The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียน ทช 21002 สุขศึกษา พลศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tati_palm, 2021-03-10 01:06:59

หนังสือเรียน ทช 21002 สุขศึกษา พลศึกษา

หนังสือเรียน ทช 21002 สุขศึกษา พลศึกษา

43

3. การออกกาํ ลังกายโดยการบริหารรา งกาย โดยแสดงทาทางตาง ๆ เพื่อเปนการบริหาร
รางกาย หรือเฉพาะสวนท่ีตอ งการใหก ลามเนอ้ื กระชบั อาทิ การบริหารแบบโยคะ หรือแอ
โรบิค

หลักการออกกาํ ลังกายเพอ่ื สขุ ภาพ คอื การออกกาํ ลังกายชนิดทเ่ี สริมสรางความอดทนของ
ปอด หัวใจ ระบบไหลเวยี นเลือด รวมทง้ั ความแข็งแรงของกลา มเน้ือ ความออนตวั ของขอตอ ซึง่ จะ
ชวยใหรางกายแขง็ แรงสมบรู ณ สงา งาม และสขุ ภาพจิตดี

การออกกาํ ลงั กายแบบแอโรบิค เปนกจิ กรรมที่ไดร ับการยอมรับ และเปนท่ีนยิ มกนั อยาง
แพรห ลายทวั่ โลก ในดานการออกกาํ ลังกายเพื่อสขุ ภาพ (Exercise For Health) โดยยดึ หลักปฏบิ ัติงาย
ๆ ดังนี้

1. ความหนัก ควรออกกาํ ลังกาย (Intensity) ใหห นักถงึ รอยละ 70 ของอตั ราการเตน สูงสุด
ของหัวใจแตล ะคน โดยคาํ นวณไดจากคา มาตรฐานเทากับ 170 ลบดว ยอายุของตนเอง
คา ท่ไี ดคอื อตั ราการเตน ของหวั ใจคงทีท่ เี่ หมาะสม ท่ตี องรักษาระดับการเตน ของหวั ใจน้ี
ไวชวงระยะเวลาหนึ่งท่ี
ออกกําลังกาย

2. ความนาน (Duration) การออกกําลังกายอยางตอ เน่อื งนานอยา งนอ ย 20 นาที ขน้ึ ไปตอครัง้
3. ระยะผอ นคลายรางกายหลงั ฝก (Cool Down) ประมาณ 5 นาที เพอื่ ยดื เหยียดกลา มเน้ือ

และความออ นตัวของขอ ตอ รวมระยะเวลาท่อี อกกาํ ลังกายติดตอ กนั ท้ังสิน้ อยา งนอย 20 –
30 นาทีตอวัน
ผูทอ่ี อกกาํ ลังกายมาก หรอื เปน นกั กีฬา จะมกี ารใชพลงั งานมากกวา บคุ คลทัว่ ไป และมีการ
สญู เสยี นาํ้ และแรธาตมุ ากขนึ้ จึงควรกินอาหารทใี่ หพลงั งานอยางเพยี งพอสมดุลกับกิจกรรมทใี่ ชใ นแต
ละวัน โดยควรเพิม่ อาหารประเภท ขาว แปง ผลไม หรือนาํ้ ผลไม เพือ่ เพมิ่ พลงั งาน และด่ืมน้ําให
เพยี งพอ ไมจําเปนตอ งกินผลิตภณั ฑเ สรมิ อาหาร หรอื ดืม่ เครอ่ื งดื่มประเภทเกลือแร และเครื่องดม่ื ชู
กาํ ลัง

44

กจิ กรรมการเรียนรูท า ยบทที่ 2

กจิ กรรมท่ี 1
1. ใหนักศึกษาอธิบายตามความเขาใจของตนเอง ในหัวขอตอ ไปนี้

“จติ ที่สดใส ยอมอยูในรางกายท่สี มบูรณ”
2. ใหน กั ศกึ ษาฝก เขยี น แผนการวางแผนดูแลสุขภาพตนเองในเวลา 7 วัน

กิจกรรมท่ี 2
1. ประโยชนข องการออกกําลงั กายดา นตา ง ๆ ทส่ี งผลตอสขุ ภาพของมนษุ ย จาํ แนกไดด า น

อะไรบาง จงอธิบาย

กิจกรรมท่ี 3
1. การออกกําลังกายมผี ลตอพัฒนาการของมนุษยอยา งไร จงอธิบาย
2. กอนทจ่ี ะออกกําลงั กาย เราควรใหค าํ แนะนําผจู ะออกกาํ ลงั กายอยางไร

45

บทท่ี 3
สขุ ภาพทางเพศ

สาระสาํ คัญ
ปญ หาหาเรอ่ื งการมีเพศสมั พันธกอนวัยอันควร กําลังเปนปญหาที่นาหวงใยในกลุมเยาวชน

ไทย ดงั นนั้ การเรียนรูในเรอ่ื งของพฤตกิ รรมทจี่ ะนาํ ไปสกู ารมีเพศสมั พันธ การถกู ลวงละเมิดทางเพศ
และการตง้ั ครรภไ มพ ึงประสงค จึงเปน เรือ่ งจําเปนที่จะไดป องกันตนเอง นอกจากน้ีการดูแลรางกาย
โดยเฉพาะระบบสบื พนั ธุกเ็ ปนเรื่องทีจ่ ะทําใหทกุ คนมสี ขุ ภาวะที่ดี สามารถปฏิบตั ไิ ดถูกตอ งก็จะไมท ํา
ใหเ กิดปญหาดา นสขุ ภาพทางเพศ

ผลการเรียนรูที่คาดหวงั
1. อธิบายการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมท่ีนําไปสูการมีเพศสัมพันธ การลวงละเมิดทางเพศ การ

ตงั้ ครรภทไ่ี มพึงประสงค
2. อธบิ ายวธิ กี ารดแู ลสขุ ภาพทางเพศท่ีเหมาะสมและไมท าํ ใหเ กิดปญ หาทางเพศ

ขอบขายเนอื้ หา
เรอ่ื งที่ 1 สรีระรางกายทเี่ ก่ียวขอ งกับการสืบพันธุ
เร่ืองที่ 2 การเปลย่ี นแปลงเม่อื เขาสูวยั หนมุ สาว
เรื่องท่ี 3 พฤติกรรมทีน่ าํ ไปสกู ารมเี พศสมั พนั ธ
เรอื่ งท่ี 4 สุขภาพทางเพศ

46

เรอื่ งท่ี 1 สรรี ะรางกายท่เี ก่ยี วขอ งกับการสืบพันธุ

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษยน้ัน หมายถึง การเจริญเติบโตและ
พฒั นาการทางรางกายและจิตใจควบคกู นั ไปตลอด เร่ิมต้ังแต วยั เด็ก วัยแรกรนุ วยั ผูใหญ ตามลาํ ดับ

โดยทว่ั ไปแลว การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการทางรา งกายของคนเราจะสิ้นสุดลงเมอ่ื
มอี ายุประมาณ 25 ป จากวัยน้ีอวัยวะตาง ๆ ของรางกายเริ่มเส่ือมลง จนยางเขาสูวัยชราและตายใน
ทส่ี ุด สว นการเจริญเติบโตและพฒั นาการทางจติ ใจนัน้ ไมมีขดี จาํ กัด จะเจริญเติบโตและพัฒนาเจริญ
งอกงามขน้ึ เรอื่ ย ๆ จนกระท่ังเขา สูวยั ชรา

1. อวัยวะสบื พันธแุ ละสุขปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับอวัยวะสบื พนั ธุ
การสืบพันธขุ องมนษุ ยเปน ธรรมชาติอยางหนงึ่ ทเ่ี กิดขน้ึ เพื่อดํารงไวซ่ึงเผาพันธุ การ

สืบพนั ธุนนั้ จาํ เปนตอ งอาศยั องคป ระกอบทส่ี ําคญั คอื เพศชายและเพศหญิง ท้งั เพศชายและเพศหญิง
ตา งก็มโี ครงสรางทีเ่ ก่ียวขอ งกบั อวัยวะเพศและการสบื พนั ธุโดยเฉพาะของตน

1.1 ระบบสบื พนั ธขุ องเพศชาย
อวยั วะสบื พันธุชายสวนใหญอยูภายนอกของรา งกาย สามารถปองกันและระวังรักษา
ไมใหเ กดิ โรคติดตอหรอื โรคติดเชื้อตาง ๆ ไดโดยงาย อวัยวะสืบพันธุชายมีความเกี่ยวของกับระบบ
การขบั ถา ยปสสาวะ เพราะวา การขับน้ําอสุจิออกจากรา งกายตอ งผานทอปสสาวะดวย อวัยวะสบื พนั ธุ
ชายประกอบดวยสวนตาง ๆ ทีส่ ําคัญดังน้ี
(1.) ตอมอัณฑะ (Testis) มีลกั ษณะและรูปรา งคลายไขไกฟองเล็ก ยาวประมาณ 4
เซนติเมตร กวางประมาณ 4 เซนติเมตร หนาประมาณ 2-3 เซนติเมตร หนักประมาณ 15-30 กรัม
อณั ฑะขางซายจะใหญกวา งขางขวาเลก็ นอย ตามปกตจิ ะมีอณั ฑะอยู 2 ลกู
ภายในลูกอัณฑะมีหลอดเล็ก ๆ จํานวนมาก ขดเรียงอยูเปนตอน ๆ เรียกวา หลอด
สรา งอสจุ ิ (Seminiferous Tabules) มีหนาท่ีผลิตฮอรโมนเพศชายและตัวอสุจิ สวนดานหลังของตอม
อณั ฑะ จะมกี ลมุ ของหลอดเล็ก ๆ อกี มากมายขดไปมา เรียกวาหลอดเก็บตัวอสุจิ (Epididymis) เปนที่
เกบ็ เชอ้ื อสจุ ชิ ่วั คราว เพอ่ื ใหเชื้ออสจุ เิ จรญิ เตบิ โตไดเต็มที่
(2.) ตอ มลูกหมาก (Prostate Gland) เปนตอ มทหี่ มุ อยูรอบทอ ปส สาวะสวนใน ตรง
ดานลางของกระเพาะปสสาวะ มีหนาท่ีสรางของเหลวซ่ึงมีฤทธิ์เปนดางออน ๆ สงเขาไปในถุงเก็บ
อสจุ ิ เพ่ือผสมกับนํา้ เล้ยี งตวั อสจุ ิ ของเหลวนจี้ ะไปทาํ ลายฤทธิก์ รดจากนํ้าเมือกในชองคลอดเพศหญิง
ปองกันไมใหต ัวอสุจิถูกทําลายดว ยสภาพความเปน กรด เพอ่ื ใหเกดิ การปฏิสนธิขึน้ ได
(3.) ลึงค หรือองคชาต (Penis) เปนสวนประกอบหนึ่งของอวัยวะสืบพันธุชาย ท่ี
แสดงใหเห็นวาเปนเพศชายอยางชัดเจน มีลักษณะย่ืนออกมา สวนปลายสุดจะมีรูปรางคลายหมวก
เหลก็ ทหารสวมอยู ขนาดใหญกวาลาํ ตวั ลึงคเลก็ นอย สวนนีจ้ ะมีเสน ประสาทมาหลอเล้ยี งมาก ทําให

47

มีความรสู ึกไวตอ การสัมผัส เมื่อมีความตองการทางเพศเกิดขึ้น จะทําใหลึงคเปล่ียนจากนุมเปนแข็ง
เนอ่ื งจากค่ังของเลอื ด ทาํ ใหข นาดใหญขน้ึ 1-2 เทาตวั ในระหวา งการแข็งตัวของลึงคม ตี อมเลก็ อยูใน
ทอ ปสสาวะ ผลิตนํ้าเมือกเหนยี ว ๆ ซึ่งจะถูกขับออกมา เพ่ือชวยในการหลอล่ืนและยังทําใหตัวอสุจิ
ผา นออกสูภ ายนอกไดส ะดวกอกี ดว ย

(4.) ทอ พกั ตัวอสุจิ (Epididymis) มีลักษณะคลายรูปดวงจันทรครึ่งซีก หอยติดอยู
กบั ตอมอณั ฑะสวนบนคอ นขางจะใหญเรยี กวา หวั (Head) จากหัวก็เปนตัว (Body) และเปน หาง (Tail) ทอ
น้ีประกอบดว ยทอท่ีคดเค้ียวเปน จาํ นวนมาก เมอ่ื ตวั อสุจถิ กู สรา งขน้ึ มาแลว จะถกู สงเขาทอ นเี้ พือ่ เตรยี ม
ที่จะออกมาสทู อปสสาวะ

(5.) ทอนาํ ตวั อสุจิ (Vas Deferens) เปนทอเลก็ ๆ ตอจากลูกอัณฑะ จะทําหนาที่พา
ตวั อสจุ แิ ละน้ําอสุจใิ หไ หลขน้ึ ไปตามหลอดและไหลเขา ไปในถงุ น้าํ อสจุ ิ

(6.) ถุงอัณฑะ (Scrotum) เปนถุงทหี่ อ หมุ ตอ มอัณฑะไว ขณะทย่ี ังเปนตัวออ นอยู ตอ ม
อณั ฑะจะเจริญเติบโตในโพรงของชอ งทอ ง เม่อื ครบกาํ หนดตอมอัณฑะจะคอย ๆ เคลื่อนลงลางจากชอง
ทองมากอยูในถุงอัณฑะท่ีบริเวณขาหนบี ถุงอณั ฑะมีลกั ษณะเปน ผิวหนังบาง ๆ สีคล้ํา มีรอยยน มี
แนวกลางระหวางทวารหนักไปจนถงึ ลงึ ค จะมกี ลามเน้ือ บาง ๆ กั้นถุงอัณฑะออกเปน 2 หอง ถุงอัณฑะ
จะหอยตดิ อยูกบั กลามเนอ้ื ชนิดหน่ึง และจะหดตัวหรือหยอนตัว เม่ืออุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลง
เพ่อื ชว ยรักษาอุณหภมู ิใหเหมาะสมในการสรางอสุจิ และปองกันการกระเทือนจากภายนอก

1.1.1 การสรา งเซลลส ืบพนั ธเุ พศชายและการฝน เปย ก
เซลลสืบพันธุเพศชายหรือตัวอสุจิ (Sperm) จะถูกสรางขึ้นในทอผลิตอสุจิ

(Seminiferous Tubules) ตวั อสุจมิ ีขนาดเล็กมาก มีรูปรางลักษณะคลาย ๆ ลกู กบแรกเกดิ ประกอบดว ย
สว นหัวทีม่ ีขนาดโต แลวคอ ยลงมาเปนสว นหางท่ียาวเรียว และสวนหางน้ีจะใชในการแหวกวายมา
มขี นาดลาํ ตัวยาวประมาณ 0.05 มลิ ลเิ มตร มีขนาดเล็กกวา ไขเพศหญิงหลายหมืน่ เทา หลังจากตัวอสุจิ
ถูกสรา งข้ึนในทอ ผลติ ตัวอสุจิแลว จะฝงตัวอยูในทอพักตัวอสุจิจนกวาจะเจริญเต็มท่ี ตอจากน้ันจะ
เคลื่อนทไ่ี ปยงั ถุงเก็บตัวอสุจิ ในระยะนตี้ อมลกู หมากและตอมอ่ืน ๆ จะชวยกันผลิตของเหลวมาเลี้ยง
ตัวอสุจิ หากไมมีการระบายออกโดยมีเพศสัมพันธ รางกายจะระบายออก โดยใหน้ําอสุจิเคลื่อน
ออกมาตามทอปสสาวะเองในขณะนอนหลบั ซ่งึ เปน การลดปริมาณนา้ํ อสุจิใหนอยลง โดยธรรมชาติ
และยังเปนวิธีหนึ่งท่ีชวยลดความเครียดเก่ียวกับอารมณทางเพศได เราเรียกวาการฝนเปยก (Wet
Dream) เปนปรากฎการณท ช่ี ้ใี หเห็นวาวยั รนุ ชายน้ันบรรลวุ ฒุ ิภาวะทางเพศแลว และรางกายก็พรอม
ทีจ่ ะใหกําเนิดบตุ รได

48

1.1.2 สุขปฏิบตั เิ กี่ยวกับอวัยวะเพศชาย
1. อาบน้ําอยางนอยวันละ 2 ครั้ง ใชสบูชําระรางกายและอวัยวะเพศให

สะอาดแลว เช็ดใหแหง
2. สวมเสือ้ ผาทส่ี ะอาด โดยเฉพาะกางเกงในไมคบั และไมห ลวมเกนิ ไป
3. ไมใชส ว มหรอื ขบั ถา ยที่ผิดสขุ ลักษณะ
4. ไมส าํ สอน หรอื รวมประเวณกี บั ผูข ายบรกิ ารทางเพศ
5. หากสงสยั วาเปน กามโรคควรไปปรกึ ษาแพทย
6. ไมควรใชย าหรือสารเคมเี พอื่ กระตนุ ความรสู กึ ทางเพศ
7. อยาหมกหมุน หรือหกั โหมเกย่ี วกบั ความสัมพันธทางเพศเกินไป ควรหา

กจิ กรรมนนั ทนาการหรอื เลนกฬี า
8. ระวงั อยาใหอวยั วะเพศถกู กระทบกระแทกแรง ๆ

1.2 ระบบสืบพนั ธขุ องเพศหญิง
โ ค ร ง ส ร า ง ท่ี เ ก่ี ย ว ข อ ง กั บ อ วั ย ว ะ เ พ ศ แ ล ะ ก า ร สื บ พั น ธุ ข อ ง เ พ ศ ห ญิ ง

ประกอบดวยหลายสวนดว ยกนั ในที่นีจ้ ะกลาวถึงเฉพาะสว นทสี่ าํ คัญเทาน้นั
(1.) ตอมรังไข (Ovary) เปนตอ มสบื พันธุของเพศหญิง มีหนาท่ีผลิตเซลลสืบพันธุ

ของเพศหญิงท่เี รยี กวา ไข (Ovum) ตอมรงั ไขนม้ี ีอยูด ว ยกนั 2 ตอม คือ ขางขวาและขางซาย ซึ่งอยูใน
โพรงขององุ เชงิ กราน มรี ูปรา งคอนขางกลมเลก็ มีนํ้าหนกั ประมาณ 2-3 กรัม นอกจากนี้ตอมรังไขจะ
หล่ังฮอรโมนเพศหญิงออกมาทาํ ใหไขส ุก และเกดิ การตกไข

(2.) ทอรงั ไข (Pallopain Tubes) ภายหลงั ทไ่ี ขหลุดออกจากสวนท่ีหอหุมแลว จะผาน
เขาสทู อ รังไข ทอนี้ยาวประมาณ 6-5 เซนตเิ มตร ปลายขา งหนง่ึ มีลักษณะคลา ยกรวย ซง่ึ อยใู กลกบั
รงั ไข สวนปลายอกี ขา งหนึ่งนน้ั จะเรียวเลก็ ลงและไปติดกบั มดลกู ภายในทอรังไขจะมกี ลา มเน้อื พิเศษ
ซึ่งบุดวยเยื่อท่ีมีขนและบีบรดั ตัวอยเู สมอ ซึ่งทาํ หนาท่โี บกพัดเอาไขที่สุกแลวเขาไปในทอรังไข คอย
การผสมพนั ธุจ ากตวั อสจุ ขิ องชาย และสง ไปสูมดลกู ตอ ไป

(3.) มดลูก (Uterus) มดลูกอยูในอุมเชิงกรานระหวางกระเพาะปสสาวะกับทวารหนัก
ปกติยาวประมาณ 7-8 เซนติเมตร กวางประมาณ 4 เซนติเมตร และหนาประมาณ 2 เซนติเมตร เปน
อวัยวะทปี่ ระกอบดว ยกลา มเน้ือ และมีลักษณะภายในกลวง ซ่ึงมีผนังหนาไขจะเคลื่อนตัวลงมาตาม
ทอรังไข เขาไปในโพรงมดลูก ถาไขไดผ สมกับอสจุ ิแลว จะมาฝงตัวอยใู นผนังของมดลูกที่หนาและมี
เลือดมาเลีย้ งเปน จํานวนมาก ไขจ ะเจรญิ เตบิ โตเปน ตัวออ นตรงบรเิ วณนี้ ภายหลังวัยหมดประจําเดือน
แลว มดลูกจะเล็กและเหยี่ วลง

49

(4.) ชองคลอด (Vagina) มีลักษณะเปนโพรงซง่ึ มีความยาวประมาณ 8-10 เซนตเิ มตร
ชอ งคลอดประกอบดวยกลามเนื้อเรียบ สวนในสุดเปนสวนท่ีหุมอยูรอบปากมดลูก ภายในบุดวยเย่ือ
บาง ๆ ลักษณะเปนรอยยนสามารถยืดหดและขยายตัวไดมากเวลาคลอด ที่ชองคลอดนี้จะมี
เสน ประสาทมาเลี้ยงจาํ นวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณรูเปดชองคลอด และชองคลอดยังทําหนาที่
เปน ทางผานของเลือดประจําเดือนจากโพรงมดลูกออกจากรางกาย และเปนทางผานของตัวอสุจิจาก
เพศชายเพ่อื ไปผสมกับไขทที่ อ รังไข

(5.) คลิสตอริส (Clitoris) ลักษณะเปนกอนเน้ือเล็ก ๆ ต้ังอยูบนสวนของแคมเล็ก
เปนเน้ือเย่ือท่ยี ึดหดได มีหลอดเลือดและเสนประสาท และไวตอความรูสึกทางเพศเชนเดียวกับลึงค
ของชาย

(6.) ตอมนาํ้ เมือก (Bartholin Gland) เปนตอ มเลก็ ๆ อยู 2 ขางของชองคลอด ตอม
นีท้ ําหนา ท่ีหลงั่ นาํ้ เมอื กออกมา เพอื่ ใหช วยหลอลื่นชองคลอดในระหวางทมี่ ีการรวมเพศ

(7.) ฝเย็บ (Perineum) อยูพ้ืนลางของอุงเชิงกรานที่ก้ันอยูระหวางชองคลอดกับ
ทวารหนัก ขยายและยึดหดตัวได ประกอบดวยกลามเนื้อท่ีสําคัญ 3 มัด มีหนาท่ีชวยเสริมสราง
กลา มเน้อื ชอ งคลอดใหแ ข็งแรง และปอ งกันชองคลอดหยอน ถาหากขาดแลวไมเย็บ จะทําใหมดลูก
ต่ําลงมาไดเ มอ่ื อายมุ ากขน้ึ

(8.) เตา นม (Breast) มีอยู 2 เตา ซึง่ มขี นาดใกลเ คยี งกนั ตรงกลางของเตา นมจะมีผิว
ท่ีย่นื ออกมาเรยี กวา หัวนม เตานมแตละเตาจะประกอบข้ึนดวยกอนเน้ือหลายกอน กอนเนื้อแตละ
กอนจะประกอบดว ยทอ ที่แตกแขนงไปมากมาย เตานมจะมีขนาดโตขึ้นเมื่อเขาสูวัยสาว เน่ืองจากมี
เนอื้ เยอ่ื เกี่ยวพนั และไขมันเพม่ิ ขนึ้ ขณะท่ีตั้งครรภเตา นมจะโตข้นึ เน่อื งจากมีการเจริญเตบิ โตของตอม
นํ้านมและทอจาํ นวนมาก บริเวณเตานมน้จี ะมีหลอดเลอื ดและเสนประสาทไปเลี้ยงอยูมาก จึงทําใหมี
ความไวตอการสัมผัส

50

1.2.1 ความรเู กยี่ วกับผลของการบรรลุวฒุ ิภาวะทางเพศหญงิ
เม่ือเพศหญิงเจริญเติบโตเปนสาว ไมเฉพาะแตจะมีลักษณะของความเปน

หญงิ ดวยการมีเตา นมเจริญเติบโต และมีลกั ษณะเปลี่ยนแปลงอ่นื ๆ เกดิ ข้นึ เทาน้นั การบรรลุ
วุฒภิ าวะของเพศหญงิ ข้ึนอยูกับการมปี ระจาํ เดือนครง้ั แรก และมีประจําเดอื นทุก ๆ เดอื น โดยเฉลยี่ จะ
เกิดขน้ึ ทกุ ๆ 28 หรือ 30 วนั และการมปี ระจําเดือนแตละเดอื นอาจะแบง ออกไดเปน ระยะดังน้ี

1. ระยะทาํ ลาย (Destructive Phase) เปน ระยะท่ีมีเลือดออกมา เนื่องจากมี
การทําลายของเยื่อบภุ ายในของผนังมดลกู ระยะน้ีจะใชเวลาประมาณ 3-7 วัน หรอื เรยี กวา จะมีเลือด
ระดอู อกมาอยูประมาณ 3-7 วัน จํานวนเลอื ดทีไ่ หลออกมามีจาํ นวนไมแ นนอนโดยท่ัวไปจะมีปริมาณ
125 ลูกบาศกเ ซนตเิ มตร นอกจากเลือดท่ีไหลออกมาแลวยังมีเศษของผนังมดลูกท่ีถูกทําลายหลุดปน
ออกมาดว ย ระยะทาํ ลายน้เี ริม่ แรกมักจะมีอาการท้ังทางรางกายและจิตใจ เชน ถายปสสาวะบอย มี
สวิ ขนึ้ บนใบหนา เตา นมจะโตและแข็ง มอี าการปวดศรี ษะ เพลยี หงุดหงิด เปนตน

2. ระยะฟอลลิคูลา (Follicular Phase) ตอมพิทูอิทารีสวนหนา (Anterior
Lobe) หล่ังฮอรโมนชนิดหนง่ึ ออกมาและซมึ เขา กระแสเลอื ด แลวนาํ ไปยังตอ มรังไขจ ะทําใหไขซ่ึงอยู
ภายในรังไขเจริญเติบโตและสุกระยะนก้ี ินเวลาประมาณ 9 วนั และเม่อื รวมกบั ระยะทีม่ ีเลือดระดูไหล
ออกมาในระยะทาํ ลายจะกนิ เวลาประมาณ 14 วนั

3. ระยะลูเทียล (Luteal Phase) เปนระยะที่ไขสุกเต็มที่และจะหลุดออก
จากรังไข รังไขจ ะสรา งฮอรโมนชนดิ หนง่ึ เพื่อกระตุนใหผนังมดลูกหนาและมีเลือดมาหลอเลี้ยงมาก
เพื่อรอรับไขที่จะถูกผสมพันธุ ถาไขไมไดรับการผสมพันธุฮอรโมนนี้จะลดลง ซึ่งเปนการเร่ิมตน
ระยะทําลาย และจะมีเลือดระดไู หลออกมาใหม

1.2.2 สขุ ปฏิบัติเกี่ยวกบั อวยั วะสืบพนั ธขุ องเพศหญิง
1. อาบน้ําชําระลา งกายใหส ะอาดอยูเสมอ เวลาอาบน้ําควรทําความสะอาด

อวยั วะเพศเปนพิเศษ เชน ลาง เช็ดใหแหง โดยเฉพาะอยางย่ิงในชวงมีประจําเดือน ควรใชน้ําอุน
ชําระสว นทีเ่ ปอนเลือด เปน ตน

2. หลังจากถา ยอุจจาระ ปสสาวะควรทาํ ความสะอาดแลวเชด็ ใหแหง
3. ควรสวมเสอื้ ท่สี ะอาด โดยเฉพาะอยา งยง่ิ กางเกงในตองสะอาด ไมค บั ไม
หลวมเกนิ ไป และควรเปล่ยี นทุกวนั
4. รกั นวลสงวนตัว ไมค วรมเี พศสมั พนั ธก อนแตง งาน
5. ไมควรใชย ากระตุนหรือสารเคมีตออวยั วะเพศ
6. การใชสวมเพือ่ การขับถาย ควรคาํ นึงถงึ ความสะอาดและถูกสุขลกั ษณะ
7. ควรทาํ งานอดิเรก หรือออกกาํ ลังกายเสมอเพื่อเบนความสนใจทางเพศ

51

8. ในยามทม่ี ปี ระจําเดอื นควรเตรียมผา อนามัยไวใหเพยี งพอ และเปลี่ยนอยู
เสมออยา ปลอยไวน าน

9. ในชวงมีประจําเดือนไมควรออกกําลังกายท่ีผาดโผนและรุนแรง ควร
ออกกาํ ลงั กายเพียงเบา ๆ และพกั ผอนใหเ พียงพอ

10. ควรจดบันทึกการมีประจําเดือนไว ถาประจําเดือนมาชาหรือเร็วบาง
เลก็ นอยถอื วา ปกติ ถา ประจําเดือนมาชา หรือเร็วกวา ปกติ 7-8 วนั ข้นึ ไป ควรไปปรึกษาแพทย

11. ในชว งมปี ระจาํ เดอื น ถามีอาการปวดทองควรใชกระเปาน้ํารอนมาวาง
ท่ที อ งนอ ย เพอ่ื ใหค วามอบอุน และอาจรับประทานยาแกปวดไดบ าง

12. ถามีอาการผิดปกติทางรางกายในชวงมีประจําเดือน เชน ปวดทองมาก
หรอื มีเลือดไหลออกมา ควรรบี ไปปรึกษาแพทยท ันที

13. ระวังอยา ใหอ วยั วะเพศกระทบกระแทกแรง ๆ
14. ถาหากมีการเปลี่ยนแปลงท่ผี ดิ ปกตขิ องอวัยวะเพศ ควรไปปรกึ ษาแพทย

เรอื่ งท่ี 2 การเปลย่ี นแปลงเมอ่ื เขาสูวยั หนมุ สาว

1. พัฒนาการทางเพศและการปรบั ตัวเมือ่ เขาสูวยั รุน
วยั รุนจะมีการเปลี่ยนแปลงทางรางกายอยางรวดเร็ว และมีพัฒนาการทางเพศควบคู

กนั ไปดวย โดยเพศชายและเพศหญิงจะมีความแตกตา งกนั
1.1 การเปล่ียนแปลงทางรา งกายของเพศหญิง
การเขาสูชว งวัยรุนของเด็กหญิงจะเกดิ ข้นึ เรว็ กวาเด็กชาย คือ จะเร่ิมข้ึนเม่ืออายุ

ประมาณ 11-13 ป ตอมใตสมองจะผลิตฮอรโ มนท่ไี ปกระตุนการเจริญเตบิ โต และกระตนุ การทํางานของ
รังไขใหสรางเซลลสืบพันธุและผลิตฮอรโมนเพศหญิง ในชวงนี้วัยรุนหญิงจะมีการเจริญเติบโตอยาง
รวดเรว็ สว นสูงและนําหนกั เพ่มิ มากข้นึ อวัยวะเพศโตข้ึน มีขนข้ึนบริเวณหัวเหนาและรักแร เอวคอด
สะโพกผายออก เตานมโตขึ้น อาจมีสิวข้ึนตามใบหนา สวนมดลูก รังไข และอวัยวะท่ีเก่ียวของ
เจริญเตบิ โตขึ้น เริ่มมปี ระจําเดอื น ซง่ึ ลกั ษณะการมปี ระจําเดือนในเพศหญงิ จะเปนการบงบอกวา วัยรนุ
หญิงไดบรรลวุ ฒุ ิภาวะทางเพศแลว และสามารถตงั้ ครรภไ ด

การมีประจําเดอื น (menstruation) เปน ปรากฏการณต ามธรรมชาติท่ีเกิดใน
เพศหญิงเม่ือยางเขาสูวัยรุน โดยรังไขจะสรางฮอรโมนและผลิตไข ปกติไขจะเจริญเติบโตและสุก
เดือนละ 1 ฟอง สลับกนั ระหวางรังไขซา ยและขวา เมื่อไขสุกจะหลุดออกจากรังไขแลวถูกพัดพาเขา
ไปในทอ รงั ไขห รอื ปก มดลกู เพ่อื รอรบั การผสมจากตวั อสจุ ิของเพศชาย ในขณะเดยี วกันฮอรโ มนเพศ
หญงิ ท่ผี ลติ จากรงั ไขแ ละสงไปตามรางกาย จะทาํ ใหเกดิ การเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุมดลูก โดยในชวง
สัปดาหแรกของรอบเดือน ผนังมดลูกจะหนามากท่ีสุด มีหลอดเลือดมาเลี้ยงมากมาย เพื่อ
เตรยี มพรอมทจ่ี ะรบั การเกาะฝง ของไขทีไ่ ดรับการผสมจากตัวอสุจิ ถาหากไขไมไดรบั การผสม เย่ือบุ

52

มดลกู กจ็ ะคอ ย ๆ หลุดออก หลอดเลอื ดบรเิ วณเย่อื บุมดลูกก็จะลอกหลุดและฉีกขาด ทําใหเลือดไหล
ออกทางปากมดลกู ผา นชอ งคลอดออกสภู ายนอก เรยี กวา ประจาํ เดอื น

อาการเมือ่ มีประจําเดือน กอนมีประจําเดือน บางคนอาจมีอาการบางอยาง
เกิดข้นึ ได เชน ปวดศรษี ะ ทองอืดเฟอปวดเมื่อกลามเนื้อบริเวณหลังและบ้ันเอว เตานมตึงและเจ็บ
หงดุ หงดิ งา ย อารมณไมปกตหิ รือเบอื่ อาหาร คลนื่ ไสอาเจียน

ขอ ควรปฏบิ ัตขิ ณะมปี ระจาํ เดอื น คอื ใชผาอนามัยอยางถูกวิธี และลางมือ
ใหสะอาดทกุ คร้งั นอกจากนี้ขณะมปี ระเดอื น บางคนมอี าการบางอยา งดังกลา วขา งตน และอาจมีการ
ปวดทองนอยเพมิ่ ดวย ซง่ึ เปนอาการปกติท่ีจะหายไปเองเมื่อประจาํ เดือนหยุด หากมีอาการผิดปกติท่ี
รุนแรง เชน ปวดทองมากขณะมีประจําเดือน มีประจําเดือนนานเกิน 7 วัน หรือประจําเดือนมา
คลาดเคล่อื นจากปกตมิ าก ควรปรกึ ษาแพทยโดยเฉพาะสตู นิ รแี พทย

ผาอนามัยควรเปลี่ยนบอย ๆ อยางนอยวันละ 2-3 ครั้ง และทุกคร้ังหลัง
อาบน้าํ หรือหลงั ถา ยอุจจาระ รกั ษาความสะอาดของรางกายและเสื้อผาที่สวมใส ไมใชเสื้อผารวมกับ
ผูอนื่ ออกกาํ ลงั กายใหน อ ยลงกวาปกติ พักผอ นใหเพียงพอ ทาํ จติ ใจใหรา เรงิ แจมใส ถามีอาการปวด
ทอ งนอยมากใหน อนควาํ่ แลว ใชห มอนรองใตทองนอ ยประมาณ 15-20 นาที ประจําเดือนจะออกไดดี
และชว ยใหทุเลาปวด อาจไมจาํ เปนตอ งใชย าแกปวด ควรรบั ประทานยาแกปวดหากมอี าการปวดมาก
ถาปวดทองรุนแรงมากหรอื มีเลือดออกมากผิดปกติควรรีบปรึกษาแพทย และขณะมีประจําเดือนไม
ควรอาบน้ําแบบแชในแมนํ้าลําคลอง อางน้ําในบานหรือสระวายนํ้า เพราะเช้ือโรคในน้ําอาจเขาสู
โพรงมดลกู ได เน่อื งจากปากมดลูกจะเปด เลก็ นอ ย จึงควรอาบนํ้าแบบตกั หรอื ใชฝก บัว

1.2 การเปล่ยี นแปลงทางรา งกายของเพศชาย
เด็กชายจะเร่ิมเขาสูวัยรุนเมื่ออายุประมาณ 13-15 ป ตอมใตสมองจะผลิต

ฮอรโมนท่ีไปกระตุนใหรางกายเจริญเติบโต และกระตุนใหอัณฑะผลิตเซลลสืบพันธุและฮอรโมน
เพศชายมีการเปลยี่ นแปลงของรา งกายทเี่ ห็นไดช ัดโดยเฉพาะความสงู และน้าํ หนกั ตวั ทเี่ พิม่ ขึ้น แขนขา
ยาวเกง กา งไหลก วา งออก กระดูกและกลามเนื้อแข็งแรงขึ้นและมีกาํ ลงั มากขน้ึ เสียงแตก นมแตกพาน
มีหนวดเครามีขนข้ึนที่หนาแขง รักแร และบริเวณอวัยวะเพศ บางคนอาจมีสิวข้ึนบริเวณใบหนา
หนาอก หรอื หลงั อวัยวะเพศโตข้นึ และแข็งตวั เม่ือมีความรูสกึ ทางเพศหรือถูกสัมผัส และมีการหลั่ง
นา้ํ อสจุ หิ รือน้ํากามออกมาในขณะหลับ (ฝนเปย ก) ซึ่งเปนอาการทบ่ี ง บอกวา ไดบ รรลวุ ฒุ ภิ าวะทางเพศ
แลว และยงั หมายถึงการมคี วามสามารถทจี่ ะทําใหเ พศหญิงเกิดการตง้ั ครรภไดอ กี ดว ย

การฝน เปยก (wet dream) เปน ปรากฏการณต ามธรรมชาตทิ ี่เกิดในเพศชาย
กลาวคือในดา นรางกายลูกอณั ฑะจะทําหนาท่สี รางฮอรโมนเพศชายและตวั อสุจิ โดยจะเกบ็ สะสมไวท ่ี
ถงุ เกบ็ นํ้าอสจุ ิ ในดานจติ ใจและอารมณ ฮอรโมนเพศจะมีผลทําใหวยั รนุ เร่ิมมคี วามรูสึกทางเพศ และ

53

สนใจเพศตรงขาม เมอื่ รา งกายมีการผลิตนํ้าอสุจิเก็บไวมากขึ้น ประกอบกับจิตใจและอารมณมีการ
เปล่ยี นแปลงดังกลาว จะมผี ลทาํ ใหเ กดิ ความตึงเครียดของประสาท ในขณะหลับอาจฝน จินตนาการ
เก่ยี วกับเรือ่ งเพศหรือเรอ่ื งท่ีหวาดเสียว สง ผลใหถุงเก็บนา้ํ อสุจริ ดั ตวั ทาํ ใหต ัวอสุจิและน้ําหลอเล้ียงถูก
บีบเขาสูทอปสสาวะและขับเคล่ือนออกมาภายนอกโดยอัตโนมัติ ซึ่งเรียกอาการที่เกิดข้ึนนี้วา ฝน
เปยก ซ่ึงนับวา เปนการผอนคลายความตงึ เครยี ดทางจติ ใจและอารมณทางเพศตามธรรมชาติ จึงไมถือ
วาผดิ ปกตแิ ตอ ยางใด

1.3 ตอมไรทอทมี่ ีอิทธิพลตอ การควบคุมพฒั นาการทางเพศ
ตอมไรทอท่ีมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุนท่ีสําคัญ ไดแก
ตอมใตสมองหรือตอมพิทูอิทารี (Pituitary gland) ตอมเพศ (Gonads) ตอมไทรอยด (thyroid gland)
และตอมหมวกไต (adrenal or suprarenal glands) ซ่ึงตอมไรทอแตละตอมสงผลตอการเจริญเติบโต
และพฒั นาการของวัยรุน
1.4 อารมณทางเพศ (sexuality) หรอื ความตองการทางเพศ (sexusl desire)
ในที่น้จี ะหมายถึง ความรสู ึกของบุคคลทีม่ ผี ลมาจากสิ่งเรา ภายในหรือสงิ่ เรา ภายนอก
ท่ีเปน ปจจัยท่ีมากระตุนใหเกดิ ความรูสกึ ทางเพศขึ้น โดยมีระดับความแตกตางมากนอยตา งกัน ขึน้ อยู
กบั ความสามารถในการควบคมุ อารมณแ ละพ้ืนฐานทางดา นวุฒิภาวะของแตล ะบคุ คล
จากความหมายดงั กลา วจะเหน็ ไดวา สิ่งเราภายในและสิง่ เรา ภายนอกเปนปจจยั สําคัญ
ท่ีจะสงผลใหอารมณและอารมณทางเพศเกิดข้ึน และเมื่อวิเคราะหในประเด็นที่เก่ียวของกับ
ความสําคญั ของอารมณท างเพศกบั วยั รนุ แลว สรปุ ประเดน็ ทีส่ ําคัญได ดังนี้

1) อารมณทางเพศถือวาเปนสัญชาตญาณในการดํารงเผาพันธุของมนุษยที่
เกิดข้นึ ตามธรรมชาติ เปน ตัวบง ชีป้ ระการหน่งึ ทแี่ สดงใหเ ห็นถึงความสมบูรณข องพัฒนาการทางดาน
รา งกาย จติ ใจ และอารมณข องวยั รุน ทก่ี า วเขาสชู วงของวัยเจรญิ พนั ธมุ ากขน้ึ

2) ปจจุบนั ส่อื หลายรูปแบบท่ปี รากฏอยใู นสงั คมมีสวนชวยกระตนุ แรงขบั ทาง
เพศ (Sex drive) ของวยั รุนใหเ กิดอารมณทางเพศไดงายขึ้น การนาํ เสนอภาพหรือขอความที่เกี่ยวของ
กบั เรื่องเพศผานส่อื ตาง ๆ เปน ปจ จยั หนง่ึ ที่ยวั่ ยใุ หว ยั รนุ เกิดอารมณทางเพศที่เสยี่ งตอการมเี พศสัมพันธ
ไดงา ยและเร็วขึ้น โดยส่ือตาง ๆ เหลานอ้ี าจอยใู นรูปแบบของหนังสือหรอื ภาพยนตรบางประเภท รวม
ไปถงึ ขอมลู ท่ีไดจากการสบื คน ดวยระบบอนิ เทอรเน็ต ซ่ึงผลกระทบจากอารมณท างเพศในแงลบจะมี
มากยิง่ ขึ้น หากวัยรุนขาดความรคู วามเขา ใจในแนวทางการควบคุมอารมณท างเพศอยา งถกู ตอ ง จนใน
ทีส่ ุดอาจนาํ ไปสพู ฤติกรรมเสีย่ งตอการมเี พศสมั พันธโดยไมตั้งใจ และนํามาสูปญหาตาง ๆ ในสงั คมท่ี
เก่ียวขอ งกบั พฤตกิ รรมทางเพศที่ไมเหมาะสมของวัยรุนได

3) อารมณทางเพศของวัยรุนหากขาดวิธีการควบคุมที่ถูกตอง จะนําไปสู
ปญ หาพฤตกิ รรมทางเพศท่ีไมเ หมาะสมของวัยรุน มากขนึ้ วยั รนุ แมจะเปนวัยทม่ี แี รงขบั ทางเพศสูงกวา

54

ทุกวัย และพรอมที่จะมีเพศสัมพันธหรือมีบุตรไดก็ตาม แตสังคมและวัฒนธรรมของไทยก็ยังไม
ยอมรับท่ีจะใหวัยรุนชาย-หญิง แสดงพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมดังกลาว โดยเฉพาะการมี
เพศสมั พนั ธจ นกวาจะไดท าํ การสมรสหรอื ยูในชวงวัยทเ่ี หมาะสมอารมณทางเพศท่ีเกิดขึ้นในชวงการ
เขาสวู ยั รุน เปนพัฒนาการอยา งหน่งึ ที่แสดงใหเหน็ ถงึ ความพรอมของรางกายท่จี ะสบื ทอดและดาํ รงไว
ซึ่งเผาพันธุ โดยมีสิ่งเราสําคัญใน 2 ลักษณะ ประกอบดวย ลักษณะของปจจัยที่เปนส่ิงเราภายใน
(intrinsic stimulus) และลักษณะของปจ จัยทีเ่ ปนสิ่งเราภายนอก (extrinsic stimulus)

1) ลักษณะของปจ จัยทเี่ ปนสง่ิ เรา ภายใน
ปจจัยที่เปนสิ่งเราภายใน ในท่ีนี้หมายถึง ส่ิงเราซ่ึงเปนผลที่เกิดจาก
กระบวนการเปลยี่ นแปลงตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในรางกาย โดยไดรับอิทธิพลมาจากการทํางานของระบบ
ตอมไรทอ ซึ่งผลิตฮอรโมน ออกมาเพ่ือกระตุนใหรางกายมีการพัฒนาอยางเปนระบบตอเน่ือง
ฮอรโมนเพศเปนปจจัยภายในท่ีสําคัญท่ีเปนส่ิงเราใหวัยรุนมีพัฒนาการของอารมณทางเพศเกิดขึ้น
และนําไปสกู ารเกดิ ความตองการทางเพศตามชวงวัย ในเพศชายฮอรโมนท่ีเปนปจจัยสําคัญในเร่ือง
ดงั กลาว คอื ฮอรโมนเทสโทสเตอโรน สว นในเพศหญิง คือ ฮอรโมนเอสตราดิโอล และ ฮอรโมน
ฟอลลิควิ ลาร
2) ลักษณะของปจจัยทเ่ี ปน ส่งิ เราภายนอก
ปจจัยท่ีเปนสิ่งเราภายนอก ในท่ีน้ีหมายถึง สภาพแวดลอมภายนอกตาง ๆ ที่
สามารถกระตนุ หรอื ยั่วยุใหผ ูท ่รี บั รู หรอื ไดรับการถายทอดเกดิ ความรสู กึ ทเี่ กิดเปนอารมณทางเพศขึ้น
ประกอบดว ย
สอ่ื รูปแบบตาง ๆ ที่กระตุนหรือยั่วยุใหวัยรุนเกิดอารมณทางเพศ ปจจุบันมีส่ือ
หลากหลายรูปแบบโดยเฉพาะ สอ่ื ทางเพศ ไดน าํ เสนอภาพและ/หรือขอ ความทเ่ี กี่ยวกบั เพศ ซ่ึงมักจะ
นําไปสูการกระตุนหรือยั่วยุใหผูรับส่ือโดยเฉพาะในวัยรุน ความหลากหลายของสื่อในลักษณะ
ดงั กลา วทาํ ใหม ผี ูเปรยี บเปรยส่ือตาง ๆ เหลา น้ีเปน สนิ คา เพศพาณิชย ซงึ่ นับวันจะมีการผลติ และนาํ มา
เผยแพรใ หเ หน็ เพิม่ มากขึน้
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมที่เปล่ียนไป ปจจุบันเปนที่ยอมรับกันอยาง
หน่ึงวา สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมไทยไดเปลี่ยนไปจากเดิม นับต้ังแตท่ีมีการรับวัฒนธรรม
ตะวนั ตกเขาสสู งั คมไทย กอใหเ กดิ การเปลยี่ นแปลงข้ึนหลายลกั ษณะ โดยเฉพาะในประเทศไทยเกิด
ความเปล่ยี นแปลงทเี่ กยี่ วของกับเร่ือง การคบเพ่ือนตางเพศของวัยรุนไทย พบวามีอิสระเพ่ิมมากข้ึน
นอกจากนี้ปจจุบันสภาพของครอบครัวไทยมีการเปลี่ยนแปลงไป ผูปกครองมีเวลาใกลชิดกับบุตร
หลานนอ ยลง ซงึ่ เปน ผลมาจากสภาพของภาวะเศรษฐกจิ นอกจากน้ยี ังพบวา ความมอี สิ ระของส่ือตอ
การนาํ เสนอเรื่องราวที่เกี่ยวของกับเพศ จัดไดวาเปนส่ิงเราภายนอกท่ีสําคัญ ท่ีสามารถที่จะเราและ
กระตนุ ใหว ยั รนุ เกิดความตอ งการทางเพศข้ึนได โดยเฉพาะหากขาดการดแู ลและการควบคมุ ที่ถกู ตอง
เหมาะสม

55

คานิยมและพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสมในบางลักษณะของวัยรุน ผลจากสภาพ
ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เก่ียวของกับเร่ืองเพศท่ีเปล่ียนไป สงผลใหวัยรุนไทยเกิดคานิยม และมี
พฤติกรรมท่ีไมเหมาะสมในหลายลักษณะ เปนตนวา คานิยมในเรื่องการแตงกายตามสมัยนิยม
(Fashion) ท่ีมากเกินควรของวัยรุน โดยไมคํานึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เชน ลักษณะการสวม
เสือ้ ผา ท่ีรัดรปู หรือเปดเผยสัดสวนรางกายของวัยรุนเพศหญิง ซึ่งการแสดงออกดังกลาวจะกระตุน
และยั่วยุใหว ยั รุนชายเกิดอารมณท างเพศได นอกจากน้ียังพบวาวัยรุนมักจะมีคานิยมท่ีเกี่ยวกับความ
ตอ งการในการแสดงออกโดยอสิ ระ เปน ตน วา การเทย่ี วเตรในเวลากลางคืน การสัมผัสรางกายของ
เพศตรงขาม หรอื การจับมอื ถือแขนอยางเปดเผยในทสี่ าธารณะ การอยตู ามลําพงั สองตอสอง หรือการ
ไมใหค วามสําคัญในเรอ่ื งการรักษาพรหมจารี ฯลฯ ซง่ึ สิ่งตา ง ๆ เหลานถี้ ือวาเปนปจ จัยภายนอกที่สามารถ
จะกระตุนหรอื ย่ัวยใุ หวยั รุนเกดิ อารมณท างเพศขนึ้ ได ความเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขึน้ ในขณะท่ีวัยรนุ เกดิ การ
เปลีย่ นแปลงทางเพศ อารมณเพศหรือความตองการทางเพศที่เกิดขึ้นกับวัยรุน ไมวาจะเกิดจากสิ่งเรา
ภายในหรือภายนอกก็ตาม มักจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงใน 2 ลักษณะสําคัญ ประกอบดวย
ลักษณะการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นกับสภาพจิตใจ และลักษณะการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับสภาพ
รางกาย

1) ลกั ษณะการเปล่ยี นแปลงท่เี กดิ ขึน้ กบั สภาพจิตใจ
โดยปกตขิ ณะทีค่ นเราเกิดอารมณทางเพศจะพบวา มีจิตนาการที่เกี่ยวของกับ
เร่ืองเพศอยูในระดับหน่ึง ซึ่งจะมากหรือนอยหรือมีความแตกตางกัน ยอมขึ้นอยูกับพื้นฐาน
ความสามารถในการควบคมุ อารมณแ ละความรูสึกของแตละคน และโดยทั่วไปพบวา ความต่ืนเตน
ทางเพศทีเ่ ปน พนื้ ฐานของการเกิดอารมณทางเพศในเพศหญิงจะเกิดไดชากวาเพศชาย อยางไรก็ตาม
ทั้งเพศชายและเพศหญงิ เมื่อเกดิ อารมณทางเพศขนึ้ หากความสามารถในการควบคุมอารมณและการ
จัดการในเรื่องดงั กลา วไมดพี อ กม็ ักจะสงผลใหเ กดิ ปญ หาทางดา นสขุ ภาพจติ ขน้ึ ได โดยเร่ิมจากภาวะ
ทางดา นจติ ใจที่เกิดความเครียดขน้ึ แลว นาํ มาสภู าวะของความวิตกกังวลท่ีเกี่ยวของกับเรื่องเพศ จน
อาจนําไปสูก ารขาดความเช่ือมน่ั ในตนเองได
2) ลักษณะการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขน้ึ กับสภาพรางกาย
ขณะท่สี ภาพจติ ใตมีการเปลี่ยนแปลงและแสดงออกถึงความตองการทางเพศ
ปฏกิ ิรยิ าของรางกายที่แสดงใหเห็นถึงภาวะความเปล่ียนแปลงดังกลาวของรางกายจะเห็นไดชัดเจน
มากข้นึ โดยเฉพาะรางกายท่แี สดงใหเ ห็นถึงภาวะความเปล่ียนแปลงดังกลาวของรางกาย จะเห็นได
ชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะบริเวณอวัยวะเพศท่ีมีการไหลเวียนของเลือดที่สงมามากขึ้น สงผลให
อวัยวะเพศเกิดการขยายตัว
เพศชาย พบวา บรเิ วณองคชาตหรือลงึ ค (penis) จะมขี นาดเพมิ่ ขึ้นและแข็งตัว
ขึ้น ผนงั ทห่ี มุ อัณฑะ (Scrotum) จะหนาขน้ึ ลูกอณั ฑะจะเคล่ือนตัวสูงข้นึ

56

เพศหญิง พบวาบริเวณอวยั วะเพศนอกจากจะขยายตัวแลว บริเวณชองคลอด
อาจมกี ารขบั นํ้าหลอลนื่ ออกมา รวมท้งั กลามเนอ้ื บริเวณดังกลา วยังอาจเกิดการหดรดั ตวั ขึน้ เปนระยะ

นอกจากการเปลี่ยนแปลงบริเวณอวัยวะเพศแลว ผลจากการเกิดอารมณทาง
เพศยังสงผลใหการสูบฉีดเลือดของหัวใจเพิ่มข้ึน ทําใหเลือดไหลเวียนเพ่ิมข้ึน เปนผลใหผิวหนัง
บรเิ วณทส่ี ังเกตได มกี ารเปลย่ี นแปลงเปนสีแดงเพิ่มขน้ึ เชน บรเิ วณใบหนา ลําคอ อก และหนา ทอ ง
นอกจากน้ี ในเพศหญิงหวั นมและเตา นมอาจมีการขยายตัวขึ้น

ผลกระทบดานลบท่ีเกิดขึ้นจากการเกิดอารมณทางเพศของวัยรุน จนนํามาสู
ปญหาทางสังคมที่เหน็ ไดชดั อีกประการหนึ่งในปจจุบัน คือ การมีพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสม
ของวัยรุน ซง่ึ นาํ มาสูปญหาตาง ๆ ตามมา เปนตนวา การเกิดปญหาการตั้งครรภที่ไมพึงประสงคใน
วัยรนุ การเกิดปญหาการตดิ โรคทางเพศสัมพันธและโรคเอดสในวัยรุน โดยปญหาเหลาน้ีถือวาเปน
ผลกระทบที่สืบเน่ืองมาจากการเกิดอารมณทางเพศของวัยรุนที่ไมไดรับการควบคุมและจัดการท่ี
ถูกตองเหมาะสม ซ่ึงผลกระทบดังกลาวถือไดวาเปนปญหาทางสังคมท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งใน
ปจ จบุ นั

แนวทางในการจดั การกบั อารมณทางเพศของวยั รนุ การจัดการกับอารมณทาง
เพศของวยั รนุ มีแนวทางการปฏบิ ตั ทิ ่ีสาํ คญั อยู 2 ลกั ษณะ ประกอบดว ย แนวทางการปฏิบัติเพ่ือระงับ
อารมณท างเพศ และแนวทางการปฏิบตั ิเพอื่ ผอ นคลายความตอ งการทางเพศ

1) แนวทางการปฏิบตั ิเพอื่ ระงับอารมณท างเพศ
แนวทางการปฏบิ ัตเิ พอ่ื ระงบั อารมณท างเพศ หมายถงึ ความพยายามในการท่ี
จะหลีกเลยี่ งตอสง่ิ เราภายนอกทมี่ ากระตุนใหอารมณทางเพศมีเพ่ิมมากข้ึน แนวทางในการปฏิบัติ มี
ดังนี้
หลีกเลีย่ งการดหู รืออานขอ ความจากสื่อตา ง ๆ ทีม่ ีภาพหรือขอความที่สามารถ
ยั่วยุใหเกิดอารมณทางเพศ เชน การดูหนังสือ หรือภาพยนตร หรือสื่ออินเทอรเน็ตที่มีภาพหรือ
ขอความที่แสดงออกทางเพศ ซึ่งเปน การย่วั ยุใหเกดิ อารมณท างเพศ
หลีกเลี่ยงการปฏิบัติหรือการทําตัวใหวางหรือปลอยตัวใหมีความสบายเกินไป
เชน การนอนเลน ๆ โดยไมหลับ การน่งั ฝนกลางวนั หรือนัง่ จิตนาการที่เก่ียวของกับเรื่องเพศ การอยู
ในสภาพของบรรยากาศท่ีมีแสงสเี สยี งทกี่ อ หรอื ปลุกเราใหเกิดอารมณท างเพศ
อยางไรก็ตาม แมในทางจิตวิทยาและในทางการแพทยจะมีความเห็นท่ี
สอดคลองกนั วา การบําบัดความใครดว ยตนเองโดยทั่วไปจะไมก อใหเกดิ ความผดิ ปกตทิ ้ังทางรางกาย
และจิตใจ แตก ไ็ มควรปฏบิ ัติบอยจนเกิดความหมกมุนตอเร่ืองดังกลาว ซึ่งจะกอใหเกิดเปนลักษณะ
นิสยั ซึง่ อาจสงผลลบตอ บคุ ลกิ ภาพและความเขมแข็งทางดานการควบคุมอารมณที่ดีได ดังน้ัน หากมี
ความจําเปนและไมสามารถที่จะหลีกเล่ียงการปฏิบัติในเร่ืองดังกลาวได ควรระลึกและคํานึงถึง
หลักการปฏิบัติทเี่ กยี่ วขอ งใน 3 ลกั ษณะทีส่ ําคัญ คอื ตองคํานึงในหลักของความสะอาดเปนพื้นฐาน

57

ตอ งคาํ นึงถึงสถานทใ่ี นการปฏิบัติ คอื ตอ งมคี วามเปน สว นตัว ไมประเจดิ ประเจอ และตอ งไมป ฏบิ ัติ
ดวยวิธกี ารทีร่ ุนแรง ซึ่งอาจกอ ใหเ กดิ บาดแผล หรอื มีการอักเสบ หรือตดิ เช้อื ได

1.5 การปรับตวั ทางเพศเม่ือเขาสวู ัยรุน
เม่ือเขาสูวัยรุน เพื่อชวยใหสามารถปรับตัวไดอยางถูกตองและเหมาะสมกับ
เพศของตนดียง่ิ ขนึ้ วยั รนุ ควรมีแนวทางในการปฏิบัติ ดงั น้ี
1) ศึกษาใหเ ขาใจถึงการเปลี่ยนแปลงทางเพศของรางกายและจิตใจ เมื่อยาง
เขา สวู ัยรุน เราจะสงั เกตเห็นวามกี ารเปลีย่ นแปลงเกดิ ขึ้นในตวั เราหลายอยาง บางอยางก็อาจทําใหเรา
ไมส บายใจ เชน วัยรุนชายบางคนไมอยากพูดคุยกับเพ่ือนเพราะอายท่ีเสียงแตกพรา สําหรับวัยรุน
หญิงที่มีประจําเดือนเปนครั้งแรกอาจมคี วามรสู ึกกงั วลและมีอาการตาง ๆ เกิดข้ึน แตถาหากไดศึกษา
และทําความเขา ใจเก่ียวกับสภาพการเปลี่ยนแปลงดังกลาว จะทําใหเขาใจและสามารถปฏิบัติตนได
อยา งถกู ตอง
2) ปรับตวั เขากับเพอ่ื นตางเพศใหเ หมาะสม วัยรุน เปน วัยทมี่ ีการเปล่ียนแปลง
ทางเพศหลายอยางท้ังชายและหญงิ เรมิ่ มีความสัมพันธก นั ทางสังคมมากขึ้น ทําใหชายและหญิงตางมี
ความสนใจในเพื่อนตางเพศมากขึ้น การคบเพ่ือนตางเพศไมใชสิ่งเสียหาย แตตองปฏิบัติตนอยูใน
ขอบเขตท่เี หมาะสมและรูจ ักมารยาทที่ควรปฏบิ ัตติ อกัน ดงั นี้
ฝายชาย ควรใหเกียรติฝายหญิง ไมเก้ียวพาราสีหรือฉวยโอกาส มีความ
บรสิ ทุ ธิ์ใจ และควรใหค วามชวยเหลอื ฝายหญิง เชน ชวยถือของ สละที่น่ังให ไมแสดงกิริยาวาจาท่ี
ไมเ หมาะสม เชน พูดจาหยาบโลน หรือใชก าํ ลังรุนแรง เปนตน
ฝายหญิง ควรวางตัวใหเหมาะสม สงวนตัว ไมอยูในท่ีรโหฐานกับเพศตรง
ขามตามลําพัง ไมไปในที่เปล่ียว แตงตัวสุภาพ ไมแสดงกิริยาวาจาที่ไมเหมาะสม เชน สงเสียงดัง หรือ
กลาวคําผรุสวาท เปน ตน แสดงความมนี าํ้ ใจและใหเกยี รติฝา ยชาย
3) ควรรีบปรกึ ษาผูใหญเ ม่ือมปี ญหาหรือมีอุปสรรคใด ๆ เกี่ยวกับเร่ืองเพศ วัยรุน
สว นมากมักจะมีความวิตกกงั วลในเรอ่ื งตาง ๆ เกี่ยวกับการเปล่ยี นแปลงทางดา นรา งกายและจติ ใจ เมือ่
มปี ญ หาเกิดขึ้นควรจะปรกึ ษาพอ แม ครู ญาตพิ น่ี อง และผใู หญทไ่ี ววางใจ เพราะทานมปี ระสบการณ
มากกวา เรา ยอมจะชวยแนะแนวทางปฏิบัติทถ่ี ูกตอ งใหแ กเราได
4) ปฏบิ ตั ิตามขนมธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม โดยการเคารพเช่ือฟงผูใหญ
หมั่นศึกษาเลาเรียน ไมประพฤติไปในทางชูสาวกอนเวลาอันเหมาะสม การยึดมั่นใน
ขนบธรรมเนยี มประเพณอี ันดีงามจะชว ยเตอื นใจใหเราปฏิบตั ิในทางทถี่ ูก

2. วยั รุนกับการคบเพ่ือน
วัยรุนเปนวัยท่ีใหความสําคัญกับเพ่ือนและตองการใหตนเองเปนท่ีนิยมชมชอบใน

กลุมเพอื่ น การมเี พ่ือนท่ีดจี ะทาํ ใหว ัยรุน มผี ทู คี่ อยรวมทุกขรวมสุข ปรับทุกข ชี้แนะแนวทางในการ

58

แกไขปญหาอยา งถกู ตอ ง แตถาวยั รุนคบเพื่อนทไ่ี มดีก็จะชกั นําไปสูท างทไ่ี มดี วัยรุนจึงควรรูจักเลือก
คบเพ่ือนท่ีดแี ละสรา งความสมั พนั ธท ่ีดกี บั เพ่อื น ซึ่งจะชวยใหสามารถปรับตัวใหเ ขากับสงั คมไดตอไป

2.1 หลกั การคบเพื่อน
ควรมีหลักปฏิบัติในการคบเพ่ือน คือวัยรุนควรพิจารณากลุมเพ่ือนที่คบวามี

ความประพฤติเปนอยางไร ถาเพ่ือนคนใดประพฤติตนในทางไมดี ก็ควรแนะนําและชักจูงใหเขา
ประพฤติในทางท่ีดี รจู ักปฏเิ สธและไมห ลงเชื่อคําชักชวนหรือปฏบิ ตั ิตามเพ่ือนที่มีความประพฤติไมดี
เชน ชวนใหห นีเรียนเที่ยวกลางคืน เลนการพนัน เสพสารเสพตดิ เปนตน โดยในการพูดปฏิเสธนั้น
ใหปฏบิ ตั ิดังนี้ พดู ดว ยนํ้าเสียงหนัก
แนน ม่นั คง ควรบอกความรสู ึกดกี วา บอกเหตผุ ลหรอื ขออา ง เพราะความรูส กึ เปน เรอ่ื งสวนตัวของแต
ละบุคคล ถาบอกเหตุผลหรือขออาง เพ่ือนอาจจะนําเหตุผลอ่ืนมาลบลางใหปฏิเสธไมได และรูจัก
แนะนําและชักชวนเพื่อนปฏิบัติกิจกรรมที่ดีและมีประโยชน เชน เลนกีฬา เลนดนตรี เรียน
ภาษาตางประเทศ เรยี นคอมพิวเตอร เขารวมในกิจกรรมพัฒนาตาง ๆ ในชุมชน เปนตน โดยเลือก
ตามความสนใจและความเหมาะสมของตนเอง จะไดเปนการใชเ วลาวา งใหเ กดิ ประโยชน

2.2 หลกั ทั่วไปในการผกู มติ ร
หลักทั่วไปในการผูกมติ ร มีแนวทางในการปฏบิ ัติ ดังน้ี
1) รจู ักยอมรับคาํ ติชม เชน รับฟง ความคดิ เหน็ หรอื คาํ วิพากษวจิ ารณของผอู นื่

เก่ียวกับตวั เราเองดว ยความเตม็ ใจ เปน ธรรม ไมล าํ เอยี งเขา ขา งตนเอง และสามารถควบคมุ อารมณไ ด
2) รูจักอารมณขัน มองโลกในแงดี และควรเปนคนย้ิมงาย เปน

บุคลกิ ลักษณะท่ีดแี ละเปน เสนหที่ทาํ ใหผ พู บเห็นหรือคบคาสมาคมดว ยรสู ึกชมชอบ เกิดความสุขและ
ความสบายใจ นบั วาเปน สง่ิ สําคัญยง่ิ อยางหน่ึงทจ่ี ะนาํ ไปสูการตอนรับและความรวมมอื ทีด่ ี

3) รูจักออนนอมถอมตน ไมคุยโออวดความสามารถของตน ไมพูดจาดูถูก
หรอื ยกตนขมผอู น่ื และรูจักยอมรบั ขอ บกพรอ งหรือความดอ ยของตนในดา นตาง ๆ

4) รูจักรับผิดชอบตอหนาที่ เชน หนาท่ีสําคัญของนักเรียนคือเรียน ครูมี
หนาทใี่ หก ารศึกษาอมรมแกนักเรยี น นกั ศึกษา

5) รูจักประนีประนอม เม่ือเกิดปญหาหรืออุปสรรคข้ึน ควรจะมีการ
ประนีประนอมหรือรอมชอมกัน ซึ่งเปนวิธีการหน่ึงที่คนเราอาจตกลงกันไดอยางยุติธรรมและมี
เหตผุ ล

6) รูจักเอาใจเขามาใสใจเรา ใหคิดเสมอวาอะไรก็ตามท่ีเราเองไมชอบ ไม
ตอ งการใหผอู น่ื กระทําตอเรา กจ็ งอยา กระทาํ สงิ่ นนั้ ตอบุคคลอ่ืน และถาตองการใหบุคคลอ่ืนกระทํา
ส่ิงใดตอ เราก็จงกระทําสง่ิ นนั้ ตอเขา

7) รูจักใหกําลังใจคนอ่ืน เชน ยกยองใหเกียรติ ใหกําลังใจผูอื่นดวยการ
ชมเชย รูจักแสดงความชน่ื ชมยินดตี อ ความสําเร็จของเพอื่ นรว มหอง เพอื่ นรวมงาน เปนตน

59

8) รจู ักไววางใจคนอ่นื คอื รูจกั ไวเน้ือเช่อื ใจคนอนื่ บา งตามสมควร เพราะคน
อ่ืนอาจมีความดอยเกินไปในดานตาง ๆ ไดเชนเดียวกับเรา นอกจากนี้บางคร้ังการประเมินคา
ความสามารถของผูอน่ื ดอ ยเกนิ ไป อาจนํามาซง่ึ ความผิดหวังไดดวย

9) รูจักรวมมือกับคนอ่ืน เชน การใหความรวมมือกับหมูคณะในการ
ประกอบกจิ กรรมตาง ๆ ของสวนรวมดวยความเต็มใจ เพราะผูที่เห็นแกตัวหรือเอาแตไดยอมเปนที่
รงั เกียจของสังคม

10) รูจักเคารพสิทธิของผูอื่น เชน ไมควรใชทรัพยสิ่งของของผูอื่นโดย
พลการ ไมกา วกา ย หรือละเมดิ สทิ ธซิ ง่ึ เปนผลประโยชนอันชอบธรรมของผอู นื่

2.3 หลกั ในการสรางเสรมิ ความสมั พนั ธอ นั ดกี ับกลมุ เพอื่ น
หลักในการสรา งเสริมความสมั พนั ธอนั ดีกบั กลมุ เพ่อื น มีแนวทางปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
1) รูจ กั ตนเองและรูจ ักคนอน่ื วยั รนุ ตองมคี วามเขา ใจในความตองการของตน

และของเพื่อนยอมรับสภาพความเปน จรงิ ของตน และยอมรบั ความแตกตางในตวั เพ่ือนกับตัวเอง ไม
อจิ ฉาริษยาเพ่อื นท่มี ฐี านะดีกวา หรือมีความสามารถมากกวา และไมยกตนขมทานหรือดูถูกเหยียด
หยามเพ่ือนท่ีดอยกวา ตน แตใ หยนิ ดีกับความสําเร็จของเพ่ือน และคอยชว ยเหลอื สนบั สนุนเพื่อนหาก
มีโอกาส

2) มมี นุษยส มั พนั ธท่ีดี รูจกั พดู รูจักฟง เรยี นรูที่จะพูดเรื่องตาง ๆ ในจังหวัด
ทีเ่ หมาะสม เปดโอกาสใหเพ่อื นไดแสดงความคิดเห็น และรับฟงความคดิ เหน็ ของเพื่อน เอาใจใสใน
ตัวเพ่ือน และใหความสําคัญกับเพื่อนดวยความบริสุทธ์ิใจ ตลอดจนมีความซ่ือสัตยและจริงใจตอ
เพ่อื น

3) การมองโลก ใหมองในแงทีเ่ ปน จริง ไมม องในแงดีจนเกินไป อันอาจถูก
หลอกลวงและคดโกงได แตไมมองคนในแงรา ยจนเกินไป อันจะทําใหเปน คนใจแคบ ไมร ูจกั การให
อภยั

4) มีนํ้าใจเปนนักกีฬา ยอมรบั ผดิ เม่อื รวู าตนผิด ปฏิเสธในสิ่งที่ตนไมสามารถ
ทําได เม่ือใหส ัญญาอยา งไรไวกบั ใครกต็ องพยายามทาํ ตามสัญญานัน้ ใหด ที ส่ี ุด นอกจากนี้ยังตองรูจัก
เสยี สละและใหอ ภัยแกเ พ่อื นเมอื่ เกดิ ขอ ผดิ พลาด โดยทําความเขาใจถึงสาเหตุท่ีทําใหเกิดขอผิดพลาด
นนั้ และรวมมอื กันปรับปรงุ แกไ ขตามสาเหตทุ เ่ี กดิ ขนึ้ ตอไป

หรือสงผลมากระทบ และเมื่อเกิดอารมณขึ้นก็มักจะพบวาพฤติกรรมการ
แสดงออกดังกลาว มกั มีการเปลี่ยนแปลงหรอื แตกตางไปจากสภาพเดิม ซึ่งสังเกตเห็นไดชัดเจนหรือ
อาจไมช ัดเจน ทั้งนี้ขึ้นอยูกบั ความสามารถในการปรับสภาพอารมณข องแตละบุคคล

60

เรือ่ งท่ี 3 พฤตกิ รรมทน่ี าํ ไปสูการมีเพศสมั พันธ

ปจจบุ นั ปญหาจากพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมของวัยรุนมีหลายลักษณะ เชน
การมเี พศสัมพันธก อนวัยอันควร การตดิ เชอ้ื เอดสแ ละโรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ รวมท้งั การต้ังครรภ
ทไี่ มพ ึงประสงคในวยั รนุ ทง้ั ท่ีมาจากพฤติกรรมทางเพศท่ีไมเหมาะสมโดยตรง และมาจากอบุ ัติภัยทาง
เพศนับเปน ปญ หาทางเพศของวยั รนุ ที่อยใู นอนั ดับตน ๆ

อยางไรกต็ าม มีวัยรุนท่จี บั คกู นั บางคไู มม เี พศสมั พันธกัน ซงึ่ มีสาเหตุหลายประการ
เชน พอแมดแู ลเอาใจใสอ บรมส่ังสอนดี พอแมติดตามดแู ลอยางใกลชิด ไมเปดโอกาสใหทั้งคูไดอยู
ในสถานการณท่ีเส่ียงตอการมีเพศสัมพนั ธ วยั รนุ คดิ ไปขา งหนาเกิดความเกรงกลัววาจะมีปญหาตาง ๆ
ตามมามากมาย มีความละอายใจและรสู ึกวาผิด กลัวเสียชื่อเสียง และกลัวคนอื่นจะรู ไมมีโอกาสท่ี
จะไดกระทํา มีความยบั ยั้งชัง่ ใจ เปนตน

การจับคูกันนั้นสวนใหญจะทาํ ใหก ารเรียนแยล ง การมีคูร ักไมใชสัญลักษณของการ
ประสบความสาํ เรจ็ ในชีวิต ไมใชแฟช่ัน หากวัยรุนคนใดยังไมมีคูรักก็ไมควรรูสึกวาตัวเองดอยกวา
เพื่อนที่มีคนรัก ไมจําเปนท่ีจะตองคบกับใครสักคนเปนคูรัก เพียงเพราะตองการใหตนเองเหมือน
เพ่อื นคนอนื่ ๆ เทานั้น

ความคาดหวงั ในเรอื่ งความรักของผูหญิงและผชู ายทแ่ี ตกตางกันน้ัน เปน สิ่งท่วี ยั รุนที่
จับคูกนั ไมควรมองขา ม เพราะจะทาํ ใหรูวาหญิงและชายจะปฏบิ ัตติ อ คนรักตางกนั ผชู ายจะคดิ ถงึ เร่ือง
การไดสัมผัส ลวงเกินจนถึงข้ันมีเพศสัมพันธ จึงเปนสาเหตุหนึ่งท่ีจะทําใหผูหญิงตองเสียความ
บริสุทธิก์ อนวยั อนั ควร และมักไมค อยเตม็ ใจ ซ่ึงวยั รุน หญงิ จะตองระวังใหด ีในเร่อื งน้ี

1. พฤติกรรมที่เสี่ยงตอ การมเี พศสมั พนั ธ
วัยรุนเปน วยั ทเ่ี กดิ ความเปล่ียนแปลงและพัฒนาการอยางรวดเร็วในเร่ืองเพศ บางคน

จึงเกิดความสนใจในเพศตรงขา ม สนใจในเรือ่ งเพศ การจับคเู ปน คูรกั กัน การเกิดอารมณทางเพศ การ
ดูสอ่ื ลามก การมเี พศสมั พันธกับครู กั การมีสัมพนั ธก ับหญิงขายบรกิ ารทางเพศ หรอื การขายบรกิ ารทาง
เพศ

เม่อื เปน เชนนีผ้ ลเสยี ที่ตามมา ไดแ ก การมีเพศสัมพนั ธกอ นวัยอันควร ทําใหเกิดความ
วติ กกงั วล เสยี การเรยี นเพราะจะสนใจการเรียนนอยลง เกดิ การต้ังครรภที่ไมพึงประสงค การทําแทง
ปญ หาลูกไมมีพอ ทารกถกู ทอดทิง้ โรคติดตอทางเพศสมั พันธ โรคเอดส เปนตน

เหตุและผลดังกลาวขางตนนี้ มกั จะเรมิ่ จากตัวของวัยรนุ เองทีม่ ีพฤตกิ รรมเสยี่ งตอการ
มเี พศสมั พันธ ซง่ึ มีดงั นี้

1. สนใจเร่ืองเพศมาก ปกตวิ ัยรนุ กจ็ ะสนใจเรือ่ งเพศอยูแ ลว เพราะเปน ธรรมชาติของ
วัย แตถา หมกมุนกับเรอื่ งนม้ี ากเกินไป และโอกาสหรือสถานการณเอื้ออาํ นวยวยั รนุ อาจมีเพศสัมพนั ธ

61

โดยไมค ดิ ไมไ ดตัดสินใจหรอื ไมไดวางแผนลวงหนา คือปลอ ยใหเปนไปตามความตองการและอาจไม
คดิ ถึงผลกระทบท่จี ะเกดิ ขึ้นภายหลงั

2. มีความหมกมุนในเร่ืองเพศ มีวยั รุนจํานวนหน่ึงโดยเฉพาะวัยรนุ ชายทหี่ มกมุนใน
เรื่องเพศมากเกินไปอาจมีการสําเร็จความใครดวยตนเองบอยคร้ัง โดยไมพยายามหลีกเลี่ยง หรือ
พยายามจดั การกับอารมณท างเพศ ในผูห ญิงก็อาจมีบางแตไมมากเทาผูชาย บุคคลประเภทนี้มีความ
เสย่ี งตอ อาการมเี พศสมั พันธ

3. ชอบถูกเนื้อตองตัวเพศตรงขาม ผชู ายมักจะยินดีทไ่ี ดถ ูกเน้ือตองตัวผหู ญงิ หรอื ให
ผูหญิงมาถูกเน้อื ตองตัวตนเอง สว นผหู ญิงทคี่ ิดเชนเดยี วกบั ผูชายนก้ี ม็ บี าง การถูกเนื้อตองตวั กนั ทาํ ให
เกิดอารมณท างเพศได ถามโี อกาสหรอื สถานการณท ีเ่ อ้ืออาํ นวยกอ็ าจถึงข้นั การมเี พศสมั พนั ธกันได

เร่อื งน้ีมักจะพบเหน็ อยบู อยครง้ั ในหมูวัยรุนท่ีมักถือโอกาสถูกเนื้อตองตัวกัน ถาถูก
ผใู หญดุหรือเตือนก็จะบอกวา เปนเพ่อื นกนั ไมคดิ อะไร ถึงแมวาจะมบี างคนทไ่ี มไดค ดิ อะไรจรงิ ๆ แต
ก็ไมเหมาะสม เพราะจะถูกมองวาเปนหญิงสาวที่ไมรักนวลสงวนตัว ใหผูชายถูกเนื้อตองตัวงาย ๆ
ผูชายก็ไมเปนสุภาพบุรุษเพราะชอบหาเศษหาเลยดวยการถูกเนื้อตองตัวผูหญิง ดังน้ันนักเรียนควร
ปองกันและหลีกเล่ยี งไมใหเ กิดพฤตกิ รรมน้ี

4. คดิ วา การมเี พศสัมพันธไ มใ ชเรื่องเสยี หาย ไมว าชายหรอื หญิงที่คิดเชนนี้จะเปนผู
ทเ่ี สย่ี งตอการมเี พศสัมพันธมาก ผชู ายมกั จะคิดเชน น้ี ซ่ึงเปนนิสัยท่ีติดตัวของผูชายมาอยูแลว แตถา
ผูหญงิ คดิ เชนน้ีดว ยก็นับวา เปน การสนับสนุนใหผ ูชายสมหวงั ขนึ้ จนเปน เปนปญหาสําคัญปญ หาหนึ่ง
ในครอบครัวและสังคมไทย เพราะเปนความคิดที่นําไปสูการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร ซึ่งจะ
กอ ใหเกิดปญ หาตามมามากมาย

5. ดูสอื่ ลามก ปจจุบนั นี้มสี ่อื ลามกขายกนั มากมายตามทองตลาด วัยรนุ หลายคนรูว า
แหลงซ้อื ขายอยทู ีใ่ ด การดูสื่อลามกประเภทน้ที าํ ใหผูด ูเกิดอารมณท างเพศ วยั รนุ เปน วัยท่ีอยากรอู ยาก
ลอง เม่ือดูแลวบางคร้ังอาจอยากทดลองทําตามคูพระนางในสื่อลามกนั้น ดังวัยรุนที่มีขาวลงหนา
หนังสือพมิ พวา ไปขม ขืนหรือไปมั่วสุมมเี พศสัมพันธกันแลวรับสารภาพวาทําตามอยางในส่ือลามกที่
เคยดู

6. เปนคนเจาชู คนเจาชูคนท่ีชอบมีคูรักหรือสามีภรรยามากกวา 1 คน หรือมีไป
เร่อื ย ๆ ตามความพอใจ วัยรุนท่ีเปนคนเจาชูจะมีใจกลาในเรื่องน้ี และขาดความรับผิดชอบในสิ่งท่ี
ตนเองกระทาํ ไมร ักใครจริง ถาเบื่อกพ็ รอมทจี่ ะทอดท้งิ บุคคลประเภทน้ีจะมีเพศสัมพันธงาย ๆ ไมคิด
อะไรมาก ผหู ญงิ เปน ฝา ยท่ีตองรับภาระในสิ่งที่ทัง้ คูไ ดก ระทาํ ลงไป เชน เปนฝา ยตงั้ ครรภอาจตอ งไป
ทําแทง หรอื ตองคลอดลูกแลว เลยี้ งลูกตามลําพัง เปน ตน จึงตอ งระวังคนเจา ชูและตองไมเ ปนคนเจา ชู

7. เคยมีประสบการณทางเพศมาแลว ไมวาจะเปนผูชายหรือผูหญิงที่เคยมี
ประสบการณในการมีเพศสัมพันธมาแลว ในครั้งตอ ๆ ไปมันจะไมคิดมาก ใจกลาข้ึน ไมกลัว
หรือไมก็ตดิ ใจในเพศรสจึงเปนมลู เหตทุ ่ีทาํ ใหเ กดิ ความเส่ยี งตอ การมเี พศสัมพันธซํา้ ไดอีก

62

8. เสพสารเสพติด ผูทีเ่ สพสารเสพตดิ จะเกิดอาการมนึ เมาเคลบิ เคลิม้ ขาดความรูสึก
ผดิ ชอบช่ัวดี ครองสติไมได จงึ มักทาํ อะไรลงไปแบบไมค ดิ อะไรมากหรืองง ๆ ไมคอยรูตัว ดังขาวที่
พบเหน็ บอย ๆ วา วยั รนุ ไปจดั ปารต้ยี าอี ยาบา หรอื ไมก็ไปดื่มแอลกอฮอล พอมึนเมาเสพสารเสพติด
หรือยอมมีเพศสมั พนั ธเ พ่อื แลกกบั สารเสพติดในกรณีที่ติดสารเสพตดิ แลว

9. ขาดความไตรตรอง บุคคลประเภทนี้มักไมคิดถึงผลที่จะตามมาหรือผลกระทบ
หลงั การมเี พศสมั พนั ธว าจะเปน อยางไร เปนคนแกปญหาเฉพาะหนาไปวันหน่ึง ไมคิดถึงอนาคตวา
เปน อยางไร ตัดสินใจโดยขาดสติ

10. อยากรอู ยากลอง วัยรนุ เปนวยั ทอ่ี ยากรอู ยากลองอยูแลว แตถาอยากรูอยากลอง
เรื่องเพศนน้ั นบั วาเปน อนั ตราย ปจ จัยที่กระตุนใหอยากรูอยากลองนอกจากจะมาจากตนเองแลว ยัง
อาจมาจากปจ จยั อน่ื ๆ เชน เพ่อื นชักชวน อา นหนังสอื ลามก
2. การหลกี เลีย่ งและปอ งกนั ตนเองจากสถานการณการเสีย่ งตอ การตั้งครรภโ ดยไมตัง้ ใจ

มผี ูห ญิงจาํ นวนไมน อยที่ตั้งครรภโดยไมตั้งใจ ทั้งน้ีเพราะไมคาดคิดมากอนวาจะมี
เพศสมั พนั ธกบั ผูชายซง่ึ อาจเปน ครู กั ของตนเอง เปนเพ่ือน คนแปลกหนา พอเลี้ยง หรือแมแตญาติ
ของตน และไมมีการปองกันการต้ังครรภแตอยางใด ดังน้ันผูหญิงควรเรียนรูถึงการหลีกเลี่ยงและ
ปองกนั ตนเองจากสถานการณเ ส่ียงตอ การตงั้ ครรภโ ดยไมต้งั ใจ ซ่ึงมีขอ แนะนาํ ดงั น้ี

1. ในกรณีเมือ่ อยกู บั คูรกั ของตนเอง ควรปฏิบตั ดิ ังนี้
1.1 ไมย อมใหคูร กั ไดส มั ผัส จบั มอื โอบกอด ถา ถูกกระทําเชน นี้ควรแสดงทาที

ไมพ อใจและปฏเิ สธการกระทําดังกลาวอยางจริงจัง มิฉะนั้นอาจนําไปสูการมีเพศสัมพันธเนื่องจาก
สภาพแวดลอมเหมาะสมและเปน ใจ

1.2 ไมอ ยใู นทีล่ บั ตาคนสองตอ สอง เพราะคูรกั อาจจะลวงเกินเราได และย่ิงเรา
มีใจชอบฝายชายดวยกอ็ าจจะยินยอมจนถึงข้นั มีเพศสมั พนั ธได

1.3 ไมไ ปเที่ยวกนั แบบคางคืน เพราะการคางคืนจะเปนการเปดโอกาสใหฝาย
ชายลว งละเมิดทางเพศได

1.4 ไมควรดูสอ่ื ลามกโดยเฉพาะกบั ครู กั เพราะจะทําใหท้ังสองฝายเกิดอารมณ
ทางเพศและนาํ ไปสกู ารมีพฤติกรรมทางเพศทไ่ี มเหมาะสม

1.5 การไปเทย่ี วในงานวันสําคญั ตาง ๆ เชน วันวาเลนไทน วันลอยกระทง วัน
ข้ึนปใหม ที่เปน การเท่ียวในเวลากลางคืน แลวจะไปตอกันในสถานที่ท่ีอาจจะมีเพศสัมพันธกันได
ดังนนั้ การไปเท่ียวกบั ครู ักในวันสําคัญดังกลา วควรระมดั ระวังตัวใหด ี ถา เราคดิ วาไมนาไววางใจก็ไม
ควรไปโดยหาทางปฏเิ สธอยา งนุม นวล

1.6 การไปเทยี่ วงานสงั สรรคห รอื ตามสถานบันเทิงกับคนรักควรระมัดระวังตัว
ดวย เพราะอาจด่มื เครอื่ งดม่ื ท่มี แี อลกอฮอลแลว ทาํ ใหมึนเมาไมรสู ึกตวั

63

1.7 อยาใจออนถาถูกขอที่จะมีเพศสัมพันธดวย อยาหลงคารมเขาเปนอันขาด
และไมต อ งกลัวเขาโกรธ รักษาความบริสุทธิ์ของเราดีกวา หากพลาดพลั้งไปแลวก็ควรระวังอยาให
เกิดขึน้ อีก

2. ในกรณีเมือ่ อยกู บั เพอ่ื นชาย ควรปฏบิ ัติดงั นี้
2.1 อยา ใหมาถูกเน้ือตองตัวโดยไมจําเปน เพราะถาวันใดท่ีเพ่ือนชายมีโอกาส

ผูห ญิงอาจพลาดทาเสียทีได
2.2 อยา ไวใ จใครมากนัก มีเพ่ือนหลายคนทห่ี ลอกพาเพอ่ื นไปขมขืน บางรายให

เพื่อนคนอ่นื ๆ ขม ขืนดวยตามที่มขี าวใหพบเหน็ อยูบอย ๆ
2.3 ไมไปเท่ียวแบบคา งคืน ถงึ แมจ ะไปเปนหมูคณะก็ตองระมดั ระวัง
2.4 การไปเทยี่ วตามสถานบันเทิงแลว กลบั ดึกอาจเปนอันตราย ถามีเพ่ือนอาสา

ไปสงบา นก็ควรระวัง เพราะอาจพาไปทอ่ี นื่ ได
3. ในกรณีเมอื่ อยูก ับคนแปลกหนา ควรปฏบิ ัติดังน้ี
3.1 อยาไวใจคนแปลกหนาเปน อนั ขาด เพราะยังไมรูจักนิสัยใจคอเขาดีพอ ถา

หลงเชื่ออาจถูกเขาหลอกได โดยเฉพาะถาพบกันในสถานบันเทิงเริงรมยเขาอาจจะมองเราวาเปน
ผูห ญิงท่ีรักสนุก คงจะมีเพศสมั พนั ธด ว ยไมยาก

3.2 ไมควรเดินทางไปในท่ีเปล่ียวยามคํ่าคืน เพราะมีผูหญิงถูกคนรายลักพาตัว
ไปขม ขืนมาหลายรายจนนบั ไมถว นแลว ในสถานการณเ ชน นี้

3.3 อยาเชอ่ื คนทรี่ จู ักกนั ทางอนิ เทอรเนต็ ถงึ แมจะคยุ กันจนเหมอื นรูจักกันดีแลวก็
ตาม เพราะยังไมเ คยเห็นหนา กนั กย็ ังคงเปน คนแปลกหนา อยดู ี หญงิ สาวหลายรายท่ีถูกคนทรี่ ูจักกันทาง
อนิ เทอรเนต็ หลอกไปขมขนื บางรายมกี ารถายรูปไวเพื่อขมขแู ละตอ รองเร่อื งอืน่ ๆอกี ดวย

4. ในกรณีเม่อื อยกู บั พอ เลยี้ งหรือญาติ ผูห ญงิ ทีถ่ ูกคนใกลชดิ ในครอบครัวขม ขืนนั้น
มมี าก และมักไมยอมบอกใคร บางรายถกู ขม ขืนมานานนับป บางคร้ังเกดิ การต้ังครรภ เพราะคนใน
ครอบครวั นนั้ ใกลช ิดเหน็ กันอยูทุกวันหรือพบกันบอย ไวใจกันมาก ในเร่ืองน้ีผูหญิงควรปฏิบัติตน
ดังนี้

4.1 ใหสังเกตการณสัมผัสของบุคคลเหลานั้นวา สัมผัสดวยความเอ็นดูแบบ
ลกู หลานหรอื แบบชสู าว ถา มีการสัมผัสนาน ลบู คลํา จับตองของสงวน ตองระมัดระวงั อยา เขาใกล

4.2 ควรนอนในหองทีม่ ิดชดิ ใสก ลอนหรือลอ็ คกุญแจใหเรียบรอ ย
4.3 ถา บุคคลเหลาน้ันมึนเมาอยาไวใจ เพราะทําใหขาดสติ และกระทําในส่ิงท่ี
ไมค าดคดิ ได
4.4 การแตงตวั อยูบาน การอาบน้ําตอ งกระทาํ อยา งมิดชิด อยาเปดเผยเรือนราง
มากนัก เพราะอาจเปน การยัว่ ยุอารมณทางเพศแกบุคคลเหลา นัน้ ได

64

4.5 ถาถกู บคุ คลเหลา น้ันลวนลามควรบอกใหค นในบา นทราบ หรือรองตะโกน
ใหผูอ่ืนชว ยเหลือ ไมต องอายเพราะเขาทาํ ไมถูกตอง

ขอควรคดิ เก่ียวกบั การมเี พศสมั พันธ
มีผูหญิงบางคนท่ีคิดวาการมีเพศสัมพันธเปนเร่ืองปกติไมใชเรื่องผิด ไมรับรูถึง
ขนบธรรมเนยี มและวฒั นธรรมไทย จงึ ควรตรวจสอบตนเองวา มคี วามรบั ผิดชอบตอตนเองและสังคม
เพยี งใด โดยตอบคาํ ถามเหลานใ้ี หไ ดเสียกอนทจ่ี ะคิดมเี พศสัมพันธ
1. ถายนิ ยอมมเี พศสัมพนั ธ เราจะยอมรับกับผลท่ีจะตามมาไดเพียงใด เชน คําครหา
ของคนในสงั คม ความกลวั คนอนื่ จะลวงรู การตัง้ ครรภ การถูกผชู ายทิ้งหลังจากไดเสียกันแลว การ
เสียความบรสิ ทุ ธไิ์ ปแลวผูช ายคนน้ีคอื คนทีจ่ ะเปนคชู วี ิตของเราหรือไม เปนตน

2. เมื่อเรายังไมพรอมท่ีจะมีลูกจะปองกันตนเองอยางไร รูวิธีปองกันการต้ังครรภ
เพียงใด เมอ่ื ปอ งกันแลว จะผิดพลาดไดห รือไม ถา พลาดมลี กู ขึน้ มาจะทําอยางไร ผูชายจะรับผิดชอบ
หรอื ไม ตนเองไมอบั อายคนอ่นื ๆ หรือถา จะตอ งไปทําแทง การทําแทง มอี ันตรายเพียงใด

3. การตั้งครรภท ีไ่ มพงึ ประสงคในวยั รนุ
การต้ังครรภท ไี่ มพงึ ประสงคในวัยรุน หมายถึง การตั้งครรภท่ีเกิดขึ้นในวัยรุนเพศ

หญงิ ซึ่งเปน ผลสบื เนื่องมาจากการมเี พศสมั พนั ธท เี่ กิดขน้ึ โดยไมไ ดต ัง้ ใจ โดยอาจมีสาเหตสุ ําคัญมาจาก
พฤติกรรมทางเพศทไ่ี มเหมาะสมของวยั รนุ หรอื อาจเกดิ จากการถกู ขมขืนกระทําชําเรา

3.1 ปญหาและผลกระทบของการตั้งครรภที่ไมพ ึงประสงคใ นวยั รนุ
ปญหาการตงั้ ครรภทีไ่ มพ งึ ประสงคผ ลกระทบทสี่ ําคัญ ดงั น้ี
1) สง ผลกระทบตอ วยั รนุ ทตี่ ัง้ ครรภโดยไมพึงประสงคโดยตรง ซึ่งผลกระทบ

ดงั กลาวสรา งปญหาท่ตี ิดตามมา เปนตนวา
ปญหาทางดานจิตใจและอารมณ วัยรุนท่ีมปี ญ หาการตั้งครรภท ี่ไมพึงประสงค

มกั มคี วามรสู ึกวา ตนเองทําผิด เกิดความละอายใจ และมีความคิดวาไมมีใครรักใครตองการอีก ซึ่ง
บางคนอาจแสดงพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมและรุนแรงข้ึน หรือบางคนอาจไมแสดงออกและ
มกั เกบ็ กดอยากทาํ ลายชีวิตตนเอง ฯลฯ ซงึ่ ภาวะทางจิตใจและอารมณของวัยรุนที่ต้ังครรภโดยไมพึง
ประสงคน ี้จะมมี ากหรอื นอ ยข้ึนอยูกบั การยอมรับและความเขาใจของคนในครอบครัว ถาครอบครัว
ยอมรับเขา ใจ และใหอภยั ปญหาทางดา นจติ ใจและอารมณก ็จะลดนอ ยลงได

ปญหาทางดานสุขภาพ ปญ หาท่ีมักพบ คอื ปญ หาโรคเอดสและโรคติดตอ
ทางเพศสัมพันธ การมีเพศสัมพันธโดยไมไดมีการปองกันและคุมกําเนิดยอมมีโอกาสใหวัยรุนเพศ
หญิงไดร บั เชอ้ื เอดส หรอื โรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธจ ากฝา ยชายในอตั ราเสี่ยงที่สูง ปญหาทางทําแทง

65

ซงึ่ มกั จะสงผลกระทบตอผูทําแทง ไดโ ดยเปน อันตรายตอชีวิต ซึ่งมักเกิดจากการตกเลือดหรือการติด
เชอ้ื อยางรนุ แรง นอกจากนน้ั ยังเปน อปุ สรรคตอ การมีบุตรในอนาคต แมก ารทําแทงจะผานพน ไป แต
การทาํ แทงอาจทําใหเ กดิ การอกั เสบเร้อื รงั ในโพรงมดลกู และทอ มดลูก เปนผลใหโพรงมดลูกและทอ
มดลูกตบี ตนั มดลกู ทะลหุ รืออักเสบอยางรุนแรงเพราะเคร่อื งมอื ทาํ แทง ทาํ ใหบางคนตองตัดมดลกู ทิ้ง
หรือการขยายปากมดลูกขณะทําแทงทําให ปากมดลูกฉีกขาด หูรูดของปากมดลูกหลวม เกิด
ภาวการณแทงบุตรไดงาย และยังสงผลใหมีปญหาสุขภาพที่ตอเนื่อง โดยเฉพาะมักจะพบวามีการ
อักเสบเรอ้ื รงั ในชองเชงิ กราน

2) สง ผลกระทบตอครอบครัวของวัยรุนท่ีตั้งครรภโดยไมพึงประสงค มัก
พบเสมอวาเม่อื วยั รุนเพศหญงิ ตงั้ ครรภโดยไมพึงประสงคขึ้น วัยรุนของเพศชายมักจะไมแสดงความ
รับผิดชอบตอส่ิงที่เกิดขึ้นภาระความผิดชอบจึงตกเปนของฝายหญิงและครอบครัวเพียงฝายเดียว ถา
ครอบครัวฝายหญิงมคี วามเขา ใจและใหอภัยตอความผิดพลาดที่เกิดข้ึน และครอบครัวยังพรอมท่ีจะ
รวมแกปญ หาการเลีย้ งดเู ด็กทีจ่ ะเกิดขน้ึ ได กจ็ ะชว ยลดปญหาทางดา นอารมณแ ละจิตใจของวัยรุนเพศ
หญงิ ลงได แตในทางตรงขาม หากครอบครัวของวัยรุนเพศหญิงไมสามารถยอมรับปญหาที่เกิดข้ึน
ดังกลาวกอ็ าจสงผลใหเกดิ ปญหาตา ง ๆ ตามมาได

3) สงผลกระทบตอสังคมและประเทศชาติ การตั้งครรภท่ีไมพึงประสงคของ
วัยรนุ ทาํ ใหเ กิดปญ หาทางสงั คมตาง ๆ ตามมาดังทีไ่ ดกลาวมาแลว นอกจากนี้ ประเทศชาตติ อ งสญู เสีย
งบประมาณบางสวนทีต่ องนาํ มาใชเพอื่ การบาํ บัดรักษา ดูแลสุขภาพของวัยรนุ เพศหญิงท่ตี งั้ ครรภโดยไม
พงึ ประสงค ตองจัดงบประมาณในการเลีย้ งดปู ระชากรสว นหนง่ึ ท่ีเกดิ จากผลพวงของปญหาดงั กลา ว

3.2 การปองกันการตง้ั ครรภท ไ่ี มพ ึงประสงคใ นวัยรนุ
การปองกันมีแนวทางในการปฏิบัติ ดงั น้ี

1) ตองรูจักหลีกเล่ียงสถานการณที่เอื้ออํานวยใหเกิดการมีเพศสัมพันธ มัก
พบวา การมีเพศสมั พันธท ไี่ มไ ดตัง้ ใจของวัยรุนมักจะเกิดจากสถานการณหรือบรรยากาศที่เอื้อใหเกิด
โอกาสตอการมีเพศสมั พนั ธ เชน การอยูตามลําพังสองตอสองในท่ีลับตาคน หรือการเขารวมในกิจกรรม
พบปะสงั สรรคทมี่ ีการดมื่ เคร่ืองผสมแอลกอฮอล เปน ตน

2) ตองรูจักใชทักษะในการปฏิเสธเพื่อแกไขสถานการณเส่ียงตอการมี
เพศสัมพันธ วิธกี ารหลกี เล่ยี งและแกไขสถานการณด งั กลาว ฝา ยหญงิ ตองนาํ ทกั ษะการปฏิเสธไปใช ซ่ึง
การปฏิเสธของฝายหญิงจะเปนสญั ญาณเตือนใหฝายชายหยุดแสดงพฤติกรรมทางเพศท่ีไมเหมาะสม
ออกมา แนวทางในการใชค าํ พดู ทเี่ ปน ทกั ษะของการปฏิเสธ มหี ลายขอ ความ เชน “หยุดนะ อยาทํา
แบบน”ี้ ฉนั ไมช อบหยดุ นะ” “อยา นะ ฉันจะตะโกนใหล ั่นเลย” “คุณไมมีสิทธ์ิท่ีจะทําแบบนี้” และ
อืน่ ๆ ตามความเหมาะสมซงึ่ คาํ พูดท่เี ปน ทักษะในการปฏิเสธมกั จะมีคําวา “ไม” “อยา ” หรือ “หยดุ ”

66

3) ตองรูจักใหเ กยี รตซิ ึ่งกันและกัน การท่ีฝายหญิงและฝายชายนําหลักความ
เสมอภาคทางเพศ และการวางตัวทเ่ี หมาะสมตอเพศตรงขามมาใช ถือวาเปนการใหเกียรติซ่ึงกันและ
กนั ซ่ึงจะชวยปองกันอารมณในขณะพบปะพูดคยุ กันไมใหพ ฒั นาไปสคู วามตองการทางเพศได

4) ตองระมดั ระวังในเรื่องการแตงกาย ปจจบุ ันรปู แบบการแตงกายของวัยรุน
โดยเฉพาะวัยรนุ เพศหญงิ มักนยิ มสวมเสอื้ ผา ทร่ี ัดรปู หรอื นอ ยช้ืนเกินไป ซ่ึงการแตงกายดังกลาวจะทํา
ใหเห็นรูปรางสัดสวนชัดเจนขึ้น การแตงกายในลักษณะดังกลาวจะสงผลเราใหเพศตรงขามเกิด
อารมณและขาดความ
ยง้ั คดิ อาจนําไปสกู ารแสดงพฤตกิ รรมการลวงละเมิดทางเพศท่ีเปนอันตราย จนถึงการตั้งครรภท่ีไม
พงึ ประสงคในเพศหญงิ ได

5) ควรหลกี เลยี่ งการเดนิ ทางตามลาํ พังในยามวกิ าลหรือในเสนทางท่ีเปล่ียว
จากสถติ ขิ องวัยรุนเพศหญิงพบวา อันตรายที่ไดรับจากการถูกขมขืนมักเกิดขึ้นในยามวิกาลหรือใน
เสนทางท่ีเปล่ียวผูคนสัญจรนอย ดังนั้น วิธีการปองกันท่ีดีที่สุดหากจําเปนจะตองเดินทางใน
สถานการณดังกลา ว ควรจะมีเพอื่ นหรือญาตริ ว มเดินทางไปดว ยเพ่อื ปองกันอนั ตรายทอี่ าจเกิดข้นึ

4. ความรเู บ้ืองตองเกีย่ วกบั กฎหมายคมุ ครองสทิ ธผิ ถู กู ลวงละเมิดทางเพศ
กฎหมายไดระบฐุ านความผิดเก่ียวกบั การถกู ลวงละเมดิ ทางเพศไว 2 ลกั ษณะ ดังนี้
4.1 ความผดิ ฐานขมขนื กระทาํ ชําเรา
ผูท่ีขมขืนกระทําชําเราเด็กหญิงอายุไมเกิน 15 ป ซึ่งมิใชภรรยาตน โดย

เด็กหญิงนัน้ จะยนิ ยอมหรอื ไมก ็ตาม ตองระวางโทษจาํ คกุ ตัง้ แต 4-20 ป และปรบั ตั้งแต 8,000-40,000
บาท (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 วรรคหน่งึ )

ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรก เปนการกระทําแกเด็กหญิงอายุไมเกิน
13 ป ตองระวางโทษจําคกุ ตั้งแต 7 ป ถงึ 20 ป และปรับต้ังแต 14,000-40,000 บาท หรือจําคุกตลอด
ชวี ติ (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 วรรคสอง)

ถาการกระทําผิดตามวรรคแรกหรือวรรคสอง ไดกระทําโดยรวมกระทํา
ความผิดดว ยกนั อนั มีลกั ษณะเปนการโทรมเด็กหญิง (คือรวมกันกระทําความผิดต้ังแต 2 คนข้ึนไป) โดย
เด็กหญงิ นั้นไมยินยอม หรือไดกระทําโดยมีอาวุธ เชน อาวุธปน หรือวัตถุระเบิด หรือโดยการใช
อาวุธอ่ืน ๆ ตองระวางโทษจาํ คกุ ตลอดชวี ิต (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 วรรคสาม)

แตม ขี อยกเวน คอื ถา การกระทาํ ดงั กลาวขางตนเปนการกระทําที่ชายกระทํา
กับเดก็ หญงิ อายมุ ากกวา 13 ป แตไ มเกิน 15 ป โดยเด็กหญิงน้ันยินยอม และภายหลังศาลอนุญาตให
สมรสกัน ผกู ระทําผดิ ไมตองรบั โทษ และถาศาลอนุญาตใหสมรสกันในระหวางท่ีผูกระทําผิดกําลัง

67

รบั โทษในความผดิ นนั้ อยู ศาลตอ งสัง่ ปลอยผูกระทําความผิดนั้นไป (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา
277 วรรคส่ี)

ถา เปน การกระทาํ ชาํ เราเด็กหญงิ อายยุ ังไมเกิน 15 ป ซ่ึงมิใชภรรยาของตน โดย
เด็กหญิงน้ันจะยินยอมหรือไมก็ตาม หรือเปนการกระทําแกเด็กอายุไมกิน 13 ป แลวเปนเหตุให
เดก็ หญงิ ไดรบั อันตรายสาหัส เชน ไดรับบาดเจ็บสาหสั ผูกระทาํ ตองระวางโทษต้งั แต 15 ป ถึง 20 ป
และปรับต้ังแต 30,000-40,000 บาท หรือจาํ คกุ ตลอดชีวิต (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 ทวิ (1) )
และหากเดก็ น้นั ถึงแกความตาย ผูก ระทําตอ งระวางโทษประหารชวี ิต หรอื จําคุกตลอดชวี ติ (ประมวล
กฎหมายอาญามาตรา 277 ทวิ (2) )

หากการกระทาํ ชาํ เราเด็กหญิงอายุยังไมเกิน 3 ป หรือการกระทําแกเด็กหญิง
อายยุ ังไมเกิน 15 ป ดังกลา วขางตน ไดรวมกระทําความผิดดวยกันอันมีลักษณะเปนการโทรมหญิง
หรือกระทาํ โดยมีอาวุธปน หรอื วัตถุระเบิดหรือโดยการใชอาวุธ และเปนเหตุใหเด็กหญิงผูถูกระทํา
ไดรบั อนั ตรายสาหัส ผูกระทาํ ตอ งระวางโทษประหารชวี ิต หรอื จําคกุ ตลอดชวี ิต และหากเด็กหญิงที่
ถูกกระทําถงึ แกค วามตาย ผูก ระทําตองไดรับโทษประหารชีวิต และหากเด็กหญิงที่ถูกกระทําถึงแก
ความตาย ผูกระทําตอ งไดร ับโทษประหารชวี ิต (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 277 ตรี)

4.2 ความผิดฐานกระทําอนาจารตอเด็ก
ผทู ีก่ ระทาํ อนาจารแกบ ุคคลอายุตํา่ กวา 15 ป โดยขเู ข็ญดวยประการใด ๆ โดย

ใชก าํ ลงั ประทษุ ราย โดยบุคคลนั้นอยูในภาวะท่ีไมสามารถขัดขืนได หรือโดยทําใหบุคคลน้ันเขาใจ
ผดิ วาตนเปน บคุ คลอืน่ ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ 10 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําท้ัง
ปรบั (ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 279 วรรคหน่งึ )

ถา การกระทาํ อนาจารนนั้ กระทาํ ตอ เดก็ อายุไมเ กนิ 15 ป และผกู ระทําผดิ ได
กระทาํ โดยการขเู ขญ็ ดวยประการใด ๆ โดยใชกาํ ลังประทุษราย โดยบคุ คลนัน้ อยูในภาวะทไ่ี มสามารถ
ขัดขนื ได หรอื โดยทําใหบ ุคคลน้นั เขา ใจผิดวาตนเปนบุคคลอ่ืน มีโทษหนักคือ ผูกระทําตองระวาง
โทษจําคุกไมเกิน 15 ป หรือปรับไมเกิน 30,000 บาท หรือทั้งจําท้ังปรับ (ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 279 วรรคสอง) หากการกระทําดังกลาวขางตน เปนเหตุใหผูถูกกระทําไดรับอันตรายสาหัส
ผกู ระทาํ อนาจารตองระวางโทษจําคุกตั้งแต 5 ป ถึง 20 ป และปรับตั้งแต 10,000-40,000 บาท และ
หากผูถกู กระทําถึงแกค วามตาย ผกู ระทําตอ งระวางโทษประหารชีวติ หรือจาํ คุกตลอดชีวิต (ประมวล
กฎหมายอาญามาตรา 280)

การขม ขนื กระทําชําเราผเู ยาว และการกระทาํ อนาจารแกเด็กอายุไมเกิน 15 ป
โดยเดก็ นัน้ จะยินยอมหรอื ไมก ต็ าม เปน ความผิดอาญาแผนดนิ ไมสามารถยอมความกนั ได

68

แตถาเปนการขมขืนกระทําชําเราหญิงท่ีมิใชภรรยาตน โดยเด็กหญิงน้ัน
ไมใ ชผ เู ยาว และการกระทาํ อนาจารแกบ ุคคลอายตุ ํ่ากวา 15 ป ท้ังสองกรณีนี้ ถามิไดกระทําตอหนา
ธารกํานลั คอื ในท่เี ปด เผย
และไมเ ปน สาเหตใุ หผ ถู ูกกระทาํ ไดรับอันตรายสาหสั หรือถึงแกความตาย หรือมิไดเ ปน การกระทําแก
ผูส ืบสันดาน คอื ลูก หลาน เหลนของตนเอง มใิ ชเ ปน การกระทําตอ ศิษยซ่ึงอยใู นความดูแล มิใชเปน
การกระทําตอผูอ ยใู นความควบคุมตามหนาท่รี าชการ หรือมใิ ชเ ปนการกระทําตอผูอยูในความพิทักษ
หรอื ในความอนุบาล กรณีท้ังหมดที่กลาวมาเปนความผิดอันยอมความได คือเปนกรณีที่ผูเสียหาย
หรือผูถกู กระทาํ และผกู ระทําความผิดตกลงหรือสมัครใจไมเอาความตอกัน ก็เปนอันเลิกแลวตอกัน
(ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 281)

กจิ กรรม

1. สรีระรา งกายทีเ่ กยี่ วขอ งกับการสบื พันธขุ องเพศหญิงและเพศชาย มีอะไรบาง จงอธิบายพอสังเขป
เพศหญิง________________________________________________________________

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

เพศชาย________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

2. เขียนสรปุ เก่ียวกับการเปล่ยี นแปลงเพ่ือเขา สวู ัยหนมุ สาว
เพศหญิง________________________________________________________________

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

69

______________________________________________________________________________
เพศชาย________________________________________________________________

______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

3. วธิ กี ารหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมทีน่ ําไปสูก ารมีเพศสัมพนั ธก อนวัยอนั ควรมอี ะไรบาง
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

เรอ่ื งที่ 4 สุขภาพทางเพศ

“ความสขุ ”เปน สิง่ ทม่ี นุษยทกุ คนตองการไมเคยถูกจํากดั ดวยเพศ วัย ชนชาติ
“สขุ ภาวะทางเพศ”กเ็ ปนเร่ืองท่ที กุ คนลวนตอ งการเชน กัน

แผนงานสรางเสริมภาวะทางเพศ โดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ
(สส.)และมูลนธิ สิ รา งความเขาใจเร่ืองสุขภาพผูหญิง (สคส.)ไดดําเนินงานผลักดันวาระการสรางสุข
ภาวะทางเพศขน้ึ อยา งตอ เนอื่ ง เพราะสขุ ภาวะทางเพศไมไ ดมีความหมายแคบๆแคเรื่องเพศสัมพันธแต
มีความหมายลึกซึง้ และมติ ทิ ่ีกวา งกวา นนั้

เร่ืองเพศจึงไมใชแคเรื่องของเนื้อตัวรางกายแตยังหมายถึงความรับผิดชอบการดูแลสุขภาพ
รางกายการสรางความสัมพันธท่ีดีระหวางกันการเคารพสิทธิกันและกันและความเทาเทียม เพราะ
สงั คมน้นั มีความหลากหลายทางเพศมากวา แคห ญงิ หรือชาย

ผทู ม่ี สี ขุ ภาวะทางเพศทดี่ ีกจ็ ะปฏิบตั ติ อคนทีม่ ีวถิ ที างเพศแตกตา งจากตัวเองดวยความเคารพไม
วา จะเปน สาวประเภทสองหรือหญิงรักหญิงชายรักชาย หรือผูที่รักสองเพศและยังปฏิบัติกับเพ่ือคูรัก
หรือชายทสี่ ําคัญคือมคี วามรับผิดชอบตอสังคมและตนเองในเรอื่ งการมเี พศสมั พันธท ่ีปลอดภัย

สงั คมจาํ เปนตอ งลบความคิดทางลบวาเรอื่ งเพศเปนเร่ืองเพศเปนเรื่องสกปรก อันตรายที่ตอง
หลกี ใหห า งแตความจริงเราจําเปนตอ งศึกษาเรียนรูใ หเขา ใจเพราะเรอื่ งเพศเปน สิ่งท่สี ามารถแสดงออก
อยา งอสิ ระมคี วามสุขบนพน้ื ฐานของความปลอดภัยเพ่ือดาํ เนนิ ชีวติ ไดอยางเปน สขุ

70

แผนงานสรางเสรมิ สุขภาวะทางเพศไดจ ัดทําความรูส ุขภาวะทางเพศในแตละชวงวัยไวเพราะ
แตล ะชว งวยั กจ็ ะมีความสนใจและความตอ งการตา งกนั

ในวยั เดก็ เปน ชว งเวลาแหง การสรา งพน้ื ฐานสุขภาวะทางเพศท่ดี ีได เด็กเล็ก อายุ 5-8 ป เริ่มรบั รู
ไดถงึ บทบาททางเพศวาสังคมสรางใหหญงิ ชายมีความแตกตางกนั ดว ยกจิ กรรม ดว ยการกําหนดกรอบ
กฎเกณฑต า งๆทีช่ ายทาํ ได หญงิ ทาํ ไมได หญงิ ทําได ชายทาํ ไมไ ด ซงึ่ ขดั ขวางพฒั นาการและสรา งความ
เขา ใจผดิ ๆใหเ ดก็

วันแรกรุน อายุ 9-12 เปนชว งวัยท่ีตองเตรียมความพรอมเพ่ือกาวเขาสูวัยรุน ซึ่งชวงน้ีเปนวัย
แหง การเปล่ยี นแปลงการไดร บั ขอ มูลทถี่ กู ตองและพรอ มใช จงึ เปน สงิ่ ทท่ี ําใหเ ด็กมภี ูมิคุมกันท่ีจะเขาสู
วัยรุนไดอยางสวยงามจําเปนตองเขาใจและอธิบายถึงการเปล่ียนแปลงนั้นและเปดโอกาสใหเด็ก
รบั ผิดชอบในครอบครวั ใหเ ดก็ ไดต ดั สินใจดวยตัวเองและรบั ผดิ ชอบผลท่ีจะตามมาไมใชตดั สนิ ใจแทน
ทุกอยาง

เดก็ วยั น่เี ริ่มจะมกี ารเปล่ยี นแปลงทางอารมณ และความรูสึกทางเพศ ไมใชเร่ืองผิดแตการให
ขอ มลู และความรูทีถ่ กู ตองเปนสง่ิ จําเปน การตอบคาํ ถามแบบตรงไปตรงมา เปดโอกาสใหเ ด็กไดเรียนรู
ในสิ่งทเี่ หมาะท่คี วรเปนเรอ่ื งทคี่ วรสง เสรมิ

เมอ่ื กาวเขาสูวัยรนุ ชว งอายุ 13-18 ป ชว งแหง การเปลยี่ นแปลงในทุก ๆ ดา น จําเปนตองไดรับ
ขอ มูลเร่ืองเพศอยา งถกู ตองและรอบดา น เพ่อื ใหเ ทาทันการเปล่ียนแปลงของตัวเอง ท้ังดานกายใจและ
อารมณ

จาํ เปนตอ งสรา งทักษะของเพศสมั พนั ธที่ปลอดภัยรว มไปกับความรับผิดชอบเพื่อใหสามารถ
แยกแยะไดวาเซก็ สไ มใ ชแ คเรอื่ งสนุกแตม ีผลทจ่ี ะตามมาอีกมากมาย การใหความรูอ ยางตรงไปตรงมา
ไมท าํ ใหเรอ่ื งเซก็ สเ ปน ความผดิ ละอาย ทําใหเกิดเพศสมั พนั ธท่ปี ลอดภัยและมคี วามรับผดิ ชอบขึน้ ได

ผูใหญจําเปนตองเขาใจกระบวนการเรียนรูของมนุษยวาตองใชเวลาในการส่ังสมความรู
ประสบการณความภูมิใจในตัวเองจึงสามารถมีเพศสัมพันธที่มีความสัมพันธที่มีความปลอดภัยและ
เปน สุขได “การใหข อ มูลไมไดเปน การช้ีโพรงใหกระรอก แตเปนการสรางความเขาใจและทักษะใน
ชวี ิตใหเ ดก็ สามารถเตบิ โตเปนผูใหญท่เี ขาใจและมคี วามรับผดิ ชอบได
วิธีการปฏบิ ัติเพอ่ื การมสี ุขภาพทางเพศท่ดี ี ควรคํานงึ ถงึ

การมเี พศสัมพนั ธที่ปลอดภยั โดยไมเปลี่ยนคูหรือมีเพศสัมพันธกับบุคคลท่ีไมใชสามีภรรยา
ของตน ถาคดิ จะมีเพศสัมพันธกับบุคคลที่ไมใชคูของตนควรปองกันความไมปลอดภัยที่อาจเกิดขึ้น
โดยใชถงุ ยางอนามยั

เนนการรักษาความสะอาดสวนบุคคล เมอื่ มีเพศสมั พันธแลวควรตองรีบทําความสะอาดสวน
บคุ คลไมหมกั หมม เพราะจะทาํ ใหเ กดิ เชอ้ื โรคซึ่งเปนตน เหตขุ องอาการคนั จนลกุ ลามเปน โรคที่อวัยวะ
เพศได

71

ควรมีเพศสมั พนั ธแบบธรรมชาติ ไมผิดธรรมชาติของคนปกติ เชน การใชว ัตถุแปลกปลอมใน
การรวมเพศ การรว มเพศโดยใชว ตั ถเุ ลยี นแบบธรรมชาตเิ ชน ตุก ตายาง ใหคํานงึ ถึงความปลอดภยั

การคมุ กาํ เนดิ
เปน สวนหนงึ่ ของการวางแผนครอบครวั ในเร่อื งระยะทพ่ี รอมจะมบี ุตรเม่อื ใดคํานวณบตุ รทจี่ ะ
มีก่ีคน หรือระยะหางของการมีบุตรเวนนานเทาใด ท้ังน้ีเพื่อใหเหมาะสมกับความพรอมและความ
ตอ งการของคูส มรส การคุมกาํ เนิดเปนวธิ กี ารปฏบิ ัตเิ พ่ือปอ งกันการต้ังครรภ
การวางแผนครอบครัวและการคมุ กําเนดิ
การวางแผนครอบครัวและการคุมกําเนิด (Family Planning and Birth Control) คือการที่ คู
สมรสวางแผนในเร่ืองการมีบุตรวาจะมีบุตรเมื่อใด จะมีบุตรกี่คน แตละคนจะเวนนานเทาใดท้ังน้ี
เพอื่ ใหเหมาะสมกบั ความพรอมและความตองการของคสู มรส สวนการคุมกําเนิดน้ันเปนวิธีการเพื่อมิ
ใหเกดิ การตง้ั ครรภซ ่งึ มีอยหู ลายวธิ ี
1.การใชถงุ ยางอนามยั (Condom) ถุงยางอนามยั มลี ักษณะเปนถุงท่ที าํ ดวยยางบางๆยดื ได ใช
สวมอวยั วะเพศชายขณะทแ่ี ข็งตัวพรอ มท่จี ะรวมเพศ การใชถ ุงยางอนามัยเปนการปอ งกนั ไมใ หต วั อสจุ ิ
เขา ไปในโพรงมดลกู ผสมกับไขข องฝา ยหญิงได เพราะถูกถงุ ยางปองกนั ไว ตวั อสจุ แิ ละนํ้าอสุจจิ ะอยู
ในถงุ ยางอนามยั เมือ่ ใชเสรจ็ แลว จะถอดออกใหใ ชกระดาษชําระจบั ขอบถุงยางใหก ระชบั อวัยวะเพศ
กอ นแลว จึงถอดถุงยางออกแลว นําไปทิง้ ถังขยะมกี ารผลิตถงุ ยางอนามัยสําหรับผหู ญิงใชเ หมอื นกนั
ขนาดใหญก วา ถุงยางอนามยั ท่ีผูชายใชแตไ มคอ ยไดร ับความนิยม

2.การรับประทานยาเม็ดคุมกําเนิด(Contraceptive Pill) ยาเม็ดคุมกําเนิดจะประกอบดวย
ฮอรโมนสังเคราะห 2 ชนดิ คอื เอสโตรเจน โพรเจสเทอโรน ซึ่งจะออกฤทธ์ิคลายกับฮอรโมนที่มีอยู
ตามธรรมชาตใิ นรา งกายของผหู ญิง และสรา งกลไกตา งๆ ในรา งกายเพือ่ ที่จะปองกันการตั้งครรภดวย
การปองกันไมใ หไขส กุ และยบั ยงั้ การตกไข ตลอดจนทําใหม ูกบริเวณ ปากมดลกู เหนียวขนจนตวั อสุจิ
จะผานเขาสูโพรงมดลูกไดยาก แตถากลไกทั้ง 2 ประการน้ีไมไดผล มันจะเปล่ียนแปลงเยื่อบุโพรง
มดลกู ไมใ หเ หมาะสมสําหรับการฝงตัวของไขท่ีถูกผสมแลว ยาเม็ดคุมกําเนิดที่ใชอยูทั่วไปมี 3 แบบ
คอื

2.1 แบบ 21 เมด็ ยาเม็ดในแผงจะประกอบดว ยฮอรโ มนทัง้ หมด การเร่มิ รบั ประทานยาเม็ดแรก
ใหเ ร่ิมตรงกับวันของสปั ดาหท ี่ระบแุ ผงยา เชน ประจําเดือนมาวันแรกคือวันศุกรก็เร่ิมกินที่ “ศ” หรือ
วันศกุ ร โดยรับประทานวนั ละ 1 เม็ดเปน ประจําทุกวนั ตามลกู ศรชจี้ นหมดแผง หลังจากน้ันใหหยุดใช
ยา 7 วนั เมือ่ หยุดยาไปประมาณ 2-3 วนั ก็จะมเี ลอื ดประจาํ เดือนมาและเมอ่ื หยุดจนครบ 7 วันแลวไมวา
เลือดประจาํ เดือนจะหมดหรอื ไมก ต็ ามใหเรมิ่ แผงใหมทันที

72

2.2 แบบ 28 เมด็ ยาเมด็ ในแผงหน่ึงจะประกอบดว ยฮอรโมน 21 เม็ด และสวนทีไ่ มใชฮ อรโ มน
อีก 7 เม็ด ซึ่งมักจะมีขนาดเล็กหรือใหญกวา 21 เม็ดแรก การเริ่มรับประทานยาแผงแรกใหเร่ิม
รับประทานยาในวันแรกทป่ี ระจําเดอื นมา โดยรับประทานยาเม็ดแรกในสวนทีร่ ะบุวาเปนจุดเร่ิมตน 1
แลว รบั ประทานทุกวนั ตามลกู ศรชจ้ี นหมดแผง โดยเมื่อรบั ประทานหมดแผงแลว ใหรบั ประทานยาแผง
ใหมตอไปเลยทันทีไมวาประจําเดือนจะหมดหรือยังก็ตาม วิธีรับประทานแบบ 28 เม็ดจะคอนขาง
สะดวกกวาแบบ 21 เมด็ ที่ไมตอ จดจําวนั ท่ตี องหยุดยา

ถาลมื รบั ประทาน 1 เมด็ ใหร ับประทานทนั ทีเมื่อนึกได และรับประทานเม็ดตอ ไปเวลาเดิม ถา
ลมื รับประทาน 2 เม็ด ใหร ับประทานยาวนั ละ 2 เม็ด ติดตอกันไปเปนเวลา 2 วันโดยแบงรับประทาน
ตอนเชา 1 เม็ด ตอนเยน็ 1 เม็ด และใชว ธิ กี ารคมุ กาํ เนิดแบบอ่นื รวมดวย เชนใชถ งุ ยางอนามัยเปนเวลา 7
วนั ถา ลมื รับประทาน 3 เม็ดขึน้ ไป ควรหยุดยาและรอใหเ ลือดประจําเดือนมากอ นแลวคอยเริ่มแผงใหม
และใชวิธีการคุมกําเนิดแบบอนื่ รวมดว ย

2.3 แบบรบั ประทานหลังรว มเพศภายใน 24 ชั่วโมง แตเดือนหน่งึ ไมควรใชเกิน4 คร้ัง ยาน้ีใช
กินทันทหี รอื ภายใน 24 ช่วั โมงหลงั รวมเพศ และควรกนิ ยาอีกหน่ึงเม็ดในเวลา 12 ชว งโมงตอ มายาเม็ด
นี้มกั มปี ริมาณของฮอรโมนเอสโตรเจน (Estrogen) สูง การใชยาชนิดนี้ใหผลเสียมากกวาผลดี พบวา
เปน อาการขา งเคียง คือ คล่นื ไส อาเจียน มีเลอื ดออกมากกวา ปกติ และทําใหทอ นําไขเ คลื่อนไหวชา อนั
เปน เหตทุ ําใหเกิดทอ งนอกมดลูกได

3.การฝงยาเม็ดคุมกาํ เนดิ ใตผวิ หนงั ยาประเภทน้ีมีสวนประกอบของเอสโตรเจนสูงมีฤทธ์ิทํา
ใหไขทีผสมแลวไมสามารถฝงตัวไดในผนังมดลูก เปนยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดฝงไวใตผิวหนังบริเวณ
ดานใตท องแขนของฝา ยหญงิ มีลกั ษณะเปนแคปซูลเลก็ ๆ 6 อัน ยาจะซมึ จากแคปซลู เขาสูรางกายอยาง
สม่ําเสมอ สามารถคุมกําเนิดไดนานถึง 5 ป ตัวยาที่ใสในแคปซูลเปนชนิดเดียวกับ ยาเม็ดคุมกําเนิด
แบบ 21 เม็ด

4.การใสหวงอนามัย (Iucd :: Intra Uterine Contraceptive Device) ใชโดยการใสหวง
อนามัยไวในโพรงมดลูก ซึ่งแพทยจะเปนผูใสหวงให สามารถคุมกําเนิดได 3-5 ป แลวจึงมาเปลี่ยน
ใหมแตก ็มบี างชนดิ ที่ตองเปล่ียนทุกๆ 2 ป วิธีน้ีไมเ หมาะสําหรบั ผูหญงิ ท่ียงั ไมเ คยมบี ตุ ร

5.การฉดี ยาคมุ กําเนดิ ใชก บั ผูหญิงฉดี ครงั้ หนงึ่ ปอ งกันไดนาน 3 เดอื น อาจมีขอเสียอยูบางคือ
เมอื่ ตองการมีบุตรอาจตองใชเวลานานกวาจะต้ังครรภ และไมเหมาะสําหรับผูท่ีมีประจําเดือนมาไม
สม่าํ เสมอ

73

6.การนบั ระยะปลอดภัย (Count safe Period) คือนับวันกอนประจําเดือนมา 7 วัน และหลัง
ประจําเดอื นมา 7 วนั เพราะไขยังไมส กุ และเย่ือบุโพรงมดลูกกําลังเปล่ียนแปลง แตถาประจําเดือนมา
ไมแ นน อน การคมุ กาํ เนิดวิธีน้ีอาจผดิ พลาดได

7.การหล่งั อสุจภิ ายนอก คอื การหลัง่ น้ําอสจุ อิ อกมานอกชอ งคลอด แตก็อาจมีนํ้าอสุจิบางสวน
เขา ไปในชองคลอดได วธิ นี ี้จงึ มโี อกาสต้ังครรภไดสูง

8. การผาตดั ทําหมนั เปนการคมุ กาํ เนิดแบบถาวร ดังนัน้ ผูท่ีคดิ จะทําหมันจะตองแนใจแลววา
จะไมม ีบตุ รอีก ซงึ่ สามารถทําไดท งั้ ผูหญงิ และผูช าย

8.1 การทาํ หมันชาย ทําโดยแพทยใชเวลาประมาณ 10 นาที โดยการใหผ ูท ี่จะทําหมันนอนบน
เตียงผาตัด มีมานก้ันมิใหเห็นขณะท่ีแพทยกําลังผาตัดเจาหนาที่จะโกนขนบริเวณอวัยวะเพศออก
เลก็ นอ ยแลว แพทยจ ะฉดี ยาชาเฉพาะที่ แลวจึงเจาะถุงอัณฑะเพื่อผูกทอ อสุจโิ ดยไมต อ งเย็บ หามแผลถูก
น้าํ 3 วนั หลงั ทําหมนั ชายแลวจะตองคมุ กําเนิดแบบอ่ืนไปกอนฝายชายจะหล่ังน้าํ อสุจิประมาณ 15 ครัง้
แลวนํา้ อสุจคิ ร้ังท่ี 15 หรือมากกวาไปใหแพทยตรวจวายังมีตัวอสุจิหรือไม ถาแพทยตรวจวาไมมีตัว
อสจุ ิแลว กส็ ามารถมเี พศสมั พนั ธไ ดโ ดยไมต องใชก ารคุมกําเนิดแบบอนื่ อกี ตอไปเลย

8.2 การทาํ หมันหญงิ แบงออกเปน 2 แบบคอื
1.การทาํ หมนั เปย ก คอื การทําหมันหลังคลอดบตุ รใหมๆ ภายใน 24-48 ชั่วโมง เพราะ

จะทําไดงายเนื่องจากมดลูกยังมีขนาดใหญและลอดตัวสูง โดยขอบบนอยูสูงเกือบถึงสะดือวิธีน้ีจะ
ผาตัดทางหนาทอง

2.การทําหมนั แหง คอื การทาํ หมนั ในระยะปกตขิ ณะทีไ่ มมีการต้ังครรภหรือหลังการ
คลอดบตุ รมานานแลว มดลูกจะมีขนาดปกตแิ ละอยลู กึ ลงไปในองุ เชิงกราน การทําหมันแหงอาจทําได
หลายวิธี เชน ผา ตัดทางดานหนาทอ ง ผาตัดทางชอ งคลอด โดยใชเคร่อื งมือตางๆที่ทันสมัยชวยการไป
รับบริการทําหมันนี้สามารถไปรบั บรกิ ารไดใ นหลายหนวยงานทใ่ี หบรกิ ารทางดานสาธารณสขุ ทง้ั ของ
ภาครัฐและเอกชน เชน โรงพยาบาลตางๆ สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน สมาคมวางแผน
ครอบครวั แหง ประเทศไทย สมาคมทําหมันแหงประเทศไทย เปนตน

9.การคุมกาํ เนิดดวยยาเม็ดคุมกําเนิดฉุกเฉิน เปนการปองกันการตั้งครรภเฉพาะฉุกเฉินเชน
การมีเพศสัมพนั ธโดยไมไ ดใชการปองกันวธิ ีอื่นมากอ น ใชถุงยางอนามัยเสร็จแลวไมแนใจวารั่วหรือ
แตก ลมื กนิ ยาแบบประจาํ วันติดตอกันสองวัน ใสหวงอนามัยแตหวงหลุด มีเพศสัมพันธในชวงที่ไม
ปลอดภัย กรณีถกู ขมขนื ซง่ึ องคก รอนามัยโลกไดใหการรับรองวาการกินยาเม็ดคุมกําเนิดแบบฉุกเฉิน
เปน วิธที ป่ี ลอดภยั และมีประสิทธภิ าพในการปองกนั การต้งั ครรภไดระดบั หน่งึ

74

ยาเม็ดคมุ กําเนิดฉุกเฉินจะมีประสิทธิภาพสูงก็ตอเม่ือ มีการนํามาใชตามขอบงช้ีท่ีกําหนดไว
และใชเ ทา ท่ีจําเปน เทานน้ั สาํ หรบั ผลขา งเคยี งที่เกิดข้ึนบอย คอื การมีรอบระดูผดิ ปกติ คลื่นไสอาเจียน
แตห ากใชบอ ยและตอเนอ่ื งมโี อกาสตัง้ ครรภน อกมดลกู ได

การทาํ แทง
การทําแทง หมายถึง การทําใหการตั้งครรภส้ินสุดกอนอายุครรภ 28 สัปดาหสําหรับใน
ประเทศไทยการทาํ แทง ยังไมเปน เรอื่ งท่ผี ิดกฎหมายไมวา จะกระทาํ โดยแพทยปรญิ ญาหรอื หมอเถ่ือนก็
ตาม กฎหมายจะอนุญาตใหทําแทงได 2 กรณี คือ กรณีถูกขมขืนและกรณีต้ังครรภน้ันเปนอัตราตอ
สุขภาพของมารดาและทารกในครรภ เทาน้ัน
เม่ือเกิดการต้ังครรภไมพ่ึงประสงคเด็กวัยรุนจะเกิดความกังวลจากความไมพรอมที่จะเปน
ผูรับผิดชอบกับการมีบุตร จึงคิดหาวิธีการทําลายเด็กในครรภ โดยการทําแทงกับหมอเถื่อนท่ีผิด
กฎหมาย ผดิ ศลี ธรรม เพราะในสงั คมไทยไมเ ปด ใหม ีการทาํ แทงแบบเสรี นอกจากการตั้งครรภในคร้ัง
นน้ั แพทยพิจารณาใหทาํ แทงได ในกรณีอาจเกดิ อันตรายถึงชวี ิตผูเปนแม เชน การทอ งนอกมดลกู ครรภ
เปนพิษ ทองไขปลาดุก หรือในกรณีท่ีแมไดรับเช้ือโรคหลังจากการตั้งครรภแลว เชน ไดรับเช้ือหัด
เยอรมัน
การทําแทงโดยทวั่ ไปของเด็กวยั รนุ จะทาํ แทง กับผทู ี่ไมม คี วามรูดา นการแพทยทแี่ ทจ ริง จึงทํา
ใหเกิดอันตรายกับผูมาทําแทง เชน เกิดการตกเลือด หรือไดรับอันตรายอาจเกิดการติดเชื้อโรค จาก
เคร่ืองมือ อุปกรณท่ีนํามาใช เกิดความสกปรกจากการใชอุปกรณ สถานท่ีจนทําใหมารดาเปน
บาดทะยกั ไดด ว ย
การแทงบตุ รทท่ี าํ ใหเกิดอันตรายตอสุขภาพของผูเ ปน แมเนอื่ งจากมบี างสวนของทารกหรือรก
หลงเหลอื อยูจึงตอ งนําสวนทเ่ี หลอื ออกจากมดลูกใหห มดโดยแพทยต อ งใชเคร่ืองดูดหรือใชวิธีขูดจาก
โพรงมดลูก หรอื อาจตอ งใชฮอรโมนที่ใหใหมดลูกเกิดการบีบตัวขับสวนท่ีคางออกและในบางกรณี
แพทยตองใชย าปฏิชีวนะเพ่ือการรกั ษาหรอื ปองกันการติดเชอื้ ตดิ เชอ้ื HIVS
สว นใหญเกิดจากการมีเพศสัมพันธกับบุคคลอื่นท่ีไดรับเชื้อไวรัส HIV ในรางกายรองลงมา
เกดิ จาการใชสารเสพตดิ ชนดิ ฉีดเขา เสนเลือดทาํ ใหไ ดร บั เชื้อ HIV จากเลือดที่สัมผัสหรือเลือดท่ีไดรับ
เขาสรู างกาย
บคุ คลที่มีโอกาสไดร บั เชื้อไวรสั HIV VS โดยไมไ ดเกดิ จากการมเี พศสมั พันธและไมไดใ ชเ ข็ม
ฉดี ยาใด ๆ สว นหนง่ึ จะเกดิ กบั บคุ คลสวนหน่ึงทางการแพทย ท่ีมีโอกาสสัมพันธน้ําเลือดน้ําเหลือง ท่ี
คัดหล่งั จากผูปว ยโดยไมไดปองกนั ตนเองโดยการใชถ ุงมอื กอนสมั ผสั กับผูป วยจงึ มีโอกาสไดรับหรือ
ตดิ เชื้อ HIV VS ไดก ารต้งั ครรภเ มอ่ื ไมมีความพรอม
การมเี พศสัมพนั ธกอนวัยอันควร เปน ปญ หาของสงั คมไทยมากขน้ึ ท้ังนเี้ พราะคานิยมในเรื่อง
การรักนวลสงวนตัวของเพศหญิง หรือการเห็นคุณคาในการรักษาความบริสุทธ์ิของตนจนถึงวัย
แตงงาน เด็กวยั รุนปจจุบันไมไดคํานึงถึง ทั้งนี้อาจเปนเพราะการดูแลเอาใจใสใหการอบรมจากบิดา

75

มารดามนี อยลง เด็กยุคใหมร ับอารยะธรรมความกาวหนาหรืออิทธิพลตางประเทศมากข้ึน จึงไมคอย
เชอื่ ฟงบิดามารดา จงึ เปน สง่ิ จาํ เปนทตี่ องปลกู ฝง ใหเกิดจิตสํานกึ โดยครอบครวั ชุมชนโรงเรียนสถาบัน
ทมี่ ีสวนเกยี่ วขอ งควรเขา มามบี ทบาทรณรงคปองกันปญหานรี้ วมกัน

การมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร เปนพฤติกรรมท่ีกอใหเกิดปญหาตางๆตามมาในชีวิต
ตลอดจนเปนปญหาหรือภาระแกสังคม ชุมชนดวย เชนเกิดการติดโรคทางเพศสัมพันธและยังเปน
บคุ คลแพรเ ชือ้ โรคทางเพศสมั พนั ธแกค นอ่ืนดวยถาบุคคลนั้นใหบริการทางเพศการตั้งครรภเมื่อไมมี
ความพรอมหรือต้ังครรภโดยไมคาดคิดนอกจากจะสงผลกระทบตอชีวิตของตนเองแลว ยัง สงผล
กระทบตอ ครอบครัว ทาํ ใหบ ดิ ามารดา ญาตพิ นี่ องอับอายเสียใจรวมสง ผลกระทบตอสังคม เชน ปญ หา
เด็กถกู ทอดท้ิงเพราะพอ แมไมต อ งการบตุ ร หรือไมพ รอ มจะรับเลีย้ งดูบุตรเน่อื งจากยังไมมีอาชีพ เรียน
ไมจบ

ดงั นนั้ จงึ ตองใหค าํ แนะนําอบรมสงั่ สอนใหพฤติกรรมตนอยูในกรอบของสังคมที่ดีไมยุงเกี่ยว
เรื่องเพศสัมพันธปองกันตนเองไมปลอยตัวใหมีเพศสัมพันธในวัยที่ยังไมสมควรใหต้ังใจศึกษาเลา
เรียน และสามารถประกอบอาชีพจนเล้ียงตัวเองไดแลว จงึ คดิ มีครอบครัวภายหลัง

1.สอนความรเู ร่อื งเพศ เพศสัมพนั ธและการคุมกําเนดิ แกเ ดก็ นักเรยี น นักศึกษาท่กี าํ ลงั กา วเขา สู
วยั รุนพรอ งท้งั ชี้ใหเหน็ ขอ ดีขอเสยี ของการมีเพศสัมพันธกอ นวัยอันควร และการต้ังครรภเ ม่อื ไมพรอม
โดยเนนยํ้าใหเห็นผลเสีย ไดแก การสูญเสียโอกาสในการศึกษา และการประกอบอาชีพการงานท่ีดี
ตลอดจนโอกาสในการเจอคูครองที่ดีในอนาคต

2.สอนวัยรุน ชายใหมคี วามรบั ผดิ ชอบและใหเ กยี รติผหู ญงิ เนอื่ งจากในสังคมไทยยัง ยกยอง
เพศชายวาเปนเพศที่แข็งแรงกวาจึงควรสอนใหผูชายมีความคิดท่ีจะปกปองชวยเหลือ เพศหญิง
มากกวานอกจากน้ีเพศชายจะตองใหเกียรติผูหญิงและมีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเอง
ปญหาการทําแทงสว นใหญพบวา ฝา ยชายไมยอมรับการต้งั ครรภ

3.ปลกู ฝงคานิยมในการรักนวลสงวนตัวตั้งแตวัยเด็ก และเนนยํ้ามากขึ้นในวัยรุน ไดแกการ
แตงกายใหสุภาพ ไมแตงกายลอแหลม ยั่วยุอารมณเพศตรงขามซ่ึงเปนเหตุใหเกิดการขมขืนกระทํา
ชําเรา

4.สอนใหร จู ักการปฏเิ สธในสถานการณท่ีไมเหมาะสมไดแกปฏิเสธท่ีจะไปเท่ียวตอหลังเลิก
เรียน ปฏเิ สธท่จี ะไปไหนๆกบั เพ่อื นชายตามลาํ พังไมเ ปดโอกาสใหเพศตรงขา มถูกเน้อื ตองตัว เปนตน

แนวทางการแกไขปญหาการตัง้ ครรภไ มพ่งึ ประสงคน ค้ี งตอ งเร่มิ จากการปลกู ฝง นสิ ยั ตั้งแตวัย
เดก็ ใหสอดคลอ งกบั สภาพสงั คมในยุคโลกาภิวัฒนน ้ี เชอ่ื วาปญหาการทําแทงผิดกฎหมายอาจเบาบาง
ลงไป

76

บทท่ี 4
สารอาหาร

สาระสําคัญ
ความตองการสารอาหาร ตาม เพศ วยั ของรา งกาย เปนความตองการสารอาหารในบคุ คลแตละ

ชว ง และแตล ะเพศ ยอ มมีความแตกตางกนั เปนที่ยอมรบั กนั ทั่วไปแลววา อาหารมสี วนสําคัญอยางมาก
ในวัยเด็กทั้งในดานการเจรญิ เติบโตของรา งกายและการพัฒนาการในดานความสัมพนั ธของระบบการ
เคลอ่ื นไหวของรา งกาย

ผลการเรยี นรูทคี่ าดหวัง
1. วเิ คราะหปญหาสขุ ภาพทเ่ี กิดจากการบรโิ ภคอาหารไมถกู หลกั โภชนาการ
2. บอกสารอาหารทีร่ า งกายตอ งการตามเพศ
3. อธิบายวธิ กี ารประกอบอาหารเพือ่ รักษาคุณคาของอาหาร

ขอบขายเนอ้ื หา
เรื่องที่ 1. สารอาหาร
เร่ืองที่ 2. วิธีการประกอบอาหารเพอ่ื คงคณุ คา ของสารอาหาร
เร่ืองที่ 3. ความเชื่อและคานยิ มเกยี่ วกบั การบรโิ ภค
เรอ่ื งท่ี 4. ปญ หาสุขภาพท่เี กดิ จากการบริโภคอาหารไมถูกหลักโภชนาการ

77

เรือ่ งท่ี 1 สารอาหาร

ปริมาณความตองการสารอาหาร ตาม เพศ วัยและสภาพรางกาย ความสําคัญของอาหารและ
ความตองการสารอาหารในบุคคลแตละชวง และแตละเพศ มีความแตกตางกันตามธรรมชาติ ดังนั้น
ปรมิ าณของสารอาหารท่ีควรไดรับในแตละบคุ คลจะแตกตางกนั

1. ความตองการสารอาหารในวยั เด็ก
เปนท่ียอมรับกันท่ัวไปแลววา อาหารมีสวน สําคัญอยางมากในวัยเด็กท้ังในดานการ
เจริญเตบิ โตของรา งกายและการพฒั นาการในดา นความสัมพันธของระบบการเคลือ่ นไหวของรางกาย
ตลอดจนในดานจิตใจ และพฤติกรรมในการแสดงออกและปจจัยที่มีสวนสําคัญที่ทําใหเด็กไดรับ
อาหารที่ถกู หลกั ทางโภชนาการ ไดแก
1.ครอบครัวทคี่ อยดูแลและเปน ตวั อยา งท่ีดี
2.ตวั เดก็ เอง ทจี่ ะตองถูกฝก ฝน
3.ส่ิงแวดลอมทําใหเ กิดการปฏิบตั อิ ยางคนขางเคยี ง
อาหารที่ถูกหลักโภชนาการในวัยเดก็ น้ัน เปน ทที่ ราบดอี ยแู ลววาเด็กตองการอาหารครบท้ัง 3
ประเภท เพอ่ื การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการ สง่ิ ทต่ี องคาํ นึงถึงคอื อาหารทีใ่ หเดก็ ควรไดรับ ไดแก
1.อาหารท่ีใหโปรตีน ไดแก นม ไข เนื้อสัตว ตลอดจนโปรตีนจากพืชจําพวกถั่วเขียว ถั่ว
เหลือง
2.อาหารทใ่ี หพลังงาน ไดแกข า ว แปง นํา้ ตาล ไขมนั และนาํ้ มัน สวนน้ําอัดลม หรือขนมหวาน
ลกู กวาดตาง ๆ ควรจํากัดลง เพราะประโยชนน อ ยมากและบางทที าํ ใหมปี ญ หาเรอื่ งฟน ผดุ ว ย
3.อาหารทีใ่ หวิตามินและเกลือแรไดแ ก พวก ผัก ผลไม และอาหารทม่ี ใี ยอาหารที่มีสวนทําให
เก็บไมท อ งผูก
2. ความตองการสารอาหารของเด็กวยั เรยี น
ในปจ จบุ ัน ภาวะของความเรง รบี ในสังคมอาจจะทาํ ใหพอแมหรือผปู กครองละเลยเรอ่ื งอาหาร
เชาของเด็กวัยเรยี น เดก็ วยั เรยี นเปน วยั ทีร่ างกายกําลังเจริญเติบโต ตองการอาหารเชา ถ า เ ด็ ก ไ ม ไ ด
รบั ประทานอาหารเชา จะทาํ ใหเ ด็กขาดสมาธใิ นการเรียน สมองมึน งวง ซึม และถาเด็กอดอาหารเปน
เวลานาน ๆ ติดตอ กัน จะทําใหมีผลเสยี ตอระบบการยอ ยอาหาร และเปนโรคขาดสารอาหารไดดังนั้น
การเลอื กอาหารเชา ทีเ่ ด็กวัยเรยี นควรไดร บั ประทานและหาไดง า ย คอื นมสด 1 กลอ ง ขาวหรือขนมปง
ไข อาจจะเปนไขด าว ไขล วก หรอื ไขเ จียว ผลไมท ่หี าไดง าย เชน กลวยนํ้าวา มะละกอ หรือสม เทาน้ี
เดก็ กจ็ ะไดรบั สารอาหารท่ีเพียงพอแลว
3. ความตอ งการสารอาหารในวัยรุน
วยั รุน เปนวยั ท่มี กี ารเจรญิ เติบโตในดา นรางกายอยางมาก และมีการเปล่ียนแปลงทางอารมณ
และจิตใจคอนขางสูง มีกิจกรรมตาง ๆ คอนขางมากทั้งในดานสังคม กีฬา และบันเทิง ความตองการ
สารอาหารยอ มมมี ากขนึ้ ซึ่งจะตอ งคํานึงทง้ั ปรมิ าณและคณุ ภาพใหถูกหลกั โภชนาการ

78

ปจจยั ท่ีสาํ คญั คือ
1.ครอบครวั ควรปลกู ฝงนสิ ัยการรบั ประทานอาหารท่ถี กู หลกั โภชนาการ เร่ิมตนจากที่บานท
สาํ หรับวัยรุนที่พยายามจํากัดอาหารลง คนในครอบครัวจะตองใหค าํ แนะนาํ เพ่ือไมไปจํากัดอาหารท่ีมี
คุณคา และจาํ เปนตอรา งกาย
2.วยั รนุ จะเร่มิ มคี วามคิดเห็นเปน ของตัวเองมากขึ้น การรบั ความรเู กยี่ วกบั โภชนาการ มีความ
จาํ เปน เพือ่ ใหเหน็ ความสําคัญของการรบั ประทานอาหารทมี่ คี ุณคา ทางโภชนาการอยา งสมา่ํ เสมอซึ่งจะ
มีผลดีตอ ตัววัยรุน เองโดยตรง
3.สิง่ แวดลอ มในโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาอทิ ธิพลจากเพือ่ นฝูงมีสวนท่ีทําใหวัยรุนเลียนแบบ
กนั เรอ่ื งการรับประทานอาหาร ตลอดจนการบริโภคสารอนั ตราย เชน เหลา บุหรี่ และยาเสพติด การ
ดูแลอยางใกลชิดตลอดจนการสนับสนุนใหวัยรุนเลนกีฬา หรือทํากิจกรรมท่ีมีประโยชนจะมีผล
ทางออม ทําใหนิสัยท่ีดีในการบริโภคอาหารไมถูกเบี่ยงเบนไป ความตองการอาหารที่ใหโปรตีน
พลงั งาน และวติ ามนิ ตองเพยี งพอสําหรับวยั รนุ วติ ามนิ ตอ งเหมาะสมและโดยเฉพาะอยางย่ิงอาหารท่ีมี
เกลอื แรประเภทแคลเซยี มและเหลก็ ตองเพียงพอ
4. ความตอ งการสารอาหารในวยั ผูใหญ
วัยผูใหญถงึ แมจ ะหยุดเจรญิ เติบโตแลว รางกายยังตองการสารอาหารอยางครบถว น เพ่ือนําไป
ทํานุบํารุงอวัยวะ และเนื้อเย่ือตาง ๆ ของรางกาย ใหคงสภาพการทํางานท่ีมีสมรรถภาพตอไป และ
ปจจัยสําคัญอยางหน่ึง ท่ีจะทําใหวัยผูใหญยังคงแข็งแรงไดแก การบริโภคอาหารที่ถูกตองตามหลัก
โภชนาการ การควบคมุ อาหารในวัยผูใหญ มขี อ แนะนาํ ดังนี้
1.ใหบริโภคอาหารหลายชนิด เนื่องจากไมมีอาหารชนิดใดชนิดหน่ึงท่ีใหคุณคาทาง
โภชนาการไดครบถวน
2. บริโภคอาหารในปรมิ าณทีพ่ อเหมาะ เพ่อื ใหนาํ้ หนกั อยใู นเกณฑท ีต่ องการ
3. หลกี เลย่ี งการรับประทานท่มี ีไขมันมากเกินไป
4. บริโภคอาหารที่มีปริมาณของแปงและกากใยใหเพียงพอ
5. หลกี เล่ยี งการบรโิ ภคอาหารทีป่ รุงดว ยปริมาณนา้ํ ตาลจํานวนมาก
6. หลกี เลี่ยงการบรโิ ภคอาหารเคม็ มากเกนิ ไป
7. หลกี เลี่ยงเครอ่ื งดืม่ ทม่ี ีแอลกอฮอล
5. ความตองการสารอาหารของวยั ผูสงู อายุ
ผูสงู อายใุ นทน่ี ้หี มายถึงผทู ีอ่ ยใู นวยั 60 ปขนึ้ ไป
สําหรบั ปญหาเร่ืองอาหารการกนิ หรือโภชนาการในวัยน้ี ขอใหรบั ประทานอาหารใหครบทุก
หมูและควบคุมปริมาณ โดยดูจากการควบคุมนํ้าหนักตัวไมใหมากข้ึน และกรณีน้ําหนักเกินอยูแลว
ควรจะลดน้าํ หนักใหสัมพันธกับสวนสูง

79

ขอ แนะนําในการดูแลเรอื่ งอาหารในผสู งู อายมุ ดี ังนี้
1.โปรตีน ควรใหรับประทานไขวันละ 1 ฟอง และด่ืมนมอยางนอยวันละ 1 แกวสําหรับ

โปรตนี จากเนือ้ สัตวควรลดนอ ยลง
2.ไขมัน ควรใชน ้าํ มันถว่ั เหลืองหรือนา้ํ มนั ขาวโพด ในการปรุงอาหารเพราะเปนน้ํามันพืชท่ีมี

กรดไลโนเลอกิ
3.คารโบไฮเดรต คนสูงอายุควรรับประทานขาวลดลงและไมควรรับประทานนํ้าตาลใน

ปรมิ าณทม่ี าก
4.ใยอาหาร คนสงู อายคุ วรรับประทานอาหารที่เปนพวกใยอาหารมากขึ้น เพอ่ื ชวยปองกันการ

ทอ งผูกชว ยลดระดับโคเลสเตอรอลในเลอื ดและลดอบุ ัตกิ ารของการเกดิ มะเร็งลาํ ไสใหญล งได
5.นํา้ ด่ืม คนสูงอายคุ วรดมื่ นํา้ ปรมิ าณ 1 ลติ รตลอดท้ังวัน แตทัง้ นสี้ ามารถปรบั เองไดต ามความ

ตองการของรางกาย โดยสังเกตดูวาถาปสสาวะมีสีเหลืองออน ๆ เกือบขาว แสดงวาน้ําในรางกาย
เพียงพอแลว สวนเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลรวมท้ังนํ้าชา กาแฟ ควรงดเวนถาระบบยอยอาหารในคน
สงู อายไุ มดี ทา นควรแบงเปน มอ้ื ยอย ๆ แลว รบั ประทานทีละนอย แตหลายม้ือจะดีกวา แตอาหารหลัก
ควรเปนมือ้ เดียว

6.ความตอ งการสารอาหารในสตรีตั้งครรภ
สตรีตั้งครรภ นอกจากตองมีสารอาหารทั้ง 6 ประเภทไดแกโปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมัน
วติ ามนิ เกลือแร และนํา้ ในอาหารท่ีรบั ประทานเปน ประจําใหครบทุกประเภทแลว สตรีตั้งครรภตอง
ทราบอกี วา ควรทีจ่ ะเพ่ิมสารอาหารประเภทใด จึงจะทําใหเด็กในครรภไดร ับประโยชนสงู สุดดงั น้ี
1.อาหารท่ีใหโ ปรตนี ไดแกไ ข นม เนื้อสัตว เครื่องในสัตวและถ่ัวเมล็ดแหง สตรีต้ังครรภจึง
ควรรับประทานไขวันละ 1-2 ฟอง นมสดวันละ 1-2 แกว เนื้อสัตวบกและสัตวทะเล ซึ่งจะไดธาตุ
ไอโอดีนดวยอาหารประเภทเตาหูและนมถ่ัวเหลือง ก็มีประโยชนในการใหโปรตีนไมแพเนื้อสัตว
เชน กนั
2.อาหารทใ่ี หพลังงาน ไดแ ก ขา ว แปง นาํ้ ตาล ไขมันและนํา้ มนั สตรตี ัง้ ครรภค วรรับประทาน
ขา วพอประมาณรวมกบั อาหารทีใ่ หโ ปรตนี ดงั กลา วแลว ควรใชน ้าํ มันพชื ซ่ึงมีกรดไขมนั จําเปน ในการ
ประกอบอาหาร เชน นํ้ามนั ถัว่ เหลอื ง นํ้ามนั ขาวโพด สตรีตั้งครรภควรจะตอ งรบั อาหารทีจ่ ะใหพลงั งาน
มากขนึ้ วันละปริมาณ 300 แคลลอร่ี
3.อาหารท่ีใหว ิตามนิ และเกลอื แร สตรีตัง้ ครรภต องการอาหารท่ีมีวิตามินและเกลือแรเพิ่มข้ึน
ควรรับประทานอาหารประเภทผักและผลไมทุกๆวันเชนสม มะละกอ กลวย สลับกันไป จะไดใย
อาหารเพอื่ ประโยชนใ นการขบั ถายอุจจาระดว ย เกลือแรท ส่ี ําคัญควรรับประทานเพิ่มไดแก แคลเซียม
ฟอสฟอรัส แมกนเี ซียม เหล็ก สังกะสี และไอโอดีน สวนวติ ามนิ ไดแ กก ลมุ ที่ละลายในไขมัน เชน เอ ดี
อี เค และท่ลี ะลายในนา้ํ ไดแ กวิตามินบีและวิตามินซี

80

รา งกายเราตอ งการสารอาหารทม่ี ีอยูใ นอาหารตางๆ เพื่อใหมีสุขภาพท่ีดี แตเราจะตองรูวาจะ
กนิ อยางไร กินอาหารอะไรบา งมากนอ ยเพยี งใดจึงจะไดส ารอาหารครบเพียงพอกับความตองการของ
รางกาย ขอปฏิบัติการกนิ อาหารเพ่ือสุขภาพที่ดีของคนไทย 9 ขอหรือโภชนาการบัญญัติ 9 ประการน้ี
จะชวยไดถ าทานปฏิบตั ิตามหลกั ดังตอ ไปน้ี

1.กนิ อาหารครบ 5 หมแู ตล ะหมูใหหลากหลายและหมน่ั ดูแลนาํ้ หนกั ตัว
2.กินขาวเปนอาหารหลัก สลบั กับอาหารประเภทแปง เปน บางมือ้
3.กินพชื ผักใหมากและกินผลไมเปนประจาํ
4.กินปลา เนอื้ สตั วท ี่ไมตดิ มนั ไข ถัว่ เมลด็ แหงเปน ประจํา
5.ดื่มนมใหเหมาะสมตามวัย
6.กนิ อาหารทม่ี ไี ขมันพอสมควร
7.หลกี เลย่ี งการกินอาหารรสหวานจดั และเคม็ จดั
8.กินอาหารทสี่ ะอาดปราศจากการปนเปอ น
9.งดหรอื ลดเครือ่ งดมื่ ที่มแี อลกอฮอล
สารตานอนมุ ูลอิสระ
ในรางกายของคนเราเซลลจ ะผลติ สารชนิดหนึง่ เพอื่ ทาํ ลายเนื้อเยื่อตนเองเพิ่มมากข้ึน สารน้ัน
เรยี กวาอนุมูลอิสระ อนุมูลอิสระน้ีเปนตัวการสําคัญท่ีทําใหเกิดปญหาทางสุขภาพหลายประการ ทั้ง
ภาวะความจําเส่อื ม โรคมะเรง็ เปนตน
ในขณะเดียวกันรางกายก็สามารถจัดการกับอนุมูลอิสระไดโดยสรางสารตานอนุมูลอิสระ
ออกมาในกระแสเลือด เพื่อจับกับอนุมูลอิสระไดถึง 99.9 % คงเหลือทําลายเซลลอยูเพียง 0.1% แต
กระนั้นก็ทาํ ใหเ ซลลเ กดิ การบาดเจ็บและยงิ่ นานวนั รอยแผลก็สะสมมากข้ึน เมื่อคนเราแกลงรางกายก็
จะสรางสารตานอนมุ ูลอิสระลดลงรางกายจะตองการสารตา นอนุมูลอสิ ระมากข้ึน เพอื่ สง ผลใหอายุยืน
สุขภาพแขง็ แรงตอ ตานโรคชรา โรคมะเร็ง เปน ตน
สารตานอนมุ ูลอสิ ระทส่ี าํ คญั ท่เี ราพบในแหลง อาหาร มีดงั น้ี
1.เบตา-แคโรทีน มีมากในแครอท และผักสีเหลืองสมผักสีเขียวเขมตางๆเชนมะเขือเทศ
ฟก ทอง ตาํ ลึง ผักบุง ผกั กวางตงุ ผักคะนา ยอดแค เปนตน
2.วิตามินซี มีมากในฝรง่ั สม มะขามปอ ม มะนาว มะเขอื เทศ ผกั ผลไมส ด ตางๆ ผกั คะนาและ
กระหล่ําดอกมีวติ ามินซสี ูงมาก วติ ามนิ ซี ถกู ทาํ ลายไดงาย ดว ยความรอนความขึน้ และแสง
3.วติ ามินอี มใี นรําละเอยี ด ในพวกธญั พืชท่ีไมขัดขาว ขา วโพด ถัว่ แดง ถั่วเหลือง ผักกาดหอม
เมลด็ ทานตะวนั งา น้าํ มนั รํา น้ํามนั ถั่วลสิ ง น้าํ มันจากเมลด็ พืชตา งๆ
4.ซีลเิ นยี ม พบในอาหารทะเลเนื้อสัตวธญั พืชที่ไมขดั ขาวนอกจากนี้ยังมีสารที่พบในผักผลไม
ที่มคี ณุ สมบัติในการตา นสารอนุมลู อสิ ระซ่งึ สามารถจับกบั อนมุ ลู อสิ ระลดอันตรายไมใหเ กดิ โรคมะเรง็

81

ได พบไดม ากในตระกลู สม องุน และผลไมสดอื่นๆรวมทั้งผักผลไมตางๆ เชน กระเทียม ผักตระกูล
ผกั กาด

ตวั อยา ง

ประเภทและจํานวนของอาหารท่ีคนไทยควรรับประทานอาหารใน 1 วนั

สาํ หรบั เด็กอายุ 6 ปข ึน้ ไปถงึ วยั ผูใหญแ ละผูส ูงอายโุ ดยแบงตามการใหพลังงาน

กลุมอาหาร หนว ยครวั เรือน พลงั งาน (กโิ ลแคลอร)ี
1,600 2,000 2,400

ขา ว – แปง 1 ทพั พี = 60 กรัม หรือ คร่งึ ถว ยตวง 8 ทพั พี 10 ทัพพี 12 ทพั พี

ผกั 1 ทัพพี = 40 กรัม หรือ ครึ่งถวยตวง 4 (6) ทพั พี 5 ทพั พี 6 ทพั พี

ผลไม 1 สว น = สม เขียวหวาน 1 ผล หรือ 3 (4) สวน 4 สวน 5 สวน
กลวยนาํ้ วา 1 ผล หรอื เงาะ 4 ผล

เน้ือสัตว 1 ชอ นกนิ ขา ว = ปลาทคู รึ่งตวั หรือ 6 ชอ น 9 ชอน 12 ชอ น
ไขครงึ่ ฟอง หรือไกครง่ึ นอ ง กินขา ว กินขาว กินขา ว

นม 1 แกว = 250 ซซี ี 2 (1) แกว 1 แกว 1 แกว

นํ้ามัน

นํ้าตาล และ ชอ นชา ใชแ ตนอยเทา ท่ีจาํ เปน

เกลือ

หมายเหตุ เลขใน ( ) คือปรมิ าณทีแ่ นะนาํ สาํ หรับผใู หญ

1,600 กิโลแคลอรี สําหรบั เด็กอายุ 6-13 ป

หญงิ วัยทาํ งานอายุ 25-60 ป

ผูสูงอายุ 60 ปข ึ้นไป

2,000 กิโลแคลอรี สําหรบั วัยรนุ หญิง-ชาย อายุ 14-25 ป

วัยทาํ งานอายุ 25-60 ป

2,400 กโิ ลแคลอรี สําหรบั หญงิ -ชาย ทใ่ี ชพลังงานมากๆ เชน เกษตรกร

ผูใ ชแ รงงาน นักกีฬา

สรปุ

อาหารเปน ปจ จยั ท่มี ผี ลตอการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย การรับประทานอาหาร

ควรยดึ หลกั โภชนาการ เพ่ือใหไ ดพลงั งานและสารอาหารท่ีพอเพียง วัยรุน เปนวัยท่ีกําลังเจริญเติบโต

จงึ ควรบริโภคอาหารใหถ ูกตอ งตามหลักโภชนาการ

82

เรอื่ งที่ 2 วธิ ีการประกอบอาหารเพอ่ื คงคุณคา ของสารอาหาร
1. หลกั การปรงุ อาหารที่ถกู สขุ ลักษณะ
เพื่อใหไดอาหารท่ีสะอาด ปลอดภัย และมีคุณคาทางโภชนาการ มีหลักการปรุงอาหารที่ถูก

สุขลกั ษณะ โดยคํานึงถงึ หลกั 3 ส คอื สงวนคุณคา สุกเสมอ สะอาดปลอดภยั
สงวนคุณคา คือ การปรุงอาหารจะตองปรุงดวยวิธีการปรุง ประกอบเพื่อสงวนคุณคาของ

อาหารใหม ปี ระโยชนเตม็ ที่ เชน การลางใหส ะอาดกอนหน่ั ผัก การเลอื กใชเ กลือเสริมไอโอดีน
สุกเสมอ คือ ตอ งใชความรอนในการปรุงอาหารใหส กุ โดยเฉพาะอาหารประเภทเนื้อสตั วท้ังนี้

เพ่ือตองการจะทําลายเชื้อโรคท่ีอาจปนเปอนมากับอาหาร การใชความรอนจะตองใชความรอนใน
ระดับทส่ี งู ในระยะเวลานานเพยี งพอท่ีความรอนจะกระจายเขาถึงทุกสวนของอาหาร ทําใหสามารถ
ทาํ ลายเชื้อโรคไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

สะอาดปลอดภัย คือ จะตองมีการตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานของอาหารกอนการปรุง
ประกอบวาอยูในสภาพท่ีสะอาด ปลอดภัย ไดมาตรฐาน เชน เน้ือหมูสด ตองไมมีเม็ดสาคู (ตัวออน
พยาธิตัวตืด) นา้ํ ปลา จะตองมเี คร่ืองหมาย อย.รับรอง เปนตน และจะตองมีกรรมวีธีข้ันตอนการปรุง
ประกอบอาหารท่สี ะอาด ปลอดภัยและถกู สุขลักษณะ มีผปู รงุ ผูเสิรฟอาหารท่มี สี ุขวิทยาสวนบุคคลทดี่ ี
รจู ักวธิ กี ารใชภ าชนะอุปกรณและสารปรุงแตงรสอาหารท่ีถูกตองเชน วีการสดปริมาณสารพิษกําจัด
ศตั รพู ืชที่ตกคางในผักสด การใชช อนชมิ อาหารเฉพาะในการชมิ อาหารระหวา งการปรงุ อาหาร

2. หลักการทาํ อาหารใหสะดวกและรวดเร็ว
อาหารทปี่ รุงเองนอกจากจะประหยัดแลวยังไดอาหารท่ีสะอาด สด ใหม มีรสถูกปากและลด
ความเส่ียงจากการมสี ารเคมปี นเปอนแต เวลา มักจะเปน ขอจํากดั ในการลงมือทําอาหาร แมบานอาจมี
วิธีการเตรยี มอาหารพรอ มปรุงในวันหยดุ เกบ็ ไวใ นตูเ ย็นแลวนํามาปรุงใหมไดโดยใชเวลานอยแตได
คุณคา มากเรม่ิ จากอาหารประเภทเนอื้ สัตว เชน หมู ไก กุง ปลา เมือ่ ซ้ือมาจัดเตรียมตามชนิดที่ตองการ
ปรุงหรอื หงุ ตม แลว ทาํ ใหสกุ ดวยวธิ ีการตมหรือรวน แลว แบง ออกเปน สว นๆตามปริมาณที่จะใชแตละ
คร้ัง แลวเกบ็ ไวใ นตเู ยน็ ถา จะใชใ นวนั รุงข้ึน หรือเก็บไวในชอ งแชแขง็ ถาจะเก็บไวใชนาน เมอ่ื ตองการ
ใชก็นําออกมาประกอบอาหารไดทันที โดยไมตองเสียเวลา รอใหละลายเหมือนการเก็บดิบๆ ทั้งช้ิน
ใหญโ ดยไมห่ัน การเตรียมลวงหนาวิธีน้ี นอกจากจะสะดวก รวดเร็วแลว ยังคงรสชาติและคุณคาของ
อาหารอีกดวย
3. หลักการเก็บอาหารใหสะอาดปลอดภัย
การเกบ็ อาหารตามหลกั การสขุ าภบิ าลอาหารมวี ตั ถปุ ระสงคเ พื่อยดื อายุของอาหารทีใ่ ชบริโภค
โดยจะตอ งอยใู นสภาพทีส่ ะอาดปลอดภยั ในการบริโภค หลักการในการเก็บอาหารใหคํานึงถึงหลัก 3
ส. คือสดั สวนเฉพาะ สิง่ แวดลอ มเหมาะสม สะอาดปลอดภยั
สัดสว นเฉพาะ คือ ตอ งเก็บอาหารใหเปน ระเบียบ แยกเก็บตามประเภทอาหารโดยจัดใหเปน
สัดสว นเฉพาะไมปะปนกัน มีฉลากซ้ือหรือเครอ่ื งหมายอาหารแสดงกํากับไว

83

สงิ่ แวดลอมเหมาะสม คือ ตองเก็บอาหารโดยคํานึงถึงการจัดสภาพส่ิงแวดลอมใหเหมาะสม
กับอาหารแตล ะประเภทโดยคํานงึ ถึงอุณหภูมิความชื้นเพื่อชวยทําใหอาหารสดสะอาดเก็บไดนานไม
เนา เสยี งายสง่ิ แวดลอมของอาหารจะจัดการใหอยูในสภาพที่จะปองกันการปนเปอนได เชน การเก็บ
อาหารกระปองในบริเวณทมี่ ี อาหารหมนุ เวียน สูงจากพืน้ อยา งนอย 30 ซม. การเกบ็ นมพาสเจอไรสไว
ในอุณหภูมิตํ่ากวา 7 องศาเซลเซยี ส เปน ตน

สะอาดปลอดภัย คอื ตองเก็บอาหารในภาชนะบรรจุที่ถูกสุขลักษณะ สะอาด ปลอดภัย มีการ
ทําความสะอาดสถานท่ีเกบ็ อยางสมํา่ เสมอไมเ ก็บสารเคมที เี่ ปนพิษอ่ืนๆเชน การใชถุงพลาสติก/กลอง
พลาสตกิ สําหรบั บรรจอุ าหารในการบรรจุอาหารทีเ่ กบ็ ไวในตูเยน็ /ตูแชแ ขง็ เปน ตน

4. อณุ หภูมิเทา ไหรจ ึงจะทําลายเช้อื โรคได
เชื้อจุลินทรียมีอยูทั่วไปตามสิ่งแวดลอมมนุษย สัตว อาหาร ภาชนะอุปกรณและสามารถจะ
ดํารงชีวิตอยูไดในชวงอุณหภูมิต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส จนถึง 75 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะ
เช้ือจุลนิ ทรยี ท ่ีกอใหเ กดิ โรคระบาดทางเดินอาหารมกั จะเปนเช้ือจุลินทรียทสี่ ามารถเจริญเติบโตไดดีที่
อุณหภมู หิ อ งประมาณ 25 องศาเซลเซียส ถงึ 40 องศาเซลเซยี ส
ฉะน้นั การทาํ ลายเช้อื จุลินทรยี ท กี่ อใหเ กดิ โรคระบบทางเดินอาหารจําเปนจะตองกําหนดชวง
อุณหภูมิทเี่ หมาะสมเพอื่ จะไดแนใ จวา เชื้อจุลินทรียถ ูกทําลายจนหมดส้ินในขบวนการผลิตอาหารทาง
อุตสาหกรรมการทําลายเชอ้ื โรคจําเปนตอ งอาศัยอณุ หภูมทิ ่เี หมาะสมควบคไู ปกบั ระยะเวลาที่เหมาะสม
จึงจะมีประสิทธิภาพในการทําลายที่ดี คืออุณหภูมิที่สูงมากใชระยะเวลาสั้น(121องศาเซลเซียสเปน
เวลา 1 นาที)และอุณหภมู ทิ ต่ี ํา่ ใชระยะเวลานาน(63 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 นาที)ทงั้ ท่ยี ังมีปจจัยอื่น
ทเ่ี กยี่ วของในการควบคมุ ไดแกป ริมาณเชือ้ จลุ ินทรียประเภทของอาหารคาความเปน กรด ดา ง ความช้นื
สําหรับในการปรุงประกอบอาหารในครัวเรอื นอณุ หภูมิท่ีสามารถทําลายเช้ือจุลินทรีย คือ 80
องศาเซลเซียส-100 องศาเซลเซยี ส (อุณหภมู นิ ้ําเดือด)เปนเวลานาน 15 นาทีสําหรับอุณหภูมิในตูเย็น 5
องศาเซลเซยี ส-7องศาเซลเซียส เช้ือจลุ ินทรียส ามารถดํารงชีวิตอยูได และสามารถเพิ่มจํานวนไดอยาง
ชาในขณะท่ีอณุ หภูมิแซแข็งต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส เช้อื จุลินทรียส ามารถดํารงอยไู ดแตไมเพ่ิมจํานวน
อณุ หภูมทิ เี่ ช้อื จุลินทรยี ตายคือ-20องศาเซลเซียส และฉะนั้นเพ่ือความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร
โดยเฉพาะอาหารเนื้อสัตวควรปรุงอาหารใหสุกเสมอโดยทั่วทุกสวนที่อุณหภูมิสูงกวา 80 องศา
เซลเซียส ขนึ้ ไปหรอื สุกเสมอ สะอาด ปลอดภัย
5. อณุ หภูมทิ เี่ หมาะสมในการเกบ็ อาหารสดประเภทเน้ือสัตว
อาหารเนื้อสัตวสด เปนอาหารที่มีความเส่ียงสูง เพราะมีปจจัยเอ้ือตอการเนาเสียไดงาย คือมี
ปริมาณสารอนิ ทรียส งู มปี รมิ าณน้ําสงู ความเปน กรดดา งเหมาะสมในการเจรญิ เตบิ โตของเช้อื จุลนิ ทรยี 
การเกบ็ เนือ้ สตั วส ดท่ีถูกสุขลักษณะ คือตองลางทําความสะอาดแลวจึงหั่นหรือแบงเน้ือสัตว
เปน ชน้ิ ๆ ขนาดพอดีที่จะใชใ นการปรงุ ประกอบอาหารแตละครั้งแลวจึงเก็บในภาชนะท่ีสะอาดแยก
เปนสัดสวนเฉพาะสําหรับเน้ือสัตวสดที่ตองการใชใหหมด ภายใน 24 ชั่วโมงสามารถเก็บไวใน

84

อุณหภมู ิตูเย็นระหวา ง 5 องศาเซลเซียส -7 องศาเซลเซียสในขณะทีเ่ นอื้ สตั วส ดทต่ี องการเก็บไวใชนาน
(ไมเกิน7วัน)ตองเก็บไวในอุณหภูมิตูแชแข็ง อุณหภูมิตํ่ากวา 0 องศาเซลเซียส ท้ังนี้เม่ือจะนํามาใช
จาํ เปน จะตองนํามาละลายในไมโครเวฟ แตถาละลายในน้ําเย็นจะตองเปล่ียนนํ้าทุก 30 นาที เพื่อให
อาหารยงั คงความเย็นอยแู ละน้ําท่ใี ชละลายไมเปนแหลงสะสมของเช้อื จลุ นิ ทรยี ท่อี าจจะปนเปอนมาทํา
ใหมีโอกาสเพ่ิมจาํ นวนไดม ากขนึ้ จนอาจจะเกดิ เปนอนั ตรายได

สรุปอุณหภูมิท่ีเหมาะสมในการเก็บอาหารเนื้อสัตวสดคืออุณหภูมิตูเย็นตํ่ากวา 7 องศา
เซลเซียสในกรณีทจี่ ะใชภายใน 24 ชว่ั โมง และตา่ํ กวา 0 องศาเซลเซียส (อุณหภมู แิ ชแข็ง) ในกรณีที่จะ
ใชภายใน 7 วนั ซึ่งเปน อุณหภมู ิทเ่ี ชือ้ จุลนิ ทรยี ย งั คงดาํ รงชวี ิตอยูไดแตมีอัตราการเจริญเติบโตตํ่าจนถึง
ไมมกี ารเจริญเตบิ โตทาํ ใหสามารถเก็บรกั ษาเนือ้ สัตวใหส ด ใหม สะอาด ปลอดภัย

6. ภาชนะบรรจอุ าหารสําคญั อยา งไร
ภาชนะบรรจุอาหารเปนปจจัยสําคัญที่เส่ียงตอการปนเปอนเชื้อโรค สารเคมีท่ีเปนพิษกับ
อาหารที่พรอมจะบรโิ ภค ทัง้ นี้ สามารถจะกอใหเกดิ การปนเปอ นไดทุกข้ันตอน ตง้ั แตขั้นตอนการเก็บ
อาหารดิบ ขัน้ ตอนการเสริ ฟ ใหก บั ผบู ริโภค
ขน้ั ตอนการเกบ็ อาหารดิบถา ภาชนะบรรจทุ ําดวยวสั ดุท่เี ปน พษิ หรือภาชนะทปี่ นเปอนเช้อื โรค
กจ็ ะทําใหอ าหารทบี่ รรจุอยูปนเปอ นไดโ ดยเฉพาะภาชนะบรรจอุ าหารเน้ือสัตวสด เม่ือใชแลวตองลาง
ทําความสะอาดใหถูกตองกอนจะนํามาบรรจุเนื้อสัตวสดใหมเพราะอาจจะเปนแหลงสะสมของ
เชื้อจลุ นิ ทรยี ไดงา ยขัน้ ตอนการปรุงประกอบอาหารถาภาชนะอปุ กรณที่ใชใ นการปรุง ประกอบอาหาร
ถา ภาชนะอุปกรณที่ใชในการปรุงประกอบมีการปนเปอนดวยสารเคมีที่เปนพิษ ก็สามารถปนเปอน
อาหารที่ปรุงประกอบไดเชน ตะแกรงทาสีบรอนดเวลาปงปลา สีบรอนด และสารตะก่ัวก็อาจจะ
ปนเปอนกับเนื้อปลาไดใชภาชนะพลาสติกออนใสน้ําสมสายชูทําใหมีการปนเปอนสารพลาสติก
ออกมากบั นา้ํ สมสายชูทาํ ใหม กี ารปนเปอ นสารพลาสติกออกมากบั นาํ้ สม สายชไู ด
ขั้นตอนการเสิรฟอาหารพรอมบริโภคอาหารปรุงสําเร็จถาภาชนะที่ใชลางไมสะอาดมีการ
ปนเปอนเชื้อจลุ ินทรียสารเคมที ี่เปน อันตรายกจ็ ะปนเปอ นอาหารจนอาจกอ ใหเ กดิ อนั ตรายกับผบู ริโภค
ได
ฉะน้ันเพ่อื ใหไดภ าชนะอุปกรณท่ีสะอาด ปลอดภัย ส่ิงสําคัญก็คือจะตองรูจักวิธีการเลือกใช
ภาชนะอุปกรณท ถี่ กู ตอ งไมท าํ จากวัสดุที่เปน พษิ และใชใ หเ หมาะสมกบั ประเภทของอาหารรวมทง้ั ตอง
รูจักวธิ ีการลางและการเกบ็ ภาชนะอุปกรณใ หถกู ตอ ง

เรื่องที่ 3 ความเช่อื และคา นยิ มเกี่ยวกบั การบรโิ ภค

คานิยม (Value) หมายถึง ลักษณะดานสังคมซึ่งมีความเช่ือถือ (Beliefs) กันอยาง
กวา งขวาง ซึ่งเปนแนวทางในการพิจารณาพฤตกิ รรมที่เหมาะสม โดยมีการยอมรับอยา งแพรห ลายจาก
สมาชิกของสงั คม หรือหมายถึง ความเช่ือถือของสวนรวมซึ่งมีมานาน โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือการมี

85

ชวี ิตอยูรว มกันเปน ความรสู กึ เกีย่ วกบั กจิ กรรม ความสมั พนั ธกัน หรือจดุ มงุ หมายซึ่งมีความสําคัญตอ
ลักษณะหรอื ความเปน อยขู องชุมชน สิง่ ทคี่ นกลุมหน่ึง ๆ วาอะไรก็ตามท่ีคนในสังคมสวนใหญชอบ
ปรารถนาหรอื ตองการใหเปน

ในปจจุบนั เรามักจะใหย ินวา คนไทยมีคา นิยมชอบใชของตา งประเทศ ชอบเลยี นแบบ
ชาวตางประเทศโดยรับเอาวัฒนธรรมของตางประเทศเขามามาก โดยลืมคิดถึงความเสียหายท่ีจะ
เกดิ ขึ้น ซงึ่ คําวา “คา นยิ ม” ถือวา เปนปจจัยภายนอกซึ่งเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอความรูสึกนึกคิดของ
บุคคลเปน สิ่งที่เกดิ ขึ้นจากการเรียนรู หรือสิ่งอื่นใดก็ตามท่ีเปนตัวกํากับหรือควบคุมพฤติกรรมของ
บุคคลเปนส่ิงที่เกดิ ข้ึนจากการเรียนรู หรือส่ิงอ่ืนใดก็ตามท่ีเปนตัวกํากับหรือควบคุมพฤติกรรมของ
บุคคลท่ีอยูในสังคมน้ัน ๆ ซ่ึงความสําเร็จหรือความลมเหลวของธุรกิจทางการตลาดขึ้นอยูกับความ
สอดคลอ งกบั คานิยมเปน สาํ คัญ ดงั น้ัน คา นยิ มจึงเก่ยี วของกบั การตอบสนองตอ ส่ิงกระตุนดวยวิธีที่มี
มาตรฐาน ซึง่ บุคคลจะถกู กระตุน ใหม ีสว นรวมในพฤติกรรมเพอ่ื ใหบรรลุคานยิ ม และความเกี่ยวของ
กับพฤติกรรมผูบริโภคและกลยุทธทางการตลาด ในขณะที่แตละช้ันของสังคมจะมีลักษณะของ
คานิยมและพฤตกิ รรมในการบริโภคจะแตกตา งกันออกไป ตวั อยางคานิยมกับพฤติกรรมการบริโภค
ของคนไทย มดี ังนี้

1. กลมุ คา นยิ มความร่าํ รวย และนยิ มใชข องจากตา งประเทศ
จดุ เดนท่ีเปนนสิ ัยของคนไทย
ชอบทําตัววาตัวเองเปนคนร่ํารวยเน่ืองมาจากการใชสินคา สินคาท่ีนิยมใชจะเปน

สนิ คา ท่นี าํ เขามาจากตางประเทศเทาน้ัน
สว นท่เี กยี่ วขอ งกับพฤติกรรมการบริโภค
เปนบคุ คลทชี่ อบใชข องแพง ๆ ทําใหคนอน่ื มองวาตัวเองเปนผูที่รํ่ารวย ตองการให

คนยกยองนับถือ เปนคนที่ตองมีเกียรติ ตองการเปนผูนําในการใชสินคา นิยมใชสินคาที่นําเขามา
เทานั้น มองวาสินคาในประเทศเปนสินคาท่ีไมมีคุณภาพ ไมมีมาตรฐาน เปนสินคาดอยคุณภาพ
จะรูสึกภูมิใจทุกครั้งเมื่อไดใชสินคาท่ีเปนสินคาจากตางประเทศ ชอบไปเที่ยวตางประเทศเพื่อไป
ซื้อสินคา บางครั้งซ้ือมาแลวก็ไมไดใชประโยชนก็จะซ้ือ หรือบางครั้งอาจจะไมมีเวลาไปเท่ียว
ตางประเทศก็ชอบฝากใหคนอื่นซ้ือ มีความเปนตางชาติสูงมาก จะเปนบุคคลท่ีเนนการแตงกายดี
ตั้งแตศ ีรษะจรดเทา เพื่อเสริมสรางบุคลิกภาพ สรางความนาเชื่อถือ นิยมใชบัตรเครดิตการด ชอบ
ความสะดวกสบายไมชอบการรอคอยนาน ๆ ชอบสังคมกับเพ่ือนท่ีมีฐานะรํ่ารวย เทาเทียมกัน ไม
ชอบคบหาสมาคมกันคนทีด่ อ ยกวา หรือจนกวา ทําอะไรคิดถึงตัวเองมากกวาคนอ่ืน บางคร้ังอาจจะ
ประสบกบั ปญหาทางดานการเงินแตกลัววา คนอื่นจะรูถึงฐานะของตนเองตองยอมกูเงินเพ่ือพยุงฐานะ
ของตนเองก็ยอมเพื่อรักษาภาพลักษณของตนเอง โดยไมตองการใหใครมามองวาตัวเองจนลําบาก
หรือต่ําตอยกวา คนอ่ืน

86

ผลกระทบกับคา นิยมแบบน้ี
ลักษณะแบบน้ี ควรจะปรับปรุงแกไขเพือ่ สังคมจะไดดีขึ้น โดยเฉพาะคนรุนใหมไม
ควรใหฟุงเฟอซ่ึงจะเปนการสรางคานิยมที่ไมดี และถือวาคานิยมแบบนี้จะเปนอันตรายตอ
ประเทศชาตอิ ยา งมาก ซึง่ อาจกอ ใหเ กิดความเสียหาย เทากับวาประเทศของเราไดตกไปเปนเมืองข้ึน
ของตา งชาติ ซ่ึงเปน การยากทเ่ี ราจะกูประเทศชาตกิ ลับคนื มาได ซ่ึงควรจะไดมกี ารปรับปรุงแกไ ข

2. คานยิ มสุขภาพดี
จุดเดนทเ่ี ปน นสิ ยั ของคนไทย
เปนบคุ คลท่ีรกั ษาสุขภาพของตนเอง และครอบครัว เพ่ือท่ีจะไดมชี วี ิตยนื ยาว
สวนทีเ่ กี่ยวของกับพฤตกิ รรมการบรโิ ภค
พฤติกรรมของบุคคลที่มีคานิยมสุขภาพดี มักจะเปนคนท่ีดูแลตนเองเปนอยางดี มี

การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ ชอบความสะอาด ไปพบแพทยเปนประจํา มีการพักผอนอยาง
เพียงพอเลอื กรบั ประทานอาหารทีม่ คี ุณคา มปี ระโยชนตอรา งกาย เพื่อทําใหสุขภาพแข็งแรง รวมทั้ง
ดูแลคนในครอบครวั ดว ยตอ งการใหคนในครอบครวั ปราศจากโรคภัยไขเ จบ็ ตองการมีชีวติ ท่ยี นื ยาว มี
รา งกายทีแ่ ข็งแรงและสมบรู ณ ชอบพักผอ นอยูกบั บาน และทานอาหารในบา นเพราะเนน ความสะอาด
ชอบดหู นงั ฟง เพลงอยูใ นบา น

สินคา ที่นยิ มบริโภค ไดแ ก
1. อาหารมงั สวริ ัติ
2. อาหารเสรมิ
3. นมทีม่ แี คลเซียม เพื่อเสริมสรา งกระดูก
4. นมพรอ งมันเนย, โยเกิรต
5. วิตามินตา งๆ เชน วิตามินซ,ี วติ ามินบี ฯลฯ
6. ผกั ปลอดสารพษิ
7. ดื่มน้ําผลไม
8. ดม่ื นํ้าแร
9. โสมเกาหล,ี เหด็ หลินจอื
10. ไกตนุ ยาจีน, ไกด าํ
11. ยารักษาโรค (จากแพทยสงั่ )
ผลกระทบกบั คานิยมแบบนี้
เปน คา นิยมทด่ี ีนาจะมีการสนับสนนุ เพราะจะทาํ ใหคนมสี ขุ ภาพดขี ึ้น เพือ่ ชวี ติ ความ

87

เปน อยใู นครอบครวั ดีข้ึน และทาํ ใหครอบครวั มคี วามสุขมากขน้ึ
บุคคลที่มีคา นิยมแบบนี้
เปน บคุ คลทมี่ ีฐานะในระดับ B ข้นึ ไป และเปน ผูด ูแลเอาใจใสตอสขุ ภาพ
กลุมเปาหมาย เปนกลมุ วยั กลางคนท่ีเนนดูแลสุขภาพใหแข็งแรงปลอดจากโรคภัย

ไขเจ็บ

3. คา นยิ มรักความสนกุ
จดุ เดนทเ่ี ปน นสิ ัยของคนไทย
เปนบุคคลที่รักความสนุก มีความร่ืนเริงอยูตลอดเวลา ชอบ ENTERTAIN ชอบ

สงั สรรคไมวา จะเปนเทศกาลใดกต็ าม
สวนทีเ่ กย่ี วขอ งกับพฤตกิ รรมการบริโภค
ลักษณะของพฤติกรรมบุคคลจะเปนบุคคลท่ีรักสนุก ชอบความรื่นเริง มีความ

สังสรรคในหมูญาติพี่นอง เพื่อนฝูงอยูตลอดเวลา ไมวาจะเปนการจัดปารตี้ทุกสิ้นเดือน หรือเปน
เทศกาลตาง ๆ เชน วันขนึ้ ปใหม, วันตรษุ จีน, วันสงกรานต ฯลฯ ทุกเทศกาลก็จะมีความสนุกสนาน
ตลอดเวลา

สนิ คา ทนี่ ิยมบริโภค ไดแก
1. รบั ประทานอาหารทกุ ชนดิ เชน อาหารกับแกลม อาจทําทานเอง หรือไป

ทานนอกบาน
2. เครอื่ งดื่มทกุ ชนิด เชน นาํ้ อดั ลม
3. ผลไมต าง ๆ (ผลไมไทยและผลไมนาํ เขา)
4. ขนมขบเค้ยี วตา ง ๆ
5. ดม่ื สุรา (ผลิตในประเทศไทยและนําเขา จากตา งประเทศ)
6. ชอบรอ งเพลง KARAOKE (อาจจะรอ งเพลงอยูในบาน หรอื ตาม

สถานเริงรมยตา ง ๆ)
7. ชอบดูภาพยนตร
8. ชอบไปรบั ประทานอาหาร และฟงเพลงตามโรงแรม, หองอาหารตา ง ๆ

และตามคาเฟ
9. ชอบไปเทีย่ วตามสถานที่ในตา งจงั หวัด เชน ไปนํ้าตก, ภเู ขา และทะเ

ผลกระทบกับคานิยมแบบน้ี
บคุ คลที่มคี านยิ มแบบนีอ้ ยา งนอ ยก็นาจะสนับสนุน เพราะทําใหเกิดสภาพคลองทาง
การเงนิ ทําใหเ งนิ ทองไมไ หลออกนอกประเทศ มกี ารใชจ ายภายในประเทศ ซ่งึ เปนการกระจายรายได

88

ไปยงั สถานทอ งเท่ียวตางๆ ภายในประเทศไดเปน อยางดี ทาํ ใหมีการจบั จา ยใชสอยและเปนการสราง
รายไดใหกับชุมชนตางๆ และแหลงทองเที่ยวตางๆ ทําใหคนมีอาชีพมากข้ึนซ่ึงจะทําใหเกิดการ
หมนุ เวยี นทางดา นการเงินอาจสงผลใหภ าวะทางเศรษฐกิจในประเทศดีขึ้น

4. คา นิยมบริโภคนยิ ม
จุดเดน ทเ่ี ปนนสิ ัยของคนไทย
เปนบคุ คลที่มีนิสัยชอบบรโิ ภคเปน หลกั ซงึ่ ไมไ ดคาํ นงึ ถงึ คุณภาพ
สว นทเี่ กย่ี วขอ งกบั พฤตกิ รรมการบรโิ ภค
ลักษณะพฤติกรรมการบริโภคชอบรับประทานอาหารนอกบาน พยายามสรรหา

รานอาหารทีอ่ รอ ยๆ ไมวา จะอยูใกลหรือไกล ถา ข้ึนช่ือในระดับ เชลลชวนชิม, แมชอยนางรํา และ
ไมล องไมร ู ซึ่งมใี บรับประกัน ชอบที่จะไปทดลองชมิ ดวู าอรอ ยสมช่ือหรือเปลา ชอบรานอาหารที่มี
ลกั ษณะสะอาด มคี วามสะดวกสบาย มที จ่ี อดรถสะดวก บางครั้งบรโิ ภคมากจนเกินความจําเปนและ
มผี ลตอ สขุ ภาพ ทาํ ใหเ กดิ โรคตางๆ ไดงาย เชน โรคไขมันอุดตัน โรคเบาหวาน ความดัน อาหาร
ไมยอยอาหารเปนพิษ ฯลฯ

สินคา ที่นยิ มบริโภค ไดแก
1. อาหารทกุ ชนดิ เชน รา นอาหารดังๆ
2. อาหาร fast food เชน KFC, McDonald
3. รา นอาหารญ่ปี ุน เชน Oishi, ฟูจิ
4. รานไอศกรมี เชน Swensens
5. ขนมขบเค้ยี วตางๆ
6. เครือ่ งดื่มทกุ ชนิด
7. สรุ ายีห่ อตางๆ
ผลกระทบกับคา นิยมแบบน้ี
บุคคลท่ีมีคา นยิ มแบบน้ี อาจจะปนทอนสุขภาพได เพราะไมไดระมัดระวังในเร่ือง
ของการรับประทานอาหาร ควรจะมกี ารปรบั ปรงุ แกไขเพ่ือใหมีสุขภาพแข็งแรง และมีชีวิตท่ียืนยาว
ได ผูที่มีคานิยมบริโภคแบบนี้ ถาเปนผูสูงอายุจะทําใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ เชน มักจะพบกับ
โรคภยั ไขเ จ็บตางๆ และมักจะมอี ายุสน้ั

เรื่องที่ 4 ปญ หาสุขภาพท่เี กิดจากการบรโิ ภคอาหารไมถ ูกหลกั โภชนาการ

ปจจุบันการดําเนินชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะในเขตเมือง เปนไปอยางเรงรีบ ทําใหการ
บรโิ ภคอาหาร ก็เนน อาหารตามทีร่ ับประทานไดสะดวกรวดเร็ว เชน อาหารฟาสตฟูด (Fast Food) ทํา
ใหเ กิดปญ หาโรคอว น และโรคอนื่ ๆอีกมาก ดงั นัน้ จึงควรทาํ ความเขาใจถึงองคป ระกอบสําคญั ดงั น้ี

89

1) อาหาร (Food) หมายถึงสิ่งที่เรากินไดและมีประโยชนตอรางกาย ส่ิงที่กินไดแตไมเปน
ประโยชนหรือใหโ ทษแกร า งกาย อาทิ สุรา เห็ดเมา เรากไ็ มเ รยี กส่งิ นน้ั วา เปน อาหาร

2) โภชนาการ (Nutrition) มีความหมายกวางมากกวาอาหาร โภชนาการ หมายถึง เรื่องตางๆ
ที่วาดวยอาหาร อาทิ การจัดแบงประเภทสารอาหาร ประโยชนของอาหาร การยอยอาหาร โรคขาด
สารอาหาร เปน ตน โภชนาการเปนวิชาสาขาหน่ึงซึ่งมีลักษณะเปน วิทยาศาสตรประยุกต ที่กลา วถงึ การ
เปลี่ยนแปลงตางๆของอาหารที่เรารับประทานเขาไปเพื่อใชประโยชนในดานการเจริญเติบโตและ
ซอมแซมสวนตา งๆของรางกาย

3) สารอาหาร ( Nutrient) หมายถึง สารเคมีที่เปนสวนประกอบสําคัญในอาหาร สารเคมี
เหลาน้มี ีความสาํ คญั และจําเปน ตอ รา งกาย อาทิ เปนตัวทําใหเกิดพลังงานและความอบอุนตอรางกาย
ชวยในการเจรญิ เตบิ โต ชวยซอ มแซมสว นท่สี กึ หรอทาํ ใหร า งกายทาํ งานไดตามปกติ เม่ือนําอาหารมา
วเิ คราะหจ ะพบวา มีสารประกอบอยูมากมายหลายชนดิ ถา แยกโดยอาศัยหลักคุณคาทางโภชนาการจะ
แบงออกเปน 6 ประเภท ไดแ กโปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมนั วติ ามิน เกลือแร และน้าํ

4) พลงั งานและแคลอรี่
ไขมัน คารโบไฮเดรต และโปรตีน ใหประโยชนแกรางกายหลายอยางที่สําคัญคือ การใช
พลงั งานแกรา งกาย พลังงานในทน่ี ้หี มายถึงพลงั งานทรี่ า งกายจาํ เปน ตองมี ตอ งใชและสะสมไว เพ่ือใช
ในการทํางานของอวัยวะทั้งภายในและภายนอกรา งกาย
นักวิทยาศาสตรวัดปริมาณของพลังงานหรือกําลังงานที่ไดจากอาหารเปนหนวยความรอน
เรยี กวาแคลอร่ี โดยกําหนดวา 1 แคลอรี่ เทา กบั ปริมาณความรอ นท่ที าํ ใหนํา้ 1 กรัม มีอุณหภูมิสูงข้ึน 1
องศาเซลเซียส แตในทางโภชนาการพลังงานท่ีไดรับจากการอาหารท่ีกินเขาไป 1 แคลอรี่ (ใหญ)
เทากบั ปริมาณ ความรอ น ท่ีทาํ ใหน้ํา 1 กิโลกรัม มอี ุณหภูมสิ ูงขน้ึ 1 องศาเซลเซียส
5) อาหารหลกั 5 หมู อาหารเปน สง่ิ จาํ เปนยง่ิ สําหรับการเจรญิ เติบโต การบํารุงเลี้ยงสวนตางๆ
ของรา งกาย มักพบวาบางคนเลอื กท่ีจะกินและไมก ินอาหารอยางหนึ่งอยางใด ซ่ึงเปนการกระทําท่ีไม
ถูกตอง หากไมกินอาหารตามความตองการของรางกาย การกินอาหารตองคํานึงถึงคุณคาของ
สารอาหารมากกวา ความชอบหรอื ไมช อบ การเลือกกินหรอื ไมกินอาหารเกิดจากสาเหตุหลายประการ
ดงั น้ี
ความคุนเคย เราจะเลือกอาหารที่เราคนุ เคยหรอื กินอยเู ปนประจํา และจะไมเลือกกินอะไรท่ีไม
คนุ เคยดงั นั้นจึงมีอาหารอีกหลายอยางท่เี รายังไมเคยกิน ซง่ึ อาจจะอรอ ยถูกปากก็ได
รสชาติ หรือความ “อรอย” เปนเหตุผลท่ีคนเราเลือกอาหาร ความอรอยของแตละคนจะไม
เหมอื นกัน อาหารอยา งหนึ่งบางคนจะบอกวา อรอ ยแตบ างคนจะเฉยๆ หรอื ไมอรอ ย
ลักษณะเฉพาะของเน้ืออาหาร อาทิ บางคนชอบอาหารกรอบ อาหารนุม บางคนชอบเคี้ยว
อาหารพวกเนอื้ ทเี่ หนียวๆ เปน ตน

90

ทศั นะคติ ของคนไทยครอบครวั หรอื เพ่ือนจะมีอิทธิพลตอความชอบไมชอบอาหารของทาน
อาทใิ นครอบครวั ทพ่ี อ ไมกินตนหอมหรือผักชีเลย ไปกินอาหารท่ีไหนก็จะเขี่ยตนหอมผักชีออกจาก
จานทุกครัง้ ลกู ๆก็จะเลยี นแบบกลายเปนไมชอบไปดวย

ดังน้ันเพื่อสุขภาพเราจึงควรลองกินอาหารท่ีไมเคยกินทีละอยางสองอยางโดยคํานึงถึง
ประโยชนข องมนั มากกวา เมอ่ื ไดล องกินแลวอาจะพบวา จริงๆ แลวมันก็อรอยไมแพอาหารจานโปรด
และไมเ กิดปญหาสุขภาพที่เกิดจากการบริโภคอาหารไมถ กู หลกั โภชนาการดวย

ปญ หาจากการบรโิ ภคอาหารไมถกู หลักโภชนาการไดแก
- ภาวะทุพโภชนาการ
- ภาวะโภชนาการเกิน (โรคอว น)
ภาวะทพุ โภชนาการ (Malnutrition)
ภาวะทุพโภชนาการ หมายถงึ ภาวะที่รางกายไดรับสารอาหารผดิ เบ่ยี งเบนไปจากปกติ อาจเกดิ
จากไดรับสารอาหารนอ ยกวา ปกตหิ รือเหตุ ทตุ ิยภูมิ คอื เหตเุ นอื่ งจากความบกพรองตางจากการกินการ
ยอยการดดู ซมึ ในระยะ 2-3 ปแรกของชีวิต จะมีผลกระทบตอระดับสติปญญา และการเรียนภายหลัง
เนอ่ื งจากเปน ระยะท่มี ีการเจรญิ เตบิ โตของสมองสงู สุด ซงึ่ ระยะเวลาที่วิกฤติตอพัฒนาการทางรางกาย
ของวัยเด็กมากที่สุดน้ันตรงกับชวง 3 เดือนหลังการต้ังครรภจนถึงอายุ 18-24 เดือนหลังคลอด เปน
ระยะทมี่ ีการปลอกหมุ เสนประสาทของระบบประสาท และมีการแบงตวั ของเซลล
ประสาทมากท่ีสดุ เมอื่ อายุ 3 ป มีผลกระทบตอการเจริญเติบโต ถึงรอยละ 80 สําหรับผลกระทบทาง
รางกายภายนอกท่ีมองเห็นไดคือเด็กมีรูปรางเตี้ย เล็ก ซุบผอม ผิวหนังเหี่ยวยนเน่ืองจากไขมันช้ัน
ผิวหนงั นอกจากน้อี อวัยวะภายในตางๆ กไ็ ดรบั ผลกระทบเชน กนั
1. หวั ใจ จะพบวา กลามเนอ้ื หวั ใจไมแ นน หนา และการบบี ตวั ไมดี
2. ตับ จะพบไขมันแทรกอยูในตับ เซลลเน้ือตับมีลักษณะบางและบวมเปนน้ําสาเหตุให

ทํางานไดไ มดี
3. ไต พบวาเซลลท วั่ ไปมลี กั ษณะบวมนา้ํ และติดสจี าง
4. กลามเนอ้ื พบวา สวนประกอบในเซลลลดลง มีน้าํ เขา แทนท่ี
นอกจากการขาดสารอาหารแลว การไดร ับอาหารเกิน ในรายทอ่ี ว นฉุก็ถือเปน ภาวะทุพโภชนาการเปน
การไดรบั อาหารมากเกินความตองการ พลังงานท่ีมมี ากน้ันไมไดใ ชไป พลงั งานสว นเกินเหลาน้ันก็จะ
แปลงไปเปนคลอเรสเตอรรอลเกาะจับแนนอยูตามสวนตางๆของรางกาย และอาจลุกลามเขาสูเสน
เลอื ด ผลทต่ี ามมาก็คอื โรคอว น โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ และโรคตา งๆ
การประเมนิ สภาวะโภชนาการ
1. ประวตั ิ ทีน่ ําเดก็ มาจากโรงพยาบาลเพ่ือหาสาเหตุชกั นําใหเ กิดภาวะขาดสารอาหาร
2. การตรวจรางกาย เพือ่ หารอ งรอยการผดิ ปกตซิ ่งึ เกดิ จากการขาดสารอาหารและวิตามิน

91

การตรวจรางกาย เพือ่ ประเมินสภาวะโภชนาการของเด็กแบง ไดเปน 2 ตอน คอื การตรวจรา งกายท่ัวไป
กบั การตรวจโดยการวัดความเจรญิ ทางรางกาย

การตรวจรางกายทวั่ ไปโดยแพทย จะเปน แนวทางชว ยประเมินสภาวะของเดก็ และเปน
แนวทางวินจิ ฉยั การขาดสารอาหารและวิตามนิ

การตรวจโดยการวัดความเจริญทางรางกาย เปนการวัดขนาดทางรางกายคือ สวนสูง
และนํา้ หนกั เพ่อื บอกถงึ โภชนาการของเดก็

ภาวะโภชนาการเกิน
เมอ่ื คนเราบริโภคอาหารชนดิ ใด ชนิดหน่ึง เกินความตองการของรางกาย จะทําใหเกิดภาวะ

โภชนาการเกินจนเกดิ โรคได และโรคทีเ่ กดิ จากภาวะโภชนาการเกิน เปนสาเหตุของการสูญเสียชีวิต
เปนจํานวนไมนอย และเปนตนเหตุของการเจ็บปวยที่ตองเสียคาใชจายในการรักษายาวนานเชน
โรคหวั ใจและหลอดเลือด ตลอดจนโรคอวน เปนตน

โรคหวั ใจและหลอดเลือด (Cardiovascular Disease)
โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด เปนสาเหตกุ ารตายทสี่ ําคัญในลาํ ดับตน ๆ ของประชาชนไทยมาโดย

ตลอด โรคดังกลาวเปนการเปล่ียนแปลงทางอายุรศาสตรที่เก่ียวของกับหัวใจและหลอดเลือด ซ่ึงจะ
หมายรวมถึงโรคตางๆ และภาวะอาการของโรค เชน โรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary heart disease)
ภาวะหลอดเลอื ดหัวใจแขง็ (Arteriosclerosis) และอาการความดนั เลือดสงู (Hypertension) เปนตน โรค
ที่สาํ คญั ในกลุม น้ีคอื โรคหลอดเลอื ดหวั ใจหรือโรคหลอดเลือดหวั ใจตีบ ซงึ่ จดั วาเปน โรคที่เปนสาเหตุ
ของการปว ย และการตายที่สูงของประชาชนชาวไทยในปจ จุบัน

โรคหลอดเลอื ดหัวใจ
โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ เปน โรคชนิดหนึง่ ที่เกดิ จากหลอดเลือดแดงหวั ใจแข็ง ตีบ ตนั ขาดความ
ยืดหยนุ หลอดเลือดหัวใจตีบหรือตนั หรือเกิดจากล่มิ เลอื ดอดุ ตันหลอดเลือดหัวใจ จนทําใหกลามเน้ือ
หัวใจขาดเลอื ด หรอื ทาํ ใหกลา มเน้อื หัวใจตาย โรคนี้เปนสาเหตุสําคัญของอัตราการปวยการตาย ของ
คนไทยในปจจบุ ัน และมีแนวโนม จะเพมิ่ มากขน้ึ ในอนาคต
สาเหตุ
1. กรรมพนั ธุ ผูที่พอแม ปยู า ตายาย ปวยเปน โรคหลอดเลอื ดหัวใจจะมคี วามเส่ยี งมากกวา
ไขมนั ในหลอดเลอื ด ถาสูงกวา ปกติจะทาํ ใหห ลอดเลอื ดแข็ง เส่ียงตอการเปน โรคหลอดเลือดหัวใจ
2. ความดันเลอื ดสูง
3. เบาหวาน ผทู เี่ ปนเบาหวานมกั จะเปน โรคหลอดเลอื ดหัวใจดว ย
4. ความอวน ความอว นกับโรคหลอดเลือดหัวใจ มักจะเกิดข้ึนดวยกันเสมอ โดยเฉพาะคน

อวนทพ่ี งุ มกั จะมีไขมนั ในเลอื ดสูงจนเปน โรคหลอดเลือดหัวใจดวย

92

5. ออกกําลังกายนอยหรือขาดการออกกําลังกาย การไหลเวียนเลือดไมคลองพอ การเผา
ผลาญพลงั งานนอย ทาํ ใหส ะสมไขมนั จนกลายเปนโรค

6. ความเครียด และความกดดนั ในชีวิต อาจสงผลทําใหเ ปน โรคนไี้ ด
7. การสบู บุหร่ี สารนิโคตินและทารจ ากควันบุหร่มี ผี ลตอ การเกดิ โรคนี้
นอกจากสาเหตทุ ี่สาํ คญั ดังกลาว ซ่ึงจดั วาเปน ปจจัยทส่ี ามารถเปลี่ยนแปลงได อาจมีปจจัยเส่ียง
อ่ืน ๆ ท่ีเปนสาเหตุของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ เชน เพศ อายุ เชื้อชาติ เปนตน จากการศึกษา
พบวา เพศชายเส่ยี งตอการเกดิ โรคนมี้ ากกวา เพศหญิง ยกเวนผูหญิงในวัยหมดประจําเดือนเนื่องจากมี
ระดับฮอรโ มนเอสโตรเจนลดลง มไี ขมนั ในเลือดสูง สําหรบั อายุพบวามีอัตราการเกิดโรคนี้สูงมากใน
ผสู ูงอายุ และเชอ้ื ชาติพบวา ในคนผิวดํามีอตั ราการเกิดโรคนมี้ ากกวาคนผิวขาว

อาการ
1. เจบ็ หนา อกเปนๆ หายๆ หรือเจบ็ เมือ่ เครียด หรอื เหน่อื ย ซง่ึ เปนลักษณะอาการเรม่ิ แรก
2. เจบ็ หนา อกเหมอื นมีอะไรไปบบี รดั เจบ็ ลึกๆ ใตก ระดกู ดา นซา ยราวไปถึงขากรรไกรและ
แขนซา ยถงึ นว้ิ มือซา ย เจบ็ นานประมาณ 15-20 นาที ผูปวยอาจมีเหง่ือออกมาก คล่ืนไสหายใจลําบาก
รูสกึ แนนๆ คลา ยมเี สมหะตดิ คอ บางครั้งมีอาการคัดจมูกคลายเปนหวัด เมอ่ื เปนมากจะมอี าการหนา มืด
คลา ยจะเปน ลม และอาจถึงขั้นเปน ลมได บางครัง้ พอเหน่อื ยกจ็ ะรูสกึ งวงนอนและเผลอหลบั ไดงาย
3. ผปู ว ยมีอาการหวั ใจส่ัน หวั ใจเตนไมสมาํ่ เสมอ
4. ในกรณีทร่ี นุ แรง อาการเจบ็ หนาอกจะรนุ แรงมาก มักจะเกิดจากการที่มีล่ิมเลือดไปอุดตัน
บริเวณหลอดเลอื ดท่ตี บี ทําใหเกิดกลา มเน้ือหวั ใจตาย ผูป ว ยอาจมีอาการหวั ใจวาย ชอ็ ก หัวใจหยุดเตน
ทําใหเ สียชวี ิตอยา งกะทันหันได

การปองกัน
1. หากพบวา บุคคลในครอบครวั มปี ระวัติเปนโรคน้ี ควรเพ่ิมความระมัดและหลีกเล่ียงจาก
ปจจัยเส่ยี ง เพราะอาจกระตนุ การเกดิ โรค
2. ลดอาหารทีท่ าํ จากน้ํามันสตั ว กะทิจากมะพราว น้าํ มนั ปาลม และไขแดง
3. ไมควรรบั ประทานอาหารทมี่ รี สเค็มจดั
4. ลดอาหารจาํ พวกแปง คารโบไฮเดรต รบั ประทานอาหารพวกผกั ผลไมม ากๆ
5. งดอาหารไขมนั จากสัตวแ ละอาหารหวานจัด
6. ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ
7. พกั ผอ นใหเ พยี งพอวนั ละ 6-8 ชัว่ โมง และหาวธิ ผี อ นคลายความเครียด
8. หลกี เล่ียงหรอื งดการสบู บุหรี่


Click to View FlipBook Version