The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Alisa daoh, 2019-11-12 01:05:05

นรารำลึก E-book1

นรารำลึก E-book1

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

Charoong Thai Wire & Cable Public Company Limited

SINCE 1967

TIS 11-2553

คดิ ถงึ ...นราธิวาส :

ทรงพระเจริญ

คิดถึง...นราธิวาส :

สาร

ประธานท่ีปรึกษา
สมาคมชาวนราธิวาส

ผมมคี วามยนิ ดที ส่ี มาคมชาวนราธวิ าส ไดจ้ ดั งาน “นรารำ� ลกึ ” ขนึ้ อกี ครง้ั หนง่ึ เพอื่
เปิดโอกาสให้สมาชิกได้พบปะสังสรรค์ร่วมกันท�ำกิจกรรม เพ่ือความสมัครสมานสามัคคี
เพื่อการกศุ ล เป็นประโยชนต์ ่อเยาวชน และพ่นี ้องชาวนราธิวาสโดยสว่ นรวม
ดว้ ยระยะเวลาทผ่ี า่ นไปอยา่ งรวดเรว็ สมาคมฯ ของเราไดก้ อ่ ตงั้ มาเปน็ เวลา ๑๐ ปี
แลว้ (ซงึ่ กอ่ นหนา้ นน้ั กเ็ ปน็ ชมรมชาวนราธวิ าส มาเกอื บ ๓๐ ป)ี ในสถานะของสมาคมฯ กย็ งั
ถือวา่ เป็นเยาวชนทีก่ �ำลังเตบิ โตก้าวเขา้ สวู่ ัยร่นุ อยา่ งมี “พลงั ” เพอ่ื จะได้ประกอบกิจกรรม
เสรมิ สรา้ งคุณงามความดี สร้างประโยชนใ์ หก้ บั มวลสมาชกิ และพีน่ ้องชาวนราธวิ าส โดย
สว่ นรวมตอ่ ไป
ดงั นน้ั เพอื่ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคด์ งั กลา่ ว ผมมคี วามหวงั วา่ เพอื่ นสมาชกิ ทงั้ หมดตอ้ ง
ชว่ ยกัน รว่ มมือกนั สนบั สนุนกจิ กรรมของสมาคมฯ เพ่ือให้สมาคมฯ มคี วามเขม้ แขง็ จะได้
มกี ำ� ลงั สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื เพอ่ื นสมาชกิ และเยาวชนชาวนราธวิ าส ทไ่ี ดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น
ขดั สนตอ่ ไป
ผมขอขอบคณุ และใหก้ ำ� ลงั ใจคณะกรรมการจดั งาน และคณะกรรมการสมาคมฯ
ท่ีได้เสียสละ ก�ำลังกาย กำ� ลังใจ และกำ� ลงั ทรพั ย์ รว่ มมือกันจดั งาน “นรารำ� ลึก” ในครัง้ นี้
ขนึ้ ขอใหไ้ ดร้ บั ผลสำ� เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องสมาคมฯ และรกั ษา Spirit ของชาวนราธวิ าส
เพอ่ื ใหง้ าน “นราร�ำลกึ ” ด�ำรงอยตู่ ลอดไป

พละ สขุ เวช
อดตี ผวู้ า่ การ การปิโตรเลยี มแหง่ ประเทศไทย

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๒

สาร

นายกสมาคมชาวปักษ์ใต้
ในพระบรมราชูปถมั ภ์

เนอ่ื งในโอกาสทส่ี มาคมชาวนราธวิ าส ภายใตก้ ารนำ� ของนายทวี คงมน่ั นายกสมาคมชาว
นราธิวาส ได้ก�ำหนดจัดงาน “นราร�ำลึก ’๖๒” ข้ึนในวันอาทิตย์ที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
ณ อาคารสนามกีฬาเวสน์ ๒ สนามกีฬาไทยญป่ี ุ่นดินแดง โดยมนี ายสายณั ห์ บูรณะนิตกิ ุล เป็น
ประธานจดั งาน โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เปน็ การพบปะสงั สรรค์ เชอื่ มความรกั สามคั คใี นหมพู่ น่ี อ้ ง
ชาวจงั หวดั นราธวิ าสในกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล รวมทงั้ ประสานสามคั ครี ะหวา่ งพนี่ อ้ งชาว
ใตท้ กุ สมาคม ทกุ ชมรม และผมู้ เี กยี รตทิ ม่ี ารว่ มงานใหแ้ นน่ แฟน้ ยง่ิ ขนึ้ และเพอ่ื จดั หารายไดส้ ว่ นหนงึ่
จากการจดั งานครง้ั นไ้ี วใ้ ชใ้ นกจิ การสาธารณกศุ ลและกจิ การอนื่ ๆ ของสมาคมฯ ตามความเหมาะสม
กระผมในนามนายกสมาคมชาวปักษ์ใต้ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และคณะกรรมการ
สมาคมฯ ขอช่ืนชมนายกสมาคมชาวนราธิวาส ประธานจัดงานและคณะกรรมการสมาคมชาว
นราธิวาส ทุกคณะท่ีผ่านมา ได้ร่วมมือกันจัดงานของสมาคมชาวนราธิวาสผ่านมาด้วยดี และ
ประสบความสำ� เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคท์ วี่ างไวต้ ลอดมา และทราบวา่ คณะจดั งานในครง้ั นไี้ ดเ้ ชญิ ชวน
พ่นี ้องชาวใตจ้ ากทุกสมาคม ชมรม ตลอดจนชาวใตก้ ลมุ่ ต่างๆ มาร่วมสังสรรค์ดว้ ย ซง่ึ จะทำ� ใหพ้ ี่
นอ้ งชาวสมาคมชาวนราธวิ าสไดม้ โี อกาสสังสรรค์ สร้างความสัมพนั ธ์ทดี่ กี บั พน่ี อ้ งชาวใตท้ ่ัวๆ ไป
อยา่ งกวา้ งขวางมากยง่ิ ขน้ึ ซงึ่ เปน็ สงิ่ ทน่ี า่ ยนิ ดี ผมขอชน่ื ชมและขอขอบคณุ สมาคมชาวนราธวิ าส
ทไ่ี ดใ้ หค้ วามรว่ มมอื กบั สมาคมชาวปกั ษไ์ ต้ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ในการจดั กจิ การงานตา่ งๆ ทผี่ า่ นมา
ด้วยดีมาตลอด
ผมขออาราธนาคณุ พระศรรี ตั นตรยั และสง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธทิ์ งั้ หลายในสากลโลก อำ� นวยอวยพร
ให้การจดั งานในครงั้ นี้ผ่านพ้นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย และขอใหน้ ายทวี คงมัน่ นายกสมาคมชาว
นราธิวาส คณะกรรมการสมาคม นายสายัณห์ บูรณะนติ กิ ลุ ประธานจัดงาน คณะกรรมการจดั
งาน มวลสมาชิกสมาคมชาวนราธวิ าส ตลอดจนผู้รว่ มงาน รวมถึงผูใ้ หก้ ารสนับสนุนการจัดงาน
ทุกท่าน จงประสบความสขุ ความเจรญิ รอดพน้ จากโรคภยั ไขเ้ จ็บ และภัยพบิ ัติทง้ั ปวง ประสงค์
ส่งิ ใดขอใหส้ ัมฤทธผ์ิ ลสมดั่งปรารถนาทุกประการ

พลตำ� รวจเอก

สุนทร ซา้ ยขวัญ
นายกสมาคมชาวปักษ์ใต้ ในพระบรมราชูปถมั ภ์

คิดถึง...นราธิวาส : ๓

บรษิ ัท บี.พี.ที.เอน็ จิเนียริง่
แอนด์ คอนสตรคั ชนั่ จำ�กดั

รบั เหมา รับจ้างทำ�ของ ตดิ ต้งั งานเชือ่ มโลหะ
พลาสติก งานยาง หมุ้ ฉนวน งานเครื่องกล

87/110 หมู่ที่ 3 ต.วดั ชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

สาร

ผู้วา่ ราชการจงั หวัดนราธิวาส

ตามที่ สมาคมชาวนราธิวาส ได้เตรียมจัดกิจกรรมพบปะสังสรรค์ภายใต้ช่ืองาน
“นราร�ำลึก ’๖๒” ในวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ น้ี ผมรู้สึกยินดีมากที่ทราบว่าชาว
นราธิวาส แม้จะอาศัยอยู่ในพื้นท่ีส่วนใดของประเทศก็ตาม ยังคงมีการนัดพบปะพูดคุย
ชว่ ยเหลอื กนั ทำ� กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ สรา้ งสานสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชาวนราธวิ าสทงั้ รนุ่ เกา่ รนุ่ ใหม่
รวมถึงหาแนวทางให้ก�ำลังใจสนับสนุนพี่น้องในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซ่ึงประสบ
ปญั หาจากความไม่สงบต่อเนื่องมาหลายปี
ประการสำ� คญั การจดั งานแตล่ ะครงั้ มกี ารจดั ทำ� หนงั สอื ทร่ี ะลกึ งานเลย้ี งสงั สรรค์
มอบให้สมาชิกสมาคมฯ สถาบันการศึกษา ห้องสมุด หน่วยงานราชการ ผู้มาร่วมงาน
ผสู้ นใจโดยทวั่ ไป เพอ่ื เผยแพร่เนื้อหาขา่ วสารดๆี เกี่ยวกับจังหวัดนราธวิ าส ซ่งึ จะเปน็ กำ� ลัง
ใจ กอ่ ประโยชน์แกผ่ ู้สนใจให้เขา้ ใจพืน้ ทเ่ี ชงิ บวก เชิญชวนให้มนี กั ทอ่ งเทย่ี วมาเที่ยวจงั หวดั
นราธวิ าสและใกล้เคยี งมากย่งิ ขึน้
ในนามผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นราธวิ าส ขอถอื โอกาสสง่ กำ� ลงั ใจใหก้ ารดำ� เนนิ งานดๆี
มคี วามสรา้ งสรรคข์ องสมาคมชาวนราธวิ าส สามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ ผา่ นความชว่ ยเหลอื
รว่ มมอื กนั สนบั สนนุ กจิ กรรมของสมาชกิ ทกุ ทา่ น ขออำ� นวยพรใหก้ ารดำ� เนนิ กจิ กรรมบรรลุ
ตามวัตถุประสงค์ สมาคมฯ มคี วามเขม้ แขง็ มีก�ำลงั สนับสนุนช่วยเหลอื เพ่อื นสมาชกิ และ
สังคมโดยรวม ขอขอบคุณและส่งก�ำลังใจให้คณะกรรมการจัดงาน คณะกรรมการ
สมาคมฯ และผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ทา่ น ทไ่ี ดม้ สี ว่ นเสยี สละทง้ั กำ� ลงั กาย กำ� ลงั ใจ และกำ� ลงั ทรพั ย์
ในการชว่ ยเหลืองานของสมาคมฯ ใหส้ ำ� เรจ็ ตามเปา้ หมายทุกประการ
(นายเอกรฐั หลีเส็น)
ผ้วู ่าราชการจังหวดั นราธิวาส

คิดถงึ ...นราธวิ าส : ๕

รบั ออกแบบ จำ� หนา่ ย ติดต้งั
เครอ่ื งปรับอากาศ เคร่อื งทำ� น้�ำเยน็
โรงพยาบาล โรงงานอตุ สาหกรรม
อาคารส�ำนักงาน
และโครงการหน่วยงานราชการ
โดยทมี งานวิศวกรที่มปี ระสบการณ์

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๖

เจ เอม็บรษิ ทั

เอนเนอรย์ ี เซฟเวอร์ จำ�กดั

J.M. ENERGY SAVER COMPANY LIMITED

Insulation Work Fabricated Sheet Metal

9/1 หมู่ 9 ถนนเลียบคลอง 6 อ�ำ เภอลำ�ลกู กา
จงั หวดั ปทุมธานี 12150

Tel. 0-2904-1505-7 Fax : 0904-7220

คิดถงึ ...นราธิวาส :

สาร

นายกสมาคมชาวนราธวิ าส

สมาคมชาวนราธิวาส ได้ก่อต้ังข้ึนจากการรวมตัวของชาวนราธิวาสท่ีเข้ามาเรียนและ
ตงั้ ถน่ิ ฐานอยใู่ นกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล เมอ่ื ประมาณปี ๒๕๒๗ เมอ่ื รวมกลมุ่ กนั มากขนึ้
ใหญข่ นึ้ จงึ ตง้ั เปน็ ชมรมชาวนราธวิ าสทยี่ ง่ิ ใหญเ่ ขม้ แขง็ จากรนุ่ พี่ รนุ่ เพอื่ น สรู่ นุ่ นอ้ ง สบื สานตอ่ กนั
มาเรื่อยๆ ผู้ท่ีเป็นหวั เรย่ี วหวั แรง ริเรม่ิ ในระยะแรกไดแ้ ก่ คุณพละ สขุ เวช คณุ ถวลั ย์ ชมประสพ
พ.ต.ท.ชลภทั ร ภกั ดไี ทย คณุ เจรญิ รตั น์ หาญเบญจพงศ์ คณุ พมิ พป์ ฏภิ าณ พงึ่ ธรรมจติ ต์ คณุ ธวชั ชยั
เค้าคุณากร คุณจรนิ ทร์ วิไลพันธ์ุ คุณรวิวรรณ มณแี สง และอกี หลายทา่ น โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์
เพื่อพบปะแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ และชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกัน จนตอ่ มาหลายๆ จังหวัดภาค
ใต้ ไดจ้ ดั ตง้ั สมาคมชาวจงั หวดั ตา่ งๆ ขนึ้ รวมทงั้ พล.ต.อ.สนุ ทร ซา้ ยขวญั นายกสมาคมชาวปกั ษ์
ใต้ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เชญิ ชวนและผลกั ดนั ใหร้ วมตวั กอ่ ตงั้ เปน็ “สมาคมชาวนราธวิ าส” เพอ่ื
ความเปน็ นติ ิบคุ คลและสะดวกตอ่ การดำ� เนินกจิ กรรมรว่ มกัน
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ สมยั คณุ พมิ พป์ ฏภิ าณ พงึ่ ธรรมจติ ต์ เปน็ ประธานชมรมฯ ไดม้ มี ตริ เิ รมิ่
เตรียมการเพื่อก่อต้ังเป็นสมาคม แต่หมดสมัยวาระเสยี ก่อน ปี ๒๕๕๒ คุณประเสริฐ ศรีสบื เป็น
ประธานชมรมชาวนราธิวาส คณะกรรมการจึงได้ด�ำเนินการย่ืนขอจดทะเบียน และได้รับการ
จดทะเบียนให้เป็นสมาคมชาวนราธวิ าส (The People’s Association of Narathiwat) เม่ือ
วนั ที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๒ โดยมีคณุ ประเสริฐ ศรสี ืบ เป็นนายกสมาคม (ก่อตง้ั ) และคณุ ทินกร
พรพนั ธไ์ุ พโรจน์ เปน็ เลขาธกิ าร คณุ ประเสรฐิ ฯ บรหิ ารงานไดป้ เี ศษจงึ ลาออก เพอ่ื ใหม้ กี ารเลอื ก
ต้ังนายกสมาคมตามขอ้ บังคับ สมาชิกสมาคมจึงเลือกคุณเจริญรัตน์ หาญเบญจพงศ์ เป็นนายก
สมาคมฯ ตงั้ แต่วนั ที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ถงึ ปัจจบุ ันสมาคมชาวนราธิวาสมีอายุครบ ๑๐ ปี
มนี ายกสมาคมฯ จำ� นวน ๕ ทา่ น คอื ๑.นายประเสริฐ ศรีสบื ๒.นายเจริญรตั น์ หาญเบญจพงศ์
๓.นายเจรญิ รตั น์ ชตู ิกาญจน์ (๒ สมยั ) ๔.นายพมิ พป์ ฏภิ าณ พงึ่ ธรรมจิตต์ ๕.นายทวี คงมัน่
สมาคมฯ เราถอื เป็นประเพณีใหม้ กี ารจัดงานสังสรรคป์ ระจำ� ปี ปีละ ๑ ครั้ง แตเ่ ม่ือวนั
ที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๕๙ มีเหตุการณ์เศร้าสลดของชาวไทยทัว่ ประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจา้
อยูห่ ัวฯ รชั กาลท่ี ๙ เสด็จสสู่ วรรคาลัย พวกเราเลยงดจดั งานร่ืนเรงิ มาจนถงึ ปี ๒๕๖๑
คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๘

ในปี ๒๕๖๒ ปนี ี้ ประชาชนชาวไทยไดร้ ว่ มแสดงความปีตยิ นิ ดีในงานพระบรมราชาภิเษก
รชั กาลท่ี ๑๐ และ สมเด็จพระนางเจา้ สทุ ดิ า พัชรสธุ าพมิ ลลักษณ พระบรมราชินี รวมทัง้ ได้รฐั บาล
ใหม่ท่ีมาจากการเลือกตั้ง เม่ือเหตุการณ์ปรกติ สมาคมชาวนราธิวาสจึงได้จัดงานพบปะสังสรรค์
ภายใตช้ ่อื งาน “นราร�ำลกึ ’๖๒” ข้ึนในวนั อาทิตยท์ ่ี ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
ในวนั นผี้ มขอรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านของสมาคมชาวนราธวิ าสในชว่ ง ๓ ปที ผี่ า่ นมาโดย
สรปุ ดงั ตอ่ ไปนี ้ ในปี ๒๕๖๑ ได้มอบทุนการศึกษาแกน่ กั เรยี นระดบั มธั ยมในจงั หวดั นราธิวาส ท่ี
ไดร้ บั ผลกระทบจากเหตุการณค์ วามไมส่ งบในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน ๙ โรงเรยี น ทุนละ
๕,๐๐๐ บาท จำ� นวน ๑๐๐ ทนุ เงนิ ๕๐๐,๐๐๐ บาท และไดม้ อบเงนิ สมทบเขา้ “กองทนุ การศกึ ษา
๑๐๐ ปี สมเดจ็ พระมหาธรี ราชเจา้ เพอ่ื ชาวนราธวิ าส” ของจงั หวดั นราธวิ าส จำ� นวน ๑๐,๐๐๐ บาท
เม่อื วันท่ี ๑ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยนายพมิ พป์ ฏภิ าณ พง่ึ ธรรมจติ ต์ นายกสมาคมฯ
น�ำคณะกรรมการและสมาชิกจ�ำนวน ๕๐ คน ร่วมบำ� เพ็ญกุศลถวายพระบรมศพ พระบาทสมเดจ็
พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รชั กาลที่ ๙ ในการนีไ้ ดท้ ลู เกล้าทูลกระหม่อมถวายเงินจ�ำนวน
๙๐,๐๐๐ บาท รว่ มงานวนั สารทเดอื น ๑๐ ประจำ� ปี ๒๕๖๑ จดั โดยสมาคมชาวปกั ษใ์ ต้ ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ โดยใหก้ ารสนับสนนุ เงินจ�ำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท สนบั สนนุ การจดั งานสังสรรคป์ ระจ�ำปี
ของชมรมตา่ งๆ ในจงั หวดั นราธวิ าส ในปี ๒๕๖๑ เชน่ ชมรมชาวอำ� เภอสไุ หงปาดี ชมรมชาวอำ� เภอ
รอื เสาะ ชมรมชาวอำ� เภอระแงะ และชมรมชาวภาษาตากใบ ชมรมละ ๑๐,๐๐๐ บาท รวม ๕๐,๐๐๐
บาท ปี ๒๕๖๒ สนบั สนุนการการจดั งานพบปะสงั สรรค์ สมาคมชาวสรุ าษฎรธ์ านี ปัตตานี ตรัง
พทั ลุง และนครศรธี รรมราช รวมเงิน ๔๓,๐๐๐ บาท งานชมรมชาวภาษาตากใบ ๘,๐๐๐ บาท วนั
ท่ี ๒๒ เมษายน ๒๕๖๒ สมาคมฯ จดั แข่งขันกอล์ฟการกศุ ลเพื่อหารายได้เข้าสมาคมฯ ในปนี ้ีมเี งิน
เข้าชมรมจำ� นวน ๕๐๐,๐๐๐ บาทเศษ ไดจ้ ัดสรรเขา้ สมทบกองทนุ การศกึ ษาสมาคมชาวนราธวิ าส
จ�ำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท
ผมขอขอบคณุ ประธานจัดงาน “นรารำ� ลึก ’๖๒” และคณะกรรมการจดั งาน ท่ีปรกึ ษา
และสมาชิกสมาคมฯ ทกุ ทา่ น ท่ไี ด้มงุ่ มัน่ ต้ังใจ ตดิ ตอ่ ประสานงาน ก�ำหนดรูปแบบงานจนส�ำเรจ็
เป็นอย่างดี สนุกสนาน สามคั คี สว่ นสำ� คัญทขี่ าดไม่ได้ที่ทำ� ใหง้ านสมาคมฯ วนั นี้ส�ำเร็จลุล่วงดว้ ย
ดี ผมขอขอบพระคุณคณะบคุ คล องค์การ หา้ ง รา้ น ทีไ่ ดใ้ ห้การสนับสนนุ การจดั งาน “นรารำ� ลึก
’๖๒” การจัดท�ำหนังสือที่ระลึก และการบริจาคเงินเข้ากองทุนการศึกษาสมาคมชาวนราธิวาส
เสมอมา ในนามสมาคมชาวนราธิวาส จงึ ขอขอบพระคุณอยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสน้ี
สดุ ทา้ ย ผมขออาราธนาสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธใ์ิ นสากลโลก จงอำ� นวยอวยพรใหผ้ อู้ ปุ การคณุ ทกุ ทา่ น
และท่านที่มาร่วมงานทุกท่าน จงประสบแต่ความสุขความเจริญ สุขภาพแข็งแรงปราศจาก
โรคาพยาธิ ปรารถนาส่ิงหนึ่งสิง่ ใดในทางที่ชอบทีค่ วร ขอให้สมดงั ปรารถนาทุกประการ เทอญ

(นายทว ี คงมั่น)
นายกสมาคมชาวนราธวิ าส

คิดถึง...นราธวิ าส : ๙

สาร

ประธานและคณะกรรมจดั งานฯ

สุภาษติ จนี บทหนึ่งกล่าวไว้อย่างแหลมคมว่า
“เดินคนเดียวเดนิ ไดเ้ รว็ เดนิ ด้วยกนั เดินไดไ้ กล...”

การเดินทางรว่ มกนั ในนาม “สมาคมชาวนราธิวาส” เป็นไปในทว่ งท�ำนองเช่นนี้นับตัง้ แต่ได้
ก่อต้ังขึ้นเม่ือปี ๒๕๒๗ ผ่านความรว่ มมอื ร่วมใจของชาวนราธิวาสท่ีมาเล่าเรียนและตงั้ ถน่ิ ฐานอยใู่ น
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนยกระดับเป็น “ชมรมชาวนราธิวาส” และเป็น “สมาคมชาว
นราธิวาส” ซ่งึ สามารถรอ้ ยรดั ความผูกพันของชาวนราธิวาสได้อยา่ งมัน่ คงและอบอนุ่
ต่อมา เมื่อผมและพ่ๆี นอ้ งๆ มโี อกาสได้รับความไว้วางใจจากคณะทปี่ รกึ ษาและกรรมการ
สมาคมฯ ให้เขา้ มารับผิดชอบในฐานะประธานและคณะกรรมการจดั งาน “นราร�ำลกึ ’๖๒” ค�ำวา่
“เดนิ ดว้ ยกันเดนิ ได้ไกล...” ยิ่งปรากฏเปน็ ภาพแจ่มชัดขน้ึ
ปฏเิ สธไมไ่ ดว้ า่ กวา่ จะดำ� เนนิ งานใหบ้ รรลไุ ดต้ ามเปา้ หมาย พวกเราตา่ งตอ้ งผา่ นพบอปุ สรรค
ปัญหามากมาย อาจด้วยความอ่อนเยาว์ อ่อนด้อยประสบการณ์ หรือด้วยปัจจัยรายทางที่ประสบ
แตก่ ็ด้วยความรกั ความห่วงใย ความปรารถนาดี จากทุกท่าน ทำ� ใหก้ ารเดนิ ทางของพวกเราไมโ่ ดด
เด่ยี วอ้างวา้ ง หากทวา่ กลับเตม็ ไปด้วย “กำ� ลงั ใจ” ทคี่ อยโอบอมุ้ ดูแล ใหค้ �ำปรึกษา ช้แี นะแนวทาง
ใหค้ ณะกรรมการจดั งานฯ พรอ้ มทมุ่ เทท�ำงานอยา่ งสดุ หวั ใจ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ยงั มผี คู้ นอกี มากมาย
ท่ีมุ่งม่ันก้าวเดินไปด้วยกัน ให้การสนับสนุนงบประมาณเพ่ือจัดพิมพ์หนังสือ “คิดถึง... นราธิวาส”
เปน็ ท่รี ะลึกงานเลย้ี งสงั สรรค์ “นรารำ� ลึก ’๖๒” รวมถงึ ซอ้ื เส้อื ทร่ี ะลึก และรว่ มเวทีกิจกรรมสงั สรรค์
ในนาม ประธานและคณะกรรมการจดั งาน “นรารำ� ลกึ ’๖๒” ตอ้ งกราบขอบพระคณุ ทกุ คน
ทกุ ฝา่ ย ทที่ ำ� ใหภ้ ารกจิ สำ� คญั ครงั้ นส้ี ามารถสำ� เรจ็ ลลุ ว่ งลงไดต้ ามความมงุ่ หมาย หากมขี อ้ ผดิ พลาดใดๆ
กต็ อ้ งกราบขออภยั เปน็ อยา่ งสงู อยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ เชอ่ื วา่ ผลสบื เนอ่ื งดๆี จากการจดั กจิ กรรมในครงั้ นหี้ าก
พอมอี ยบู่ า้ ง คงจะชว่ ยเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหส้ มาคมชาวนราธวิ าสมากยง่ิ ขน้ึ กอ่ เกดิ ประโยชนต์ อ่
มวลสมาชิก ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตอ่ ไป หวังว่ายา่ งกา้ วเล็กๆ ของพวกเรา จะจุดประกาย
ให้ทุกท่านร่วมจับมอื เดินด้วยกันอย่างม่งุ มนั่ ไปบนเส้นทางท่ีได้รว่ มกนั สรรค์สร้างอย่างสวยงาม
เราไมไ่ ด้มงุ่ หวังวา่ จะเดินใหเ้ รว็ เราไม่ได้คาดหวังจะเดินเพือ่ เอาชนะคนอ่ืน
แตเ่ ราปรารถนา “เดนิ ดว้ ยกนั เดนิ ไดไ้ กล” เพอื่ สำ� แดงความรกั ความผกู พนั ทมี่ ตี อ่ ตวั เอง ตอ่
เพ่ือนพอ้ งนอ้ งพ่ี และตอ่ แผน่ ดนิ เกดิ “บางนรา-นราธิวาส” อนั รกั ยิ่งของพวกเราทกุ คน

(นายสายัณห์ บรู ณะนติ ิกลุ )
คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๑๐ ประธานคณะกรรมการจัดงาน “นราร�ำลึก ’๖๒”

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

Dalian

Xingang บริษัทInchonKobeYokohama
Qingdao Kanda Nagoya

Nanjing Shanghai

สยามพัฒนาHuangpuXiamen Keelung มารไี ทม์

Hong Kong จำ�กัด

Kaohsiung

ong

aem Chabang Manila
Map Ta Phut Cebu

Ho Chi Minh City

ang
Singapore

Jakarta

Dalian

Xingang Inchon

Qingdao Kobe Yokohama

Kanda Nagoya

Nanjing Shanghai

Xiamen Keelung

Hong Kong
Huangpu
Kolkata Chittagong Kaohsiung

Mombai Haiphong
Chennai
Yangon

Bangkok Manila
Laem Chabang Cebu
Map Ta Phut
Ho Chi Minh City

Kelang
Singapore

Jakarta

8/30/2560 BE 6:37 PM

SPM_AD-04.indd 1

คิดถึง...นราธิวาส : ๑๒

บรษิ ทั บอส เบนซ์ อินเตอร์คอนสตรคั ช่นั จ�ำ กดั

รับเหมาทาสีทุกประเภท

โทร. 0-2731-4719 , 08-8255-1065

63 ซอยลาดพร้าว 101 ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจนั่ เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240

คดิ ถึง...นราธิวาส :

บรษิ ทั

เค เจ ซี สยาม
ทาวเวอร์เครน

จำ�กดั

ติดตง้ั รอื้ ถอน ใหเ้ ช่า
ซอ่ ม Tower Crane

พรอ้ มอะไหล่
พรอ้ มลิฟท์โดยสาร
ซ่อมตู้ระบบไฟฟา้
พร้อมให้เชา่ Derrick Crane

Tel.08-9717-2330

สำ�นกั งานใหญ่ 55/68 ซ.เคหะรม่ เกล้า 64
แขวงคลองสองตน้ นนุ่ เขตลาดกระบัง กรงุ เทพฯ 10520

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส :

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

ท่ปี รึกษา คำ�นำ�
พละ สขุ เวช สรร จนั ทรเ์ กษมพร
เจรญิ รัตน์ หาญเบญจพงศ์ “คิดถึง... นราธิวาส” วารสารพิเศษของสมาคมชาว
เจรญิ รัตน์ ชตู กิ าญจน์ นราธิวาส จัดท�ำขึ้นควบคู่กับการจัดกิจกรรมพบปะสังสรรค์
มณรี ัตน์ เชียงไกรเวช ภายใต้ชอ่ื งาน “นราร�ำลกึ ’๖๒” ซึ่งกำ� หนดจดั ขึ้นในวันท่ี ๑๗
บัญญัติ อุยยามวงศ ์ ทวี คงม่ัน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เพือ่ เปน็ แกนร้อยรดั ความรักความผกู พัน
บรรณาธกิ าร ระหวา่ งชาวนราธวิ าสท่ตี ้องจากบา้ นเกิดเมืองนอน ไปเลา่ เรียน
ชมุ ศักดิ์ นรารัตนว์ งศ์ ทำ� งาน ตง้ั ถน่ิ ฐานอยใู่ นเมอื งใหญห่ รอื ตามทตี่ า่ งๆ กบั พน่ี อ้ งชาว
กองบรรณาธิการ นราธิวาสในถ่ินเกดิ
จรินทร์ วไิ ลพนั ธ ์ อนสุ รณ์ ศรีคำ�ขวัญ ผ่านสารพัดเร่ืองเล่า ภาพถ่ายสวยงามหลากหลาย
อลษิ า ดาโอ๊ะ อรรณพ เจะ๊ สุโหลง สถานที่ แมไ้ มค่ รอบคลมุ ทกุ เรอื่ งราวทดี่ ำ� รงอยใู่ นพนื้ ท่ี หากทวา่
และ เยาวชน“คา่ ยรอ้ ยพลงั รงั สรรคว์ ถิ ี : เชอ่ื วา่ ลว้ นเปน็ “ความทรงจำ� ” ดๆี ผนกึ แนน่ ในความประทบั ใจ
กา้ วนแ้ี ละก้าวตอ่ ไปบนดา้ มขวาน” ไม่เพียงแต่ชาวนราธิวาสด้วยกันท่ีรักและผูกพันลึกลงไปในจิต
แบบปก/ศลิ ปกรรม วญิ ญาณ แตเ่ สมอื นไดท้ ำ� หนา้ ทส่ี อื่ สารบอกกลา่ วไปยงั ผคู้ นทว่ั ไป
เดยี รด์ ีไซน์ ให้รบั รู้ เขา้ ใจ และอยากเดินทางไปสมั ผสั “นราธิวาส” จังหวดั
บรรณาธิการภาพ ชายแดนใต้สดุ ของประเทศไทย พนื้ ท่ที ม่ี ีความหลากหลายของ
ปราณชลี ประวตั ศิ าสตร์ วิถชี วี ติ สงั คม ศิลปวฒั นธรรมประเพณี ฯลฯ
ชา่ งภาพ การด�ำเนินการจัดท�ำหนังสือเล่มน้ีส�ำเร็จลงได้ ก็ด้วย
ดลุ รอมัน สะนิ สหัฐ มะดาแฮ ความร่วมมือรว่ มใจของบคุ คลหลายฝา่ ย ทางกองบรรณาธกิ าร
เจ๊ะกายะห์ เจะแน จึงขอขอบคุณทุกภาคส่วนท่ีคอยให้ความช่วยเหลือทั้งงบ
มาหะมะยากี แวซ ู พงศ์ นรา ประมาณ จากบริษัท ห้างร้าน และผู้ให้การสนับสนุนเงินทุน
http://www.saveoursea.net ในการจดั พิมพ์ ฝ่ายข้อมลู ภาพถ่าย กบั ภาพและเรอ่ื งราวแสน
ภาพวาดปก งดงาม
สไุ ลมาน ยาโม โดยเฉพาะอย่างยง่ิ “ก�ำลงั ใจ” มากคุณคา่ ย่งิ จากทีม
พสิ จู น์อกั ษร งานและผหู้ ลักผู้ใหญ่ในสมาคมชาวนราธวิ าส
พัชรนิ ทร์ เวชสทิ ธิ์ เป็นก�ำลังใจซึ่งร้อยรัดพวกเราทุกคนให้มี “หัวใจดวง
พิมพ์ที่ เดยี วกัน” ท่ตี อ้ งการสรา้ งสรรค์สิง่ ดีๆ ให้แกช่ มุ ชน สงั คม และ
เอส.เค.เอส อินเตอรพ์ รนิ้ ประเทศชาตโิ ดยส่วนรวม
จดั พมิ พโ์ ดย
สมาคมชาวนราธวิ าส (จ.๔๘๓๔/๒๕๕๒) บรรณาธกิ าร
พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
คิดถงึ ...นราธิวาส :

สารบัญ

สาร ประธานที่ปรึกษาสมาคมชาวนราธิวาส นายพละ สุขเวช ๒
สาร นายกสมาคมชาวปักษ์ใต้ฯ พล.ต.อ.สุนทร ซ้ายขวัญ ๓
สาร ผวู้ า่ ราชการจังหวัดนราธิวาส นายเอกรฐั หลีเส็น ๕
สาร นายกสมาคมชาวนราธิวาส นายทวี คงม่นั ๘
สาร ประธานและคณะกรรมการจัดงาน “นรารำ�ลกึ ’๖๒” นายสายณั ห์ บูรณะนิติกลุ ๑๐

“นรารำ�ลึก” เพญ็ ศรี เคยี งศริ ิ ๑๘
บนั ทกึ บางตอน “ชีวิตขา้ ราชการ กทม.” เจริญรตั น์ ชูติกาญจน์ ๒๒
เชดิ ชู ๒ ศลิ ปนิ แห่งชาตชิ าวนราธวิ าส กองบรรณาธิการ ๒๘
จนี ศึกษา และตำ�นานการสร้างเมือง “โก-ลก” ปราณชลี ๓๔
บญุ บงั้ ไฟ อนุสรณ์ ศรคี ำ�ขวญั ๔๐
ประวตั ศิ าสตรใ์ น “หลวงป่ทู วดฯ” ชมุ ศักดิ์ นรารตั น์วงศ์ ๕๒
เมืองนรา... วนั น ้ี ณฐั พงศ์ ศิริชนะ ๖๘
การตอ่ สอู้ กี ครงั้ ของ “ร้านอ้งั ม้อ” เนสรนี ยะยา ๗๖
จุดเชค็ อินใหมน่ ราธวิ าส กองบรรณาธกิ าร ๘๑
ทำ�อย่างไร? ถึงเปน็ บดู ู สีตีโนรมาเรีย ดาโอะ ๘๖

ใบสำ�คัญแสดงการจดทะเบียนการแตง่ ตั้งกรรมการของสมาคมข้ึนใหม่ทง้ั ชุด ๘๙
ประกาศสมาคมชาวนราธวิ าส แตง่ ตง้ั คณะทป่ี รกึ ษาของนายกสมาคมชาวนราธวิ าส พ.ศ. ๒๕๖๑ ๙๐
คำ�ส่ังแต่งต้งั กรรมการนรารำ�ลึก ’๖๒ ๙๒
ทะเบยี นสมาชิกสมาคมชาวนราธวิ าส ๙๖

คดิ ถึง... นราธิวาส อลิษา ดาโอะ๊ ๑๐๔
มนตเ์ สน่ห์อาหาร เมนูเดน่ เมอื งนรา กองบรรณาธิการ ๑๑๖
กือบงกตี อ... สวนของเรา ณ สุไหงปาดี อรรณพ เจ๊ะสุโหลง ๑๒๔
ขุมทรัพยท์ ะเลใต้ : เกาะโลซิน-เญอราปี กองบรรณาธิการ ๑๓๐
ประวัติ - ข้อมูลท่องเท่ียวจงั หวดั นราธิวาส กองบรรณาธกิ าร ๑๔๕
๑ ปแี ค่ครง้ั เดียว “งานของดเี มืองนรา” นรู ไอนี เจะ๊ เย๊ะ ๑๕๘
ประมวลภาพกจิ กรรม สมาคมชาวนราธวิ าส ๑๖๐

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

นรารำ�ลกึ
เพญ็ ศรี เคยี งศิริ (นราวด)ี

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส :

ดิฉันเกิดท่ตี �ำบลเจ๊ะเห อ�ำเภอตากใบ ในจงั หวดั
นราธิวาส และรกั บา้ นเกิดอย่างย่ิง จึงรู้สกึ ยนิ ดีมากเมื่อมี
โอกาสเขยี นถงึ บา้ นเกิด ในหนังสือ “นรารำ� ลึก” เลม่ นี้
อำ� เภอเมอื งของนราธวิ าสมีชื่อวา่ บางนรา
ความร�ำลึกของดิฉัน ก็คงจะต้องเก่ียวกับ
ประสบการณต์ อนเปน็ เดก็ ในอำ� เภอตากใบเทา่ นนั้ เพราะ
ไดจ้ ากไปศกึ ษาตอ่ ทป่ี นี งั ตงั้ แตเ่ ปน็ วยั รนุ่ จากนนั้ กไ็ ปตอ่ ท่ี
กรุงเมลเบริ น์ ประเทศออสเตรเลยี
ก่อนอื่นก็ขอบอกว่า ตากใบมีวัดที่ส�ำคัญมาก
คือวัดชลธาราสิงเห ในอดีต เม่ือประเทศอังกฤษออกล่า
อาณานิคมจนได้ Malaysia เป็นเมืองขึ้น อังกฤษคิดจะ
เอาตากใบไปดว้ ย แตฝ่ า่ ยไทยเราไดช้ แ้ี จงวา่ นเี่ ปน็ แผน่ ดนิ
ของไทย เปย่ี มดว้ ยวฒั นธรรมไทยดงั เหน็ ไดเ้ ตม็ ทจ่ี ากวดั นี้
ซงึ่ เปน็ มรดกของไทย และไมม่ อี ะไรดเู ปน็ Malaysian เลย
แมแ้ ตน่ อ้ ย องั กฤษเหน็ ความจรงิ ขอ้ น้ี จงึ เปลยี่ นความตงั้ ใจ
วัดชลธาราสิงเห จึงมอี ีกช่ือหนงึ่ ว่า “วดั พิทักษด์ นิ แดน”
ตากใบมธี รรมชาตทิ ง่ี ดงามมาก มที รายขาว มตี น้
มะพรา้ วมากมาย ถนนหนทางกอ่ น พ.ศ. ๒๔๘๐ ปลอดภยั
เต็มที่ เพราะไม่มีรถยนตใ์ ห้เหน็ เลยแม้แตค่ นั เดยี ว
เมอ่ื ดฉิ นั มองยอ้ นหลงั ถงึ ชวี ติ ของตนเองทบี่ า้ นเกดิ
ตอนเปน็ นกั เรยี นตวั เลก็ ๆ ของโรงเรยี นประชาบาลประจำ�
อ�ำเภอ ก็จ�ำไดว้ า่ บางวนั เมอ่ื มีใบไมร้ ่วงมาก จนสนามเดก็
เลน่ ของเราดรู ก ครจู ะนำ� พวกเราออกเกบ็ ใบไม้ โดยทกุ คน
ถอื กง่ิ ไมค้ นละกงิ่ แลว้ เดนิ จมิ้ เอาใบไมต้ ดิ ขนึ้ มา พอไดม้ าก
กไ็ ปปลดออกเสียที เราเกบ็ ใบไมก้ นั พลางพดู คุยกนั พลาง
ไมร่ ้สู ึกเหนอ่ื ยหรือเมอ่ื ยหลงั แต่กลบั สนกุ ดว้ ยซ้ำ�
ที่จ�ำได้อีกเรื่องหนึ่งก็คือ ที่ตากใบ ในเดือน
พฤศจกิ ายนและธันวาคม ฝนตกหนกั มาก บอ่ ย และบาง
ครั้งสามวันติดกัน บางวันเราฝ่าพายุไปถึงโรงเรียนด้วย
ความยากล�ำบาก พอไปถงึ กโ็ ลง่ อก ทว่าเพียงอึดใจตอ่ มา
ก็ไดย้ ินครปู ระกาศว่า

คิดถงึ ...นราธวิ าส :

“วันน้ีพายุแรงมาก โรงเรียนปิดหน่ึงวัน เพราะชาวตากใบมีด้วยกันสามสัญชาติ คือ ไทยแท้
นักเรยี นกลบั บ้านได”้ ไทยสญั ชาตจิ นี กบั ไทยสญั ชาตมิ ลายู ผคู้ นทน่ี น่ั จงึ พดู
ทำ� ใหเ้ ราตอ้ งดใี จบวกถอนใจเมอ่ื ไดย้ นิ ขา่ วดนี ้ี กันสามภาษา แต่น่ีไม่ใช่อุปสรรคที่จะท�ำให้พวกเขา
ดิฉันเคยคิดว่า “พายุเอ๊ย ฉันต้องกลับออกไปให้เธอ หา่ งเหนิ กนั เพราะคนไทยสญั ชาตจิ นี มกั พดู ภาษายาวี
รังแกอีกคร้ัง กว่าจะถึงบ้าน บางแห่งฉันก็เดินลงพรุ ได้ การตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั คนไทยสญั ชาตมิ ลายู หรอื จา้ ง
ไปหาปลิงโดยไม่รู้ตัว เพราะน้�ำท่วมทั่วไปหมด จะ งานกันจึงไม่ยาก และระหว่างสองชาตินี้ ความเป็น
กลับบ้านรู้แต่ทิศทาง แต่มองไม่เห็นว่าแผ่นดินเป็น มิตรท่ีสนิทชิดชอบเกิดข้ึน แล้วพวกฝ่ายหนึ่งก็ได้รับ
หลมุ เปน็ บ่อตรงไหนบา้ ง” ขนมเขง่ ตอนตรษุ จนี และอกี ฝา่ ยหนงึ่ ไดร้ บั ขา้ วเหนยี ว
บา้ นของดฉิ นั อยบู่ นฝง่ั แมน่ ำ้� ตากใบ ตอนพวกเรา กบั รจู้ กั ค�ำวา่ กนิ ขา้ วเหนียว หรือ “มาแกปูโละ” ใน
หกคนพี่น้องยังเล็ก คุณพ่อคุณแม่เคยพาเราลงเรือ งานฉลองต่างๆ ของเพ่ือนร่วมชาติ ส่วนคนไทยแท้
ยนต์ของท่านข้ามแม่น�้ำตากใบไปยัง “เกาะยาว” ตามชนบทท่ลี กึ เขา้ ไปนัน้ คอ่ นขา้ งสนั โดษ
ซ่ึงอยู่ไม่ไกล แล้วตอนท่ีอยู่บนอีกฟากหนึ่งของ เวลาของ Malaysia ซึ่งตอนเป็นเมืองข้ึน
เกาะยาว เรากไ็ ดล้ งเลน่ น�ำ้ ในมหาสมุทรแปซิฟกิ กัน ขององั กฤษมชี ่ือวา่ Malaya นน้ั เรว็ กว่าของไทยหนึ่ง
อย่างสนุกสนาน ชาวตากใบล้วนอยากได้สะพานไป ชั่วโมง ทุกวันนี้ ตากใบ เป็นสถานท่องเที่ยวส�ำคัญ
เกาะยาว แต่ต้องรอนานมากกว่าจะได้ จึงเม่อื ได้ ก็ดี สำ� หรบั ชาว Malaysia ในตอนเหนอื ประเทศเขา คอื รฐั
อกดใี จเหลือเกิน เพราะแมค้ นทไ่ี ม่มีเรือยนต์ มแี ตร่ ถ กลนั ตนั ซงึ่ ตดิ กบั ตอนใตข้ องประเทศเรา คอื นราธวิ าส
จกั รยานยนต์ รถจกั รยานธรรมดา หรอื มแี ตส่ องเทา้ ก็ พวกเขามกั ขบั รถขา้ มชายแดนทอ่ งเทยี่ ว ชมบา้ นเมอื ง
สามารถเดนิ ทางโดยสะพานนี้ ไปแหวกวา่ ยในทะเลได้ แบบไทย เพลดิ เพลินกบั ทิวทศั น์ รับประทานอาหาร
จึงตัง้ ช่อื ให้สะพานนด้ี ้วยอารมณ์ขนั วา่ “สะพานคอย อร่อยๆ แล้วขับรถข้ามชายแดนกลับเข้าสู่มาเลเซีย
ร้อยปี” สว่ นคนไทยในถน่ิ นน้ี น้ั นอกจากจะทำ� ไดเ้ ชน่ เดยี วกนั

คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๒๐

ในพทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ดฉิ นั ไดเ้ ปน็ “ศลิ ปนิ แหง่ ชาต”ิ
สาขาวรรณศิลป์ ซึ่งเป็นรางวัลชีวิตสูงสุดที่นักเขียน
นวนยิ ายทกุ คนใฝ่ฝนั ถงึ
คนนราธวิ าส เมอ่ื มขี า่ วดกี อ็ ยากจะใหเ้ พอื่ นๆ
แลว้ ยงั มโี อกาสขา้ มแดนไปเตมิ นำ้� มนั รถในเมอื งเพอ่ื น ชาวนราธวิ าสทราบ เพราะเชื่อวา่ ทุกคนคงยนิ ดดี ว้ ย
บา้ นนีบ้ อ่ ยๆ เช่น เมอื งเป็งกาลังกโู บ หรอื โกตาบารู
ของรัฐกลนั ตนั เพราะทนี่ ่นั ราคาน�ำ้ มนั มกั จะถกู กวา่
ในประเทศไทย ตากใบจา๋ …
เพราะเขยี นใหห้ นงั สอื ชอ่ื “นรารำ� ลกึ ” จงึ ขอ นราธิวาสจะ๊ …
อธบิ ายเลก็ น้อยในท่นี ว้ี า่ ชอื่ จริงของดฉิ นั คือ เพญ็ ศรี หวงั วา่ เธอคงภมู ใิ จในตวั ฉันบา้ งไม่มากก็น้อย
ตนั วินิจ เม่อื แต่งงานแล้วกเ็ ป็น เพญ็ ศรี เคยี งศิริ ต่อ ฉนั รกั เธอ รกั เธอมาก

มาดิฉันได้กลายเป็นนักเขียนวนิยายในนามปากกา ถึงแม้ว่าฉันได้จากบ้านไปต้ังแต่อยู่ในวัยรุ่น
“นราวดี” เขยี นนวนิยายรวมท้งั หมด ๕๐ เร่อื ง หลาย ไปเรยี นตอ่ ทต่ี า่ งประเทศ แลว้ กลบั มาตง้ั รกรากอยใู่ น
เรอื่ งไดร้ บั การสรา้ งเปน็ ภาพยนตรบ์ า้ ง ละครโทรทศั น์ กรงุ เทพฯ นานเหลอื เกนิ แลว้ แตต่ อนที่คุณจิตร กับ
บา้ ง บางเรอื่ งสรา้ งหลายครัง้ เช่นเรือ่ ง นางอาย และ คุณบญุ ชนะ ตันวินิจ คณุ พอ่ คุณแมข่ องฉนั ยังอยู่ ฉัน
รกั เกดิ ในตลาดสด และดฉิ นั ไดเ้ ขยี นบทความกบั เรอ่ื ง ไดก้ ลบั มาเยีย่ มท่านบอ่ ยๆ และปจั จบุ นั นี้ คณุ ประไพ
สั้นเป็นภาษาอังกฤษ กับได้แปลนวนิยายของตนเอง เจรญิ ทรัพย์ พีส่ าวของฉนั ก็ยังอย่กู ับเธอ
ทีเ่ ขียนในนามปากกา “นราวด”ี เร่ือง “ฟา้ ใกล้ทะเล
กว้าง” ที่ได้รับรางวัลจาก คณะกรรมการพัฒนา
หนงั สือแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นภาษาอังกฤษด้วย ฉันยังคงรักเธอ
และร�ำลึกถงึ เธอเสมอ

คิดถึง...นราธิวาส : ๒๑

บันทึกบางตอน
“ชวี ิตขา้ ราชการ กทม.”

เจริญรตั น์ ชูติกาญจน์

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๒๒

“เปน็ ขา้ ราชการ ต้องหย่งิ ในเกยี รติ ในศกั ด์ศิ ร”ี เมื่อใดท่ีเรามีความสุขมีความภาคภูมิใจในผลงานน้ัน
เกียรติยศและศักด์ิศรีของคนนั้น ต้องสร้าง นีแ่ หละคือความส�ำเร็จสงู สุดในอาชพี รับราชการ
เอง ไมม่ ใี ครมาทำ� ใหเ้ ราได้ เมอ่ื สรา้ งแลว้ ตอ้ งรกั ษาเอง บนเส้นทางชีวิตการรับราชการ ผมรับ
ไม่มีใครมารักษาแทนเราได้ และไม่มีใครมาท�ำลาย ราชการครั้งแรกท่ีกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย ได้
เกียรติและศกั ดิศ์ รขี องเราได้ นอกจากตัวเราเอง โอนจากกรมที่ดินมารับราชการท่ี กทม. เร่ิมแรกท่ี
แรงบันดาลใจในการรับราชการ สำ� นกั งานเขตภาษเี จรญิ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ รวมระยะ
“คณุ แม”่ เปน็ “แรงบนั ดาลใจ” ใหผ้ มอยาก เวลา ๗ ปีเศษทภี่ าษีเจริญ เป็น ๗ ปีเศษแห่งความฝัน
มอี าชพี เปน็ ขา้ ราชการครบั ความทรงจ�ำ ความประทับใจ และความมหัศจรรย์
“อาชพี ขา้ ราชการเปน็ อาชพี ทมี่ เี กยี รต”ิ เปน็ ที่จดจ�ำไปตลอดชีวิต ท่ีน่ีเป็นแหล่งให้โอกาสให้ผม
ค�ำกล่าวของคณุ แมท่ ่มี ักพดู อย่เู สมอๆ เมอื่ ผมยงั เปน็ ได้เรียนรู้ ได้พัฒนา และส่ังสมประสบการณ์ที่ดีงาม
เดก็ และตง้ั ความหวงั ไวว้ า่ วนั หนงึ่ เมอื่ ลกู เรยี นจบแลว้ หลากหลาย ผมท�ำงานอย่างมีความสุขในสภาพ
จะไดร้ บั ราชการ ในทสี่ ดุ ตลอดชวี ติ ของผมกไ็ ดด้ ำ� เนนิ แวดล้อมทไ่ี มเ่ คยไดพ้ บอกี ในชีวติ ราชการต่อมา เป็น
ตามรอยทางน้ี สภาพแวดล้อมทมี่ ีแต่ความอบอุน่ สบายใจ สขุ ใจ มี
ชวี ติ ข้าราชการ กทม. ความเปน็ หนงึ่ เดยี วในการรว่ มแรงรว่ มใจทำ� งาน ไมว่ า่ จะ
งาน กทม. เป็นงานที่เกี่ยวกับการบริหาร เปน็ ผอู้ ำ� นวยการเขต ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการเขต ผบู้ รหิ าร
จัดการองค์กร การบริหารจัดการเมือง พัฒนาเมือง ของฝ่ายต่างๆ บุคลากรในฝ่ายต่างๆ พๆี่ เพอื่ นๆ ใน
แก้ไขปัญหาเมือง พัฒนาเมือง แก้ไขปัญหาเมือง ฝ่ายโยธาฯ ที่ผมสังกัด คนในพื้นที่ทุกภาคส่วน โดย
พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน ดูแลทุกข์สุขของ เฉพาะ กำ� นัน ผ้ใู หญ่บา้ นพร้อมทมี งาน ครู ผ้บู รหิ าร
ประชาชน ฯลฯ จึงเป็นงานท่ีมีความท้าทายผู้ที่เป็น โรงเรียนทุกโรง ผู้น�ำชุมชน ตัวแทนเกษตรกรสาขา
ขา้ ราชการทกุ คน ที่สำ� คญั ไมว่ า่ เราจะอย่ใู นต�ำแหน่ง ตา่ งๆ ท่นี ่าชืน่ ชมท่สี ุด คือ ประชาชนชาวภาษีเจรญิ
หนา้ ทีใ่ ด หากได้ท�ำหน้าทดี่ ้วยความตงั้ ใจอยา่ งเตม็ ท่ี ล้วนมีจิตใจดีงาม มีจิตสาธารณะ จิตอาสา ให้ความ
เราจะมโี อกาสไดท้ ำ� อะไรดๆี เกดิ ขน้ึ มากมายไดเ้ หน็ ไดช้ นื่ ชม รว่ มมอื รว่ มแรง รว่ มใจ กบั ทางราชการเปน็ อยา่ งดยี งิ่
ผลงานทเ่ี กดิ ขน้ึ จากนำ�้ มอื เรา จากการกระทำ� ของเรา

คดิ ถงึ ...นราธิวาส :

“ภาษีเจริญ” ได้หล่อหลอมให้ผมมีพลัง มี โอกาสและสิ่งดีๆ ท่ีเกิดขึ้นกับผมน้ัน ผมมี
ก�ำลังใจ มีความมุ่งมั่น มั่นคงและแน่วแน่ในการ ความเช่อื เรอื่ งกฎแห่งกรรม เชอ่ื ว่าทำ� ดีได้ดี ทำ� เท่าไร
ปฏบิ ตั หิ น้าที่ มคี วามสขุ ทไ่ี ดใ้ หบ้ ริการ ให้คำ� ปรกึ ษา ไดเ้ ทา่ นนั้ ใครทำ� อะไรกจ็ ะไดร้ บั สง่ิ นนั้ ทำ� อะไรทด่ี งี าม
แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ ไดพ้ ฒั นา แกไ้ ขปัญหา ท�ำ ส่งิ ดงี ามกจ็ ะมาสูเ่ รา เกดิ ขนึ้ กับเรา ถ้าไม่ไดก้ บั ตวั เอง
ส่ิงดีๆ ให้เกิดข้ึนแก่พื้นท่ีและประชาชน ท�ำให้ผมรัก ก็จะได้กับลูกหลาน ได้กับคนในครอบครัว ชีวิตรับ
และภูมิใจในอาชีพ ในเกียรติและศักดิ์ศรีข้าราชการ ราชการของผม ผมเชอื่ วา่ ไดร้ บั อานสิ งสท์ ค่ี ณุ แมส่ รา้ ง
ดังโบราณได้สอนไว้ว่า “เป็นข้าราชการ ต้องหย่ิงใน ไว้ตกทอดมาถึงผม ให้ผมไดร้ บั โอกาสท่ีดี มโี อกาสได้
เกียรติ ในศกั ดศ์ิ รี” เกยี รติ ศักดศิ์ รี และชือ่ เสียงของ ท�ำงานสำ� คัญๆ และโชคดไี ด้ผู้บังคับบัญชาดี
คนนัน้ ต้องสร้างเอง ไมม่ ใี ครมาท�ำใหเ้ ราได้ เม่อื สรา้ ง ในชวี ติ ราชการมกั ไดย้ นิ กนั เสมอวา่ ใครเจอผู้
แล้วต้องรักษาเอง ไม่มีใครมารักษาแทนเราได้ และ บงั คบั บญั ชาคนแรกดี ถอื วา่ โชคดยี ง่ิ กวา่ ถกู หวย ใครเจอ
ไม่มีใครมาท�ำลายเกียรติศักด์ิศรีและช่ือเสียงของเรา ผบู้ งั คบั บญั ชาคนแรกแยถ่ อื วา่ โชครา้ ย และถา้ ยงั ไปเจอ
ได้ นอกจากตวั เราเอง ผบู้ งั คบั บญั ชาคนตอ่ ๆ ไปแยอ่ กี ใหป้ ลงและคดิ วา่ ชาตทิ ่ี
แลว้ สรา้ งกรรมไวเ้ ยอะ และใหร้ บี ทำ� “ความด”ี ใหม้ ากๆ

คดิ ถงึ ...นราธิวาส : ๒๔

ชีวติ หลงั เกษยี ณอายรุ าชการ ชีวิตหลงั เกษยี ณกับชวี ติ ในราชการ
“ใหเ้ วลากบั ตัวเอง และใชช้ วี ิตให้มคี ณุ คา่ ” แตกตา่ งกนั แทบสนิ้ เชงิ ชวี ติ ในราชการ ถา้ มี
ชีวิตราชการในช่วงต้นรับราชการใหม่ๆ ยัง ส�ำนกึ รบั ผดิ ชอบ คอ่ นชวี ิตยกใหก้ บั ราชการ มภี าระ
โสด ใชช้ ีวิตงา่ ยๆ สบายๆ เวลาว่างจากงาน ก็ไปออก หน้าท่ีต้องรับผิดชอบ ต้องปฏิบัติ ต้องบริหาร ต้อง
กำ� ลงั กายเลน่ แบดมนิ ตนั เปน็ หลกั อาทติ ยล์ ะ ๔-๕ วนั จัดการ ภายใต้กรอบ กฎ กติกา มารยาท เงื่อนไข
ตามแตเ่ วลาจะอ�ำนวย มากมาย ชวี ติ หลังเกษียณ ภาระหนา้ ท่เี หล่านี้หายวบั
ตอ่ มามโี อกาสไดท้ ำ� งานกบั ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ทันทียังกับของวิเศษ ความรู้สึกแรกเหมือนยกภูเขา
ของ กทม. ผมไมเ่ คยมเี วลาใหก้ บั ตวั เอง แมแ้ ตไ่ ปออก ออกจากอก ชวี ติ เปน็ ของเรา เราเปน็ ผกู้ ำ� หนดโดยแท้
ก�ำลงั กายเลน่ แบดมนิ ตนั ท่ีชอบ เรียกวา่ ทมุ่ เทท�ำงาน จะมีกรอบ มีกฎ กตกิ า มารยาท ฯลฯ อยา่ งไร อยู่ทใ่ี จ
ท้งั ชีวิต หากมเี วลาว่างบ้างกใ็ ห้กับลูก อยทู่ ค่ี วามตอ้ งการของเราเอง มคี วามเปน็ อสิ ระเตม็ ท่ี
เกษียณแล้วจึงไม่ประสงค์รับงานใดๆ ขอ หลังเกษียณไดท้ �ำในสิ่งทใ่ี ฝฝ่ นั
ให้เวลากับตวั เอง และใช้ชวี ติ ใหม้ คี ณุ ค่า สบายๆ ผม ภารกิจประจ�ำวนั ทตี่ ้องท�ำให้ได้ ใหเ้ ป็นเวลา
พูดกับลูกว่า ในวัยเรียนวัยท�ำงานของลูก ห้ามเลียน ใหส้ มำ่� เสมอ ๔ เร่ือง
แบบการบรหิ ารเวลาหลงั เกษยี ณของพอ่ เพราะในวยั ๑.ออกก�ำลังกายเพ่ือสุขภาพ หลังจากที่ไม่
ทำ� งาน พอ่ บรหิ ารเวลาเปน็ นาที ไมใ่ ช่เป็นชวั่ โมงหรอื ได้ออกก�ำลังกายเลยเป็นเวลาเกือบ ๒๗ ปี คุณหมอ
เป็นวัน ที่วชิรพยาบาลแนะน�ำผมให้ออกก�ำลังกายด้วยการ
ความฝนั ชีวิตหลงั เกษียณ เดินหรือว่ายน�้ำ ผมเลือกวิธีเดินออกก�ำลังในหมู่บ้าน
เมอื่ ถอดหวั โขนแลว้ ตงั้ ใจใชช้ วี ติ ดว้ ยการเปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั จะเดนิ เมอื่ ไร อยา่ งไร เทา่ ไร อยทู่ เี่ ราเลอื ก
นายเจรญิ รตั น์ ชตู กิ าญจน์ประชาชนคนธรรมดามชี วี ติ ที่ ใหม่ๆ เดินไดป้ ระมาณคร่ึงชวั่ โมง และมาลงตวั ทเ่ี ดิน
เรยี บงา่ ยพอเพยี งมคี ณุ ภาพดแู ลสขุ ภาพตวั เองใหด้ ี เพอื่ ครงั้ ละ ๑ ชวั่ โมง อาทิตยล์ ะ ๓-๕ วัน ตามแต่เวลาจะ
ไมเ่ ปน็ ภาระแกล่ กู หลานและผใู้ ด ทำ� ตวั ใหม้ คี ณุ คา่ ตอ่ อ�ำนวย
คนรอบข้างและสังคม ควบคู่ไปกบั การบริหารตวั เอง ๒.กินอาหารที่ปรุงเอง เฉพาะมื้อเช้าและ
บรหิ ารเวลา และเงินทอง ใหเ้ หมาะสม เที่ยง ม้ือเย็นกินผลไม้ตามฤดูกาล ท่ีส�ำคัญ ไปจ่าย
ตลาดดว้ ยตวั เอง ตลาดทผ่ี มและภรรยาไปเปน็ ประจำ�
คอื ตลาดศาลายา เพราะใกล้บ้าน คณุ ภาพสนิ ค้าโดย
รวมใช้ได้ รองลงมา คอื ตลาดดอนหวาย และตลาด
วัดนักบุญเปโดรสามพราน เป็นความโชคดีที่ภรรยา
ผมมีฝีมือในการท�ำอาหาร อาหารท่ีท�ำกินส่วนใหญ่
เป็นอาหารพน้ื ๆ เน้นทค่ี ุณภาพ ความสด ความใหม่
ของวัตถุดิบ การท�ำอาหารกินเองจะได้อาหารที่ดี
มีประโยชน์ และราคาถูกมาก

คิดถงึ ...นราธวิ าส : ๒๕

๓.ขับถา่ ยเป็นเวลาทกุ เช้าหลังตนื่ นอนครับ การท�ำคุณประโยชนเ์ พือ่ สงั คม
๔.นอนเป็นเวลาและพอเพียง ในช่วงรับ ๑.รับเชิญเป็นวิทยากร ถ่ายทอดความรู้
ราชการ โดยเฉพาะช่วงปี ๒๕๒๙ ถึงปี ๒๕๕๕ ประสบการณ์ชีวิตและงานให้แก่นิสิตนักศึกษาใน
(เกษียณ) ประมาณ ๒๖ ปี ผมได้นอนเพียงวันละ สถาบันการศึกษา และข้าราชการ กทม. ตามท่ี
ประมาณ ๔ ชว่ั โมง มาถึงวันนี้ สามารถปรับการนอน หนว่ ยงานเชญิ มา หวั ข้อท่ีบรรยายเปน็ ประจำ� ไดแ้ ก่
ไดม้ ากขน้ึ เปน็ ๕ ชวั่ โมงเศษถงึ ๖ ชว่ั โมง ซงึ่ ยงั ไมเ่ พยี ง ประสบการณ์นักบริหาร การบริหารราชการ กทม.
พอ หวงั วา่ สักวันหนง่ึ จะนอนไดถ้ ึง ๘ ช่ัวโมง การบริหารงานบุคคล กทม. ความสุขความส�ำเร็จ
อานิสงส์จากการออกก�ำลังกายและการกิน ในการท�ำงาน การเขียนหนังสือราชการ คุณธรรม
อาหารดังกล่าวข้างต้น ส่งผลให้น�้ำหนักตัวเองลดลง จริยธรรมส�ำหรับผู้บริหาร การประพฤติปฏิบัติตน
๑๐ กิโลกรัมเศษ ใน ๖ เดอื นนับจากวันเกษยี ณ ไป เป็นแบบอยา่ งทีด่ ี ความทา้ ทายในการบริหารภายใต้
เจาะเลือด ผลเลอื ดปรับดขี ้ึนในบางตัว แตร่ สู้ กึ ได้ว่า ภาวะวกิ ฤติ กรณศี กึ ษา... “การบรหิ ารจดั การนำ้� ทว่ ม
สุขภาพโดยรวมดขี ้ึน ซึ่งเดมิ จะเป็นหวดั งา่ ย แต่หลัง ใหญ่ กทม. ปี ๒๕๕๔” ความรู้และประสบการณ์
เกษียณ โรคหวดั ไม่เคยถามหา นบั เป็นความโชคดอี ีก ดังกล่าวไม่อาจศึกษาค้นคว้าหรือเรียนรู้ได้จากต�ำรา
ประการหน่ึง เพราะสุขภาพดีข้นึ มีคา่ ยิ่งกว่าถกู หวย หรอื แหลง่ เรยี นรใู้ ดๆ การบรรยายจะใชเ้ วลา ๓ ชวั่ โมง
เลา่ ประสบการณ์ ๑-๑.๕ ชวั่ โมง ทเี่ หลอื เปน็ การตอบ
คำ� ถาม แลกเปลย่ี นความเหน็ ผมจะเปดิ โอกาสเตม็ ทแ่ี ก่
ผูฟ้ งั หรือนักศึกษา ท่สี ำ� คัญ จะตอบค�ำถามทกุ ค�ำถาม
ตามประสบการณจ์ รงิ ชดั เจน ไมอ่ อ้ มคอ้ ม ตรงไปตรง
มา เพ่อื ประโยชนส์ งู สุดแกผ่ ูฟ้ ัง

คิดถงึ ...นราธวิ าส : ๒๖

๒.รับเชิญเป็นกรรมการ อนุกรรมการ ขององค์กรภาครัฐ ในฐานะผู้ทรง
คุณวุฒิ ผู้มีประสบการณ์ในการบริหารงาน กทม. เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ได้ใช้
ประสบการณ์ ท�ำคุณประโยชน์ให้แก่ราชการและประชาชน ปัจจุบันรับเป็นอยู่ ๔
คณะ
๓.การรับเชิญท�ำหน้าที่ประธานงานแต่ง ส�ำหรับคู่บ่าวสาวที่มาเชิญด้วย
ตนเอง หรือพ่อแม่น�ำมาพบท่ีบ้าน ก็จะให้เวลาพอสมควรในการให้ข้อคิด ค�ำสอน
พดู คยุ แลกเปลยี่ นความเหน็ การครองชวี ติ คใู่ หม้ คี วามสขุ ประสบความสำ� เรจ็ ในชวี ติ
ครอบครัว
๔.ผมไดร้ บั เกยี รตจิ ากสมาชกิ ใหท้ ำ� หนา้ ทน่ี ายกสมาคมชาวนราธวิ าส ๒ สมยั
ตดิ ต่อกัน ระหว่างปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙ งานสมาคมเป็นงานจิตอาสา กจิ กรรมทส่ี มาคม
จดั ขนึ้ ทำ� ใหช้ าวนราธวิ าสทย่ี า้ ยมาประกอบอาชพี ตง้ั รกรากอยใู่ น กทม. และจงั หวดั
ปรมิ ณฑล ไดม้ ีโอกาสพบปะสังสรรค์ ไดต้ ดิ ตอ่ สอ่ื สาร ได้เชื่อมความสัมพนั ธ์ มโี อกาส
ไดใ้ กลช้ ิด สนทิ สนม รว่ มมือรว่ มใจกันท�ำสิง่ ดีๆ ให้แก่สมาชกิ และชาวนราธิวาส เช่น
การช่วยเหลือซึ่งกันและกันของสมาชิก การรว่ มกนั หาทนุ เข้าสมาคมฯ เพ่อื ใช้ในการ
จัดกิจกรรมต่างๆ การมอบทุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรม การให้ทุนการศึกษาแก่
นักเรียนท่ีได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ นับเป็นความภาคภูมิใจท่ีได้
เป็นสว่ นหนึ่งในการท�ำคณุ ประโยชน์ใหแ้ กบ่ า้ นเกดิ

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๒๗

เชดิ ชู ๒ ศลิ ปินแห่งชาติ
ชาวนราธวิ าส

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๒๘

นับเป็นเกียรติประวัติศาสตร์ส�ำคัญ เมื่อชาวจังหวัด
นราธิวาสโดยก�ำเนิด ได้รับการประกาศยกย่องจากกระทรวง
วัฒนธรรม ให้เป็น “ศิลปินแห่งชาติ” พร้อมกันในปีเดียวถึง
๒ ทา่ น
หนึ่งคือ นางเพ็ญศรี เคยี งศริ ิ ชาวอำ� เภอตากใบ
และอกี หนงึ่ คอื นายพมิ พป์ ฏภิ าณ พง่ึ ธรรมจติ ต์ ชาวอำ� เภอยงี่ อ

คิดถงึ ...นราธิวาส : ๒๙

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๓๐

ค�ำประกาศเกียรตคิ ุณ
นางเพญ็ ศรี เคยี งศิริ
ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาวรรณศลิ ป์ พุทธศักราช ๒๕๖๐
นางเพญ็ ศรี เคยี งศริ ิ ปจั จบุ นั อายุ ๘๖ ปี เกดิ วนั ที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ ทจ่ี งั หวดั นราธวิ าส
ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขากายภาพบ�ำบัด (Physiotherapy) จาก Royal Melbourne
Hospital และ Melbourne University ประเทศออสเตรเลยี
นางเพญ็ ศรี เคยี งศิริ เปน็ ทรี่ ูจ้ ักในนามปากกา “นราวด”ี เร่มิ เขียนเรอื่ งสัน้ เม่อื พ.ศ. ๒๕๐๔
และเขียนหนังสืออย่างสม�่ำเสมอจนถึงปัจจุบัน นับเป็นเวลาเกือบ ๖ ทศวรรษ มีผลงานประพันธ์ทั้ง
นวนิยาย เรอื่ งสั้น บทความ สารคดี บทกวี และงานแปล ท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษ จ�ำนวนหลาย
ร้อยชนิ้ โดยเฉพาะนวนยิ ายมกี วา่ ๕๐ เรอื่ ง ฟ้าใกลท้ ะเลกว้าง และฟา้ สางทีก่ ลางใจ ไดร้ ับรางวัลจาก
คณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ นวนิยายหลายเร่ืองถูกน�ำไปสร้างเป็น
ภาพยนตร์และละครโทรทศั น์ เช่น นางอาย และรกั เกดิ ในตลาดสด ซ่งึ สรา้ งซ้ำ� หลายคร้งั
นวนยิ ายของนางเพญ็ ศรี เคยี งศริ ิ มหี ลายแนว เชน่ นวนยิ ายรกั นวนยิ ายชวี ติ ครอบครวั นวนยิ าย
ประวตั ิศาสตร์ท้องถิน่ นวนยิ ายตลก นวนิยายแนวเหนอื จริง ฯลฯ จดุ เด่นของงานเขียน คือ การสรา้ ง
ความบนั เทงิ แกผ่ อู้ า่ นไปพรอ้ มกบั การใหค้ วามรแู้ ละขอ้ คดิ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เรอื่ งความรกั ในครอบครวั
การด�ำรงตนในสงั คม ความภาคภมู ใิ จในแผ่นดนิ ถิน่ เกิด การพึ่งตนเอง ไมค่ ิดเอาเปรียบผูอ้ ่นื และการ
อยู่รว่ มกนั อย่างสมานฉันท์ของคนไทย คนจีน คนมุสลิม ซึ่งเปน็ คนตา่ งศาสนาต่างวัฒนธรรมในท้องถิ่น
ภาคใตข้ องไทย แมจ้ ะเปน็ ภาพอดตี แตก่ เ็ ตอื นสตใิ หค้ นปจั จบุ นั ไดต้ ระหนกั ถงึ การสรา้ งสงั คมทสี่ งบและ
สนั ติสุข
นอกจากสรา้ งสรรคง์ านเขียนและงานแปลอย่างสม�ำ่ เสมอแลว้ นางเพญ็ ศรี เคยี งศิริ ได้ท�ำงาน
เพอื่ ประโยชนต์ อ่ วงวรรณกรรม โดยเฉพาะในชว่ งทด่ี ำ� รงตำ� แหนง่ นายกสมาคมนกั เขยี นแหง่ ประเทศไทย
อกี ท้งั ยังทำ� งานใหอ้ งคก์ รสาธารณกุศลและองค์กรวิชาชพี ตา่ งๆ ได้รับรางวัลและเกียรติคุณจากภาครฐั
และเอกชนหลายรางวัล
นางเพ็ญศรี เคียงศิริ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๓๑

คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๓๒

คำ� ประกาศเกียรติคุณ
นายพมิ พ์ปฏภิ าณ พ่งึ ธรรมจิตต์
ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
นายพิมพป์ ฏิภาณ พึ่งธรรมจติ ต์ เกดิ วนั ที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พุทธศกั ราช ๒๔๘๑ ที่อ�ำเภอย่งี อ
จังหวัดนราธวิ าส พ.ศ. ๒๔๙๘ สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมปลาย ทโี่ รงเรยี นสันติราฎรบ์ �ำรงุ จงั หวดั
กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๐๑ สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ทโ่ี รงเรยี นพาณชิ ยการธนบรุ ี
ระหว่างท่ีก�ำลังศึกษาเล่าเรียนที่โรงเรียนประจ�ำจังหวัดนราธิวาส ได้ฝึกการเล่นดนตรีอยู่ใน
วงโยธวาทิตของโรงเรียน และได้หัดเรียนเครื่องดนตรีช้ินแรกคือ “ปิคโคโล่” ต่อมาได้ร่วมบรรเลงกับ
วงแตรวงของโรงเรียนขณะท่ีศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ที่โรงเรียนสันติราษฎร์บ�ำรุง ได้มีโอกาสเรียน
ดนตรีในระดบั ท่สี ูงขนึ้ จากครูผ้สู อนจากวงดุริยางค์ของกรมตำ� รวจ พ.ศ. ๒๔๙๙ กไ็ ดศ้ ึกษาดา้ นดนตรที ่ี
สงู ขน้ึ กบั อาจารย์ อาวธุ เมฆเรยี บ ซง่ึ เปน็ อาจารยส์ อนทางดา้ นดนตรขี องโรงเรยี นพณชิ ยการพระนครดว้ ย ใน
ระหวา่ งทศ่ี กึ ษาไดม้ โี อกาสเลน่ ดนตรใี นงานแสดงตา่ งๆ และตอ่ มาไดส้ มคั รเรยี นดา้ นการเรยี บเรยี งเสยี งประสาน
กบั อาจารยแ์ มนรตั น์ ศรกี รานนท์ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ทโ่ี รงเรยี นดนตรสี ยามกลการ ปทมุ วนั รนุ่ แรกอกี ดว้ ย
พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๐๖ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ไดเ้ สดจ็
ทรงดนตรรี ่วมกบั นักดนตรีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายพิมพป์ ฏภิ าณ พง่ึ ธรรมจิตต์ ไดร้ ว่ มเลน่
แซกโซโฟนในวงดนตรี TU.Band ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ด้วย และเปน็ ผู้หน่ึงท่ีไดร้ ว่ มเล่นดนตรี
แซกโซโฟน ดว้ ยเปน็ ผทู้ มี่ ใี จรา่ เรงิ แจม่ ใส และมอี ารมณด์ อี ยเู่ สมอ และสามารถพดู ภาษามลายู (ยาว)ี ได้
อยา่ งคลอ่ งแคลว่ และออกเสยี งไดอ้ ยา่ งชดั เจน จงึ เปน็ พนื้ ฐานทส่ี ำ� คญั ทน่ี ายพมิ พป์ ฏภิ าณสามารถนำ� ไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแตง่ เพลงและการเรยี บเรยี งเสยี งประสาน โดยใชว้ ธิ กี ารสรา้ งแนวทำ� นองใหส้ อดคลอ้ ง
กบั คำ� รอ้ ง เนอื้ หาและความหมายของเพลง รวมทง้ั ใชเ้ ทคนคิ แบบดนตรสี ากลและเลอื กใชเ้ ครอื่ งดนตรี
ไดอ้ ย่างเหมาะสมสอ่ื ถงึ อารมณข์ องเพลงได้อย่างไพเราะ
ผลงานประพนั ธ์ เชน่ เพลงแมส่ าย เพลงพะวงรกั เพลงเทพธิดาดอย เพลงโชคดีทม่ี ีในหลวง
เพลงสมเดจ็ ย่าของชาวไทย เพลงพุทธานุภาพ เพลงมหาราชินี เปน็ ตน้ พมิ พ์ปฏิภาณ ยังคงสรา้ งสรรค์
ผลงานออกมาอยา่ งอยา่ งสมำ�่ เสมอ รวมทงั้ ไดส้ รา้ งหอ้ งบนั ทกึ เสยี ง เปน็ ทถี่ า่ ยทอด ใหค้ วามรแู้ ละเทคนคิ
ในการรอ้ งเพลงใหแ้ กน่ กั รอ้ งและผทู้ ม่ี าบนั ทกึ เสยี ง ทงั้ ยงั ควบคมุ การฝกึ ฝนรอ้ งเพลงใหก้ บั กลมุ่ ทม่ี ารอ้ ง
เพลงประสานเสยี งสร้างศิลปนิ ลูกกรุงหนา้ ใหมอ่ ยา่ งต่อเนอื่ ง
นายพมิ พป์ ฏภิ าณ พงึ่ ธรรมจติ ต์ จงึ ไดร้ บั การยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตเิ ปน็ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะ
การแสดง (ดนตรีไทยสากล) พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

คิดถงึ ...นราธิวาส : ๓๓

จนี ศกึ ษา

กับการสรา้ งเมือง “โก-ลก”
ปราณชลี
คดิ ถึง...นราธิวาส : ๓๔

พ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด�ำรงอยู่ด้วยความหลากหลายและศรัทธาในหลักศาสนาของแต่ละ
ผู้คน ไม่ว่าจะเป็นคนไทยท่ีนับถือศาสนาพุทธ คนไทยเช้ือสายจีน คนมลายูมุสลิม รวมถึงผู้นับถือศาสนา
คริสต์ ซิกข์ ฯลฯ ผู้คนแต่ละคน แต่ละกลมุ่ ลว้ นมีท่มี าท่ไี ป มปี ระวัติการเคล่ือนตัว การกอ่ ตง้ั มีรากเหงา้ มี
เสน้ ทางอพยพสรา้ งหลกั ปกั ฐานแตกตา่ งกนั ตา่ งสำ� นกึ ในชาตพิ นั ธ์ุ ศรทั ธาในศาสนา และภมู ใิ จในอตั ลกั ษณ์
แห่งตน
มีข้อมูลว่า ปัจจัยท่ีท�ำให้คนจีนเข้ามาต้ังถ่ินฐานในโลกมลายูมีอยู่หลายประการด้วยกัน ไม่ว่าจะ
เปน็ ท�ำเลท่ีตง้ั ซ่ึงอยู่ในเสน้ ทางการแลกเปล่ยี นวฒั นธรรมและการค้าทางเรอื อุดมด้วยทรพั ยากรธรรมชาติ
ของป่า เครือ่ งเทศ และเครื่องหอม อุดมดว้ ยแหล่งแรแ่ ละกิจการเหมอื งแรด่ บี ุก สภาพทางภมู ิศาสตรเ์ อือ้
ตอ่ พชื เกษตรและพชื เศรษฐกจิ ขาดแคลนแรงงานเพอ่ื การบกุ เบกิ ปญั หาภายในของประเทศจนี ชาวตา่ งชาติ
แทรกแซงอธิปไตยและการค้าในจีนและเอเชียอาคเนย์ ชาวจีนจ�ำนวนหนึ่งมีญาติมิตรเข้ามาอยู่ก่อนแล้ว
และความคลา้ ยคลงึ ของคนจีนกบั คนพนื้ ท่ี ทีเ่ อื้อประโยชนต์ ่อกนั
การยกฐานะของคนจีนไมว่ า่ จะอาศยั อย่ใู นพืน้ ท่ีแหง่ ใดกต็ าม มกั ประกอบดว้ ยปจั จัย ๔ ประการ
คอื ๑.มคี วามรใู้ นการเลอื กแหลง่ และลทู่ างทำ� กนิ ทเี่ หมาะสม ๒.มคี วามขยนั และอดทน ๓.มกี ารใชภ้ มู ปิ ญั ญา
การจัดการเพอ่ื เพม่ิ มลู คา่ ทรพั ยากร ๔.มีความมัธยัสถ์อดออมเพอื่ สะสมทุน ครอบครวั คนจนี อพยพ เมื่อได้
มาอาศยั อยใู่ นพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ลว้ ไดอ้ าศยั อยอู่ ยา่ งเกอื้ กลู กบั ผคู้ นในพน้ื ท่ี ผา่ นการเรยี นรู้ ชว่ ย
เหลือ ผกู พนั ตราบกระท่ังนบั ถือเป็นพน่ี ้องกันแม้นจะต่างศรัทธาความเชอ่ื เนือ่ งเพราะล้วนให้ความเคารพ
ซึ่งกันและกัน และต่างรักษาอัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์แห่งตนไว้อย่างเหนียวแน่น ดังเช่นภาพสะท้อนผ่าน
ศลิ ปวัฒนธรรม หรืองานประเพณีส�ำคัญ
ความจรงิ แลว้ จำ� นวนประชากร “คนจนี ” ทอ่ี าศยั ในพนื้ ทช่ี ายแดนใต้ มกี ารเคลอื่ นไหวเปลย่ี นแปลง
โดยปัจจยั แวดล้อมอยู่แล้ว เพราะลกู หลานตา่ งเติบใหญม่ คี รอบครวั มกี ารงานเปน็ หลักเปน็ ฐาน ตวั เองใน
ฐานะร่นุ บกุ เบกิ หรอื ร่นุ เก่าอายุกล็ ว่ งสูว่ ยั ชรา หลายคนจึงย้ายจากถิน่ เกิดไปอาศัยในถิน่ ใหม่ตามเมืองใหญ่
ร่วมกับลูกหลาน เผชิญชะตากรรมในสถานที่ใหม่เพราะเห็นโอกาสท�ำธุรกิจหรือลงทุนว่าน่าจะดีกว่าที่เก่า
แตเ่ มอื่ เกดิ สถานการณไ์ ฟใต้รอบใหม่ หลายครอบครัวเกิดความหวัน่ ใจ ได้รับผลกระทบจากเหตุการณท์ ั้ง
โดยทางตรงและทางออ้ ม ท�ำให้สภาวะการดำ� รงชวี ิตประจ�ำวนั ไม่ค่อยปกตินัก จงึ เลือกยา้ ยท่ีอยจู่ ากท่ีเคย
อาศยั อยู่รอบนอก ตามอ�ำเภอ ชมุ ชนตา่ งๆ มีบา้ งทต่ี ัดสนิ ใจยา้ ยมาอยใู่ นเมอื ง ในเขตเทศบาล เพราะเหน็
วา่ น่าจะปลอดภยั กว่า ส่วนที่อยู่ในเมอื งเดมิ อยแู่ ลว้ มกี ารปรับตัวทัง้ การดำ� เนินชวี ิตและการทำ� ธรุ กิจเพื่อให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มทเี่ ปลย่ี นแปลงไปซง่ึ เปน็ เรอ่ื งปกตอิ ยแู่ ลว้ ทง้ั ในฐานะรนุ่ บกุ เบกิ หรอื ทายาทลกู หลาน
คนไทยเชอ้ื สายจนี ในพน้ื ทช่ี ายแดนใต้ ดงั ตวั อยา่ งของ “หลวงพธิ านอำ� นวยกจิ ”

คิดถงึ ...นราธวิ าส : ๓๕

หลวงพิธานอ�ำนวยกิจ เป็นคหบดีผู้สร้างฐานะขึ้นมาด้วยความวิริยะอุตสาหะ มีกิจการค้า
หลายอยา่ ง เปน็ แบบอยา่ งความสำ� เรจ็ ของนกั การคา้ ไดอ้ ยา่ งดี ตน้ ตระกลู เดมิ อยทู่ อี่ ำ� เภอไฮเตง้ มณฑล
ฮกเกีย้ น ประเทศจีน เดินทางอพยพมาทางภาคใต้เพ่ือปกั หลักสรา้ งฐานในประเทศไทย ผมู้ าคนแรก
ได้แกป่ ทู่ วดช่ือ อิน ต่อมาปู่ของหลวงพธิ านฯ ชื่อ เลง่ และบิดาชอื่ กวย (จัน กมิ กวย) ได้ตดิ ตามมา
โดยมาท�ำการค้าทีต่ ำ� บลตะลุบัน อ�ำเภอสายบุรี จังหวดั ปตั ตานี หลวงพธิ านฯ หรอื “เถา้ แก่ จนั ฮก ซนุ่ ”
เกดิ ทต่ี ำ� บลตะลบุ นั เมอื่ วนั ที่ ๒๙ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๔๐ วยั เยาวไ์ ดร้ บั การศกึ ษาขนั้ ตน้ จากโรงเรยี นประชาบาล
อกี ประการหนง่ึ ทา่ นไม่ไดล้ ะเลยภาษาบรรพบรุ ษุ ด้วยเหตนุ ้ีบิดาจงึ เชญิ อาจารย์มาสอนภาษาจนี และ
ลัทธิขงจื๊อให้เป็นเวลาหลายปี จากนั้นท่านร่วมมือค้าขายกับเพื่อนๆ จึงได้เรียนรู้เก่ียวกับการเขียน
การคำ� นวณ และประเพณจี นี กบั เพอื่ นรว่ มงาน กระทงั่ ปี พ.ศ. ๒๔๕๗ อายุ ๑๘ ปี ตดั สนิ ใจแยกไปเส่ยี ง
โชคแต่ผู้เดยี ว ลงทุนเปดิ ร้าน “จันซ่นุ เซ่ง” ทีเ่ มืองนราธวิ าส จ�ำหน่ายน�ำ้ มันกา๊ ดตรามงกฎุ ผลติ ภัณฑ์
ของบริษัทน้�ำมันเชลล์ ซง่ึ ตั้งอย่ทู ่ปี นี งั
อยา่ งไรก็ตาม ขณะหลวงพิธานฯ อายุ ๑๙ ปี บิดาไดถ้ ึงแก่กรรม การคา้ ท่รี ้านตกต�่ำลงทันที
ตัวเองแม้อายุน้อยแต่พยายามประคับประคองฐานะเพื่อความอยู่รอดของครอบครัว บริหารกิจการ
ค้าขายโดยบรรจุบุคคลเข้าท�ำงานในต�ำแหน่งหน้าท่ีท่ีเหมาะสม ท�ำให้กิจการค้าเจริญรุ่งเรืองข้ึนโดย
ลำ� ดบั ข้นั ต้นไดต้ ัง้ รา้ น “จนั ซุ่นฮวด” ทีต่ �ำบลตะลุบัน และรา้ น “จันซ่นุ เซ่ง” ทีน่ ราธวิ าส ตอ่ มาได้รับ
การสนบั สนนุ จาก บรษิ ทั เอเชยี ตกิ เปโทรเลยี่ ม จำ� กดั รบั มอบใหเ้ ปน็ เอเยน่ ต์ จงึ ตง้ั รา้ น “จนั เอก็ เซง่ ”
ทปี่ ตั ตานี กจิ การคา้ ขยายออกไปตามลำ� ดบั ไดร้ บั ความเชอ่ื ถอื จากโรงงานอตุ สาหกรรมทม่ี ชี อ่ื เสยี งใน

ทวีปยุโรปและอเมรกิ า เช่น บรษิ ทั ยาสบู องั กฤษและ
อเมริกา บริษทั เนสเล่ จำ� กัด บรษิ ทั ขายรถยนตเ์ ชฟ
โรเล็ต บริษัทขายน้�ำอัดลม บริษัท เฟรเซอร์แอนด์
นีฟ จ�ำกดั บรษิ ทั ยางรถยนต์กดู เยียร์ เป็นตน้ ตั้งให้
เป็นเอเยน่ ต์ ขณะเดยี วกนั ไดห้ าทีด่ ินทีเ่ หมาะสมเพ่อื
ปลกู ยางพารา พฒั นาทรพั ยากรธรรมชาตใิ ห้เพิม่ พนู
ผลติ และรบั สนิ คา้ ในทอ้ งถน่ิ ไปจำ� หนา่ ยตา่ งประเทศดว้ ย

ต่อมา เพ่ือขยายกิจการค้าขายให้กว้างขวางออกไปอีก หลวงพิธานฯ เปิดร้าน “จันเต็ง
เซ่ง” ทีส่ ุไหงโก-ลก จงั หวัดนราธวิ าส เพิม่ ขึน้ อกี แหง่ หนึ่งเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๓ ปีน้นั บรษิ ทั บรติ ชิ
อเมรกิ นั โตแม็กโก จำ� กัด (บี.เอ.ท.ี ) ใหค้ วามไวว้ างใจแตง่ ตั้งใหเ้ ป็นผแู้ ทนจำ� หนา่ ยผลิตภณั ฑ์บหุ รี่
ในเมืองปัตตานีและนราธิวาส และต่อมาก็ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้แทนจ�ำหน่ายบุหร่ีของโรงงานยาสูบ
กระทรวงการคลัง ในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส กิจการร้านค้าต่างๆ ท่ีเปิดขึ้นเจริญ
รงุ่ เรอื งและขยายตลาดออกไปเรื่อยๆ
เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๙ หลวงพธิ านฯ มคี วามเห็นว่า กจิ การขายนำ�้ มนั เบนซินและผลิตภัณฑ์
นำ�้ มนั เกย่ี วโยงกบั รถยนตบ์ รรทกุ และรถโดยสาร จงึ ไดเ้ จรจาขอเปน็ ผแู้ ทนจ�ำหนา่ ยรถยนตน์ ง่ั และ
รถบรรทุกย่ีห้อเชฟโรเลต็ ของ บรษิ ัท เยนเนอรลั มอเตอร์ จำ� กัด แห่งสหรัฐอเมรกิ า จนสำ� เรจ็ ในปี
คดิ ถึง...นราธิวาส : ๓๖

นัน้ เอง และปตี ่อมาได้ทุม่ เทผลก�ำไรจากการค้าขาย ด้วยการเปิดร้าน “จันเล็กเซ่ง” ข้นึ อกี แห่งหน่ึงที่
จงั หวดั ยะลา ลว่ งถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ หลงั นำ� ภรรยาและบตุ รเดนิ ทางไปประเทศจนี เกดิ ความประทบั ใจ
ตอ่ ความอุดมสมบูรณ์ของเอเชียอาคเนย์และวฒั นธรรมของประเทศจนี เป็นอย่างมาก จงึ ไดต้ ดั สนิ ใจ
รวบรวมกิจการรา้ นค้าที่เปิดข้นึ ไวห้ ลายแหง่ เขา้ เปน็ รปู บรษิ ัท จดทะเบยี นเป็น บรษิ ทั พิธานพาณชิ ย์
จ�ำกัด เมอื่ วันท่ี ๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๒ และแต่งตั้งผ้จู ัดการสาขาตา่ งๆ ข้นึ ปีเดียวกนั น้ันเอง หลวง
พิธานฯ มองเห็นการณ์ไกลว่า “ยางพารา” เป็นสินค้าส�ำคัญของประเทศไทย จึงทุ่มเทก�ำลังสร้าง
สวนยาง ๑,๘๐๐ ไร่ที่ อำ� เภอรอื เสาะ จังหวดั นราธวิ าส และท่อี น่ื ๆ เชน่ อ�ำเภอตันหยงมัส อ�ำเภอ
ระแงะ จังหวัดนราธวิ าส เป็นต้น กระทง่ั ตอ่ มาธรุ กิจตา่ งๆ โดยภาพรวมเติบโตเปน็ ลำ� ดบั เช่น บรษิ ทั
เยนเนอรลั มอเตอร์ จ�ำกดั แหง่ สหรฐั อเมรกิ า ไดใ้ ห้ความไวว้ างใจแตง่ ตง้ั บรษิ ทั พิธานพาณชิ ย์ จำ� กดั
เปน็ ผ้แู ทนจำ� หนา่ ยผลติ ภัณฑ์รถยนต์เชฟโรเลต็ ทั่วภาคใต้ ฯลฯ
สง่ิ สำ� คญั คอื นอกจากดำ� เนนิ ธรุ กจิ แลว้ หลวงพธิ านฯ ยงั ไดส้ ละเวลา ทรพั ยส์ นิ กำ� ลงั กาย และ
ก�ำลงั ใจ ทำ� บุญกศุ ล บรจิ าคเงนิ สรา้ งวดั วาอาราม โรงเรียน และโรงพยาบาล เพอ่ื สาธารณประโยชน์
อันจะทำ� ให้ทอ้ งถิ่นมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ดว้ ยเหตนุ ีเ้ องปี พ.ศ. ๒๔๗๔ จงึ ไดร้ ับพระมหากรุณาธิคณุ
โปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยู่หวั พระราชทานบรรดาศกั ด์เิ ป็น “หลวงพิธาน
อำ� นวยกิจ” ขณะมีอายุเพียง ๓๕ ปี นอกจากนย้ี งั ให้ความสำ� คญั กบั เรื่องการศกึ ษาเป็นพิเศษ เคยได้
รับการแต่งต้ังเป็นกรรมการเหรัญญิกด�ำเนินการเร่ืองการจัดต้ังโรงเรียนจีนแห่งใหม่ เป็นกรรมการ
โรงเรียนสอนภาษาจีน กรรมการเหรญั ญิกสมาคมชาวจีนจังหวัดปตั ตานี ยะลา และนราธวิ าส ฯลฯ
กระท่งั ถงึ แกก่ รรมเมอ่ื วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๗
ทุกวนั น้ี กิจการในนาม “พธิ านพาณชิ ย์” ไดร้ บั การยอมรบั ของผบู้ รโิ ภคโดยทว่ั ไป ทายาท
สามารถสานต่อธุรกิจจนเป็นที่ชื่นชมของสังคม ที่ส�ำคัญ ทายาทลูกหลานยังคงให้ความส�ำคัญกับ
กจิ กรรมเชงิ สงั คม เปน็ หนง่ึ ในตวั อยา่ งของ “จนี ศกึ ษา” บนแผน่ ดนิ มลายู ซงึ่ ตอ้ งปรบั ตวั ใหส้ อดคลอ้ ง
กบั สภาพแวดลอ้ ม ทง้ั ในอดีต ปจั จุบัน และอนาคต
ยอ้ นกลบั ไปยคุ “กอ่ รา่ งสรา้ งเมอื ง” ผเู้ ขยี นอดรำ� ลกึ ถงึ เรอ่ื งราวของบคุ คลสำ� คญั อกี คนหนงึ่ ไม่
ได้ น่ันกค็ อื “นายวงศ์ ไชยสวุ รรณ์” นักพฒั นาและนักปกครองคนสำ� คญั ของจังหวดั นราธวิ าส ผู้รเิ ร่มิ
สร้างเมอื ง “สุไหงโก-ลก” จังหวดั นราธิวาส กระทง่ั กลายเปน็ ท�ำเลสำ� คญั ทางเศรษฐกจิ เมืองหนงึ่ ของ
ภาคใต้
นายวงศ์ ไชยสวุ รรณ์ เกิดเมอ่ื วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๔๐ ท่บี า้ นคลา้ อำ� เภอเมือง
จังหวัดปตั ตานี เปน็ บุตรของขุนไชยภกั ดี (คงทอง) และนางทองนวล ไชยสุวรรณ์ ส�ำเรจ็ การศึกษาช้นั
มธั ยมปที ี่ ๕ จากโรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ จังหวัดปัตตานี เคยเปน็ ครโู รงเรยี นวดั ตานีนรสโมสร จงั หวัด
ปัตตานี เป็นเสมยี นชนั้ ๑ (กระทรวงมหาดไทย) อ�ำเภอยะหริง่ จงั หวัดปัตตานี เป็นกำ� นนั ต�ำบลปโู ยะ
ตำ� บลปาเสมสั ต�ำบลสุไหงโก-ลก จงั หวดั นราธิวาส เป็นสมาชกิ สภาจังหวัดนราธิวาส ๕ สมัย (๒๐ ปี)
เปน็ ประธานสภาจงั หวดั นราธวิ าส ๒๓ สมยั เปน็ นายกเทศมนตรสี ไุ หงโก-ลก ๕ สมยั เปน็ ประธานสภา
เทศบาลสไุ หงโก-ลก ๑๑ สมยั และเปน็ ผ้แู ทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส ๑ สมยั

คดิ ถึง...นราธิวาส : ๓๗

นายวงศ์ ไชยสวุ รรณ์ เรม่ิ สรา้ งเมอื งสไุ หงโก-ลก
เม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๓ จากสภาพซ่ึงเป็นป่าดงดิบ มีต้นไม้
ขนาด ๒-๓ คนโอบ ประชาชนทั่วไปเรียกชื่อป่าแห่งนี้
วา่ “ปา่ จนั ตหุ ล”ี โดยนายวงศไ์ ดน้ ำ� โครงการและแผนผงั
ซง่ึ คดิ จะสรา้ งเมอื งนไี้ ปหารอื “พระศรสี ทุ ศั น”์ ขา้ หลวง
ประจ�ำจงั หวดั นราธิวาสสมยั น้นั ตลอดทั้งได้ปรึกษากบั
เพ่ือนๆ แตก่ ไ็ มม่ ีใครเหน็ ดว้ ย จึงเกดิ ความท้อใจ แต่ใน
ทส่ี ดุ มเี จา้ ของทดี่ นิ ในบรเิ วณนนั้ จำ� นวน ๕ คนทเ่ี หน็ ดว้ ย คอื
นายกัน่ สามสกฤษณ นายเจะ๊ หมดั สาเระ นายเจ๊ะอุเซ็ง นายหวัน ยายอ และ นายอาแว บอื ซา ได้
รวบรวมเงนิ กอ้ นหนงึ่ จำ� นวน ๕๐๐ บาท ซงึ่ ในสมยั นน้ั มคี า่ มาก มอบใหน้ ายวงศ์ พรอ้ มทง้ั มอบกรรมสทิ ธิ์
ท่ดี ินจ�ำนวน ๑,๒๒๕ ไร่ ใหจ้ ัดการถางปา่ และปราบพ้ืนท่ี
นายวงศ์จึงลงมือตัดถนนในบริเวณนั้นตามแผนผังรวม ๓๑ สาย การสร้างถนนท้ังหมดนี้ได้
จ้างเหมาท�ำเปน็ สายๆ ราคาคา่ จ้างเหมาต้ังแต่ ๖-๑๒ บาท จากนนั้ ได้ลงทุนสรา้ งตลาดสด ๑ แห่งใน
ศนู ย์กลางเนอ้ื ท่ดี นิ แห่งนดี้ ว้ ยเงนิ สว่ นตัว แล้วแนะน�ำการปลกู พชื ผลตา่ งๆ แก่คนในหมู่บ้านรวม ๑๒
หมู่บ้าน ชักชวนให้น�ำผลผลิตมาขายในตลาดสดแห่งนี้ พร้อมท้ังชักชวนให้เจ้าของท่ีดินบริเวณน้ันได้
ปลูกสร้างหอ้ งแถวขน้ึ คนละ ๒-๓ คหู า แล้วแบ่งขายที่ดนิ ใหแ้ ก่ผ้อู ื่นบา้ งในราคาย่อมเยา เพ่อื เปน็ การ
ชักจงู ใจให้มาอย่กู นั เปน็ หลกั แหลง่ ทดี่ ินในสมยั นนั้ ขนาด ๕ x ๓๐ เมตร ราคาประมาณ ๒๐-๓๐ บาท
โดยผอ่ นสง่ เดอื นละ ๕๐ สตางค์บ้าง ๑ บาทบ้าง ถ้าไมท่ �ำการปลูกสร้างห้องแถวข้ึน เจา้ ของทดี่ นิ เดิม
จะตอ้ งรบิ ทด่ี นิ กลบั คนื เพอื่ ขายใหก้ บั คนอน่ื ตอ่ ไป จงึ มผี มู้ าซอ้ื ทดี่ นิ และปลกู สรา้ งหอ้ งแถวขนึ้ มากเปน็
ลำ� ดับ
ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ นายวงศ์ ไชยสวุ รรณ์ ไดค้ ดิ ทจ่ี ะตดั ถนนจากสถานทแ่ี หง่ น้ีไปยงั ท้องท่อี �ำเภอ
ตากใบ อ�ำเภอสไุ หงปาดี อำ� เภอแว้ง จะสร้างวัด ๑ วัด สรา้ งโรงเรียนประชาบาล ๑ โรง และขดุ คลอง
แต่ไม่ส�ำเร็จ หากต่อมาก็ท�ำให้มีโรงเรียนเกิดขึ้นเป็นแห่งแรกในท้องที่แห่งน้ี คือ โรงเรียนบ้าน
สุไหงโก-ลกในปจั จบุ นั และปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดช้ กั ชวนราษฎรและบอกบญุ ไปยงั ผมู้ จี ติ ศรทั ธา รวบรวม
เงนิ สรา้ งกฏุ ิขน้ึ ๕ หลัง ธรรมศาลา ๑ หลงั โรงครัว ๑ หลัง และบ่อน้�ำ ๑ บอ่ นิมนตพ์ ระสงฆจ์ ากรัฐ
กลนั ตนั ประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซยี จำ� นวน ๑๑ รปู มาจำ� พรรษาเปน็ ครงั้ แรก ใหช้ อื่ วา่ “วดั ชลเฉลมิ เขต”
ซงึ่ เจรญิ สืบต่อมาจนกระทง่ั ปัจจบุ ัน

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส : ๓๘

ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๗๖ หลังประเทศไทยเปล่ยี นแปลงระบอบการปกครองเปน็ แบบประชาธิปไตย
นายวงศ์ ไดร้ ับเลือกตงั้ ให้เป็นผู้แทนตำ� บลปูโยะ และท�ำคุณประโยชนใ์ หก้ ับราษฎร โดยเฉพาะที่เก่ียวขอ้ ง
กับกรมรถไฟ เชน่ ขอรอ้ งใหจ้ ดั เดนิ รถไฟเพมิ่ ๑ ขบวน จากสถานียะลาไปยังสุไหงโก-ลก เรียกรถไฟขบวน
นวี้ ่าขบวนกลางวัน กรมรถไฟจดั การเดินรถไฟขบวนนี้ตามที่นายวงศข์ อ ประชาชนจงึ ได้รบั ความสะดวก
เพม่ิ ขน้ึ รวมถงึ วางโครงการจดั สรา้ งถนนเชอ่ื มจากสไุ หงโก-ลก ไปยงั สถานทต่ี า่ งๆ การเชญิ เอารฐั ธรรมนญู
ฉบบั จำ� ลองมาทำ� การฉลองทสี่ ไุ หงโก-ลก สมยั พ.อ.พระยาพหลพลพยหุ เสนา ดำ� รงตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรี
ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ บรเิ วณ “ปา่ จนั ตหุ ล”ี ทน่ี ายวงศแ์ ผว้ ถางเพอ่ื แปลงปา่ เปน็ เมอื ง เกดิ เปน็ อาคาร
บา้ นเรอื น มปี ระชาชนพากนั มาอยหู่ นาแนน่ จนปรากฏวา่ มรี าษฎรเขา้ มาอยใู่ หม่ ๖,๕๐๐ คนเศษ เมอ่ื รวม
เขา้ กบั ราษฎรตำ� บลปโู ยะซง่ึ มอี ยกู่ อ่ นแลว้ ๕,๘๐๐ คน รวมเปน็ ๑๒,๓๐๐ คน กลางปนี นั้ เองรฐั บาลไดแ้ ยก
ตำ� บลปโู ยะออกเปน็ ๒ ต�ำบล โดยเอาอาณาเขตกว้างยาวของ “ป่าจันตุหล”ี ทง้ั หมดเปน็ เขตต�ำบลหนง่ึ
เรียกว่า “ต�ำบลสุไหงโก-ลก” ส่วนเนื้อท่ีนอกเขตบริเวณนี้คงเป็นต�ำบลปูโยะอยู่ตามเดิม นายวงศ์ไดเ้ ปน็
กำ� นันตำ� บลสุไหงโก-ลก สว่ นต�ำบลปโู ยะ ได้จัดตั้งคนใหม่แทน ปเี ดยี วกนั น้ี จอมพลแปลก พบิ ลู สงคราม
นายกรัฐมนตรี ได้มาตรวจราชการที่ต�ำบลสุไหงโก-ลก นายวงศ์ได้ร้องขอให้เปิดเทศบาลต�ำบลสุไหง
โก-ลก จอมพลแปลก พิบูลสงคราม เหน็ พอ้ งดว้ ย จงึ ส่ังใหท้ ำ� การเปิดเทศบาลข้ึนในวนั ที่ ๒๔ มิถุนายน
พ.ศ. ๒๔๘๓ นับว่าเป็นประวัติการณ์ท่ีแปลกท่ีขอตั้งเทศบาลได้โดยวาจา รัฐบาลได้แต่งตั้งสมาชิกสภา
เทศบาลผู้เริ่มเตรียมการครั้งแรก ซึ่งอายุสมาชิกภาพมีก�ำหนดเพียง ๒ ปี และนายวงศ์ได้รับเลือกเป็น
นายกเทศมนตรีเปน็ คนแรก
ครน้ั วนั ท่ี ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๙ นายวงศ์ ไชยสวุ รรณ์ ไดร้ บั เลอื กตัง้ เป็นผ้แู ทนราษฎรจังหวดั
นราธิวาส จึงได้ลาออกจากต�ำแหน่งนายกเทศมนตรี และในขณะท่ีได้รับเลือกเข้าเป็นผู้แทนราษฎรนั้น
ไดเ้ สนอให้รฐั บาลยกฐานะตำ� บลสุไหงโก-ลก ขึ้นเปน็ อ�ำเภอ เพราะตำ� บลนต้ี ้งั อยู่ทชี่ ายแดนติดต่อกบั ตา่ ง
ประเทศ และมีเทศบาลต้งั อยู่แลว้ รฐั บาลสมยั นัน้ เห็นพอ้ งด้วย จงึ ตง้ั เปน็ ก่งิ อำ� เภอขน้ึ ก่อน แลว้ ตอ่ มา
ได้ยกฐานะเป็นอ�ำเภอดังปรากฏอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ นายวงศ์ ไชยสุวรรณ์ ยังได้ช่วยพัฒนาเมือง
สไุ หงโก-ลก ต่อมาอีกมากมาย กอ่ นจะถงึ แกก่ รรมเมอื่ วันท่ี ๑๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๑๑
“จนี ศึกษาบนแผ่นดินมลายู” ท่ีผเู้ ขยี นน�ำข้อมลู บางสว่ นมาบอกเลา่ เพ่อื มงุ่ สะท้อนใหเ้ หน็ ความ
รว่ มไมร้ ว่ มมอื ของผคู้ นในพน้ื ทช่ี ายแดนใตค้ รง้ั อดตี ทท่ี ง้ั คนมลายถู น่ิ คนไทย และคนจนี ไดร้ ว่ มกนั กอ่ รา่ ง
สรา้ งเมอื ง และดำ� เนนิ ธรุ กจิ อยา่ งเออื้ อาทรซงึ่ กนั และกนั แมป้ จั จบุ นั นสี้ ถานการณห์ ลายอยา่ งเปลย่ี นแปลง
ไปมากแลว้ แตอ่ ยา่ งน้อยคนรนุ่ ใหมย่ ่อมตระหนักไดว้ า่ แท้แล้วทกุ คนล้วนมีส่วนพฒั นาถิ่นเกิดมาด้วยกัน
และควรสบื สานส่ิงเหลา่ นต้ี ่อไปเช่นท่ีคนรนุ่ เกา่ ไดว้ างแนวทางไว้ใหแ้ ลว้ เป็นอย่างดี

คิดถงึ ...นราธวิ าส :

บ้งั ไฟนราธิวาส
อนุสรณ์ ศรีคำ�ขวญั

คดิ ถงึ ...นราธวิ าส :

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

“นราธวิ าสมีบญุ บ้ังไฟด้วยนะ จัดมาต้ัง ๓๑ ปีแล้ว”
เม่ือผมปล่อยประโยคน้ีออกมา ดวงตาคู่สนทนาเป็นต้อง
เบกิ กวา้ งดว้ ยความฉงนสนเทห่ ์ จนแทบมองเห็นภาพสะท้อนออก
มาเป็นเครือ่ งหมายปรศั นีงอเด่นอยู่ในนัน้ แลว้ อทุ าน… “เฮ้ย! จริง
สิ สามจงั หวัดชายแดนภาคใต้น่ีนะ?”
แต่ในบรรดาประกายตาแห่งความสงสัยน้ัน ไม่มีดวงใด
จะสะกดใหผ้ มตกอยใู่ นภวงั ค์ไดเ้ ท่าเธอ…
เราเจอกนั ในงานฝงั ลกู นมิ ติ วดั นคิ มแวง้ อำ� เภอแวง้ จงั หวดั
นราธวิ าส… หนา้ เวทหี นงั ตะลงุ ขณะทผี่ มลกุ ขน้ึ เพอ่ื เดนิ ไปเขา้ หอ้ งนำ�้
สายตาพลันประสานเขา้ กบั เธอ เพียงแวบแรกที่เหน็ ผมถึงกับหยุด
กึก ลืมธุระส่วนตัวไปช่ัวขณะ ยิ่งเม่ือเธอส่งย้ิมให้ ย่ิงท�ำให้เป็น
อัมพาตกา้ วไปไหนไม่ได้ขึน้ มาฉบั พลนั กระทัง่ เธอจากไปนน่ั แหละ
สติจงึ คืนกลบั ถึงกระนัน้ ในหวั กม็ แี ตภ่ าพรอยย้ิมของเธอ จนผ้คู น
มากมายทมี่ ารว่ มงานบญุ รวมทงั้ รา้ นคา้ ตา่ งๆ ทวี่ างจ�ำหนา่ ยสนิ คา้
ไมส่ ามารถเรยี กความสนใจของผมไดเ้ หมอื นเคย ทง้ั นร้ี วมถงึ นอ้ งเลก็
สาวสวยประจำ� ซมุ้ ตกั ไขป่ ลาทเ่ี ทยี วลอ้ เทยี วแซวมาตลอด ๒ คนื กไ็ มส่ ามารถดงึ ดดู ผมไดแ้ มแ้ ต่
หางตา
เสรจ็ ธรุ ะผมเรง่ กลบั มายงั จดุ เดมิ เพอื่ วา่ เธอ หญงิ สาวหนา้ ใส คว้ิ ดกเขม้ ผมยาวมดั รวบ
เผยไรผมบนตน้ คอขาวเนยี น อวดทรวดทรงชวนมองดว้ ยเสอื้ ยดื สขี าว กางเกงยนี สท์ ะมดั ทะแมง
คนนนั้ อาจจะยงั ไม่ไปไหนไกล หรอื กลบั บ้านไปเสยี ก่อน… คิดถึงค�ำว่า ‘กลับบา้ น’ พลนั ท�ำให้
สงสัย เธอเป็นลูกหลานบ้านไหนนะ ไยไม่คุ้นหน้ามาก่อน ชาวแว้งไปแอบมีญาติหน้าตาสวย
หมดจดเชน่ นต้ี งั้ แตเ่ มอื่ ใด…ครน้ั มาถงึ จดุ พบแรก ปรากฏวา่ เธอยงั อยู่ นงั่ อยตู่ รงนนั้ บนขอบอฐิ
มอญทท่ี างวดั กอ่ เปน็ รางปลกู ตน้ เขม็ ซำ้� ยงั นง่ั จอ้ งไอเ้ ทง่ กบั หนนู ยุ้ เถยี งกนั อยเู่ พยี งลำ� พงั การณ์
เปน็ เช่นนัน้ ผมรบี ยกมอื ท่วมหัวขอพรจากองคพ์ อ่ ท่านใหญศ่ กั ด์สิ ิทธ์ิ พระประธานประจ�ำวดั
พระพุทธรปู ทีช่ าวบ้านนับถือ ให้ดลใจเธอ รบั มิตรไมตรจี ติ จากผม

คดิ ถึง...นราธิวาส : ๔๒

“น่ังดว้ ยนะ” ผมกลา่ ว เมือ่ ไปยนื อยูข่ า้ งๆ
เธอเงยหนา้ ขึ้นมอง ยมิ้ นิดๆ แล้วตอบ “จ๊ะ”
“มาจากไหนเหรอ ไมเ่ คยเห็นเลย” ผมถามขณะท่หี ยอ่ นตัวลงน่ังห่างออกไปเล็กน้อย
พอเป็นมารยาท ใจจริงอยากถามเป็นภาษาเจ๊ะเห ภาษาถิ่นของจังหวัดนราธิวาสว่า ‘โย้ กือ
ไหน ไมห่ ้อนเห็นเลย’ แต่เพราะไมม่ นั่ ใจวา่ เธอมาจากตา่ งถน่ิ หรือเปน็ ลกู หลานชาวนราธิวาส
จึงเลอื กสื่อสารดว้ ยภาษากลางแทน
เธอตอบสั้นๆ เพยี งวา่ “ลนั ตนั ”
สถานทม่ี าของเธอท�ำให้ผมสงสยั ไมเ่ คยไดย้ นิ ว่านราธวิ าสมีอำ� เภอลนั ตนั หรือตำ� บล
ลนั ตัน ด้วยเหตุนจ้ี งึ ขมวดคิ้ว เอียงคอ แลว้ ส่งยิ้มงงๆ ให้
“มาเลย์” เธอตอบ ยิ้ม
“อ๋อ! กลันตัน” ผมเปล่ียนส�ำเนียงภาษาเป็นเจ๊ะเหทันทีที่รู้ว่าเธอมาจากประเทศ
มาเลเซยี เพราะชาวพุทธในรัฐกลันตนั แทจ้ ริงแล้วก็พ่ีนอ้ งคนไทยน่เี อง เพยี งแตต่ ดิ แผน่ ดนิ ไป
เมื่อครง้ั สยามต้องยกดนิ แดนบางส่วนให้องั กฤษซึง่ ปกครองมาเลเซียอยู่ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๒ พวก
เขาจงึ กลายเปน็ พลเมอื งมาเลเซยี โดยปรยิ าย แมจ้ ะเปน็ คนมาเลเซยี แตก่ ย็ งั ใชภ้ าษาเจะ๊ เห เรยี น
หนงั สอื ไทย เขา้ วดั เปน็ ประจำ� ดว้ ยความสมั พนั ธร์ ะดบั ญาตมิ ติ รนเี่ อง เมอื่ มงี านบญุ ไมว่ า่ จะเปน็
วัดในกลันตัน หรอื วดั ในนราธิวาส ผู้คนทั้ง ๒ ฝงั่ จะข้ามแดนไปมาหากันเสมอ เฉกเช่นครัง้ น้ี
เมอ่ื ทราบทมี่ าแลว้ ผมจงึ ถามวา่ ครง้ั นเ้ี ดนิ ทางมาอยา่ งไร เธอชไ้ี ปยงั รถตคู้ นั สขี าว ผมบอก
“ออ๋ ! รถตู้” แต่แทนท่เี ธอจะย้ิมรบั คำ� กลบั ตีหน้างงงวย

คิดถึง...นราธวิ าส : ๔๓

คดิ ถึง...นราธวิ าส :

“ไม่ใช่ ไม่ใช่รถตู้ คันสขี าวน”ิ เธอวา่
“กร็ ถตู้” ผมยนื ยัน
“เรามา van” เธอเฉลย ท�ำเอาผมถงึ กับโพล่งเสยี งหวั เราะลนั่ ท�ำใหผ้ ู้คนหนา้
เวทีหนงั ตะลุงหนั มามองทำ� นองว่า ไอ้หนุม่ นห่ี ัวเราะอะไร ไมใ่ ช่ฉากตลกสักหนอ่ ย
“น่ันแหละ คนไทยเรียกรถตู้” เธอยิ้มเม่ือผมอธิบาย “ถึงเราจีแหลงเจ๊ะเห
เหมือนกัน แตบ่ างคำ� กง็ งเหมือนกันเนาะ…แล้วชอื่ ไรน”ิ
เธอบอกวา่ ช่อื นชุ หลังจากผมบอกช่อื ตัวเองแล้ว เธอกช็ ี้มาที่หนา้ อกผม ถาม
วา่ ‘ทำ� ไมถงึ เอาเขย้ี วหมปู า่ มาแขวนกบั สรอ้ ยประคำ� ’ ผมยมิ้ เขนิ บอกไปวา่ ‘นเี่ ขยี้ วหมู
ตัน ขลังด’ี แตเ่ ธอกลบั มองวา่ ‘มันน่ารกั ’ และนัน่ ก็เปน็ สาเหตุท่ีทำ� ให้เธอส่งย้มิ ใหเ้ มอื่
แรกเจอ
ชา่ งเปน็ เรอ่ื งนา่ ขนั ทรี่ อยยมิ้ แรกของนชุ มอบใหน้ นั่ เปน็ เรอ่ื งตลกทค่ี นอยา่ งผม
นำ� เขยี้ วหมปู า่ มาคลอ้ งกบั สรอ้ ยประคำ� แตเ่ ปน็ ความขบขนั ทนี่ า่ ยนิ ดี เพราะหลงั จากนนั้
ดเู หมอื นเธอจะชนื่ ชมในความพยายามรอบรขู้ องผม กอ็ ยา่ งเรอื่ งภาษาเจะ๊ เหนน่ั ปะไร…
แมว้ ดั ตา่ งๆ ในรฐั กลนั ตนั มกี ารสอนภาษาไทยใหค้ นไทยตดิ แผน่ ดนิ แตเ่ พราะ
ไมค่ ่อยไดใ้ ช้ ค�ำบางคำ� จึงไมอ่ าจสอื่ ความหมายกบั นชุ ได้ อยา่ งผมน�ำเรือ่ งภาษาเจะ๊ เห
ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๕๖
ซงึ่ ถอื เปน็ ความภาคภมู ใิ จของชาวนราธวิ าสทภ่ี าษาเจะ๊ เหไดร้ บั การดแู ลและมนั่ ใจวา่ จะ
ไมส่ ูญหาย กต็ ้องตดั ค�ำใหก้ ระชับ และงา่ ย เป็น ‘ขึน้ ทะเบยี นเปน็ ภาษาสำ� คญั ’ ใจจรงิ
อยากแปลเป็นภาษาอังกฤษ แต่เกรงว่าจะพาความหมายเพ้ียนไป เพราะภาษาระดับ
ทางการไม่งา่ ย เหมอื นอย่าง Van กับ รถตู้

คดิ ถึง...นราธิวาส : ๔๕

“ไม่ให้เป็นภาษาส�ำคัญได้พรือ บางค�ำเป็นค�ำโบราณ กางร่ม เราก็ใช้ว่า
‘ทรงกลด’… ใสก่ างเกง กะใชว้ ่า ‘นงุ่ สนบั เพลา’ โยเ้ หลย” ผมกล่าว แลว้ สาธยายตอ่
“ทเ่ี จะ๊ เหใชค้ ำ� โบราณ แลว้ กะสำ� เนยี งออกเพย้ี นๆ ผสมระหวา่ งภาษาใตก้ บั เหนอื เพราะ
สมยั กอ่ นสโุ ขไทยไดป้ กครองนราฯ สโุ ขทยั นเ้ี คยเปน็ เมอื งหลวงของไทย ๗๐๐ กวา่ ปมี า
แลว้ กเ็ ลยสง่ เจา้ เมอื งมาปกครอง แลว้ พวกทหาร คนใชก้ ต็ ามมาดว้ ย กเ็ ลยเกดิ การผสม
ทางภาษาขึ้น”
ประวัติศาสตร์ทางด้านภาษาฉบับรวดรัดน้ีสร้างความประทับใจให้เธอเป็น
อยา่ งย่ิง การพูดคุยของเราในประเดน็ อืน่ จงึ เต็มไปด้วยความสนกุ สนาน รอยยม้ิ เสียง
หวั เราะ ผมสารภาพวา่ ไมเ่ คยยา่ งกรายไปรฐั กลนั ตนั เลย สงสยั คราวนจ้ี ะไดไ้ ปเยอื นสกั ที
นุชยินดี รับปากจะอาสาพาเทีย่ วอยา่ งเต็มกำ� ลัง ผมยอ้ นถามเธอว่า ชอบอะไรในไทย
บา้ ง
“ก็ไม่ค่อยได้เที่ยวไหน มานี่ก็ท�ำบุญในวัด มาเลย์ก็ท�ำแบบน้ี สงกรานต์ท่ีมา
เลย์กม็ ี เลยตอบไม่ได้ว่าชอบตรงไหน” นุชบอก
“เทย่ี วงานบุญบ้ังไฟไหม” ผมถาม
“อยากไป เห็นในโทรทัศน์ น่าหนกุ ดี แต่มันไกล” นชุ ตอบเสียงเรียบ
“ไมไ่ กล ภูเขาทอง สุคริ ินนี่เอง” ผมบอก
“โม”้ นุชวา่ จงึ ทำ� ใหผ้ มต้องตีหนา้ ขึงขังอธบิ ายเปน็ ทำ� นองเล่านทิ านว่า…
ยอ้ นไปในอดีต เมื่อราวปี พ.ศ.๒๕๐๖ รฐั บาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ไดม้ นี
โยบายจดั สรรค์ทด่ี ินเพอ่ื การครองชพี ใหก้ บั ราษฎรผยู้ ากไร้ โดยการจัดทำ� เปน็ รูปแบบ
นคิ มสร้างตนเอง มี ๔๓ แห่ง ใน ๓๒ จังหวัด หนง่ึ ในนน้ั คือ นิคมสรา้ งตนเองสุคิรนิ เมือ่
จัดสรรเสรจ็ กจ็ ัดการย้ายประชาชนภาคอีสานซ่ึงยากจนมาตั้งรกรากอย…ู่
“ก็เหมอื นกับนชุ ที่อยูม่ าเลย์ แต่กย็ งั ประเพณีสงกรานตแ์ บบไทยๆ ด้วย…คน
อสี านทีม่ าตง้ั รกรากท่ีน่ีก็เอาบุญบงั้ ไฟตดิ ตัวมาด้วย” ผมสรุป
“จริงนะ” เสยี งของนุชจากเรยี บๆ ตอนนเ้ี ต็มไปด้วยความต่ืนเต้น
“จรงิ ! เดอื นหกมาได้เลย ย่ิงใหญ่ไมแ่ พ้ภาคอสี าน รบั รอง” ผมบอก
“เดอื นหนา้ ?” นุชพดู ลอยๆ พอๆ กับสายตาที่ลอยออกไปไกล
เราตกลงใช้ Facebook เปน็ เครื่องมอื ส่ือสาร นชุ บอกว่า เธอพิมพภ์ าษาไทย
ไม่ได้เพราะไมม่ ีแปน้ ไทย แต่อ่านออก หากจะสื่อสารกบั ผม เธอจะพมิ พ์ทับศพั ทส์ ง่ มา
คดิ ถึง...นราธวิ าส : ๔๖

เม่ือนุชกลับรัฐกลันตันไปแล้ว เราก็สื่อสารกันผ่านเฟสบุ๊กอย่างต่อเนื่อง และความ
สัมพันธ์ก็แน่นแฟ้นอย่างน่ายินดี ระหว่างนี้ผมส่งภาพบรรยากาศสวยๆ เมื่อปีที่แล้วให้อย่าง
สม่�ำเสมอ แต่เว้นชว่ งเป็นภาพละ ๒–๓ วัน เพอ่ื กระตนุ้ ความสนใจ เพราะหากมากไปอาจจะ
เปน็ ความชนิ ชาได้
ภาพแรกเริ่มจากขบวนบั้งไฟทต่ี กแต่งด้วยพญานาคฉลุลาย สสี ันสด จดั จา้ น เมอื่ ตัด
กับฉากหลังที่เป็นภูเขาเขียวเข้มสูง จึงท�ำให้ขบวนดูสวยสดย่ิงข้ึน ผมบรรยายใต้ภาพว่า “อีก
หน่งึ ความสวยของบ้ังไฟนราธิวาส คอื ฉากหลงั ทีเ่ ป็นภูเขาสเี ขียว หาแบบนใี้ นภาคอีสานไมไ่ ด้
เพราะทีน่ ่นั เปน็ ท่งุ โลง่ ดูแห้งแล้ง”
ภาพตอ่ มา ผมเลอื กฉากพนี่ อ้ งมสุ ลมิ ทห่ี อบลกู จงู หลานเขา้ มายนื ดขู บวนแหบ่ ง้ั ไฟอยา่ ง
สนอกสนใจ คำ� บรรยายผมใช้ ‘อีกหนง่ึ ความงาม คือ ความหลากหลายของผ้คู น ทั้งพุทธและ
มุสลมิ มาทนี่ ่ีปลอดภยั ’
อีกภาพเป็นขบวนพาเหรด นกั เรยี นตัวน้อยๆ แตง่ ชุดไทยทง้ั รำ� ทงั้ เซิง้ อย่างสนกุ สนาน
เรียกรอยย้ิมให้ผู้คนท่ีร่วมงาน ค�ำบรรยายได้ภาพผมเขียนว่า ‘มาแล้วอย่าเผลอเต้นกับน้องๆ
เขาละ’
สง่ ภาพสวยๆ ไปมากแลว้ ผมเลอื กภาพหญงิ วยั กลางคนกระเตงกระตบิ๊ ขา้ วเหนยี ว เดนิ
อยู่ท่ามกลางผู้รว่ มงานทั้งพุทธและมุสลิม ผมวา่ “หวิ เมื่อไหร่มีข้าวกินไดท้ ันท”ี

สุดทา้ ยท่ีส่งใหน้ ุช เป็นภาพบั้งไฟพงุ่ ขึ้นสูท่ ้องฟา้ ควันสีขาวพวนพ่งุ ตามเปน็ กลมุ่ ยาว
จนลบิ ตา ผูร้ ่วมงานต่างชูมอื เฮ หลายคนถึงกบั อา้ ปากค้าง… ‘ใกลถ้ ึงเวลาแล้ว บัง้ ไฟจุดเพอ่ื ขอ
ฝน แต่สุคิรินฝนตกตลอดปีอยู่แลว้ ’ ผมบรรยาย

คดิ ถึง...นราธิวาส : ๔๗

คดิ ถึง...นราธวิ าส :


Click to View FlipBook Version