้ศึกษา
การพฒั นาการออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษด้วยส่ือโฟนิกสโ์ ปสเตอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 3 โรงเรียนวัดธงชัยธรรมจักร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์โดยมีวัตถุประสงค์คือเพื่อพัฒนาสื่อการอ่าน
ออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์โปสเตอร์สำหรับฝึกทักษะการออกเสียงคำศัพท์
ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ผลการวิจัยพบว่าสื่อ
โฟนิกส์โปสเตอร์มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 78.17/76.752 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
ผลการวจิ ยั ครง้ั น้ีสอดคล้องกบั ผลการศึกษาของพิมพ์พร พวงชนื่ และวิวฒั น์ มีสุวรรณ์ (2562, 26-28)
ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงและสะกดคำภาษาอังกฤษด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการ
สอนแบบโฟนิกส์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนชุมชนบ้านทุ่งสงบ ตำบลไผ่เขียว อำเภอสว่างอารมณ์

45

จังหวัดอทุ ยั ธานี ผลการวจิ ยั พบว่าคา่ ดชั นปี ระสิทธิผลการพัฒนากจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรม
การเรยี นการสอนแบบโฟนิกส์ เพอื่ สง่ เสริมทักษะการอ่านออกเสยี งและสะกดคำภาษาอังกฤษสำหรับ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.6771 แสดงว่านักเรียนมีคะแนนเพิ่มขึ้นจาก
คะแนนทดสอบก่อนเรียนคิดเป็นร้อยละ 67.71 นอกจากนี้ผลการวิจัยครั้งนี้ยังสอดคล้องกับผล
การศึกษาของประสิทธิ์ เผยกลิ่น (2563, 159-161) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน
สะกดคำพื้นฐานโดยใช้แบบฝึกทักษะกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ):
กรณีศึกษานักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดมงคลรัตน์ ผลการวิจัยพบว่า แบบฝึก
ทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 มีประสทิ ธภิ าพเทา่ กบั 88.60/86.83

5.6.2 ผลของการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบโฟนกิ ส์ ผสมผสานการสอนแบบท่องจำ
คำศัพท์ท่ีมตี อ่ ทักษะการอ่านออกเสยี งภาษาอังกฤษของนักเรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียน
เทศบาล ๑ วัดละไม พบว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรยี นแตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ 0.1 โดยคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 13.10
ทั้งนี้สามารถสรุปได้ว่าชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำ
คำศพั ทส์ ามารถพฒั นาทักษะการอ่านออกเสยี งของนักเรียนใหด้ ีขนึ้ นกั เรียนมีพัฒนาการด้านการอ่าน
ออกเสียงและการสะกดคำโดยอาศัยการจัดการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สอดคล้องกับผลการศึกษาของสุชาดา อินมี (2556, 141-148) ได้ศึกษาการพัฒนาการออกเสียง
คำศัพท์ภาษาอังกฤษด้วยสื่อโฟนิกส์โปสเตอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดธงชัย
ธรรมจักร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่พบว่าความสามารถในการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
ก่อนและหลังได้รับการฝึกทักษะการอ่านออกเสียงด้วยสื่อโฟนิกส์โปสเตอร์แตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยหลังได้รับการฝึกทักษะด้วยสื่อโฟนิกส์โปสเตอร์ นักเรียนมี
ความสามารถในการอ่านออกเสียงสูงกว่าก่อนได้รับการฝึก และยังสอดคล้องกับผลการศึกษาของ
จรีวรรณ ชัยอารีย์เลิศ (2559, 11) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำภาษาอังกฤษ โดยการ
ฝึกประสมคำด้วยเสียงของพยัญชนะ (Phonics) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิต
“พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา ที่พบว่านักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนท้ัง
นักเรียนชายและนักเรียนหญิง อีกทั้งยังสอดคล้องกับผลการศึกษาของพิมพ์พร พวงชื่น และ
วิวัฒน์ มีสุวรรณ์ (2562, 26-28) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงและสะกดคำ
ภาษาอังกฤษด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนกิ ส์ สำหรบั นักเรยี นระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี
1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนชุมชนบ้านทุ่งสงบ ตำบลไผ่เขียว อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี
ที่พบว่า เมื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านออกเสียงและสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
กบั เกณฑร์ ้อยละ 75.00 พบว่า คะแนนสอบหลังเรยี นของนักเรยี นสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75.00 อย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคล้องกับผลการศึกษาของประสิทธิ์ เผยกลิ่น (2563, 159-161)
ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำพื้นฐานโดยใช้แบบฝึกทักษะกลุ่มสาระการ

46

เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ): กรณีศึกษานักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 ผลการวิจยั
พบว่านกั เรยี นท่ีเรียนโดยใชแ้ บบฝึกทักษะการอา่ นและการเขยี นสะกดคำพ้นื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิตทิ างสถติ ทิ ร่ี ะดบั .01

5.6.3 นักเรียนระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นเทศบาล ๑ วัดละไม มคี วามพงึ พอใจต่อ
การฝึกทักษะการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษด้วยสื่อโฟนิกส์ผสมผสานการสอนแบบท่องจำ
คำศัพท์ โดยรายการประเมิน 20 ข้อ มีความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย
เท่ากบั 4.53 และคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานอยู่ท่ี 0.62 รายการประเมินทน่ี กั เรยี น มคี วามพงึ พอใจสูงสุด
คือ สื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนมีความน่าสนใจ มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
4.97 มีคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน เทา่ กบั 0.16 รองลงมาได้แก่ คำศพั ท์ท่ีเรยี นไม่ยากจนเกนิ ไป มีความพึง
พอใจในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.95 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.32 และนักเรียน
สามารถนำความรู้ไปใช้กับการเรียนวิชาภาษาอังกฤษในระดับที่สูงขึ้น มีความพึงพอใจในระดับมาก
ทสี่ ดุ มีคา่ เฉลย่ี เท่ากบั 4.82 มคี า่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.39 ตามลำดับ สอดคล้องกบั สมมติฐาน
การวิจัยข้อที่ 3 ที่ว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์
ผสมผสานแบบท่องจำศัพท์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนแบบโฟ
นกิ ส์ผสมผสานการท่องจำคำศัพท์นั้นมีเน้ือหาในระดับเร่ิมตน้ สามารถทำให้นักเรียนเข้าใจและเรียนรู้
ได้ง่าย สอดคล้องกับวัยและพัฒนาการของนักเรียน และสอดคล้องกับผลการศึกษาของสุชาดา อินมี
(2556, 141-148) ได้ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการฝึกอ่านออกเสียงคำศัพท์
ภาษาอังกฤษด้วยสื่อโฟนิกส์โปสเตอร์ ผลการวิจัยพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อการฝึกอ่านออก
เสียงคำศัพท์ภาษาอังกฤษด้วยสื่อโฟนิกส์โปสเตอร์อยู่ในระดับมากโดยเฉพาะในด้านภาพประกอบมี
สีสันสวยงามน่าสนใจ และมีจำนวนคำศัพท์แต่ละชุดเหมาะสม นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับผล
การศึกษาของพิมพ์พร พวงชื่น และวิวัฒน์ มีสุวรรณ์ (2562, 26-28) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการ
อ่านออกเสียงและสะกดคำภาษาอังกฤษด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์ สำหรับ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนชุมชนบ้านทุ่งสงบ ตำบลไผ่เขียว
อำเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้
โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านออกเสียงและสะกดคำ
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.53 และสวน
เบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.5

47

5.7 ขอ้ เสนอแนะ

5.7.1 ขอ้ เสนอแนะทไ่ี ดจ้ ากการวจิ ยั
5.7.1.1 การจัดการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์นั้นค่อนข้างให้ประสิทธผิ ลที่ดีในการ

เรียนการสอนเรื่องการออกเสียง สามารถช่วยให้นักเรียนอ่านออกเสียงได้ง่ายขึ้นเมื่อเข้าใจหลักการ
ของเสียง ดังนั้นควรมกี ารจัดการเรียนการสอนในรูปแบบดังกล่าวให้นักเรียนในระยะเริม่ ต้น ตั้งแต่ใน
ระดับอนบุ าลหรอื ช้นั ประถมศึกษาตอนต้นอยา่ งแพร่หลาย

5.7.1.2 ควรมีการบรรจุหลักการ วิธีการสอน ตัวชี้วัดต่างๆ เรื่องโฟนิกส์ลงไปใน
หลักสูตรอย่างจริงจัง เพื่อเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนได้ศึกษาและมีเวลาเพียงพอในการทำความ
เข้าใจและซึบซับกับธรรมชาติของโฟนิกส์อย่างค่อยเป็นค่อยไป จากการวิจัยในครั้งนี้พบว่าประสบ
ปญั หาดา้ นการบริหารจดั การเวลาทัง้ ในดา้ นของการเรียนในบทเรยี นปกติและบทเรยี นเก่ยี วกับโฟนิกส์

5.7.2 ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าต่อไป
5.7.2.1 ควรมีการพัฒนาบทเรียนโฟนกิ ส์ในระดับที่ซับซ้อนและสูงขนึ้ ไป เพราะการ

วิจัยในครั้งนี้ได้ทำการศึกษาเพียงแค่ระดับเริ่มต้นของการออกเสียงเท่านั้น ยังมีคำศัพท์ต่างๆอีก
มากมายทไ่ี มเ่ ปน็ ไปตามกฎของการออกเสยี งแบบโฟนิกส์ ซึ่งจำเปน็ ที่จะต้องใช้การท่องจำเขา้ ช่วย

บรรณานกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2551. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. พมิ พ์
คร้งั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั .

คนงึ รัตน์ งามเกยี รตขิ จร. 2560. บทเรียนโฟนกิ สเ์ พอ่ื เสริมสรา้ งทักษะการรูห้ นังสือภาษาองั กฤษ
ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จรวี รรณ ชยั อารยี เ์ ลิศ. 2559. การพัฒนาทกั ษะการอ่านสะกดคำภาษาอังกฤษ โดยการฝกึ ประสม
คำด้วยเสยี งของพยัญชนะ (Phonics) ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนสาธิต
“พบิ ลู บำเพญ็ ” มหาวิทยาลัยบูรพา.

จรี นนั ท์ เมฆวงษ.์ 2547. การพัฒนาความสามารถในการออกเสียงภาษาอังกฤษและความคงทนใน
การเรยี นรู้คำศพั ทด์ ว้ ยวธีกิ ารสอนแบบโฟนกิ ส.์ วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต,
มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่.

ชยั ยงค์ พรหมวงษ์. 2556. การทดสอบประสิทธภิ าพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากร
ศึกษาศาสตร์วิจัย.

ณฐั พล สรุ ยิ มณฑล, นิธิดา อดิภัทรนันท์ และนันทยิ า แสงสิน. 2561. การสอนแบบโฟนิกส์เพ่ือ
ส่งเสรมิ การออกเสียงและความรคู้ ำศัพท์ภาษาอังกฤษของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1.
วารสารมหาวทิ ยาลยั นครพนม. 8(2), 117-123.

บุญชม ศรีสะอาด. 2554. การวิจัยเบ้อื งตน้ . พมิ พ์ครง้ั ท่ี 9. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั สุวีริยาสาส์น จำกัด.
ประสทิ ธิ์ เผยกล่นิ . 2563. การพฒั นาทักษะการอ่านและการเขยี นสะกดคำพ้นื ฐานโดยใชแ้ บบฝึก

ทักษะกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ): กรณศี กึ ษานกั เรยี นระดบั ชนั้
ประถมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรยี นวัดมงคลรัตน.์
พิมพพ์ ร พวงช่นื และวิวฒั น์ มสี วุ รรณ์. 2562. การพฒั นาทักษะการอ่านออกเสียงและสะกดคำ
ภาษาอังกฤษด้วยชุดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนกิ ส์ สำหรบั นกั เรยี นระดบั ชัน้
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1. วิทยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรม์ หาบัณฑติ สาขาหลักสตู รและการสอน คณะ
ศกึ ษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
มาริสา พันเปรม. 2561. การประเมินส่อื การสอนโฟนิกส์สำหรับนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-3
โรงเรยี นในสังกัดกรงุ เทพมหานคร สำนกั งานเขตหนองแขม. มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.
มาลินี พมุ่ มาลัย. 2558. การพฒั นาหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ เรอื่ งการสะกดคำศัพทภ์ าษาองั กฤษด้วย
วธิ ีโฟนกิ ส์ (Phonics) สำหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3. วทิ ยานพิ นธ์การศึกษา
มหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละการส่ือสารการศกึ ษา, มหาวิทยาลยั นเรศวร.

รุจาพร สุนทรปาน อษุ า คงทอง และ อรวรรณ ภสั สรสริ . 2557. การพฒั นารูปแบบหลักสตู ร
ฝกึ อบรมครใู นการออกเสียงภาษาอังกฤษตามหลกั โฟนคิ ส์. วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, 37(2), 96.

รุง่ อรณุ โรจนร์ ัตนาดำรง ไชยศรี. 2560. วิธีการสอนแบบโฟนกิ ส์. สารานกุ รมศึกษาศาสตร์ คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

วาสนา เหลาเป. 2563. การพัฒนาทกั ษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษและการเขยี นตวั อกั ษร
พิมพ์ใหญแ่ ละพิมพเ์ ล็กของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 2. [Online]. สืบคน้ เมอ่ื 7 เมษายน,
2564, จาก http://ojs.mbu.ac.th/index.php/jslc/article/view/1287/899.

วิลาวัณย์ ปังพูนทรพั ย.์ 2561. การแก้ปัญหาการอ่านภาษาองั กฤษไมไ่ ดข้ องนกั เรยี น โรงเรียนบ้าน
โคกสว่างอำเภอปากพลี จงั หวดั นครนายก. [Online]. สืบค้นเม่อื 16 มกราคม, 2564, จาก
http://kruden.net/CIET/Eng/Eng/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8
%B1%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9
%89%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8
%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8
%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%A1.1.pdf

สมนึก ภทั ทิยธนี และขวญั ฤดี ไกรรกั ษ์. 2547. การเขยี นข้อสอบวิชาภาษาองั กฤษชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่
3 ตามแนวพฤติกรรมของบลูม (Bloom Taxonomy). [Online]. สืบค้นเมือ่ 10 เมษายน,
2564, จาก https://so02.tci-
thaijo.org/index.php/jemmsu/article/view/154778/112552.

สพลเชษฐ์ ประชมุ ชยั และหทัยชนก อ่างหิรัญ. 2563. The Jolly Phonics Camp to Enhance
Lower Elementary Students’ English Pronunciation at the Highland Schools
in Phetchabun Province. วารสารสหวิทยาการมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ฉบบั ที่ 2,
(พฤษภาคม-สงิ หาคม).

สารนิ ี สวุ รรณพนั ธ.์ 2553. การใช้กจิ กรรมเพลงเพื่อสง่ เสริมการออกเสียง ความรทู้ างด้านคำศพั ท์
และไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5. วิทยานพิ นธศ์ ึกษาศาสตร
มหาบณั ฑิต, มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.

สุชาดา อินม.ี 2556. การพัฒนาการออกเสียงคำศพั ท์ภาษาองั กฤษด้วยส่ือโฟนิกสโ์ ปสเตอร์ ของ
นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3. [Online]. สบื ค้นเมอ่ื 16 มกราคม, 2564, จาก
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-
Journal/article/view/30865/26625.

โสภติ า โตไร. 2558. พัฒนาทกั ษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใชแ้ บบฝึกเสริมทักษะสำหรับ
นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1. การประชุมหาดใหญ่วชิ าการระดับชาติ ครงั้ ที่ 6

อกั ษรเจริญทัศน์. 2564. โฟนคิ ส์ (Phonics) สำคัญอยา่ งไร ทำไมตอ้ งเรียน. [Online]. สบื คน้ เมอื่
24 มกราคม, 2564, จาก https://www.aksorn.com/aksorn-phonics.

_____. 2564. สตู รลดั ใหเ้ ด็กไทยเรียนรูภ้ าษาอังกฤษไตร่ ะดับสคู่ วามเป็น…English
Champion. [Online]. สบื ค้นเมอื่ 16 มกราคม, 2564, จาก
https://www.aksorn.com/english-champion.

อาจารี ศิรริ ัตนศักด.์ิ 2552. กรณศี กึ ษาการพัฒนาความสามารถในการอา่ นของนักเรียนชน้ั
ประถมศึกษาปีท่ี 2 โดยใช้ชดุ การสอน จอลลี โฟนิคส.์ สารนพิ นธ์ศลิ ปศาสตร์มหาบณั ฑติ ,
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ

อนิ ทริ า ศรีประสิทธ.ิ์ 2552. บทบาทของคลนิ กิ หมอภาษาอังกฤษในการแก้อาการ ภาษาองั กฤษ
บกพรอ่ ง (dyslexia) ของคนไทย ตามทฤษฎีใหม่ในการสอนภาษาองั กฤษ ทเี่ น้นการฝึก
ทักษะถอดรหัสเสียงภาษาอังกฤษ (Phonemic awareness & Phonics) เพื่อวางพนื้ ฐาน
ในการอ่าน. [Online]. สบื คน้ เมือ่ 24 มกราคม, 2564, จาก
http://backoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/c647f7050e
7a3c5627d3028fd4df432d.pdf.

American Institute for Research. 2021. Reading and Literacy. [Online]. Retrieved
January 24, 2021, from https://www.air.org/topic/reading-and-literacy.

Chris Jolly. 2021. Jolly Learning. [Online]. Retrieved May 5, 2021, from https://www.
jollylearning.co.uk/about-us/chris-jolly/accessed.

Ertheo Educational Agency. 2018. Benefits of learning a second language as a
child Ertheo Education & Sport. [Online]. Retrieved January 24, 2021, from
https://www.ertheo.com/blog/en/learning-a-second-language/.

Sattra Sahatsathatsana. 2017. Pronunciation Problems of Thai Students Learning
English Phonetics: A Case Study at Kalasin University. Journal of education,
Mahasarakham University. [Online]. Retrieved February 15, 2021, from
http://edu.msu.ac.th/journal/home/journal_file/383.pdf.

Sue Lloyd. 2021. How Jolly Phonics works. [Online]. Retrieved May 5, 2021, from
https://www.jollylearning.co.uk/jolly-
phonics/#:~:text=Jolly%20Phonics%20is%20a%20comprehensive,as%20opposed
%20to%20the%20alphabet.

_______. 2021. The Five Skills Taught in Jolly Phonics. [Online]. Retrieved May 5,
2021, from http://jollyreading.com/introduction-to-jolly-phonics/.

Tassanee Satthaphong. 2017. RESEARCH AND DEVELOPMENT OF READING
LITERACY FOLLOW THE PISA TEST USING BY READING APPRENTICESHIP
APPROACH. Proceeding of the International Academic Multidisciplinary
Research Conference March 1-3, 2018, 24. [Online]. Retrieved March 30, 2021,
from http://www.thai.edu.ssru.ac.th/useruploads/files/20180528/4ad7592651606
5df097cd90877dc61b212c680a4.pdf.

ภาคผนวก ก

ประวตั ิผวู้ ิจยั

ประวัติผู้วจิ ยั

ช่อื นางสาวชวัลลกั ษณ์ พิทกั ษ์
วัน เดอื น ปี เกิด
ประวัตกิ ารศึกษา 5 มกราคม 2536

ประสบการณก์ ารทำงาน มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก

มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นสรุ าษฎรพ์ ิทยา

ปรญิ ญาตรี คณะศลิ ปศาสตร์

สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์

ครผู ู้ชว่ ย โรงเรียนบ้านควนพรพุ ี

ประวัติผู้วิจยั

ชื่อ นางสาวปรางทิพย์ สุขสะอาด
วนั เดือน ปี เกิด
ประวตั ิการศกึ ษา 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2532

ประสบการณ์การทำงาน มัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนกลั ยาณศี รีธรรมราช

มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนกลั ยาณีศรีธรรมราช

ปริญญาตรี คณะศิลปศาสตร์

สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ

มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

ครผู ชู้ ว่ ย โรงเรยี นเทศบาล ๑ วัดละไม

ภาคผนวก ข

รายชอื่ ผู้เช่ยี วชาญตรวจเคร่อื งมือวจิ ยั

รายชื่อผ้เู ชีย่ วชาญตรวจเครอ่ื งมอื วิจยั

รศ.ดร.ณรณั ศรวี หิ ะ มหาวทิ ยาลัยตาปี
นางสาวกะรตั เพชร คงรอด นักวิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ
องค์การบริหารส่วนตำบลท่าโรงชา้ ง
นางปณติ า นลิ ทัพ ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนเทศบาล ๕ เทศบาลนครสรุ าษฎรธ์ านี







ภาคผนวก ค

เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวิจยั

- แผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื งโฟนกิ ส์
- แบบวดั ทกั ษะในการออกเสยี งภาษาองั กฤษ
- แบบประเมินความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโฟนิกส์
ผสมผสานแบบท่องจำศพั ท์

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1

รหัสวชิ า อ 13101 รายวชิ า ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน
ปีการศกึ ษา 2564
ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 1 ชวั่ โมง
ช่อื ผสู้ อน นางสาวปรางทพิ ย์ สุขสะอาด
หนว่ ยการเรียนที่ 1 Learning the Letter Sounds and Formation

วนั ท่ีสอน 18 มถิ นุ ายน 2564

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ัด
ตัวชี้วัด

อ่านออกเสยี ง สะกดคำ ตามหลักการออกเสียงแบบโฟนิกส์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง (มฐ. ต 1.1 ป.3/2, ต 2.2 ป.3/1)

สาระสำคัญ
การทบทวนตวั อกั ษรภาษาองั กฤษทง้ั 26 ตัวอักษร การเรียนรเู้ สยี งของตัวอกั ษรทงั้ หมดรวมถงึ การอ่านออกเสยี ง

คำศัพท์พ้นื ฐานทีก่ ำหนดใหโ้ ดยใชห้ ลักการออกเสียงแบบโฟนิกส์

จุดประสงค์การเรยี นรู้ (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมเพ่อื ใหบ้ รรลตุ ามตวั ชว้ี ัด)
1. สามารถจดจำและรู้ถงึ วิธีการเขยี นตัวอกั ษรภาษาองั กฤษ ทั้งตัวพมิ พ์เล็กและพิมพ์ใหญไ่ ด้
2. สามารถออกเสียงตวั อกั ษรภาษาองั กฤษถูกต้องตามหลักการออกเสียงโฟนิกสไ์ ด้

สาระการเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (Knowledge)

การอา่ นออกเสียง (Phonics/ Pronunciation)

1. จดจำรปู และเสียงตวั อกั ษร A-Z ตามหลักการออกเสียงแบบโฟนิกส์ได้

2. สามารถออกเสียงตวั อกั ษร A-Z ตามหลกั การออกเสียงแบบโฟนิกสไ์ ด้

คำศัพท์ (Vocabulary)

1. คำศัพท์ทีส่ อดแทรกในเพลง A-Z ตามหลกั การออกเสียงแบบโฟนิกส์ ดังน้ี

a-apple, b-ball, c-cookies, d-daddy, e-elbow, f-funny, g-go, h-happy, i-in, j-juice,

k-kick, l-look, m-mommy, n-nose, o-off, p-play, q-quiet, r-red, s-stop, t-toilet,

u-up, v-voice, w-water, x-x, y-yes, z-zero

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (Process)

1. รอ้ งเพลงการออกเสียงตวั อักษรภาษาอังกฤษตามหลักการออกเสยี งแบบโฟนิกส์ได้

2. กลา้ แสดงออก สามารถแสดงทา่ ทางประกอบเพลงได้

ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (Attitude)

รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่ือสตั ย์สุจรติ

 มุ่งมน่ั ในการทำงาน  มวี นิ ัย  รกั ความเปน็ ไทย

 ใฝ่เรียนรู้  มจี ิตสาธารณะ

ดา้ นสมรรถนะสำคัญของนักเรียน

 ความสามารถในการสอ่ื สาร

 ความสามารถในการคดิ ใชก้ ารเช่อื มโยงและการให้เหตุผล

 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ด้านคุณลกั ษณะของนักเรยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล
1. มคี วามรับผดิ ชอบ
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน

(ช่วั โมงท่ี 1)
ขั้นนำ

ครูผ้สู อนเข้ามาในหอ้ งเรียนและพดู ทกั ทายกบั นักเรยี นในชน้ั
Teacher: Good morning. How are you today?
Students: I’m fine, thank you. And you?
Teacher: I’m great.

ในชั่วโมงแรกของการสอนครูผู้สอนอาจเร่ิมต้นโดยการถามนักเรียนว่าตัวอักษรในภาษาอังกฤษมีทั้งหมดกี่ตัว โดย
ครูผู้สอนอาจให้นักเรียนยกมือเพือ่ ตอบ และเนื่องจากชั่วโมงนีเ้ ป็นชั่วโมงแรกของการทบทวนตัวอกั ษรภาษาอังกฤษ ดังน้นั
อาจได้คำตอบที่แตกตา่ งกันออกไป

ตอ่ มาครผู ู้สอนเปิดเพลงตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ A-Z (แบบท่วั ไป) ใหน้ ักเรยี นร้องตาม 1 รอบ และเม่ือเพลงจบจงึ ถาม
นักเรยี นว่ารู้หรือไมว่ า่ กำลงั จะเรยี นเรื่องใดในชว่ั โมงนี้

เมื่อนักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นแล้ว ครผู ู้สอนจงึ เฉลยว่ากำลงั จะเรยี นเรอื่ งตัวอักษรภาษาอังกฤษ แตจ่ ะเป็น
แบบที่นกั เรียนอาจไมเ่ คยรูจ้ กั มาก่อน
ข้นั สอน

1. ครผู ้สู อนเปิดเพลงตวั อกั ษรภาษาอังกฤษจากเว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=R2frjzrC5Jg ซ่ึง
เป็นคลปิ สอนการออกเสียงตวั อกั ษรภาษาองั กฤษแบบโฟนิกส์ เปดิ 2 ครั้ง ให้นักเรยี นคอ่ ยๆรอ้ งตาม จากน้ันเปิดทีละตวั แล้ว
ใหน้ กั เรยี นออกเสยี งตามชา้ ๆ

2. เปิดเพลงซ้ำและให้นักเรียนร้องเพลงและแสดงท่าทางประกอบ (โดยหลังจากชั่วโมงนี้ครูผู้สอนอาจสอดแทรก
เพลงนกี้ ่อนเรียนเม่อื มีโอกาส เพอ่ื ชว่ ยให้นกั เรียนจดจำเสยี งของตัวอกั ษรไดด้ ยี ิ่งข้นึ )

3. จากนน้ั ครผู สู้ อนร้องเพลงอีกครั้ง และแจกใบงานให้นักเรียนจดเสียงอ่านตาม โดยเปน็ ใบงานท่ีมีเส้นแบ่งบรรทัด
ให้เพือ่ สะดวกต่อการเขยี นตัวอักษรตาม (ดังภาพ)

Aa → /แอะ/ /æ/ Nn → /เหนอะ/ /n/
Oo → /เอาะ/ /ɒ/
Bb → /เบอะ/ /b/ Pp → /เพอะ/ /p/
Qq → /เควอะ/ /k/, /kw/
Cc → /เคอะ/ /c/ Rr → /เหรอะ/ /r/
Ss → /เซอะ/ /s/
Dd → /เดอะ/ /d/ Tt → /เทอะ/ /t/
Uu → /อะ/ /ʌ/
Ee → /เอะ/ /ɛ/ Vv → /เฝอะ/ /v/
Ww → /เหวอะ/ /w/
Ff → /เฝอะ/ /f/ Xx → /เอก็ ส/ /ks/
Yy → /เหยอะ/ /y/
Gg → /เกอะ/ /g/ Zz → /เซอะ/ /z/

Hh → /ฮะ/, /เฮอะ/ /h/

Ii → /อิ/ /ɪ/

Jj → /เจอะ/ /j/

Kk → /เคอะ/ /k/

Ll → /เลอะ/ /l/

Mm → /เหมอะ/ /m/

4. ต่อมาครูผู้สอนให้นักเรยี นปิดสมดุ หรอื ส่งิ ที่ตนเองจดไว้ จากนั้นครจู งึ เขียนตวั อกั ษรบนกระดาน แลว้ ถามนกั เรียน
วา่ คอื ตัวอะไร และออกเสยี งว่าอย่างไรเพอื่ ทดสอบความจำ เช่น

s at i pn
5. จากน้ันจงึ ออกเสยี งใหน้ กั เรียนฟงั อีกครง้ั จากนั้นจงึ เปดิ เพลงตวั อักษรให้นักเรยี นฝกึ ออกเสียงตาม
(https://www.youtube.com/watch?v=SUg2LI0uH4g)

s = /s/ a = /æ/ t = /t/ i = /ɪ/ p = /p/ n = /n/

6. จากนน้ั ครูผูส้ อนโชวบ์ ตั รคำให้นกั เรยี นดู โดยใหท้ งั้ หอ้ งร่วมกันออกเสียงตามบตั รคำนน้ั ๆ หลงั จากนั้นจงึ คอ่ ยส่มุ ให้

นักเรยี นออกเสยี งคนละ 1-2 ตวั อักษร เพื่อตรวจสอบความถูกตอ้ งของการออกเสยี ง ตวั อยา่ งเชน่

ดา้ นหนา้ ด้านหลัง

กิจกรรมเพ่มิ เตมิ
ครูผสู้ อนอาจเพิ่มความสนกุ สนานและเสริมทกั ษะความจำโดยการสอดแทรกกจิ กรรมเกมเข้าไปดังน้ี
ชื่อเกม Fun Alphabet
1. ครูผู้สอนให้นักเรยี นแบง่ เป็น 2 กลมุ่ เทา่ ๆ กัน
2. ครผู สู้ อนตดิ บตั รตวั อกั ษรในกระดานแบบไม่เรยี งลำดับ
3. จากนั้นครูผ้สู อนอธิบายกตกิ าพรอ้ มแจกไม้บรรทดั ใหน้ กั เรียนคนท่ียืนหวั แถว แถวละ 1 อัน โดยกติกามอี ยู่
วา่ ใหน้ ักเรียนแบง่ เป็น 2 แถว เมื่อครอู อกเสียงตัวอักษรใดกต็ าม ให้นกั เรียนที่ถอื ไม้บรรทัดอยวู่ ่งิ ไปแตะที่
ตัวอักษรนนั้ ๆ กลุ่มใดทีว่ ิง่ ไปแตะได้เปน็ กลมุ่ แรก และถกู ต้อง จะไดร้ บั คะแนนไปครั้งละ 1-2 คะแนน (แตม้
คะแนนขน้ึ อย่กุ บั ดุลยพินิจของครูในแต่ละรอบ)

ขนั้ สรปุ
1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ และทบทวนอีกครงั้ โดยครโู ชว์บัตรตวั อกั ษรข้นึ มาอีกครั้งและให้นักเรยี นชว่ ยกนั ตอบ
2. ครูใหน้ กั เรียนรว่ มกันผลติ ชนิ้ งานบตั รตวั อกั ษร หรือวาดภาพส่งิ ของตา่ งๆตามทีไ่ ดเ้ ห็นในบตั รคำศัพท์ เพื่อชว่ ยให้

จำได้ดยี ง่ิ ขึน้
3. ครแู ละให้นักเรียนร่วมกันรอ้ งเพลงอีกครัง้ หนงึ่

ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้

1. คลปิ วิดีโอสอนการออกเสยี งตัวอักษรภาษาองั กฤษตามแบบโฟนิกส์
#1 https://www.youtube.com/watch?v=R2frjzrC5Jg
#2 https://www.youtube.com/watch?v=tKsIi1MH4lw

2. คลปิ วิดโี อการออกเสียงและบตั รตวั อกั ษร s a t i p n
#3 https://www.youtube.com/watch?v=SUg2LI0uH4g

3. ใบงานเรื่องการออกเสยี งและแบบฝกึ คัดลายมือตัวอกั ษร
4. สือ่ ในการสอนในโปรแกรม power point

การวัดผลและประเมลิ ผลการเรยี นรู้

วธิ ีวดั เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ
1. ประเมินการทำแบบฝึกหัด
1. ใบงานเรอื่ งการออกเสียงและแบบ 1. รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ฝึกคดั ลายมอื ตัวอักษร (หรือได้ 6 - 10 คะแนน)

ชอื่ - สกุล ..................................................................................... ชั้นป. 3/...... เลขที่ ..........

ใบงานที่ 1

วชิ าภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน (รหสั วชิ า อ 13101)
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง การเรียนรเู้ สยี งและการเขยี นตวั อกั ษร

(Learning the Letter Sounds and Formation)
**********************************************************************(ม*ฐ*. ต*1.1 ป.3/2, ต.2.2 ป.3/1)
คำชี้แจง ให้นักเรยี นลากเส้นตัวอักษรภาษาองั กฤษทกี่ ำหนดใหต้ ่อไปนี้พรอ้ มท้ังระบายสีภาพใหส้ วยงาม (10 คะแนน)

1.
2.
3. .

4.

5.

6.
7.

8.

9.

10.

11.

12.

ชื่อ - สกลุ ..................................................................................... ช้นั ป. 3/...... เลขท่ี ..........

13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.

20.

21.
22.
23.
24.
25.
26.

เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ใบงานที่ 1 วิชาภาษาอังกฤษพนื้ ฐาน (รหัสวิชา อ 13101)
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง การเรียนรูเ้ สยี งและการเขียนตัวอกั ษร

(Learning the Letter Sounds and Formation)
****************************************************
ใบงานท่ี 1 การออกเสยี งและแบบฝกึ คัดลายมอื ตวั อกั ษร (10 คะแนน) (มฐ. ต 1.1 ป.3/2, ต.2.2 ป.3/1)

การเขียนตัวอักษรตามเส้นประ (4 คะแนน) การอ่านออกเสียงตวั อกั ษร (6 คะแนน)

- สามารถอ่านออกเสียงตวั อักษรได้ถูกตอ้ ง
รอ้ ยละ 80 (หรือ 21 ขอ้ ข้ึนไป) (6 คะแนน)
- สามารถอา่ นออกเสยี งตวั อักษรได้ถกู ต้อง
ร้อยละ 70 - 79 (หรือ 18 - 20 ขอ้ ) (5 คะแนน)
ผเู้ รียนสามารถเขยี นตวั อักษรถูกต้องครบถ้วน สะอาด สามารถอ่านออกเสียงตัวอักษรได้ถกู ตอ้ ง
ร้อยละ 80 (หรอื 21 ขอ้ ข้ึนไป) (4 คะแนน) ร้อยละ 60 - 69 (หรือ 15 - 17 ขอ้ ) (4 คะแนน)
สามารถอ่านออกเสยี งตัวอกั ษรไดถ้ กู ต้อง
ผเู้ รียนสามารถเขยี นตวั อกั ษรถูกตอ้ งครบถ้วน สะอาด รอ้ ยละ 50 - 59 (หรอื 13 - 15 ขอ้ ) (3 คะแนน)
รอ้ ยละ 70 - 79 (หรอื 18 - 20 ขอ้ ) (3 คะแนน) สามารถอา่ นออกเสียงตัวอกั ษรได้ถูกตอ้ ง

ผูเ้ รียนสามารถเขียนตวั อักษรถกู ตอ้ งรอ้ ยละ 60 - 69 ร้อยละ 40 - 49 (หรอื 10 - 12 ขอ้ )
(หรือ 15 - 17 ข้อ) (2 คะแนน) (2 คะแนน)

ผเู้ รยี นสามารถเขียนตวั อกั ษรถกู ตอ้ งร้อยละ 50 - 59 สามารถอา่ นออกเสยี งตัวอกั ษรได้ถกู ตอ้ ง
แต่มีบางตวั ไม่เป็นระเบยี บ ตกหลน่ หรือไมส่ ะอาด ต่ำกวา่ รอ้ ยละ 30 - 39 (หรือ 8 - 10 ข้อ)

(หรือ 13 - 15 ขอ้ ) (1 คะแนน) (1 คะแนน)
ไม่สามารถอา่ นออกเสียงตวั อักษรไดห้ รือสามารถอา่ น
ผูเ้ รยี นสามารถเขยี นตวั อกั ษรถูกต้องต่ำกวา่ รอ้ ยละ 49
(หรอื ต่ำกวา่ 12 ข้อ) (0 คะแนน) ได้ถูกตอ้ งต่ำกวา่ รอ้ ยละ 29 (หรอื ตำ่ กว่า 7 ข้อ)
(0 คะแนน)
………………………..คะแนน
………………………..คะแนน

เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ รวม .................................... คะแนน
ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ

6 -10 ผา่ น ผา่ น
0 - 5 ไม่ผ่าน
ไมผ่ ่าน

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2

รหสั วิชา อ 13101 รายวชิ า ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน

ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นท่ี 2 Identifying and Blending Sounds เวลา 4 ชวั่ โมง

วนั ทีส่ อน 25 สงิ หาคม 2564 ชอ่ื ผ้สู อน นางสาวปรางทิพย์ สุขสะอาด

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั
ตวั ชีว้ ัด

สามารถแยกเสยี งสระและเสยี งพยญั ชนะได้ สามารถประสมเสียงคำพืน้ ฐานทมี่ ีโครงสรา้ ง พยัญชนะ-สระ-พยญั ชนะ
(CVC) และ สระ-พยญั ชนะ (VC) ตามหลกั การออกเสียงแบบโฟนิกส์ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง (มฐ.ต 1.1 ป.3/2, ต 2.2 ป.3/1)

สาระสำคญั
การเข้าใจหลักการและวิธกี ารการประสมเสยี งตัวอักษรตามหลกั การออกเสยี งแบบโฟนิกสไ์ ด้ สามารถออกเสยี ง

คำศพั ท์ทีม่ โี ครงสร้างพื้นฐานแบบพยญั ชนะ-สระ-พยญั ชนะ (CVC) และ สระ-พยัญชนะ (VC) ได้อยา่ งถกู ต้องตามหลกั การ
ออกเสียงแบบโฟนกิ ส์ และสามารถเช่ือมโยงวิธีการอ่านออกเสยี งแบบโฟนกิ สเ์ ขา้ กบั คำศพั ท์ต่างๆท่ีพบในชีวติ ประจำวันได้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมเพือ่ ใหบ้ รรลตุ ามตัวชีว้ ดั )
1. สามารถแยกเสยี งสระและเสยี งพยญั ชนะได้
2. สามารถประสมเสยี งคำพื้นฐานทม่ี ีโครงสรา้ ง พยัญชนะ-สระ-พยัญชนะ (CVC) และ สระ-พยญั ชนะ (VC) ได้

ถกู ตอ้ ง
3. สามารถเชอื่ มโยงวิธกี ารออกเสยี งที่ครูสอนกบั การออกเสยี งคำท่ีพบในชีวติ ประจำวนั ได้

สาระการเรียนรู้
ด้านความรู้ (Knowledge)
การอา่ นออกเสยี ง (Phonics/ Pronunciation)
1. ประสมเสยี งตวั อักษรต่างๆ และสามารถอ่านออกเสยี งคำทีม่ ีโครงสรา้ ง สระ-พยัญชนะ (V-C) หรือ
พยัญชนะ-สระ-พยญั ชนะ (C-V-C) ตามหลกั การออกเสยี งแบบโฟนิกส์ได้
คำศัพท์ (Vocabulary)
tap, tan, nap, pan, sat, sit, sip, pin, tin, tip|
kit, kiss, bin, ban, cot, can, fat, fin, mop, map
fun, gun, sun, nun, hug, mug, rug, jug, pen, hen, men
รปู แบบประโยค/ ไวยากรณ์ (Sentence Pattern/ Grammar)
1. สร้างคำใหม่โดยใชโ้ ครงสร้าง สระ-พยัญชนะ (V-C) หรอื พยัญชนะ-สระ-พยัญชนะ (C-V-C) ดว้ ยตนเองได้
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (Process)
1. ร้องเพลงการออกเสียงตัวอกั ษรภาษาองั กฤษตามหลักการออกเสยี งแบบโฟนกิ ส์ได้
2. สามารถเลน่ เกมและเขา้ ใจกตกิ าการทำงานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ได้

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (Attitude)

รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซอื่ สตั ย์สุจริต
 รักความเปน็ ไทย
 มุง่ มั่นในการทำงาน  มวี นิ ยั

 ใฝ่เรยี นรู้  มจี ิตสาธารณะ

ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของนักเรยี น

 ความสามารถในการสื่อสาร

 ความสามารถในการคดิ ใช้การเชอ่ื มโยงและการให้เหตุผล

 ความสามารถในการแก้ปญั หา

 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ

 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ดา้ นคุณลักษณะของนักเรยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

1. มคี วามรบั ผิดชอบ

2. ใฝเ่ รียนรู้

3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน

กจิ กรรมการเรียนการสอน

(ชัว่ โมงท่ี 1 : การประสมเสยี งอักษรกลุ่มท่ี 1 s, a, t, i, p, n )

ข้ันนำ

1. ครผู สู้ อนเข้ามาในห้องเรยี นและทักทายนักเรยี น จากนั้นจึงเริม่ ทบทวนส่ิงท่เี รียนในชัว่ โมงท่ีผ่านมา โดยการเขียน

ตวั อักษรในกระดานและร่วมกนั ออกเสยี งอกี ครัง้

s = /s/ a = /æ/ t = /t/ i = /ɪ/ p = /p/ n = /n/

ขั้นสอน
1. จากน้ันครูผู้สอนจึงให้นกั เรยี นแยกว่าตัวอกั ษรใดคอื สระหรอื พยัญชนะ

กล่มุ ที่ 1

2. ครูผสู้ อนเขียนตัวอกั ษรพยญั ชนะ และสระ ขึ้นมาอยา่ งละ 1 ตวั และแสดงการออกเสียงให้นกั เรียนฟงั เป็น
ตวั อยา่ ง สาธิตให้นกั เรียนดู 1-2 ตวั อยา่ ง จากน้ันจึงให้นกั เรียนทดลองอ่านด้วยตนเอง (ในขัน้ นี้ผ้สู อนไม่จำเป็นตอ้ งคำนึงถงึ
ความหมายของคำ เพียงแต่ให้นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้วิธกี ารและค้นุ เคยกบั การประสมเสียง)

s - a = sa (/s/ - /æ/)* s - i = si (/s/ - /ɪ/)
t - a = ta (/t/) - /æ/) t - i = ti (/t/) - /ɪ/)
p - a = pa (/p/) - /æ/) p - i = pi (/p/) - /ɪ/)
n - a = na (/n/) - /æ/) n - i = ni (/n/) - /ɪ/)

หมายเหตุ* ในวงเล็บเปน็ เพียงการออกเสียงใหน้ กั เรียนฟังเทา่ นน้ั ไม่จำเป็นต้องเขียนใหน้ กั เรยี นดูบนกระดาน

3. เมอื่ นกั เรยี นสามารถประสมเสียงอ่านเบอ้ื งตน้ ไดแ้ ลว้ จากน้นั ครผู ้สู อนจงึ เรม่ิ เขียนคำท่ีมีโครงสร้างแบบ
พยัญชนะ-สระ-พยญั ชนะ (Consonant-Vowel-Consonant: C-V-C) โดยการเพิม่ ตัวสะกดเขา้ ไปในตัวอยา่ งกอ่ นหนา้
จากน้นั แสดงตัวอยา่ งการอ่านใหน้ กั เรียนฟัง

s - a - p = sap (/s/ - /æ/ - /p/) s - i - p = sip (/s/ - /ɪ/) - /t/)
t - a - p = tap (/t/) - /æ/) - /p/) t - i - p = tip (/t/) - /ɪ/) - /t/)
p - a - p = pap (/p/) - /æ/) - /p/) p - i - p = pip (/p/) - /ɪ/) - /t/)
n - a - p = nap (/n/) - /æ/) - /p/) n - i - p = nip (/n/) - /ɪ/) - /t/)

4. เมือ่ นกั เรยี นสามารถประสมเสยี งไดค้ ลอ่ งแลว้ ให้ครูผู้สอนเพิม่ ตวั อย่าง โดยเขยี นคำที่มีความหมายในกระดานให้

นักเรียนลองอ่าน

s-i-t = sit (/s/ - /ɪ/ - /t/)

t-a-p = tap (/t/ - /æ/ - /p/)

p-a-n = pan (/p/ - /æ/ - /n/)

5. จากนั้นครผู ู้สอนจงึ เขียนคำทมี่ โี ครงสรา้ งแบบ สระ-พยัญชนะ (Vowel-Consonant: V-C) ขน้ึ มาแล้วถามนกั เรียน

ว่าคำทเ่ี ห็นในกระดานประกอบด้วยโครงสรา้ งอย่างไร (ตอบ โครงสรา้ งแบบ สระ-พยัญชนะ) แลว้ จึงให้นกั เรียนอ่านดว้ ย

ตนเอง

i-t = it (/ɪ/ - /t/)

i-n = in (/ɪ/ - /n/)

a-p = ap (/æ/ - /p/)

a-t = at (/æ/ - /t/)

6. ให้นกั เรียนลองทำแบบฝกึ หัด 5 - 10 นาที (กอ่ นทำแบบฝกึ หัดครผู ู้สอนอาจแจ้งใหน้ กั เรียนทราบว่าคำศพั ท์ทเ่ี ห็น

ในแบบฝกึ หดั น้ันมคี วามหมายตรงตามภาพที่กำหนดให้) จากน้นั ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยในชนั้ เรยี น

กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ
ครผู ู้สอนอาจเพิ่มกิจกรรมทบทวนความจำโดยการใหน้ กั เรียนเล่นเกมดังนี้
ช่อื เกม Mix Alphabets
1. ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่มๆ ละ 2-3 คน
2. ครูผูส้ อนแจกตวั อักษรภาษาองั กฤษแบบสมุ่ 3 ตัว (โดยตอ้ งมสี ระอย่างนอ้ ย 1 ตัว)
3. ครูอธบิ ายวธิ ีการ โดยใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ นำตัวอักษรท่ีได้มาสลับทกี่ นั ตามโครงสรา้ ง C-V-C
หรอื V-C แล้วออกมาอา่ นให้เพ่ือนฟังหน้าชั้นเรียน
4. กลมุ่ ใดท่ีสามารถสร้างคำอ่านและอ่านไดถ้ กู ตอ้ งมากทีส่ ุดจะเปน็ ผู้ชนะ
4. ครแู จกใบงานประสมอกั ษร C-V-C และ V-C ให้นักเรียนเขียนและฝึกออกเสยี งดว้ ยตนเองเพอ่ื เพม่ิ ความเขา้ ใจ

และใหส้ ง่ ครผู ู้สอนพร้อมกับอา่ นออกเสียงให้ครูฟัง

ขน้ั สรปุ
1. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ และทบทวนอกี ครั้งโดยครสู มุ่ เขยี นตัวอักษรในกระดาน แล้วให้นกั เรยี นชว่ ยกันออก

เสียงและประสมเสียงเปน็ คำ
2. ครใู หน้ กั เรยี นรว่ มกันผลติ ช้ินงานบตั รตวั อักษร หรือวาดภาพสงิ่ ของตา่ งๆตามทไี่ ดเ้ ห็นในบตั รคำศัพท์ เพ่อื ชว่ ยให้

จำได้ดยี ่งิ ข้นึ
3. ครูและใหน้ ักเรียนรว่ มกันร้องเพลงตวั อกั ษรทไ่ี ด้สอนไปในช่วั โมงแรกอกี คร้งั หนง่ึ

สือ่ /แหล่งเรียนรู้

1. บตั รตัวอักษรกลมุ่ ท่ี 1 (s, a, t, i, p, n) ขนาด 10 x 10 เซนตเิ มตร สำหรับการทำกิจกรรม
Mix Alphabets
2. ใบงานการประสมอกั ษร C-V-C และ V-C พรอ้ มภาพประกอบ
3. คลปิ วดิ ีโอเพลงตัวอักษร #2 https://www.youtube.com/watch?v=tKsIi1MH4lw

การวัดผลและประเมิลผลการเรยี นรู้ เกณฑก์ ารประเมิน
วธิ วี ดั เครื่องมอื 1. รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
1. ใบงานท่ี 1 ตอนที่ 1 การประสมอักษร C- (หรอื ผ่าน 6 คะแนนขน้ึ ไป)
2. รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
1. ประเมนิ การทำแบบฝึกหัด V-C พรอ้ มภาพประกอบ (หรอื ผา่ น 6 คะแนนขึ้นไป)
2. ใบงานท่ี 1 ตอนท่ี 2 การประสมอกั ษร V-C

(ชัว่ โมงท่ี 2-3 : การประสมเสียงอักษรกลุ่มที่ 2 b, c, f, k, m, o) (วนั ท่ีสอน 2 กรกฎาคม 2564)

ขน้ั นำ

1. ครผู ู้สอนเข้ามาในหอ้ งเรียนและพดู ทักทายกบั นักเรยี นในช้ัน

2. ครูผู้สอนทบทวนบทเรยี นโดยการเปิดเพลงให้นักเรยี นฟงั และรอ้ งตามเพ่ือเปน็ ทบทวนส่ิงที่เรยี นไปในชว่ั โมงทผ่ี ่าน

มา จากนน้ั จงึ โชว์บัตรตัวอกั ษรหมวดหมู่ s, a, t, i, p, n ขนึ้ มาเพื่อถามและให้ออกเสียงอีกคร้งั ก่อนจะสอนให้ออกเสียงในขน้ั

ถัดไป

ขั้นสอน

1. ครผู ้สู อนโชวบ์ ัตรตัวอักษรและใหน้ กั เรียนออกเสียงตามและให้ผเู้ รียนแยกอีกครั้งวา่ ตวั อกั ษรใดคือสระหรอื

พยัญชนะ

b = /b/ c = /c/ f = /f/ k = /k/ m = /m/ o = /ɒ/

กลุ่มที่ 2

2. ครูผู้สอนแจกใบงานฝกึ ทกั ษะการฟงั เสียงตวั อกั ษรใหน้ กั เรยี นลองทำ (ใบงานตอนท่ี 1 จะเป็นการให้นกั เรยี นกา
เครื่องหมายถูกเพ่อื เลอื กตวั อกั ษรที่ครอู อกเสียงให้ฟังในแต่ละข้อ) เมอ่ื ทำใบงานเสรจ็ แล้วใหร้ ว่ มกันเฉลยในหอ้ งเรยี น

3. ครูผสู้ อนเขยี นตวั อักษรกลมุ่ ท่ี 2 (b, c, f, k, m, o) ในกระดาน และสาธติ วิธกี ารประสมเสยี งให้นักเรยี นดู

ตวั อยา่ งที่ 1 (แบบ C-V) ตัวอยา่ งที่ 2 (แบบ C-V-C)
b - o = bo (/b/ - /ɒ/)
c - o = co (/c/ - /ɒ/) b - o - b = bob (/b/ - /ɒ/ - /b/)
f - o = fo (/f/ - /ɒ/)
k - o = ko (/k/ - /ɒ/) c - o - b = cob (/c/ - /ɒ/ - /b/)
m - o = mo (/m/ - /ɒ/)
f - o - b = fob (/f/ - /ɒ/ - /b/)

k - o - b = kob (/k/ - /ɒ/ - /b/)

m - o - b = mob (/m/ - /ɒ/ - /b/)

หมายเหตุ ในขน้ั น้คี รูผสู้ อนอธิบายเพมิ่ เตมิ วา่ เสยี ง /c/ และเสียง /k/ เป็นเสียงที่เหมอื นกัน

4. ครูผู้สอนนำเสนอตวั อกั ษรหมวดหมู่ s, a, t, i, p, n อกี ครั้งจากนัน้ จงึ นำตวั อักษรทงั้ สองหมวดหมู่มาประสมอักษร
รว่ มกัน และสร้างคำตา่ งๆขึ้นมาใหมเ่ พอื่ ใหน้ กั เรยี นฝึกอา่ น ตัวอยา่ งเชน่

พยัญชนะ-สระ-พยญั ชนะ สระ-พยญั ชนะ
(Consonant-Vowel-Consonant: C-V-C) (Vowel-Consonant: V-C)

k-i-t = kit c-o-t = cot i-t = it
k-i-ss = kiss c-a-n = can i-n = in
b-i-n = bin f-a-t = fat a-m = am
f-i-n = fin a-t = at
b-a-n = ban f-a-n = fan o-n = on
m-a-n = man f-i-t = fit
m-a-p = map t-o-m = tom
m-o-p = mop t-o-p = top

5. ครูผู้สอนใหน้ กั เรียนทำใบงานตอนที่ 2 เรอื่ งการประสมเสยี งสระและการฝึกอ่านพร้อมระบายสภี าพใหส้ วยงาม
กอ่ นทำอาจเนน้ ยำ้ อีกคร้งั วา่ ภาพทน่ี ักเรียนเห็นในแบบฝกึ หัดมีความสมั พันธ์กับคำศัพท์น้ันๆ

ขนั้ สรปุ
1. ครูผู้สอนและนักเรียนร่วมกนั สรุปกิจกรรมอกี ครั้ง โดยสมุ่ ยกแผ่นป้ายตัวอักษรขึ้นมาใหน้ กั เรยี นออกเสียงตาม
2. ใหน้ ักเรยี นผลิตชน้ิ งานบตั รคำศัพทข์ องตนเองพรอ้ มระบายสภี าพให้สวยงาม ให้นำเสนอต่อเพือ่ นหน้าช้นั เรียนใน

ชั่วโมงถัดไป

สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้
1. บตั รอกั ษรและภาพกลุม่ s, a, t, p, i, n และกลมุ่ b, c, f, k, m, o
2. คลปิ วดิ โี อเพลง A-Z #1 https://www.youtube.com/watch?v=R2frjzrC5Jg
3. ใบงานตอนที่ 1 ทกั ษะการฟงั เสยี งตัวอักษร b, c, f, k, m, o
4. ใบงานตอนท่ี 2 การประสมเสียงสระและการฝึกอ่านเสยี งตัวอกั ษรทัง้ หมวดหมู่ b, c, f, k, m, o และ s, a, t, i,
p, n พร้อมภาพประกอบ
5. อุปกรณผ์ ลิตบตั รคำศพั ท์เช่น กระดาษการด์ ขาว 180 แกรม / กรรไกร / สีไม้ / กาว เป็นตน้
6. พจนานกุ รม

การวัดผลและประเมลิ ผลการเรียนรู้

วิธีวัด เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
1. ประเมนิ การทำแบบฝึกหัด
2. ประเมินชนิ้ งานบตั รคำศพั ท์ 1. ใบงาน 2 ตอนท่ี 1 ทกั ษะการฟังเสียง 1. ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

ตวั อกั ษร b, c, f, k, m, o (ชว่ั โมงที่ 2-3) (หรือผ่าน 3 คะแนนข้ึนไป)

2. ใบงาน 2 ตอนที่ 2 การประสมเสียงและการ 2. ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

ฝึกอา่ นเสยี งตวั อกั ษรทง้ั หมวดหมู่ b, c, f, k, (หรอื ผ่าน 6 คะแนนขนึ้ ไป)

m, o และ s, a, t, i, p, n พรอ้ มภาพประกอบ

(ชวั่ โมงที่ 2-3)

3. ใบงาน 2 ตอนที่ 3 การประสมเสยี งและการ 3. ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ฝกึ อ่านเสียงตวั อกั ษรแบบ V-C (หรือผา่ น 3 คะแนนข้นึ ไป)

(ชวั่ โมงท่ี 2-3)

4. ตารางแบบประเมนิ ชน้ิ งานบัตรคำศัพท์ 4. ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

(ชัว่ โมงที่ 2-3) (หรอื ผ่าน 3 คะแนนขน้ึ ไป)

(ชั่วโมงที่ 4 : การประสมเสยี งอกั ษรกลุ่มท่ี 3 d, e, g, h, j, u, w) (วันทส่ี อน 9 กรกฎาคม 2564)

ขนั้ นำ

1. ครผู ู้สอนเข้ามาในห้องเรยี นและพูดทักทายกบั นกั เรียนในชั้น

Teacher: Good morning. How are you today?

Students: I’m fine, thank you. And you?

Teacher: I’m OK.

โดยอาจสอดแทรกว่าในกรณีที่เราสบายดี สามารถตอบไดห้ ลายรูปแบบ จากในช่วั โมงที่ผ่านมาเราตอบว่า I’m

great. หรอื I’m OK. กไ็ ด้

2. ครูผู้สอนนำนกั เรียนร้องเพลงตัวอกั ษรเพอื่ ทบทวนเสียงท่ีเรยี นไปในชว่ั โมงแรก

ขั้นสอน

1. ครผู ู้สอนนำเสนอตวั อักษรกล่มุ ถัดไปคอื d, e, g, h, j, u, w โดยใช้บตั รตวั อักษร จากนนั้ จึงให้ผู้เรียนลองออก
เสียงเพ่ือทดสอบความจำ

2. จากน้นั ครผู ้สู อนทบทวนเสียงตัวอักษรกลุ่มดงั กลา่ วอกี ครงั้ แลว้ จงึ ถามว่าตวั ใดเปน็ สระ หรือพยัญชนะ

d = /d/ e = /ɛ/ g = /g/ h = /h/ j = /j/ u = /ʌ/ w = /w/

กลุ่มที่ 3

3. เมือ่ นกั เรยี นสามารถแยกได้แล้วครูจึงเขียนตวั อยา่ งคำศัพทใ์ นกระดานให้นักเรยี นออกเสียง

อกั ษรกลุม่ ที่ 3 (d, e, g, h, j, u, w)

d-u-g = dug (/d/ - /ʌ/ - /g/) w-i-n = win (/w/ - /ɪ/ - /n/)
d-u-n = dun (/d/ - /ʌ/ - /n/) w-o-n = won (/w/ - /ʌ/ - /n/)
g-u-n = gun (/g/ - /ʌ/ - /n/) w-e-b = web (/w/ - /ɛ/ - /b/)
g-u-m = gum (/g/ - /ʌ/ - /m/) w-e-t = wet (/w/ - /ɛ/ - /t/)
h-u-g = hug (/h/ - /ʌ/ - /g/) e-n = en (/ɛ/ - /n/)
h-u-b = hub (/h/ - /ʌ/ - /b/) e-s = es (/ɛ/ - /s/)
h-e-n = hen (/h/ - /ɛ/ - /n/) e-p = ep (/ɛ/ - /p/)
h-o-p = hop (/h/ - /ɒ/ - /p/) e-m = em (/ɛ/ - /m/)
j-u-g = jug (/j/ - /ʌ/ - /g/) u-m = um (/ʌ/ - /m/)
j-a-m = jam (/j/ - /æ/ - /m/) u-n = un (/ʌ/ - /n/)
j-o-b = job (/j/ - /ɒ/ - /b/) u-s = us (/ʌ/ - /s/)
j-o-g = jog (/j/ - /ɒ/ - /g/) u-p = up (/ʌ/ - /p/)

4. จากนน้ั ครูผ้สู อนจงึ แจกใบงานพรอ้ มอธบิ ายวิธที ำ
5. เม่อื นักเรยี นทำใบงานเสรจ็ แลว้ ให้ชว่ ยกันออกเสยี งอกี ครง้ั หนึ่งเพอื่ เป็นการตรวจสอบความเข้าใจรว่ มกนั ทัง้ ช้ัน

กิจกรรมเพิม่ เติม
ครูผู้สอนอาจเพ่ิมกิจกรรมทบทวนความจำและทดสอบทักษะการฟงั โดยการใหน้ ักเรียนเลน่ เกมดังนี้
ชอ่ื เกม Find Me
1. ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ ๆ ละ 5 คน (ให้แต่ละคนถือตวั อักษรคนละ 2 ตัว)
2. ครูผูส้ อนแจกตัวอกั ษรภาษาอังกฤษเปน็ ชุด ชดุ ละ 10 ตัว ซงึ่ ประกอบด้วยตัวอักษรดังนี้
d, e, g, h, j, u, w, n, m, p (เปน็ ตัวอกั ษรทีไ่ ดจ้ ากกลุ่มท่ี 1, 2, และ 3)
3. ครูผูส้ อนอธิบายกตกิ าในการทำกิจกรรม คอื เม่ือครูออกเสียงคำใด ให้สมาชกิ ในกลุ่มแต่ละกลมุ่

พยายามหาตัวอักษรของคำเหล่านัน้ แลว้ นำมาเรยี งกนั ให้ถกู ต้อง โดยคำท่คี รูออกเสยี งอาจเปน็ แบบ V-C หรือ C-V-
C ก็ได้ เชน่ ครูอาจออกเสยี งคำว่า pen 2 ครัง้ แบบชัดเจน และประสมเสียงใหฟ้ ัง 2 คร้ัง (/p/ - /ɛ/ - /n/)

4. นกั เรยี นกลุ่มใดที่เรียงลำดบั ตัวอกั ษรไดถ้ กู ตอ้ งตรงตามทค่ี รูออกเสียง จะได้ 3 คะแนน (จำนวน
คะแนนขน้ึ อยูก่ บั จำนวนตัวอักษรทีเ่ รียงถกู ต้อง)

หมายเหตุ * อาจมีการให้คะแนนเพิม่ หากสามารถบอกความหมายของคำศัพท์น้นั ๆได้

ขน้ั สรุป

1. ครูผสู้ อนและนักเรยี นร่วมกนั สรุปกจิ กรรมอกี ครั้งหนง่ึ โดยอาจแจกบัตรตวั อกั ษรใหน้ กั เรยี นถอื ท้ังกลมุ่ ท่ี 1, 2, 3
กระจายทว่ั ห้องเรียน จากน้นั ให้ยกบตั รอกั ษรข้นึ มาทีละคน แลว้ ให้เพื่อนในหอ้ งชว่ ยกนั ออกเสยี งอกี ครงั้

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. บตั รอักษรและภาพกล่มุ ท่ี 1, 2, และกลมุ่ ที่ 3 (d, e, g, h, j, u, w) ทีใ่ ช้ในการสอน
2. ใบงานการประสมเสียงตวั อักษรกลมุ่ ท่ี 3 (d, e, g, h, j, u, w) พรอ้ มภาพประกอบ
3. บัตรอกั ษรชุดละ 10 ตัว ขนาด 15 x 15 cm ซึ่งใชส้ ำหรบั การเล่นเกม Find Me

การวัดผลและประเมิลผลการเรยี นรู้

วธิ ีวัด เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมิน
1. ประเมินการทำแบบฝกึ หัด 1. ใบงานท่ี 3 ตอนที่ 1 การประสมเสยี ง 1. รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตวั อักษรกล่มุ ที่ 3 (หรอื ได้ 3 – 5 คะแนน)
(d, e, g, h, j, u, w) พร้อมภาพประกอบ
(ชั่วโมงท่ี 4) 2. ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2. ใบงานที่ 3 ตอนท่ี 2 การวดั ทักษะการฟัง (หรอื ได้ 3 – 5 คะแนน)
และการประสมเสียงตวั อักษรกลมุ่ ท่ี 3
(d, e, g, h, j, u, w) พรอ้ มภาพประกอบ
(ชว่ั โมงที่ 4)

ชื่อ - สกลุ ..................................................................................... ชั้นป. 3/...... เลขที่ ..........

ใบงานท่ี 1

วิชาภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน (รหสั วชิ า อ 13101)
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง การระบเุ สียงและการประสมเสยี งตัวอกั ษร

(Identifying and Blending Sounds)
*************************************************************************
ตอนที่ 1 ให้นกั เรยี นอ่านออกเสียงและเขียนคำศพั ทต์ ่อไปนต้ี ามเส้นประทก่ี ำหนดให้ (10 คะแนน) (มฐ.ต 1.1 ป.3/2, ต 2.2 ป.3/1)

ตอนที่ 2 ใหน้ ักเรียนโยงเส้นและ กอ่านคาต่อไปน้ี (10 คะแนน)

• •(มฐ. ต 1.1 ป.3/2)
••
••
••
••

เฉลยและเกณฑ์การใหค้ ะแนนใบงานท่ี 1

วชิ าภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน (รหัสวชิ า อ 13101)
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เรอ่ื ง การระบุเสยี งและการประสมเสียงตัวอักษร

(Identifying and Blending Sounds)
*************************************************************************
ตอนท่ี 1 การอ่านออกเสียงและเขียนคำศพั ท์ตามเสน้ ประท่กี ำหนดให้ (การประสมอักษรตามโครงสรา้ ง C-V-C)

การเขียนตวั อักษรตามเส้นประ (4 คะแนน) การอ่านออกเสียงตวั อักษร (6 คะแนน)

- สามารถอา่ นออกเสยี งตัวอกั ษรได้ถูกตอ้ ง
ร้อยละ 80 (หรือ 8 ขอ้ ขึ้นไป) (6 คะแนน)
- สามารถอ่านออกเสยี งตวั อักษรไดถ้ กู ตอ้ ง
รอ้ ยละ 70 - 79 (หรือ 7 ขอ้ ) (5 คะแนน)
ผ้เู รียนสามารถเขียนตวั อักษรถูกตอ้ งครบถว้ น สะอาด สามารถอ่านออกเสยี งตวั อักษรไดถ้ กู ตอ้ ง
ร้อยละ 80 (หรอื 8 ขอ้ ข้นึ ไป) (4 คะแนน) ร้อยละ 60 - 69 (หรอื 6 ขอ้ ) (4 คะแนน)
สามารถอา่ นออกเสยี งตวั อกั ษรได้ถกู ตอ้ ง
ผู้เรียนสามารถเขียนตัวอักษรถูกต้องครบถ้วน สะอาด ร้อยละ 50 - 59 (หรอื 5 ข้อ) (3 คะแนน)
รอ้ ยละ 70 - 79 (หรอื 7 ขอ้ ) (3 คะแนน) สามารถอ่านออกเสียงตัวอกั ษรไดถ้ ูกตอ้ ง
ร้อยละ 40 - 49 (หรือ 4 ข้อ) (2 คะแนน)
ผเู้ รียนสามารถเขียนตวั อักษรถกู ตอ้ งร้อยละ 60 - 69
(หรอื 6 ขอ้ ) (2 คะแนน) สามารถอ่านออกเสียงตัวอกั ษรได้ถูกต้อง
ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 30 - 39 (หรอื 3 ขอ้ ) (1 คะแนน)
ผูเ้ รยี นสามารถเขยี นตัวอกั ษรถกู ตอ้ งร้อยละ 50 - 59
แต่มบี างตวั ไม่เปน็ ระเบียบ ตกหล่น หรือไมส่ ะอาด ไมส่ ามารถอ่านออกเสยี งตัวอักษรได้หรือสามารถอา่ นได้
ถกู ต้องตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 29 (หรือ 0 - 2 ขอ้ ) (0 คะแนน)
(หรือ 5 ข้อ) (1 คะแนน)
ผเู้ รยี นสามารถเขยี นตัวอกั ษรถกู ตอ้ งตำ่ กวา่ ร้อยละ 49 ………………………..คะแนน

(หรอื 0 - 4 ขอ้ ) (0 คะแนน)
………………………..คะแนน

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ รวม .................................... คะแนน
ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ

6 -10 ผา่ น ผ่าน
0 - 5 ไมผ่ ่าน ไมผ่ ่าน

ตอนท่ี 2 การโยงเส้นประสมเสียงอกั ษรและการอา่ นออกเสียง (10 คะแนน)

การโยงเส้นประสมตัวอกั ษร (5 คะแนน) การอา่ นออกเสียงตวั อกั ษร (5 คะแนน)
โยงเส้นจับคู่ถูกต้อง 5 ข้อ (5 คะแนน)
โยงเสน้ จับคู่ถกู ตอ้ ง 4 ข้อ (4 คะแนน) สามารถอ่านออกเสียงตัวอักษรไดถ้ กู ตอ้ ง
โยงเสน้ จบั คถู่ ูกตอ้ ง 3 ขอ้ (3 คะแนน) ร้อยละ 100 (หรือ 5 ข้อ) (5 คะแนน)
โยงเสน้ จับคถู่ กู ต้อง 2 ขอ้ (2 คะแนน) สามารถอ่านออกเสยี งตวั อกั ษรไดถ้ กู ตอ้ ง
โยงเส้นจับคู่ถกู ต้อง 1 ขอ้ (1 คะแนน) รอ้ ยละ 80 (หรอื 4 ขอ้ ) (4 คะแนน)
โยงเส้นจับคู่ถูกต้อง 0 ข้อ (0 คะแนน) สามารถอ่านออกเสยี งตัวอกั ษรไดถ้ ูกต้อง
………………………..คะแนน ร้อยละ 60 (หรอื 3 ขอ้ ) (3 คะแนน)
สามารถอา่ นออกเสยี งตวั อักษรได้ถูกตอ้ ง
รอ้ ยละ 40 (หรือ 2 ข้อ) (2 คะแนน)
สามารถอ่านออกเสยี งตวั อกั ษรไดถ้ กู ตอ้ ง
รอ้ ยละ 20 (หรือ 1 ขอ้ ) (1 คะแนน)
ไม่สามารถอา่ นออกเสียงตวั อกั ษรได้

(หรือ 0 ขอ้ ) (0 คะแนน)
………………………..คะแนน

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ รวม .................................... คะแนน
ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ

6 -10 ผา่ น ผ่าน
0 - 6 ไม่ผ่าน ไมผ่ า่ น

ชอื่ - สกุล ...............ช..อื่....-...ส..ก..ลุ................................................................................................................ช..ั้น...ป......3../...............เ.ล..ข...ท..่ี...ช..้ัน...ป.... 3/...... เลขท่ี ..........

ใบงานที่ 2

วิชาภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน (รหสั วิชา อ 13101)
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง การระบุเสยี งและการประสมเสยี งตัวอกั ษร

(Identifying and Blending Sounds)

*************************************************************************

ตอนที่ 1 ใหน้ ักเรยี น งเสียงตัวอกั ษรแล้วกาถูก √ ลงในชอ่ ง ใต้ตวั อักษรทีน่ ักเรยี นได้ยิน (5 คะแนน) (มฐ.ต 1.1 ป.3/2,
ต 2.2 ป.3/1)
(มฐ. ต.2.2 ป.3/1)

ตอนที่ 2 ใหน้ ักเรยี นเขียนคาศัพท์ตามเสน้ ประทก่ี าหนดให้พร้อมระบายสีภาพให้สวยงาม (10 คะแนน)

(มฐ. ต 1.1 ป.3/2, ต.2.2 ป.3/1)

ตอนที่ 3 ใหน้ ักเรยี น กอา่ นคาศพั ทพ์ รอ้ มเขียนคาศัพทต์ ามเสน้ ประท่กี าหนดให้ (5 คะแนน)

(มฐ. ต 1.1 ป.3/2, ต.2.2 ป.3/1)

เฉลยและเกณฑ์การใหค้ ะแนนใบงานที่ 2

วชิ าภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน (รหัสวิชา อ 13101)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง การระบเุ สียงและการประสมเสียงตวั อักษร

(Identifying and Blending Sounds)

*************************************************************************
ตอนท่ี 1 ใหน้ กั เรียน งเสยี งตวั อักษรแล้วกาถกู √ ลงในช่อง ใตต้ ัวอกั ษรท่ีนักเรียนไดย้ ิน (ทักษะการ งเสียง
ตัวอักษร) (5 คะแนน)

ตอนที่ 2 ใหน้ ักเรียนเขียนคำศพั ท์ตามเสน้ ประทก่ี ำหนดใหพ้ รอ้ มระบายสภี าพให้สวยงาม (การประสมเสยี งสระและการ

กอ่านเสียงตัวอักษรทง้ั หมวดหมู่ b, c, f, k, m, o และ s, a, t, i, p, n พรอ้ มภาพประกอบ) (10 คะแนน)

สามารถอา่ นออกเสยี งและประสมอักษรไดถ้ ูกตอ้ ง (ข้อละ 1 คะแนน)
6. /c/ - /æ/ - /n/
1. /k/ - /ɪ/ - /t/
7. /f/ - /æ/ - /t/
2. /k/ - /ɪ/ - /s/ 8. /f/ - /ɪ/ - /n/
3. /b/- /ɪ/ - /n/ 9. /m/ - /ɒ/ - /p/
4. /b/ - /æ/ - /n/ 10. /m/ - /æ/ - /p/

5. /c/ - /ɒ/ - /t/

ตอนที่ 3 ให้นกั เรียน กอา่ นคำศพั ท์พรอ้ มเขยี นคำศัพท์ตามเสน้ ประที่กำหนดให้ (5 คะแนน)
สามารถอ่านออกเสียงและประสมอักษรได้ถกู ตอ้ ง (ขอ้ ละ 1 คะแนน)
1. /ɪ/ - /t/
2. /ɪ/ - /n/
3. /æ/ - /m/
4. /æ/ - /t/

5. /ɒ/ - /n/

เกณฑ์การประเมินชนิ้ งานบัตรคำศพั ท์
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การระบเุ สยี งและการประสมเสียงตวั อกั ษร

(Identifying and Blending Sounds)
*************************************************************************
คำชแี้ จง ให้นกั เรียนสร้างบัตรคำศัพทข์ องตนเอง 1 คำ โดยการประสมอักษรท่ีกำหนดใหต้ อ่ ไปน้ีพรอ้ มวาด
ภาพประกอบให้สวยงาม (กล่มุ s, a, t, p, i, n และกลุ่ม b, c, f, k, m, o) (5 คะแนน)

ความถูกต้องของการประสมคำ การออกอ่านออกเสียง ความสวยงาม/ความคิดสรา้ งสรรค์
(1 คะแนน)
(2 คะแนน) (นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น) (2 คะแนน)
-
ประสมคำถูกต้องตามโครงสร้างที่ได้ อา่ นออกเสียงและประสมอักษรได้
เรยี นไปแล้ว ท้ังแบบ C-V-C แบบ V-C อย่างถกู ตอ้ งตรงตามโครงสร้างและ ระบายสี ตกแต่งสวยงาม มีความคิด
และแบบ C-V อย่างใดอย่างหนง่ึ และ สร้างสรรคใ์ นการสรา้ งชนิ้ งานของ
ตรงตามชิน้ งานของตนเอง (2
สามารถระบพุ ยัญชนะหรอื สระได้ คะแนน) ตนเอง (1 คะแนน)
(2 คะแนน)
ไมร่ ะบายสี หรือใช้สเี ดยี วในการ
ประสมคำถูกต้องตามโครงสร้างท่ไี ด้ สามารถอา่ นออกเสยี งตัวอักษรไดแ้ ต่ ระบายทกุ ภาพ หรือ 1 สี ต่อ 1 ภาพ
เรยี นไปแล้ว ทง้ั แบบ C-V-C แบบ V-C ไมส่ ามารถประสมเป็นคำทส่ี มบรู ณ์ได้
และแบบ C-V อย่างใดอยา่ งหนึ่ง แตไ่ ม่ หรอื ออกเสยี งตัวอกั ษรผดิ 1 ใน 3 (0 คะแนน)
……………………….. คะแนน
สามารถระบุพยญั ชนะหรือสระได้ (1 คะแนน)
(1 คะแนน)

ไม่สามารถออกเสียงตัวอักษรไดถ้ ูกตอ้ ง

ไม่สามารถประสมคำได้ และไม่ หรอื ไม่สามารถประสมเปน็ คำท่ี

สามารถระบุพยญั ชนะหรอื สระได้ (0 สมบรู ณ์ได้ หรอื อกเสียงตัวอักษรผิด 2

คะแนน) ใน 3

(0 คะแนน)

……………………….. คะแนน ……………………….. คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ รวม .................................... คะแนน
ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ

3 - 5 ผ่าน ผ่าน
0 - 2 ไมผ่ า่ น ไมผ่ า่ น

ช่อื - สกุล ...................ช..ื่อ....-...ส..ก..ลุ........................................................................................................ช...ั้น..ป......3../...............เ..ล..ข..ท...ี่ .........ช..้นั...ป. 3/...... เลขท่ี ..........

ใบงานที่ 3

วชิ าภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน (รหสั วชิ า อ 13101)
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 เร่อื ง การระบุเสียงและการประสมเสียงตัวอกั ษร

(Identifying and Blending Sounds)
*************************************************************************
ตอนที่ 1 ใหน้ ักเรียนเขียนตามเส้นประและ กอ่านคาศพั ทต์ ่อไปน้ี (5 คะแนน) (มฐ.ต 1.1 ป.3/2, ต 2.2 ป.3/1)

ตอนท่ี 2 ให้นกั เรียนวงกลมคาศพั ทท์ นี่ กั เรียนไดย้ ิน (5 คะแนน) (มฐ. ต 1.1 ป.3/2, ต.2.2 ป.3/1)

เฉลยและเกณฑ์การให้คะแนนใบงานที่ 3

วิชาภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน (รหสั วชิ า อ 13101)
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เร่ือง การระบุเสียงและการประสมเสยี งตวั อักษร

(Identifying and Blending Sounds)
****************************************************
ตอนที่ 1 ให้นกั เรยี นเขียนตามเสน้ ประและ กอา่ นคำศพั ท์ตอ่ ไปน้ี (การอ่านออกเสียงและการเขยี นตวั อกั ษร)
(5 คะแนน)

การอ่านออกเสียง (3 คะแนน) การเขยี นตวั อกั ษรตามเส้นประ (2 คะแนน)

อ่านได้ถกู ต้องร้อยละ 80 ผู้เรียนสามารถเขียนตวั อกั ษรถูกตอ้ งครบถว้ น สะอาด
(หรือ 10 ข้นึ ไป) (3 คะแนน) รอ้ ยละ 80 (หรอื 10 ข้อขน้ึ ไป) (2 คะแนน)
อ่านไดถ้ ูกต้องร้อยละ 68 - 79
(หรือ 8 - 9 ข้อ) (2 คะแนน) ผ้เู รียนสามารถเขยี นตวั อกั ษรถกู ตอ้ งรอ้ ยละ 51 - 79
(หรอื 6 - 9 ขอ้ ) แตม่ ีบางตวั ไม่เปน็ ระเบยี บ ตกหลน่
อา่ นได้ถกู ตอ้ งร้อยละ 67
(หรือ 7 ขอ้ ) (1 คะแนน) หรอื ไม่สะอาด (1 คะแนน)
ผ้เู รียนสามารถเขียนตัวอกั ษรถูกต้องตำ่ กว่าร้อยละ 50
อา่ นได้ถูกตอ้ งตำ่ กว่าร้อยละ 50
(หรอื 0 - 6 ข้อ) (0 คะแนน) (หรือต่ำกวา่ 6 ข้อ) (0 คะแนน)
..................... คะแนน
..................... คะแนน

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ รวม .................................... คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ

3 - 5 ผ่าน ผ่าน
0 - 2 ไม่ผ่าน
ไมผ่ ่าน

ตอนท่ี 2 ให้นักเรยี นวงกลมคำศพั ทท์ ่นี ักเรียนไดย้ ิน (ทกั ษะการ งและการอ่านออกเสยี งประสมคำ)

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ

3 - 5 ผา่ น
0 - 2 ไม่ผา่ น

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3

รหสั วิชา อ 13101 รายวชิ า ภาษาองั กฤษพ้นื ฐาน
ปีการศึกษา 2564
ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ช่วั โมง
ชอื่ ผู้สอน นางสาวปรางทิพย์ สขุ สะอาด
หนว่ ยการเรียนที่ 3 Consonant digraphs & Vowel digraphs

วันทสี่ อน 16/23 กรกฎาคม 2564

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ัด
ตัวชีว้ ัด

อา่ นออกเสยี ง สะกดคำ ตามหลักการออกเสียงแบบโฟนกิ ส์ไดอ้ ย่างถกู ต้อง (มฐ. ต 1.1 ป.3/2, ต 2.2 ป.3/1)

สาระสำคัญ
การเรียนรู้เสียงของตัวอักษรทั้งเสียงของพยัญชนะ เสียงของสระ เมื่อศึกษาลึกเข้าไปจะพบว่าเสียงไม่ได้เกิดจาก

ตัวอักษรเพียงแค่ตัวเดียวเสมอไป เสียงบางเสียงเกิดจากการที่ตัวอักษรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปที่อยู่ติดกันแล้วเกิดเป็นเสียงใหม่
ข้ึนมา

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมเพือ่ ใหบ้ รรลุตามตัวชวี้ ัด)
1. สามารถอ่านออกเสียง Consonant digraphs (พยัญชนะผสมทีม่ ีเสยี งเดียว) และ Vowel Digraphs (สระผสม

เสยี งเดียว) ในภาษาองั กฤษได้ถูกตอ้ งตามหลกั การออกเสยี งโฟนิกส์
2. สามารถผสมเสยี งคำท่มี ีพยญั ชนะผสมเสยี งเดียว และสระผสมเสียงเดียวตามโครงสร้างพยัญชนะ-สระ-พยัญชนะ

(C-V-C) ไดถ้ กู ต้อง
3. สามารถอา่ นออกเสยี งคำทขี่ น้ึ ตน้ ด้วยพยัญชนะผสมเสียงเดียว และคำทม่ี ีสระผสมเสียงเดยี วประกอบอย่ใู นคำได้
4. นกั เรยี นมีความม่ันใจในการอา่ น

สาระการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ (Knowledge)
“Digraph” คือตัวอกั ษร 2 ตวั ทีอ่ ย่ตู ิดกันแลว้ เกดิ เสียงใหม่ 1 เสยี ง
Consonant digraphs (พยัญชนะผสมท่ีมีเสียงเดยี ว) คอื พยญั ชนะ (ตัวอกั ษรทไ่ี มใ่ ช่ a,e,i,o,u) ตงั้ แต่ 2 ตวั ขน้ึ ไป

ท่อี ยตู่ ดิ กนั แล้วออกเสียงเปน็ เสยี งใหม่ โดยไม่ไดเ้ กดิ จากเสยี งด้งั เดิมของแตล่ ะตัวอักษรมารวมกัน เช่น /sh/ /th/ /ph/ /ch/
Vowel Digraphs (สระผสมเสียงเดียว) เป็นสระที่ผสมกันระหว่างสระหลายตัวแต่ออกเสียงเพียงหนึ่งเสียง เช่น

/ee/ /ea/ /oo/ /oa/

คำศพั ท์ (Vocabulary): chair chin charm phone photo shoe shirt shampoo sharpener short shoulder
write wrong wrap wrist beef sleep sweet teen green sheep breakfast great steak tea jeans meat read seal
speak leaf goat boat soap book food goose cool moon tooth zoo cook look foot wood

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (Process)
ผสมเสียงคำต่างๆ ท่ีมีโครงสรา้ ง พยญั ชนะ-สระ-พยญั ชนะ (C-V-C) ตามหลักการออกเสยี งแบบโฟนิกสไ์ ด้

ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude)

รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซื่อสตั ยส์ ุจรติ
 รักความเป็นไทย
 ม่งุ ม่นั ในการทำงาน  มวี นิ ัย

 ใฝ่เรียนรู้  มีจติ สาธารณะ

ด้านสมรรถนะสำคัญของนักเรียน
 ความสามารถในการสือ่ สาร
 ความสามารถในการคิด ใช้การเชอ่ื มโยงและการใหเ้ หตุผล
 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ด้านคุณลักษณะของนกั เรยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล
1. มีความรบั ผิดชอบ
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มุ่งม่นั ในการทำงาน

กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง Active learning การเรยี นการสอนแบบแนะใหร้ ู้คดิ
(ช่วั โมงที่ 1)
ข้นั นำ

1. ครูผู้สอนเขา้ มาในห้องเรียนและทกั ทายนักเรียน จากนั้นจึงเริ่มทบทวนสง่ิ ท่ีเรียนในช่วั โมงทผ่ี ่านมา โดยครูผู้สอน
กำหนดเสียงพยัญชนะให้ 1 ตัว เช่น /t/ แล้วให้นักเรียนยกตัวอย่างคนละ 1 คำ โดยการนำเสียง /t/ ไปผสมกับเสียงสระ

(C-V) หรือนำไปผสมท้ังเสียงสระและเสยี งพยัญชนะ (C-V-C)
2. นกั เรียนร่วมกันคิดคำศัพท์ ครผู สู้ อนเขียนคำศัพท์บนกระดาน


Click to View FlipBook Version