The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Alisa daoh, 2019-11-12 01:05:05

นรารำลึก E-book1

นรารำลึก E-book1

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

คำ� บรรยายใตภ้ าพ ผมเลอื กใชภ้ าษาไทยแบบเตม็
ตวั บางคำ� นชุ แปลได้อยา่ งไมม่ ีปญั หา บางคำ� เธอไม่เข้าใจ
ซ่ึงก็เข้าทางผม เพราะด้วยเหตุน้ีเราจึงมีโอกาสเปิดกล้อง
เวบ็ แคมสนทนากนั บา้ งเป็นบางครง้ั ผมเคยขอพูดคุยแบบ
เหน็ หนา้ ทุกวนั แตน่ ชุ บอก “ไมเ่ อา เขิน”
แม้ระยะเวลานดั ของเราแค่ ๑ เดือน แต่ผมก็เฝ้า
รอวันนัดหมายอย่างใจจดใจจ่อชนิดท่ีว่า มองอะไรก็เห็น
เปน็ บ้งั ไฟไปหมด เคยแวะทำ� ธุระแถบรมิ ฝั่งทะเล เหน็ เรือ
กอและยังคิดวา่ ใครหนอเอาบ้ังไฟไปแชท่ ะเล การรอคอย
ครั้งนี้ ยอมรับว่านอกจากพาเท่ียวแล้ว ผมยังหวังผล
บางสิง่ มากกว่านน้ั แตแ่ ลว้ ทกุ อยา่ งกม็ าพงั ทลาย…
อกี ๑ สปั ดาหก์ จ็ ะถงึ กำ� หนดพธิ บี ญุ บง้ั ไฟภเู ขาทอง
จูๆ่ หนา้ เฟสบ๊กุ ของนชุ พลันปรากฏข้อความไว้อาลัย เป็น
ขอ้ ความทเี่ พอื่ นของเธอมาโพสตไ์ ว้ ดว้ ยความสามารถทาง
ภาษาอังกฤษกระทอ่ นกระแทน่ ผมจึงไหว้วานให้เพือ่ นซง่ึ
เปน็ อาจารย์ภาษาอังกฤษ โรงเรยี นมัธยมแปลให้ ไดค้ วาม
วา่ …นชุ จากไปแลว้ อยา่ งไมม่ วี นั หวนกลบั ดว้ ยอบุ ตั เิ หตทุ าง
รถยนต์

คดิ ถึง...นราธิวาส : ๕๐

“นี่ๆ เพ่อื นของเดก็ นาย ยังโพสตด์ ว้ ยวา่ “หวังวา่ ดวงวิญญาณคงได้ไปชมงานบุญ
บั้งไฟตามทใี่ จปรารถนานะ”
ขา่ วการจากไปของนชุ สรา้ งความหอ่ เหยี่ วใหผ้ มชนดิ เปลยี่ นคนทยี่ มิ้ งา่ ยกลายเปน็
ซมึ ในบดั ดล ภาพบงั้ ไฟอนั สดใสทว่ี าดไวพ้ ลนั กลายเปน็ สเี ทาหมน่ มหิ นำ� ซำ�้ หนั ไปมองหนา้ เพอื่ น
ยังเหน็ แต่ความพล่ามวั
ตลอด ๑ สปั ดาห์ผมได้แต่เลอ่ื นมองหน้าเฟสบุ๊กของนุช เพอ่ื หวังว่าความตายของ
เธอจะเปน็ เพยี งเรอ่ื งโกหก เดย๋ี วนชุ คงทกั มาทางกลอ่ งขอ้ ความดว้ ยคำ� วา่ wad – dee แตก่ ็
ไม่มี ตลอดเวลามคี �ำไว้อาลยั เพิม่ ขน้ึ ๓ ข้อความ ผมอา่ นแล้วอ่านอกี (แมแ้ ปลได้ไม่สมบรู ณ์
นกั ) อา่ นจนรสู้ ึกวา่ บญุ บ้งั ไฟคร้งั ที่ ๓๒ นี้ ช่างไมม่ ีความหมายอะไรกับผมเลย ทั้งๆ ท่ีไม่
เคยพลาด
กระท่งั วันงานบญุ บงั้ ไฟมาถึง ทง้ั ๆ ท่ีตั้งใจจะไม่เขา้ รว่ ม แตข่ ณะเปดิ ดเู ฟสบุ๊กของ
นุช พลนั ความร้สู กึ หน่ึงกแ็ วบขน้ึ มา “นๆี่ เพือ่ นของเด็กนาย ยังโพสต์ดว้ ยวา่ ‘หวังว่าดวง
วิญญาณคงไดไ้ ปชมงานบญุ บงั้ ไฟตามทใ่ี จปรารถนานะ’”
ใช่! ผมควรสานความต้ังใจของนชุ ใหจ้ บ เทา่ นัน้ แหละ อีก ๑ ชั่วโมงใหห้ ลงั ผมก็
นำ� หัวใจอันซมึ เศรา้ มายนื อยทู่ า่ มกลางผคู้ นในประเพณีบญุ บัง้ ไฟภูเขาทอง
งานบญุ บงั้ ไฟภเู ขาทองครง้ั ที่ ๓๒ ยงั คงเสนห่ ์ และความงามเหมอื นเดมิ ปนี สี้ งั เกต
เหน็ ผคู้ นตน่ื เตน้ เปน็ พเิ ศษ มองแลว้ จะเปน็ เพราะบงั้ ไฟกห็ าใช่ เมอื่ สอบถามจงึ รวู้ า่ ขา่ วบญุ
บ้ังไฟขยายไปไกล ปีนคี้ นมาเลเซียเหมารถบสั มาเท่ียวชมถงึ ๑ คันรถ
“บ้านเราดังแล้ว” เสียงคนหนง่ึ วา่
ใช่ บ้านเราดงั แลว้ แต่จะดีกวา่ น้ีถา้ นุชได้มโี อกาสมาร่วมดว้ ย การมีชาวมาเลเซีย
มาร่วมงานมากมายขนาดนี้ คงทำ� ให้ผมพดู โออ้ วดกบั นชุ ได้นานหลายนาที
ตลอดงานทงั้ รว้ิ ขบวน ทง้ั การพงุ่ ฉวิ ทะลเุ มฆของบงั้ ไฟ สรา้ งความฮอื ฮา เรยี กเสยี ง
ปรบมอื อย่างชืน่ ชมจากผู้ร่วมงานไดอ้ ยา่ งดี เสยี งหัวเราะ ความสดใส และรอยยมิ้ ตกหลน่
อยบู่ นความสวยสดโดยทวั่ งาน แตส่ ำ� หรบั ผม ขา่ วความตายทเ่ี พงิ่ เกดิ ขนึ้ ไดบ้ งั ตา และเทสี
เทาให้ มองอะไรกก็ ลายเปน็ ความหมน่ ไรช้ วี ติ ชวี าไปเสยี หมด โถ!่ ขา่ วความตายหนอ ชา่ งลดทอน
ความงามเสียเหลอื เกิน

หมายเหตุ : งานเขยี นรางวัลชมเชย จากการประกวดงานเขียน
“เรือ่ งดๆี ที่บ้านเรา” ปี ๒๕๕๗ โดยกระทรวงวฒั นธรรม

คิดถงึ ...นราธิวาส : ๕๑

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

ประวัติศาสตร์ใน
“หลวงปู่ทวดฯ”

ชุมศกั ด์ิ นรารตั นว์ งศ์

คดิ ถงึ ...นราธิวาส :

“ นะโม โพธสิ ตั โต“
อาคนั ตมิ ายะ
อติ ิ ภควา

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

ตลอดระยะเวลาทเ่ี กดิ สถานการณค์ วามไมส่ งบในพนื้ ทชี่ ายแดนใต้ หนงึ่ ในรากโพธิ์
ร่มไทรของพี่น้องไทยพุทธทง้ั ในและนอกพน้ื ที่ คือ “หลวงปทู่ วดเหยยี บน�้ำทะเลจดื ” แห่ง
วดั วดั ราษฎรบ์ รู ณะ หรอื “วดั ชา้ งให”้ ตำ� บลควนโนรี อำ� เภอโคกโพธิ์ จงั หวดั ปตั ตานี วนั นี้
บรรยากาศภายในวัดอาจเงียบเหงาไปบ้างหากเทียบกับอดีตที่มีนักท่องเท่ียวจากทั่วทุก
สารทศิ ตัง้ ใจมาสกั การะหลวงปู่ทวดเหยยี บน้ำ� ทะเลจดื อยา่ งไรก็ตาม สง่ิ นา่ สนใจประการ
หนึ่งซึ่งยังคงม่ันอยู่เสมอ คือเร่ืองราว “รากเหง้าประวัติศาสตร์” สะท้อนความเก่ียวพัน
ผูกพนั กันของผคู้ นและแผ่นดิน
ความต่อเนื่องจากเรอ่ื งเล่าสมัย “สมเดจ็ เจา้ พะโคะ” หรอื “หลวงพ่อทวดฯ” โละ
หายจากวดั พะโคะ ต�ำบลชุมพล อำ� เภอจะท้ิงพระ จงั หวดั สงขลา ถิน่ กำ� เนิด กาลคร้งั นน้ั มี
พระภิกษุชรารปู หนง่ึ ปรากฏตวั ขึ้น ณ เมอื งไทรบุรีหรอื “เคดะห”์ ยคุ สมยั ที่คนมลายูเมือง
ไทรบรุ สี ว่ นใหญย่ งั นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ ภกิ ษชุ รารปู นนี้ บั เปน็ ปราชญท์ างธรรมและเชย่ี วชาญ
ทางอทิ ธพิ ลอภินหิ ารเป็นยอดเย่ยี ม ชาวเมืองไทรบุรีมีความเคารพเล่อื มใสมาก
ในทางประวตั ศิ าสตร์ “โลกมลาย”ู ความจรงิ แลว้ นกั ประวตั ศิ าสตรเ์ ชอ่ื วา่ ‘เคดาห’์
‘เคดะห์’ ‘กือดะห์’ หรือ “ไทรบุรี” ซึ่งหลวงปู่ทวดฯ ไปปรากฏกาย เป็นส่วนหน่ึงของ
“ลังกาสุกะ” (Langkasuka) อาณาจักรมลายูเก่าแก่และเจริญรุ่งเรืองสุดบนฝ่งั ตะวันออก
ของ “คาบสมทุ รมลาย”ู ก่อตง้ั ตง้ั แตป่ ลายครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑ หรือตน้ คริสตศ์ ตวรรษท่ี ๒
(ระหวา่ ง ค.ศ. ๘๐-๑๐๐) หรอื อาจตั้งมาก่อนคริสตศ์ ักราช เตบิ โตเป็นรฐั ขนาดใหญ่ เพราะ
ต้ังอยู่ในต�ำแหน่งเหมาะสมบนเส้นทางคาบสมุทร ระหว่างอ่าวสยามกับมหาสมุทรอินเดีย
ศูนย์กลางตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของคาบสมุทร “ตรงบริเวณจังหวัดปัตตานีในปัจจุบัน”
นักวิชาการดา้ นประวตั ศิ าสตร์ กลา่ วไวเ้ ช่นนนั้
วนั โมฮมั หมดั ซกั ฮริ ์ บนิ อบั ดลุ ลอฮฺ เขยี นไวใ้ น “ตารคิ ปาตาน”ี (Tarikh Patani)
ตงั้ แต่ ค.ศ. ๑๙๘๙ วา่ “พระราชาผทู้ รงปกครองอาณาจักรลังกาสุกะน้นี ับถือศาสนาฮนิ ดู
พราหมณ์ ราชธานอี ยทู่ เี่ มอื งเคดะหใ์ นปจั จบุ นั เราไมท่ ราบวา่ ราชอาณาจกั รนเี้ กดิ ขน้ึ เมอ่ื ใด
แต่จากการบอกเลา่ ของคนเฒ่าคนแกส่ บื ทอดกันมาว่า ราชอาณาจกั รลังกาสุกะ เกิดกอ่ น
ครสิ ตกาล (ศกั ราช) คนจนี ทม่ี าคา้ ขายในดนิ แดนแหง่ นไ้ี ดก้ ลา่ วถงึ ราชอาณาจกั รลงั กาสกุ ะ
เช่นกัน พวกเขาบอกว่า ราชอาณาจักรลงั กาสกุ ะเริม่ มพี ระราชา หลังจากพระเยซปู ระสูติ
๒๐๐ ปี”

คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๕๕

นอกจากนี้ มีการตั้งสมมติฐานอีกมากมายเก่ียวพันกับความเป็น “ปาตานี” หรือ
“ปตั ตาน”ี ในปจั จบุ นั โดยเฉพาะเกยี่ วเนอ่ื งกบั พระภกิ ษจุ นี ทเี่ ดนิ ทางมายงั ดนิ แดนแหง่ น้ี เชน่
เอกสาร Hsu Kao Seng Cuan บนั ทึกเรอื่ งราวเก่ียวกบั พุทธศาสนาในประเทศจีน ชว่ งคริสต์
ศกั ราชที่ ๘ พระภกิ ษจุ นู าโลโต ตอ้ งการเดนิ ทางไปยงั อาณาจกั ร Leng Chieh Hsiu ทภี่ กิ ษทุ งั้
๓ คอื อีห้ ลัง ฉหี งาน และ อฉ้ี วน แลน่ เรือจากจนี ผา่ นฟูนนั มาถงึ ทะเลของ Lang Chia Shu
(หมายถึง ลังกาสุกะ) และได้ทอดสมอท่ีนั่น พวกเขาได้รับการต้อนรับอย่างดีจากพระราชา
และไดร้ บั ความเออื้ เฟอ้ื จดั ทพ่ี ำ� นกั อยา่ งเหมาะสม เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั พระภกิ ษขุ องจนี และพทุ ธ
ศาสนาทล่ี งั กาสุกะมีมาอย่างตอ่ เน่อื ง การเดนิ ทางจากจนี ไปอนิ เดยี มักจะแวะพกั ที่ลงั กาสกุ ะ
ในขณะที่ภิกษุรูปอ่ืนบางส่วนเดินทางต่อไปยังอินเดีย แต่ภิกษุบางรูปมาพ�ำนักอยู่จนกระท่ัง
มรณภาพท่ลี ังกาสกุ ะ เช่น ภิกษุ อี้ หวั ฯลฯ
แน่นอนวา่ บนผืนแผน่ ดินเดยี วกันน้แี ตต่ ่างยคุ สมยั ย่อมหมายรวมถึง “หลวงปู่ทวด
เหยยี บน�้ำทะเลจืด” อกี รูปหนึ่งอยดู่ ้วย
บนั ทกึ ของทา่ นฟากฮิ ฺ อาลี ใน Tarikh Patani ตอนหนงึ่ จารกึ ไวว้ า่ ทายาทของพระราชา
แหง่ ลงั กาสกุ ะทเี่ มอื งเคดาห์ ใหอ้ ำ� นาจแกป่ าตานใี นการปกครองเมอื งฝง่ั ตะวนั ออก เพอื่ จะได้
ท�ำการค้าขายกับจนี เขมร บกู ิส ชวา และบาหลี และกลา่ วว่า “มีช้างส�ำหรบั ขนสนิ คา้ มที าง
ขา้ มเขาไปยงั เคดาห์ อยทู่ เ่ี คดาหไ์ ปถงึ ปาตานี เดนิ ทางดว้ ยชา้ งใชเ้ วลาหนงึ่ เดอื นกบั ยสี่ บิ หา้ วนั
การเดนิ ทางไมเ่ รว็ และไมช่ า้ เพราะหยดุ พกั ใหช้ า้ งไดก้ นิ อาหารและพกั ผอ่ น” และ “อาณาจกั ร
ลงั กาสุกะนี้ ครอบคลมุ ถึงนครศรีธรรมราช (Legor) และสงขลา (Singgora) เมอื งทา่ ที่ส�ำคัญ
อยู่ท่ีปาตานี แตเ่ ราไม่ทราบชดั วา่ ต้งั อย่ตู รงไหน เพราะปาตานีสมยั นนั้ ยังไม่มีช่ือ ปาตาน”ี
“ลงั กาสกุ ะ” หรอื “เคดะห”์ กลายเปน็ เมอื งทา่ สำ� คญั สำ� หรบั เรอื ทผี่ า่ นไปมาระหวา่ ง
อนิ เดยี และจนี ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๗ และมคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งเรอื่ ยมา ทงั้ กษตั รยิ แ์ ละพลเมอื ง
คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๕๖

นบั ถือศาสนาฮนิ ดู พราหมณ์ และพุทธ ถึงคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๐ จึงถกู ครอบคลุมดว้ ยอ�ำนาจของ
“อาณาจักรศรีวิชัย” กระท่ังชื่ออาณาจักรลังกาสุกะถูกบันทึกไว้เป็นคร้ังสุดท้ายโดยพ่อค้าชาว
อาหรับในปี ค.ศ. ๑๕๑๑ หลังจากน้ันจึงหายไปจากหนา้ ประวตั ศิ าสตร์ และมาปรากฏอกี ครั้งยุค
สมัยใหมใ่ นชอื่ “ปาตานี” และ “ไทรบุรี” ศนู ย์กลางการปกครองเมอื งตา่ งๆ ทางชายฝัง่ ตะวัน
ออกและตะวนั ตก ถือกนั ว่า “ปาตานี” เปน็ อาณาจักรมลายทู มี่ คี วามต่อเนอ่ื งมาจาก “อาณาจักร
ลงั กาสกุ ะ” ผคู้ นนบั ถอื ศาสนาแตกตา่ งกนั ไป ทงั้ “มลายอู สิ ลาม” “มลายพู ทุ ธ” หรอื “มลายจู นี ”
กอ่ นทต่ี อ่ มาผคู้ นสว่ นใหญจ่ ะนบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม หลงั กษตั รยิ ไ์ ดเ้ ปลย่ี นศาสนาจาก “พทุ ธศาสนา
นกิ ายมหายาน” มารบั นบั ถอื “ศาสนาอสิ ลาม” และเกย่ี วพนั กบั ความเปน็ “ราชอาณาจกั รสยาม”
ผา่ นจารึกทางประวัติศาสตรใ์ นหลากหลายมมุ มองและปัญหา
“เมืองไทรบุรี” นั้นตามประวัติด้านหนึ่งเล่าว่า เป็นหัวเมืองประเทศราชของไทยมาแต่
โบราณ กระทงั่ พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๐ เมอ่ื เมอื งมะละกาเรม่ิ เรอื งอำ� นาจ ผนู้ ำ� มะละกาไดห้ นั ไปนบั ถอื
ศาสนาอสิ ลาม ผนู้ ำ� ของไทรบรุ ซี ง่ึ ผคู้ รองเมอื งตน้ วงศต์ ระกลู ลว้ นบง่ บอกถงึ เชอื้ สายความสมั พนั ธ์
กับไทยที่ร่วมวัฒนธรรมอิทธิพลฮินดู-พุทธ จึงได้หันไปเป็นมิตรกับมะละกา เจ้าเมืองไทรบุรี
นับตัง้ แต่องคท์ ี่ ๗ เป็นตน้ มาได้เปล่ยี นไปนับถอื ศาสนาอิสลาม
กล่าวกันว่าระหว่างสมัยปลายสมัยอยุธยา เมืองไทรบุรียังเป็นประเทศราชของไทย แต่
ลลุ ว่ งถงึ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๓๑๐ ครงั้ เสยี กรงุ ครง้ั ท่ี ๒ ศนู ยอ์ ำ� นาจของไทยทอี่ ยธุ ยาสลายตวั ลง เมอื ง
ไทรบุรีจึงแยกตัวเป็นอิสระ และปฏิเสธศูนย์อ�ำนาจใหม่ของไทย ไทยจึงต้องใช้ก�ำลังบีบบังคับ
ยดึ ครองเมอื งไทรบุรีในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลก ปีพทุ ธศกั ราช ๒๓๒๘
โดยลกั ษณะการปกครองเมอื งไทรบรุ รี ะยะแรก ระหวา่ งพทุ ธศกั ราช ๒๓๒๘-๒๔๓๙ อยใู่ นรปู แบบ
การจดั การปกครองแบบหัวเมืองประเทศราชของไทย เนอ่ื งจากสภาพทางภมู ิศาสตร์ทีต่ งั้ อยหู่ า่ ง
ไกลกนั แต่มพี นั ธสัญญาตอ่ กนั วา่ ท้งั ๒ ฝ่ายต้องมภี าระหนา้ ทต่ี ้องปฏิบัติตอ่ กัน

คิดถึง...นราธวิ าส : ๕๗

กระท่ังปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๔ รัฐบาลไทยถูกคุกคามทางอธิปไตยจาก
มหาอ�ำนาจตะวนั ตก ชว่ งลทั ธจิ กั รวรรดนิ ยิ มล่าเมืองข้นึ กำ� ลงั รุง่ โรจน์ ตอ่ มาจงึ เป็นทีม่ า
ซ่ึงผู้น�ำรัฐบาลไทยขณะนั้นยอมลงนามในอนุสัญญาลับปีพุทธศักราช ๒๔๔๐ ส่งผลให้
อังกฤษสามารถรกั ษาอ�ำนาจและอทิ ธพิ ลในแหลมมลายู และด้วยผลอนสุ ญั ญาลับนเ้ี อง
ที่ตอ่ มารฐั บาลไทยตอ้ งยก เมืองไทรบรุ ี เมืองเปอรล์ ิส หมู่เกาะลังกาวี ในมณฑลไทรบุรี
และดินแดนส่วนอืน่ ที่นอกเหนือจากมณฑลไทรบุรีคอื เมืองกลันตัน เมอื งตรงั กานู และ
เขตตอนใตเ้ มอื งรามนั ให้แกร่ ฐั บาลอังกฤษ
ต่อมามณฑลไทรบุรีถูกแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ เมืองไทรบุรี เมืองเปอร์ลิส
หมู่เกาะลังกาวี ตกอยู่ในอธิปไตยของอังกฤษ ภายหลังเม่ือรัฐบาลอังกฤษมอบเอกราช
ให้หัวเมืองมลายูของอังกฤษ คือ รัฐเคดาห์ และรัฐเปอร์ลิส จึงตกเป็นของสหพันธรัฐ
มาเลเซยี ดังปรากฏอยู่ในปัจจบุ นั
“สกรรจ์ จนั ทรตั น”์ ใหร้ ายละเอยี ดไวใ้ นหนงั สอื สารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ภาค
ใต้ ว่า อาณาบริเวณของมณฑลไทรบุรี ท�ำเลตั้งอยู่ทางด้านฝั่งทะเลตะวันตกเกือบสุด
คาบสมุทรมลายู มอี าณาเขตทศิ เหนือจดเมอื งตรังในมณฑลภเู ก็ต เมืองพัทลุง และเมือง
สงขลา ในมณฑลนครศรีธรรมราช ทิศตะวันออกจดเมืองสงขลา เมอื งนครศรีธรรมราช
ในมณฑลนครศรธี รรมราช และเมอื งปตั ตานี มณฑลปตั ตานี ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จด
รัฐเประในสหพันธรัฐมาเลย์ หรือรัฐเประในประเทศสหพันธรัฐมาเลเซียปัจจุบัน
ทศิ ตะวนั ตกจำ� นวน ๑ ใน ๓ ทางตอนใตจ้ ดสมารงั ไพรของรฐั ปนี งั ใน สเตรท เสตเตลิ แมนต์
หรือในประเทศสหพันธรฐั มาเลเซียปัจจบุ นั
คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๕๘

๒ ใน ๓ ทางตอนเหนือของมณฑลไทรบุรี
เป็นชายฝั่งทะเลชอ่ งแคบมะละกา มหาสมทุ รอินเดีย
รวมท้ังเกาะต่างๆ ด้านฝั่งตะวันตกของแหลมมลายู
เชน่ หมเู่ กาะลงั กาวี หมเู่ กาะตะรเุ ตา เปน็ ตน้ ปจั จบุ นั
ดนิ แดนมณฑลไทรบรุ บี างสว่ นอยเู่ ขตประเทศไทย แต่
ดินแดนส่วนใหญ่อยู่ในประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย
สว่ นทอี่ ยใู่ นประเทศไทยคอื บางสว่ นของอำ� เภอสะเดา
จงั หวัดสงขลา และจงั หวดั สตลู ส่วนทอ่ี ยใู่ นประเทศ
สหพันธรฐั มาเลเซยี คือ รัฐเคดาห์ (ไทรบุรี) และรัฐ
เปอรล์ สิ (ปะลสิ ) นี่คือประวตั ศิ าสตรข์ องเมืองไทรบรุ ี
ที่เก่ียวพันกบั เร่อื งราวของ “ท่านลงั กา องคท์ า่ นดำ� ”
หรือ “หลวงปู่ทวดเหยียบน้�ำทะเลจืด” อันต่อมายัง
เกี่ยวพันถึง “วัดช้างให้” แห่งเมืองปัตตานี ซ่ึงตาม
ตำ� นานเลา่ วา่ หลงั จากพระยาแกม้ ดำ� เจา้ เมอื งไทรบรุ ี
ปรารถนาจะหาทช่ี ยั ภมู ดิ เี พอ่ื สรา้ งเมอื งใหน้ อ้ งสาวชอื่
“เจ๊ะสติ ”ี ซงึ่ เปน็ น้องสาวไดค้ รอบครอง หลงั พระยา
แกม้ ดำ� ปลกู สรา้ งเมอื งใหน้ อ้ งสาว และมอบพลบรวิ ารให้
ไวพ้ อสมควรเรยี บรอ้ ยแลว้ ไดเ้ ดนิ ทางกลบั ไปยงั พนื้ ที่
ทชี่ า้ งบอกใหค้ รง้ั แรก จงึ ตกลงหยดุ พกั แรมทำ� การแผว้
ถางป่าและปลกู สร้างขน้ึ เป็นวดั ให้ชื่อวา่ “วัดช้างให้”
และไดม้ อบถวายวดั ชา้ งใหแ้ ก่ “ทา่ นลงั กา” ครอบครอง
อกี วดั หนึ่ง
เรอื่ งราวของพระยาแกม้ ดำ� เจา้ เมอื งไทรบรุ ี
จึงเป็นต�ำนานท่ีเก่ียวเนื่องกับสถานที่ส�ำคัญ ๒ แห่ง
ดว้ ยกนั สถานทแ่ี รก คอื “เมอื งปตั ตาน”ี สำ� หรบั แหง่
ทสี่ อง คอื “วดั ชา้ งให”้ ซงึ่ กลายเปน็ สมญานามของ
“หลวงปทู่ วด” ดว้ ยขอ้ มลู ทางประวตั ศิ าสตรส์ ะทอ้ น
วา่ วดั ชา้ งใหเ้ ปน็ วดั เกา่ แกส่ รา้ งขน้ึ สมยั “พระมหาธรรม
ราชา” และเจา้ อาวาสรปู แรกของวดั ชา้ งใหก้ ค็ อื หลวง
ปทู่ วดนน่ั เอง โดยปตั ตานนี น้ั เชงิ ประวตั ศิ าสตรน์ บั ได้
วา่ เปน็ “เมอื งทา่ และเมอื งทอง” เปน็ เมอื งมหานครที่
มปี ระวตั ศิ าสตรค์ วามเปน็ มานบั พนั ปี เปน็ เมอื งโบราณ
เก่าแก่ท่ีสุดเมืองหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

คิดถงึ ...นราธิวาส : ๕๙

ในนามของ “ลงั กาสกุ ะ” หรอื ชอ่ื ทช่ี าวเมอื งเรยี กคอื “โกตามะลฆิ ยั -โกตา มหาลิฆา-โกตามลิไฆย” หรอื
ชาวจีนเรยี กเพยี้ นไปเป็น “ลัง-ยา-สว่ิ ” และอนิ เดียเรยี ก “อิลังคาโศกะ” พลเมืองส่วนใหญ่เป็นคนไทย
เชอ้ื สายมลายู นบั ถอื ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพทุ ธ ภายหลงั ตอ่ มาถงึ ไดเ้ ปลย่ี นไปนบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม
ส�ำหรบั เมอื งไทรบรุ ี น้นั คือเมอื งท่าเรอื ด้านฝงั่ ทะเลตะวันออกของอดตี ปาตานหี รอื ลังกาสุกะ
ซ่ึงกาลต่อมากลายเป็นเรื่องเล่ากล่าวขานกันว่าเป็นสถานที่ปรากฏตัวของ “สมเด็จเจ้าพะโคะ” หลัง
โละหายไปจากวดั พะโคะ ต�ำบลชมุ พล อำ� เภอจะท้งิ พระ จังหวดั สงขลา ในรปู พระภิกษชุ รารูปหนง่ึ ที่
เปน็ ปราชญท์ างธรรม และเชยี่ วชาญทางอทิ ธพิ ลอภนิ หิ ารเปน็ ยอดเยย่ี ม ชาวเมอื งไทรบรุ มี คี วามเคารพ
เลอ่ื มใสมากและพากนั ขนานนามเรยี กกนั วา่ “ทา่ นลงั กา องคท์ า่ นดำ� ” ทงั้ นท้ี า่ นลงั กานนั้ เมอ่ื มสี ว่ นเกย่ี ว
พนั ทงั้ วดั ในเมอื งไทรบรุ แี ละ “วดั ชา้ งให”้ จงึ มนี ามเรยี กขานเป็น ๒ นาม คือ เมื่ออยเู่ มอื งไทรบรุ ชี าวบ้าน
เรยี กกนั ว่า “ท่านลงั กา” และเม่อื มาอยู่วัดชา้ งให้ ชาวบ้านกลับเรยี ก “ท่านชา้ งให”้
นอกจากน้ีมีการต้ังข้อสังเกตว่า ระยะทางจากวัดที่ท่านลังกาพ�ำนักอาศัยอยู่ถึงเมืองไทรบุรี
กบั วดั ช้างให้นัน้ อยไู่ กลกันมาก ทางเดนิ มีแต่ป่าและภูเขาแสนจะทุรกนั ดาร ท่านลังกามวี ัยชราภาพมา
แลว้ จะเดินไปมาไหวหรือ
“แต่ผเู้ ฒ่าผ้แู ก่เล่าตอ่ ๆ กันมาว่า ท่านลังกาเดนิ ทางไปมาระหวา่ งวดั ท้ังสองน้ี เดินทางเวลา
แรมเดอื นแบบธดุ งค์ ขณะทที่ า่ นเดนิ ทางนน้ั พบทใ่ี ดเหมาะกพ็ กั แรมหาความวเิ วกเพอื่ ทำ� สมาธภิ าวนา
ใชเ้ วลาพกั นานๆ เชน่ ภเู ขาถำ้� หลอดในเขตอำ� เภอสะบา้ ยอ้ ย จงั หวดั สงขลา ปรากฏวา่ มสี งิ่ ทคี่ วรเชอื่ ถอื
ไว้ว่าท่านเป็นผู้ท�ำไว้แต่คร้ังเดินทางพักแรม จากน้ันก็ปรากฏอยู่บนเพิงหินบนภูเขาตังเกียบ บริเวณ
น�้ำตกทรายขาว ทางทศิ ตะวนั ออกของลำ� ธารนำ้� ตกมพี ระพทุ ธรปู แกะดว้ ยไมต้ ำ� เสาแลพระยนื สององค์
ชาวบา้ นต�ำบลทรายขาวเรยี กพระพทุ ธรูปน้ีว่าหลวงพ่อตังเกียบเหยียบน�ำ้ ทะเลจดื ”

คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๖๐

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

สถานทบ่ี นเสน้ ทางเดนิ จารกิ โปรดเวไนยสตั วไ์ ปและกลบั ระหวา่ งวดั ชา้ งใหแ้ ละเมอื ง
ไทรบรุ ี ทสี่ งบเงยี บเหมาะแกก่ ารทำ� วปิ สั สนา ไมว่ า่ จะเปน็ ถำ้� วปิ สั สนาเขาหนิ ชา้ ง ถำ้� วปิ สั สนา
เขารัง สถานทป่ี ระดษิ ฐานพระพทุ ธไม้แก่นล่นั ทมแกะสององค์ เชอ่ื กนั วา่ ท่านหลวงปู่ทวดได้
สรา้ งไวเ้ มอื่ ครงั้ ทไี่ ดข้ น้ึ มานงั่ สมาธวิ ปิ สั สนาบนหนา้ ผาแหง่ น้ี ลว้ นกลายเปน็ สถานทศ่ี กั ดส์ิ ทิ ธ์ิ
และสง่ิ ศกั ด์ิสทิ ธ์ทิ ช่ี าวบ้านไดก้ ราบไหว้เคารพบชู าต่อเนอื่ งกนั มานบั เป็นร้อยๆ ปี
ไมว่ า่ ตำ� นานทา่ นลงั กาจะเปน็ อยา่ งไรกต็ าม แตก่ าลตอ่ มาเลา่ กนั วา่ นอกจาก “เมอื ง
ไทรบุรี” หรือ “เคดะห์” และ “เปรัค” รฐั ตอนเหนือของประเทศมาเลเซีย จะเป็นสถานที่
สำ� คญั อกี มติ หิ นง่ึ ในฐานะเปน็ สถานทป่ี รากฏตวั ของ “สมเดจ็ เจา้ พะโคะ” หรอื “หลวงปทู่ วด
เหยยี บนำ้� ทะเลจดื ” แลว้ ยงั นบั เปน็ สถานทส่ี ำ� คญั ในฐานะเปน็ “มรณสถาน” ของทา่ นอกี ดว้ ย
โดยในประเทศมาเลเซยี ประชาชนเรยี กชอ่ื ทา่ นแตกตา่ งหลายชอื่ เชน่ ทา่ นลงั กา โตะ๊ กงเซยี ม
สะมี มาตี สะมี ฮูยัน เปน็ ตน้
ทั้งน้ีขณะหลวงปู่ทวดด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดช้างให้ ก็ได้สร้างวัดและเป็นเจ้า
อาวาสวัดโกระ๊ ใน รัฐเปรคั ประเทศมาเลเซีย ดว้ ย ด้วยเหตนุ ีท้ ำ� ให้ตอ้ งเดนิ ทางระหวา่ งวัด
ชา้ งให้ จงั หวดั ปตั ตานี กบั วดั โกระ๊ รฐั เปรคั ประเทศมาเลเซีย อย่เู สมอ ผ่านเสน้ ทางโบราณ
ทเี่ ชอ่ื มการคา้ ระหวา่ งพอ่ คา้ จากฝง่ั มหาสมทุ รอนิ เดยี กบั ฝง่ั อา่ วไทย ทงั้ พอ่ คา้ อนิ เดยี อาหรบั
และจนี ดว้ ย ตามประวัติศาสตรป์ รากฏความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรฐั เก่าๆ ท้งั ปัตตานีกบั เคดาห์
ศรีวชิ ัย มัชปาหิต และสยาม มาเนิ่นนาน
คดิ ถึง...นราธิวาส : ๖๒

ส�ำหรับรฐั เคดาหแ์ ละลังกาสุกะ (ปตั ตาน)ี มเี ส้นทางติดต่อกันทั้งทางบกและทางน�ำ้
ทต่ี งั้ เมอื งทา่ ทงั้ สองฝง่ั สามารถเชอ่ื มตอ่ ถงึ กนั ดว้ ยแมน่ ำ�้ ปตั ตานแี ละแมน่ ำ้� สไุ หงปตั ตานี ตา่ งมี
ตน้ นำ�้ รว่ มกนั บรเิ วณเขตแดนประเทศไทยและมาเลเซยี ปจั จบุ นั สว่ นการเดนิ ทางทางบกสมยั
โบราณนยิ มใชช้ า้ งเปน็ พาหนะ ตอ้ งใชเ้ วลานานนบั เดอื น หรอื ไมก่ ด็ ว้ ยการเดนิ เทา้ ผา่ นเสน้ ทาง
ตดิ ตอ่ ระหวา่ งปตั ตาน-ี เคดาหโ์ บราณ หรอื ไมก่ เ็ สน้ ทางตามลำ� นำ้� เปรคั เชอ่ื มตอ่ กบั ลำ� นำ้� สาขา
ของแม่น�ำ้ สายบรุ แี ละแม่นำ้� ปัตตานี
ดังกล่าวมาแล้วว่า ประวัตศิ าสตรส์ ัมพันธเ์ ชิงพน้ื ท่รี ะหว่างรัฐเคดาห์ มาเลเซยี และ
ลงั กาสุกะ ปาตานี-ปัตตานี มีเสน้ ทางตดิ ต่อกันทงั้ ทางบกและทางน้ำ� ทต่ี ง้ั เมอื งท่าทงั้ สองฝง่ั
เชื่อมต่อถึงกันด้วยแม่น้�ำปัตตานีและแม่น�้ำสุไหงปัตตานี ต่างมีต้นน้�ำร่วมกันบริเวณเขตแดน
ประเทศไทยและมาเลเซียปัจจุบัน นอกจากน้ี การเดินทางบกสมัยโบราณ ไม่ว่าใช้ช้างเป็น
พาหนะหรือด้วยการเดินเท้า สามารถผ่านเส้นทางระหว่างปัตตานี-เคดาห์โบราณ หรือไม่ก็
เส้นทางตามลำ� น้ำ� เปรัคเชอื่ มต่อกบั ล�ำน้ำ� สาขาของแม่นำ้� สายบุรีและแม่น้�ำปตั ตานี
ดว้ ยเสน้ ทางโบราณเหลา่ นถ้ี กู สนั นษิ ฐานวา่ ตอ่ มาคอื เสน้ ทางที่ “หลวงปทู่ วดเหยยี บ
น้�ำทะเลจืด” ใช้เป็นเส้นทางสัญจรเม่ือต้องรับบทบาทเป็นเป็นเจ้าอาวาสวัดช้างให้ และ
เจา้ อาวาสวดั โกระ๊ ใน รฐั เปรคั ประเทศมาเลเซยี ตราบกระทงั่ เปน็ เสน้ ทางลำ� เลยี งศพเมอื่ ทา่ น
ได้ถงึ แก่กาลมรณภาพในเวลาตอ่ มา โดยมีเรอื่ งเลา่ ขานว่าขณะพำ� นกั ที่วดั ในเมืองไทรบรุ ี วัน
หนึ่ง อุบาสก อุบาสิกา และลูกศิษย์อยู่พร้อมหน้า ท่านลังกาได้พูดข้ึนกลางชุมนุมนั้นว่า

คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๖๓

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

หากท่านมรณภาพเมื่อใด ขอให้ช่วยกันจัดการหามศพไปท�ำการฌาปนกิจ ณ วัดช้างให้ด้วย
และขณะหามศพพกั แรมนนั้ ณ ทใี่ ดนำ�้ เหลอื งจากรา่ งกายไหลลงสพู่ นื้ ดนิ ทตี่ รงไหน กจ็ งเอาเสา
ไมแ้ กน่ ปกั หมายไว้ ตอ่ ไปข้างหนา้ จะเป็นท่ศี ักด์ิสิทธิ์
อยมู่ าไมน่ านดว้ ยความชราภาพ ทา่ นไดม้ รณภาพลง คณะศษิ ยผ์ เู้ คารพจงึ ไดจ้ ดั การตาม
ทีท่ ่านส่งั โดยพร้อมเพรียงกัน เล่าขานกนั วา่ หว้ งเวลาทีห่ ลวงปทู่ วดเหยียบน้ำ� ทะเลจดื มรณภาพ
นน้ั คือวนั ที่ ๖ มนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๒๒๕ พรรษา ๘๐ สริ อิ ายุรวม ๑๐๐ ปี
ว่ากันว่าจุดที่หลวงปู่ทวดเหยียบน้�ำทะเลจืดมรณภาพ คือ บริเวณริมฝั่งน�้ำสุไหงบ๊ะ
บรรจบกับลำ� น�ำ้ สไุ หงเกอร์นาริงค์ กอ่ นเคลื่อนศพไปยังวดั ชา้ งให้ ระหวา่ งทางตอ้ งมกี ารพกั ศพ
เป็นระยะ ต่อมากลายเปน็ สถานท่ศี ักดิ์สิทธิ์ เปน็ ท่กี ราบไหวบ้ ูชาของประชาชนทวั่ ไป ที่พักศพ
แตล่ ะแหง่ พอสรปุ ไดด้ งั น้ี ๑.สถานทม่ี รณภาพรมิ ฝง่ั แมน่ ำ้� สไุ หงบะ๊ และสไุ หงเกอรน์ ารงิ ค์ รฐั เปรคั
ชาวบา้ นเรียกสถานทนี่ ี้ว่า “สะมี มาตี” หรอื ทต่ี ายของพระสงฆ์ ชาวจีนเรยี ก “โตะ๊ กงเซียม”
หมายถึงเจ้าท่ีหรือพระสยาม เดิมบริเวณน้ีมีสถูปหรือบัวเก็บอัฐิและต้นโพธิ์ขนาดใหญ่ ต่อมา
น้�ำได้กดั เซาะตลิง่ พังทลาย ท�ำให้สถูปถกู กระแสนำ�้ พัดพาและตน้ โพธลิ์ ้มลงในแมน่ �ำ้ ปัจจุบันมี
การสรา้ งบวั หรอื สถปู ขน้ึ ใหม่ ๒.สถานทพ่ี กั ศพบา้ นปง รฐั เคดะห์ ๓.สถานทพี่ กั ศพบา้ นทงุ่ ควาย
หรอื กำ� ปงจนี า รฐั เคดะห์ ตัง้ อย่บู นควนหรอื เนินสงู เรยี กว่า ควนกนั ข้าวเสยี หรือ ควนกนั ขา้ ว
แหง้ บนยอดเนนิ มกี ารนำ� หนิ มาก่อเรียงกนั ๔ กองแบบทรงจอมปลวก กองหินขนาดใหญเ่ รียก
ว่าทวดชีขาว ตรงซุ้มดา้ นหน้าประดิษฐานรปู หลวงปู่ทวด เชอื่ กนั วา่ เปน็ สถานทีพ่ กั ศพ
๔.สถานทพ่ี กั ศพบา้ นปาดงั เปรยี ง หรอื ปาดงั แปลง รฐั เคดะห์ ตงั้ อยใู่ นบรเิ วณวดั เทพสวุ รรณาราม
หรอื วดั นาแปลง รฐั เคดะห์ ทพ่ี กั ศพเปน็ เนนิ ดนิ สงู เดมิ มหี ลกั ไมแ้ กน่ ทรงบวั ตมู ปกั ไวบ้ นเนนิ แต่
ปัจจบุ ันหกั ชำ� รดุ หมดแลว้ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๖ มีการน�ำรปู หลวงปู่ทวดหลอ่ โลหะประดษิ ฐานไว้
บนเนนิ ดินหน่ึงองค์ ๕.สถานทพี่ ักศพบา้ นทุ่งควาย หรอื ก�ำปงจนี า รฐั เคดะห์ ตัง้ อยู่บรเิ วณวดั
โพธเิ จตยิ าราม หรือวดั ทงุ่ ควาย ทพ่ี กั ศพเปน็ เนินดนิ สูง สร้างเปน็ สถปู เจดีย์ ชาวบา้ นเช่ือว่าเป็น
เจดยี ส์ รา้ งขนึ้ บรรจอุ ฐั ธิ าตขุ องหลวงปทู่ วดทแี่ บง่ มาจากวดั ชา้ งให้ จงั หวดั ปตั ตานี ๖.สถานทพ่ี กั
ศพบา้ นปลักคล้า รฐั เคดะห์ ต้ังอยใู่ กลก้ ับวดั ปลักคลา้ (ร้าง) ทีพ่ กั ศพเปน็ เนนิ ดินสูง สรา้ งเป็น
ศาลาคลมุ เนนิ ดิน ปักไมแ้ กน่ ทรงบัวตูม เสาไมจ้ ารึกเป็นภาษาไทยไว้วา่ พ.ศ. ๒๔๘๗ ๗.สถาน
ท่พี ักศพบ้านบางฉมกั รัฐเคดะห์ ตง้ั อยู่ใกล้วดั ประดู่ บรเิ วณสวนยางพาราเอกชน เปน็ เนนิ ดนิ
รูปทรงจอมปลวก มีศาลาครอบ บนเนินดินมีเสาไม้แก่นรูปทรงบัวตูม ปลวกข้ึนปกคลุมเกือบ
หมดแลว้ ๘.สถานที่พักศพบา้ นท่าดนิ แดง รฐั เคดะห์ เปน็ เนินดินตัง้ อยภู่ ายในวัดท่าดนิ แดง มี
หลักไม้แกน่ รูปบัวตมู ปกั ไว้ ๙.สถานทพ่ี กั ศพบา้ นปาดังสะไหน รฐั เคดะห์ ตง้ั อยูภ่ ายในวดั ไทย
ประดษิ ฐาราม หรอื วดั ปาดงั สะไหน ชาวบา้ นนยิ มเรยี ก วดั ไทรบนตอ ๑๐.สถานทพ่ี กั ศพบา้ นนาขา่

คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๖๕

รัฐเคดะห์ บ้านนาข่าหรือนาคา ใกล้วัดเทพชุมนุม
นาคา หรือวัดนาคา บริเวณทพ่ี ักศพปจั จบุ ันเป็นสวน
ยางพาราของเอกชน
ส�ำหรับพ้ืนที่ฝั่งเขตแดนประเทศไทย
นอกจากจุดผ่านส�ำคัญ คือ บริเวณด่านพรมแดน
บา้ นประกอบ ซง่ึ นบั เปน็ ประตเู ชอ่ื มโยงสำ� คญั ระหวา่ ง
ประเทศไทยและมาเลเซยี โดยเฉพาะพื้นท่สี ะมี มาตี
ในรฐั เปรัค ยงั ประกอบไปดว้ ย ๑.สถานทีพ่ กั ศพบา้ น
ถำ�้ ตลอด อำ� เภอสะบา้ ยอ้ ย จงั หวดั สงขลา สนั นษิ ฐาน
ว่าตั้งอยู่ริมคลองสวนบริเวณวังปลักกระทะ เดิมมี
ศาลา มหี ลกั ไมแ้ กน่ ปกั ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน ตอ่ มาไดห้ กั พงั
จึงมีการสร้างหลักปูนขึ้นมาใหม่ และมีวัดถ้�ำตลอด
ซงึ่ เชอ่ื กนั วา่ เปน็ หนง่ึ ในสถานทปี่ ฏบิ ตั ธิ รรมของหลวง
ปู่ทวด หรอื ท่านลงั กาองคด์ ำ� ต้งั อยู่หมู่ที่ ๖ ต�ำบลเขา
แดง อ�ำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา และอีกแห่ง
หน่ึงซึ่งเป็นสถานที่หลวงปู่ทวดใช้ปฏิบัติวิปัสสนา
กรรมฐาน และใชเ้ ปน็ สถานทช่ี ว่ ยเหลอื ชาวบา้ นทเ่ี จบ็
ปว่ ย ดว้ ยการบดและปรงุ ยารกั ษาโรคไปพรอ้ มกบั การ
เผยแผ่ธรรม คือ โบราณสถาน “บา้ นถ้�ำครก” หมูท่ ่ี
๒ ตำ� บลคหู า อำ� เภอสะบา้ ยอ้ ย จงั หวดั สงขลา ภายใน
ถำ้� มพี ระพทุ ธรปู โบราณประดษิ ฐานตดิ ผนงั ถำ้� คาดวา่
นา่ จะเปน็ ศลิ ปะสมยั อยธุ ยา และพบรอ่ งรอยภาพวาด
โบราณบริเวณผนังถำ้� หลายจดุ ปจั จบุ ันกรมศลิ ปากร
ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ๒.บริเวณที่เช่ือว่าเป็น
จดุ พกั ศพจดุ แรกทอ่ี ยใู่ นเขตประเทศไทย คอื บา้ นปลกั
ทะ ต�ำบลเขาแดง อ�ำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หา่ งจากวัดถ�้ำตลอด ๑ กโิ ลเมตร ปจั จบุ ันอยู่ในพนื้ ที่
ของเอกชน แต่ไดถ้ วายให้ พระอาจารย์ทิม ธมมฺ ธโร
อดีตเจา้ อาวาสวดั ช้างให้ คร้ังท่านออกธดุ งค์เพื่อตาม
รอยจุดพักศพหลวงปู่ทวด
๓.สถานท่ีพักศพบ้านช้างให้ตก หมู่ท่ี ๓
ตำ� บลชา้ งใหต้ ก อำ� เภอโคกโพธ์ิ จงั หวดั ปตั ตานี ตง้ั อยู่
บรเิ วณวัดบรรลอื คชาวาส เนินดนิ และหลักไม้เดิมตงั้
คดิ ถึง...นราธิวาส : ๖๖

อยหู่ นา้ โรงเรยี น ตอ่ มาพฒั นาสถานทเี่ ปน็ สนามกฬี า
จงึ ไดย้ า้ ยสถปู หรอื เขอื่ นหลวงปทู่ วดมาตง้ั ในสถานท่ี
ปจั จบุ นั มกี ารสรา้ งหลกั ไมแ้ กน่ ขน้ึ ใหม่ และสรา้ งรปู
หลวงปู่ทวดหล่อด้วยโลหะประดิษฐานไว้ในมณฑป
บริเวณน้ีถือเป็นจุดพักศพสุดท้าย มีการตั้งสวดศพ
ก่อนเคลอื่ นขบวนไปฌาปนกจิ ณ วดั ช้างให้ ตามค�ำ
สัง่ เสยี ของหลวงปูท่ วด
นอกจากนี้ ว่ากันว่ายังมีจุดพักศพอีก
หลายแห่งท่ีมีคนพยายามตามรอยเก็บข้อมูลเพ่ิม
เติม เชน่ สถานทพ่ี กั ศพบา้ นกวั๊ ลวั๊ หรอื วดั โกระ๊ ใน
รฐั เปรคั จากริมฝ่ังแมน่ ้ำ� สุไหงบะ๊ และสุไหงเกอร์นา
ริงค์ มกี ารเคลือ่ นศพหลวงปูท่ วดไปพกั ท่วี ัดโกร๊ะใน
ปจั จบุ นั เป็นเนินดินสูง มีป่ารกขึ้นปกคลุม ชาวบ้าน
เรียก “สะมฮี ยู ัน” หมายถงึ พระขอฝน เป็นสถาน
ท่ีศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านไปบนบานขอให้ฝนตก และ
เช่ือกนั วา่ เดมิ บริเวณนเี้ ป็นทีต่ ้งั ของวัดโกระ๊ ใน ท้งั น้ี
ทา้ ยท่ีสดุ นับวา่ บริเวณหมู่ ๒ ต�ำบลควนโนรี อำ� เภอ
โคกโพธ์ิ จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นท่ีตั้งวัดช้างให้ คือ
สถานที่สุดท้ายท่ีศพหลวงปู่ทวดถูกเคล่ือนย้ายมา
จากริมน้�ำสไุ หงบะ๊ และสไุ หงเกอรน์ ารงิ ค์ ระยะทาง
ไมต่ ำ่� กวา่ ๓๐๐ กโิ ลเมตร ต้องใช้เวลาเดนิ ประมาณ
๓๐ วนั เพอื่ ทำ� พธิ ฌี าปนกจิ และเกบ็ เถา้ อฐั ขิ องหลวง
ปทู่ วดประดษิ ฐานไว้ ณ วดั ชา้ งให้ มหี ลกั ไมแ้ กน่ และ
เนินดินแบบจอมปลวกแบบเดียวกันสถูปหรือเขื่อน
ในเขตแดนประเทศมาเลเซีย
เหล่าน้ีนับเป็น “ประวัติศาสตร์สัมพันธ์”
เชิง “ต�ำนาน” และ “พื้นที่” ซึ่งเป็นเพียงหน่ึงใน
เหตุการณ์อรรถาธิบายความสัมพันธ์ของวิถีชีวิต
ผคู้ นหว้ งเวลาหนงึ่ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกนั อยา่ งงดงาม ผา่ นวถิ ี
ชีวิตผคู้ น ๒ แผน่ ดินในแต่ละกาลสมยั แลยังผูกพัน
แนน่ แฟน้ ตราบกระทงั่ ปัจจุบนั

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๖๗

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

เมืองนรา... วันนี้
ณัฐพงศ์ ศริ ชิ นะ ผ้วู ่าราชการจังหวัดนครนายก
คิดถึง...นราธิวาส :

ผมเคยรบั ราชการทจ่ี งั หวดั นราธวิ าสครง้ั แรกในตำ� แหนง่ รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นราธวิ าส
๑ ปี และตอ่ มาไดด้ ำ� รงต�ำแหนง่ ผวู้ ่าราชการจังหวดั นราธวิ าส ๒ ปี แม้ว่าผมมโี อกาสปฏบิ ัตงิ านใน
นราธวิ าสเพยี ง ๓ ปี แตช่ วี ติ รบั ราชการของผมกว็ นเวยี นในจงั หวดั ชายแดนภาคใตม้ าโดยตลอด และ
ผมคนุ้ เคยกบั นราธวิ าสหรอื บางนรามาก เพราะคณุ พอ่ ผมเปน็ นายดา่ นตรวจคนเขา้ เมอื งสไุ หงโก-ลก
อยหู่ ลายปี ตวั ผมเองกไ็ ดเ้ กดิ ทโ่ี รงพยาบาลหมอโอ ทตี่ ำ� บลโคกเคยี น อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นราธวิ าส
คุณแม่ผมเม่ือยังเดก็ กเ็ ปน็ นกั เรยี นท่ีนราสกิ ขาลยั และคณุ แม่ผมมีญาติอยู่ทบี่ างนรา ท�ำโรงโมห่ นิ
ซง่ึ กม็ กั จะไปมาหาสูก่ ันอยูเ่ สมอ
เมื่อผมมารบั ราชการนราธวิ าสในต�ำแหนง่ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส ในปี ๒๕๕๑
นับเปน็ โอกาสยินดียิ่งทท่ี ำ� ให้ผมได้รับทราบขอ้ มูล ท้งั ภาครฐั และเอกชน ผู้นำ� ทอ้ งที่ ผนู้ �ำทอ้ งถนิ่
ผู้นำ� ศาสนา เปน็ ชว่ งเวลาทผ่ี มได้ปรบั พ้นื ฐานข้อมลู ข้อเท็จจริงต่างๆ เมือ่ ผมย้ายไปด�ำรงตำ� แหน่ง
รองผวู้ า่ ราชการยะลาและสงขลา กท็ ำ� ใหผ้ มสามารถเปรยี บเทยี บศกั ยภาพของนราธวิ าสและจงั หวดั
อ่นื ๆ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ดังนั้น เม่ือผมย้ายมาด�ำรงต�ำแหน่งท่ีนราธิวาส ผมจึงมองเห็นโอกาสและศักยภาพของ
จงั หวัดนราธิวาสในมุมมองของคนนอกและคนใน เห็นอกี ด้านหนึง่ ของเหรยี ญ ผมเคยใช้คำ� วา่ เป็น
เพชรบนด้ามขวานทองทย่ี งั ไมเ่ จยี ระไน ที่ผมคิดอย่างน้นั ไม่ได้คดิ อยา่ งเพ้อฝัน แต่บนฐานข้อมูลท่ี
สำ� คญั คือ
๑.ท�ำเลท่ีต้ังบางนราเป็นเมืองชายแดนติดต่อกับรัฐกลันตัน ซึ่งเป็นประตูสู่อาเซียน คือ
มาเลเซีย สงิ คโปร์ อนิ โดนีเซยี มีประชากรกว่า ๓๐๐ ล้านคน
๒.โครงสร้างประชากร ๗๐๐,๐๐๐ กว่าคน ซึ่งมีประชากรวัยหนุ่มสาวเป็นจ�ำนวนมาก
ขณะที่จงั หวัดอน่ื ๆ เขา้ สูว่ ัยผ้สู งู อายุ ทรัพยากรมนษุ ยม์ มี ากในเชงิ ปริมาณ แตท่ ำ� อยา่ งไรใหม้ ีในเชิง
คณุ ภาพ
๓.ระบบ Logistic มปี ระตูการค้า ทั้ง รถยนต์ รถไฟ ทางเรอื และอากาศ มีทั้งทะเลและ
ภูเขา
๔.มพี ระตำ� หนกั ทกั ษณิ ราชนเิ วศน์ เปน็ ศนู ยร์ วมจติ ใจของคนจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และ
สถาบนั กษตั รยิ ก์ บั สถาบนั สลุ ตา่ นมคี วามสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ มโี ครงการพระราชดำ� รจิ ำ� นวนมาก ทงั้ ดา้ น
แหลง่ นำ�้ ศิลปาชพี การแก้ปญั หาดินเปรยี้ ว
๕.เปน็ สงั คมพหุวฒั นธรรม ทงั้ ชาวไทย อิสลาม ไทยจีน ไทยเจะ๊ เห คนไทยเชือ้ สายจนี มี
การรวมตัวกันแน่นที่อำ� เภอสุไหงโก-ลก มีความแตกตา่ ง แต่ให้เกียรตแิ ละเคารพซึ่งกันและกัน
๖.มที รพั ยากรธรรมชาตทิ ส่ี วยงาม ทงั้ ทางบกและทางทะเล อทุ ยานแหง่ ชาตบิ โู ด-สไุ หงปาดี
และปา่ บาลา-ฮาลา อดุ มไปดว้ ยพนั ธไ์ุ มน้ านาพนั ธ์ุ และนกเงอื ก มปี า่ พรสุ ริ นิ ธร หรอื ปา่ พรโุ ตะ๊ แดง
๗.มีมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์ มีคณะ
แพทยศาสตร์ คณะพยาบาล คณะวศิ วกรรม คณะเกษตร จังหวัดทม่ี ีเมอื งมหาวทิ ยาลยั จะมีโอกาส
ในการพัฒนาสงู
คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๗๐

กับดักส�ำหรับบางนราท่ีจะต้องก้าวข้าม
ไปใหไ้ ด้ คือ ปญั หาความไมส่ งบเรยี บรอ้ ย ไม่มีใคร
จะให้ค�ำม่ันได้ว่าปัญหาน้ีจะยุติเม่ือไหร่ แต่เช่ือม่ัน
ว่าปัญหาน้ีจะค่อยๆ คล่ีคลาย สิ่งที่ส�ำคัญส�ำหรับ
นราธวิ าส คอื เราต้องไมท่ ้อถอย ต้องไม่ยอมจำ� นน
คนทง้ั ประเทศเอาใจชว่ ยสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
ไม่ทอดทิ้ง เราต้องลุกขึ้นมาแก้ไขปัญหาของเราเอง
ไมง่ อมอื งอเทา้ รอใหค้ นอนื่ มาช่วยเพียงฝ่ายเดยี ว
จังหวัดนราธิวาสได้น�ำเสนอโอกาสของ
จังหวัดนราธิวาส ให้ผู้น�ำองค์กร ภาคเอกชน ภาค
ราชการ ได้รับทราบและเชื่อมั่นว่า ในอีก ๑๐ ปี
ข้างหน้า บางนราของเราจะไม่เหมือนเดิม เราช่วย
กันวาดฝันอนาคต ก�ำหนดยุทธศาสตร์ แผนงาน
โครงการต่างๆ รองรับอย่างเป็นรูปธรรม เม่ือวันท่ี
๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๒ เปน็ เวลา ๔ ปี นับตัง้ แตผ่ ม
ย้ายออกจากนราธวิ าส ตามวิถขี องราชการ ผมไดม้ ี
โอกาสไปเยอื นนราธวิ าสอกี ครงั้ ผมรสู้ กึ ดใี จกบั พนี่ อ้ ง
ชาวบางนราทุกท่านกบั ความกา้ วหนา้ เศรษฐกิจใน
เมืองมีความคึกคัก พ่ีน้องประชาชนสัญจรขวักไขว่
รถมอเตอร์ไซคว์ ิ่งกันฉวัดเฉวยี น แสดงถงึ แนวโน้มที่
ดี ทสี่ ำ� คญั ผมไดม้ โี อกาสคยุ กบั นกั ธรุ กจิ ซงึ่ เลา่ ใหฟ้ งั
ว่า เขาไดล้ ดการลงทุนในกรงุ เทพมหานคร หนั กลบั
มาลงทุนในนราธิวาสเพิ่มให้ลูกหลานคนนราธิวาส
กลับเข้ามาท�ำธุรกิจ มีการต่อยอด ท�ำให้ผมเห็นว่า
นราธิวาส...วันนี้ มีการเปล่ียนแปลงพัฒนาไปมาก
ทกุ ๆ ด้าน ดังนี้

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๗๑

การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษนราธิวาส ได้มกี ารพฒั นาพ้นื ทีร่ องรับการพฒั นาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ
นราธิวาส ในพ้ืนที่ต�ำบลละหาร อำ� เภอยงี่ อ และตำ� บลโคกเคยี น อ�ำเภอเมอื งนราธวิ าส พนื้ ทีร่ วม
๑๖๘๓-๐-๗๔.๒ ไร่ ขณะนอ้ี ยรู่ ะหวา่ งการวางแผนบรหิ ารจดั การพนื้ ท่ี โดยการนคิ มอตุ สาหกรรม
แห่งประเทศไทยเชา่ เน้อื ที่ประมาณ ๖๐๐ ไร่ เพือ่ จดั ตง้ั นคิ มอุตสาหกรรม และพ้นื ทอี่ กี ๑๐๘๓-
๐-๗๔.๒ ไร่ ใหเ้ อกชนเช่า โดยกรมธนารักษเ์ ปิดประมูลเพื่อสรรหาผ้ลู งทนุ ทัง้ น้ีเปดิ โอกาสให้กับ
ผู้ลงทนุ รายยอ่ ย SME ด้วย
ปัจจุบนั มผี ูแ้ จ้งความประสงค์จ�ำนวน ๓๒ ราย เนือ้ ท่ีรวมทั้งหมด ๑,๑๑๕ ไร่ ประกอบ
ดว้ ย กจิ การด้านยางพารา จ�ำนวน ๖ ราย กิจการดา้ นฮาลาล ทง้ั อาหารและไม่ใชอ่ าหาร จำ� นวน
๑๑ ราย กจิ การดา้ นพลังงานทดแทน จำ� นวน ๔ ราย กิจการดา้ นพลาสติก จ�ำนวน ๒ ราย และ
กิจการอนื่ ๆ ไดแ้ ก่ ศูนย์กระจายสนิ ค้า ขนส่งสินคา้ กอ่ สรา้ ง อญั มณเี ครอื่ งประดับ ฟอกหนงั สกัด
นำ�้ มนั ปาล์ม โรงแรม จ�ำนวน ๙ ราย
ท้ังนี้ ผูท้ ีส่ นใจสามารถสอบถามรายละเอยี ดได้ที่ ศนู ย์ OSS ศูนย์บริการเบ็ดเสรจ็ ดา้ น
การลงทนุ จงั หวดั นราธิวาส ๐๗๓-๕๓๒๐๒๗ หรอื สายดว่ น ศอ.บต. ๑๘๘๐ ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
E-mail : [email protected]
www.narathiwatoss.go.th
Facebook : OSS Narathiwat
คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๗๒

การพฒั นาด้านการศึกษา สังคมวฒั นธรรม
ด้านการศกึ ษา
ปัจจุบันจังหวัดนราธิวาสมี มหาวิทยาลัย
นราธิวาสราชนครินทร์ เป็น สถาบันการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาที่ตั้งมากว่า ๑๔ ปี (ตั้งเมื่อปี
๒๕๔๘) และเปิดสอนจ�ำนวน ๑๑ คณะ/วิทยาลัย
ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวทิ ยาการจดั การ คณะ
เกษตรศาสตร์ สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บัณฑิตศึกษา
คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
นราธิวาส วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส ซึ่งมีบัณฑิต
จบการศึกษาไปแล้วกว่า ๘๐๐ คน และยังมี โรง
พยาบาลกลั ยาณิวัฒนาการุณย์ ซึ่งเป็นโรงพยาบาล
สงั กดั คณะแพทยศาสตร์ ปจั จบุ นั เปดิ ใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ย
นอกทกุ วนั ในเวลาราชการ ระหวา่ ง ๐๘.๐๐-๑๖.๐๐
น. มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและได้รับอัตราแพทย์ใช้ทุน
อีกจ�ำนวนหนึ่ง ก�ำลังเป็นแผนกฟอกไต และได้รับ
กระแสตอบรบั จากผปู้ ว่ ยทมี่ ารบั บรกิ าร กลา่ วชน่ื ชม
การใหบ้ รกิ ารจำ� นวนมาก

คิดถงึ ...นราธิวาส : ๗๓

กองทุนการศึกษา ๑๐๐ ปี สมเด็จพระมหา
ธีรราชเจา้ เพื่อชาวนราธิวาส
เป็นกองทุนที่จัดตั้งข้ึนเม่ือปี พ.ศ.
๒๕๕๘ เม่ือคร้ังนราธิวาสมีอายุครบ ๑๐๐ ปี
ของการเปล่ียนช่ือ จากเมืองบางนรา เป็น
นราธิวาส ซึ่งมีความหมายถึง ท่ีอยู่อันย่ิงใหญ่
ของประชาชน ปัจจบุ ัน กองทนุ น้ไี ด้สนบั สนนุ
ทุนการศึกษาให้กับนักศึกษาจนจบปริญญา
ตรี ซ่ึงขณะนี้มีจ�ำนวน ๓๓ ราย โดยมีผู้จบ
การศึกษาไปแล้วจ�ำนวน ๔ ราย เปน็ พยาบาล
วิชาชีพ ๒ ราย เปน็ แพทย์ ๑ ราย และเทคนิค
การแพทย์ ๑ ราย ทงั้ นี้ ผู้สนใจสามารถติดตอ่
บรจิ าคเงนิ สมทบทนุ การศกึ ษากองทนุ ๑๐๐ ปี
โดยใบเสรจ็ สามารถน�ำไปหกั ภาษไี ด้
๑.ส�ำนักงานคลังจงั หวัดนราธวิ าส โทรศัพท์ ๐๗๓-๖๔๒ ๖๑๑
๒.มูลนิธพิ ระบรมราชานสุ รณ์ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัว ในพระบรมราชูปถมั ภ์
โดยโอนเงนิ เขา้ บัญชเี งินฝากธนาคารไทยพาณิชย์ จำ� กดั (มหาชน) สาขาเทเวศร์ ประเภทออมทรพั ย์ เลข
ทบี่ ญั ชี ๐๒๐-๒๗๑๓๘๒-๓ ชื่อบญั ชีดงั ต่อไปน้ี
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ รายจ่ายตาม
วัตถุประสงค์ (เงินกองทนุ การศึกษา ๑๐๐ ปี สมเด็จพระมหาธรี ราชเจา้ เพ่ือชาวนราธิวาส)
นอกจากน้ียังมี TK PARK หรือ อุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิต พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ซึ่งมี
หอดูดาว ซึ่งกอ่ สรา้ งแลว้ เสร็จ

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๗๔

ดา้ นสังคมวัฒนธรรม
พิพิธภัณฑ์เมืองนราธิวาส เป็นจุด check in จุดแรกท่ีนักท่องเท่ียวและผู้มาเยือน
นราธิวาสพลาดไม่ได้ท่ีจะต้องไปเย่ียมชม สถานที่แห่งน้ีตั้งอยู่ ณ ศาลากลางหลังเก่าจังหวัด
นราธวิ าส ถนนพชิ ติ บำ� รงุ อำ� เภอเมอื งนราธวิ าส ตวั อาคารทาสเี หลอื งสด ภายในจดั แสดงเรอื่ งราว
ตา่ งๆ ให้นกั ท่องเท่ียวไดร้ จู้ กั นราธวิ าสกนั ก่อนทจี่ ะไปทอ่ งเทยี่ วยงั จดุ อนื่ ๆ ของจงั หวดั นราธิวาส
ได้แก่ การจ�ำลองผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แร่ธาตุต่างๆ
แหล่งแร่ทองค�ำ เหมืองทองโต๊ะโมะที่รุ่งเรืองในอดีต พัฒนาการทางประวัติศาสตร์และการต้ัง
ถนิ่ ฐานของมนษุ ยใ์ นพนื้ ทจ่ี งั หวดั นราธวิ าส ชาตพิ นั ธต์ุ า่ งๆ ทเี่ ขา้ มาอาศยั ในผนื แผน่ ดนิ นี้ การนบั ถอื
ศาสนาของประชากร บคุ คลทีท่ ำ� ประโยชน์ให้กับนราธวิ าส วิถกี ารด�ำเนนิ ชีวติ ของผคู้ นทีม่ คี วาม
หลากหลายทางวฒั นธรรม ลกั ษณะการสร้างบ้านเรอื นที่อยู่อาศยั ขนบธรรมเนยี มประเพณี การ
ประกอบอาชพี อาหารการกนิ ศลิ ปะ วฒั นธรรม และมหี อ้ งจดั แสดงใหเ้ หน็ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ
ของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ก์ ับชาวนราธิวาส ในชื่อห้อง นราเปยี่ มสขุ ด้วยพระบารมี จดั แสดงถงึ
โครงการพระราชดำ� รติ า่ งๆ นอกจากนนั้ แลว้ ยงั มหี อ้ งจดั แสดงเฉพาะเพอ่ื รำ� ลกึ ถงึ พระบาทสมเดจ็
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ ๙ และหอ้ งจดั แสดงเทดิ พระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็
พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ ัว รชั กาลท่ี ๑๐ สถานที่แหง่ นนี้ บั เปน็ แหล่งท่องเทีย่ วและแหล่งเรียนรกู้ าร
อยู่รว่ มกนั ในสังคมพหวุ ัฒนธรรมของผคู้ นในพื้นทนี่ ราธิวาสไดอ้ ยา่ งชัดเจน
ทงั้ นี้ เปดิ ใหบ้ รกิ ารแลว้ ตงั้ แตว่ นั ที่ ๑๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ มนี กั ทอ่ งเทย่ี วเขา้ ชม ประกอบ
ด้วย นักท่องเที่ยวทั่วไป ทงั้ ชาวไทยและตา่ งประเทศ นกั เรยี น นักศกึ ษา เฉลย่ี เดือนละ ๑,๐๐๐
คน โดยเปิดให้บริการในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. สามารถเย่ียมชม
ก่อนไดท้ าง Page facebook : พิพธิ ภัณ์เมืองนราธิวาส Narathiwat city museum หรอื ติดตอ่
โทรศพั ท์หมายเลข ๐๗๓-๕๑๒ ๒๐๗

คิดถงึ ...นราธิวาส : ๗๕

การตอ่ สอู้ กี ครง้ั ของ

“ร้านอัง้ ม้อ”
เนสรนี ยะยา

คดิ ถึง...นราธิวาส : ๗๖

“ร้านข้าวต้มอ้ังม้อ ถูกลอบวางระเบิด
ผู้คนบาดเจ็บกันระนาว” พาดหัวข่าวการลอบวาง
ระเบดิ เม่ือปลายปี ๒๕๔๗
ความไม่สงบในสามจังหวัดใช้แดนภาคใต้
มีให้เห็นทุกวัน ฟังแล้วน่าหดหู่อย่างบอกไม่ถูก
ร้านอง้ั มอ้ คอื หนง่ึ ในผู้ประสบภัยโดยตรง
“จิ้นฮัว” หรือที่รู้จักกันดีว่า “อั้งม้อ” เป็นร้าน
อาหารจีนตั้งอยู่บริเวณถนนภูผาภักดี ส่ีแยกเสด็จ
ทางฝั่งแม่น้�ำบางนรา ยังคงสืบทอดกิจการรุ่นสู่รุ่น
แมจ้ ะเคยประสบเหตกุ ารณค์ วามไม่สงบ เมื่อ ๑๒
พฤศจกิ ายน ๒๕๔๗ แตป่ จั จบุ นั ยงั คงดำ� เนนิ กจิ การ
ทมี่ ตี น้ ตำ� รบั จากชาวจนี ผคู้ นและนกั ทอ่ งเทย่ี วมาก
หน้าหลายตาท่ีมาที่นี่เป็นต้องแวะล้ิมลองรสชาติ
อาหารมักจะหมดเร็วก่อนก�ำหนดร้านปิดบ่อยๆ
กลายเปน็ รา้ นหนึ่งที่ตอ้ งชิมเมอ่ื มานราธิวาส

คิดถึง...นราธวิ าส : ๗๗

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

แมว้ า่ สามจงั หวดั ชายแดนภาคใตจ้ ะถกู มองเปน็ จงั หวดั
ทม่ี ีแต่เหตุการณค์ วามรุนแรง แตเ่ ชอ่ื เถอะวา่ ในเหตกุ ารณเ์ หล่า
นน้ั เรายงั ไดร้ บั โอกาสดๆี เชน่ เมตตาจากพระราชา และยงั มคี น
ขา้ งๆ ทีพ่ ร้อมจะยนื หยัดตอ่ สู้ไปกับเรา นกั พูดทา่ นหน่งึ กล่าววา่
ถา้ ไมอ่ ยากให้ตนเองร้สู กึ เหงา ไรค้ ่า ใหอ้ ยู่กับปจั จบุ นั จดจอ่ กบั
สงิ่ ท่เี ราท�ำ จดจ่อกับเป้าหมาย ทา้ ยที่สดุ แล้วในความโชครา้ ยท่ี
ร้านอั้งม้อได้ประสบ ลุงเจ้าของร้านก้าวข้ามความกลัวสามารถ
พลกิ วกิ ฤตเิ ปน็ โอกาส จากเหตกุ ารณด์ งั กลา่ วทำ� ใหผ้ คู้ นรจู้ กั รา้ น
อ้ังม้อมากขึ้น น�ำไปส่กู ารเปิดร้าน อัง้ ม้อ สาขา ๒ ที่ อ.หาดใหญ่
จ.สงขลา

คดิ ถึง...นราธิวาส : ๗๙

ปจั จบุ นั รา้ นอัง้ มอ้ ยงั คงอยคู่ ูก่ บั ชาวนรา พร้อมป้ายเหนอื รา้ น
วา่ “พระบารมีปกเกลา้ ฯ ชาวนรา ปวงขา้ และร้านองั้ มอ้
ขอถวายสตั ย์สัญญา จะอยู่เพอ่ื รักษา ผนื แผน่ ดินไทย”
คดิ ถึง...นราธิวาส : ๘๐

จดุ เช็คอนิ ใหม่

นราธิวาส
กองบรรณาธกิ าร
คิดถงึ ...นราธวิ าส :

“นราธวิ าส มีสถานท่ที อ่ งเทย่ี วนา่ สนใจมากมาย
ท้ังแมน่ ำ�้ ปา่ เขา หรอื ทะเล”

อย่างไรก็ตาม ในชว่ งท่ผี า่ นมาไม่นานน้ี ไดเ้ กิด “จุดเชค็ อินใหม”่ ทก่ี ลายเป็นกระแสนิยมของ
ผ้คู นทง้ั ในและนอกพ้ืนท่ี ตา่ งเดินทางมาท่องเท่ียวสมั ผสั และล้วนกอบเกบ็ “ความประทับใจ” ไว้ใน
ความทรงจ�ำดๆี วา่ คร้ังหนึง่ ตนเองได้ไปเยือน ณ สถานท่ีสุดงดงามเหลา่ นีม้ าแลว้

ผานับดาวสุคิริน

ต้ังอยู่ที่บ้านราษฎร์ประสาน หมู่ท่ี ๙ การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอเมืองนราธิวาส
ต�ำบลสุคิริน อ�ำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ไปยังอ�ำเภอสุคิริน แล้วจากตัวอ�ำเภอสุคิรินไปอีก
“ผานับดาว” เป็นภูเขาท่ีมียอดเขาเป็นหินขาว ประมาณ ๖ กิโลเมตร ต้องใช้รถออฟโรดขับเคล่ือน
ซ่ึงมีแร่ควอตซ์อยู่ ชาวบ้านในพื้นท่ีจึงมักเรียก สล่ี ้อ วงิ่ ผา่ นถนนดนิ ลูกรงั สวนยาง ไปจนถึงบรเิ วณ
กนั ในภาษามลายูถนิ่ วา่ “ฆุนงุ บาตปู ูเต๊ะห์” แปล ตนี เขา จากนน้ั เดนิ เทา้ เขา้ ไปอกี ประมาณ ๕๐๐ เมตร
ว่า “ภูผาหินขาว” ตั้งอยู่สูงจากระดับน้�ำทะเล
ประมาณ ๓๐๐ เมตร เมื่อไปยืนอยู่บนยอดเขา
สามารถมองเหน็ ตวั อำ� เภอสคุ ริ นิ และเทอื กเขาบโู ด
ส่วนด้านหลังคือเทือกเขาสันกาลาคีรี ท่ามกลาง
อากาศเยน็ สบาย มีกระแสลมพดั อยตู่ ลอดเวลา
ชว่ งกลางคนื นกั ทอ่ งเทยี่ วจะเหน็ หมดู่ าว
ทางชา้ งเผือก และแสงไฟในตัวอ�ำเภอสุคริ นิ ส่วน
ทะเลหมอก จะเห็นต้ังแต่ช่วงหัวค�่ำ กระทั่งยาม
อรุณรุ่ง พระอาทิตย์จะข้ึนพร้อมสาดแสงลงบน
สายหมอกกลายเป็นหมอกสีส้มทองแวววาว

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๘๒

ชมววิ ทะเลหมอกผานับดาว

ลานนกเงือก

รมิ เขือ่ นทา่ พระยาสาย
ฝูงนกเงือกเรียงรายมากมายบริเวณ
“ลานนกเงอื ก” ริมเขือ่ นท่าพระยาสาย ถนนภูผา
ภักดี อ�ำเภอเมือง จงั หวดั นราธิวาส เปน็ ส่วนหนึ่ง
ของโครงการพฒั นาที่ “เทศบาลเมอื งนราธิวาส”
ทุ่มงบประมาณซ่อมแซมพื้นท่ีขึ้นมาใหม่ โดยปั้น
รูปนกเงือกหลากหลายชนิดกว่า ๑๐๐ ตวั ไวต้ าม
จุดต่างๆ ท่ัวลานกว้าง เพื่อสร้างให้เป็นแลนด์
มาร์ค และเป็นจุดเช็คอินแห่งใหม่ของจังหวัด
นราธิวาส เพราะนกเงือกในผืนป่าฮาลา-บาลา
เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา อ�ำเภอแว้ง
จังหวดั นราธิวาส มีการพบเห็นได้ถงึ ๙ ชนดิ จาก
ท้งั หมด ๑๓ ชนดิ ท่ีมอี ยู่ในเมอื งไทย

คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๘๓

บริเวณริมเข่ือนท่าพระยาสาย ใจกลาง
เมืองนราธิวาส จึงถือเป็นลานพักผ่อนยอดฮิตของ
ผู้คน สามารถชมบรรยากาศของแม่น�้ำบางนราทั้ง
เชา้ -เย็น ปรากฏภาพเขาตันหยงเป็นฉากประดบั ฟา้
และที่ส�ำคัญ บริเวณน้ีเป็นท่ีตั้งของ “พลับพลาท่ี
ประทับ” และเป็นจุดทีจ่ ะเป็นสถานท่ีมกี ารแขง่ ขัน
เรือกอและ เรือยาว เรือยอกอง และเรือคชสีห์
ชิงถ้วยพระราชทาน ในงานของดีเมืองนราฯ เป็น
ประจ�ำทกุ ปี

ทะเลหมอกเชงิ เขาบูยง

พื้นทตี่ �ำบลชา้ งเผอื ก เดิมเปน็ ส่วนหนงึ่ ของต�ำบลจะแนะ กระทง่ั เม่อื ปี ๒๕๓๔ ได้
แยกเป็นต�ำบลช้างเผือก ซึ่งเป็นชื่อที่น�ำมาจากช้างป่าท่ีชาวบ้านไอร์ซือเระจับมาได้ และได้
ถวายแด่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ปรากฏวา่ เปน็ ลกู ชา้ งเผอื ก จงึ นำ� มาใชเ้ ปน็ ชอ่ื ตำ� บล
ตงั้ แต่นนั้ มา
คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๘๔

พื้นท่ีต�ำบลช้างเผือก เป็นถ่ินที่มีภูเขา การเดนิ ทางสทู่ ะเลหมอกเชงิ เขาบยู ง หาก
สลับซับซ้อน และมีที่ราบระหว่างเชิงเขา มีแม่น้�ำ ตงั้ ตน้ จากตวั เมอื งนราธวิ าส วงิ่ ไปตามเสน้ ทางสาย
ลำ� คลอง และล�ำธาร เปน็ จ�ำนวนมาก โดยเฉพาะ นราธวิ าส-ระแงะ จากนนั้ มงุ่ ตอ่ ไปยงั อำ� เภอจะแนะ
การเปน็ ตน้ นำ้� ของ “แมน่ ำ้� สายบรุ ”ี สว่ นของทะเล เมอ่ื ถงึ ทวี่ า่ การอำ� เภอจะแนะใหไ้ ปตามถนนสายมะนงั
หมอกเชงิ เขาบยู ง ตั้งอยู่ในพ้ืนทห่ี มบู่ ้านบยู ง หมู่ท่ี กาแยง-บ้านกมุ ุง เป็นถนนลาดยางของกรมโยธาฯ
๓ ตำ� บลชา้ งเผอื ก อำ� เภอจะแนะ จงั หวดั นราธวิ าส และ รพช. ถงึ อบต.ชา้ งเผอื ก ระยะทาง ๕ กโิ ลเมตร
เป็นสถานท่ีท่องเที่ยวที่เกิดจากการรวมกลุ่มของ แล้วเดินทางจาก อบต.ช้างเผือกถึงหมู่บ้านบูยง
พี่น้องประชาชนในพื้นท่ี ท่ีได้ริเริ่มพัฒนาการ ประมาณ ๓ นาที
ท่องเท่ียว โดยน�ำสิ่งดีๆ ในหมู่บ้านมาบุกเบิก ส�ำหรับผสู้ นใจ แพก็ เกจการทอ่ งเทย่ี ว มี
นับตั้งแต่วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ และ บริการนำ� เท่ียวทะเลหมอกบ้านบยู ง ๑ คืน ๒ วนั
เปิดให้นักท่องเที่ยวได้เย่ียมชม สัมผัสกลิ่นอาย ราคา ๒๐๐ บาท/คน สามารถน�ำเต็นท์เองมาได้
ของธรรมชาติอยา่ งแทจ้ ริง จนปัจจบุ นั ไดร้ บั ความ เปดิ บรกิ ารทกุ วันจนั ทร์-อาทติ ย์ เวลา ๑๙.๓๐ น.
นิยมจากนักท่องเทย่ี วทัง้ ในและตา่ งประเทศ มีบริการเล้ียงอาหาร ๒ ม้ือ คือ เย็น และ เช้า
แถมมีบริการปิ้งย่างอีกด้วย สนใจติดต่อโทร.
๐๖๑-๑๗๓ ๑๐๒๘ โดยนอกจากจะเที่ยวทะเล
หมอกเชงิ เขาบา้ นบูยงแลว้ ยังสามารถไปลอ่ งแก่ง
แมน่ ำ�้ สองสบี า้ นไอรบ์ อื แต สมั ผสั สะพานแขวนบา้ น
โต๊ะนอ และวิถีโอรงั อัสลี (ซาไก)

คิดถงึ ...นราธิวาส :

ทำ�อย่างไร ?
ถงึ เปน็ บดู ู

สตี โี นรมาเรีย ดาโอะ

นาง ซีตีมีเนาะ บากา ผู้ประกอบการ
เล็กๆ ตัง้ อยทู่ ่ี ๑๘๔/๓ ม.๑ ต.โคกเคียน อ.เมือง
จ.นราธวิ าส ไดอ้ ธบิ ายถงึ สว่ นผสมและวธิ กี ารทำ�
บูดูวา่ โดยหลกั ๆ แลว้ ต้องมีปลา ซ่งึ ปลาทใ่ี ช้ คอื
ปลากะตกั ตามดว้ ยเกลอื ทสี่ ง่ั ซอ้ื มาจากโรงเกลอื
ปตั ตานโี ดยเฉพาะ (เกลอื หวานปตั ตานี)

คดิ ถึง...นราธิวาส :

วิธีท�ำบูดูในแบบดั้งเดิม คือ หมักใน
โอง่ หรอื ไห เรมิ่ จากการน�ำปลากะตกั มาใสใ่ น
ภาชนะและนำ� เกลอื ใสต่ ามแลว้ คลกุ เคลา้ จนเขา้
กนั หลงั จากนนั้ นำ� ไปใสใ่ นโอง่ หรอื ไห แลว้ ปดิ ฝา
ใหม้ ิดชดิ เพือ่ ไมใ่ หแ้ มลงเข้าไป การหมกั บูดูกว่า
จะไดเ้ ปดิ ขายต้องใช้เวลาประมาณ ๕ – ๘ เดือน
หรอื ๑ ปี ยงิ่ นานย่ิงดี

นำ้� บูดมู ี ๓ ระดบั ไดแ้ ก่ น้ำ� ข้น นำ้� กลาง
และน�้ำใส บูดูมีคุณค่าทางโภชนาการ ได้แก่
โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต และ วิตามิน
รวมท้ังแร่ธาตุอื่นๆ เช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส
และเหล็ก

คิดถึง...นราธิวาส : ๘๗

เพื่อเพ่ิมรสชาติให้บูดูยิ่งขึ้น แนะน�ำให้
เตมิ เนอ้ื ทเุ รยี นสกุ ลงไป ภาษายาวเี รยี กวา่ ปอเยาะ
นั่นเอง จะให้ดีอีก ควรมีปลาทอดเข้ามาเสริมดี
สุดๆ ไปเลย
ลูกค้าส่วนใหญ่มักจะมาจากพ้ืนท่ีใกล้
ละแวก และในพื้นท่ีสามจังหวัด มีการส่งไปยัง
กรุงเทพฯ เพอ่ื กระจายสินค้าไปยังทุกภาค และ
สง่ ออกไปยังเมืองนอกอกี ดว้ ย

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส :

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๘๙

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๙๐

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๙๑

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๙๒

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๙๓

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๙๔

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๙๕

ทะเบยี นสมาชกิ สมาคมชาวนราธวิ าส

สมาชิก ชอ่ื สกุล ท่อี ยู่ โทรศัพทม์ อื ถือ
เลขที่

00153 นายเจรญิ รัตน ์ หาญเบญจพงศ์ 419/15 ซ. 23 ถ.เทพารักษ์ แขวงสำ� โรง 081-7344285
เหนอื เขตอ�ำเภอเมอื ง จ.สมุทรปราการ
10270

00253 นายเสกสรร สนั ตนิ าราพันธุ์ 568 ถ.ลาดพร้าว 94 แขวงพลับพลา 081-9283419
เขตวังทองหลาง กทม.10310

00353 นายธวัชชยั เค้าคณุ ากร 87/99 หมู่บา้ นมณฑกานต์ 081-8541208
ถ.กาญจนาภเิ ษก แขวงฉิมพลี
เขตตล่ิงชัน กทม. 10170

00453 นางมณีรัตน ์ เชยี งไกรเวช 3101 ม. 2 หมบู่ า้ นศานตินเิ วศ 081-7325299
ซ.ลาดพร้าว 115 แขวงคลองจน่ั
เขตบางกะปิ กทม. 10240

00553 นายกติ ต ิ จริ นราธร 75/111 ม.1 ซอยเลิศพฒั นาใต้ 086-6773885
ถ.จอมทอง แขวงจอมทอง
เขตจอมทอง กทม. 10150

00653 นายทว ี คงมัน่ 145 หมบู่ ้านสวิ ลี รงั สติ 2 ซ.ถ ถ.รงั สติ - 089-7719491
นครนายก แขวงประชาธิปตั ย์
เขตธัญบรุ ี จ.ปทมุ ธานี 12130

00753 นางกาญจนา คงม่นั 145 หมบู่ า้ นสวิ ลี รงั สติ 2 ซ.ถ ถ.รงั สติ -
นครนายก แขวงประชาธิปตั ย์
เขตธญั บรุ ี จ.ปทมุ ธานี 12130

00853 นางนัยนา นราตรี 200/5 ซ.อินทามระ 6 ถ.สุทธิสาร แขวง 081-6549721
สามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400

01053 นางชมนาด นันทส์ วสั ด์ิ 93/171 ม. 2 หมูบ่ ้านเสรมิ สุข ซ.เสรไี ทย 084-6490384
23/1 ถ.เสรีไทย แขวงคลองกุ่ม เขตบงึ กุ่ม
กรุงเทพฯ 10240

01153 นายพสิ ฐิ พุฒิไพโรจน์ 39 ซ.ลาดพรา้ ว 124 ถ.ลาดพร้าว แขวง
พลับพลา เขตวงั ทองหลาง
กรุงเทพฯ 10310

คดิ ถึง...นราธิวาส : ๙๖

สมาชิก ชอ่ื สกลุ ทอี่ ยู่ โทรศพั ทม์ ือถอื
เลขท่ี

01353 นายศรยทุ ธ พันธ์ุชา่ งทอง 209/354 ม. 6 หมบู่ ้านเมอื งทอง 2/2 081-9320257
ถ.พัฒนาการ แขวงประเวศ เขตประเวศ
กรงุ เทพฯ 10250

01453 นายสมชาย สุนทรศร 27/946 หมบู่ ้านสุขสันต์ 6 ซ.กาญจนา 081-5532283
ภิเษก 005/1 แขวงหลักสอง เขตบางแค
กรงุ เทพฯ 10160

01553 นายมนตร ี ชาวกรุงเกา่ 122 ซ.สีน้ำ� เงนิ ถ.ประชาราษฎร์ สาย 081-8129036
1 แขวงบางซอื่ เขตบางซอื่ กรุงเทพฯ
10800

01653 นายสมเกียรต ิ บัณฑรเศรษฐ์ 29-31 หมู่บ้านภทั ราวิลลา่ 2 ซ. 5 081-8474799
ถ.เฉลมิ มติ ร แขวงบางโคล่
เขตบางคอแหลม กรงุ เทพฯ 10120

01753 นางสาวนัฐนนั ท ์ วจิ กั รขณายุทธ 29 ซ. 18 ถ.เจริญรัก แขวงคลองตน้ ไทร 089-6967404
เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600

01853 นายพิสฐิ พจน์ ตนั ประดิษฐ 64/344 ม. 4 หมู่บา้ นเฟอื่ งสุข 2 ซ. 29 089-7931288
ซ.กาญจนาภเิ ษก แขวงล�ำโพ
เขตบางบวั ทอง จ.นนทบุรี 11110

01953 นายสมบูรณ ์ โชติพานชิ 490/83 ซ.วัดช่างเหล็ก ถ.ริมคลอง 086-9027075
ชกั พระ แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน
กรุงเทพฯ 10170

02053 นายทนิ กร พรพนั ธ์ุไพบลู ย์ 5/448 หมบู่ า้ นทุง่ เศรษฐี แยก 25 081-4539229
ถ.บางนา-ตราด แขวงดอกไม้ เขตประเวศ
กรงุ เทพฯ 10250

02153 นายชมุ ศักดิ ์ นรารัตนว์ งศ์ 39/139 ม.บุศรนิ ทร์ ซ.9 089-8128472
ถ.พระยาสเุ รนทร์ 40 แขวงสามวาตะวัน
ตก เขตคลองสามวา กทม. 10510

02253 นายประเสรฐิ ศรีสืบ 1111/3 หมู่บา้ นศรณั จติ 1 ซ.วชริ ธรรม 081-4836823
65 ถ.สขุ ุมวทิ 101/1 แขวงบางจาก เขต
พระโขนง กทม. 10260

02353 นายบญั ญตั ิ อยุ ยามวงศ์ 293 ซ.ประชาช่นื 30 ถ.ประชาช่ืน แขวง 081-9283937
บางซ่อื เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๙๗

สมาชิก ชอ่ื สกลุ ทอ่ี ยู่ โทรศัพท์มอื ถือ
เลขที่
02453 นายนพิ นธ์ ถาวรพลศิริ 29 แยก 6 ม.เยน็ จิตต์ ถ.จันทน์ แขวงทุ่ง 081-9179308
02553 นายอานนท์ วิไลพนั ธุ์ วัดดอน เขตสาทร กรงุ เทพฯ 10120

02654 นายโอภาส บุญสร้าง 3/215 ม.โชคชัยปญั จทรพั ย์ ซ.184 089-7738096
02754 นายแนม ชนิ พงศ์ ถ.รามค�ำแหง แขวงมีนบรุ ี เขตมีนบรุ ี
กรุงเทพฯ 10510
02854 นายกิจวพิ ัฒน์ พลู สมบัติ
13 ม.9 ตำ� บลกรัยใหญ่ ถนนเทศบาล 2 084-1118575
02954 นายบุญกลุ จังศริ วิ ฒั นธ�ำรง อ�ำเภอบา้ นโป่ง จ.ราชบุรี

03054 นายธนาวัฒน ์ รตั นแ์ กว้ 32 หมู่ 5 หมบู่ า้ นโพธิ์เตย้ี ถ.ตลาด 083-9560872
สรรพยา-โพธ์ิเตี้ย แขวงสรรพยา
03154 นายเกรียงศกั ด ์ิ คงจักรพนั ธ์ เขตสรรพยา 17150
03254 นายทรงศกั ด ์ิ โสตถิสถาวร
58/58 หมู่ 1 หมบู่ า้ นอินทรวิว ซอย 081-3045115
03354 นายสิงหนาท ทองเครอื นมิ ติ รใหม่ 11 ถนนนมิ ติ รใหม่
แขวงทรายกองดิน เขตคลองสามวา
03454 นายประยทุ ธ ศริ สิ วุ รรณ กรงุ เทพฯ 10510
03554 นายพมิ พ์ปฏิภาณ พ่งึ ธรรมจติ ต์
32 ซ.สมประสงค์ 2 ถ.เพชรบรุ ี แขวง 081-3276429
ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ
10400

157 หมู่ 3 หมูบ่ า้ นเกษรา คลาสสิก 081-8143868
โฮม ซ.เสรีไทย 81/2 ถ.เสรีไทย แขวง
คนั นายาว เขตคันนายาว กรงุ เทพฯ
10230

ต่างประเทศ [email protected]

40/72 หมู่ 14 หมบู่ า้ นรัตนธานี ซ.รตั น 086-9981330
ธานี 9 ถนน บางนา-ตราด ต.บางแก้ว
อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540

279/290 ซ.ลาดพร้าว 121 ถ.ลาดพรา้ ว
แขวงคลองจ่นั เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ
10240

34 หมู่ 1 หมบู่ า้ นประชานเิ วศน์ 3 ซอย 081-9227457
วดั บัวขวญั ต.ท่าทราย
อ.เมอื งนนทบรุ ี จังหวัดนนทบรุ ี

คดิ ถึง...นราธิวาส : ๙๘


Click to View FlipBook Version