The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Alisa daoh, 2019-11-12 01:05:05

นรารำลึก E-book1

นรารำลึก E-book1

สมาชิก ชือ่ สกุล ที่อยู่ โทรศพั ท์มือถอื
เลขที่
03654 นายปฐม สุวรรณโณ 10/248 หมู่ 6 ซอยนวมินทร์ 93 ถนนนว 081-6455104
03754 นางรววิ รรณ มณแี สง มนิ ทร์ แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม
03854 นางสุชาดา สุวรรณพงศ์ กรุงเทพฯ 10240
03954 นายทองคำ� กมลสุโกศล
04054 นายฑฆิ มั พร ทองจนิ ดา 90/463 หมูบ่ ้านมณั ฑนาธนบุรีรมย์ ซอย 081-9323263
4/10 ถนนประชาอุทศิ 129 แขวงทุ่งครุ
04154 นายปรีชา ทักษณิ นรา เขตพระประแดง จ.สมุทรปราการ
04254 นายทรงศกั ด ์ิ วิจักขณายุทธ
04354 นายบรุ ินทร ์ นรารตั นว์ ิรยิ ะ 70/33 หม่บู ้านโอฬารพัฒนา 2 ซอยนว 089-8837684
04454 นายสุรศกั ดิ์ เอกอจั ฉรยิ า มินทร์ 81 ถนนนวมนิ ทร์ แขวงคลองก่มุ
04554 นางรัชนี เอกอัจฉริยา เขตบงึ กุ่ม กรุงเทพฯ 10240
04654 นายบุญเพ็ญ วงศ์อกนษิ ฐ์
105 ซอยตากสนิ 39 ถนนตากสิน 085-6611220
ดาวคะนอง ธนบรุ ี กรงุ เทพฯ 10600

105/21 หมู่ 4 หมู่บ้านเลศิ อบุ ล 5 ซอย 081-9940998
สวนสยาม 3 แยก 1 ถนนสวนสยาม
แขวงคนั นายาว เขตคนั นายาว กรงุ เทพฯ
10230

244 หมบู่ า้ นพนู สินธานี 1 ซ.เคหะรม่ 089-1150795
เกลา้ 64 แขวงคลองสองต้นน่นุ
เขตลาดกระบัง กรงุ เทพฯ 10520

27 ซอยพกิ ุล 18 ถนนเจรญิ รัก แขวง
คลองตน้ ไทร เขตคลองสาน
กรุงเทพฯ 10600

330 หมบู่ ้านวชิ ิตนคร 2 ซอยพระราม 2 081-6555235
39 ถนนพระราม 2 แขวงบางมด
เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150

264 ซอยรามค�ำแหง 68 (สุภาพงษ)์ ถนน 080-4848076
รามค�ำแหง เขตบางกะปิ
กรงุ เทพฯ 10240

264 ซอยรามค�ำแหง 68 (สภุ าพงษ์) 087-0765340
ถนนรามค�ำแหง เขตบางกะปิ กรงุ เทพฯ
10240

13/127 หมู่ 4 ถนนคลอง 4 เขต
คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๙๙

สมาชกิ ช่ือ สกลุ ท่ีอยู่ โทรศพั ท์มือถอื
เลขที่

04754 นายไพบลู ย์ เดชสวุ รรณกมล 112/328 หมู่ 8 ซอยบวั ซอ้ น ถนน 081-9997373
รตั นกวี แขวงจอมทอง เขตจอมทอง
กรงุ เทพฯ 10150

04854 นางนติ ยา แซท่ ่ัง 4/1523 หมู่ 4 หมบู่ า้ นสหกรณค์ ลองกมุ่ 084-6945214
04954 นายสายัณห์ บรู ณะนติ กิ ุล แขวงคลองก่มุ เขตบงึ กมุ่ กรุงเทพฯ

125/59 หมู่ 3 หมู่บ้านสริ นี เฮา้ ส์ ถนน 081-8258251
รัตนาธิเบศร์ แขวงไทรมา้
อ�ำเภอเมอื งนนทบุรี จังหวดั นนทบุรี

05054 นายสเุ มธ นราสมโภชกิจ 411 ซอยจรญั สนิทวงศ์ 85 ถนน 089-8924123
จรัญสนทิ วงศ์ แขวงบางอ้อ เขตบางพลดั
กรุงเทพฯ 10700

05154 นายสรร จนั ทรเ์ กษมพร 3/71 ซอยโชคชัยรว่ มมติ ร ถนนวิภาวดี 086-6693155
16/3 แขวงจอมพล เขตจตุจักร
กรงุ เทพฯ 10900

05254 นายจรนิ ทร์ วไิ ลพนั ธุ์ 6/124 หม่บู า้ นการเคหะ ถนนบูรพา 081-6140946
แขวงคลองจน่ั เขตบางกะปิ
กรงุ เทพฯ 10240

05354 นายสุเมธ สรุ พนั ธ์พิทักษ์ 9/51 ถนนพบิ ูลสงคราม ตำ� บลสวนใหญ่ 081-8199445
05454 นางภัทรวด ี กิจเวช อ�ำเภอเมือง จ.นนทบุรี 11000

422/1 ซอยจรญั 89 ถนนจรญั สนิทวงศ์ 087-0589636
แขวงบางออ้ เขตบางพลัด
กรงุ เทพฯ 10700

05555 นายชศู กั ดิ ์ โชคดี 16/442-443 ซอย 12/2 ถนน
พบิ ูลสงคราม 16 แขวงบางเขน
อ.เมืองนนทบรุ ี จ.นนทบุ รี 11000

05655 นายพรชัย หวงั สนั ติ 30 บา้ นสวนนครนิ ทร์ ถ.ศรีนครินทร์ เขต 081-8461988
05755 นายดุสติ เอกนรพันธ์ ประเวศ กรงุ เทพฯ

4353/157 หมู่บา้ นกรมอตุ ะนยิ มฯ 086-5676982
ถนนสขุ ุมวทิ แขวงบางนา เขตบางนา
กรงุ เทพฯ 10260

05955 นายสรุ ยิ าวุธ จงวรี ะกุล 20/1 ซอยประดิพัทธ์ 3 ถนนประดิพัทธ์ 081-9073926
คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๑๐๐ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท
กรุงเทพฯ 10400

สมาชกิ ชอ่ื สกลุ ท่ีอยู่ โทรศพั ท์มือถอื
เลขท่ี
05955 นายสรุ ยิ าวุธ จงวีระกลุ 20/1 ซอยประดิพทั ธ์ 3 ถนนประดิพนั ธ์ 081-9073926
แขวงสามเสนใน เขตพญาไท
06055 นางสาวสนุ ีย์ ประธานพพิ ฒั น์ กรงุ เทพฯ 10400
06155 นางฐิติมา ไชยสงคราม
06255 นายวชิระ ฐานธนานนท์ 73/98 ซอยอ่อนนุช 70 ถ.สุขมุ วทิ 77 089-1249843
เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250
06355 น.ส.อรอนงค์ สิวะสุภาพร
06455 นายอำ� พล สนิ ธจิ ำ� ปาศกั ด์ิ 67 ซอยสมเด็จพระป่นิ เกล้า 7 เขต
บางยีข่ นั เขตบางพลดั กรงุ เทพฯ 10170
06555 นายวิเชยี ร แซค่ ู
06655 นายเจรญิ รตั น์ ชูติกาญจน์ 4/843 หมู่ 4 หม่บู า้ นสหกรณ์ ซอยเสรี 081-8424184
ไทย 57 ถนนเสรีไทย แขวงคลองกุม่
06755 น.ส.ศิริวรรณ จนั ทรห์ งษ์ เขตบึงก่มุ กทม. 10240

06855 นายบูรณส์ ันต ์ ตันตฤิ ทธศิ ักด์ิ 147 ถนนลาดพรา้ ว 109 เขตบางกะปิ 087-4983114
กรุงเทพฯ
06955 นายบันเทงิ เพียรวฒุ ิกลุ
07055 นายประพนั ธ์ กรี ติมากลุ 121 หมุ่ 19 หมบู่ า้ นกาญจนานเิ วศน์ ถนน 089-9690014
พทุ ธมณฑลสาย 2 แขวงศาลาธรรมสพน์
เขตทววี ฒั นา กรงุ เทพฯ 10170

97/43 หมบู่ า้ นโนเบิลธารา ถนน 081-3288180
รัตนาธเิ บศร์

49/8 หมู่บา้ นบญุ สิริ ถนนอุทยาน-อกั ษะ 081-9286468
แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา
กรงุ เทพฯ 10170

47/106 หมู่ 2 หมบู่ า้ นภัสสร 10 ซอยสุ 081-6171441
วนิ ทรวงศ์ 21 ถนนสวุ ินทวงศ์
แขวงลำ� ผักชี เขตหนองจอก
กรุงเทพฯ 10530

41/216 หมบู่ า้ นรัตนาวลยั ซอยวิภาวดี 087-7166668
39 ถนนวิภาวดี แขวงสามเสน
เขตดอนเมือง กรงุ เทพฯ

1333 ซอยเพชรเกษม 4 ถนนเพชรเกษม 081-4447365
เขตบางกอกใหญ่ กรงุ เทพฯ 10600

217/240 หมูบ่ ้านสุขสมบูรณ์ 081-6293665
ซ.พหลโยธนิ 50 ถ.พหลโยธนิ แขวงคลอง
ถนน เขตสายไหม กทม. 10220

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๐๑

สมาชกิ ชอื่ สกลุ ท่ีอยู่ โทรศพั ทม์ ือถอื
เลขท่ี
07155 นายไทยสินธ ุ์ พุฒไิ พโรจน์ 291-295 ถ.ภผู าภักดี ต.บางนาค อ.เมือง 081-8980232
07256 นายชชั ภณ สรรค์โสภณ จ.นราธวิ าส 96000

07357 นายสนั ติ หาญพริ ยิ ะกลุ 644/113 หมู่ 4 หมบู่ า้ นนวกานต์ ซ.เสรี 081-4471656
ไทย 41 ถ.เสรไี ทย แขวงคลองก่มุ
07457 นายปรีชา หมน่ื ประเสรฐิ ดี เขตบึงกุ่ม กทม. 10240
07557 นายวโิ รจน์ สุวรรณวงศ์
07657 นายบญุ แสน สะพะพนั ธ์ 53/194 หมู่ 5 หมบู่ า้ นกฤษดานคร 081-2940410
07757 นายณัฐสทิ ธิ ์ ฉัตรวจิ ิตร ซ.ราชพฤกษฯ ถ.แจง้ วฒั นะ แขวงบาง
ตลาด เขตปากเกร็ด กทม.
07859 นายเจริญพนั ธ์ เสาวไชย
07959 อยรู่ ะหว่างการตรวจสอบรายช่ือ 3/204 หม่บู า้ นชยั พฤกษ์ 19 ซ.วชั รพล
08060 นายชลอ คชรัตน์ ถ.รามอินทรา เขตบางเขน กทม. 10220
08160 นายถวัลย ์ ชมประสพ
08261 นายอรรถเดช ชนิ พงศ์ 150/15 ถ.ประชาช่นื ซอยประชาชน่ื 7 081-8209845
08361 นางวราพร พงษพ์ านิช อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี 11000
08462 นายวบิ ูลย์ ศรีไพรวัน
08562 น.ส.ดวงใจ อรุณมาส 100/385 หมู่บ้านธารารินทร์ ต.คูคต 081-9583970
อ.ลำ� ลกู กา จ.ปทุมธานี 12130

2/36 บ้านพฤกษาวลิ ล์ วชั รพล-เพม่ิ สนิ 081-4979945
ถ.เพ่ิมสิน 34 แขวงคลองถนน เขต
สายไหม กทม. 10220

84 ซอยเพชรเกษม 96 ถ.เพชรเกษม เขต 081-8333508
บางแค กทม. 10160

184-186 ถ.ศรสี มทุ ร อ.เมอื ง 089-4807889
จ.สมุทรปราการ

443/1 ถ.อิสรภาพ ซอย 47 แขวงบ้าน 089-1230805
ชา่ งหลอ่ เขตบางกอกนอ้ ย กทม. 10700

รพ.นราธวิ าสราชนครินทร์ จ.นราธวิ าส

37/197 ถ.นาคนิวาส แขวงลาดพรา้ ว 098-0511888
เขตลาดพรา้ ว กทม. 10230

11/15 ถนนนกเขาเหริ อ.เมอื ง 081-6555235
จ.นครปฐม

คดิ ถึง...นราธิวาส : ๑๐๒

สมาชกิ ช่ือ สกุล ทอี่ ยู่ โทรศัพท์มือถอื
เลขท่ี
08662 นางสภุ มาส ถาวรพลศิริ 29 ซ.เยน็ จิต แยก 6 ถ.จนั ทน์ แขวงทงุ่ วัด 089-7929477
ดอน เขตสาทร กทม.
08762 นางจินดา เพียรวฒุ กิ ุล 1333 ซอยเพชรเกษม 4 ถ.เพชรเกษม 081-4447365
อ.บางกอกใหญ่ กทม. 10600
08862 นางอรุณี กมลสโุ กศล 105 ตากสนิ 39 ดาวคะนอง ธนบุรี กทม.
08962 นางอาภรณ์ สุวรรณวงศ์ 93/6 ซ.ประชาช่นื นนท์ 7 ต.บางเขน 089-8106438
อ.เมอื ง จ.นนทบุรี
09062 นายสริ ิพล ถาวรพลศริ ิ 29 ซ.เยน็ จิต 6 เขตสาทร แขวงท่งุ วดั 081-4030313
ดอน กทม. 10120
09162 นายสญั ญา นินนาทพงศ์ 101/462 ม.ปรีชา พุทธมณฑล สาย 4 081-9347004
จ.นครปฐม
09262 นายธราโรจน ์ พันธลุ าภ
09362 นายณรงค์ศกั ด ์ิ มณีแสง 100/104 ม.อมรพันธุ์ 9 ซ.6 เสนานิคม 086-5168927
09462 นางสาวพศิ สุกาญจน์ บญุ เพิ่ม 1 ถ.พหลโยธนิ 32 เขตลาดพรา้ ว กทม.
09562 นางสาวจริ ภทั ร หม่อมปลัด 10230 087-1496688
09662 นายมนู ธญั เกษตร 150/6 ต.บ้านใหญ่ อ.เมอื ง จ.นครนายก 098-5042965
26000
09762 นายเกรียงไกร จันทรห์ งษ์ 99/758 หมทู่ ่ี 1 ต.ศรี ษะจรเขน้ อ้ ย
อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ
09862 นายเจริญ เทพสวุ รรณ

คิดถึง...นราธวิ าส : ๑๐๓

คดิ ถงึ

นราธวิ าส

อลิษา ดาโอะ๊

คดิ ถงึ ...นราธิวาส :

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

-๑-
“ท่ีน่ีคือน�้ำตกปาโจ อุทยานแห่งชาติบูโด-สุไหงปาดี” ยากีเจ้าถิ่นชาว
นราธิวาสพูดแนะน�ำเพอ่ื น ๆ ทั้ง ๒ คอื อารีฟนี เพ่ือนมสุ ลิมทเ่ี คยอาศัยอยู่นราธวิ าส
ตอนเรยี นอยชู่ น้ั อนบุ าล กอ่ นจะยา้ ยถน่ิ ฐานไปอยใู่ นกรงุ เทพฯ อยา่ งถาวร และอกี คน
คือ กนั ต์ เพื่อนไทยพุทธชาวสพุ รรณบรุ ี ทง้ั ๒ นดั กันแบกเป้ลอ่ งใตม้ าหายากเี พอื่ น
เก่าสมยั เรียนมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมด่ ้วยกนั
สน้ิ เสยี งยากีพดู ทุกคนถอดเสื้อแล้วกระโดดตู้ม!!! ลงน�ำ้ พรอ้ มกัน
น�้ำใสไหลเย็นกับธรรมชาติสมบูรณ์เขียวชอุ่ม ท�ำให้ท่ีนี่มีนักท่องเท่ียวแวะ
เวียนมาไม่ขาดสาย ความสวยงามโดดเด่นของน�้ำตกแห่งน้ีอยู่ท่ีหน้าผาสูง ๗ ช้ัน
สามารถมองเหน็ ทกุ ชน้ั ไดใ้ นมมุ มองเดยี ว อารฟี นี ขน้ึ จากนำ้� มาเดนิ สำ� รวจรอบๆ เพอ่ื
ชมความงามของอุทยานฯ

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๐๖

“นน่ั ใบไม้สีทอง” ยากตี ะโกนบอกเพ่อื นๆ
“นเี่ ราเพง่ิ เคยเหน็ ตน้ ของมนั ครงั้ แรกเลยนะ
เนย่ี ปกตเิ หน็ แตใ่ บทถ่ี กู จดั อยใู่ นกรอบสวยแขวนขา้ ง
ผนงั ” อารฟี นี เอย่ ขณะกำ� ลงั แหงนหนา้ มองใบไมส้ ที อง
พมุ่ ใหญ่
“ทน่ี เ่ี ปน็ แหลง่ กำ� เนดิ ของใบไมส้ ที องเทอื ก
เขาบูโดเลยนะ ชาวบ้านเก็บใบไม้เหล่าน้ีมาสร้าง
รายได้เป็นสินค้าโอท็อปของชุมชนแบบที่นายเคย
เหน็ นน่ั แหละ” ยากพี ดู เสรมิ ขณะเดยี วกนั ฝงู นกเงอื ก
ฝูงใหญ่พลันบินผ่านมา ส่งเสียงกระพือปีก หวือๆ
ดงั ก้องปา่ เขาไม่ทันได้อ้าปากบอกเพ่ือนๆ
“นกเงอื ก!” ในความตะลงึ งนั ทกุ คนสง่ เสยี ง
อุทานออกมาพรอ้ มกัน

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๐๗

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

-๒-
เสร็จจากลงเล่นนำ้� ตกปาโจเสยี งอาซานดงั ขน้ึ เข้าส่เู วลาละหมาดวักตซู ฮุ รฺ ี (เวลา
ประมาณเทยี่ งครง่ึ ) ยากขี บั รถพาเพอื่ นแวะละหมาดกนั ทมี่ สั ยดิ วาดลี ฮสุ เซน็ หรอื ทชี่ าวบา้ น
เรียกกันว่า มัสยิดตะโละมาเนาะ อยู่ไมไ่ กลจากน�้ำตกปาโจ
“โห!!! สวยมาก เราคิดว่ามัสยิดต้องมียอดโดมเหมือนท่ัวไปท่ีเคยเห็นซะอีก
แปลกตาดีจัง เราชอบนะ ถ่ายรูปได้ใช่ปะ?” กันต์เอ่ยทันทีเมื่อก้าวขาออกจากรถด้วย
ความตะลงึ งัน
“ได้สิ แตพ่ วกเราขอไปละหมาดก่อน นายรอขา้ งลา่ งนะ” ยากเี อย่ ตอบกันต์
ขณะรอเพอื่ นทง้ั ๒ คนละหมาด กนั ตเ์ ดนิ ไปรอบๆ เพอ่ื เกบ็ ภาพไปอวดครอบครวั
ทส่ี ุพรรณฯ
คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๑๐

“เป็นไงกันต์ ชอบอะดิ?” ยากตี ะโกนจากหนา้ ต่างตวั อาคารมสั ยดิ
กนั ตย์ ิ้มพยกั หน้าตอบ และถา่ ยรปู ต่อ
“มสั ยดิ ตะโละมาเนาะ เป็นมสั ยดิ เก่าแกม่ ากกว่า ๓๐๐ รอ้ ยปี สร้างอยู่บรเิ วณเชิง
เขาบโู ด อาคารทงั้ หลงั สรา้ งด้วยไมต้ ะเคยี นทม่ี อี ยูม่ ากในป่าเทือกเขาบูโด ภายในเป็นทีเ่ กบ็
รกั ษาพระคมั ภรี อ์ ลั กรุ อานซงึ่ เขยี นดว้ ยลายมอื ของวนั ฮซุ เซน อซั ซานาวี อหิ มา่ มคนแรกของ
มสั ยิด และทนี่ ่ียงั เปน็ มสั ยดิ ที่มีสถาปตั ยกรรมผสมผสานกนั ระหวา่ งมลายู ไทย และจีน” อา
รฟี ีนบอกขอ้ มลู ขณะเดินเข้ามาหากันต์
“นายรขู้ อ้ มลู ได้ไงอะ? ตอนเด็กๆ ทีน่ ายเคยบอกว่าอยนู่ ราฯ คือที่นหี่ รอ? ยากถี าม
อารฟี นี ดว้ ยหนา้ มึนงง
อารีฟนี ยักคิว้ ขึน้ 2 ครง้ั พร้อมตอบว่า “เปลา่ หรอกเราเสิร์ชกเู กิลเมอื่ กี้ ฮาๆ”

คิดถงึ ...นราธิวาส : ๑๑๑

-๓-
หลงั จากแวะละหมาดกนั แลว้ ออกเดนิ ทางตอ่ อารฟี นี เผลอหลบั ไประหวา่ งการเดนิ ทาง
สสู่ ถานทแ่ี หง่ ใหม่ กระทงั่ รถยนตท์ ย่ี ากเี ปน็ พลขบั จอดสนทิ อยบู่ รเิ วณลานจอดรถหนา้ วดั ประชมุ
ชลธารา อำ� เภอสุไหงปาดี จงั หวดั นราธิวาส เขาตกใจตน่ื และรบี เอย่ ถามยากีเจา้ ถน่ิ ทันที
“เฮ้ยกี นายพาเรามาท่วี ัดท�ำไม” ยากยี ม้ิ ให้และตอบทันทีวา่ “มางานวันเกดิ ท่าน
เจา้ คุณ” หลังจบคำ� พดู ของยากีทุกคนก็รีบเดินเข้าวัดไปเพราะเสียงปี่มโนราห์ที่ดังขึ้น
อารีฟีนรสู้ ึกงงกับเพ่อื นท่พี ามาร่วมพิธขี องศาสนาพทุ ธ และรู้สกึ แปลกใจกับในตัวยากี
ตอนอยทู่ มี่ หาวทิ ยาลยั ทเี่ ชยี งใหมก่ ด็ เู หมอื นเปน็ คนทเ่ี ครง่ ศาสนา แตเ่ มอ่ื กลบั มาบา้ นเหมอื นเปน็
อีกคน
อารฟี นี นง่ั คอยอยทู่ รี่ า้ นขายของชำ� หนา้ วดั เขานงั่ มองผคู้ นทเี่ รมิ่ ทยอยเขา้ มาอยา่ งคกึ คกั
ขบวนรถยนตป์ า้ ยทะเบยี นมาเลเซยี ขบั เขา้ มาไมข่ าดสาย ทนั ใดนน้ั เขาเหน็ พนี่ อ้ งมสุ ลมิ หลายกลมุ่
ทยอยเดินเข้าไปเพม่ิ มากขนึ้ เร่ือยๆ
“พวกเขาเหล่านั้นเข้าไปท�ำไมกัน” ความคิดในหัวเขาผุดขึ้น เขาน่ังท�ำใจแข็งอยู่
ประมาณ ๒๐ นาทีจนตา้ นความสงสัยไมไ่ หวจงึ ตัดสนิ ใจเดินตามเข้าไปในวัดแบบเนยี นๆ พรอ้ ม
กลมุ่ คนมุสลมิ กลุ่มหน่งึ
เม่ือเข้าสู่ตัววัด สิ่งแรกท่ีเห็นคือซุ้มอาหารพ้ืนบ้านท้ังของชาวพุทธและมุสลิมเรียงราย
รอแจกจา่ ยใหช้ าวบา้ นกวา่ รอ้ ยเตน็ ท์ อารฟี นี หนั ซา้ ยมองขวาหาเพอื่ นๆ ทกุ คนยนื อยหู่ นา้ เวทกี ลาง
เขาจึงรีบเดนิ เบยี ดฝูงชนเขา้ ไป
คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๑๒

“อ้าว! อารีฟีน หายไปไหนมา” ยากีถาม เขาไมท่ ันไดต้ อบค�ำถามยากเี พราะสิ่งท่เี ห็น
อย่เู บอ้ื งหน้าบนเวทคี อื โตะ๊ อิหม่ามชดุ ขาวก�ำลังมอบของขวัญให้กับพระท่านเจา้ คุณ หรือ พระ
เทพศลี วสิ ทุ ธ์ิ เจา้ อาวาสวดั ประชุมชลธารา และสวมกอดกันดว้ ยความรกั ทว่าสง่ิ ทเี่ หน็ นน้ั ยงั ไม่
ทลายความไม่เข้าใจ เขาจงึ ย้ำ� ถามยากอี ีกคร้ัง
“นายพาเรามาทีน่ ีท่ ำ� ไม?”
ยากียิ้มและเอามือโอบไหล่อารีฟีนพร้อมค�ำอธิบาย “ใจเย็นๆ นะ ไม่ใช่อย่างท่ีนาย
คดิ นะ คนสไุ หงปาดที ี่นเ่ี ขารักกันฉันพนี่ ้อง งานนี้กเ็ ปน็ งานรวมตัวกันของคนในชุมชน และ
บรรดาลกู ศษิ ยล์ กู หาท่ีเคารพนบั ถอื ท่านเจ้าคณุ มนั ไม่ได้มีพิธีกรรมอะไรเลย มีแต่การพบปะ
แลกเปลย่ี นแบง่ ปนั และแสดงความรกั ซง่ึ กนั เทา่ นนั้ เอง ทา่ นเจา้ คณุ เหมอื นโซก่ ลางทคี่ ลอ้ งใจ
คนทุกศาสนา ชอบชว่ ยเหลือชาวบา้ น ช่วยแกป้ ัญหาให้คนในชมุ ชนในทกุ ๆ ดา้ น ทุกคนทนี่ ี่
เลยรกั ท่าน”
อารีฟนี นง่ิ ไปและมองไปรอบๆ ไมเ่ หน็ พธิ ีกรรมใดๆ ที่พนี่ อ้ งมสุ ลมิ ต้องมากราบไหวซ้ ึง่
ยอ่ มผดิ หลกั ปฏบิ ตั ขิ องผนู้ บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม เหน็ เพยี งรอยยม้ิ และการสวมกอดเมอ่ื พบเจอหรอื
ลาจากกนั

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๑๓

เสยี งปจ่ี ากเวทกี ลางดงั ขนึ้ อกี ครง้ั คราวนเี้ ปน็ การแสดงตารอี นี าจากนอ้ งๆ เยาวชนจาก
อ�ำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส เป็นหน่ึงในศลิ ปะการแสดงที่หาดไู ดย้ าก ถือเปน็ นาฏศลิ ป์ของชาว
มลายทู ม่ี มี านานกวา่ ๒๐๐ ปี นาฏลลี าแสดงความออ่ นชอ้ ยของการรา่ ยรำ� ในอดตี เปน็ การแสดง
ของชนชน้ั สงู ระดบั สลุ ตา่ น หรอื เจา้ เมอื ง หลงั ยคุ สมยั เปลย่ี นแปลง บรรดานกั แสดงเรมิ่ หาทท่ี าง
ในการแสดงใหส้ อดคลอ้ งกบั ชาวบ้านท้องถิ่นมากขน้ึ
จากนนั้ ทง้ั ๓ กเ็ ดนิ ทางไปเทย่ี วตอ่ ในสถานทต่ี า่ งๆ กนั อยา่ งสนกุ สนานและเปย่ี มลน้ ไป
ด้วยความสุข ท้ังน้ำ� ตกฉัตรวาริน อำ� เภอสุไหงปาด ี ไปลุยปา่ บาลา-ฮาลา ท่ามกลางสายหมอก
ม้วนตัวเปน็ เกลยี วคล่ืนสดุ ประทับใจกับฝงู นกเงอื ก ทอ่ี ำ� เภอแว้ง และชมวถิ ีชุมชนอีสานแดนใต้
ศกึ ษาประวตั ศิ าสตรพ์ รรคคอมมวิ นสิ ตม์ าลายา พรอ้ มสดู ความสดชน่ื จากอากาศและดอกไมเ้ มอื ง
หนาวนานาพนั ธ์ุ ผจญภยั ลอ่ งแกง่ ชมธรรมชาตปิ า่ ตน้ นำ้� สายบรุ ี ทอี่ ำ� เภอสคุ ริ นิ สะพานคอยรอ้ ยปี
ขา้ มฝง่ั ไปชมหาดทรายสวยทเี่ กาะยาว อำ� เภอตากใบ และจบทรปิ ซอ้ื ของฝากทอี่ ำ� เภอสไุ หงโก-ลก
กอ่ นขึ้นรถไฟกลบั กรุงเทพมหานคร

-๔-
อารฟี นี กลบั มาถงึ บา้ นทก่ี รงุ เทพฯ มาเลา่ ความประทบั ใจใหม้ ะ๊ (แม)่ และโตะ๊ (ยาย)ทนี่ อน
ตดิ เตยี งอยู่
“ผมรสู้ กึ ดมี ากทไ่ี ดก้ ลบั ไปเทย่ี วนราธวิ าสครงั้ นี้ ถงึ เวลาเปลย่ี นไปความรสู้ กึ ในความ
ทรงจำ� วยั เดก็ ตอนผมอยทู่ นี่ นั่ ก็ไม่ต่าง ผู้คนทีพ่ บเจอยม้ิ แย้มให้กัน หยิบย่ืนน�ำ้ ใจให้พวกเรา
ในฐานะแขกผมู้ าเยือนตลอดทาง ตอนยงั เด็กผมแทบจะจำ� อะไรเกีย่ วกับนราธวิ าสไมไ่ ดเ้ ลย
จะจำ� ไดก้ แ็ ตร่ อยยมิ้ และเสยี งหวั เราะจากความสนกุ ทมี่ มี าใหผ้ ม ผมจดจำ� คณุ ปา้ เพอ่ื นบา้ นทนี่ า่ รกั
มากดว้ ยนำ�้ ใจชอบเอาขนมและชว่ ยเลย้ี งผมตอนมะ๊ ไปจา่ ยตลาด การกลบั มาครงั้ นจี้ ึงไม่รู้สึก
ผิดหวังเลยกับเฝ้าคอยเวลาท่ีจะตอบสนองความคิดถึงเหล่านี้เพ่ือกลับไปเยือนนราธิวาส
บ้านเราอกี ครัง้ ”
“หลังจากนี้ผมเชือ่ ว่าผมจะตอ้ งกลับไปเยอื นท่นี ่นั อีกครงั้ ดว้ ยแรงความคิดถึงนราธวิ าส”

คดิ ถึง...นราธิวาส :

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๑๑๕

มนต์เสนห่ อ์ าหาร

เมนเู ด่นเมอื งนรา

กองบรรณาธิการ

มนต์เสน่ห์อาหาร
วัฒนธรรมการกินอาหารของชาว
นราธิวาส เป็นเช่นเดียวกับพื้นท่ีอื่นๆ คือมีส่วนท่ี
พอ้ งและแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะทอ้ งถนิ่ ยอ่ ย บางอยา่ ง
เกิดจากทรัพยากรในท้องถิ่นที่สืบเน่ืองมาจาก
สภาพภมู ศิ าสตร์ คติทางศาสนา อิทธพิ ลของการ
สัมพันธ์กับชนต่างประเทศ และมีหลายอย่างที่
เกดิ จากเทคนคิ วธิ ที อี่ าศยั ความสามารถเฉพาะของ
บุคคลในแต่ละท้องถิ่น คิดค้น และปรับปรุงต่อๆ
กนั มา จนเปน็ นสิ ยั การกนิ ของทอ้ งถน่ิ นน้ั เปน็ ทมี่ า
ของภาพสะท้อนถึงวิถีด�ำเนินชีวิตนานาประการ
ท้ังยังเป็นเครื่องบ่งบอกถึงระดับจิตใจ สภาพทาง
เศรษฐกจิ วธิ ีการจดั การและภูมิธรรมทางสงั คม

คดิ ถงึ ...นราธิวาส :

ชาวนราธิวาสส่วนใหญ่ นยิ มรบั ประทานอาหารที่มีรสจัด และมสี ่วนประกอบของเครื่อง
เทศนานาชนดิ เชน่ ขงิ ขา่ ขมน้ิ กระเทยี ม กระชาย พรกิ ไทย กานพลู อบเชย ดปี ลี จนั ทนเ์ ทศ ฯลฯ
และรับประทานข้าวเจ้าเป็นอาหารหลัก ข้าวเหนียวนิยมใช้ประกอบเป็นของหวาน ส่วนกับข้าว
แตล่ ะมือ้ มักมรี สจัด คือ เปรี้ยวจัด เผด็ จัด หากเปน็ แกงก็มีรสกะปเิ ข้ม และมกั มสี เี หลอื งจากขมิ้น
เช่น แกงส้ม (แกงเหลอื ง) แกงไตปลา (แกงพุงปลา) แกงกะทิ บางครัง้ มีบูดูหรอื น้ำ� พริกกะปิ แนม
ดว้ ยผักสดหรือ “ผักเหนาะ” เชน่ แตงกวา ถ่วั ฝักยาว ลกู เนียง สะตอ ผกั บุ้ง ฯลฯ ชาวไทยมุสลมิ
สมยั ก่อนประกอบอาหารด้วยวธิ ีต้ม นึง่ ย่าง เผา เน่อื งจากเครอ่ื งครวั หลายชนดิ ยังไม่แพรห่ ลาย
เช่น กระทะ นอกจากน้ี การกินขา้ วส่วนใหญ่ นิยมเปบิ ด้วยมอื น�้ำแกงนิยมยกถว้ ยรนิ ราดขา้ วแทน
ใชช้ อ้ น การจดั กบั ขา้ วเปน็ ชดุ นยิ มตกั ใสถ่ ว้ ย จดั วางลงในถาดหรอื พานทองเหลอื ง แลว้ ใชฝ้ าชคี รอบ
สว่ นภาชนะสำ� หรบั ใชป้ รงุ อาหาร เดมิ นยิ มใชห้ มอ้ ดนิ เผาและกระทะเหลก็ ตอ่ มาใชห้ มอ้ ทองเหลอื ง ขนั นำ�้
และจาน นิยมใช้จานสังกะสีเคลือบ และจานดินเผา ช้อนขนาดเล็กนิยมใช้ช้อนเคลือบและช้อน
หอย (ชอ้ นกระเบื้อง) ส่วนเครือ่ งตกั ขา้ วหรอื ตักแกงจากหม้อ นิยมใชจ้ วกั ม้ือเย็นนิยมรับประทาน
พรอ้ มกนั ทั้งครอบครัว

วัฒนธรรมการกินอยู่ของชาวนราธิวาส
สะทอ้ นวถิ ดี ำ� เนนิ ชวี ติ ทผี่ กู พนั เชงิ ภมู ศิ าสตรท์ ต่ี ง้ั หลกั
ศรัทธาความเช่ือ สภาพสถานะทางเศรษฐกิจ และ
ฤดกู าลทผ่ี นั แปร ซงึ่ สง่ ผลถงึ ลกั ษณะอาหาร ประเภท
วตั ถดุ บิ หรอื กรรมวธิ กี ารประกอบอาหารใหเ้ หมาะสม
กบั ฤดูกาลที่เปลีย่ นแปลงด้วย
อาหารในเทศกาลของชาวไทยมุสลิม เช่น
ขนมทง้ั คาวหวานนานาชนดิ ชว่ งเทศกาลถอื ศลี อด ทขี่ น้ึ ชอ่ื
เช่น ขนมอาเกาะ ขนมลาดู ขนมเปียนา ฯลฯ ข้าวต้ม
ใบกะพ้อ (ตปู ๊ะ หรอื ตูปัต) เสมือนสญั ลักษณข์ องวนั
ฮารรี ายอ นิยมทานด้วยการจ้มิ แกงเนือ้ หรือซามากงุ้
(นำ�้ พรกิ กงุ้ ) ในวนั อาซรู อ วนั ที่ ๑๐ เดอื นมฮุ รั รอม เดอื น
แรกของปฏิทินอาหรับ (ประมาณเดือนพฤศจิกายน
ของทกุ ปี) มกี ารกวนอาซรู อ (บูโบร์ซูรอ) ซงึ่ มีการนำ�
อาหารหลายอย่างมารวมกัน แล้วกวนให้เป็นเน้ือ
เดียวกันคล้ายขนมเปยี กปนู

คิดถึง...นราธวิ าส : ๑๑๗

อาหารช่วงเทศกาลส�ำคญั ของชาวไทยพทุ ธ เชน่ ประเพณชี ิงเปรตหรอื วนั สารทเดือน
๑๐ จะมกี ารจดั สำ� รบั อาหารคาวหวาน รวมถงึ การยกหมรฺ บั ไปวดั ประกอบดว้ ย ขนมพอง ขนม
ลา ขนมเบซ�ำ (ดซี �ำ) นอกจากน้มี ีผลไม้และอาหารแหง้ อนื่ ๆ ประเพณปี ระจ�ำปที ี่เรยี กวา่ ล้มซัง
หรอื ลาซงั มกี ารท�ำขนมจีนกันเองตามประเพณดี งั้ เดมิ โดย “วนั กินขนมจนี ” ชาวบ้านจะไป
ชมุ นมุ กนั แลว้ นำ� ขนมจนี ไปเลย้ี งพระ เมอื่ พระฉนั เสรจ็ แลว้ ผมู้ ารว่ มงานกจ็ ะกนิ ขนมจนี รว่ มกนั
และเพิม่ เตมิ ด้วยอาหารคาวหวานชนิดอืน่ ดว้ ย
สำ� หรบั ชาวไทยเชอื้ สายจนี เทศกาลตรษุ จนี มขี นมเขง่ (เหนยี นเกา) และอาหารเซน่ ไหว้
บรรพบรุ ุษทัง้ คาวหวาน ประกอบดว้ ย เป็ด ไก่ ปลา เน้อื ฯลฯ รวมถงึ ผลไมน้ านาชนดิ ซ่ึงล้วน
แฝงความหมายทเ่ี ปน็ สริ มิ งคล เทศกาลไหวพ้ ระจนั ทรเ์ พอื่ เฉลมิ ฉลองการเกบ็ เกยี่ วชว่ งกลางฤดู
ใบไม้ร่วง ในวนั เพ็ญเดอื น ๘ ตามปฏิทนิ จันทรคติ (ประมาณเดอื นกนั ยายนของทกุ ป)ี มกี ารทำ�
ขนมไหว้พระจันทร์ สณั ฐานกลมคล้ายขนมเคก้ ท�ำจากแปง้ ประกอบดว้ ยไสต้ า่ งๆ เปน็ ธญั พชื
ใชเ้ ซน่ ไหว้และรับประทานกันจนเปน็ เอกลักษณ์สำ� หรบั เทศกาลนี้
อาหารท่นี ิยมกันอยา่ งกว้างขวาง ได้แก่ ข้าวยำ� แกงพงุ ปลา บดู ู จง้ิ จงั ผักสดท่นี ยิ มกนั
แพร่หลาย ไดแ้ ก่ ลกู เนยี งสด สะตอสด ยอดมะมว่ งหิมพานต์ ผลไมท้ ีน่ ิยมกนั มาก ไดแ้ ก่ ทุเรยี น
มงั คดุ ลางสาด ลองกอง ลกู จำ� ปาดะ มะมดุ สกุ ละมดุ ขนมหวานพนื้ เมอื ง ไดแ้ ก่ ขนมโค ลอดชอ่ ง
นำ้� กะทิ ขนมปลากรมิ ทุเรียนกวน กะละแม ฯลฯ ผลไม้ทมี่ ักนำ� มาประกอบเปน็ ขนมหรือเครือ่ ง
ขบเคยี้ วเลน่ จนเป็นท่ีรจู้ ักกนั แพรห่ ลาย คือ ลกู หยี เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ และทเุ รยี นกวน
อาหารแบบชาวไทยมสุ ลมิ ทน่ี ยิ มกนั มาก คอื บดู ู ไกก่ อและ ขา้ วเหนยี วผสมขา้ วเจา้ ราด
ด้วยแกงไก่หรือ “นาซิดาแฆ” ข้าวย�ำ ขนมหวาน กะละแม ของหวานเกือบทุกชนิด นิยมใช้
ข้าวเหนียว มะพร้าว นำ�้ ตาล และแป้ง เปน็ หลัก อย่างไรกต็ าม เป็นทีน่ ่าสังเกตว่า วัฒนธรรม
การกินของชาวไทยมุสลิม เม่ือแกงไม่นิยมใช้ผักผสม ไม่ค่อยนิยมกินผักดิบๆ แต่นิยมเผาหรือ
ตม้ กนิ เช่น มะเขอื พวง ถ่วั ฝักยาว หวั ปลี ถวั่ พู ทใ่ี ชเ้ ป็นผกั ดิบ เช่น ยอดมะม่วงหิมพานต์ บวั บก
ผลอ่อนกลว้ ยตานที ห่ี ่นั บางๆ นยิ มจ้มิ กบั น้�ำบดู ู เปน็ ต้น

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

เมนูเดน่ เมืองนรา
จังหวัดนราธิวาส มีสารพัดเมนูอาหารเด็ดๆ
ใครไดล้ มิ้ ลองแลว้ จะตดิ ใจไปนาน
นาซดิ าแฆ หรือ นาซิดาฆงั
เรียกเป็นภาษาไทยให้ใกล้เคียงว่า “ข้าวมัน
แกงไก่” เป็นอาหารที่ชาวชาวมุสลิมปักษ์ใต้นิยมรับ
ประทาน โดยเฉพาะมื้อเชา้ ประกอบดว้ ย ข้าวมนั ซึง่
ใช้ข้าวเจ้าและข้าวเหนียวหุงให้สุกแล้วน�ำมามูนกะทิ
คลกุ เคลา้ กบั เครอ่ื งเทศ ขงิ หอมแดงซอย รบั ประทาน
กับแกงไก่หรือแกงปลาโอ และไขต่ ม้ โดยหน้าด้วยซา
มาโญ (มะพร้าวค่ัวต�ำกับน�้ำตาลและเกลือ) รสชาติ
อร่อย หอมกลน่ิ กะทิและเคร่ืองเทศ
ข้าวหมกไก่
ลักษณะเป็นข้าวมันสีเหลือง มีเครื่องปรุง
ผสม เคร่อื งเทศ เนย ผงขมนิ้ ลกู ผกั ชปี น่ ย่หี ร่าป่น
อบเชยปน่ ใบกระวาน โดยหงุ ขา้ วพรอ้ มเครอ่ื งปรงุ ให้
สุกก็เป็นอันเสร็จ กินกับผักกาดหอมหรือผักอ่ืนตาม
ตอ้ งการ พรอ้ มน�้ำจ้มิ อยา่ งง่ายๆ และมกี ารดดั แปลง
เปน็ เนือ้ วัว เน้ือแพะ อีกด้วย

คิดถึง...นราธวิ าส :

ไกก่ อและ หรอื ไก่ฆอและ
อาหารด้ังเดิมของถ่ินมลายู จุดเด่นอยู่ท่ี
รสชาตขิ องนำ�้ กะทปิ รงุ รสซง่ึ ใชร้ าดบนไกข่ ณะยา่ ง กบั
ความน่มุ นวลของเน้ือไก่ รับประทานคู่กับข้าวเหนียว
หอ่ ใบกะพอ้ (ตปู ะ) ข้าวหลาม (ปโู ล๊ะลอื แมะ) ค�ำวา่
Golek (ฆอและ) ในภาษามาลายู แปลว่า กลิง้ ในท่ี
นี้ก็น่าจะหมายถึง การย่างท่ีต้องคอยพลิกกลับไปมา
นอกจากจะใช้ไก่ท�ำแล้ว ยังสามารถใช้เนื้อสัตว์อ่ืนๆ
ท�ำได้ ถ้าใช้หอยแครงสดท�ำ เรียกว่า กือเปาะห์
ฆอและ ใชป้ ลาเรยี กวา่ อแี กฆอและ ถา้ ใชเ้ นอื้ ทำ� เรยี ก
ว่า ดาฆิงฆอและ

ข้าวย�ำใบพนั สมอ
อาหารท้องถิ่นยอดนิยมของชาวปักษ์ใต้
ประกอบดว้ ยขา้ วทห่ี งุ คอ่ นขา้ งแขง็ พรอ้ มกบั นำ�้ ใบพนั
สมอซ่งึ เป็นพืชพนื้ ถิน่ เวลาจะรับประทาน นำ� นำ้� บดู ู
ราดขา้ วพอเหมาะ ใส่เครือ่ งเคียงต่างๆ อาทิ มะพรา้ ว
ค่วั กุ้งแหง้ ปน่ พริกแหง้ คัว่ ปน่ พร้อมผักหลายชนดิ
ได้แก่ สะตอหั่นฝอย ถ่ัวงอก ถั่วฝักยาวห่ันฝอย
แตงกวา ตะไคร้หน่ั ฝอย ใบชะพลูหัน่ ฝอย สม้ โอเอา
มาฉกี เปน็ ชนิ้ เลก็ ๆ อาจใสข่ า้ วตงั ทอดหรอื เสน้ หมที่ อด
เข้าไปด้วย
ละแซ หรือ ละซอ
อาหารพื้นถ่ินของ ๓ จังหวัดชายแดนภาค
ใต้ ลักษณะคล้ายขนมจีน แต่ใช้เส้นแบนยาวคล้าย
กว๋ ยเตย๋ี วเสน้ ใหญ่ กว้างประมาณ ๑ เซนตเิ มตร มว้ น
ตัดเป็นทอ่ นๆ พอคำ� ราดด้วยน้�ำแกงขน้ ๆ สีขาวนวล
ทำ� จากเนอ้ื ปลา รบั ประทานเคยี งกบั ผกั สดชนดิ ตา่ งๆ
ทน่ี ยิ ม ไดแ้ ก่ หวั ปลี ถว่ั งอก ดอกกาหลา ใบจนั ทนห์ อม
ถัว่ ฝักยาว แตงกวา ยอดมะม่วงหมิ พานต์

คิดถึง...นราธวิ าส : ๑๒๐

นาซิกาเป๊ะ หรอื นาซิตเี นะ
หากจะเรียกแบบไทยๆ กค็ อื ข้าวอัด น่นั เอง
นิยมทานเปน็ อาหารเช้ากับสมนั (ซามา) หรอื สะเต๊ะ
วิธที �ำกง็ า่ ยๆ คือ หุงข้าวธรรมดาใหค้ ่อนขา้ งแฉะ พอ
ข้าวสุกท่ัวเทใส่ภาชนะที่รองดว้ ยใบตอง ปดิ หนา้ ขา้ ง
บนด้วยใบตองอีกที แล้วหาของหนกั ทบั ไว้ ๑ คืน น�ำ
เอาขา้ วอัดมาตัดเปน็ ชิน้ สี่เหลย่ี ม บางคนอาจห่อเป็น
สามเหลีย่ มแล้วน�ำไปต้มใหส้ ุกกไ็ ด้
ปูโล๊ะปาฆี
ข้าวเหนียวกวนกับน�้ำตาลแว่น ใส่กานพลู
มีสีน้�ำตาลอ่อนๆ รสหวาน กลิ่นหอม โรยหน้าด้วย
มะพรา้ วขดู ฝอย รับประทานกบั ปลาทอด
รอเยาะ
อาหารน้ีบางทีก็เรียก “เต้าค่ัว” (ออกเสียง
วา่ ท่าวค้ัว) ลักษณะท่จี ังหวดั ชายแดนภาคใต้ คือ มี
น้ำ� ราดข้นๆ อาหารชนิดนีม้ ีลกั ษณะคลา้ ยยำ� สลดั คือ
มีผกั บงุ้ หนั่ ลวก ถัว่ งอกลวก แตงกวาหั่น เส้นหมีล่ วก
ไข่ต้ม กุ้งทอด เต้าหู้ทอด ทานกับน้�ำราดหวานและ
พรกิ น้�ำสม้ รสหวาน เค็ม และเปรย้ี ว ถ้าแบบอสิ ลาม
กจ็ ะท�ำน้ำ� ราดแบบขน้ ใสถ่ ั่วปน่ และมันบดลงไปดว้ ย
คล้ายสลัดแขก

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๒๑

แกงสม้ (แกงเหลอื ง)
เป็นแกงพ้ืนเมอื งท่นี ิยมแพร่หลายมาก มรี สเปรย้ี ว สว่ นประกอบส�ำคญั คอื เนอ้ื ปลา
นำ้� จืดหรือปลาน้ำ� เค็มบางชนิด เช่น ปลาแขยง ปลาดกุ ปลาหมอ ปลากระบอก ฯลฯ นิยมใส่
พชื ผกั และผลไมใ้ นแกงสม้ ดว้ ย เชน่ หยวกกลว้ ย แตงกวา่ ถวั่ ฝกั ยาว มะเขอื หนอ่ ไมด้ อง ดอกแค
ผักกระเฉด สายบวั เปลอื กแตงโม ฯลฯ
แกงไตปลา
อาหารเลศิ รสชนดิ หนงึ่ ของคนใต้ บางครงั้ นยิ มเรยี กวา่ แกงพงุ ปลา นบั เปน็ การถนอม
อาหารวิธหี นงึ่ ด้วยวธิ หี มกั ดอง โดยใชส้ ่วนของพงุ หรอื กระเพาะปลาอย่าง ปลาทู ปลาลัง ทาง
ภาคกลางอาจใชป้ ลาดกุ ปลาช่อน ได้ดว้ ย แตไ่ ทยมุสลิมนิยมใชป้ ลาทะเล ไม่นิยมปลาน้�ำจืด
เรียกวา่ ‘ปอื โระอแี ก’ นิยมนำ� มาท�ำแกงหรอื ฆูลา มีท้ังแบบใส่กะทิและไม่ใสก่ ะทิ นอกจากน้ี
ยังมแี บบใส่ผักและไม่ใส่ผัก นิยมรับประทานกบั ละซอหรอื ขนมจนี
ปลากเุ ลาเค็ม
ชาวประมงในจงั หวดั นราธวิ าสนยิ มนำ� อาหารทไ่ี ดจ้ ากทะเลมาปรบั ปรงุ ดดั แปลง หรอื
ถนอมไว้ในรูปตา่ งๆ เช่น ปลาเค็ม กะปิ บูดู เปน็ ตน้ บรรดาปลาเค็มท่ีทำ� กันมาทีข่ ึ้นชอื่ และมี
ราคาแพงมากสุดคือ “ปลากุเลาเค็มตากใบ” จากแม่น�้ำตากใบ ว่ากันว่ามีคุณลักษณะพิเศษ
ของเนอ้ื ปลา นำ� มาผา่ นกรรมวธิ กี ารทำ� ทไี่ มซ่ บั ซอ้ นมากนกั ขนึ้ อยกู่ บั เทคนคิ ของผคู้ า้ แตล่ ะราย
เปน็ อาหารขนึ้ โตะ๊ รบั รองแขกสำ� คญั หรอื เปน็ ของฝาก กระทงั่ มคี ำ� เปรยี บเปรยวา่ “ราชาแหง่ ปลา
คนซ้อื ไมไ่ ดก้ นิ คนกินไม่ไดซ้ ้อื ”
นำ�้ พรกิ และบูดู
นำ�้ พรกิ กะปริ สเขม้ ขน้ เครอื่ งปรงุ แตกตา่ งไมม่ สี ตู รเฉพาะตวั ตามแตจ่ ะปรงุ รส สว่ นนำ�้
บดู ู ผลิตภัณฑแ์ ปรรูปจากปลาไส้ตันหมกั เกลือ ผสมนำ�้ ตาลโตนดหรือนำ้� ตาลมะพรา้ วด้วยเลก็
นอ้ ย เปน็ ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นเพอ่ื เกบ็ รกั ษาทรพั ยากรซง่ึ เปน็ วตั ถดุ บิ ในทอ้ งถน่ิ ใหส้ ามารถบรโิ ภค
ได้ยาวนาน น�ำบูดูมาคลุกกับข้าวสุกเปล่าๆ กินได้เลย หรือน�ำมาปรุงใส่เคร่ือง เช่น ตะไคร้
ใบมะกรูด ข่า หอม พริก น้�ำตาล กุ้งแห้ง มันกุ้ง ผักสด น้�ำมะนาว ฯลฯ ท้ังน�้ำพริกและบูดู
มีผกั เหนาะหรอื ผกั แกล้มพ้ืนบ้าน จำ� พวกลกู สะตอ ลกู เนยี ง ลกู เหรยี ง แตงกวา ถว่ั ผักต่างๆ
ต่ิมซำ�
เมนยู อดฮติ สำ� หรบั คนไทยเชอ้ื สายจีน และคนทั่วไป โดยมากนยิ มกนั เปน็ อาหารเช้า
กับชาร้อนๆ มที ั้งขนมจบี หรอื เซียโบ๋ย ฮะเกา๋ หรอื เกาจี๋ เผอื กทอด ลกู ชิ้นปลา หรอื อว๋ น ตีนไก่
กระดูกหมูตุน๋ ยาจีนหรือบะกดุ๊ เต๋ กินกบั น้�ำจมิ้ หวานหรอื เตเจ่ียว พร้อมผกั สด

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๑๒๒

บักกุ๊ดเต๋
แปลตามตวั วา่ “กระดกู หมแู ละนำ้� ชา” ประกอบดว้ ยซโี่ ครงหมอู อ่ นตนุ๋ ในนำ�้ ตม้ สมนุ ไพร
และเคร่ืองเทศ ไดแ้ ก่ โป๊ยกั้ก อบเชย กานพลู ตงั กุย เมล็ดยห่ี ร่า และกระเทยี ม เป็นเวลาหลาย
ชวั่ โมง อาจมสี ว่ นประกอบอน่ื เพม่ิ เตมิ อยา่ งเครอื่ งในสตั ว์ เหด็ ชนดิ ตา่ งๆ ผกั กาด เตา้ หแู้ หง้ หรอื
เต้าหู้ทอด และมีสมุนไพรจีนอื่นที่ท�ำให้น�้ำแกงมีรสหวานและเข้มข้นขึ้นเล็กน้อย ระหว่างปรุง
จะเตมิ ซอี ิ๊วขาวและด�ำลงในน้�ำแกง มผี ักชีสับหรือหอมเจียวเป็นเครอ่ื งตกแตง่
ขาหมูยัดไส้
อาหารยอดนิยมของคนไทยเชื้อสายจีน กรรมวิธีเริ่มจากเลือกขาหมูคุณภาพดีมาขูด
หนงั ลา้ งใหส้ ะอาด ใชม้ ดี ปลายแหลมควา้ นเนอ้ื เลาะกระดกู ออก นำ� หมเู นอื้ สนั ตดิ มนั บดหรอื สบั
ใหล้ ะเอยี ด ผสมเครือ่ งเทศ เหด็ หอมหน่ั เห็ดหหู นหู ั่น หนงั หมูหน่ั ปรงุ รสด้วยน้�ำตาล นำ้� ปลา
ซอสปรงุ รส คลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั แลว้ นำ� ไปยดั ใสล่ งในขาหมทู เ่ี ตรยี มไว้ ใชด้ า้ ยเยบ็ หนงั ใหป้ ดิ สนทิ
กอ่ นจะนำ� ไปนงึ่ สกุ แลว้ ยกลงทงิ้ ไวใ้ หเ้ ยน็ นำ� ไปเกบ็ ไวใ้ นตเู้ ยน็ เมอื่ จะรบั ประทานนำ� มาหนั่ สไลด์
ตามขวางเป็นช้นิ บางๆ รับประทานคู่กับน�้ำจิม้ ซฟี ู้ดรสเดด็ และผักสด

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๒๓

กอื บงกตี อ...สวนของเรา
ที่สุไหงปาดี

อรรณพ เจ๊ะสโุ หลง

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

ไสว รัตนวงศ์ หรือ “ลุงไหว” คือเกษตรกรตัวอย่าง เคยเป็น
ข้าราชการเก่าในฐานะ “เกษตรอ�ำเภอ” หลายแห่ง โดยเฉพาะคร้ังอยู่
ตันหยงมสั อำ� เภอระแงะ จงั หวดั นราธวิ าส แหลง่ ลองกองลอื ชอ่ื เขาได้จดุ
ประกายการกอ่ ตงั้ “ตลาดกลางลองกองตนั หยงมสั ” เพอื่ เปน็ พนื้ ทก่ี ลางในการ
ทำ� ธรุ กจิ ระหวา่ งชาวสวนลองกองกบั ผซู้ อ้ื นอกจากนยี้ งั รเิ รม่ิ นำ� “สละอนิ โดฯ”
มาปลูกแซมในสวนยางพารา จนเปน็ ทนี่ ยิ มกันทัว่
คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๒๖

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๑๒๗

นอกจากเป็นข้าราชการแล้ว โดยส่วน
ตัว ลุงไหวยังชมชอบการท�ำสวนเกษตรด้วยตัว
เอง มีสวนผลไมช้ ้ันดอี ยูบ่ ริเวณเส้นทางสุไหงปาดี
- โผลง เขตพ้ืนท่ีบา้ นโผลง ต�ำบลโต๊ะเดง็ อำ� เภอ
สุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส เพราะได้น�ำความรู้
ทฤษฎี ประสบการณ์ต่างๆ ด้านการเกษตร มา
ปฏบิ ตั จิ รงิ ถงึ ขนั้ เขยี นตำ� ราการปลกู ลองกองและ
สละอนิ โดฯ จำ� หนา่ ย สวนผลไมเ้ กษตรไสว จงึ เตม็
ไปด้วยต้นลองกองท่ีมีคุณภาพสูง ให้ผลผลิตที่ดี
รวมถึงผลไมอ้ น่ื ๆ ทง้ั ทเุ รียน มังคุด สละอินโดฯ
กลว้ ยหอม และพชื ผักสวนครวั อีกมากมาย

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๑๒๘

สง่ิ ทน่ี า่ สนใจอยา่ งหนง่ี คอื การทล่ี งุ ไหวมแี นวคดิ ใหมๆ่ ผสมผสาน
ระหวา่ งปรชั ญากบั ชวี ติ จรงิ เชน่ เกษตรกรคนอนื่ อาจมองวา่ หญา้ คอื วชั พชื
แตแ่ กกลับปลูกผลไมโ้ ดยใหม้ วี ชั พชื คลุมดนิ “เพ่ือให้หญา้ เกบ็ ความชุ่มช้ืน
รักษาหน้าดินให้อุดมสมบูรณ์” แกให้เหตุผลเช่นน้ี สวนผลไม้เกษตรไสว
จึงร่มครึ้มสมบูรณ์ ให้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ และท่ีส�ำคัญ คือการให้ความ
สำ� คญั กบั “ทรัพยากรมนษุ ย์” โดยไม่เลอื กเชือ้ ชาติ ศาสนา สวนเกษตรกร
ไสวจึงมีชาวบ้านในชุมชนทั้งพุทธและมุสลิมมาช่วยกันดูแลให้ เม่ือถึงครา
มีผลผลิต ต่างชว่ ยกันทำ� งาน มีรายไดแ้ บ่งปันกัน

คิดถึง...นราธิวาส : ๑๒๙

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

ขมุ ทรพั ยท์ ะเลใต้ :
เกาะโลซนิ -เญอราปี

กองบรรณาธกิ าร ภาพ : http://www.saveoursea.net, ปราณชลี

แทบไม่น่าเช่ือว่า หลงั จากไดฟ้ ังข่าวคราวเกี่ยวกบั ฝูงโลมาบรเิ วณทะเล
รอยตอ่ จังหวัดนราธวิ าส-ปตั ตานี มานานเน่ิน ฝูงปลาโลมาในต�ำนาน

กไ็ ดป้ รากฏตวั ด่งั ภาพฝนั เบอื้ งหน้า ณ บัดนแี้ ลว้

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

เขาและเธอวา่ ยนำ้� อยา่ งเรงิ รา่ ผลบุ โผลเ่ ปน็ ระยะๆ คขู่ นานไปกบั เรอื ประมงทคี่ ณะเราโดยสารอยู่
เพอ่ื ตดิ ตามการทำ� งานของ “ชมรมดำ� นำ�้ สมหิ ลา” นกั ดำ� นำ�้ จติ อาสา รว่ มกบั ศนู ยอ์ นรุ กั ษท์ รพั ยากรทาง
ทะเลและชายฝง่ั ท่ี ๔ กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
ด�ำเนนิ กจิ กรรม “ท�ำความสะอาดบา้ นปลา” โดยการดำ� น�ำ้ เก็บขยะในแนวปะการังเทยี ม ต.แหลมโพธ์ิ
อ.ยะหรง่ิ จ.ปัตตานี
แรกพบกันด้วยยินดี เราต่างทักทายกันด้วยความฝันและสนทนากันผ่านจินตนาการระหว่าง
ขอบฟา้ กบั ผืนน�้ำ

แท้แล้ว ฝูงโลมาท่ไี ดพ้ บเหน็ นบั เป็นเพยี งเศษ
เส้ียวของเรื่องราวที่ประกอบกันเป็น “ขุมทรัพย์ทะเล
ใต้” ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์เป็นย่ิง และท่ีส�ำคัญ น้อย
คนจะทราบวา่ รอยตอ่ ระหวา่ งนำ�้ -ฟา้ ของจงั หวดั สงขลา
ปตั ตานี และนราธิวาส มเี กาะสำ� คัญเลก็ ๆ อยู่ ๒ เกาะ
ถูกขึ้นทะเบียนตามกฎหมายระหว่างประเทศ ในฐานะ
ทเ่ี ปน็ เกาะที่ “เลก็ ทส่ี ดุ ” ในประเทศ ซงึ่ แมจ้ ะเปน็ ผนื ดนิ
เลก็ ๆ กลางเวงิ้ นำ�้ กวา้ งใหญ่ แตล่ กึ ไปในความเปน็ “เกาะ
โลซนิ ” หรอื กองหนิ โสโครกทเ่ี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การเดนิ เรอื
กระทงั่ ทหารเรอื ตอ้ งไปสรา้ งกระโจมไฟคอยสอ่ งไฟน�ำทาง
ส�ำหรับชาวเรือยามค�่ำคืน กลับเก็บง�ำเร่ืองราวหลาย
หลากชวนตดิ ตาม เชน่ เดยี วกบั ตำ� นานของเกาะทม่ี นี าม
ว่า “ปลู าเญอราป”ี
คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๓๒

Losin Island : ตำ� นานเกาะมหศั จรรยแ์ หง่ ทอ้ งทะเลใต้
บนจดุ ตดั ระหวา่ งเสน้ รงุ้ ท่ี ๗ องศา ๑๙ ลปิ ดาเหนอื และเสน้ แวงท่ี ๑๐๑ องศา ๕๙ ลปิ ดาตะวนั ออก
ในนา่ นนำ้� ปตั ตานี อาจกลา่ วไดว้ า่ “เกาะโลซนิ ” (Losin Island) เปน็ เพยี งกองหนิ กลางทะเลเวงิ้ วา้ งกลางอา่ ว
ไทย มพี นื้ ดนิ ทโ่ี ผลพ่ น้ นำ้� ขน้ึ มาไมเ่ กนิ ๑๐๐ ตารางเมตร ไมม่ ตี น้ ไม้ ไมม่ ใี บหญา้ ไมม่ สี ตั วใ์ ดๆ อยอู่ าศยั
อยา่ งไรกต็ าม ตำ� นานเกาะมหศั จรรยแ์ หง่ ทอ้ งทะเลใตแ้ หง่ นน้ี า่ อศั จรรยใ์ จยงิ่ นกั !!
นบั ตงั้ แตท่ ต่ี ง้ั เกาะซง่ึ ในเอกสารตา่ งๆ ใหข้ อ้ มลู ไมค่ อ่ ยตรงกนั เชน่ กองทพั เรอื บอกวา่ ทตี่ ง้ั เกาะอยู่
ในพน้ื ท่ีจังหวัดสงขลา ภายใต้ความดูแลของทัพเรือสงขลา แต่จังหวัดปตั ตานีกบ็ อกวา่ อยู่ในพ้นื ทน่ี า่ น
นำ้� ของตน ขณะทท่ี ต่ี ง้ั เกาะอยใู่ กลน้ ราธวิ าสมากทสี่ ดุ โดยอยหู่ า่ งจากชายฝง่ั อ.เมอื ง จ.นราธวิ าส ทางทศิ ตะวนั ออก
ระยะทาง ๑๐๖ กโิ ลเมตร
มผี เู้ขยี นอรรถาธบิ ายภาพของเกาะเลก็ ๆ แหง่ นวี้ า่ “หากแลน่ เรอื ออกไป เกาะโลซนิ มองเผนิ ๆ เหมอื น
กบั สง่ิ แปลกปลอมทผ่ี ดุ เหนอื นำ้� อนั เวง้ิ วา้ ง ไมม่ มี นษุ ยอ์ าศยั และมเี พยี งประภาคารคอยสอ่ งไฟนำ� ทางสขี าว
สำ� หรบั ชาวประมงและเรอื ทะเลยามคำ่� คนื เทา่ นนั้ เกาะโลซนิ แหง่ นอ้ี าจไมเ่ คยเปน็ ทร่ี จู้ กั ของคนทว่ั ไป ยกเวน้
ชาวเรอื ชาวประมง ทอี่ าศยั โลซนิ เปน็ แหลง่ หาปลาหรอื เปน็ หมายสำ� หรบั การเดนิ ทาง ตอ่ มาโลซนิ เปน็ ทรี่ จู้ กั
ของผคู้ นมากขนึ้ และไดก้ ลายเปน็ จดุ หมายปลายทางของนกั ดำ� นำ้� ทรี่ กั หลงใหลในโลกใตท้ ะเลเปน็ จำ� นวนมาก”
จากกองหนิ เลก็ ๆ ทโี่ ผลย่ อดเลก็ นอ้ ยขน้ึ มาเหนอื นำ้� ซงึ่ แทบไมม่ คี วามโดดเดน่ ใดๆ หากทวา่ ลกึ ลงไป
ในโลกใตน้ ำ�้ บรเิ วณนี้ กลบั เตม็ ไปดว้ ยเรอื่ งราวชวนพศิ วง เพราะ ณ สถานทแี่ หง่ นี้ คอื โลกใตน้ ำ้� แสนมหศั จรรย์
ตดิ อนั ดบั แหลง่ ดำ� นำ�้ ของประเทศไทย ถกู เรยี กขานกนั ในนามวา่ ‘กองหนิ โลซนิ ’ อนั เปรยี บเสมอื นภเู ขาหนิ ใต้
นำ�้ กลางทะเลลกึ ลกู ใหญแ่ หง่ หนงึ่
เลา่ กนั วา่ “ชมรมดำ� นำ้� กภู้ ยั ปตั ตาน”ี นา่ จะเปน็ คนกลมุ่ แรกๆ ทไี่ ดท้ ดลองลอ่ งเรอื มาดำ� นำ�้ สำ� รวจ
พนื้ ทแ่ี ถบนี้ กอ่ นทโี่ ลซนิ จะไดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ แหลง่ ดำ� นำ้� นานาชาตทิ อ่ี ยใู่ นแนวนำ�้ ลกึ เปน็ ทะเลลกึ ทม่ี ี
ความลกึ และลาดชนั มากกวา่ ๒๐๐ ฟตุ ขนึ้ ไป ลกั ษณะนำ�้ ทะเลคอ่ นขา้ งใส สามารถเดนิ ทางไปไดจ้ าก ๓ จดุ
คอื จากทา่ เรอื ปตั ตานี หรอื จากชายหาดบา้ นละเวง อ.ไมแ้ กน่ จ.ปตั ตานี ทา่ เรอื บรเิ วณปากแมน่ ำ้� บางนรา
ด้านหลังร้าน “องั้ มอ้ ” รา้ นขา้ วตม้ ชอ่ื ดงั ในตวั เมอื งนราธวิ าส และจากทา่ เรอื สงขลา ซงึ่ ตอ้ งใชเ้ วลาแลน่ เรอื
ประมาณ ๘ ชวั่ โมง
“นพ” หรอื มานพ สกลุ จนี หนมุ่ ชาวนราธวิ าสผชู้ มชอบการดำ� นำ�้ ดปู ะการงั และเคยไปดำ� นำ�้ บรเิ วณ
นหี้ ลายครงั้ เลา่ วา่ พน้ื ทบ่ี รเิ วณกองหนิ โลซนิ เตม็ ไปดว้ ยปะการงั แขง็ ชนดิ ตา่ งๆ เนอ่ื งจากเปน็ ดงปะการงั ขนาด
มหมึ าในพน้ื ทมี่ ากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ ตารางเมตร มที ง้ั ปะการงั โขดหนิ ปะการงั สมอง ปะการงั แผน่ ปะการงั
ออ่ นสนี ำ�้ ตาล แสท้ ะเล ฯลฯ นอกจากนยี้ งั มสี ตั วน์ ำ�้ หลากหลายชนดิ ไมว่ า่ จะเปน็ ฝงู ปลากะมง ปลากะพงขาว
ปลาคา้ งคาว ปลาขา้ งเหลอื ง ปลาสาก ปลาเตก็ เลง้ ปลาเกา๋ ปลาโนรี ปลาผเี สอ้ื ปลาสนิ สมทุ ร ปลาหชู า้ ง ปลา
การต์ นู และดอกไมท้ ะเล กระเบนตวั โต โรนนั เตา่ และฝงู ฉลามวาฬ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ “แมนตา้ เรย”์ หรอื
“กระเบนราห”ู ตวั โตแสนสงา่ งามทหี่ าพบไดย้ ากยง่ิ แตก่ ลบั เวยี นวา่ ยอยใู่ นโลกใตน้ ำ้� แถบนคี้ ขู่ นานไปกบั ซาก
ปรกั พงั ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละขมุ ทรพั ยใ์ ตท้ อ้ งทะลกึ

คิดถงึ ...นราธวิ าส : ๑๓๓

ขมุ ทรพั ยก์ า๊ ซธรรมชาติ + สสุ านเรอื โบราณ
นอกจากเหลา่ ปะการงั และสารพดั สตั วท์ ะเลแลว้ รำ�่ ลอื กนั วา่ พนื้ ทแ่ี ถบทต่ี ง้ั เกาะโลซนิ เกยี่ วพนั กบั
โครงการมลู คา่ หลายแสนลา้ นบาทวา่ ดว้ ยเรอื่ งการ “สมั ปทานกา๊ ซกลางอา่ วไทย” ตามโครงการพน้ื ทพ่ี ฒั นา
รว่ มไทย-มาเลเซยี (เจดเี อ) ซง่ึ มพี น้ื ทคี่ รอบคลมุ มากกวา่ ๗,๐๐๐ ตารางกโิ ลเมตร และมแี หลง่ สำ� รองกา๊ ซถงึ
๕ ลา้ นลา้ นลกู บาศกฟ์ ตุ หรอื เทา่ กบั ๕๐ เปอรเ์ ซน็ ตข์ องแหลง่ กา๊ ซทม่ี อี ยขู่ องไทยทง้ั หมด กลายเปน็ โครงการ
สำ� รวจสมั ปทานกลางทะเล โครงการสรา้ งทอ่ สง่ กา๊ ซหรอื โรงแยกกา๊ ซในปจั จบุ นั
โครงการทค่ี รง้ั หนง่ึ เกอื บจะสรา้ งปญั หาตอ่ กนั ในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศเพอื่ นบา้ น แตท่ า้ ย
ทสี่ ดุ ไดข้ อ้ สรปุ ดว้ ยการใชพ้ กิ ดั ทตี่ ง้ั ของเกาะโลซนิ เปน็ หมดุ หมายเพอื่ ยตุ ปิ ญั หา และนำ� ไปสคู่ วามรว่ มมอื กนั
ระหวา่ งไทย-มาเลเซยี ในกาลตอ่ มา
จดุ นา่ สนใจอกี ประการหนงึ่ ของเกาะโลซนิ คอื การสำ� รวจพบเรอื ดำ� นำ้� สมยั สงครามโลกครงั้ ที่ ๒ ท่ี
อบั ปางลงบรเิ วณนี้โดยมกี ารรายงานขา่ วจาก“ศนู ยข์ า่ วศรรี าชา”ตง้ั แตป่ ี๒๕๔๙วา่ หลงั จากทเ่ี รอื รบของกอง
กำ� ลงั ฝกึ ของทหารอเมรกิ า ชอื่ USS SALVOR (ARS-52) ทไ่ี ดเ้ ดนิ ทางมาในประเทศไทยเพอื่ ทำ� การฝกึ รว่ ม การตั
๒๐๐๖ กบั กองทพั เรอื ไทย กองทพั เรอื ไดม้ อบหมายใหก้ องเรอื ฟรเิ กตท่ี ๒ กองเรอื ยทุ ธการ โดย พลเรอื ตรี
สรุ ศกั ดิ์ หรนุ่ เรงิ รมย์ ผบู้ ญั ชาการกองเรอื ฟรเิ กตที่ ๒ เปน็ เจา้ ภาพการฝกึ ซงึ่ กอ่ นเปดิ การฝกึ และขณะเดนิ ทาง
เขา้ ประเทศไทย ไดแ้ วะปฏบิ ตั กิ ารคน้ หาเรอื ดำ� นำ้� ชอื่ “ยเู อสเอส ลาการโ์ ต” USS LAGRARTO (SS-371) โดย
กองทพั เรอื ไดส้ ง่ั การให้ เรอื เอก สมภพ ราศรี นายทหารปฏบิ ตั กิ ารใตน้ ำ้� ประสานการปฏบิ ตั จิ ากกรมสรรพาวธุ
ทหารเรอื เดนิ ทางรว่ มกบั เรอื สงั เกตการณป์ ฏบิ ตั ดิ งั กลา่ ว
เปา้ หมายเรอื ลำ� ดงั กลา่ วจมอยใู่ นพกิ ดั หา่ งจากจงั หวดั สงขลาประมาณ ๑๐๐ ไมลท์ ะเล พกิ ดั ละตจิ ดู
ที่ ๗ องศา ๕๑.๙ ลปิ ดาเหนอื ลองจจิ ดู ท่ี ๑๐๒ องศา ๒.๗ ลปิ ดาตะวนั ออก ตงั้ แตว่ นั ที่ ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๔๙
จนถงึ วนั ท่ี ๑๖ มถิ นุ ายน ๒๕๔๙ และไดพ้ สิ จู นท์ ราบแนช่ ดั แลว้ วา่ เรอื ดำ� นำ้� ทพี่ บเปน็ เรอื ดำ� นำ�้ ทไ่ี ดจ้ มหายไป
ตง้ั แตส่ มยั สงครามโลกครงั้ ที่ ๒ พรอ้ มกบั ลกู เรอื อกี ๘๖ นายจรงิ
พลเรอื ตรี สรุ ศกั ด์ิ หรนุ่ เรงิ รมย์ ผบู้ ญั ชาการกองเรอื ฟรเิ กตที่ ๒ กองเรอื ยทุ ธการ ผบู้ งั คบั กองกำ� ลงั
ฝกึ การตั ๒๐๐๖ ฝา่ ยไทย เปดิ เผยวา่ เรอื่ งการคน้ หาเรอื ดำ� นำ้� ของประเทศสหรฐั อเมรกิ าทเี่ กดิ ขน้ึ ครง้ั นี้ เปน็
ชว่ งทกี่ องกำ� ลงั ทางเรอื ของประเทศสหรฐั อเมรกิ านำ� เรอื รบจำ� นวน๕ ลำ� เขา้ มาในนา่ นนำ�้ ไทย และไดป้ ระสาน
มายงั กองทพั เรอื เพอื่ แวะคน้ หาเปา้ หมายเรอื ดำ� นำ้� ในนา่ นนำ�้ ไทย กองทพั เรอื ไดส้ ง่ นายทหารปฏบิ ตั กิ ารใตน้ ำ�้
ของกรมสรรพาวธุ ทหารเรอื รว่ มการเดนิ ทางมาจากประเทศสงิ คโปร์ ไดร้ บั รายงานผลการปฏบิ ตั ดิ งั กลา่ ววา่
ประสบความสำ� เร็จ พบเรอื ดำ� น�้ำเรียบร้อยแลว้ อย่ใู นระดบั น�้ำลึกประมาณ ๒๔๐ ฟตุ หรือ ๗๖ เมตร
ทางตอนใตข้ องเกาะโลซนิ หา่ งจากทางดา้ นทศิ ตะวนั ออกของจงั หวดั สงขลาประมาณ ๑๐๐ ไมลท์ ะเล สภาพ
เรอื ยงั มคี วามสมบรู ณ์ ดา้ นหวั เรอื เสยี หาย และไดร้ บั รายงานวา่ พบปนื ใหญข่ นาด ๕ นวิ้ ตดิ อยทู่ ด่ี าดฟา้
หวั เรอื ๑ กระบอก
มกี ารรายงานวา่ สำ� หรบั ประวตั เิ รอื ดำ� นำ้� USS LAGARATO เปน็ เรอื ดำ� นำ�้ ชนั้ BALAO มลี กู เรอื
ประจำ� อยภู่ ายในเรอื ๘๖ นาย มี CDR.F.D. LATTA เปน็ ผบู้ งั คบั การเรอื ไดเ้ ดนิ ทางออกมาจากทา่ เรอื ซบู คิ เบย์

คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๑๓๔

ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ เมษายน ๑๙๔๕
เพ่ือออกลาดตระเวนในทะเลจีนใต้ และเมื่อวันที่
๒๗ เมษายน ๑๙๔๕ ไดเ้ ดนิ ทางรว่ มกบั เรอื ของฝา่ ย
เดยี วกนั คอื เรอื BAYA เดนิ ทางเขา้ มาในนา่ นนำ�้ ไทย
คาดว่าน่าจะถูกถล่มโดยเรือวางทุ่นระเบิดของเรือ
HATSUTAKA ประเทศญป่ี นุ่ เมอื่ วนั ท่ี ๓ เมษายน
๒๔๘๘ สมัยสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ ซ่ึงซากเรือล�ำ
ดงั กลา่ ว กองทพั เรอื ประเทศสหรฐั อเมรกิ า จะดำ� เนนิ
การใหเ้ ปน็ สสุ านทางสงครามในทะเลตอ่ ไป โดยจะ
ประสานกบั ประเทศไทย และกองทพั เรอื ไทย ขอ
สงวนพน้ื ทบี่ รเิ วณดงั กลา่ วในการดำ� เนนิ การในเรอ่ื ง
นด้ี ว้ ย

ใชแ่ ตจ่ ะปรากฏซากของเรอื ดำ� นำ�้ USS LAGARATO บรเิ วณใตท้ ะเลลกึ แถบนซี้ ง่ึ กำ� ลงั จะกลายเปน็
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทสี่ ำ� คญั เทา่ นนั้ ยงั มกี ารสำ� รวจพบเรอื ดำ� นำ้� และเรอื สมยั สงครามโลกอกี หลายลำ� ในบรเิ วณเกาะ
โลซนิ ถงึ ขน้ั มขี อ้ เขยี นทร่ี ะบวุ า่ มกี ารลงมอื สำ� รวจเพอ่ื ทำ� เปน็ แผน่ ทท่ี อ่ งเทย่ี ว และอทุ ยานประวตั ศิ าสตรท์ าง
ทะเลแหง่ ที่ ๒ ของโลก เพราะมเี รอื ทค่ี น้ พบในบรเิ วณนแ้ี ละกำ� ลงั ทำ� การสำ� รวจอยหู่ ลายลำ� เชน่ เรอื รบไทย
ชอ่ื เรอื หลวงสมยุ ถกู เรอื ดำ� นำ้� ของสหรฐั ฯ ถลม่ จมขณะลำ� เลยี งนำ�้ มนั เชอ้ื เพลงิ มาจากประเทศสงิ คโปร์ เรอื
ประจญั บานของประเทศองั กฤษ ชอื่ เรอื HMS. Prince of wases หรอื เรอื HMS. Repulse ถกู เครอื่ งบนิ
ของญป่ี นุ่ ถลม่ จมใตท้ ะเล เมอื่ ปี ๑๙๔๑ เพราะไดเ้ ขา้ มาสกดั กน้ั การยกพลขนึ้ บกทางดา้ นแหลมมลายขู องทหาร
ญป่ี นุ่ ฯลฯ

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๓๕

ตำ� นาน ‘ปเู ลาเญอราป’ี (Pula Jelapi)
และเทอื กเขาบโู ด

เมอ่ื พดู ถงึ “เกาะโลซนิ ” แนน่ อนวา่
ผู้คนมากมายที่ย่อมไม่เคยได้ยินได้เห็นชื่อน้ี
เพราะอาจอยู่หา่ งไกลการรับรู้ การมองเห็น
ดว้ ยตา แตส่ ำ� หรบั “ปลู าเญอราป”ี ทตี่ งั้ อยใู่ น
พน้ื ทรี่ อยตอ่ ระหวา่ งอำ� เภอสายบรุ กี บั อำ� เภอ
ไมแ้ กน่ จ.ปตั ตานี รอยตอ่ กบั พน้ื ทบ่ี า้ นทอน-
โคกเคยี น อ.เมอื ง จ.นราธวิ าส ซง่ึ เปน็ พน้ื ทลี่ มุ่
นำ้� ภาคใตฝ้ ง่ั ตะวนั ออก คอื พนื้ ทท่ี ม่ี รี ะบบนเิ วศ
ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ มพี นั ธป์ุ ลาหลายชนดิ ทไี่ ดร้ บั
ความนยิ มในหมนู่ กั ตกปลา มปี ะการงั ทมี่ คี วาม
แตกต่างจากพื้นท่ีทะเลอื่นของประเทศไทย
ด้วยมีสภาพพื้นดินเป็นดินเหนียวทรายและ
หนิ ในพนื้ ทเ่ี ดยี วกนั

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๑๓๖

“ปลู าเญอราป”ี หรอื ใครกไ็ มร่ ทู้ กี่ ลบั ขนานนามเกาะนวี้ า่ “เกาะเลา่ ป”่ี อยา่ งไมร่ ทู้ ม่ี าทไ่ี ป
และตา่ งความหมายยงิ่ กบั “ตำ� นาน” ทเี่ ลา่ ขานเกย่ี วกบั ทม่ี าของชอื่ เกาะเลก็ ๆ แหง่ นซ้ี งึ่ เดมิ ทมี สี ภาพ
สมบรู ณ์ มตี น้ ลำ� เพง็ ทะเล ตน้ มะพรา้ ว ตน้ ไทร และทอ่ี าศยั ของนกตา่ งๆ อาทิ นกนางนวล นกจามา
(กระทา) แตป่ จั จบุ นั สภาพพน้ื ทบ่ี นเกาะเปลยี่ นแปลงไปโดยสนิ้ เชงิ ดว้ ยนำ้� มอื ของมนษุ ยโ์ ดยแท้
ตำ� นานหนงึ่ เลา่ วา่ ... มหี ญงิ มา่ ยคนหนงึ่ นางมลี กู ชาย ๑ คน ทงั้ ๒ คนไดพ้ ลดั พรากจาก
กนั เปน็ เวลานาน เนอื่ งจากลกู ชายไดต้ ดิ ตามกองคาราวานเรอื พาณชิ ยไ์ ปคา้ ขายตา่ งเมอื ง อาจจะเปน็
ดว้ ยบญุ และวาสนา ลกู ชายของนางไดอ้ ภเิ ษกสมรสกบั พระธดิ าของกษตั รยิ เ์ มอื งหนง่ึ เพอ่ื ความสขุ
ของตนเอง ชายหนมุ่ ไดป้ ดิ บงั ตวั เองมาตลอด ไมย่ อมกลบั มาเยย่ี มบา้ นเกดิ และผเู้ ปน็ แมเ่ ลย
หลายปผี า่ นไป ผเู้ ปน็ แมม่ อี ายปุ ระมาณ ๘๑ ปี ซง่ึ ตอนทท่ี ง้ั สองแมล่ กู จากกนั นน้ั ผเู้ ปน็
มารดาอายุ ๓๕ ปี ดงั นน้ั รปู รา่ งหนา้ ตาของผเู้ ปน็ มารดาจงึ แทบไมม่ เี คา้ เดมิ อยเู่ ลย
วนั หนงึ่ พระธดิ าทรงชวนสวามไี ปเยย่ี มบา้ นเกดิ เพอ่ื จะไดท้ ำ� ความรจู้ กั กบั พระมารดาของ
สวามี ทง้ั นเี้ นอื่ งจากในพระทยั พระธดิ าทรงคดิ วา่ สวามคี งจะเปน็ โอรสของกษตั รยิ เ์ มอื งใดเมอื ง
หนง่ึ ทง้ั สองจงึ ไดเ้ ดนิ ทางมากบั เรอื สำ� เภาลำ� หนงึ่ ทางฝา่ ยผเู้ ปน็ มารดา เมอื่ ทราบขา่ วจากชาวบา้ น
วา่ ลกู ชายของตนไดเ้ ดนิ ทางกลบั มาพรอ้ มกบั ภรรยาสาวสวย หญงิ ชราจงึ รบี วง่ิ ไปยงั ทา่ เรอื นางได้
ทกั ทายและชวนใหล้ กู ชายกลบั บา้ น แตช่ ายหนมุ่ กลวั วา่ จะเปน็ ทอี่ บั อายขายหนา้ แกข่ า้ ราชบรพิ ารที่
ตามมา จงึ ทำ� เปน็ ไมร่ จู้ กั หญงิ ชราคนน้ี โดยอา้ งวา่ มารดาของตนไมใ่ ชค่ นทสี่ กปรก ผมเผา้ รงุ รงั เหมอื น
หญงิ ชราคนน้ี แตเ่ ปน็ คนทส่ี วยสะอาด จงึ ไมใ่ ชห่ ญงิ ชราคนนแ้ี นน่ อน ถงึ แมห้ ญงิ ชราจะพยายามชแี้ จง
ลูกให้เข้าใจว่า ระยะเวลาท�ำให้ทุกอย่างเปลี่ยนไป ลูกเติบโตข้ึน ในขณะเดียวกันแม่ก็แก่ตัวลง
นางยนื ยนั หนกั แนน่ วา่ “นแี้ หละแมท่ แ่ี ทจ้ รงิ ของเจา้ ”
ในทสี่ ดุ เมอื่ ลกู ไมย่ อมรบั ดว้ ยความโมโหสดุ ขดี นางจงึ เกดิ ความแคน้ แลว้ กลา่ ววา่ “ถา้
อยา่ งนน้ั กด็ แี ลว้ ” และกเ็ ดนิ จากทา่ เรอื นน้ั ขนึ้ ไปยงั นง่ั อยบู่ นเนนิ เขา พรอ้ มทง้ั ไดส้ าปแชง่ ตอ่ ฟา้ ดนิ
วา่ “ลกู ขา้ เปน็ คนอกตญั ญู ใหฟ้ า้ ดนิ ลงโทษเขาดว้ ย”
เมอื่ ลกู ชายของนางไดแ้ ลน่ เรอื ออกจากทา่ ไปถงึ กลางทะเล ไดเ้ กดิ พายโุ หมกระหนำ�่ พดั พา
เรอื ลม่ เรอื พลกิ ควำ�่ หงายทอ้ งกลายเปน็ หนิ ซง่ึ ปจั จบุ นั คอื “เกาะเลา่ ป”่ี สว่ นตวั ลกู ชายกไ็ ดว้ งิ วอน
ขอรอ้ งใหม้ ารดาชว่ ยเหลอื หญงิ ชรากไ็ มย่ อมชว่ ยเหลอื แตใ่ นทสี่ ดุ นางกท็ นคำ� ออ้ นวอนของลกู ไมไ่ ด้
จงึ ขอใหฟ้ า้ ดนิ บนั ดาลใหล้ กู ชายกลายเปน็ อกี า ลกู ชายจงึ กลายเปน็ อกี าบนิ หายลบั ไป สว่ นผเู้ ปน็ แม่
กต็ รอมใจตายบนเนนิ เขาลกู นนั้ ซง่ึ เปน็ ทเ่ี ชอ่ื ถอื กนั วา่ คอื “เทอื กเขาบโู ด” นน่ั เอง

คิดถึง...นราธิวาส : ๑๓๗

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

มนตเ์ สนห่ ์ ๒ เกาะในสายตานกั ดำ� นำ้� มอื อาชพี
ไมว่ า่ ตำ� นานทม่ี าทไ่ี ปจะเปน็ อยา่ งไร แตภ่ าพปจั จบุ นั ของทอ้ งทะเลชายแดนใตม้ เี อกลกั ษณ์
โดดเดน่ เฉพาะตวั เชน่ ที่ มานพ สกลุ จนี เลา่ ถงึ ความสวยงามของปลู าเญอราปแี ละบรเิ วณกองหนิ
โลซนิ วา่ จากทไ่ี ดไ้ ปดำ� นำ้� มา เกาะเลา่ ปห่ี รอื ปลู าเญอราปี จะมลี กั ษณะคลา้ ยเกาะเตา่ ทจ่ี งั หวดั ชมุ พร
เนอื่ งจากทต่ี งั้ อยฝู่ ง่ั ทะเลอา่ วไทยเหมอื นกนั แตเ่ กาะเลา่ ปจ่ี ะมดี อกไมท้ ะเลเยอะกวา่ ชมุ พร เกาะเตา่
ทชี่ มุ พรดตี รงทมี่ หี มายหลายจดุ ใหด้ ำ� แตก่ อ็ ยหู่ า่ งจากฝง่ั ไปไกลตอ้ งนงั่ เรอื ๓-๔ ชว่ั โมง
“ไปเกาะเล่าปี่หรือปูลาเญอราปี หากเรานั่งเรือกอและไปจากชายหาดละเวง ใช้เวลา
ประมาณ ๓๐ นาทเี ทา่ นน้ั เอง แตห่ ากขนึ้ เรอื ไปจากตวั เมอื งนราธวิ าสใชเ้ วลาประมาณชวั่ โมงหนง่ึ
เชน่ เดยี วกบั ไปขน้ึ เรอื ทส่ี ายบรุ กี ป็ ระมาณ ๑ ชว่ั โมง ระหวา่ งทางจากละเวงไปเลา่ ปจ่ี ะมตี รู้ ถไฟอยู่
ใตน้ ำ้� ดว้ ย หากเดนิ ทางไปดำ� นำ�้ กบั เรอื กอและซง่ึ เหมาเชา่ กบั ชาวบา้ น เหนอื่ ยและรอ้ น แตส่ ะดวก
และประหยดั เวลาผมไปจะไปจากสายบรุ เี ลย เพราะวา่ ทสี่ ายบรุ มี เี รอื ใหญใ่ หเ้ ชา่ เปน็ เรอื ตกปลาท่ี
เขาไมไ่ ดอ้ อกทำ� งาน บรรทกุ ผโู้ ดยสารไดป้ ระมาณ ๒๐ คน เรอื ใหญจ่ ะดกี วา่ ตรงทมี่ โี ซนาร์ เวลาเรา
ผา่ นจะมองเหน็ วตั ถใุ ตน้ ำ�้ เราลองดำ� สำ� รวจดไู ดท้ นั ท”ี

คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๑๔๐

บริเวณปูลาเญอราปีนั้น หากวันไหนน�้ำทะเลใส ทัศนียภาพใต้น�้ำที่มองเห็นได้จะสวย
งามพอๆ กัน หรือดีกวา่ ทะเลแถบชุมพร เพราะระยะดำ� น�ำ้ ทไ่ี มล่ กึ มาก จากพน้ื ผวิ น้�ำประมาณ
๑๐-๑๕ เมตร มที งุ่ ดอกไมท้ ะเลกวา้ งใหญเ่ ปน็ ทงุ่ สดุ ลกู หลู กู ตา และมปี ลาการต์ นู จำ� นวนมาก โดย
เฉพาะปลาการต์ นู พนั ธอ์ุ นิ เดยี แดง ปลาเทวดา ฯลฯ สว่ นฝง่ั ทเ่ี ปน็ หนา้ ผา ดา้ นหนง่ึ มปี ะการงั ถว้ ย
สม้ เตม็ หนา้ ผา
“แตไ่ มไ่ ดเ้ ปน็ พน้ื ทรายเหมอื นสมิ ลิ นั ทน่ี เี่ ปน็ พน้ื โคลนและไมค่ อ่ ยมปี ลาใหญ่ กอ็ ยา่ งทผ่ี ม
เล่าว่าเพราะเรือเบด็ เยอะ มีคนไปตกปลาตรงกองหินสายบุรีกันมาก เนอ่ื งจากมีช่อื เสยี งมานาน
แล้ว พวกปลากระโทงเทง ปลาสาก หรอื ปลาใหญ่ๆ เวลานคี้ งจะไมม่ เี หลอื แตว่ า่ แถบนน้ั เราไป
ดำ� นำ้� แทบทกุ ครง้ั จะเหน็ ฝงู ปลาเกา๋ ตวั ใหญม่ ากอยฝู่ งู หนง่ึ ผมยงั งงเลยวา่ มนั อยรู่ อดมาไดอ้ ยา่ งไร
สงสัยทีอ่ ยรู่ อดไดเ้ พราะอยูใ่ กลเ้ กาะ เพราะตรงน้ันมีแนวหนิ อยู่ ลากอวนไมไ่ ด้เลย ถา้ ไปด�ำดูจะ
เหน็ อวนตดิ เตม็ ไปหมด เพราะฉะนนั้ เวลาไปดำ� นำ้� ทเี่ กาะเลา่ ปห่ี รอื ปลู าเญอราปี นกั ดำ� นำ้� ตอ้ งพก
มีดไปดว้ ย กนั เหนยี วไว้ เผอื่ มอื ไมแ้ ขนขาไปติดกบั อวนเขา้ แลว้ แกะไมอ่ อก” นพ ให้ขอ้ มูลโลกใต้
นำ�้ แถบนั้นเม่อื หลายปีมาแลว้
เขายำ้� วา่ พน้ื ทน่ี ถี้ า้ จะปรบั ปรงุ เปน็ สถานทที่ อ่ งเทยี่ วนบั วา่ ทำ� ไดส้ บายเลย เพราะสามารถ
เดินทางไป-กลับได้สบายๆ ในวันหนึ่ง แล้วใต้ทะเลมีความหลากหลายด้วย นอกจากธรรมชาติ
ล้วนๆ ทง้ั ปะการงั ปลานานาชนิด ยังมที ากทะเลเยอะมาก ทากทะเลท่ีน่มี ีหลากหลายพันธุ์มาก
ท่ีสดุ ถงึ ขนาดพูดกนั ว่าตดิ อนั ดับโลก ระหวา่ งดำ� ยงั เขา้ ไปดูตู้รถไฟท่กี องกันระเกะระกะอยู่ใต้ผืน
ทะเลเหมอื นดำ� ลอดถ�้ำ โดยเฉพาะหากมาด�ำน�้ำตอนกลางคืนจะไดอ้ ีกอารมณ์หนง่ึ

คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๑๔๑

“จากนราธวิ าสนง่ั เรอื ไปเพยี งชว่ั โมงเดยี ว ในวงการดำ� นำ้� ถอื วา่ ใกลแ้ ลว้ สำ� หรบั การไปดำ�
น�ำ้ คร้งั หน่งึ ”
ส�ำหรับสถานท่ีด�ำน้�ำอีกแห่งหน่ึงในพื้นท่ีแถบนี้ ที่ได้รับการจัดอันดับติดอยู่ในแหล่งด�ำ
นำ้� ระดบั ตน้ ๆ ของประเทศไทยคือ “โลซิน” ซึ่งเป็นสถานทีท่ ี่ อภินนั ท์ บวั หภักดี นักเขยี นสารคดี
ชอื่ ดงั เขยี นบรรยายไวใ้ นหนงั สอื “เรงิ ระบำ� กบั ฝงู ปลา ชมดาราใตท้ ะเลลกึ ” วา่ โลซนิ เปน็ ชอื่ ของ
ภูเขาหินใต้ทะเลลูกใหญ่ๆ ลูกหน่ึง เป็นแหล่งปะการังท่ีสวยงามสมบูรณ์และน้�ำทะเลใสปิ๊งมาก
ทส่ี ดุ แหง่ หนงึ่ ของทะเลอา่ วไทย โลซนิ จงึ เปน็ จดุ ดำ� นำ�้ ชน้ั ยอดอกี แหง่ หนง่ึ ของเมอื งไทยทน่ี กั ดำ� นำ�้
ทกุ คนควรจะไปรู้จกั ไว้แมส้ ักครั้งหน่งึ ในชวี ติ
วา่ กนั วา่ สมยั ทยี่ งั มเี ทยี่ วบนิ บนิ ตรงจากกรงุ เทพฯ-นราธวิ าส จะมกี ลมุ่ ดารานกั แสดงเดนิ
ทางมาดำ� น�ำ้ กนั มาก โดยมีการนดั แนะกันมาอย่างนอ้ ยปลี ะคร้ัง ไม่ว่าจะเป็น รัชนก พลู ผลิน, ทา
ทา ยัง ฯลฯ เนอ่ื งจากเม่อื ถงึ เดือนกุมภาพันธ-์ มนี าคม จะถึงช่วงหมดเดอื นทอ่ งเท่ียวของสมิ ลิ ัน
ทำ� ใหก้ ลมุ่ นกั ลงทนุ ทท่ี ำ� ธรุ กจิ ดา้ นเรอื ดำ� นำ�้ ตอ้ งออกมาหากนิ ฝง่ั นี้ เสนห่ ข์ องโลซนิ และปลู าเญอราปี
จงึ กลบั กลายเปน็ วา่ นอกจากมคี วามสวยงามตามธรรมชาตแิ ลว้ นกั ประดานำ้� ทต่ี อ้ งการดำ� นำ�้ นอกฤดู
สามารถมาทัศนาโลกใต้น�้ำได้ เพราะน�้ำทะเลบริเวณนี้จะใสที่สุดช่วงประมาณเดือนกรกฎาคม
หรอื ช่วงหนา้ ร้อนของทกุ ปี
“โลซนิ ตดิ อนั ดบั ตน้ ๆ ของจดุ ดำ� นำ�้ ในประเทศไทย ไลจ่ ากแถบอนั ดามนั เหนอื อนั ดามนั
ใต้ ฝง่ั อนั ดามนั กลาง ชมุ พร แลว้ กโ็ ลซนิ นแี่ หละครบั โดยทโ่ี ลซนิ ไฮไลทค์ อื มฉี ลามวาฬกบั กระเบน
ราหูที่นักด�ำน้�ำจะมาดูกันมาก เพราะฉลามวาฬหากจะหาดูในประเทศไทยมี ๒ ท่ีเอง ถ้าแบบ
ฟลกุ มโี อกาสไดด้ คู อื ทช่ี มุ พรกบั ทโี่ ลซนิ แตช่ มุ พรเดย๋ี วนโี้ อกาสยากมากแลว้ ชว่ งหลงั ๆ มานฉี้ ลาม
หรอื กระเบนราหูใครๆ กจ็ ะมาดทู โ่ี ลซิน”
เย็นวันหน่ึง คณะเราเดินทางจากตัวเมืองนราธิวาสสู่เส้นทางสายบ้านทอน กระทั่งถึง
ส่ีแยกบ้านทอน หากเดินทางไปทางถนนด้านซ้ายมือจะไปทางน�้ำตกปาโจ ขวามือคือชายทะเล
หาดบ้านทอน เราตดั สินใจว่งิ ตรงไปผา่ นคา่ ยจุฬาภรณ์ เลยไปอกี เลก็ นอ้ ยจะมีทางแยกไปอำ� เภอ
ไมแ้ ก่น จงั หวดั ปตั ตานี ระยะทาง ๑๓ กิโลเมตร ตรงไปคอื บ้านปา่ ไหม้ บา้ นรงั มดแดง กระทัง่ ถงึ
บา้ นละเวงซง่ึ เปน็ รอยเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งจงั หวดั นราธวิ าสกบั จงั หวดั ปตั ตานี รวมระยะทางจากบา้ น
ละเวงไปปตั ตานปี ระมาณ ๖๘ กโิ ลเมตร และจากบา้ นละเวงไปนราธวิ าส ประมาณ ๒๗ กโิ ลเมตร
และแลว้ ภาพทกุ อยา่ งที่ปรากฏ ณ เบ้อื งหน้า ก็เปน็ จริงตามคำ� พูดของไกดน์ �ำทาง ด้วยชายหาด
สที องกบั นำ�้ ทะเลสคี รามสดทเี่ หน็ ไดเ้ ตม็ ตาเตม็ ใจ ภายใตค้ วามรม่ รน่ื ของทวิ สนและสวนมะพรา้ ว
ท่ีรายเรียงเป็นแนวยาวตลอดชายหาด ก่อนถึงชายบึงบ้านละเวงซึ่งเป็นหมู่บ้านขนาดเล็กในเขต
อ�ำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี ต้ังอยู่ต่อเนื่องกับชายหาดบางสายและหาดบางไหม้ ท่ีทอดยาว
เป็นผืนเดียวกับหาดนราทัศน์ สัมผัสทรายขาว ทัศนาฟ้าใส และเห็นยอดเขาตันหยงอยู่ไกลสุด
ลกู หลู กู ตา
คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๑๔๒

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

กลางทอ้ งนำ�้ ทะเลเวง้ิ วา้ งจะเหน็ เกาะเลก็ ๆ อยเู่ กาะหนงึ่ นนั่ คอื “ปลู าเญอราป”ี นน่ั เอง
เม่ือเดินทางไปสดุ ถนนบรเิ วณท่คี ลองน้�ำจืดขนาดใหญ่ไหลขนานกับหาดบางสาย ยาว
เหยียดตลอดหลายกิโลเมตร มาสดุ ปลายน�ำ้ ณ สถานทแี่ ห่งน้ี ก่อนไหลออกสทู่ ะเลในเขตบ้าน
ละเวง จะเห็นพ้ืนที่กว้างเป็น ‘ชายบึงบ้านละเวง’ อยู่ตรงบริเวณใกล้กับปากน�้ำ เห็นศาลาไม้
กลางน้ำ� ต้งั อยู่ เหน็ “เทอื กเขาบูโด” ในมมุ มองที่สวยงามมากอีกแห่งหนึ่ง เปน็ ทิวทศั นง์ ดงาม
แปลกตาและมีกระแสลมพัดโกรกอย่ตู ลอดเวลา
ที่ส�ำคัญได้สัมผัสและเห็นบรรยากาศท่ีเป็นภาพชีวิตของชาวบ้านท่ีเต็มไปด้วยความ
สงบสุข รม่ รน่ื มีวิถีชีวิตทีผ่ กู พนั กับผืนฟ้าและทะเลอยา่ งใกล้ชดิ
ไม่ว่าประวัติศาสตรจ์ ะเป็นเช่นใด กาลเวลาจะเปลีย่ นแปลงอย่างไร แตร่ อยตอ่ ขอบฟา้
จรดผืนน้�ำและแผ่นดิน จากนราธิวาส-ปัตตานี-สงขลา นับเป็นท้องทะเลกว้างใหญ่ท่ีไม่เคยมี
พรมแดนขวางกนั้ ฝงู โลมาจึงสามารถเวยี นวา่ ยไปมาอยา่ งอสิ รเสรี ขณะวถิ ชี วี ติ ของชาวประมง
พืน้ บา้ นทีต่ งั้ ถน่ิ ฐานอยู่รมิ ชายหาดกเ็ คลือ่ นไหวไปตามครรลองเช่นที่เป็นมาแลว้ หลายสิบหลาย
ร้อยปี
ขมุ ทรพั ยแ์ หง่ ทอ้ งทะเลผา่ นการเปลย่ี นแปลงมามากมายในแตล่ ะยคุ สมยั แตห่ มดุ หมาย
สำ� คญั เชน่ “ปลู าเญอราป”ี และ “โลซนิ ” ยงั คงดำ� รงอยเู่ ชน่ เดยี วกบั อกี หลายๆ เกาะในทอ้ งทะเล
แถบน้ี รวมถึงเร่ืองเล่าอีกมากมายเกี่ยวกับ “ขุมทรัพย์ทะเลใต้” ท่ีเกิดข้ึนช่วงเปล่ียนผ่านของ
ยุคสมัย...
คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๑๔๔

ประวัติ - ขอ้ มูลท่องเท่ียว
จังหวัดนราธวิ าส

กองบรรณาธิการ

คิดถงึ ...นราธวิ าส :

“จงั หวดั นราธวิ าส” เดมิ มฐี านะเปน็ เพยี งเมอื งหนงึ่ ใน “อาณาจกั รลงั กาสกุ ะ” ตอ่ เนอ่ื งถงึ ยคุ
“ปาตานีดารสุ สาราม” และ “รัตนโกสินทร”์ พบหลักฐานโบราณคดีค่อนข้างนอ้ ย เช่น พระพทุ ธรปู
และพระโพธสิ ตั วน์ กิ ายมนตรยานบรเิ วณวดั เขากง หรอื ซากเจดยี ์ ๓ องคบ์ รเิ วณวดั เขากง อายุ ๑,๓๐๐
ปี ตอ่ มาถกู รือ้ ถอนเพ่ือสร้างพระพุทธทักษิณม่ิงมงคล และกลายเป็น “อำ� เภอบางนรา” ขึ้นกับเมือง
สายบรุ ี ๑ ใน ๗ หวั เมืองภาคใต้ กอ่ นถูกโอนไปขนึ้ เมอื งระแงะซงึ่ เป็น ๑ ใน ๗ หวั เมืองเชน่ กัน ประวัติ
ความเป็นมาจึงมีความเช่ือมโยงกบั เรอื่ งราวของทั้งเมืองปัตตานี เมืองสายบุรี และเมอื งระแงะ
ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุง
รตั นโกสนิ ทร์ มรี บั สง่ั ใหก้ รมพระราชวงั บวรมหาสรุ สหี นาท ยกทพั หลวงลงมาปกั ษใ์ ตเ้ พอ่ื ปราบปราม
ขา้ ศึกทีเ่ ข้ามา เม่อื ข้าศกึ แตกพา่ ยหนีไป จงึ เสดจ็ ประทับ ณ เมืองสงขลา และมรี บั ส่งั ออกไปถึงหัว
เมืองมลายูท้ังหลายที่เคยข้ึนกับอยุธยามาก่อน ให้มาอ่อนน้อมดังเดิม กระท่ังปัตตานีกลายเป็น ๗
หัวเมือง ไดแ้ ก่ เมืองปัตตานี เมอื งหนองจกิ เมอื งยะลา เมอื งรามันห์ เมอื งระแงะ เมืองสายบุรี และ
เมอื งยะหร่งิ
ตอ่ มา สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๓ ไดแ้ ตง่ ตง้ั “หนบิ อส”ู ชาวบา้ น
บางปซู ึ่งพระยายะหร่งิ แตง่ ตัง้ ใหเ้ ปน็ กรมการเมอื งยะหร่ิง เป็นผู้รกั ษาราชการเมืองระแงะสืบตอ่ จาก
พระยาระแงะ (หนเิ ดะ) และย้ายทว่ี า่ ราชการจากบา้ นระแงะ มาตัง้ ใหม่ท่ีต�ำบลตนั หยงมสั (อำ� เภอ
ระแงะปัจจบุ ัน)
ลุถึงรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ มกี ารประกาศพระบรม
ราชโองการให้จดั ต้งั “มณฑลปตั ตานี” เมอ่ื วนั ท่ี ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ มสี าระส�ำคญั ว่า
“... แตก่ อ่ นจนมาถึงเวลานี้ บริเวณ ๗ หัวเมืองมีข้าหลวงใหญ่ปกครอง ขน้ึ อย่กู บั ขา้ หลวง
เทศาภบิ าลมณฑลนครศรีธรรมราช ทรงพระราชดำ� ริเหน็ วา่ ทกุ วันนกี้ ารคา้ ขายในบรเิ วณ ๗ หัวเมอื ง
เจริญข้นึ มาก และการไปถงึ กรงุ เทพฯ กส็ ะดวกกว่าแตก่ ่อน ประกอบกบั บริเวณ ๗ หัวเมืองมีทอ้ งท่ี
กว้างขวาง และมจี ำ� นวนผคู้ นมากข้นึ สมควรแยกออกเปน็ มณฑลหนึ่งต่างหาก ให้สะดวกแกร่ าชการ
ทจี่ ะทำ� นบุ ำ� รงุ บา้ นเมอื งใหเ้ จรญิ ยงิ่ ขนึ้ กวา่ แตก่ อ่ นได้ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหแ้ ยกบรเิ วณ ๗
หวั เมอื งออกมาจากมณฑลนครศรีธรรมราช และให้จัดตงั้ มณฑลเทศาภบิ าลขน้ึ อกี มณฑลหนึ่ง เรยี ก
ว่ามณฑลปตั ตานี และทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศักดเ์ิ สนีย์ (หนา บนุ นาค) เป็นข้าหลวง
เทศาภิบาล ส�ำเรจ็ ราชการมณฑลปัตตาน”ี
ทง้ั นี้ มณฑลปัตตานมี ีเมืองเขา้ มารวม ๔ เมอื ง คือ เมืองปตั ตานี (รวมเมืองหนองจิก ยะหร่งิ
และเมืองปตั ตาน)ี เมืองยะลา (รวมเมือง รามนั และเมอื งยะลา) เมืองสายบรุ ี และเมอื งระแงะ เพอื่
สะดวกแกร่ าชการ และทำ� นบุ ำ� รงุ บา้ นเมอื งใหเ้ จรญิ ขน้ึ กวา่ แตก่ อ่ น ปี พ.ศ.๒๔๕๘ ไดย้ า้ ยทวี่ า่ ราชการ
จากเมอื งระแงะ ต�ำบลตนั หยงมสั มาต้งั ท่บี า้ นมะนาลอ (บางมะนาวในปจั จุบัน) อำ� เภอบางนรา และ
ยกฐานะอำ� เภอบางนราขนึ้ เปน็ “เมอื งบางนรา” มอี ำ� เภอในการปกครอง ไดแ้ ก่ อำ� เภอบางนรา อำ� เภอ
ตนั หยงมสั กงิ่ อ�ำเภอยะบะ อ�ำเภอสไุ หงปาดี และกิ่งอำ� เภอโต๊ะโมะ
คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๑๔๖

ครั้นตอ่ มา รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๖ ไดเ้ สดจ็ ประพาส
มณฑลปกั ษใ์ ต้ เมอ่ื พระองคเ์ สดจ็ ถงึ เมอื งบางนรา ทรงพระราชทานพระแสงศาสตราแกเ่ มอื งบางนรา
และทรงดำ� รวิ า่ “บางนรา” นน้ั เปน็ ชอ่ื ตำ� บลบา้ น ควรมชี อ่ื เมอื งไวเ้ ปน็ หลกั ฐานสบื ไป จงึ ทรงพระกรณุ า
โปรดเกลา้ ฯ เปลย่ี นช่ือเปน็ “เมอื งนราธิวาส” เมอ่ื วนั ที่ ๑๐ มถิ ุนายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๘ ก่อนจะมี
การปรับปรุงระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคคร้ังย่งิ ใหญ่ และให้เปล่ยี นชื่อเมอื งเปน็ จังหวดั
เมอื งนราธิวาสจงึ เปน็ เปลี่ยนเปน็ “จงั หวดั นราธิวาส” ตัง้ แต่ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔๗๖ เปน็ ต้นมา
ทุกวันน้ี “นราธิวาส” จังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย กอปรด้วยเรื่องราวมากมาย
สะท้อนผ่านวิถีชีวิต ศรทั ธา ความเชอ่ื ประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม ท่ีมีลักษณะผสมผสาน
ทง้ั วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประชากรท่ีนับถอื ศาสนาอสิ ลาม พทุ ธ และคนไทยเช้ือสายจนี รวมถงึ
ฮนิ ด-ู พราหมณ์บางส่วน อาศัยอย่รู ่วมกนั มีปฏิสัมพนั ธ์ผ่านกิจกรรมตา่ งๆ ในชีวติ ประจ�ำวัน นอกจาก
นีม้ สี ถานท่ีท่องเทย่ี วส�ำคัญหลายแห่งเป็นท่นี ิยมของชาวนราธิวาสและใกล้เคยี ง รวมถึงนกั ทอ่ งเทยี่ ว
โดยท่ัวไป
สถานท่ที ่องเท่ียวสำ� คญั

อ�ำเภอเมอื งนราธิวาส
ชายหาดนราทศั น์

ตั้งอยู่ห่างจากตวั เมอื งนราธวิ าสไปตามถนนสายพิชิตบ�ำรงุ ๑ กิโลเมตร เปน็ ชายหาดกวา้ ง
ขวาง สวยงาม ความยาวประมาณ ๕ กโิ ลเมตร พน้ื ทด่ี า้ นหนง่ึ จรดปลายแหลมดา้ นปากแมน่ ำ้� บางนรา
มีแนวสนให้ความร่มรื่นตลอดชายหาดที่มีเม็ดทรายขาวสะอาด เหมาะส�ำหรับการพักผ่อนหย่อนใจ
โดยเฉพาะการชมชนื่ รน่ื รมยบ์ รรยากาศพระอาทติ ยข์ นึ้ ยามเชา้ นอกจากนสี้ ามารถพบเหน็ เรอื ประมง
พ้นื ถิน่ ของชาวประมงพื้นบา้ นจอดอยู่เรียงราย สัมผัสวถิ ีชาวบา้ นท่เี รยี บง่าย นักท่องเทีย่ วสามารถใช้
บรกิ ารรถจักรยานยนต ์ รถสามล้อถบี หรือรถสองแถวเลก็ จากตัวเมืองนราธวิ าสไปยังหาดนราทัศน์
ได้สะดวก

คิดถึง...นราธิวาส : ๑๔๗

พระต�ำหนกั ทกั ษณิ ราชนเิ วศน์
ต้งั อยู่ที่เขาตนั หยงมสั ต�ำบลกะลวุ อเหนือ ดา้ นริมทะเลใกล้อา่ วมะนาว หา่ งจากตัวจงั หวัด ๘
กโิ ลเมตร เนอ้ื ทป่ี ระมาณ ๓๐๐ ไร ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช โปรดเกลา้ ฯ ใหก้ อ่ สรา้ ง
ขนึ้ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๖ ภายในเขตพระราชฐานประกอบดว้ ย พระตำ� หนกั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และของพระบรมวงศานุวงศ์ ตกแต่งด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด
ท�ำให้บรรยากาศร่มร่ืน ยังมีศูนย์ศิลปาชีพซึ่งเป็นแหล่งฝึกงานพร้อมท้ังจ�ำหน่ายเครื่องปั้นดินเผาและ
เซรามกิ พระตำ� หนกั ทกั ษณิ ราชนเิ วศนเ์ ปดิ ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วเขา้ ชมไดท้ กุ วนั ระหวา่ งเวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐
น. เว้นเฉพาะชว่ งท่ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ พรอ้ ม
ดว้ ยพระบรมวงศานวุ งศ์ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ แปรพระราชฐานมาทบั แรมเทา่ นน้ั การเดนิ ทางสามารถนงั่
รถโดยสารประจ�ำทางเส้นไปอำ� เภอตากใบ

พุทธอุทยานเขากง (วดั เขากง-พระพทุ ธทกั ษิณมง่ิ มงคล)
เน้ือที่ ๑๔๒ ไร่ ต้ังอยู่ที่ต�ำบลล�ำภู ห่างจากตัวเมืองนราธิวาส ตามเส้นทางนราธิวาส–ระแงะ
(ทางหลวงหมายเลข ๔๐๕๕) ระยะทาง ๙ กิโลเมตร เปน็ พระพุทธรูปปางประทานพร ประทบั นั่งกลาง
แจ้งที่งดงามและใหญ่ท่สี ดุ ในภาคใต้ เปน็ พุทธศิลป์สกุลช่างอนิ เดยี ตอนใต้ สร้างดว้ ยคอนกรีตเสรมิ เหลก็
หน้าตักกว้าง ๑๗ เมตร สงู จากฐานถงึ ยอดพระเกตุ ๒๔ เมตร ประดบั ดว้ ยโมเสกสีทองท้ังองค์ บรรจุ
พระบรมสารีริกธาตไุ วท้ ีพ่ ระอรุ ะเบอ้ื งซา้ ย นักท่องเทีย่ วสามารถเดินทางโดยรถสองแถวประจำ� ทางสาย
นราธิวาส-ตนั หยงมสั
คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๑๔๘


Click to View FlipBook Version