ใช้แบบฟอรม์ เดีย-ว1ก-ัน จาก ผตก.กศ.ฯ
จา่ ยยมื
วชิ า อาวุธและการใช้อาวุธ
เรื่อง อาวุธประจำกายและอาวธุ ประจำหนว่ ย
สำหรบั นักเรยี นนายสิบทหารบก
หลักสูตรศกึ ษา ณ รร.นส.ทบ. 1 ปี
หมายเลข ชกท.111
กองการศกึ ษา โรงเรยี นนายสิบทหารบก
คา่ ยโยธินศึกษามหามงกฎุ
พ.ศ.2564
ใช้แบบฟอรม์ เดียว-ก2ัน- จาก ผตก.กศ.ฯ
คำนำ
โรงเรียนนายสิบทหารบก เป็นสถาบันการศึกษาของกองทัพบก มีหน้าท่ีให้การฝึกศึกษาแก่นักเรียน
นายสิบทหารบก เพื่อผลิตกำลังพลนายทหารชั้นประทวนของกองทัพบกท่ีมีคุณภาพมาตรฐาน มีสมรรถนะและขีด
ความสามารถตามความต้องการของกองทัพบก
โรงเรยี นนายสบิ ทหารบก ไดด้ ำเนินการจดั ทำคมู่ ือการสอนหลักสูตรนักเรยี นนายสิบทหารบก เพ่อื ใช้
เป็นเอกสารประกอบการจัดการศึกษาหลักสูตรนักเรียนนายสิบทหารบก ซ่ึงการดำเนินการดังกล่าว โรงเรียนนายสิบ
ทหารบกได้ทำการรวบรวมรายละเอียดเนื้อหาวิชาจากตำรา คู่มือการฝึก และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาปรับปรุง
พัฒนาและประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมสอดคล้องกับหลักสูตรนักเรียนนายสิบทหารบก เพื่อให้การจัดการฝึกศึกษา
หลกั สูตรนายสิบทหารบกเป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย มคี ุณภาพมาตรฐาน
โรงเรียนนายสิบทหารบก หวังเป็นอย่างยิงว่า คู่มือการสอนหลักสูตรนักเรียนนายสิบทหารบก จะ
เป็นส่วนสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนายสิบทหารบก ให้เป็นไปตามความมุ่งหมายและ
ตอบสนองนโยบายการศึกษาของกองทัพบกต่อไป
พันเอก
(ประเสรฐิ สุนันท์ชยั กุล)
ผอู้ ำนวยการกองการศึกษาโรงเรยี นนายสิบทหารบก
-3-
ใชแ้ บบฟอรม์ เดยี วกัน จาก ผตก.กศ.ฯ
ปรชั ญา
จงรักภักดี มีความรู้ อยู่ในระเบยี บวินัย คุณธรรม ลกั ษณะผู้นำเดน่
วสิ ยั ทศั น์
โรงเรยี นนายสบิ ทหารบก เปน็ องค์กรที่มีความมั่นคงในการผลิตนายทหารประทวนให้กบั กองทพั บก
ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยม่งุ เนน้ มาตรฐานความรู้ ควู่ นิ ัย อกี ท้งั มีเกียรติ ศกั ดิ์ศรี
เปน็ ที่ยอมรับของหนว่ ยงานในกองทพั บก บุคลากร และหนว่ ยงานภายนอก
-4-
TH SarabunPSK ขนาด 24 พอยท์ (หนา)
สารบญั หนา้
TH SarabunPSK ขนาด 20 พอยท์ (หนา) 1
2
บทที่ 3
5
บทที่ 1 ปืนเลก็ ยาว เอ็ม.16 เอ 2 6
1. กลา่ วทวั่ ไป 7
2. คุณลักษณะท่ัวไปและขีดความสามารถ 8
3. การถอด – ประกอบ 10
4. ระบบการทำงานของเคร่ืองกลไก 10
5. การทำงานผิดปกตแิ ละการแกไ้ ข 11
6. ประเภทกระสนุ 11
7. การฝึกยงิ ปนื เบ้ืองต้น 11
8. การปรนนิบตั บิ ำรงุ อาวธุ 12
9. นำ้ มนั ทำความสะอาด, หล่อล่ืน และการใช้ 14
10. การบำรงุ รักษาและทำความสะอาด ปลย. เอม็ . 16 เอ 2 15
11. การตรวจปนื – ก่อนการถอดปืน 15
12. การถอดปืน (ถอดชน้ิ ส่วนปกต)ิ 17
13. การทำความสะอาดปืน
14. การชโลมปนื /การหลอ่ ลน่ื 18
15. การประกอบปืน 18
16. การทำความสะอาดซองกระสนุ 20
คำถามท้ายบท 21
25
บทที่ 2 ปืนเลก็ ยาว ทาโวร์ แบบ TAR 26
1. ลกั ษณะการทำงาน 27
2. แบบของ ปลย. ทาโวร์
3. สว่ นประกอบต่าง ๆ ของตวั ปนื
4. การถอดและการประกอบปกติ
5. ขัน้ ตอนการทำงาน
6. เคร่อื งนิรภยั
7. การทำงานผิดปกติ และการแก้ไขเหตตุ ิดขัด
-5-
บทที่ หนา้
8. การทำงานผดิ ปกติ 28
9. การตรวจการทำงาน การบรรจุ การเลิกบรรจุ 30
10. ระบบเคร่ืองเล็ง 32
11. กระสุนวิถขี อง ปลย.ทาโวร์ 36
12. ประเภทของเปา้ ปรับศนู ย์ 37
13. การปรนนบิ ัติบำรงุ ในระดับผ้ใู ช้ 39
คำถามทา้ ยบท 43
บทท่ี 3 เครอื่ งยิงลกู ระเบิดขนาด 40 มิลลิเมตร เอม็ .203
1. ลกั ษณะโดยทว่ั ไปของเคร่ืองยงิ ลกู ระเบดิ ขนาด 40 ม.ม. เอม็ . 203 44
2. การถอดและประกอบ 47
3. การปฏิบัตแิ ละการทำงานของเคร่ืองกลไก 47
4. เหตุตดิ ขัดและวิธีแก้ไขเหตุตดิ ขดั ทนั ทีทนั ใด 48
5. ชนิดกระสุน 6 ประเภท 50
6. ชนวนทใี่ ช้กบั กระสุนเคร่ืองยงิ ลกู ระเบดิ เอ็ม. 203 50
คำถามท้ายบท 52
บทท่ี 4 ปนื เลก็ กลเนเกฟ
1. กล่าวนำ 53
2. โครงสรา้ งของปนื 56
3. การถอดและการประกอบปกติ 62
4. วงรอบการทำงานของปนื 66
5. กระสุน 68
6. การใชอ้ าวธุ 68
7. เหตุตดิ ขัดและการแก้ไขเหตตุ ดิ ขัด 69
8. การใชศ้ นู ย์และการปรับศูนย์ 70
9. การใช้ขาทราย 74
10. การเตรียมการสำหรับการยงิ 74
11. การปรนนิบตั บิ ำรุง 75
12. วิธีการทำลายอาวธุ 76
คำถามท้ายบท 78
-6- หนา้
บทที่ 79
79
บทท่ี 5 ปนื พก แบบ 86 79
1. คณุ ลกั ษณะของ ปืนพก แบบ 86 80
2. ปนื พก 86 ขนาด .45 นิว้ (11 ม.ม.) มี 2 แบบ 81
3. ความแตกต่างของแบบเอม็ 1911 และ เอม็ . 1911 เอ 1 81
4. ปืนพก 86 บรรจกุ ระสุนดว้ ยซองซ่ึงบรรจุ 7 นัด 85
5. รายการทว่ั ไป 85
6. การถอดประกอบ 86
7. การระวงั รักษาและการทำความสะอาด 86
8. ข้อสงั เกตเกีย่ วกบั การใชป้ ืนพก 86 87
9. กระสุน 88
10. เคร่อื งนิรภยั ของปนื พก แบบ 86 88
11. การฝกึ ยงิ ปนื เบ้ืองตน้ 88
12. ท่ายงิ 89
13. ขอ้ แนะนำ 90
14. เปา้ ของ ปพ.86
15. สรุป 91
คำถามท้ายบท 99
99
บทที่ 6 การฝกึ พลแมน่ ปืน 100
1. หลกั พืน้ ฐานของการฝึกยิงปืนเบ้ืองตน้ 103
2. การยงิ จัดกลุม่ กระสุน 105
3. แนวปฏบิ ตั ิในการยงิ ปรบั ศูนย์ 107
108
4. ศนู ย์มาตรฐานของ ปลย. เอม็ .16 เอ.2 และการปรับศูนย์ 114
133
5. การปรบั ศูนยข์ น้ั ต้นสำหรบั การยงิ ปืนในสนามทราบระยะ
6. การยงิ ปนื ในสนามทราบระยะโดยใชเ้ ป้าแสดงผล
7. การดำเนนิ การฝกึ
8. เคร่อื งเลง็
9. ความแมน่ ยำในการยิงปืน
คำถามทา้ ยบท
-7- หนา้
บทที่ 134
134
บทที่ 7 ปนื กล แบบ 38 134
1. กล่าวนำ 135
2. รายการทว่ั ไป 136
3. คณุ ลกั ษณะและขปี นวธิ ี 138
4. รายการหลักฐานของปืน 135
5. การถอดและการประกอบ 141
6. การบรรจุ, เลกิ บรรจุ และการตรวจความปลอดภัย 144
7. วงรอบการทำงานของเครือ่ งกลไก 147
8. การแกไ้ ขเหตุตดิ ขัด
9. การปรนนบิ ตั ิบำรงุ 148
คำถามท้ายบท 150
151
บทท่ี 8 หลกั การยิงปนื เล็กและการยิงเปน็ หมู่ 154
1. การหาระยะยิง 158
2. ลักษณะการยิง 159
3. การใช้อำนาจการยงิ 161
4. การควบคมุ การยิง 163
5. การยงิ ปนื กลางคืนเป็นบคุ คล
6. การยงิ กลางคนื ของหมู่ปืนเลก็ ในการต้งั รบั 164
7. การยงิ กลางคนื ของหมปู่ นื เลก็ ในการเขา้ ตี 173
คำถามทา้ ยบท 174
175
บทท่ี 9 หลกั ยงิ ปนื กล 176
1. หลกั การยงิ ในระหวา่ งทัศนวิสัยดี พื้นฐานเบือ้ งต้น 177
2. หลกั การของการปฏิบัติการยงิ 179
3. การปฏิบตั กิ ารยงิ ต่อเป้าหมายเลง็ ตรง 180
4. การยงิ ตะลุมบอน
5. การยิงขา้ ม
6. ท่ีตัง้ ยงิ กำบัง
7. หลกั การยงิ ในระหวา่ งทศั นวิสยั จำกัด
8. หลกั การยงิ เปา้ หมายท่เี หน็ ในระหวา่ งทศั นวสิ ยั จำกดั
-8- หน้า
บทที่ 181
185
9. หลกั การยิงตามหลักฐานทีเ่ ตรียมการยิงไวล้ ว่ งหนา้ 192
10. การทำแผน่ จดระยะ 193
คำถามทา้ ยบท
เอกสารอ้างอิง
-1-
บทที่ 1
ปืนเล็กยาว เอ็ม.16 เอ 2
1. กลา่ วท่วั ไป
หลังสงครามเวียดนาม กลุ่มประเทศสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต้) หลายประเทศได้พัฒนา
อาวุธประจำกายขน้ึ มาใหม่อกี หลายชนิดโดยมีหลกั การดงั นี้
1.1 เพ่ือให้กลุ่มประเทศในสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือสามารถรบร่วมและส่งกำลงั กระสนุ ไดง้ ่าย
ใหใ้ ช้กระสุนขนาด 5.56 x 45 มิลลิเมตร คอื กระสนุ เอสเอส.109 (SS 109)
1.2 มีเกลียวในลำกล้อง 6 เกลยี ว เวียนขวา 1 รอบ ยาว 7 น้ิว
1.3 ลกู กระสนุ หนัก 62 เกรน
1.4 ความเร็วต้นของกระสนุ 3,100 ฟุต/วินาที
1.5 ลูกกระสุนมีแกนแป้นโลหะผสม สามารถเจาะแผ่นเหล็กเรียบหนา ขนาดประมาณ 1/2 น้ิว
ได้ ระยะ 100 เมตร และบางประเทศพัฒนาเพม่ิ เตมิ ขนึ้ อีก คือ
1.5.1 ปลอกลดแสงมีกรวยดกั แก๊สกดปากลำกล้องลง ลดอาการสะบดั ข้ึนข้างบน
1.5.2 ลำกลอ้ งหนาขึน้ เพื่อให้ร้อนช้า
1.5.3 คันบังคับการยิงสามารถปรบั จังหวะการยิงได้ถึง 4 ตำแหน่ง คือ ห้ามไก, ก่ึงอัตโนมัติ,
อตั โนมตั ิ เป็นชุด ชดุ ละ 3 นดั และอัตโนมตั ิ
1.5.4 ศูนยป์ ืนสามารถเลง็ ยิงในเวลากลางคืนได้
1.5.5 สามารถยิงลูกระเบิดจากปืนเล็กได้ด้วยกระสุนธรรมดา (เอสเอส.109) โดยไม่ต้อง
ติดตัง้ อปุ กรณ์เพิม่ เตมิ และไมต่ ้องใช้กระสุนยิงลกู ระเบิดเหมือนรนุ่ เกา่ ๆ
จะกล่าวต่อไปนี้เฉพาะ ปลย.เอ็ม.16 เอ 2 ซึ่ง ทบ.ได้จัดซ้ือมาจากประเทศสหรัฐอเมริกามาใช้ใน
ราชการแล้วเพื่อเป็นอาวุธประจำกายและประเทศสหรัฐอเมริกาใช้เป็นอาวุธประจำกายของกองทัพบกหลายรุ่น
เชน่ ปกม., ปลส., ปลย. หลายแบบ คุณลักษณะเหมอื นกบั ปนื ตระกูล เอ็ม.16 ของบริษัทโคลท์ แตเ่ รยี กช่อื แตกต่างกัน
เช่น บริษัทโคลท์ เรียก ปลย.เอม็ .16 เอ 3 ซ่งึ ถอดโครงศูนย์หลังออกแล้วติดกล้องเล็งเวลากลางวันหรือเวลากลางคืน
ได้ ทบ.สหรฐั ฯ เรียกชื่อว่า ปลย.เอ็ม.16 เอ 4 กองทพั อากาศสหรัฐ ฯ นำ ปลย.เอม็ .16 เอ 2 ไปใชเ้ รยี กชื่อวา่ เอ็ม.16
เอ 2 เรียกช่ือวา่ เอ็ม.16 เอ 3
รปู ท่ี 1-1 ปลย.เอ็ม.16 เอ 2
-2-
2. คุณลกั ษณะท่ัวไปและขีดความสามารถ
- กว้างปากลำกล้อง 5.56 มลิ ลิเมตร
- ใช้กระสุนขนาด 5.56 X 45 มลิ ลเิ มตร (นาโต้)
- ปอ้ นกระสนุ ด้วยซองกระสุนชนิด 20 นัด และ 30 นัด
- ทำงานด้วยแก๊ส ระบายความรอ้ นด้วยอากาศ
- ปลอกลดแสง มกี รวยจดั แก๊สลดอาการสะบัดขึ้น
- ฝาประกับลำกล้องมีลักษณะกลม ชนิดกันความร้อน 2 อัน ทำด้วยวัตถุแข็งพิเศษ มีรูระบาย
อากาศข้างบน 15 รู ข้างล่าง 15 รู เพื่อให้อากาศเข้าหมุนเวียนโดยรอบลำกล้องได้และยังป้องกันท่อแก๊สไม่ให้เกิด
ชำรดุ ได้งา่ ย
- แผน่ ยางรองพานท้าย เพ่ือรับแรงสะทอ้ นถอยหลงั ของปืนใหล้ ดน้อยลงขณะยิง
- เครื่องช่วยส่งลูกเลื่อนช่วยให้ให้ลูกเลื่อนเคลื่อนท่ีไปข้างหน้าอยู่ทางขวาของโครงปืนตอนบน
ช่วยให้ลูกเล่ือนให้กลับไปข้างหน้า และเข้าขัดกลอนได้สนิท เมื่อแหนบรับแรงถอยส่งลูกเลือนไม่เข้าขัดกลอน
- ขาทรายทำเป็นรปู ไม้หนีบผ้า การใชข้ าทรายเพอื่ ให้เกิดความแม่นยำสำหรับการยิงเป็นอัตโนมัติ
โดยใช้ตดิ ลำกลอ้ งปนื บรเิ วณศูนยห์ น้า
- โกร่งไก สามารถปรบั ไดง้ ่าย เพอื่ สะดวกในการสวมถุงมอื ยิงในสภาพการรบทม่ี ีอากาศหนาว
- คันบงั คับการยงิ จัดได้ 3 ตำแหน่ง
- ฝากนั ฝุ่น มไี ว้เพื่อป้องกันฝุ่นในเม่ือไม่ได้ทำการยิง
- ร่องนิ้ว ทีด่ า้ มปนื มีไวเ้ พื่อให้จับดา้ มปนื ถนดั
- ปุม่ ป้องกันปลอกกระสุน คัดออกมาถูกพลยิงหรือผใู้ ช้ใกลเ้ คียง
- ท่ีพานทา้ ยจะเจาะช่องใหเ้ ก็บเครอ่ื งมอื ทำความสะอาดได้และมีฝาปดิ
2.1 รายการนำ้ หนกั และขปี นวิธี
น้ำหนกั
- ปลย. ไมม่ ีซองกระสนุ และสายสะพาย 3.53 กิโลกรัม 7.78 ปอนด์
- ปลย. มซี องกระสุน 20 นัด และสายสะพาย 3.85 กิโลกรมั 8.48 ปอนด์
- ปลย. มีซองกระสนุ 30 นัด และสายสะพาย 3.99 กิโลกรัม 8.79 ปอนด์
- ขาทราย 0.27 กโิ ลกรัม 0.60 ปอนด์
- ซองใสข่ าทราย 0.09 กิโลกรมั 0.20 ปอนด์
- ดาบปลายปนื เอม็ .9 0.68 กโิ ลกรมั 1.50 ปอนด์
- ฝักดาบ 0.14 กิโลกรมั 0.30 ปอนด์
- สายสะพาย เอม็ .1 0.18 กิโลกรัม 0.40 ปอนด์
-3-
ความยาว
- ปลย. ตดิ ดาบปลายปนื 113.99 เซนติเมตร 44.88 น้วิ
- ความยาวรวมปลอกลดแสง 100.66 เซนติเมตร 39.63 นิ้ว
- ลำกล้องรวมปลอกลดแสง 53.34 เซนตเิ มตร 21.00 น้ิว
- ลำกล้องไมร่ วมปลอกลดแสง 41.80 เซนติเมตร 20.00 นว้ิ
- กล้องมเี กลยี ว 6 เกลียวเวยี นขวา 1 รอบ เทา่ กบั 7 น้ิว
2.2 เครื่องเลง็
- ศนู ยห์ น้า เปน็ ศูนย์แท่นเป็นเหลย่ี ม 4 เหลี่ยม มีช่องสลกั ยึด 4 ชอ่ ง
- ศูนย์หลัง เป็นศูนย์แบบกระดกมีช่องเล็ง 2 ช่อง ช่องเล็งเล็กและช่องใหญ่ มีเครื่องหมาย 0 – 2
และขีดดรรชนีสำหรับปรับทางทิศข้างบนรูศูนย์ ปรับท้ังทางทิศและทางระยะปรับทางทิศโดยหมุน ควงปรับทางทิศ
ปรบั ทางระยะกำหนดเลขทจี่ านปรับทางระยะ ตั้งแต่ 3 – 8 มคี ลิกปรับตัวเลขมากต้องหมุนหลายคลิก
2.3 ขีปนวธิ ี
- ความเร็วตน้ ที่ปากลำกล้อง (โดยประมาณ) 3,100 ฟุต/วนิ าที
- อตั ราการยงิ เปน็ วงรอบ (โดยประมาณ) 700 – 800 นัด/นาที
- อัตราการยิงสงู สดุ
: กง่ึ อัตโนมัติ 45 นัด/นาที
: อตั โนมตั ชิ ุดละ 3 นัด 90 นัด/นาที
: ยิงตอ่ เนอ่ื ง (ใน 1 นาที) 12 – 15 นัด/นาที
- ระยะยิงไกลสดุ 3,600 เมตร
- ระยะยงิ หวังผล
: กลางวันคนอยู่กบั ท่โี อกาสถูกเป้าหมาย 50 % ระยะ 250 – 300 เมตร
: กลางวนั คนเคลอ่ื นท่ีโอกาสถูกเปา้ หมาย 30 - 40 % ระยะ 200 เมตรลงมา
: เป้าหมายเป็นจดุ 550 เมตร
: เป้าหมายเปน็ พ้ืนที่ 800 เมตร
- ศูนยร์ บ 300 เมตร
3. การถอด – ประกอบ
3.1 ความมุง่ หมาย
3.1.1 เพือ่ ศึกษา
3.1.2 เพอ่ื แก้ไขเหตุติดขดั
3.1.3 เพือ่ ทำความสะอาด
-4-
3.2 การถอด – การประกอบ มี 2 ชนดิ
3.2.1 การถอด – ประกอบปกติ ให้ระดบั หน่วยใชแ้ ละผู้ใชท้ ำการถอด – ประกอบได้ โดยไม่
ตอ้ งอยูใ่ นความควบคมุ กำกับดแู ล
3.2.2 การถอด – ประกอบพิเศษ เพ่ือเปล่ียนชิ้นส่วนท่ีชำรุดหรือสึกหรอ ทำการถอดโดยผู้ท่ี
ชำนาญ เช่น เจ้าหน้าที่สรรพาวุธ หรือนายสิบช่างอาวุธของหน่วย ถ้าทหารมีความจำเป็นต้องถอด จะต้องอยู่ใน
ความควบคุมของนายทหารสญั ญาบัตร หรือนายสบิ ช่างอาวธุ ของหน่วย
3.3 การตรวจอาวุธ
3.3.1 ปลดซองกระสุน
3.3.2 เปิดลกู เลื่อนค้างไวโ้ ดยกดส่วนลา่ งกลอนกระเดอ่ื งยดึ ลกู เลื่อน
3.3.3 ห้ามไก
3.3.4 ตรวจรงั เพลิงวา่ ปลอดภัย
3.3.5 ปิดลูกเลือ่ นโดยกดสว่ นบนกลอนกระเดอื่ งยึดลูกเล่ือนท่ีมีลายกันลื่น
3.3.6 เปิดห้ามไก
3.3.7 ลนั่ ไก ทิศทางปลอดภัย
3.3.8 บรรจซุ องกระสุนเข้ากับปืน
3.3.9 ปิดฝากันฝนุ่
3.4 การถอดประกอบปกติ ทำตามลำดับดังต่อไปน้ี
3.4.1 ถอดสายสะพาย
3.4.2 ซองกระสนุ
3.4.3 ฝาปะกบั ลำกลอ้ ง
3.4.4 วางปืนหันปากลำกล้องไปทางซ้าย ถอดสลักยึดโครงปืนอันหลัง อันหน้าแยกโครงปืน
สว่ นบนและสว่ นลา่ งออกจากกัน
3.4.5 หยิบโครงปืนส่วนบนใหห้ ันปากลำกลอ้ งไปทางดา้ นซ้าย ดึงคันรั้งโครงนำลูกเลื่อนมาขา้ ง
หลงั คร่งึ หนึง่ ถอดโครงนำลูกเลื่อนออกมาแล้วถอดคนั รั้งโครงนำลูกเลอื่ น
3.4.6 การถอดตอ่ ไปชดุ โครงนำลูกเล่อื น
1) สลักเขม็ แทงชนวน
2) เข็มแทงชนวน
3) สลักลูกเบีย้ ว (หมุน 90 องศาหรือ ¼ รอบ)
4) ลกู เลอ่ื นออกทางด้านหนา้
3.5 การประกอบ ใหท้ ำตรงกนั ขา้ มกบั การถอด ชน้ิ สว่ นใดท่ีถอดหลังสดุ ให้ประกอบเข้าไปก่อน
-5-
4. ระบบการทำงานของเคร่อื งกลไก
การทำงานของเคร่ืองกลไก ช้ินส่วนบางส่วนทำงานพร้อมกันในขณะเดียวกัน บางส่วนทำงาน
ตามลำดับ เป็นวงรอบการทำงานของปืน ท่ีจะแบ่งข้ันตอนการทำงานต่อไปนี้ เพ่ือให้สะดวกในการอธิบาย ข้ันการ
ทำงานเทา่ นน้ั
4.1 การทำงานของเคร่ืองกลไก แบง่ ออกเป็น 8 ขัน้ ตอน คือ
4.1.1 การปอ้ นกระสนุ
4.1.2 การเข้าสรู่ งั เพลิง
4.1.3 การขัดกลอน
4.1.4 การยิง
4.1.5 การปลดกลอน
4.1.6 การรั้งปลอกกระสุน
4.1.7 การคัดปลอกกระสนุ
4.1.8 การขึ้นนก
4.2 การบรรจุมี 6 ขัน้ ตอน
4.2.1 เปดิ ลกู เล่ือนขา้ งไว้
4.2.2 ดันคันรงั้ โครงนำลูกเลอ่ื นไปขา้ งหน้า
4.2.3 ห้ามไก
4.2.4 บรรจซุ องกระสุน (มีกระสนุ ) เขา้ กบั ปืน
4.2.5 ปลดใหล้ กู เลื่อนเคลื่อนท่ีไปขา้ งหนา้
4.2.6 ปิดฝากันฝ่นุ
4.3 การเลกิ บรรจุ มี 8 ข้ัน
4.3.1 ห้ามไก
4.3.2 ปลดซองกระสนุ
4.3.3 ดันคันร้งั โครงนำลูกเลื่อนมาข้างหลงั สดุ ตรวจดใู นรังเพลิง
4.3.4 ดันคนั รัง้ โครงนำลูกเล่ือนไปข้างหน้าสุด
4.3.5 เปิดห้ามไก
4.3.6 ลัน่ ไก
4.3.7 บรรจุซองกระสนุ เขา้ กบั ปนื
4.3.8 ปิดฝากันฝุ่น
-6-
4.4 การยิงเป็นอัตโนมัติ ชุดละ 3 นัดตำแหน่งการจัดคันบังคับการยิงตำแหน่งอ่ืนๆมี่ระบบการ
เช่นเดียวกบั ปลย.เอ็ม.16 เอ 1 สำหรับ ปลย.เอ็ม.16 เอ 2 รุ่นที่มี่จังหวะการยิงอัตโนมัติ ชุดละ 3 นัด (BURST) เมื่อ
จัดคัดบังคับการยิงไปอยู่ตำแหน่งน้ีแล้ว ปืนจะทำการยิงเป็นชุดส้ันๆ จำนวนชุดละ 3 นัด ตราบเท่าที่เรายังเหนี่ยวไว้
ส้ินสุดการยิงนัดท่ี 3 ก็จะส้ินสุดวงรอบการทำงานของปืน หากต้องการให้ปืนทำการยิงชุดต่อไป ผู้ยิงจะต้องปล่อยไก
และเหนี่ยวไกมาข้างหลังใหม่อีกครั้ง ท้ังน้ีจะต้องมีกระสุนด้วย วงรอบการทำงานของปืนจะสิ้นสุดนัดที่ 3 แต่ผู้ยิงจะ
สามารถทำการยิงให้เป็นชุดสั้นกว่า 3 นัดก็ได้ เช่น ยิง 1 นัด หรือ 2 นัด ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับจังหวะการปล่อยไกจากการ
เหนี่ยวไก ดังนี้ถือว่ายังไม่ส้ินสุดวงรอบการทำงานของปืน ดังน้ันเม่ือเหนี่ยวไกมาอีกคร้ังโดยเหน่ียวไกทิ้งไว้ปืนจะ
ทำงานต่อจนครบวงรอบการทำงานแล้วกระสุนจะไม่ลั่นต่อไปอีก เช่น ยิงไป 2 นัดแล้วปล่อยไก เม่ือเหนี่ยวไกอีกคร้ัง
กระสุนจะลั่นออกไปเพียง 1 นัด ถึงแม้ว่าผู้ยิงจะยังคงเหนี่ยวไกไว้ตามกระสุนจะไม่ลั่นต่อไปอีก เพราะปืนทำงานครบ
วงรอบแล้วลักษณะนี้ไม่ถือว่าปืนติดขัด เมื่อจัดคันบังคับการยิงไว้ท่ีตำแหน่ง (BURST) กระเด่ืองไกตัดจังหวะการยิง
อัตโนมัติ 3 นัด ซึ่งมีลักษณะเป็นลูกเบ้ียว 3 มุม อยู่ทางขวาของสลักนกปืน จะหมุนตัวต่อเนื่องไปเม่ือนกปืนสับลงทุก
คร้ังจนครบวงรอบการยิง ข้ึนอยู่กับว่ากระเดื่องไกตัดจังหวะการยิงอัตโนมัติ 3 นัด จะอยู่ในตำแหน่งใดบ้าง บางคร้ัง
การเหนย่ี วไกครัง้ แรกอาจมีกระสุนล่ันออกไปเพียง 1 หรอื 2 นดั หรืออาจครบวงรอบ 3 นัดกไ็ ด้
5. การทำงานผิดปกตแิ ละการแก้ไข
ผู้ใช้อาวุธมีความรับผิดชอบในการปรนนิบัติบำรุงอาวุธของตน ให้มีการหล่อล่ืนและสะอาดอยู่ใน
สภาพใชง้ านได้ตลอดเวลา ดังน้นั ผู้ใชอ้ าวุธควรได้รบั การแจกคมู่ ือการใช้งานและอุปกรณ์การทำความสะอาดและหล่อ
ล่นื เมอ่ื ได้รบั มอบให้ใช้อาวธุ
5.1 เหตุติดขัด คือการที่อาวุธไม่ทำงานครบตามวงรอบของเคร่ืองกลไก โดยที่ผู้ยิงไม่ได้เจตนา ผู้
ยิงต้องสามารถแก้ไขเหตุติดขัดทันทีทันใด หรือแก้ไขตามสาเหตุเพื่อให้ปืนทำงานตามวงรอบต่อไป เหตุติดขัดถ้า ไม่
สามารถแกไ้ ขได้ทันทีทนั ใด หรอื แก้ไขตามสาเหตไุ ด้กใ็ หส้ ่งให้ชา่ งอาวธุ ซอ่ ม
5.2 การแก้ไขเหตุติดขัดทันทีทันใด หมายถึง การดำเนินการโดยวิธีการต่าง ๆ อย่างรวดเร็วเพ่ือ
ขจัดเหตตุ ิดขัด เมอ่ื ผยู้ ิงตรวจพบหรือสันนิษฐานเอาโดยยังไม่ตอ้ งวเิ คราะห์อย่างละเอยี ดแท้จริงมีขั้นตอน คอื
5.2.1 ตบ ซองกระสนุ ขนึ้ ข้างบนไม่แรงนักใหเ้ ข้าที่
5.2.2 ดงึ คนั ร้ังโครงนำลกู เล่ือนมาข้างหลังจนสดุ
5.2.3 ตรวจ ดกู ระสุนในรังเพลงิ
5.2.4 ปลอ่ ย คนั รั้งโครงนำลกู เล่อื นไปข้างหนา้
5.2.5 ดนั เครือ่ งช่วยลูกเลือ่ นไปข้างหน้า
5.2.6 เหนีย่ ว ไกเพ่ือทำการยิงต่อไป
-7-
5.3 ถ้าหากขณะทำการยิง ได้ยินเสียงปืนดังเบาผิดปกติ หรือแรงสะท้อนถอยหลังน้อยผิดปกติ
ให้หยุดยิงทันที เพราะสิง่ บอกเหตวุ ่าน่าจะมีลกู กระสนุ ยงิ ออกไปไมพ่ ้นปากลำกล้องเนื่องจากดินส่งเผาไหม้ ไม่สมบูรณ์
ลูกกระสุนจงึ ค้างคาอย่ใู นลำกลอ้ ง กรณีนห้ี า้ มแก้ไขโดยทันทที ันใดเด็ดขาด ใหป้ ฏิบัตดิ งั นี้
5.3.1 ปลดซองกระสนุ ออก
5.3.2 ดึงแขวนลูกเล่ือนไวข้ า้ งหลัง
5.3.3 ห้ามไก
5.3.4 ตรวจดใู นลำกลอ้ งว่ามลี ูกกระสุนคาอยหู่ รือไม่
5.3.5 ถา้ มีส่งปนื ให้นายสิบช่างอาวุธแก้ไข ถ้าไม่มีทำการยิงตอ่ ไปได้
5.4 สาเหตสุ ำคญั ของการท่ปี ืนทำงานผดิ ปกติ
5.4.1 ปนื ไม่ปอ้ นกระสุน
5.4.2 ปืนไม่ล่ันเมื่อลั่นไก
5.4.3 ปืนไม่รัง้ , ไม่คัดปลอกกระสนุ
5.4.4 ลูกเลื่อนไม่อยู่ตำแหน่งเปิดลูกเล่ือนหลังยงิ นดั สดุ ทา้ ยออกไปแล้ว
5.4.5 ลกู เลอื่ นไม่อยตู่ ำแหนง่ เปิดลูกเล่ือน ทงั้ ๆ ท่ีกลอนกระเด่ืองยดึ ลกู เลอ่ื นทำงาน
5.4.6 ปนื ยงิ อัตโนมตั ิ 2 นัด หรอื มากกวา่ เมื่อจัดคันบังคบั การยงิ ตำแหนง่ กง่ึ อัตโนมัติ
5.4.7 เหน่ียวไกมาข้างหลงั ไม่ได้ หรอื ไกปืนไมก่ ลับเขา้ ทเ่ี ดิมหลงั จากปลอ่ ยนวิ้ แลว้
5.4.8 ซองกระสนุ ไมย่ ดึ ตดิ กับปนื
5.4.9 ปืนไม่บรรจกุ ระสุนตามปกติ
6. ประเภทกระสนุ
6.1 กระสุนทีใ่ ชก้ ับ ปลย.เอ็ม.16 เอ 2 คือ ขนาด 5.56 x 45 มิลลเิ มตร นาโต้ คอื เอสเอส. 109
และ เอม็ . 855 ของสหรัฐอเมรกิ า มี 5 ชนิด คอื
6.1.1 กระสุนธรรมดา เอ็ม.855 ทีป่ ลายมเี ครื่องหมายทาสเี ขียว
6.1.2 กระสนุ ส่องวถิ ี เอม็ .856 ปลายทาสีแดง
6.1.3 กระสนุ ซอ้ มรบ เอ็ม.200 ปลายปดิ ทาสมี ว่ ง
6.1.4 กระสนุ ฝกึ ยิง (พลาสติก) เอม็ .862 ใชฝ้ กึ ยิงในโรงฝึกยิงปืนในร่ม เคร่ืองช่วยฝึก
เทคโนโลยสี ูงของ ปลย. ใช้กับลูกเลือ่ นฝึก แบบ เอ็ม. 2
6.1.5 กระสนุ ฝกึ หดั บรรจุ เอ็ม.199 มรี ่องข้างปลอกกระสุน
6.2 กระสนุ วิถี แบง่ ออกเป็น 3 ชน้ั
6.2.1 กระสุนวิถีภายในลำกล้อง เป็นเรื่องของลูกกระสุนวิ่งอยู่ในลำกล้องก่อนพ้นออกจาก
ปากลำกล้อง
-8-
6.2.2 กระสุนวิถีภายนอกลำกล้องมีปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อทางเดินของลูกกระสุนจากปาก
ลำกล้องถงึ เป้าหมาย
6.2.3 กระสุนวถิ ี ณ เปา้ หมาย เปน็ เรอ่ื งของสง่ิ ต่าง ๆ ท่ีเกิดขนึ้ เม่อื ลูกกระสุนกระทบเป้าหมาย
ปลย.เอม็ .16 เอ 1 มอี ัตราเกลยี วหมุนรอบตัว 1:12 (1 รอบ ยาว 12 นิว้ )
ปลย.เอ็ม.16 เอ 2 มอี ัตราเกลียวหมนุ รอบตวั 1:7 (1 รอบ ยาว 7 นิ้ว)
เพอื่ ปอ้ งกนั ปัญหาตา่ ง ๆ ท่เี กิดขึ้น จึงมีกฎงา่ ย ๆ คอื เมื่อใช้ ปลย.เอ็ม.16 เอ 1 ทำการยิงให้
ใช้กระสุนแบบ เอ็ม.193 เทา่ นนั้ เพราะออกแบบมาเพ่ือใช้กบั ปลย.เอม็ .16 เอ 1
เม่ือใช้ ปลย.เอ็ม.16 เอ 2 ทำการยิง ให้ใช้กระสุนแบบ เอ็ม.855 (สหรัฐอเมริกา) หรือ
เอสเอส. 109 (นาโต้) กลุ่มประเทศนาโต้ 19 ประเทศเท่านั้นเพราะออกแบบมาเพื่อใช้กับ ปลย.เอ็ม.16 เอ 2 เม่ือยิง
ออกไปด้วยความเรว็ 2,200 ไมล์/ชั่วโมง จะมีปัจจัยอีกหลายอย่าง เช่น อุณหภูมิ กระแสลม ความดันของบรรยากาศ
ความโน้มถ่วงของโลก กระสุนวิถีกจ็ ะเปล่ยี นไป
6.3 กระสุนวิถี ณ เป้าหมาย เน่ืองจากลูกกระสุน เอ็ม.855 หรือ เอสเอส.109 ลูกกระสุนมีแกน
โลหะผสมแเขง็ มาก เมอ่ื กระทบเหลก็ แผ่นเรียบจงึ ทะลทุ ะลวงได้ การทะลทุ ะลวงเปรียบเทยี บดังนี้
ระยะ 50 เมตร ระยะ 300 เมตร
กระสุน เอ็ม.193 แผน่ เหล็กเรียบ 0.413 น้ิว (10.5 ม.ม.) 0.137 นิว้ (3.5 ม.ม.)
กระสนุ เอ็ม.855 แผน่ เหล็กเรียบ 0.551 น้วิ (14 ม.ม.) 0.413 นวิ้ (10.5 ม.ม.)
7. การฝึกยงิ ปนื เบ้ืองต้น
7.1 การฝึกยงิ ปืนเบื้องตน้ แบ่งออกเปน็ 6 ขั้น คอื
7.1.1 การใช้ศนู ย์และการเล็ง
7.1.2 การฝกึ ท่ายงิ
7.1.3 การฝกึ การลนั่ ไก
7.1.4 การฝกึ ยิงต่อเนื่อง
7.1.5 การปรบั ศนู ยแ์ ละการขืนลม
7.1.6 การตรวจสอบก่อนไปยิงปนื ในสนาม
7.2 การใชศ้ นู ยแ์ ละการเลง็
7.2.1 การปรับศูนย์รบระยะ 300 เมตร ปรับที่ระยะ 25 เมตร ใช้ช่องเล็งช่องเล็กใช้เป้าหุ่นมี
ตารางให้กล่มุ กระสุนถกู ก่ึงกลางวงกลมในเป้าไม่ใหญ่เกิน 4 ซ.ม. หรือ 4 ช่องตาราง ทหารก็สามารถยิงถูกข้าศึกได้ทุก
ระยะภายใน 300 เมตรได้
-9-
7.2.2 วิธีการยิงปรับปืน ให้ต้ังระยะท่ีจานปรับทางระยะที่ศูนย์หลังท่ีเลข 8/3 แล้วหมุนบวก
ไปอีก 1 คลิก มุมทิศ 0 ตรงดรรชนีที่ฐานศูนย์หลัง ศูนย์หน้าหมุนฐานศูนย์หน้าขึ้นเสมอแท่นศูนย์หน้า แล้วทำการ
ปรับปืน หากกลุ่มกระสุนไม่อยู่กลางวงกลมเป้าหุ่นตารางให้ปรับทางระยะที่ศูนย์หน้า จนกลุ่มกระสุนอยู่ กึ่งกลาง
วงกลมเป้าหุ่นตาราง 25 เมตร เมื่อปรับศูนย์รบเสร็จแล้วหมุนจานปรับทางระยะศูนย์หลังกลับมา 1 คลิก เพ่ือให้ศูนย์
หลังอยู่ที่ระยะ300 เมตร และเลข 8/3 จะตรงดรรชนีท่ีโครงปืน เมื่อต้องการยิงที่หมายระยะมากกว่า 300 เมตร
ให้ใช้การปรบั จานทางระยะไปตามเครือ่ งหมายบอกระยะ
7.2.3 กฎของการปรบั ศนู ย์หลัง
1) ศูนย์หลังปรับทางทิศ 1 คลิก จะมีค่าเท่ากับ 0.33 ซ.ม. (1/8 น้ิว) ทุกระยะ
25 เมตร 1 ชอ่ งตารางเป้าหนุ่ ตาราง ระยะ 25 เมตร จึงปรับ 3 คลิก
2) ศูนย์หลังปรับทางระยะ 1 คลิก จะมีค่าเท่ากับ 1.1 นิ้ว ในระยะ 100 เมตร ที่จาน
ปรับทางระยะจากเลข 3 หมุนไปหาเลข 3 หมุนไปหาเลข 8 จะมีตัวเลขกำกับไว้ ระหว่างตัวเลขจะมีคลิกให้หมุนได้
จำนวนไม่เท่ากัน ตัวเลขมากจำนวนคลิกจะหมุนได้มากขึน้ จึงถึงตวั เลขต่อไป ตารางปรบั ทางระยะ 1 คลกิ ดังน้ี
2.1) ระยะ 300 เมตร 1 คลิก เปล่ียนตำบลกระสุนถูก 3.3 นิ้ว (7.9 เซนตเิ มตร)
2.2) ระยะ 400 เมตร 1 คลกิ เปล่ยี นตำบลกระสุนถูก 4.4 นวิ้ (10.5 เซนติเมตร)
2.3) ระยะ 500 เมตร 1 คลกิ เปลี่ยนตำบลกระสนุ ถูก 5.5 นว้ิ (13.1 เซนตเิ มตร)
2.4) ระยะ 600 เมตร 1 คลกิ เปล่ียนตำบลกระสนุ ถูก 6.6 นวิ้ (15.7 เซนตเิ มตร)
2.5) ระยะ 700 เมตร 1 คลกิ เปลี่ยนตำบลกระสนุ ถูก 7.7 นิ้ว (18.3 เซนตเิ มตร)
7.2.4 กฎการปรับศูนยห์ นา้
ศูนย์หน้าปรับทางระยะ 1 คลิก จะมีค่าเท่ากับ 0.83 เซนติเมตร ระยะ 25 เมตร
หมุน 1 คลกิ สามารถยา้ ยตำบลกระสุนถกู ไป 1 ชอ่ ง ตารางเป้าหุ่นตาราง 25 เมตร
7.2.5 สรุป การปรับศูนย์ท้ังทางทิศและทางระยะมากกว่า 25 เมตร ให้เอาระยะท่ีต้องการยิง
หารดว้ ย 25 แล้วคูณดว้ ย 0.33 (สำหรบั ทางทศิ ) หรอื คูณดว้ ย 0.83 สำหรับทางระยะ ผลลพั ธ์เป็นเซนตเิ มตร
ตอ้ งการทราบการปรับ 1 คลิก ระยะ 300 เมตร
ทางทิศ 300 X 0.33 = 1.96 เซนตเิ มตร หรอื 4 เซนตเิ มตร
25
ทางระยะ 300 X 0.83 = 996 เซนติเมตร หรือ 10 เซนติเมตร
25
7.3 การใช้ท่ายิง ขั้นตอนเพ่ือให้การปรับปืนด้วยท่าท่ีม่ันคง ให้ใช้ทำนอนยิง มีเครื่องหนุนรองจน
ได้หลักฐานศูนย์ปืนแล้ว จึงฝกึ ให้ยงิ ท่านอนยิงไม่มีเครอื่ งหนุนรอง ก็จะทราบข้อบกพร่องว่าเกิดจากปืนหรือเกิดจากผู้
ยงิ
- 10 -
7.3.1 เพื่อค้นหาข้อบกพร่องในการยิงปืนของผู้ยิง ครูฝึกควรหาวิธีการต่าง ๆ เข้ามาประกอบ
เพ่ือให้ทราบแน่นอนว่า การที่กลุ่มกระสุนแตกกระจายไม่เข้าถึงก่ึงกลางเป้าน้ันสาเหตุเป็นเพราะอะไร โดยทำการ
ตรวจสอบ ดังน้ี
1) ใชท้ ่ามั่นคง มเี คร่อื งหนนุ รอง และไม่มีเครื่องหนนุ รอง
2) การบรรจุกระสุน ให้ครูฝึกเป็นผู้บรรจุกระสุนใส่ซองกระสุนให้ผู้ยิงทุกคน โดยนำเอา
กระสุนฝกึ หัดบรรจุใส่ผสมลงในซองกระสุนด้วย ประมาณกลาง ๆ ของจำนวนกระสุนท่บี รรจุแต่ละคร้ัง ใหค้ รูฝึกสังเกต
การยิงของผูย้ ิง ถ้าผยู้ ิงกระตุกไก เอาไหลผ่ ลักเพอื่ ดันตอบกลบั แรงสะท้อนถอยหลงั ของปืน ตอ้ งนำผูย้ งิ ไปเข้ารบั การฝึก
เรอ่ื งการลนั่ ไกใหม่
3) การทำท่ายิงท่ีถูกต้อง เม่ือไม่มีเคร่ืองหนุนรอง ต้องบิดข้อศอกท่ีไม่ถนัดเข้าไปรับ
นำ้ หนกั ปนื ให้เป็นมุม 90 องศา ถา้ ไม่ปฏบิ ตั ิดังน้กี ารยงิ จะเกิดอาการส่ันไหวของปืนเป็นต้น
8. การปรนนบิ ัติบำรงุ อาวธุ
การสอนอาวุธศึกษาใหท้ หารเรียบรู้ และปฏิบัติได้อย่างถูกตอ้ ง ตามข้ันตอนน้ันเป็นพื้นฐานขั้นแรกใน
การท่ีจะให้ทหารสามารถใช้ ปลย.ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนที่ทหารได้รับการพัฒนาการฝึก การยิงปืนเบื้องต้นไป
จนถึงการฝึกเบื้องสูง ทหารจะต้องมีความรู้ในอาวุธ ปลย. เป็นอย่างดี และโดยเฉพาะก่อนท่ีจะเริ่มดำเนินการฝึกหลัก
พ้ืนฐานของการฝึกยิงปืนทหารทุกคนจะต้องได้รับการทบทวนในเร่ืองอาวุธศึกษา โดยเฉพาะการปรนนิบัติบำรุงอาวุธ
ก่อนทำการฝกึ ยงิ ปืนดว้ ยกระสนุ จริงทกุ คร้ัง
8.1 หน้าทข่ี องผใู้ ช้ในการปรนนิบัตบิ ำรุงอาวธุ
8.1.1 ปรนนิบัติบำรงุ อาวธุ ของตนให้สะอาด และอยูใ่ นสภาพทีใ่ ช้งานไดต้ ลอดเวลา
8.1.2 ตรวจสภาพอาวธุ โดยท่ัว ๆ ไป
8.1.3 รายงานการชำรุดและการเสอ่ื มสภาพในทนั ที
8.2 โอกาสที่จะปรนนบิ ตั ิบำรุงอาวุธ
8.2.1 ก่อนทำการยิงปืน
8.2.2 หลงั จากการยิงปนื
8.2.3 เม่ือเก็บรักษาอยใู่ นคลังอาวธุ
8.2.4 เมื่อสภาพอากาศไมป่ กติ
9. น้ำมันทำความสะอาด, หลอ่ ล่ืน และการใช้
น้ำมนั ทำความสะอาดและหล่อล่นื ทจี่ ะได้รับจ่ายจาก สพ.ทบ.มหี ลายชนดิ ดังนี้
9.1น้ำมัน CLP (Cleaner=สารทำความสะอาด, Lubricant=สารหล่อลื่น และ Preservative=
สารถนอมรักษาป้องกนั สนิม)
- 11 -
9.2 นำ้ มนั ชนดิ ใสหล่อล่นื และปอ้ งกันสนิม (U.S OIL GENERAL PURPOSE PRESERVATIVE
LUBRICATING OIL)
9.3 นำ้ มันหล่อล่ืนชนิดข้น (LUBRICATING GENERAL MEDIUM)
9.4 นำ้ มันหลอ่ ลืน่ ก่งึ ข้น LSA [ (LUBE OIL SEMI – FLUID (AUTOMATIC WEAPONS) ]
9.5 น้ำมันชำระล้างลำกล้อง(CLEANING COMPOUND SOLVENT, RIFLE BORE)
9.6 นำ้ มนั ทำความสะอาดลำกลอ้ ง (CLEANER RIFLE BORE/CR)
10. การบำรงุ รักษาและทำความสะอาด ปลย. เอ็ม. 16 เอ 2
10.1 การตรวจปืน/ทำปนื ให้ปลอดภัย
10.2 การถอดปืน
10.3 การทำความสะอาดปนื
10.4 การชโลมปนื /การหล่อลื่น
10.5 การประกอบปืน
10.6 การทำความสะอาดซองกระสุน
11. การตรวจปนื – ก่อนการถอดปนื ให้กระทำดงั น้ี
11.1 จันคับบังคับการยงิ ไปที่ตำแหน่ง SAFE ถ้าปืนไม่ได้ขึ้นนก คันบังคับการยิงจะบิดไปท่ี SAFE
ไมไ่ ด้
11.2 ปลดซองกระสุน
11.3 แขวนลกู เลอื่ น
11.4 ตรวจดูห้องลูกเลอ่ื นและรังเพลิงว่ามกี ระสนุ อยู่หรอื ไม่ เพื่อความปลอดภยั ในการถอดปนื
11.5 ให้คันบังคับการยิงชี้ไปท่ี SAFE แล้วปล่อยลูกเลื่อนให้เคล่ือนท่ีไปข้างหน้าโดยกดส่วนบน
ของปุ่มเหลก็ ยึดลูกเลอื่ น
12. การถอดปืน (ถอดชนิ้ ส่วนปกติ) ให้กระทำตามข้นั ตอนดังน้ี
12.1 ขนั้ แรก ตรวจปนื ใหป้ ลอดภยั ก่อน
12.2 ถอดสายสะพายปืน
12.3 ถอดฝาปะกับลำกล้อง (คงถอดเมื่อสกปรก โดยการตรวจดูทางช่องระบายอากาศ) ให้ใช้
ระบบสองคนชว่ ยกนั
12.4 กดและดันสลักยึดโครงปืนตัวหลังออกให้สุด และพลิกโครงปืนส่วนบนหลุดจากโครงปืน
สว่ นลา่ ง
12.5 กดและดันสลกั ยึดโครงปนื ตวั หนา้ ออกให้สดุ
12.6 แยกชดุ โครงปนื ส่วนบนและส่วนล่างออกจากกัน
- 12 -
12.7 ดึงคันร้งั ลกู เลื่อนมาขา้ งหลัง
12.8 ถอดลูกเล่อื น และโครงนำลกู เลอื่ น
12.9 ถอดคันรั้งลูกเลื่อน
12.10 ถอดสลกั ยึดเข็มแทงชนวน
12.11 ดนั ลกู เลือ่ นให้เขา้ ไปอยู่ในตำแหน่งขัดกลอน
12.12 เทชุดโครงนำลูกเลื่อนใหเ้ ขม็ แทงชนวนหลดุ ออกมา
12.13 ถอดสลกั ลกู เบ้ยี วออก (หมนุ 90 องศา) หรือ 1/4 รอบ แล้วยกขนึ้
12.14 ดงึ ลกู เล่ือนออกมาจากชดุ โครงนำลกู เล่ือน
12.15 ถอดเขม็ ยึดสลักขอรั้งปลอกกระสนุ (โดยใช้เขม็ แทงชนวนดัน)
12.16 ยกสลักขอร้ังปลอกกระสนุ และแหนบออก
12.17 กดแกนแหนบรับแรงถอยเข้าไปข้างในแล้วกดสลักก้ันเพื่อให้แกนแหนบและแหนบรับแรง
ถอยหลดุ ออกมา
12.18 ถอดแกนแหนบและแหนบรับแรงถอยออกจากกัน
*หมายเหตุ ข้ันตอนที่ 12.15 – 12.18 จะทำเม่ือช้นิ สว่ นสกปรกหรอื ชำรดุ เทา่ นน้ั
13. การทำความสะอาดปืน
13.1 ภายหลังที่ถอดช้ินส่วนปกติในหน้าท่ีผู้ใช้ออกแล้ว ให้ผู้ใช้ทำความสะอาดอาวุธโดยใช้
อุปกรณท์ ำความสะอาด ซึง่ ได้แก่
13.1.1 แส้ และดอกแสท้ ำความสะอาดลำกล้อง
13.1.2 วสั ดทุ ใ่ี ช้ทำความสะอาด เชน่ ผ้าและน้ำมนั ทำความสะอาดชนดิ ต่างๆ
13.2 หลังจากยิงปืนด้วยกระสุนซ้อมรบ หรือกระสุนจริง ให้ทำความสะอาดด้วยน้ำมันกัดสนิม
1 ครง้ั เพอื่ ให้แน่ใจว่าเขม่าปืนได้ถูกเช็ดออกไปแล้ว จากนนั้ เช็ดช้นิ ส่วนต่างๆ ให้แห้งและชโลมด้วยน้ำมัน ถ้ามชี ้ินส่วน
ใดหาย หรอื ชำรุดให้แจง้ ชา่ งอาวุธของหนว่ ย
13.3 เทคนิคในการทำความสะอาดลำกลอ้ ง ปลย.
ลำกล้อง ปลย.จะประกอบด้วยสันเกลียว และร่องเกลียว การทำความสะอาดลำกล้อง โดยใช้แส้
และดอกแส้นั้น กระทำโดยวิธีดึงแส้ผ่านจากรังเพลิงไปถึงปากลำกล้องจะทำให้ดอกแส้หมุนเวียนตามเกลียวลำกล้อง
ซง่ึ จะเป็นการทำความสะอาดลำกลอ้ งที่ถูก ทงั้ ยังเป็นการรักษาสนั เกลียวลำกลอ้ งมิให้สึกโดยทำตามขัน้ ตอนดงั นี้
13.3.1 ใชผ้ า้ ชบุ นำ้ มัน CLP หรอื CLEANER แยงลำกล้องให้ชมุ่
13.3.2 ตอ่ กา้ นแส้ 3 ท่อนเข้าด้วยกนั โดยให้แตล่ ะขอ้ เหลอื เกลียวไวส้ องรอบก่อนจะแนน่
13.3.3 ประกอบดอกแส้โดยเหลอื เกลียวไวส้ องรอบเชน่ เดียวกนั
13.3.4 สอดก้านแสเ้ ขา้ ในรังเพลงิ ผ่านลำกลอ้ งปืน โผลท่ ี่ปากลำกล้องปืน
- 13 -
13.3.5 ประกอบดา้ มแสเ้ ข้ากับกา้ นแส้
13.3.6 ดงึ ดอกแส้ผา่ นลำกลอ้ งจนพ้นปากลำกล้องปนื
13.3.7 ทำตามวธิ ีดังเดิม จำนวน 3 - 4 ครงั้ จะเห็นว่าดอกแส้และก้านแสข้ ันจนเข้าติดกนั
13.3.8 ใช้ผ้าชุบน้ำมัน แยงลำกล้องสลับเป็นครั้งคราว โดยใช้เทคนิคเช่นเดียวกัน เพื่อใช้ผ้า
ทำความสะอาดรูดตามเกลียวในลำกลอ้ ง
13.4 ชุดโครงปนื สว่ นบน ทำความสะอาดด้วยนำ้ มนั CLP หรือนำ้ มนั ชำระลา้ งชิ้นสว่ นตา่ ง ๆ ดงั นี้
13.4.1 ทุกพ้นื ผวิ ที่มีคราบเขม่าดินปืน,คราบการกดั กร่อน ความสกปรก และสนิม
13.4.2 ลำกล้องและรงั เพลิง
13.4.3 บากขัดกลอน (หรือครีบขัดกลอน)
13.4.4 ท่อนำแกส๊
13.4.5 ชดุ โครงนำลูกเล่ือน
1) พืน้ ผวิ ภายนอกและภายใน โครงนำลูกเลือ่ น
2) ทอ่ รบั แกส๊
3) ซอกบ่าเข็มแทงชนวน และเขม็ แทงชนวน
4) รูเขม็ แทงชนวน (ใชก้ ้านสำลีแยงกล้องสบู ยา ทำความสะอาด)
5) พื้นผวิ บริเวณดา้ นหลงั แหวนป้องกนั แก๊สรวั่ และใต้ขอบขอร้งั ปลอก
13.5 ชดุ โครงปนื สว่ นล่าง ทำความสะอาดชิ้นสว่ นตา่ งๆ ดงั น้ี
13.5.1 ทุกพืน้ ผวิ มีคราบเขม่าดนิ ปืน,คราบการกัดกร่อน และสงิ่ สกปรก
13.5.2 เช็ดคราบสกปรกจากเครอื่ งลน่ั ไก
13.5.3 ทำความสะอาดแหนบ และแกนแหนบรับแรงถอย และในชุดตอ่ โครงปนื ส่วนลา่ ง
ขอ้ ห้าม อยา่ ใช้แปรงลวดหรอื วัสดหุ ยาบขดั ทำความสะอาดพ้ืนผิวท่ีเปน็ อลูมเิ นยี ม
13.5.4 เหล็กคัดปลอก (ห้ามผใู้ ช้ถอดแยก) ให้ผใู้ ช้ช่วยทำให้เหล็กคดั ปลอกทำงานได้ดี โดย
ใหป้ ฏิบตั ิตามขัน้ ตอนต่อไปนี้ เดือนละครงั้ หรือบ่อยครั้งตามต้องการ (สปั ดาห์ละครง้ั ถา้ ยิงด้วยกระสุน ซ้อมรบ)
1) ถอดลูกเลอื่ นออกจากโครงนำลกู เลื่อน
2) หยอดน้ำมัน CLP หรือน้ำมันหล่อล่ืนอ่ืนๆ จำนวน 2 - 3 หยด ลงบนเหล็ก
คดั ปลอก
3) ใช้จานท้ายปลอกกระสุนที่ยิงแล้วเก่ียวกับขอรง้ั ปลอก แล้วโยกปลอกกระสุนให้
ขอบท้ายปลอกกระสุนอีกด้านหนึ่งดันเหล็กคัดปลอกจนจานท้ายปลอกกระสุนยันกับหน้าลูกเล่ือน ผ่อนแรงกด และ
กดซำ้ หลายๆ ครง้ั จนรสู้ กึ วา่ ทำงานได้คล่อง หลังจากนนั้ ให้เชด็ คราบน้ำมันส่วนเกินออก
- 14 -
14. การชโลมปืน/การหลอ่ ล่ืน
14.1 ชโลมบาง หมายถึง การชโลมด้วยน้ำมันหล่อล่ืน หรือน้ำมัน CLP ให้พอเห็นว่ามีคราบ
น้ำมนั เคลอื บอยู่
14.2 ชโลมหนา หมายถึง การชโลมให้มีคราบน้ำมันหนามากพอที่จะใช้น้ิวมือปาดกระจาย
ออกได้
14.3 วธิ ีหลอ่ ลน่ื โครงปนื ส่วนบน
ชโลมบางด้านในโครงปืน, ลำกล้องและรังเพลิง, พ้ืนผิวภายนอกและศูนย์หน้าผิวภายนอกลำ
กล้อง, ใตฝ้ าประกับลำกล้อง, กดสลัดยึดศนู ย์หน้า หยดน้ำมัน 2 – 3 หยด กดปล่อยหลายๆคร้ังเพอ่ื ให้น้ำมันซึมเข้าไป
หลอ่ ลน่ื แหนบ
14.4 วิธหี ล่อลื่นชุดโครงนำลกู เลือ่ น
14.4.1 ชโลมบางเขม็ แทงชนวน และรเู ข็มแทงชนวนทล่ี ูก
14.4.2 เช็ดแหง้ ด้วยก้านสำลีแลว้ หยดน้ำมนั 1 หยด ในทอ่ รบั แก๊ส
14.4.3 ชโลมหนาด้านนอกสลักลกู เบ้ยี ว, แหวนป้องกันแกส๊ ร่ัว และดา้ นนอกลูกเล่อื น
14.4.4 ชโลมบางท่ีขอรั้งปอกและสลกั
14.4.5 ชโลมบางคนั รั้งลูกเล่ือน, พ้ืนผวิ ภายนอกและภายในโครงนำลูกเลื่อน
14.4.6 ชโลมหนาส่วนเคลื่อนที่ และช่องลาดสลกั ลูกเบ้ียวที่โครงนำลูกเลื่อน
14.4.7 ชโลมบางด้านในชดุ โครงปืนส่วนลา่ ง, แหนบและแกนแหนบรับแรงถอย
14.4.8 ชโลมหนาสลักยดึ โครงปนื ,ช้นิ สว่ นเคลอื่ นท่ใี นชดุ โครงปืนสว่ นลา่ ง
14.5 วธิ หี ล่อลนื่ ศูนยห์ ลงั
14.5.1 จดบันทึกจำนวนคลิกท่ีเล่ือนตำแหน่งของศูนย์หลังเพื่อเล่ือนกลับอยู่ที่เดิมได้เม่ือ
หล่อ-ลืน่ เสรจ็ แล้ว
14.5.2 กลไกปรับศูนย์หลังให้หยดน้ำมันหล่อลื่น 1 – 2 หยด หมุนช้ินส่วนเหล่านี้เพ่ือให้
แน่ใจว่าน้ำมนั หลอ่ ล่นื กระจายสม่ำเสมอทงั้ สว่ นบนและสว่ นล่าง ดงั น้ี
1) แป้นปรบั ทางสงู
2) แกนเกลยี วทางสงู ให้หล่อลื่นจากดา้ นในโครงปนื ส่วนบนดว้ ยวธิ ี
2.1) พลกิ โครงปนื หงายขึ้น
2.2) ถอดคันรั้งลกู เล่ือน
2.3) หยดน้ำมันหล่อลื่น 2–3 หยดทโี่ คนแกนเกลียวทางสูงและในรแู หนบสลักยึด
2.4) หมนุ แป้นทางสูงไปมา 2 – 3 ครั้ง ในขณะทย่ี งั หงายโครงปืนอยู่
3) แป้นรบั ทางทิศ (มากท่ีสุด 5 คลกิ ซ้าย/ขวา)
- 15 -
4) แกนเกลยี วทางทศิ
5) รสู ลกั ยดึ แป้นทางทิศ
14.5.3 หลังจากหลอ่ ลนื่ ศูนย์หนา้ หลงั แล้ว ใหก้ ระทำดังนี้
1) ปรับแปน้ ทางทิศใหไ้ ปอย่ใู นตำแหน่ง ปรบั ศูนยร์ บเหมอื นเดมิ
2) ปรับศูนย์หลังเลื่อนจน “3” ตรงแนวขีดด้านซ้ายของโครงปืน (ให้รู้สึกดังคลิก)
ศูนย์หลังจะอยใู่ นระยะยงิ 300 เมตร จะชว่ ยปอ้ งกันกลไกปรบั ศนู ยห์ ลงั เปื้อนสิ่งสกปรกและน้ำหรือได้รบั ความเสยี หาย
14.5.4 หากปืนถูกน้ำเค็ม ให้ทำความสะอาดศูนย์หลังทันทีเมื่อมีโอกาส หากไม่มีเวลาทำ
ความสะอาดดว้ ยนำ้ มนั CLD ใหใ้ ช้น้ำจดื ลา้ งช่วั คราวก่อน
15. การประกอบปนื ปฏบิ ัตติ ามขั้นตอนดังน้ี
15.1 ประกอบแหนบและแกนแหนบรับแรงถอยเขา้ ด้วยกัน
15.2 ใสเ่ หล็กขอรั้งปอก และแหนบเข้ากบั ลูกเล่อื น และใส่สลกั ขอรงั้ ปลอก
15.3 ใสล่ ูกเล่ือนเข้าไปในโครงนำลกู เลอื่ น (ใหร้ ูสลกั ลูกเบย้ี ว และโครงลกู เลอ่ื นตรงกนั )
15.4 ใส่สลกั ลูกเบ้ยี ว
15.5 ใสเ่ ขม็ แทงชนวน แล้วดงึ ลูกเล่ือนออกให้อยู่ในตำแหน่งปลดกลอน
15.6 ใสส่ ลักยึดเข็มแทงชนวน
15.7 ใส่คนั รง้ั ลกู เลื่อนเข้าไปคร่ึงหน่งึ
15.8 สอดโครงนำลกู เล่ือนเขา้ ไปทางด้านปลายเปดิ ของห้องลกู เลอื่ น
15.9 ดันโครงนำลกู เล่อื น และคันรั้งลกู เลื่อนให้เขา้ ท่ีสนิท
15.10 ประกอบชดุ โครงปนื ส่วนบน และสว่ นลา่ งเข้าดว้ ยกันและกดสลกั ยึดโครงปืนใหเ้ ข่าที่
15.11 ใส่ฝาประกบั ลำกลอ้ งปืนเข้าท่ี
15.12 ใสส่ ายสะพายปืน
16. การทำความสะอาดซองกระสุน ให้กระทำดงั นี้
16.1 การถอดซองกระสุน
16.1.1 ใช้ปลายกระสุนกดสลักยึดแผ่นฐานซองกระสนุ เพ่ือปลดสลัก
16.1.2 ดึงแผ่นฐานออกจากซองกระสุน
16.1.3 ดึงสปรงิ และแผน่ รองกระสนุ โดยการโยกคลอนเบาๆ
16.2 วธิ ีทำความสะอาดและหล่อล่นื ซองกระสนุ
16.2.1 เชด็ ส่ิงสกปรกออกจากซองกระสนุ ,แหนบและแผ่นรองกระสุน
16.2.2 ชโลมบางท่ีแหนบ
16.3 การประกอบซองกระสนุ
- 16 -
16.3.1 ค่อยๆ ใสส่ ปริง และแผ่นรองกระสุนเขา้ ไปในซองกระสนุ
16.3.2 ใสแ่ ผน่ ฐานเข้าไปในซองกระสนุ
- 17 -
คำถามทา้ ยบท
1. ปลย. เอม็ . 16 เอ 2 เมอ่ื ติดดาบปลายปนื จะมีความยาวเท่าใด
2. ปลย. เอ็ม. 16 เอ 2 มีน้ำหนักเท่าไร เมอื่ ไม่รวมซองกระสุน และสายสะพาย
3. ระยะยงิ ไกลสุด ของ ปลย. เอ็ม. 16 เอ 2 คอื ขอ้ ใด
4. การถอดประกอบ ปลย. เอ็ม. 16 เอ 2 ถอดปกติได้ 13 ชิ้นส่วน อยากทราบว่า ชนิ้ สว่ นท่ี 3 มชี อื่ วา่ อะไร
5. กระสนุ ทใ่ี ชก้ ับ ปลย. เอม็ . 16 เอ 2 มีกช่ี นดิ
6. กระสุน เอม็ .193 จะสามารถนำมาทำการยิงด้วย ปลย. เอม็ . 16 เอ 2 ในกรณีใด
7. กระสนุ เอม็ . 193 แตกตา่ งจาก กระสนุ เอม็ . 855 อยา่ งไร
8. หน้าท่ีของผู้ใชใ้ นการปรนนิบตั บิ ำรุงอาวุธมีอะไรบ้าง
9. การถอดและประกอบ ปลย. เอม็ . 16 เอ 2 มีความมุง่ หมายเพื่ออะไร
10. เป้าปรับ ปลย. เอ็ม. 16 เอ 2 ถ้าต้องการปรับทางทิศเพ่ือย้ายตำบลกระสุนถูกไปหนึ่งช่องตารางจะต้องหมุนศูนย์
หลงั ไปก่ีคลิก
*************************
- 18 -
บทท่ี 2
ปนื เล็กยาวทาโวร์ แบบ TAR
1. ลักษณะการทำงาน
ปลย. ทาโวร์ ขนาด 5.56 มม. แบบ TAR เป็นปืนเล็กยาวขนาดกว้าง ปากลำกล้อง 5.56 มม. ป้อน
กระสุนด้วยซองกระสุน ทำงานด้วยแก๊ส ทำการยิงแบบก่ึงอัตโนมัติและอัตโนมัติ โดยใช้คันบังคับการยิง (SAFE,
SEMI และ AUTO) ปลย. ทาโวร์ ขนาด 5.56 มม. แบบ TAR เป็นปืนท่ีประดิษฐ์ตามกรรมวิธีการผลิตที่ทันสมัย ผลิต
โดยบริษัท Israel Weapon Industries (IWI) Ltd. ประเทศอิสราเอล เป็นปืนที่ยิงจากตำแหน่งหน้าลูกเลื่อนปิด, ลูก
เล่ือนหมุนตัว ขัดกลอน, และปลดกลอนด้วยแรงดันแก๊สต่อหัวลูกสูบ ปืนติดกล้องเล็งแบบสะท้อนภาพ ทำงานด้วย
แก๊สระบายความร้อนด้วยอากาศ ป้อนกระสุนดว้ ยซองกระสุนขนาด 30 นดั สามารถทำการยิงด้วยการประทบั บ่าและ
ทา่ ยงิ ใตแ้ ขน จัดเปน็ อาวุธประจำกายของ ทบ.เขา้ ประจำการเมื่อปี 2551
2. แบบของ ปลย. ทาโวร์
ปลย. ทาโวร์ มีอยู่ 4 แบบ คือ
2.1 TAR (TAVOR Assault Rifle ปืนเลก็ ยาวทาโวร)์
2.2 CTAR (Commander TAVOR Assault Rifle ปืนเล็กยาวทาโวร์สำหรับผูบ้ ังคับบญั ชา)
2.3 STAR (Sharpshooter TAVOR Assault Rifle ปนื เล็กยาวทาโวร์สำหรบั พลแม่นปนื )
2.4 GTAR (TAVOR with Grenade Launcher ปนื เล็กยาวทาโวร์ตดิ เครอื่ งยิงลูกระเบิด)
TAR CTAR
STAR GTAR
รปู ท่ี 2-1 ปลย.ทาโวร์ แบบตา่ งๆ
- 19 -
รายการหลกั ฐานของปืนเล็กยาวทาโวร์ แบบ TAR
แบบของปนื เลก็ ยาว TAR
ความกว้างปากลำกล้อง 5.56 x 45 มม.
หลักการทำงาน ยิงจากตำแหน่งหน้าลกู เล่อื นปดิ และปลดกลอนดว้ ยแรงดันแกส๊ ดนั หวั
ลูกสูบ
ระบบขัดกลอน การหมุนตัวขดั กลอนของลูกเลอื่ น
เครือ่ งป้อนกระสนุ ซองกระสนุ ขนาดความจุ 30 นัด
เกลียวในลำกลอ้ ง 6 เกลียว /เวียนขวา /ครบรอบทรี่ ะยะ 7 นวิ้
แบบของการยิง ทลี ะนดั และเป็นชุด
อตั ราการยิง* 700 – 1,000 นัด/นาที
กระสุน ขนาด 5.56 x 45 มม. นาโต้ M 855/SS 109
เครือ่ งเลง็ และศูนยเ์ ลง็ กล้องเล็งสะท้อนภาพ MEPRO 21 M ติดต้งั กับลำกล้อง และศนู ย์เลง็
สำรองประกอบด้วยศูนย์หนา้ ศนู ยห์ ลงั
ความเร็วต้นของกระสุน* 960 เมตร/วนิ าที
ระยะยิงไกลสุด ประมาณ 3,000 เมตร
ระยะยิงหวังผล 500 เมตรลงมา
ความยาวตัวปืน 72.5 ซม.
ความยาวลำกล้อง 46 ซม.
นำ้ หนกั (เฉพาะตัวปืน) 3.3 ก.ก.
นำ้ หนกั กระสนุ 1 นดั 190 เกรน
นำ้ หนกั หวั กระสุน 62 เกรน
อุปกรณ์ประกอบตามมาตรฐาน สายสะพาย
ซองกระสนุ ขนาดความจุ 30 นดั
อปุ กรณ์พิเศษ คูม่ ือการใช้ และกล่องชุดเครื่องมือทำความสะอาด
ดาบปลายปนื
ประเภทกระสุน ขาทราย
เครอ่ื งยิงลูกระเบิดขนาด 40 มม.
กลอ้ งเล็งแบบต่าง ๆ มหี ลายแบบ
กระสุนธรรมดา M 193
- 20 -
แบบของปืนเล็กยาว TAR
กระสนุ ส่องวิถี M 196 (ปลายสีแดง)
กระสุนฝึกหัดบรรจุ M 199
กระสนุ ซ้อมรบ M 200 (ปลายสีม่วง)
กระสนุ ธรรมดา M 855 (เจาะเหลก็ ได,้ ปลายสีเขยี ว)
กระสุนส่องวิถี M 856 (ปลายสีแดง)
* โดยประมาณ ขนึ้ อยกู่ บั ชนิดกระสุน
3. สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของตวั ปนื
3.1 สว่ นประกอบต่างๆ ของตัวปนื
รูปท่ี 2-2 ชนิ้ สว่ น ปลย.ทาโวร์
- 21 -
ลำดบั รายการ
1 Flash Suppressor ปลอกลดแสง
2 Barrel ลำกล้อง
3 Cocking handle ด้ามคันรั้ง
4 Optical accessories adaptor อแดป๊ เตอร์ตดิ อปุ กรณ์กล้องเล็ง
5 Butt พานทา้ ย
6 Rear sling หูกระวนิ ล่าง
7 Bolt carrier stopper lever ปุม่ ปลดโครงนำลูกเลอ่ื น
8 Magazine well ชอ่ งใสซ่ องกระสุน
9 Magazine release lever คนั ปลดซองกระสุน
10 Safety lever คันบังคับการยิง
11 Pistol grip ดา้ มปนื
12 Trigger ไกปืน
13 Front swivel sling หกู ระวนิ บน
14 Fore grip ปะกบั รองมือ
15 Bayonet guide แงต่ ดิ ดาบปลายปนื
16 Ejector port ช่องคดั ปลอก
17 Picatinny adaptor rail for accessories ฐานตดิ อุปกรณ์ใช้งานร่วมกับปนื
18 Rear backup sight ศูนยห์ ลงั สำรอง
19 MEPRO 21M reflex sight กลอ้ งเลง็ สะท้อนภาพ MEPRO 21M
20 Front backup sight ศนู ยห์ นา้ สำรอง
4. การถอดและการประกอบปกติ
ระดับผู้ใช้ เพื่อตรวจความปลอดภัยของปืนก่อน การถอดประกอบให้ทำการตรวจอาวุธตามข้ันตอน
การปฏิบัติ การประกอบปกติ แบง่ ออกเปน็ 2 ขัน้ คือ
4.1 ขน้ั ที่ 1 การถอดชุดกลไกเคลอื่ นท่ีถอยหลังออกจากปนื การถอดในข้ันตน้ มวี ธิ ีปฏบิ ตั ิ
ดงั ต่อไปน้ี
1) ถอดชุดกลไกเคลื่อนที่ถอยหลัง ออกจากปืนด้วยการกดสลกั ยึดพานท้ายจากทางด้านขวา
ของปนื แล้วดงึ สลกั ออกทางดา้ นซา้ ยจนสุดระยะ (สลักยงั คาอยู่)
2) เปดิ พานท้ายออก, จบั แผ่นรบั แรงกระแทกแลว้ ดึงชุดกลไกเคลอ่ื นทีถ่ อยหลงั ออก
- 22 -
รปู ที่ 2-3 การถอดในขั้นท่ี 1
ลำดบั ชื่อช้ินส่วน
1 Butt locking pin สลกั ยดึ พานทา้ ย
2 Recoiling system ชุดกลไกเคลอ่ื นที่ถอยหลงั
3 Butt assembly ชดุ พานทา้ ย
4.2 ขั้นท่ี 2 การถอดชิ้นสว่ นของชุดกลไกเคลื่อนที่ถอยหลัง
1) ถอดแหนบส่งลูกเล่อื นออกจากแผ่นรับแรงกระแทก – โดยใชม้ ือกำแหนบแลว้ กดลงจน
สามารถปลดแหนบออกจากแผน่ รบั แรงกระแทก
2) ถอดสลกั บังคับลกู เล่ือน – โดยดึงกา้ นนำโครงนำลูกเลื่อนออก, ดนั สลักบังคบั ลูกเลื่อน
จากทางดา้ นซา้ ยของโครงนำลูกเล่อื น จนสลักหลุดออกจากโครงนำ ถอดลูกเลือ่ นและเข็มแทงชนวนออก
- 23 -
รูปท่ี 2-4 ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของชดุ กลไกเคลื่อนที่ถอยหลงั
ลำดบั ชื่อชิ้นสว่ น
1 Piston ลูกสบู
2 Bolt carrier assembly ชุดโครงนำลกู เล่อื น
3 Return spring แหนบสง่ ลกู เลื่อน
4 Bolt carrier guide rod ก้านนำโครงนำลูกเลื่อน
5 Buffer แผน่ รบั แรงกระแทก
6 Firing pin เขม็ แทงชนวน
7 Bolt guide pin สลักบงั คบั ลูกเลื่อน
8 Bolt ลกู เล่อื น
4.3 การถอดชดุ เคร่อื งลัน่ ไก
1) ดนั สลกั ยึดชุดเครื่องลนั่ ไกซงึ่ อยูท่ างด้านขวาของปนื แลว้ ดึงออกมาทางดา้ นซา้ ยจนสดุ
ระยะ (สลกั ยังคาอย่กู บั โครงปืน)
2) งา้ งปุม่ ปลดโครงนำลูกเลื่อนออก แล้วดึงเอาชุดเคร่ืองล่นั ไกออก
- 24 -
1
2
3
รูปที่ 2-5 การถอดชุดเครื่องล่ันไก
ลำดับ ชื่อชิ้นส่วน
1 Mechanism locking pins สลกั ยึดเครื่องล่นั ไก
2 Bolt carrier stop button ปุ่มปลดโครงนำลูกเลอื่ น
3 Trigger mechanism ชุดเครื่องลน่ั ไก
4.4 การประกอบปกติ
1) การประกอบชดุ กลไกเคลื่อนที่
1.1) ใส่ลูกเล่ือนและเข็มแทงชนวนเข้าในโครงนำลูกเล่ือน (ให้แน่ใจว่าด้านขอบตรงของ
ทา้ ยเขม็ แทงชนวนอยู่ตรงขา้ มกบั ด้านโคง้ ของลูกเลอื่ น)
1.2) หมุนเข็มแทงชนวนจนดา้ นขอบตรงของท้ายเขม็ แทงชนวนหนั ขนึ้ ด้านบน
1.3) สอดสลกั บงั คับลูกเล่อื นเขา้ ท่ี พร้อมกับล็อคเขม็ แทงชนวนกับลกู เลื่อนไวด้ ้วยกัน
1.4) ใสแ่ กนนำโครงนำลกู เลอื่ นเข้าท่ี โดยใช้มอื กำแหนบส่งลูกเลื่อนกดลงแล้วสอดฐานแหนบเขา้
กับแผ่นรับแรง
1.5) ตรวจดูให้แน่ใจว่าแกนนำโครงนำลูกเลื่อนอยู่ในตำแหน่งด้านหน้า (ปลายโผล่ออก
นอกลูกเล่ือน)
1.6) สอดชุดกลไกเคล่ือนที่ถอยหลังเข้าทางด้านท้ายโครงปืน แล้วดันไปด้านหน้าให้เข้า
สดุ ระยะ
1.7) ปิดพานทา้ ยปนื
1.8) ดนั สลักยดึ พานทา้ ยปืนเข้าที่
- 25 -
1.9) ตรวจความปลอดภัยของปืน และตรวจดูการทำงาน การดึงคันร้ังแล้วปล่อยจะต้องไม่
ติดขัด
2) การประกอบเคร่ืองลั่นไก
2.1) ประกอบเคร่ืองลัน่ ไกเขา้ กบั ป่มุ โครงนำลูกเลอ่ื น
2.2) กดสลักยดึ เคร่ืองล่ันไกไปทางขวา
5. ขัน้ ตอนทำงาน
5.1 วงรอบการทำงานของปนื มี 8 ข้ันตอน ได้แก่
1) การป้อนกระสนุ (Loading) การป้อนกระสนุ จะเกิดขนึ้ ด้วยการสอดซองกระสนุ ทีม่ ีกระสุน
บรรจอุ ย่เู ขา้ ในช่องติดซองกระสุนทีโ่ ครงปนื
2) การขึ้นนก (Cocking)
2.1) การข้ึนนกด้วยมือ – โดยการดึงคันร้ังลูกเล่ือนมาด้านหลังแล้วผลักกลับไปด้านหน้า
ทำให้ โครงนำลูกเล่ือนเคลื่อนถอยหลังพร้อมกับดันให้นกปืนง้างออก แล้วนกปืนจะถูกขัดไว้ด้วยกระเดื่องนกปืน
จากนน้ั โครง นำลูกเลือ่ นเคลือ่ นกลับไปยงั ด้านหน้าดว้ ยแรงดนั แหนบสง่ ลกู เล่อื น
2.2) การข้ึนนกโดยอัตโนมัติ – เมื่อกระสุนถูกขับผ่านรูนำแก๊ส, แรงดันแก๊สส่วนหนึ่งไหล
เขา้ กระบอกสบู ดันตอ่ หัวลูกสบู , แรงดันแก๊สทำให้หวั ลกู สบู รวมทัง้ โครงนำลกู เลื่อนและลกู เลื่อนเคล่ือนถอยหลัง
3) การบรรจุ (Feeding) แหนบส่งลูกเล่ือนดันโครงนำลูกเล่ือนไปทางด้านหน้า, แง่ด้านล่าง
ตรงหน้าลูกเล่ือนดันขอบ จานท้ายปลอกกระสุนในซองกระสุน, กระสุนเลื่อนผ่านลาดท้ายรังเพลิงเข้าไปบรรจุอยู่ใน
รังเพลงิ
4) การขดั กลอน (Locking)
4.1) เม่ือลูกเลื่อนเคลื่อนไปด้านหน้าสุด, หน้าลูกเลื่อนยันโครงต่อท้ายลำกล้องและเหล็ก
หยุดลูกเลื่อน
4.2) แรงเคล่ือนไปข้างหน้าของโครงนำลูกเล่ือนถูกถ่ายทอดผ่านสลักบังคับลูกเลอ่ื นที่สอด
ผ่านช่องในลูกเลื่อนทมี่ ลี ักษณะเป็นลาดรับกนั กับสลกั ทำใหล้ กู เลือ่ นถกู บังคบั ให้หมนุ ตวั
4.3) การหมุนตัวของลกู เล่ือนทำแง่หนา้ ลูกเล่ือนขัดกลอนกับแง่ทโี่ ครงต่อท้ายลำกลอ้ ง
5) การล่ันไก (Firing)
5.1) การเหน่ียวไกทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของก้านต่อไกไปปลดนกปืน, นกปืนตีลงตรงท้าย
เข็มแทงชนวน
5.2) เขม็ แทงชนวนพ่งุ ไปข้างหน้ากระแทกจอกชนวนท้ายของกระสุนเกิดการล่ันไก
- 26 -
6) การปลดกลอน (Unlocking)
6.1) ขณะท่ีกระสุนถูกขับถึงปลายลำกล้อง, แก๊สจำนวนหน่ึงไหลผ่านรูนำแก๊สเข้าไปยัง
กระบอก-สบู แล้วดันต่อหวั ลกู สูบ ลูกสูบเรม่ิ เคล่อื นดันต่อชุดกลไกเคลือ่ นทถ่ี อยหลงั
6.2) โครงนำลูกเลื่อนเคลื่อนถอยหลัง, ในขณะเดียวกันสลักบังคับลูกเลื่อนเบียดลาดขัด
กลอนของลกู เลือ่ นทำใหล้ กู เลือ่ นหมุนตัว
6.3) การหมุนตัวของลูกเลื่อนในทิศทางกลับกันทำให้เกิดการปลดกลอน โดยแง่ขัดกลอน
หนา้ ลูกเล่อื นหลุดออกจากการขัดกบั แงข่ ัดกลอนทา้ ยลำกล้อง
7) การรั้งปลอก (Extraction) ขอร้ังปลอกเกาะเกี่ยวขอบจานท้ายปลอกกระสุนไว้ต้ังแต่
ข้นั ตอนการบรรจ,ุ และระหวา่ งทลี่ กู เลอ่ื นเคลื่อนทถี่ อยหลงั , ขอรงั้ ปลอกก็จะดึงปลอกกระสุนออกจากรงั เพลิง
8) การคัดปลอก (Ejection) ในตอนแรกของการเคล่ือนที่ถอยหลัง ปลอกกระสุนจะถูกรังเพลิง
และโครงต่อท้ายลำกล้องบังคบั ไว้ โดยเหล็กคัดปลอกที่มีแหนบดันอยจู่ ะดันต่อจานท้ายปลอกกระสุน คร้ันเม่ือปลอก
ถูกรั้งเคล่ือนพ้นจากโครงต่อท้ายลำกล้อง ปลอกกระสุนก็จะถูกดีดออกผ่านช่องคัดปลอกด้วยแรงดันของเหล็กคัด
ปลอก
6. เคร่ืองนิรภยั ปืนเลก็ ยาวทาโวร์ มีกลไกนิรภยั ทีช่ ว่ ยปอ้ งกนั อบุ ตั ิเหตุในการทำปืนลั่นโดยไม่ตงั้ ใจ
6.1 กลไกนิรภัยอันแรกคอื จะลั่นไกไมไ่ ด้จนกวา่ ลูกเลอ่ื นจะขัดกลอนสนิท
การโผลข่ องปลายเขม็ แทงชนวน - เข็มแทงชนวนจะโผล่ออกหน้าลูกเลื่อนไม่ได้ จนกว่าลูก-เลอื่ น
จะเคล่ือนไปข้างหน้าและขัดกับแง่ขัดกลอนที่โครงต่อท้ายลำกล้องได้สนิทดี ลูกเลื่อนจะหมุนตัวขัดกลอนกับแง่ขัด
กลอนท่ีโครงต่อท้ายลำกล้องได้สนิทในระยะ 0.078 นิ้ว (2 มม.) ก่อนโครงนำลูกเลื่อนจะเคลื่อนท่ีไปข้างหน้าสุด ใน
กรณีท่ีนกปืนถกู ปลดออกโดยบังเอิญก่อนท่ีโครงนำลูกเล่ือนจะเคล่ือนไปข้างหน้าสุด นกปืนจะตลี งบนเรือนโครงนำลูก
เลื่อนโดยไม่ถูกเข็มแทงชนวน กระเด่ืองนกปืนอัตโนมัติ – ท่ีระยะ 0.078 น้ิว (2 มม.) ก่อนท่ีโครงนำลูกเล่ือนจะ
เคล่อื นไปยงั ดา้ นหน้าสดุ ระยะแง่ดา้ นลา่ งของโครงนำลูกเลอ่ื นจะเตะขากระเด่ืองนกปืนอัตโนมัติ เปน็ การปลดกระเดื่อง
นกปืนอัตโนมัติออกจากการขัดนกปืนไว้, ซ่ึงจะทำให้นกปืนเป็นอิสระและถึงระยะท่ีจะตีลงตรงท้ายเข็มแทงชนวนได้
พอดี
6.2 กลไกนิรภัยอันทสี่ องคอื ลูกเลื่อนจะยงั ไม่ปลดกลอนจนกวา่ ลูกกระสุนจะผา่ นพ้นปากลำกลอ้ ง
และแรงดนั ในลำกลอ้ งลดลงจนถงึ ระดับท่ปี ลอดภยั
6.3 กลไกนริ ภัยอันทสี่ ามคือ คันบังคบั การยงิ ในตำแหน่งห้ามไก ชุดคันบงั คับการยงิ จะขัดกลไก
ของเครอ่ื งลัน่ ไกไว้ โดยจะไม่ปลอ่ ยใหก้ ้านต่อไกเคล่อื นที่ได้เมื่อปืนถูกทำรว่ งลงกระแทกพน้ื โดยบังเอญิ
- 27 -
7. การทำงานผดิ ปกติ และการแก้ไขเหตตุ ิดขดั
ในการดำรงรักษาสภาพอาวุธเป็นความรับผิดชอบของผู้บังคับหน่วยและนายสิบช่างอาวุธตัวนกั เรียน
นายสิบทหารบกเองก็มีความรับผิดชอบในการปรนนิบัติบำรุงอาวุธของตนให้สะอาดและอยู่ในสภาพ ท่ีใช้การได้
ตลอดเวลา ไม่วา่ จะในการฝึกอบรม
7.1 เหตุติดขัด เหตุติดขัด คือ การท่ีอาวุธไม่ทำงานครบตามวงรอบของเคร่ืองกลไกโดยที่ผู้ยิงไม่
เจตนาผ้ยู ิงสามารถใช้การแก้ไขเหตุตดิ ขัดทันทีทันใด หรอื การแก้ไขตามสาเหตุ เพ่ือทำให้เครื่องกลไกของปนื ทำงานให้
ครบวงรอบ แต่เหตุตดิ ขดั บางลักษณะไม่สามารถใชก้ ารแก้ไขทันทีทันใดได้จึงจำเป็นต้อใชก้ ารซอ่ มโดยช่างอาวุธ ดังนั้น
นักเรียนนายสบิ ทหารบกจะตอ้ งเขา้ ใจในระบบการทำงานของอาวธุ ปืน จึงจะเปน็ สว่ นหน่งึ ท่ีจะชว่ ยใหก้ ารแก้ไขสำเร็จ
7.2 การแก้ไขทันทีทันใด การแก้ไขทันทีทันใด หมายถึง การดำเนินการโดยใช้วิธีการต่างๆ อย่าง
รวดเร็วเพ่อื ขจดั เหตตุ ดิ ขัด การแกไ้ ขทันทที ันใดมีข้นั ตอน ดังน้ี
1) ห้ามไกตบซองกระสุนขึ้นข้างบนไม่แรงนัก เพือ่ ใหม้ ่ันใจว่าซองกระสนุ เข้าท่ี
2) ดงึ คันรงั้ ลูกเลื่อนมาขา้ งหลังสุด
3) ตรวจดูในรังเพลิง (มองดูว่าการคัดปลอกกระสุนเป็นปกติ และมีกระสุนที่ยิงแล้วค้างอยู่
หรอื ไม่ ถา้ มใี หค้ า้ งคันรัง้ ไวแ้ ล้วแกไ้ ขตามสาเหตุ)
4) ปล่อยคนั รั้งโครงนำลูกเลอ่ื นไปข้างหนา้
5) ปลดหา้ มไกแลว้ ทำการยงิ ต่อไป
ให้ใช้การแก้ไขทันทีทันใดเพียงครั้งเดียวอย่าทำสองครั้งหากปืนยังไม่ทำงานตามปกติ ให้ตรวจดู
สาเหตุของการติดขัดหรือการทำงานผิดปกติแล้วจึงใช้การแก้ไขตามสาเหตุ การแก้ไขตามสาเหตุ เป็นวิธีการทีใ่ ช้ตอ่ มา
เพือ่ ตรวจดูสาเหตุของการติดขัดหรอื การทำงานผดิ ปกติ
คำเตือน
หากขณะทำการยิง นักเรียนนายสิบทหารบกได้ยินเสียงปืนของตนเองเบาผิดปกติหรือแรงสะท้อน
ถอยหลังของปืนน้อยผิดปกติ ใหน้ กั เรียนนายสบิ ทหารบกหยุดทำการยิงทนั ที เพราะเปน็ สิ่งบอกเหตวุ า่ นา่ จะมีกระสนุ ที่
ถกู ทำการยิงแต่ออกไมพ่ ้นปากลำกล้อง เน่ืองจากการเผาไหม้ของดนิ ปืนไม่ทำใหเ้ กิดแรงส่งท่ีพอเพยี ง กระสุนจึงคา้ งใน
ลำกลอ้ ง กรณีเชน่ นหี้ ้ามทำการแก้ไขเหตตุ ิดขัดทันทที ันใดเดด็ ขาดและใหน้ ักเรียนนายสบิ -ทหารบกปฏิบตั ิดังนี้
- ปลดซองกระสุนออกจากปนื
- ดึงคันร้งั โครงนำลูกเล่ือนมาขา้ งหลงั แล้วกดปุ่มหยุดลกู เล่ือนไว้
- จัดคนั บงั คบั การยิงไปตำแหนง่ ห้ามไก
- ใชส้ ายตาตรวจดภู ายในลำกล้องวา่ มกี ระสนุ ค้างอยหู่ รือไม่
- หากพบวา่ มีกระสุนค้างในลำกล้อง อยา่ พยายามเอาออกด้วยตัวเอง
- นำปนื กระบอกนน้ั ส่งให้นายสิบช่างอาวุธ
- 28 -
8. การทำงานผดิ ปกติ
ลักษณะผิดปกติ ลกั ษณะอาการ สาเหตทุ น่ี า่ จะเป็น การปฏิบัติเพ่ือแก้ไข
-โครงนำลกู เล่ือนสกปรก -ใชก้ ารแก้ไขเหตตุ ดิ ขัด
การไม่ป้อนกระสุน เม่อื บรรจกุ ระสุนเข้ากับ -ซองกระสนุ ผิดรปู ทันทที นั ใด
-บรรจกุ ระสุนไม่ถกู ต้อง -ใชก้ ารแก้ไขตามสาเหตุ
ไมเ่ ข้ารังเพลงิ หรือไม่ ปนื หรือในระหว่าง -กระสุนผดิ รปู รา่ ง
-จานท้ายปลอกกระสุน -ตรวจสภาพเขม็ แทงชนวน
ขดั กลอน วงรอบการทำงาน การ นดั ก่อนขาดติดในรัง ลกู เล่อื น โครงนำลกู เลื่อน
เพลิง และร่องทท่ี า้ ยลำกลอ้ งเพ่ือ
เคลอื่ นที่ไปขา้ งหน้าของ -สปริงหรอื แหนบรบั แรง ดูคราบเขม่าแลว้ ทำความ
ถอยหัก สะอาด
ชดุ โครงนำลกู เลื่อนไมส่ ง่ -สิง่ สกปรกสะสมอยู่ -ถา้ รอยถูกกระแทกท่ีจาน
ภายนอกโครงปืน ท้ายเปน็ ปกติแสดงว่า
แรงเพียงพอทำให้ ส่วนลา่ ง กระสุนใชง้ านไม่ไดห้ รอื
-ทอ่ นำแก๊สสกปรก กระสุนไม่เข้าที่
กระสนุ ไม่ถูกดนั ขน้ึ มา -คราบเขมา่ ติดท่ีเข็มแทง -ปลดซองกระสนุ
ชนวนมากเกนิ ไป -นำกระสุนทีค่ ้างอยู่ออก
จากซองกระสุนไมเ่ ข้าสู่ -เขม็ แทงชนวนคดหรือ จากรงั เพลงิ
หัก -เปลยี่ นขอรง้ั ปลอกกระสุน
รังเพลิงและไม่ขัดกลอน -กระสุนใชง้ านไม่ได้ และแหนบขอร้ังปลอก
กระสุนใหม่
การที่ปืนไมล่ ั่น เขม็ แทงชนวนถูก -แรงสะท้อนถอยหลงั
กระสุน กระแทกเขา้ กับจานทา้ ย นอ้ ยกว่าปกติ
ของกระสุนดว้ ยแรงทไ่ี ม่ -รังเพลิงสกปรก
เพยี งพอหรือกระสนุ ใช้ -เหล็กรง้ั ปลอกกระสุน
งานไม่ได้ ชำรุด
การไมร่ ้ังและไม่คัด ปลอกกระสุนคา้ งในรงั
ปลอกกระสุนการไม่ เพลงิ
รงั้ ปลอกกระสนุ
- 29 -
ลักษณะผดิ ปกติ ลกั ษณะอาการ สาเหตุท่ีน่าจะเป็น การปฏิบัติเพื่อแก้ไข
-แหนบรง้ั ปลอกกระสนุ -เปล่ยี นชดุ ลำกลอ้ งทั้งชดุ
ลา้ หรือหกั
การไม่คดั ปลอก ปลอกกระสุนไมถ่ ูกคดั มา -เกดิ การชำรุดหรืออ่อน -ดงึ คันรง้ั โครงนำลกู เลื่อน
กระสนุ จากชอ่ งคัดปลอกกระสุน ลา้ ของแหนบร้ังปลอก มาขา้ งหลัง
กระสนุ และ/หรือแหนบ -ทำความสะอาด
คดั ปลอกกระสุน -เปลยี่ นแหนบคัดปลอก
-มีเขมา่ หรือส่งิ สกปรก กระสุน แหนบรง้ั ปลอก
ตดิ อยู่ กระสุน และเหล็กรง้ั ปลอก
-แรงสะท้อนถอยหลงั กระสุนใหม่
นอ้ ยกว่าปกติ
การทำงานผดิ ปกติใน -ลกู เลือ่ นไม่อยใู่ น -ตรวจดูสภาพซองกระสนุ
ลักษณะอื่นๆ ตำแหนง่ เปดิ
-ลกู เลอื่ นไม่ถูกยบุ หยดุ -ตรวจดูสภาพของสลัก
หยุดลกู เล่ือน
ลูกเลอ่ื นในตำแหนง่ เปิด
-ส่งซ่อม
ท้งั ๆท่ีสลกั หยดุ ลูกเลือ่ น -ซ่อมแซมชุดเคร่ืองลนั่ ไก
ไดท้ ำงาน -ส่งซอ่ ม
ปนื ทำการยงิ ทีละ 2 นดั -หน้านกปืนสึกหรอ -ตรวจดูซองกระสนุ และ
เหล็กยึดซองกระสุน
เมื่อเหน่ยี วไกในตำแหน่ง -ลูกเบ้ียวหรอื กระเดอ่ื ง -ส่งซอ่ ม
-ตรวจสภาพผิดปกติ
SEMI ไกสึกหรอ -ทำความสะอาด
-นำชนิ้ สว่ นอะไหลม่ า
ไม่สามารถเหนี่ยวไกปนื -สลักเคร่ืองลนั่ ไกหลุด
มาข้างหลงั หรอื ไกปืนไม่ จากโครงปืน
กลับเข้าที่เดิม -แหนบนกปืนชำรดุ
ซองกระสนุ ไมย่ ึดกบั ตวั
ปืน
ชุดโครงนำลูกเลื่อน
ทำงานผดิ ปกติ
- 30 -
ลกั ษณะผิดปกติ ลักษณะอาการ สาเหตทุ ่นี า่ จะเปน็ การปฏบิ ตั เิ พื่อแก้ไข
เปล่ียน
ซองกระสนุ ไมป่ อ้ น -ตรวจดซู องกระสุนวา่
ชำรดุ หรอื ไม่ถ้าชำรดุ สง่ คนื
และเบิกใหม่
หมายเหตุ รายละเอยี ดข้อมูลทางเทคนิคอยู่ในคู่มอื ทางเทคนิคการปรนนิบัตบิ ำรุงของปนื เลก็ ยาวนี้
9. การตรวจการทำงาน การบรรจุ การเลกิ บรรจุ
9.1 กล่าวทั่วไป – การใช้งานตามปกติ เนื้อหาในบทนี้กล่าวถึงข้อควรระวังด้านความปลอดภัยใน
การใชป้ ืนคำอธิบายถงึ แบบตา่ ง ๆ ของปืนเล็กยาวทาโวร์, การบรรจกุ ระสุน และข้อควรระวังในการยงิ ปืน และการเอา
กระสนุ ออกเมื่อปืนขัด
9.2 ความปลอดภัยในการใช้งาน ให้ใช้งานปืนโดยปฏิบัติตามข้อควรระวังด้านความปลอดภัย
ดังต่อไปนี้
1) ให้ทำการตรวจอาวธุ ทุกครั้งทร่ี ับปืนหรือจะส่งตอ่ ปืนใหผ้ อู้ น่ื
2) การยิงปืนเลก็ ยาวทาโวร์ จะอนญุ าตให้ยิงไดเ้ ฉพาะทหารไดร้ ับการฝึกมาแล้วเท่านน้ั และให้
ปฏบิ ตั ิตามกฎความปลอดภัยของผู้ใช้สนามยงิ ปืน
3) การยิงปืนเล็กยาวทาโวร์ ท่ีดัดแปลงสำหรับผู้ยิงถนัดซ้าย จะอนุญาตให้ยิงได้เฉพาะทหารที่
ถนดั ซ้ายเทา่ นัน้
4) การยิงปืนเล็กยาวทาโวรจ์ ะตอ้ งยิงจากปนื ทป่ี รับแนวเส้นเล็งของศนู ยป์ ืนแลว้ เทา่ น้นั
5) การยิงเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 40 มม. จะต้องยิงจากปืนท่ีปรับแนวเส้นเล็งของศูนย์ปืน
แลว้ เท่าน้นั
6) การยิงปืนเล็กยาวทาโวร์ จากท่าประทบั ข้างลำตัวจะทำได้กต็ ่อเม่อื ไดห้ นีบพานทา้ ยปืนไว้ใน
ซอกแขน
7) ขณะอยูร่ ะหวา่ งการเดนิ ทางโดยยานพาหนะห้ามบรรจกุ ระสุนไว้ในรังเพลิง
8) เม่ือไม่ได้อยู่ในสถานการณ์ท่ีพร้อมจะยิงปืนตรวจดูให้แน่ใจว่าคันบังคับการยิงอยู่ใน
ตำแหนง่ หา้ มไก
9) ในการซ่อมบำรงุ ใหใ้ ช้เคร่ืองมอื พเิ ศษที่จ่ายมาให้เทา่ น้ัน
10) ในการยิงปืน, ให้ใช้กระสุนมาตรฐานท่อี นุมตั ิใหใ้ ช้ไดเ้ ท่าน้นั
11) ไม่ควรยงิ ปืนในจังหวะการยงิ อัตโนมัตติ ิดต่อกันมากกว่า 8 ซองกระสุน
9.3 การตรวจอาวุธ (ตรวจความปลอดภัยของปืน) ให้ทำการตรวจอาวธุ สำหรับปนื เลก็ ยาวทาโวร์
ในกรณดี ังต่อไปน้ี
- 31 -
1) เมอื่ รับปืนหรือจะสง่ ปนื ให้ผู้อน่ื
2) ในสนามยงิ ปนื
2.1) เมือ่ เข้าถงึ พ้ืนท่ีสนามยงิ ปืน
2.2) เม่ือจบการยงิ ในแตล่ ะคร้งั
2.3) กอ่ นออกจากสนามยงิ ปืน
3) การตรวจอาวุธมวี ธิ ปี ฏบิ ัติดงั ตอ่ ไปนี้
3.1) ใชน้ ้ิวหวั แม่มือสัมผสั คันบงั คบั การยิงจัดใหค้ นั บงั คบั การยงิ อยูใ่ นตำแหน่งห้ามไก (S)
3.2) ปลดซองกระสุน และตรวจสอบใหแ้ น่ใจว่าไม่มซี องกระสุนติดอยู่กบั ปนื
3.3) ใช้นิว้ ทัง้ หา้ กำด้ามปืนไว้
3.4) ยกปนื ข้นึ ให้ลำกลอ้ งทำมุม 60 องศา
3.5) ใช้นิ้วชี้กับนิ้วหัวแม่มือจับปุ่มปลดโครงนำลูกเล่ือน ดึงมาข้างหลังให้สุดแล้วปล่อย
กลับไปด้านหน้าอย่างเร็วสองคร้ัง โครงนำลูกเลื่อนจะวิ่งกลับไปข้างหน้าด้วยแรงแหนบ ครั้งที่สามให้ดึงคันรั้งค้างไว้
(น้วิ ช้เี กี่ยว คันรง้ั ขณะท่ีน้ิวหัวแม่มอื เกย่ี วหูกระวนิ บน)
3.6) ลดปากลำกล้องลงทำมุม 45 องศากับพื้น ก้มตรวจดูรังเพลิงให้แน่ใจว่าไม่มีกระสุน
คา้ งอยใู่ นรงั เพลิง
3.7) ยกปืนขึ้นให้ลำกล้องทำมุม 60 องศา ปล่อยคนั รงั้ ลูกเลื่อนไปดา้ นหน้า
3.8) จัดคันบงั คับการยิงใหอ้ ยู่ในตำแหนง่ R ให้ปากลำกล้องปนื ทำมมุ ข้ึน 60 องศา ลัน่ ไก
แลว้ ห้ามไก
9.4 การบรรจุ การยงิ และการเลกิ บรรจุ
1) การบรรจุกระสุน
1.1) ยกปนื ขึ้นให้แกนลำกล้องทำมุม 60 องศา กบั พื้น
1.2) ใชน้ วิ้ หัวแม่มือขวาสัมผสั ดวู ่าคันบังคับการยงิ อยู่ในตำแหน่งห้ามไก (S)
1.3) สอดซองกระสนุ เข้าชอ่ งรับซองกระสุนจนได้ยินเสียงกลอนยึดซองกระสุนลั่นดังคลิก
1.4) ขน้ึ นก (ดึงคนั ร้ังสุดระยะแล้วปลอ่ ยให้เคล่อื นกลับไปด้านหน้าเขา้ ที่เดิม)
2) การยิงปนื
2.1) จัดคันบังคับการยงิ ใหอ้ ยใู่ นตำแหน่งยิง (R กึง่ อตั โนมตั ิ หรอื A อตั โนมัติ)
2.2) เหนี่ยวไก
2.3) เม่ือยิงกระสุนหมดซองกระสุน (เหลือซองกระสุนเปล่า) ลูกเลื่อนจะค้างอยู่ใน
ตำแหน่งทางด้านหลัง ให้ปลดซองกระสุนเปล่าออก แล้วติดซองกระสุนท่ีมีกระสุนเต็มเข้าแทนท่ี, จากนั้นให้กดปุ่ม
- 32 -
ปลด โครงนำลูกเลอ่ื นใหโ้ ครงนำลูกเลือ่ นให้เปน็ อสิ ระ, แหนบสง่ ลูกเล่ือนจะดันโครงนำลูกเลอ่ื นไปทางดา้ นหน้าพร้อม
กบั บรรจกุ ระสนุ เข้ารงั เพลงิ
3) การเลกิ บรรจแุ ละตรวจความปลอดภัย
3.1) ใชน้ วิ้ หัวแม่มือสัมผัสดวู ่าคนั บงั คับการยิงอย่ใู นตำแหน่งหา้ มไก (S)
3.2) ยกปนื ใหป้ ลายปากลำกล้องช้ีขน้ึ ทำมมุ 60 องศา
3.3) กำด้ามปนื ไวด้ ้วยนิว้ มือทั้งห้า
3.4) กดคนั ปลดซองกระสุนแลว้ ปลดซองกระสุนออก
3.5) ดึงคันรั้งลูกเล่ือนด้วยนิ้วชี้กับน้ิวหัวแม่มือแล้วปล่อยทันที 2 คร้งั และส่วนครั้งท่ี 3 ค้าง
ไว้
3.6) ลดปากลำกลอ้ งลงทำมุม 45 องศา พลิกตรวจดูรังเพลงิ ให้แน่ใจวา่ ไม่มีกระสุนค้างอยู่ใน
รังเพลิง
3.7) ยกปืนข้นึ ให้ลำกลอ้ งทำมุม 60 องศา ปลอ่ ยคันร้งั ลกู เลื่อน
3.8) จัดคันบังคับการยิงไปท่ีตำแหน่งยิงกึ่งอัตโนมัติ (R) เล็งปืนขณะทำมุมขึ้น 60 องศา ล่ัน
ไกแล้วห้ามไก (ในกรณีที่ยิงกระสุนในซองยังไม่หมดให้ปฏิบัติตามขั้นตอนดังน้ี ห้ามไก ปลดซองกระสุน ดึงคันร้ัง
แขวน ลกู เลือ่ น ตรวจรงั เพลิง ปลอ่ ยลกู เล่อื นไปข้างหนา้ เปดิ หา้ มไก เหน่ยี วไกไปทิศทางท่ปี ลอดภัย)
อนั ตราย
อาวุธปืนท่ียิงจากตำแหน่งหนา้ ลูกเล่อื นปิดเมื่อหยุดยิงในขณะที่ยงั มีกระสุนเหลืออยู่ในซองกระสุนจะ
มีกระสุนค้างอยู่ในรังเพลิงหนึ่งนัดเสมอ ให้ปลดซองกระสุนออกแล้วทำการตรวจอาวุธเพ่ือให้แน่ใจว่ากระสุนถูกคัด
ออกจากรงั เพลงิ และไมม่ กี ระสุนคา้ งคาอยู่ในปืน
10. ระบบเครือ่ งเล็ง ระบบเคร่ืองเลง็ ของปืนเล็กยาวทาโวร์ ประกอบด้วยดงั ต่อไปนี้
- กลอ้ งเล็งสะท้อนภาพ MEPRO 21 M เปน็ กลอ้ งเล็ง ติดต้ังอย่บู นลำกล้องโดยตรง
- ศนู ย์เลง็ สำรองทง้ั ศูนย์หนา้ และศนู ย์หลงั เป็นสว่ นหนึ่งของปนื ไดร้ ับการออกแบบใหใ้ ชเ้ ล็งในกรณีท่ี
กลอ้ งเล็งสะทอ้ นภาพชำรุด
10.1 กลอ้ งเล็งสะท้อนภาพ MEPRO 21 M
กล้องเล็งสะท้อนภาพ MEPRO 21 M เป็นกล้องเล็งสะท้อนภาพแบบให้แสงจากสองแหล่ง
(dual illuminated) สร้างเป็นเป็นจุดเล็งสีแดง (red dot) ได้รับการออกแบบมาสำหรับเล็งได้อย่างรวดเร็ว และยิง
ปืนได้แม่นยำ กล้องเล็งน้ีใช้เล็งได้ทันทีในทุกสภาพของแสงโดยไม่ต้องใช้แบตเตอรี่ การสร้างจุดเล็งขณะที่ใช้งานใน
เวลากลางวันใช้ระบบรวบรวมแสงสว่างตามธรรมชาติด้วยใยแก้วนำแสง ส่วนการให้แสงในเวลากลางคืนใช้แหล่งให้
แสงจากสารทริเท่ียม (tritium light source) การเปล่ียนแหล่งให้แสงจากสองแหล่งเกิดขึ้นอย่างฉับพลันและเป็นไป
โดยอัตโนมัติ เพ่ือมั่นใจว่าจะได้ภาพท่ีคมชัดระหว่างจุดเล็งกับเป้าหมาย ระบบรวบรวมแสงที่โดดเด่นด้วยการใช้ใย
- 33 -
แก้วนี้สามารถรวบรวมแสงธรรมชาติไดม้ าก แม้ขณะเล็งอยู่ภายในที่กำบังท่ีไม่มีแสงไปยงั เป้าหมาย ท่ีอยู่ในพื้นที่มีแสง
จา้
รปู ท่ี 2-6 กลอ้ งเลง็ สะท้อนภาพ MEPRO 21 M
1) ข้อดีของกล้องเล็งสะท้อนภาพ MEPRO 21 M
1.1) ย่านการมองเห็นภาพกว้าง
1.2) ทำการยิงไดเ้ ร็ว เหมาะสำหรับการรบในเมือง
1.3) เลง็ จบั เป้าหมายได้รวดเรว็
1.4) ใช้งานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพภายใต้สภาพทเ่ี ลวร้าย เช่น สภาพอากาศปิด, การ
ยิงขณะท่ีสภาพร่างกายเหนื่อยล้าหรืออยู่ภายใต้ความกดดัน
2) คณุ ลักษณะเฉพาะทางเทคนิคและลักษณะรูปรา่ ง
คุณลกั ษณะเฉพาะทางเทคนิคและลักษณะทัว่ ไปของกลอ้ งเลง็ MEPRO 21 M มีดงั น้ี
กำลงั ขยาย 1 เท่า
เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางของเลนส์ 30 ม.ม.
ยา่ นการมองเหน็ ภาพ ไมจ่ ำกัด
ระยะตา 10 ถึง 600 ม.ม.
เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางจุดเล็ง 5.5 MOA (ลปิ ดาของส่วนโค้ง)
ความยาว 115 ม.ม.
ความกว้าง 42 ม.ม.
ความสงู 54 ม.ม.
นำ้ หนัก 375 กรมั
หมายเหตุ 1 MOA เท่ากับวงกลมเสน้ ผา่ ศนู ย์กลางประมาณ 1.0472 น้วิ ท่ีระยะ100 หลา (91.44 ม.)
- 34 -
1
2
รูปที่ 2-7 ควงเกลยี วปรบั ศนู ย์ทางทศิ และทางสูง (ทางระยะ)
3) การปรบั ศนู ยเ์ ลง็ ของกลอ้ งเลง็ MEPRO 21 M
การปรับศูนย์เล็งทางทิศและทางระยะ 1 คลิก มีค่าเท่ากับ 1 ซ.ม. ในระยะ 25 เมตร ใช้
แผน่ เป้าปนื หรอื ถา้ ระยะยงิ 100 เมตร เท่ากบั 4 ซม.
3.1) การปรับศนู ยต์ ้องการให้กระสุนสูงข้นึ ให้ปรบั หมุนควงเกลียวปรบั ทางสูงตามลกู ศร
(UP) ต้องการให้ตำบลกระสุนต่ำลงด้านล่าง หมุนควงปรับทางสูงทวนลูกศรหรือตามเข็มนาฬิกา 1 คลิก มีค่าเท่ากับ
1 ซม.
3.2) การปรับศูนย์ต้องการให้กระสุนตกไปทางทิศไปทางด้านขวาให้หมุนควงเกลียว
ปรับทางทิศตามเขม็ นาฬกิ า (R) หรือต้องการเลื่อนตำบลกระสุนตกทางทิศไปทางทิศไปทางด้านซ้ายให้หมุนควงเกลียว
ปบั ทางทศิ ทวนเขม็ นาฬกิ า 1 คลิก มีค่าเท่ากับ 1 ซม.
3.3) ในระยะยิง 100 เมตร การปรับศูนย์เล็งท้ังทางทิศและทางระยะ 1 คลิกเท่ากับ
4 ซม.
3.4) เป้าปรบั ศนู ย์สำหรับกล้องเล็ง MEPRO 21 M 1 ชอ่ งตารางมคี า่ เท่ากับ 1 ซม.
รูปท่ี 2-8 ประแจปรับศนู ย์เล็ง
- 35 -
10.2 ศูนยเ์ ล็งสำรอง
1) ศูนย์เล็งสำรองจะถกู ใช้เม่ือกลอ้ งเล็งสะทอ้ นภาพชำรุด ศูนยห์ น้าเป็นแบบศนู ย์แทง่ และ
ศูนยห์ ลังเปน็ แบบศนู ยร์ ู ทำการเลง็ แบบนัง่ แทน่ การใช้มวี ิธีการดังนี้
1.1) ง้างศูนย์หนา้ ขน้ึ 90 องศา
1.2) พลกิ ศนู ย์หลังให้ตง้ั ขนึ้
12
รปู ที่ 2-9 ศนู ยเ์ ลง็ สำรอง
2) การปรับศูนย์เล็งสำรอง ปรับได้ท้ังทางทิศและทางระยะ 1 คลิก มีค่าเท่ากับ 1.4 ซม.
ในระยะ 25 เมตร มีวิธีการปรับดงั น้ี
2.1) การปรับศูนย์ทางระยะให้ใช้ประแจปรับที่กระเดื่องปรับทางระยะหมุนตามเข็ม
นาฬกิ ากระสนุ จะสูงขนึ้ หากหมุนทวนเข็มนาฬกิ ากระสนุ จะต่ำลง
2.2) การปรับศูนย์ทางทิศ ใช้ประแจหมุนควงเกลียวปรับทางทิศในทิศทางที่ต้องการ
หมุนควงเกลียวตามเข็มนาฬิกาจะเล่ือนตำบลกระสุนตกไปทางด้านซ้าย หรือหมุนประแจทวนเข็มนาฬิกาจะเล่ือน
ตำบลกระสุนตกไปทางดา้ นขวา
2.3) เป้าปรับศนู ย์เล็งสำรอง 1 ชอ่ งตารางมคี ่าเทา่ กับ 1.4 ซม.ในระยะ 25 เมตร
รปู ที่ 2-10 การปรบั ศูนยท์ างระยะ
- 36 -
รูปท่ี 2-11 การปรบั ศนู ยท์ างทิศ
11. กระสนุ วิถขี อง ปลย.ทาโวร์
11.1 เมื่อยิงด้วยกระสุน เอ็ม. 193 กระสุนจะถูกก่ึงกลางเป้าที่ระยะ 42 เมตร และว่ิงสูงขึ้นถึง
ยอดกระสุนวิถี ซึ่งสูงกว่าแนวเส้นสายตาประมาณ 17 ซม. ท่ีระยะ 175 เมตร และกระสุนจะถูกก่ึงกลางเป้าหมายที่
ระยะ 300 เมตร อกี คร้งั หน่ึง
รปู ที่ 2-12 กระสนุ วิถี เอ็ม.193
- 37 -
11.2 เมอ่ื ยิงด้วยกระสนุ เอ็ม. 855 กระสุนจะถูกก่ึงกลางเป้าท่รี ะยะ 41 เมตร และวงิ่ สงู ขึ้นถึง
ยอดกระสนุ วิถี ซ่งึ สงู กว่าแนวเสน้ สายตาประมาณ 17 ซ.ม. ทรี่ ะยะ 175 เมตร และกระสุนจะถูกก่งึ กลางเปา้ หมายที่
ระยะ 300 เมตร อีกครง้ั หน่ึง
รปู ที่ 2-13 กระสุนวิถี เอม็ .855
12. ประเภทของเป้าปรบั ศูนย์
- เปา้ ปรับศนู ย์สำหรับกลอ้ เล็ง MEPRO 21 M
- เปา้ ปรับศูนย์สำรอง
12.1 การปรับปืนโดยใชเ้ ป้าปรบั ศนู ยส์ ำหรบั กล้องเล็ง MEPRO 21 M (รปู วงกลม) ใหป้ ฏบิ ัติ
ดังนี้
1) ใช้กระสุน 3 – 5 นัด ยิงเป้าที่ระยะ 25 เมตร โดยเล็งปืนให้เลนส์กล้องเล็งครอบพื้นที่
วงกลมกึง่ กลางแผ่นเป้าและจดุ เล็งสีแดง (red dot) ชี้ทาบทบั กง่ึ กลางวงกลม ส่วนตำบลกระสนุ ถูกที่ตอ้ งการจะอยู่ตรง
เครือ่ งหมาย X ด้านลา่ งของวงกลม
2) วดั กลุม่ กระสนุ กลุ่มกระสุนควรกว้างไมเ่ กิน 5 ซม. เพื่อใหไ้ ด้ศูนย์เลง็ ท่แี มน่ ยำ
3) หาจดุ ก่ึงกลางตำบลกระสุนถูก และปรับแกต้ ามกฎทางสงู ทางระยะ
- 38 -
รปู ที่ 2-14 แผ่นเป้าปรบั ศนู ย์สำหรบั กลอ้ งเล็ง MEPRO
12.2 การปรบั ปืนโดยใชเ้ ป้าปรับศนู ย์เ2ล1็งสMำรอง (รูปคร่งึ วงกลม) ใหป้ ฏิบตั ิด้งน้ี
1) ใช้กระสุน 3 – 5 นัด ยิงเป้าท่ีระยะ 25 เมตร โดยเล็งปืนให้จัดศูนย์พอดีของศูนย์หน้า
ศนู ยห์ ลัง ประกอบเล็งน่งั แท่นที่ครงึ่ วงกลมสดี ำ ตำบลกระสนุ ถกู ที่ต้องการอยู่ตรงเร่ืองหมาย +
2) วดั กลุ่มกระสุน กล่มุ กระสนุ ถกู ควรกว้างไมเ่ กิน 5 ซม. เพ่อื ใหไ้ ดศ้ ูนย์เล็งท่ีแม่นยำ
3) หาจดุ กึ่งกลางตำบลกระสนุ ถกู และปรบั แก้ตามกฎทางสูง ทางระยะ
รปู ท่ี 2-15 แผน่ เป้าปรับศูนย์สำรอง
- 39 -
13. การปรนนบิ ัติบำรุงในระดับผูใ้ ช้
จากประสบการณ์ในอดีตสอนให้เรารู้ว่าสาเหตุสำคัญของปัญหาปืนขัดข้องมักเกิดจากขาดการดูแล
เอาใจใส่หรือการปรนนิบัติบำรุง มากกว่าเกิดจากกลไกของปืนบกพร่อง การดูแลเอาใจใส่ทำความสะอาดและ
ปรนนิบัตบิ ำรงุ ปืนอย่างถกู ตอ้ ง จะส่งผลให้ปนื ทำงานอย่างถูกต้องไมต่ ิดขัด แม้ว่าจะอยู่ในสถานการณท์ ขี่ ับขนั
13.1 อุปกรณ์ต่าง ๆ และเครื่องมือทำความสะอาดสำหรับทำการปรนนิบัติบำรุง อุปกรณ์
ประจำปืนและเครื่องมอื ทำความสะอาดดงั ต่อไปนี้มีความจำเปน็ สำหรบั ใช้ในการปรนนบิ ตั บิ ำรุงปืน
รูปท่ี 2-16 ชดุ อุปกรณท์ ำความสะอาด
ชุดอปุ กรณท์ ำความสะอาด
ลำดับ ชื่อช้นิ สว่ น
1 Oil can หลอดนำ้ มนั หลอ่ ล่นื
2 Cleaning rod กา้ นแส้
3 General cleaning brush แปรงทำความสะอาดทัว่ ไป
4 Chamber and barrel extension cleaning brush
ดอกแส้ทำความสะอาดรังเพลิงและโครงต่อท้ายลำกลอ้ ง
5 Internal receiver cleaning brush แปรงทำความสะอาดภายในโครงปนื
13.2 การปรนนิบัตบิ ำรงุ ประจำวัน เพื่อรกั ษาปืนใหอ้ ยู่ในสภาพพร้อมใชง้ านอยู่เสมอ, จะต้องทำ
การปรนนบิ ตั บิ ำรงุ ประจำวันทุกวนั แม้วา่ ปนื จะไมไ่ ดใ้ ช้ยงิ ในวันนนั้ ใหท้ ำการตรวจและบริการประจำวันดงั น้ี:
1) ใชแ้ ปรงทำความสะอาดทั่วไปปดั เอาคราบทรายและฝนุ่ ออกจากชน้ิ ส่วนภายใน
2) ใชก้ ระดาษเชด็ เลนส์ เชด็ ทำความสะอาดเลนสข์ องกลอ้ งเล็ง
3) ทำการถอดแยกปนื ในข้นั ต้น
- 40 -
4) ใชก้ ้านแส้ตดิ ผ้าแหง้ ท่ีสะอาดโสกลำกล้องและรังเพลิง
5) ใช้แปรงทำความสะอาดภายในโครงปนื ปัดทำความสะอาดภายในโครงปืน (ใหแ้ น่ใจวา่
จับปืนให้ดา้ นพานทา้ ยหนั ลงพื้น เพ่ือไม่ให้ส่ิงสกปรกร่วงหลน่ เขา้ รังเพลิง)
6) ใช้ดอกแส้ทำความสะอาดรังเพลิงและโครงต่อทา้ ยลำกล้องแยงขัดคราบเขม่าดินปนื
ออกจากรังเพลิงและโครงต่อทา้ ยลำกลอ้ ง
7) ทำการถอดแยกข้นั ทีส่ อง
8) ทำความสะอาดหนา้ ลูกเล่ือนให้ท่วั ถึง
9) ชโลมนำ้ มนั CLP ตรงส่วนทีเ่ สียดสกี ันดงั ต่อไปนี้
9.1) รอ่ งนำด้านข้างโครงนำลูกเลื่อน (ข้างละหยด)
9.2) ด้านหลงั ของแง่ขัดกลอนของลกู เลอ่ื น (ดา้ นละหยด)
9.3) คอลูกเล่อื น
9.4) ลาดบงั คบั ขัดกลอนทีล่ ูกเล่อื น
9.5) สลักบังคบั ลกู เล่ือนขัดกลอน
แง่ขัดกลอนหน้าลกู เล่ือน ลาดบงั คับขดั กลอน
สลักบงั คับลูกเล่ือนขดั กลอน ร่องนำ
รปู ท่ี 2-17 จุดหลอ่ ลน่ื
10) ประกอบปนื
13.3 การปรนนบิ ัตบิ ำรุงประจำสปั ดาห์ ทำการตรวจและบรกิ ารประจำสัปดาห์ ดงั ตอ่ ไปนี้
1) ถอดแยกปนื ในขั้นตน้ และในข้นั ท่สี อง รวมท้ังถอดชุดเครื่องลน่ั ไกออกด้วย
2) ทำความสะอาดชดุ กลไกเคลอื่ นทถี่ อยหลงั และเครือ่ งลัน่ ไกด้วยนำ้ มัน CLP
3) ใชแ้ ปรงทำความสะอาดทั่วไปปัดทำความสะอาดภายนอกตัวปืน
4) ทำความสะอาดชิน้ ส่วนกลไกเคล่ือนท่ีถอยหลงั ให้ทั่วถึง
- 41 -
5) ใช้ดอกแส้ทำความสะอาดรังเพลิงและโครงต่อท้ายลำกล้องแยงทำความสะอาดรังเพลิง
และโครงตอ่ ท้ายลำกล้อง
6) ใชแ้ ปรงทำความสะอาดภายในโครงปนื ปัดทำความสะอาดภายในเรือนของโครงปืน
7) ตรวจสภาพการทำงานของช้ินส่วนดังต่อไปน้ี
7.1) จะต้องไม่มีร่องรอยชำรุดเสยี หายที่พ้ืนผิวลูกเลือ่ นและเขม็ แทงชนวน
7.2) ความหยนุ่ ตวั ของแหนบขอรง้ั ปลอกและเหล็กคัดปลอก
7.3) ความสมบรู ณ์ของปะกบั รองมือและคนั ร้ังลูกเลื่อน
7.4) จัดคนั บงั คับการยิงไปยังทุกตำแหน่งได้โดยไม่ติดขัด
13.4 การปรนนิบตั ิบำรุงกอ่ นทำการยิง ก่อนทำการยิงปนื ควรตรวจให้แนใ่ จว่าปืนสะอาดดีโดย
ปฏิบัตดิ งั น้ี
1) ทำการถอดแยกในขั้นตน้
2) เช็ดทำความสะอาดขจัดคราบเขม่า, ทราย และน้ำมนั หล่อลน่ื ออก
3) ใช้แสต้ ดิ ผา้ แห้งและสะอาดแยงเชด็ ลำกล้องให้แหง้ :
3.1) สอดกา้ นแส้ทำความสะอาดเขา้ ทางปากลำกล้อง
3.2) สอดชิ้นผา้ แหง้ และสะอาดเข้าหว่ งปลายก้านแส้
3.3) ดงึ ก้านแส้ขนึ้ โดยไม่ปล่อยใหก้ ้านแส้ครดู กบั ปากลำกล้อง
4) หากมีคราบเขม่าหรือเศษโลหะติดอยู่ในลำกล้องหรือในรังเพลิง, ให้ใช้ดอกแส้
ทองเหลอื งแยงทำความสะอาด
5) หยอดน้ำมัน CLP ตรงจุดต่าง ๆ ท่ีเสียดสีกันของชุดกลไกเคล่ือนท่ีถอยหลัง ยกเว้น
พ้ืนผวิ ทสี่ มั ผัสแก๊สร้อน เชน่ ลำกลอ้ งหรอื รังเพลงิ
6) ในการยิงปืน ให้ใช้กระสุนมาตรฐานท่ีรับรองโดยเจา้ หน้าทตี่ รวจสภาพกระสุนห้ามหล่อ-
ลื่น หรือลา้ งทำความสะอาดกระสนุ ดว้ ยนำ้ มนั โซลเวน้ ท์
13.5 การปรนนิบัติบำรงุ หลังทำการยิง หลังการยิงปืนให้ทำความสะอาดปืนอย่างทั่วถึงโดยเอา
ใจใส่เปน็ พิเศษตรงช้นิ ส่วนทส่ี ัมผสั แกส๊ ร้อน
1) ใช้ก้านแส้ (2) ติดผ้าชุบน้ำมัน CLP ดึงผ่านลำกล้องปล่อยไว้นาน 15 นาที ให้น้ำมัน
CLP ทำปฏิกริ ิยากับคราบเขมา่ ดินปืน แลว้ ใช้ผ้าแหง้ ตดิ ก้านแสแ้ ยงเอาคราบสกปรกออกจนสะอาดดี จากนัน้ ชโลมบาง
ๆ ภายในลำกลอ้ งด้วยนำ้ มัน CLP อกี ครง้ั
2) ทำการถอดแยกในขัน้ ท่สี อง
- 42 -
3) ทำความสะอาดช้ินส่วนต่าง ๆ ทั้งหมดของปืนอย่างท่ัวถึง โดยตามซอกเล็กซอกน้อย
ภายนอกที่ใช้แปรงทำความสะอาดแยงไม่ถึง อาจใช้ลมเป่าคราบสกปรก, ฝุ่นและทรายออก ชิ้นส่วนภายในท่ีมีคราบ
เขม่าดนิ ปนื จบั ใหช้ โลมดว้ ยน้ำมัน CLP ทิ้งไว้นาน 15 นาที แลว้ ใชแ้ ปรงทำความสะอาดขัดเอาคราบสกปรกออก
4) หลังจากใช้ผ้าแห้งเช็ดคราบสกปรกออกจนสะอาดดีแล้ว ให้ชโลมน้ำมัน CLP บาง ๆ
ดา้ นหลังแงข่ ัดกลอนหน้าลกู เล่ือน, รอบคอลูกเลื่อน, รอ่ งนำด้านข้างโครงนำลูกเลอ่ื น และสลักบังคับลูกเล่ือนขัดกลอน
(ชนิ้ ส่วนภายนอกทเี่ ปน็ โลหะรมดำ และส่วนทีเ่ ป็นพลาสติกโพลิเมอรไ์ มต่ ้องชโลมน้ำมนั ปอ้ งกันสนิม)
13.6 การใช้งานในสภาพท่ีไม่ปกติ เม่ือใช้ปืนในสภาพแวดล้อมท่ีไม่ปกติ เช่น มีลมพัดละออง
ทรายคลุ้งมาก, มีฝุ่นมาก, ฝนชุก, ปนื เปรอะเป้ือนโคลน และในท่ีอณุ หภูมิหนาวจดั หรือร้อนจัดจะต้องทำการปรนนิบัติ
บำรุงปนื เป็นพิเศษให้เหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มเพ่ือให้แนใ่ จวา่ ปนื จะทำงานได้ดีไม่ตดิ ขัด
1) สภาพอุณหภูมิต่ำ เมื่ออุณหภูมิภายนอกลดลงต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง, ใช้เช็ดทำความ
สะอาดปืนแล้วหล่อล่ืนด้วยน้ำมันที่ไม่เป็นคราบแข็ง (MIL-PRF-32033 AMD. 1 หรอื ท่ีมีคุณสมบัติเหมือนกัน) ให้เอา
ใจใส่เป็นพิเศษที่ ขอร้ังปลอก ห้ามหยอดน้ำมันหล่อลื่นธรรมดาเน่ืองจากอาจจับเป็นคราบแข็งทำให้ช้ินส่วนเคลื่อนท่ี
ตดิ ขัดได้เม่ืออุณหภูมิสูงข้ึน (การนำปืนจากภายนอกเข้ามาในอาคารทอ่ี ุ่นกว่า) อาจเกิดการกลน่ั ตัวของไอน้ำเป็นคราบ
หยดน้ำเกาะตามชิ้นส่วนต่าง ๆ แล้วกลายเป็นคราบน้ำแข็งเม่ือปืนกลับไปอยู่ในสภาพอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งอีก
คร้ัง ซ่ึงอาจเป็นสาเหตุทำให้ปืนติดขัดได้ ให้ใช้ผ้าแห้งเช็ดคราบน้ำออกจากชิ้นส่วนภายในที่เคลื่อนที่ ตรวจดูให้แน่ใจ
กระสนุ แห้งอย่เู สมอ
2) สภาพอุณหภูมิสงู ในสภาพท่ีอุณหภูมิร้อนจัดให้ทำการปรนนิบัติบำรุงอยา่ งถูกต้องทกุ
วันหลังจากทำความสะอาดให้ใชน้ ้ำมนั CLP ชโลมชิน้ สว่ นภายในเพื่อปอ้ งกนั สนิม
3) สภาพโคลนและช้ืน ในสภาพแวดล้อมที่เป็นโคลนและช้ืน, น้ำมันหล่อล่ืนจะถูกชะล้าง
หลดุ ออกจากชน้ิ ส่วนเคลอื่ นท่ีได้ง่าย ทำใหเ้ กิดการเสยี ดสีมากข้นึ ก่อนออกปฏิบัตกิ ารท่ีคาดว่าปืนจะต้องเปียกน้ำควร
เตรียมการป้องกันไว้ก่อน โดยหล่อลื่นปืนด้วยน้ำมันหล่อล่ืนท่ีทนน้ำได้ตามคุณลักษณะเฉพาะทางทหาร MIL-C-
E16173, มาตรฐานเกรด 3 (ชโลมชนิ้ สว่ นบรเิ วณท่ีเสยี ดสีกันแล้วปล่อยไวใ้ ห้แห้งเอง ไม่ต้องเชด็ ออก)
4) สภาพทรายและฝุ่น เมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีทรายและฝุ่นมากละอองทรายและฝุ่น
อาจแทรกเข้าไปเกาะติดอยู่กับกลไกส่วนที่เคล่ือนที่และในลำกล้องได้จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องทำความสะอาดอย่างทั่วถึง
ทกุ วนั หลงั จากนำปนื ออกไปปฏบิ ตั กิ ารในพ้ืนทท่ี ี่เปน็ ทราย โดยใหป้ ฏิบตั ดิ งั ตอ่ ไปน้ี
4.1) เชด็ คราบนำ้ มันหล่อลน่ื ออกจากชนิ้ สว่ นต่าง ๆ ให้แห้งเพอื่ ป้องกันทรายเข้าไป
เกาะติดอยู่กับคราบนำ้ มนั ที่อาจเปน็ สาเหตขุ องปนื ขัดขอ้ ง
4.2) ใช้จกุ ครอบปากลำกล้องเพอ่ื ป้องกันทรายและฝุ่นเขา้ ไปในลำกล้อง
4.3) หยอดนำ้ มนั CLP ตรงชิ้นส่วนทเ่ี คลอ่ื นทีแ่ ละผิวสมั ผสั ทเ่ี สียดสีกัน