The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียน ทช 21002 สุขศึกษา พลศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tati_palm, 2021-03-10 01:06:59

หนังสือเรียน ทช 21002 สุขศึกษา พลศึกษา

หนังสือเรียน ทช 21002 สุขศึกษา พลศึกษา

93

โรคอวน (Obesity)
โรคอว นเปน สภาวะท่รี า งกายมีไขมนั สะสมตามสว นตา งๆ ของรางกายมากเกนิ กวา เกณฑป กติ
ซงึ่ ตามหลกั สากลกําหนดวาผูชายไมควรมีปริมาณของไขมันในตัวเกินกวา 12-15% ของน้ําหนักตัว
ผูหญิงไมควรมีปริมาณของไขมนั ในตวั เกินกวา 18-20% ของนา้ํ หนักตวั ซ่ึงการตรวจนหี้ ากจะใหไดผ ล
แนน อนควรไดร ับการตรวจจากหองปฏิบัติการ แตน กั เรยี นอาจประเมินวาเปน โรคอวนหรือไมดวยวิธี
งายๆ ดวยวธิ ีตรวจสอบกบั ตารางนาํ้ หนักและสว นสงู ของกรมอนามยั ดงั ตารางท่เี รียนมาแลว
สําหรับในผใู หญอ าจประเมินไดจ าก การหาคาดัชนีมวลกาย (Body Mass Index) ไดจากสูตร
ดงั นี้

BMI = นํ้าหนัก (กโิ ลกรัม)
สวนสงู 2(เมตร)

คาทีไ่ ดอยูระหวาง 18.5-24.9 ถอื วาอยใู นเกณฑป กติ ไมอว นหรือผอมเกินไป
สาเหตุ
1. กรรมพนั ธุ
2. การรับประทานอาหารเกินความตองการของรางกาย และมีพฤติกรรมการรับประทาน

อาหารทีไ่ มดี เชน กนิ จุบจิบ
3. ขาดการออกกําลงั กาย
4. สภาวะทางจติ และอารมณ เชน บางคนเมือ่ เกดิ ความเครียดก็จะหันไปรับประทานอาหาร

มากจนเกนิ ไป
5. ผลขางเคียงจากการไดรับฮอรโมนและการรับประทานยาบางชนิด เชน ยาคุมกําเนิด

ฮอรโ มนสเตยี รอยด เปนตน
อาการ
มไี ขมนั สะสมอยูในรางกายจํานวนมาก ทาํ ใหมรี ปู รา งเปล่ียนแปลงโดยการขยายขนาดขึ้นและ
มีนา้ํ หนักตวั มากขึ้น
การปอ งกนั
1. กรรมพันธุ หากพบวามีประวัติของบุคคลในครอบครัวเปนโรคอวน ควรตองเพิ่มความ
ระมัดระวัง โดยมพี ฤติกรรมสุขภาพในเร่อื งตางๆ ทีเ่ กยี่ วขอ งกบั โรคอว นอยา งเหมาะสม
2. รับประทานอาหารแตพอสมควรโดยเลือกรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน หลีกเล่ียง
อาหารรสหวานและอาหารที่มไี ขมันสงู รับประทานผักและผลไมมากๆ และหลากหลาย

94

3. ออกกาํ ลังกายสมํา่ เสมออยางนอยสปั ดาหล ะ 3 วนั วันละ 30 นาที
4. หาวธิ กี ารควบคมุ และจดั การความเครยี ดอยางเหมาะสม พักผอ นใหเ พียงพอ
5. การใชย าบางชนดิ ท่ีอาจมผี ลขางเคยี ง ควรปรึกษาแพทย และใชยาตามที่แพทยแนะนําอยาง
เครง ครัด
การดแู ลสขุ ภาพและมีพฤติกรรมบริโภคทถ่ี กู ตอ ง “ไมตามใจปากและไมต ามใจอยาก”
โรคอว นกอ็ าจไมมาเยือน การลดความอว นกไ็ มจ าํ เปน

95

บทที่ 5
โรคระบาด

สาระสําคญั
การมีความรคู วามเขา ใจเกยี่ วกับสาเหตุ อาการ การปองกัน และการรักษาโรคตดิ ตอ ท่ี

แพรระบาดและเปนปญหาตอสุขภาพของประชาชนในชุมชน จะชวยใหรูวิธีปองกันตนเองและ
ครอบครวั และรวมมอื ปอ งกนั การแพรก ระจายเช้อื โรคไปสูบุคคลอื่น อันจะเปนแนวทางสาธารณสุข
ของประเทศได

ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง
เพื่อใหผูเ รยี นสามารถ
1. บอกความหมาย ความสาํ คญั และการแพรก ระจายของเชื้อโรคได
2. อธบิ ายสาเหตุ อาการ การปอ งกนั และการรกั ษาโรคตดิ ตอทแี่ พรร ะบาดและเปน

ปญหาสาธารณสุขได

ขอบขายเนอ้ื หา
เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และการแพรกระจายของเช้อื โรค
เรอ่ื งท่ี 2 โรคท่เี ปนปญหาสาธารณสุขของประเทศ

96

เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และการแพรกระจายของเช้ือโรค

ความหมายและความสาํ คญั
โรคติดตอ จดั เปน ปญหาสาธารณสขุ ทีส่ ําคญั ของประเทศ เมอ่ื เกิดการระบาดจะนํามาซึ่งความ

สญู เสียสขุ ภาพ ชวี ติ และมีผลกระทบตอ เศรษฐกจิ ของประเทศอยางมาก เพราะขณะเจ็บปวยบุคคลนั้น
ไมสามารถเรียนหรอื ทํางานไดต ามปกติ ซ่ึงจะทาํ ใหเ สยี การเรยี นและรายไดตามทีเ่ คยไดรับ นอกจากนี้
ในขณะเจ็บปว ยกจ็ ะเปน ภาระของบคุ คลใกลชิดหรือคนในครอบครวั ในการดูแลผูปวย รวมท้ังเสียเงิน
ในการรักษาพยาบาล ซึ่งในระดับชาติ ประเทศชาติตองเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผูปวย คา
เวชภัณฑ คาบคุ ลากร รวมถงึ ตอ งสรางอาคารสถานทีใ่ นการดูแลผูปวย ซึ่งเปนการสูญเสียทรัพยากรท่ี
จะสามารถนาํ ไปใชพ ัฒนาประเทศดานอื่น ๆ ได โรคติดตอสวนใหญสามารถปองกันได หากทุกคน
เหน็ ความสําคญั ตระหนักถงึ อนั ตรายของโรคและมีสวนรวมในการปองกันแกไขปญหาโรคติดตอที่
เกดิ ข้ึน

1.1 ความหมายของโรคตดิ ตอ
โรคติดตอ หมายถงึ โรคทีเ่ กดิ จากเชอื้ โรคแลวสามารถติดตอ จากคนไปสูบุคคลอนื่ ได

หรอื อาจตดิ ตอระหวา งคนสูคน หรือสัตวสูคนได หรือติดตอระหวางสัตวดวยกันเองได โดยมีพาหะ
เชน คน สตั ว หรอื มตี ัวกลางนําเชอ้ื โรค เปนตน

โรคระบาดเปนโรคติดตอที่แพรกระจายไปยังคนอ่ืน ๆ ไดรวดเร็ว บางโรคตองใช
เวลาในการรักษาเปนเวลายาวนานและใชวิธีรักษาท่ีซับซอน ส้ินเปล้ืองคาใชจายในการรักษาเปน
จํานวนมาก โดยโรคท่เี ปนสาเหตุของการเจ็บปวยและเสียชีวิตท่ีนับวาสําคัญ ไดแก ไขมาลาเรีย โรค
ไขห วัดนก โรคซารส โรคอหิวาตกโรค และโรคไขหวดั ใหญส ายพนั ธุใหม 2009

ลกั ษณะของโรคตดิ ตอ
1. เช้ือโรคสามารถแพรกระจายไปยังบุคคลอื่นไดอ ยางรวดเรว็
2. การแพรกระจายของโรคมักเกิดจากพฤติกรรมของบุคคลหรือปญหาสุขาภิบาล
สง่ิ แวดลอ ม
3. มอี ัตราการเจ็บปวยคอ นขา งสูงและโอกาสท่จี ะเกิดโรคเปนไดท กุ เพศทุกวยั

โรคตดิ ตอทค่ี วรทราบและตอ งแจง ความ
โรคตดิ ตอ ที่ควรทราบมี 14 โรค ไดแ ก ไขทรพษิ กาฬโรค ไขเหลอื ง โรคอหิวาตกโรค
โรคบาดทะยักในเด็กเกิดใหม โรคคอตีบ โรคโปลิโอ โรคพิษสุนัขบา โรคไขสมองอักเสบ ไขรากสาด
ใหญ โรคแอนแทรกซ โรคทรคิ ิโนซีส โรคไขกาฬหลงั แอน โรคคดุ ทะราดระยะตดิ ตอ

97

1.2 ชนิดของเชือ้ โรค
เชื้อโรคทต่ี ดิ ตอ ไดแ บง ออกเปน 5 ชนดิ คือ แบคทเี รยี ไวร ัส รกิ เกตเซีย รา ปรสติ
แบคทีเรีย จัดอยใู นจําพวกพชื เซลลเ ดียว มีขนาดเล็กมากตอ งใชก ลองจุลทรรศนขยาย

จงึ จะมองเหน็ ได สามารถดํารงชีวติ อยูไ ดในสภาวะแวดลอมแทบทกุ อยา ง
ไวรัส ไมสามารถมองเห็นดว ยตาเปลา ตอ งดดู วยกลองจุลทรรศนชนิดพิเศษ เช้ือไวรัส

จะมีอยทู ่วั ไปในอากาศโรคที่เกิดจากเชือ้ ไวรัสมหี ลายโรค เชน ไขห วดั หดั ไขท รพิษ คางทมู ไขเลือดออก
อีสกุ อีใส เปน ตน

รกิ เกตเซีย มีขนาดเล็กกวา แบคทเี รีย สามารถมองเห็นดวยกลองจุลทรรศนมักอาศัยอยู
รวมกับส่งิ มชี ีวิตอื่น ๆ เชน เห็บ หมดั เหา พยาธิไสเดือน เปนตน โรคทีเกิดจากเช้ือโรคชนิดนี้ไดแก ไข
รากสาดใหญ

รา เปน เชอ้ื โรคทจ่ี ดั อยใู นจาํ พวกพชื สามารถมองเห็นไดดวยกลองจลุ ทรรศน เชน ยีสต
สามารถนาํ มาใชใ นการทาํ ขนมปง แตสวนใหญท ําใหเ กดิ โรคผิวหนงั ตาง ๆ เชน กลาก เกลื้อน นํ้ากัดเทา

ปรสิต จดั อยูในจําพวกสัตว มีขนาดใหญกวาชนิดอ่ืน ๆ มีท้ังพวกเซลลเดียวและพวก
หลายเซลล เชน เชอ้ื บิด พยาธิใบไม พยาธปิ ากขอ พยาธติ วั ตืด

1.3 การแพรกระจายของเชอ้ื โรค มี 2 ลกั ษณะคือ
1. การสัมผัสโดยตรง หมายถึง การแพรจากแหลงหน่ึงไปยังแหลงหน่ึง โดยไมมี

พาหะเปน ตวั นํา สมั ผสั โดยตรงจากผปู ว ย หรือนา้ํ ลาย น้าํ เหลือง หนอง เลอื ด เช้ือโรคเขาสูรางกายแลว
ทาํ ใหเ กดิ โรคได

2. การสัมผัสทางออม หมายถึง การแพรโดยมีพาหะเปนตัวนํา เชน หากเชื้อโรค
ปะปนอยูในนํา้ อาหาร เมื่อเรารบั ประทานอาหาร ดมื่ น้ํา หรอื ยุงกัด เช้ือโรคก็จะเขาสูรางกายได

การเขาสรู างกายของเชือ้ โรค
การเขาสูรา งกายของเชื้อโรคสามารถเขา สรู า งกายได 6 ทางดวยกัน คอื
1. ระบบทางเดินหายใจ เมอ่ื เราหายใจเอาเช้ือโรคท่ีลอยอยใู นอากาศเขาสูร า งกายทํา
ใหเกิดโรคได เชน ปอดบวม ไขหวัด ไขหวัดใหญ วัณโรค เปนตน เม่ือไอหรือจามควรปดปาก ปด
จมูก นอกจากนีก้ ารบว นนา้ํ ลายหรือเสมหะสามารถทาํ ใหเชื้อโรคแพรกระจายเขา สูร า งกายได
2. ระบบทางเดินอาหาร เชื้อโรคบางชนิดอาศัยอยูในนํ้าและอาหาร เมื่อเรา
รบั ประทานนํ้าหรืออาหารท่ีมีเช้ือโรคเขาไปเช้ือโรคจะปนเปอนเขาสูรางกายทําใหเกิดโรคติดตอได
เชน อหิวาตกโรค บิด อุจจาระรว ง
3. ผวิ หนงั เช้อื โรคบางชนดิ สามารถเขาสูรา งกายโดยผา นผิวหนังไดโ ดยวิธีการตาง
ๆ เชน

98

1) จากการรบั เลือดหรือฉีดยา เชน โรคเอดส โรคตับอักเสบชนิดบี
2) โดยการสมั ผสั เชน โรคกลาก โรคเกลอื้ น
3) ถกู สัตวห รือแมลงกดั เชน ไขเลอื ดออก ไขม าลาเรีย
4) เขาทางรอยขดี ขว นหรือบาดแผล เชน บาดทะยัก
5) โดยการไชทะลผุ า นทางผิวหนัง เชน พยาธปิ ากขอ
4. ทางเพศสัมพนั ธ ติดตอ โดยการรวมประเวณกี ับผูปวยทําใหติดโรคได เชน โรค
เอดส กามโรค
5. ทางสายสะดือ โรคท่ีติดตอไดทางสายสะดือโดยติดตอจากมารดาสูลูกที่อยูใน
ครรภ คือ ซิฟล สิ หดั เยอรมนั
6. ทางเยื่อบุตาง ๆ เชอ้ื โรคบางชนดิ สามารถเขา สูทางเย่อื บตุ าง ๆ ได เชน เยื่อบุปาก
เยื่อบุตา ทําใหเกิดโรคเชอื้ ราในชอ งปาก โรคตาแดง

เร่ืองที่ 2 โรคทเ่ี ปน ปญหาสาธารณสุขของประเทศ

ปจจุบันมีโรคติดตอท่ีแพรระบาดจากคนสูคน และจากสัตวสูคน ซ่ึงทําใหเกิดการ
เจ็บปว ยและเสยี ชวี ติ แกป ระชาชนจํานวนมาก โดยมกี ารแพรกระจายเชื้อโรคอยางรวดเร็ว จากชุมชน
ไปสูเมือง และจากเมืองแพรกระจายไปยังประเทศตาง ๆ เน่ืองจากการเดินทางติดตอระหวางกัน
สามารถทําไดง ายและสะดวกรวดเร็ว ทาํ ใหการแพรก ระจายโรคเปนไปอยางรวดเร็วดวยเชนกัน โรค
ระบาดซ่งึ เปนปญ หาสาธารณสุขสําคัญของประเทศในปจจุบันไดแก โรคซารส โรคไขหวัดนก โรค
มาลาเรยี โรคอหวิ าตกโรค โรคชคิ นุ กุนยา โรคไขห วัดใหญและไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 เปน
ตน

โรคซารส
โรคซารส เกิดขึ้นคร้ังแรกในประเทศจีน เมื่อเดือนพฤศจิกายน ป พ.ศ. 2545 (ค.ศ.

2002) และเร่มิ แพรร ะบาดไปทั่วโลกในตนป พ.ศ. 2546 (ค.ศ.2003) องคก ารอนามยั โลก (WHO) ไดร ับ
รายงานเกย่ี วกบั ผูทีส่ งสยั วา จะปวยเปนโรคซารสมากกวา 2500 ราย จากเกอื บ 20 ประเทศทั่วโลก โดย
ผูปวย สวนใหญเปนผูท่ีเคยเดินทางไปยังพ้ืนท่ีที่มีการระบาดของโรคในชวง 10 วัน กอนเร่ิมแสดง
อาการ และเปนผูที่อยใู กลช ิดกบั ผูที่สงสยั วาจะปวยเปนโรคซารส จํานวนผูเสียชีวิตทั้งหมดท่ีรายงาน
ท่ัวโลกในเดือนเมษายน ป 2546 มมี ากกวา 100 ราย

เชื้อไวรัสซารส หองปฏิบัติการขององคการอนามัยโลก (WHO) ไดตรวจพบเชื้อ
ไวรัสชนิดใหมในผูปวยโรคซารส เรียกวา เชื้อโคโรนาไวรัส เช้ือไวรัสซารสมีการกลายพันธุไดเร็ว

99

ปจ จุบนั พบวา มอี ยา งนอ ย 19 สายพนั ธุ เช้ือทก่ี ลายพันธุอาจมีการกออันตรายรุนแรงข้ึนหรืออาจออน
ตวั ลง แตส ามารถอยใู นคนเราไดยาวนาน

ระยะฟกตัว องคก ารอนามยั โลกกําหนดระยะฟกตัวของเชื้อไวรัสซารสอยูในระยะ
2-7 วัน ไมเ กิน 10 วนั จึงมีการกักบรเิ วณผตู ดิ เชอื้ เพอ่ื เฝาดอู าการเปนระยะเวลา 10-14 วนั

อาการ อาการสําคัญของผูปวยโรคซารส ไดแก มีไขตัวรอน หนาวส่ัน ปวดเม่ือย
กลามเนอ้ื ไอ ปวดศรี ษะ และหายใจลําบาก สวนอาการอ่ืนท่ีอาจพบไดมีทองเดิน ไอมีเสมหะ นํ้ามูก
ไหล คลื่นไสอ าเจียนผูป วยท่ีสงสยั วา จะเปนโรคซารส ผูปวยมีอาการปวยเกี่ยวกับโรคทางเดินหายใจ
และสงสยั วาจะเปน โรคซารส ตองมีอาการตามเกณฑท่ี WHO กําหนดไวคือ มีไขสูงเกิน 30 C หรือ
100.4 F และมีอาการไอ หายใจตดิ ขัด และในชวง 10 วนั กอ นมอี าการ เคยไปหรืออาศยั อยูใ นพนื้ ท่ีท่มี ี
การระบาดของโรค หรอื ใกลช ิดกบั ผทู ม่ี อี าการปวยเกยี่ วกับโรคทางเดนิ หายใจซง่ึ เดินทางไปในพ้นื ท่ีท่ี
มีการระบาดของโรค หรือผทู ส่ี งสัยวาจะเปน โรคซารสแมวา ผูปว ยทม่ี ีอาการขางตนและมีอาการคลาย
กบั ปอดบวมหรอื ปอดอักเสบปรากฏในฟล มเอ็กซเรย ก็ไมไดแสดงวาจะตองเปนโรคซารส นอกจาก
ตรวจพบเช้ือไวรสั โคโรนาชนดิ ใหมเทานัน้ จงึ จะสรปุ ไดวาเปน โรคซารส

การแพรกระจายของเชือ้ โรค
เชอื้ โรคซารส ติดตอ ไดท างระบบหายใจ และอาจติดตอทางอาหารการกินไดอีกดวย
เน่ืองจากมีการศกึ ษาพบวา เชือ้ นีม้ ีอยูในนาํ้ เหลอื ง อุจจาระและปสสาวะของผูปวย เม่ืออาการปวยยาง
เขาสปั ดาหท ่ี 3
การปองกนั และรกั ษา
โรคนี้ตดิ ตอไดโดยการสัมผสั ละอองนาํ้ ลาย เสมหะ เขาทางปากและจมูก แตเดิมเช่ือ
วา เชื้อไวรัสโคโรนาจะมีชีวติ อยนู อกรางกายมนษุ ยไ ดไ มเกิน 3 ชว่ั โมง แตจากขอมูลการศึกษาใหม ๆ
พบวา เช้ือนอ้ี ยูไ ดนานกวา 1 วัน โดยเฉพาะในอุจจาระและปสสาวะจะอยูไดน านหลายวัน การปองกัน
ทีด่ ที ่สี ดุ ไดแ ก การลา งมอื การปฏบิ ตั ิตามหลักสขุ อนามัยอยา งเครงครดั และการใสห นากากอนามัย
ในการปองกันโรคซารส นน้ั มขี อ แนะนาํ ดังน้ี
1. รักษาสุขภาพใหแข็งแรงอยูเสมอดวยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน
ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ พกั ผอ นใหเ พยี งพอ พยายามลดความเครียด และไมเสพสารเสพตดิ

100

2. ใชผาปดปากปดจมูกทุกคร้ังเม่ือไอหรือจาม ขณะที่เปนหวัดควรใชหนากาก
อนามยั อยเู สมอ

3. รกั ษาความสะอาดของมอื อยเู สมอ ดว ยการลางมือบอ ย ๆ ดวยนํา้ สบู
4. ไมควรใชม ือขยี้ตา แคะจมูก แคะฟน หากมีความจําเปนตองลางมือใหสะอาดทั้ง
กอ นและหลงั การกระทาํ ดงั กลาว
5. อยาใชผา เช็ดตวั หรอื ผาเช็ดหนา รว มกบั ผูอ ่ืน ถา ใชก ระดาษเช็ดน้ํามูกควรท้ิงในถัง
ขยะมฝี าปด
6. ใชช อ นกลางเมือ่ รับประทานอาหารรวมกับผอู ื่น
7. รักษาความสะอาดของบา นเรอื น ของใชในบาน เชน โทรศัพทควรเช็ดดวยผาชุบ
นาํ้ สะอาดบดิ หมาดหรือแอลกอฮอล
8. เปด ประตหู นา ตางใหอากาศภายในบานถา ยเทไดสะดวก
9. หากมีอาการไข ไอ หรือจาม ควรหลีกเลี่ยงสถานทท่ี ่ีมีคนหนาแนนหรอื การระบาย
อากาศไมดี และควรไปพบแพทยทนั ที
10. ในขณะเดินทางอยูบนรถโดยสารไมค วรอยูใกลช ิดผทู ่เี ปนไข ไอ หรือจาม
11. หลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกลชิดกับผูปวย และผูท่ีเดินทางมาจากประเทศที่มีการ
ระบาด
12. งดหรือหลีกเล่ียงการเดินทางไปตางประเทศ โดยเฉพาะประเทศท่ีมีการแพร
ระบาดของโรคนี้
การรกั ษา สว นใหญจ ะเปนการรักษาตามอาการและใชอุปกรณชวยการหายใจ (ใน
รายทม่ี ีภาวะหายใจลม เหลว) ไดมกี ารทดลองใชเ ซรมุ จากผปู วยทห่ี ายจากโรค ซง่ึ พบวาจะไดผลหากให
เซรมุ ในระยะสัปดาหแรกของโรคในปจ จบุ ันมีการทดลองผลิตยาตา นไวรัสซารสโดยเฉพาะ ซ่ึงอยูใน
ระหวา งการพัฒนาและคาดวาจะสามารถนํามาใชไ ดใ นอนาคตอนั ใกล

โรคไขม าลาเรยี (Malaria)
ไขมาลาเรียหรือไขจับส่ัน เปนโรคติดตอท่ีเกิดจากเช้ือปรสิตจําพวกโปรโตซัว ชื่อ

พลาสโมเดยี ม (Plasmodium) ซึง่ เกดิ จากยงุ กน ปลอ งเปนพาหะนาํ โรคมาสูคน และเปน โรคท่ีมีสถติ กิ าร
ระบาดสงู มาก โดยเฉพาะในภาคใตและในจังหวัดที่เปนปา เขาทีม่ ฝี นตกชุกอยูบอ ย ๆ

สาเหตุ
ยงุ กน ปลองเปน พาหะนาํ โรคเมือ่ ยงุ กดั คนท่เี ปนไขม าลาเรยี แลว ไปกัดคนอนื่ ก็จะแพร
เชือ้ ใหก บั คนอ่นื ๆ ตอไป

101

อาการ
ผูท่ีไดรับเช้ือไขมาลาเรียจะมีอาการวิงเวียนศีรษะ ออนเพลีย มีไขสูง หนาวสั่น
อาเจียน และมีเหงอื่ มาก บางรายทเ่ี ปนชนดิ รุนแรงมีไขสูงข้ึนสมอง อาจมีอาการเพอ ชัก หมดสติหรือ
ตายในทส่ี ดุ บางรายไมตายแตเพอคล่ัง เสยี สติ และความจาํ เส่อื ม
การติดตอ
ติดตอโดยยุงกนปลองตัวเมียไปกัดและกินเลือดคนท่ีเปนไขมาลาเรียแลวไดรับเช้ือ
มาลาเรยี มาจากคนท่เี ปนไข เชือ้ นน้ั จะเจริญในตวั ยงุ ประมาณ 10 วัน กจ็ ะมอี าการไขม าลาเรีย
การปอ งกนั
1. นอนในมุงอยา ใหยงุ กัดได
2. ทําลายแหลงเพาะพนั ธยุ งุ เชน ภาชนะทีม่ ีนํ้าขงั ใหหมดไป
3. เมอื่ เขาปา หรอื แหลงทม่ี ไี ขมาลาเรยี ระบาด ระวงั อยา ใหยงุ กดั โดยใชย ากนั ยงุ ทา
4. ผูอยูในพ้นื ทแ่ี หลงไขมาลาเรยี ระบาดควรปลูกตน ตะไครหอมไวก นั ยุง
5. ถาสงสัยวาเปนไขมาลาเรีย ควรไปรับการตรวจเลือด และรับการรักษาเพ่ือ
ปอ งกนั การแพรต อ ไปยงั ผอู ่นื
การรกั ษามาลาเรยี
เนอื่ งจากในปจจบุ ันพบเชื้อมาลาเรยี ที่ดอ้ื ตอยา และอาจมโี รคแทรกซอ นรา ยแรง (เชน
มาลาเรียขึ้นสมอง) โดยเฉพาะอยา งยิ่งสําหรบั ผูท่ีอยใู นเมือง ซงึ่ ไมม ีภูมิตา นทานโรคน้ี
ดงั นนั้ ถา หากมีอาการนา สงสัย เชน มีไขหลังกลับจากเขตปาเขาหรือเขตมาลาเรีย ก็
ควรรีบไปหาหมอเพ่อื ตรวจหาเช้ือ

โรคไขห วดั นก (Avian Influenza หรอื Bird Flu)
เมอ่ื 20 ปที่ผา นมา ไดเ กดิ โรคระบาดที่เกดิ จากเชอ้ื ไวรัสชนิด H5N1 ท่ีเรียกวาไขหวัด

นกและระบาดไปท่วั โลก
เดิมเช้ือไขหวดั นกเปน เชอื้ ไวรัสโดยธรรมชาติจะติดตอในนกเทานั้น โดยเฉพาะนก

ปา นกเปด นาํ้ จะเปนพาหะของโรค เชื้อจะอยูในลําไสนก โดยที่ตัวนกไมมีอาการ แตเม่ือนกเหลาน้ี
อพยพไปตามแหลง ตาง ๆ ทั่วโลก ก็จะนําเชื้อน้ันไปดวย เม่ือสัตวอ่ืน เชน ไก เปด หมู หรือสัตวเลี้ยง
อ่นื ๆ ไดร ับเชื้อไขห วดั นกกจ็ ะเกิดอาการ 2 แบบ คือ

1. หากไดร ับเชือ้ ชนดิ ไมร นุ แรงสตั วเล้ยี งนั้นอาจจะมีอาการไมม ากและหายไดเ อง
2. หากเชอื้ ที่ไดรับมีอาการรนุ แรงมากกจ็ ะทาํ ใหสตั วเลย้ี งตายไดภายใน 2 วนั
ปจจุบันมีการระบาดของไขหวัดมากกลับมาอีกครั้ง โดยเชื้อโรคไดแพรไปท่ัวโลก
เกดิ การระบาดของเชือ้ ไขหวดั นกชนิด H5N1 ในไกแ ละแพรก ระจายสคู นทําใหม ผี ูเสียชีวติ จาํ นวนมาก
ท่ัวไป จนมกี ารเฝาระวงั โดยหากทราบวา มีไกต ายดวยเชอ้ื ไขหวัดนก จะตองรีบแจงเจาหนาที่รัฐและมี

102

การควบคมุ การแพรเ ชอ้ื โรคดว ยการทําลายไกในพื้นทน่ี น้ั ๆ ทันที เชน การฝงกลบและฉีดพนสารฆา
เชือ้ เพื่อตดั วงจรการแพรระบาดสูคนตอไป

โรคไขห วัดนก เปน โรคติดตอของสัตวปก ตามปกติโรคนี้ตดิ ตอ มายังคนไดไมงา ยนกั
แตค นท่สี ัมผัสใกลช ดิ กับสัตวท่เี ปนโรคอาจติดเชอ้ื ได

สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเอ็ชไฟวเอ็นวัน (H5N1) พบในนก ซึ่งเปนแหลงเชื้อโรคใน
ธรรมชาติ โรคอาจแพรมายังสัตวปกตาง ๆ ได เชน ไกท่ีเล้ียงอยูในฟารม เล้ียงตามบานและไกชน
รวมทงั้ เปดไลทงุ ดว ย
ระยะฟก ตัว
ระยะฟกตัวในคน 1 ถึง 8 วัน
อาการ
ผูปวยมีอาการคลายไขหวัดใหญ ไขสูง หนาวส่ัน ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกลามเน้ือ
ออนเพลยี เจบ็ คอ ไอ ผูปวยเด็กเลก็ ผสู งู อายุ หรือผูที่มโี รคประจําตัว หากมภี มู คิ มุ กันไมดี อาจมีอาการ
รนุ แรงได โดยจะมอี าการหอบ หายใจลาํ บาก เน่ืองจากปอดอักเสบรุนแรง

การตดิ ตอ
โดยการสัมผัสซากสตั วปก ทีป่ วยหรอื ตาย เช้อื ท่ีอยใู นน้ํามูก น้ําลาย และมูลสัตวปวย
อาจตดิ มากบั มือ และเขาสรู า งกายทางเย่ือบขุ องจมูกและตา ผูท เ่ี สี่ยงตอโรคไขห วดั นก ไดแ ก ผทู ่ีทํางาน
ในฟารม สตั วป ก ผูทีฆ่ าหรอื ชาํ แหละสตั วป ก ผเู ลี้ยงสัตวปก ในพน้ื ที่ท่เี กิดโรคไขหวัดนกระบาด

การปองกัน
1. รับประทานอาหารประเภทไกและไขที่ปรุงสุกเทานั้น โดยเฉพาะชวงท่ีมีการ
ระบาด ของโรค
2. ควรเลอื กซือ้ ไกส ดทีไ่ มม ีลกั ษณะบง ชวี้ าอาจตายดวยโรคตดิ เชอ้ื เชน เน้ือมีสีคลํ้ามี
จุดเลือดออก สําหรับไข ควรเลือกฟองที่ไมมีมูลไกติดเปอนท่ีเปลือกไข กอนปรุงควรนํามาลางให
สะอาด
3. ไมเลนคลุกคลีหรือสัมผัสตัวสัตว นาํ้ มูก น้ําลาย มลู ของไกและสตั วป ก โดยเฉพาะ
สัตวท่ีปว ยหรอื ตาย รวมทงั้ บรเิ วณทเ่ี ล้ยี งสัตวป ก ดว ย

103

4. อาบนาํ้ ใหสะอาดและเปลีย่ นเส้ือผาทุกครั้งหลังสัมผัสหรือคลุกคลีกับสัตวปกทุก
ชนิด

5. หามนาํ สัตวป ก ทีป่ ว ยหรอื ตายมารับประทาน หรอื ปรุงเปนอาหารอยา งเด็ดขาด
6. รักษาความสะอาดในบา น ในสถานประกอบการ และบริเวณรอบ ๆ ใหสะอาดอยู
เสมอ
7. กําจดั สัตวท ่ปี วยหรอื ตายผิดปกติ ดวยการเผาหรอื ฝงอยางถูกวิธีและราดดวยนํ้ายา
ฆา เชื้อโรคหรอื โรยดวยปนู ขาว
8. หากพบไก เปด หรือสัตวปกตายจํานวนมากผิดปกติใหรีบแจงเจาหนาที่ ผูนํา
ชุมชน ทนั ที

ผลกระทบเมือ่ มกี ารระบาดของไขหวดั นก
1. เมื่อเกิดการระบาดของไขหวัดนกจากคนสูคน เช้ือจะติดตอโดยการจามหรือไอ

จากนั้นคนท่ไี ดรับเช้ืออาจจะแพรเ ชอื้ โดยทีย่ งั ไมมอี าการ ทาํ ใหเชอื้ ระบาดไปทัว่ โลกไดอยางรวดเร็ว
2. ประมาณวาจะมีประชากรโลกติดเชอ้ื รอ ยละ 25-30 โดยคาดวา จะมคี นเสยี ชวี ิตจาก

การตดิ เชือ้ นี้ประมาณ 2 – 7.4 ลา นคนท่วั โลก ซงึ่ หากเช้อื มีความรุนแรงก็อาจจะมคี นเสียชีวิตมากกวานี้
3. จํานวนเตียงของโรงพยาบาลจะไมเพียงพอ ทําใหขาดบุคลากรดานการ

รกั ษาพยาบาล รวมทัง้ การดแู ลรกั ษาจะไมทวั่ ถึง
4. จะขาดแคลนเวชภัณฑ ยาปฏิชีวนะหรอื วคั ซนี ท่ใี ชใ นการรกั ษา
5. เกดิ ปญ หาตอเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศน้ัน ๆ
6. การชวยเหลือจากนานาชาติอาจทําไดนอยลง เน่ืองจากแตละประเทศก็ตองดูแล

และหวงใยประชาชนของตนเอง
สรปุ คนตดิ เชือ้ โรคไขหวัดนกไดอ ยางไร

104

เมื่อนกน้ําอพยพไปอาศัยท่ีใดก็จะถายอุจจาระที่มีเชื้อโรค สัตวเล้ียง เชน ไก เมื่อ
ไดรับเชื้อโรคก็จะเกิดการติดเชื้อ ซ่ึงสามารถแพรสูคนได เม่ือไกตายหรือปวย อาจมีการสัมผัสไก
เหลาน้ันหรือนําไปบริโภคโดยท่ีไมไดทําใหสุกเสียกอน ก็จะทําใหคนติดเชื้อไขหวัดนกจากไก
นอกจากนก้ี ารตดิ ตออาจเกิดขณะทาํ การเชือดไก ถอนขนไกหรอื ทาํ ความสะอาดเครอื่ งในไกไ ด

อยา งไรก็ตาม โรคไขหวดั นกเปนโรคติดตอ ของสตั วปก ตามปกติ เช้ือโรคน้ีจะติดตอ
มายังคนไดไ มงายนัก หากมีการระมัดระวังไมสัมผัสไกปวย ไกตายหรือไกที่มีเชื้อโรคโดยตรง หรือ
รบั ประทานไกทีป่ รุงสกุ ในอุณหภูมิ 70 C ขึ้นไปกจ็ ะปลอดภัยจากโรคไขหวดั นกได

อหิวาตกโรค
อหวิ าตกโรค (Cholera) คือ โรคระบาดชนิดหนึ่งมีอาการทองรวง อาเจียน รางกายจะ

ขับนํ้าออกมาเปน จํานวนมาก
อหิวาตกโรคเปนโรคในระบบทางเดินอาหารที่เกิดข้ึนเฉียบพลัน เกิดจากเช้ือ

แบคทีเรียใน สายพันธุเฉพาะช่ือ ไวบริโอ คอเลอรี (Vibrio cholerae) โดยทั่วไปมีอาการไมมาก แต
ประมาณ 1 ใน 10 ราย อาจเกิดอาการทอ งเสียอยางรุนแรง อาเจียน และเปนตะคริวที่ขาได เปนผลไม
เกดิ การสูญเสยี นาํ้ และเกลือแรอ ยางรวดเรว็ เกดิ ภาวะขาดนํ้าและหมดสติ ถาไมไดรับการรักษาอาจถึง
แกช วี ิต

การติดตอ และแพรก ระจายของเชอ้ื โรค
อหวิ าตกโรคติดตอ ไดจากการรับประทานอาหารหรือด่ืมนํ้าที่ปนเปอนอุจจาระหรือ
อาเจียนของผูติดเช้ือหรือโดยการรับประทานหอยดิบ ๆ จากแหลงน้ําท่ีมีเช้ือนี้ แตไมติดตอโดยการ
สมั ผสั ผวิ เผินกับผูต ดิ เชอื้
การระบาดมักเกิดในบริเวณที่มีระบบทอระบายอุจจาระและแหลงน้ําสะอาดไม
เพียงพอ ไมก่ีปมาน้ีโรคอหิวาตกโรคเกิดระบาดตอเน่ืองกันหลายครั้งในพื้นท่ีบางแหงของทวีป
แอฟริกา เอเชีย อเมริกาใต และอเมริกากลาง (แมตามปกติจะมีแหลงน้ําสะอาดพอเพียง แต
อหวิ าตกโรคก็อาจเกดิ ข้ึนหลงั จากมีภยั ธรรมชาติ เชน แผนดนิ ไหวหรือนํ้าทวมได) อยางไรก็ดี ผูท่ีเขา
ไปในบรเิ วณแพรร ะบาด ของโรค แตระมัดระวงั เร่อื งการกินอาหารกม็ ีความเสี่ยงท่จี ะติดเชอื้ นอ ย
ระยะเวลาฟกตัว
ผทู ไี่ ดร ับเชอื้ จะเกิดอาการไดตัง้ แต 24 ช่วั โมง ถึง 5 วัน แตโดยเฉล่ียแลว จะเกิดอาการ
ภายใน 1-2 วัน

105

อาการ
1. เปนอยางไมรุนแรง พวกนี้มักหายภายใน 1 วัน หรืออยางชา 5 วัน มีอาการถาย
อุจจาระเหลวเปน น้ํา วันละหลายครงั้ แตจาํ นวนอจุ จาระไมเกินวันละ 1 ลิตร ในผูใหญอาจมีปวดทอง
หรอื คล่ืนไสอาเจยี นได
2. เปนอยางรุนแรง อาการระยะแรก มีทองเดิน มีเนื้ออุจจาระมาก ตอมามีลักษณะ
เปนน้ําซาวขาว เพราะวามีมูกมาก มีกลิ่นเหม็นคาว ถายอุจจาระไดโดยไมมีอาการปวดทอง บางคร้ัง
ไหลพุงออกมาโดยไมรูสึกตัว มีอาการอาเจียนโดยไมคล่ืนไส อุจจาระออกมากถึง 1 ลิตรตอช่ัวโมง
และจะหยดุ เองใน 1-6 วนั ถาไดน้ําและเกลอื แรช ดเชยอยา งเพียงพอ แตถ าไดน้ําและเกลอื แรทดแทนไม
ทนั กับท่ีเสยี ไป จะมีอาการขาดน้ําอยางมาก ลกุ น่ังไมไหว ปส สาวะนอย หรือไมมีเลย อาจมีอาการเปน
ลม หนา มืด จนถงึ ชอ็ ก ซึง่ เปนอนั ตรายถงึ ชวี ติ ได
ขอควรปฏิบตั เิ มอื่ เกิดอาการทองเสยี
1. งดอาหารที่มรี สจดั หรือเผ็ดรอน หรือของหมักดอง
2. ดื่มนา้ํ ชาแกแทนนาํ้ บางรายตองงดอาหารชว่ั คราว เพ่อื ลดการระคายเคอื งในลาํ ไส
3. ดม่ื นาํ้ เกลือผง สลับกบั น้ําตมสุก ถา เปนเดก็ เล็กควรปรึกษาแพทย
4. ถา ทอ งเสยี อยางรุนแรง ตอ งรบี นําสงแพทยดว น
การปอ งกนั
1. รบั ประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม ๆ และด่ืมน้ําสะอาด เชน นํ้าตมสุก ภาชนะท่ีใส
อาหารควรลางสะอาดทกุ คร้งั กอ นใช หลีกเล่ยี งอาหารหมกั ดอง สกุ ๆ ดิบ ๆ อาหารท่ีปรุงท้ิงไวนาน ๆ
อาหารทีม่ ีแมลงวันตอม
2. ลางมือฟอกสบูใหสะอาดทุกครั้งกอนกินอาหารหรือกอนปรุงอาหารและหลัง
เขา สว ม
3. ไมเ ทอุจจาระ ปส สาวะและสิง่ ปฏกิ ูลลงในแมนาํ้ ลําคลอง หรือทิ้งเร่ียราด ตองถาย
ลงในสว มท่ีถูกสขุ ลักษณะและกาํ จดั สิง่ ปฏิกูลโดยการเผาหรอื ฝงดนิ เพอื่ ปองกันการแพรของเชื้อโรค
4. ระวงั ไมใหน าํ้ เขา ปาก เมื่อลงเลน หรอื อาบนํ้าในลาํ คลอง
5. หลกี เล่ียงการสมั ผสั ผูป วยทีเ่ ปน อหวิ าตกโรค
6. สําหรับผูท ี่สมั ผสั โรคนี้ ควรรบั ประทานยาทแ่ี พทยใหจนครบ
การรักษาทางการแพทย
การรักษาฉุกเฉิน คือ การรักษาภาวะขาดน้ําโดยดวน ดวยการใหน้ําและเกลือแร
ทดแทนการสูญเสียทางอุจจาระ ถาผูปวยอยูในภาวะขาดน้ํารุนแรง ตองใหน้ําทางเสนโลหิตอยาง
เรงดว น จนกวาปริมาณนํ้าในรา งกาย ความดันโลหติ และชพี จรจะกลับสูภาวะปกติ

106

สําหรับผูปวยในระดับปานกลางท่ัวไป การใหดื่มนํ้าเกลือแรทดแทนจะใหผลดี
สวนผสมของนา้ํ เกลอื แรส ตู รมาตรฐานไดแ ก กลโู คส 20 ก. โซเดียมคลอไรด 3.5 ก. โปแตสเซียม 1.5
ก. และโตรโซเดียมซเิ ทรต 2.9 ก. หรือโซเดยี มไบคารบอเนต 2.5 ก. ตอ น้ําสะอาด 1 ลิตร

โรคชิคนุ กนุ ยา (Chikungunya)
การตดิ เชื้อ Chikungunya virus เดิมมรี กรากอยใู นทวปี อาฟริกา ในประเทศไทยมีการ

ตรวจพบครงั้ แรกพรอมกับที่มไี ขเ ลือดออกระบาดและเปน ครั้งแรกในทวีปเอเชีย เมื่อ พ.ศ. 2501 โดย
Prof.W McD Hamnon แยกเชื้อชคิ นุ กนุ ยา ไดจ ากผูป วยโรงพยาบาลเด็ก กรุงเทพมหานคร

ลักษณะโรค
โรคชิคนุ กนุ ยา เปน โรคติดเช้ือไวรัสชิคุนกุนยาที่มียุงลายเปนพาหะนําโรค มีอาการ

คลายไขแ ดง แตตางกันท่ีไมมีการร่วั ของพลาสมาออกนอกเสนเลือด จึงไมพบผูปวยท่ีมีอาการรุนแรง
มากจนถงึ มีอาการช็อก

สาเหตุ
เกดิ จากเชอื้ ไวรัสชิคนุ กนุ ยา (Chikungunya virus) โดยมียุงลาย เปน พาหะนาํ โรค

วธิ กี ารตดิ ตอ
ตดิ ตอ กันไดโ ดยมียุงลาย Aedes aegypti เปนพาหะนําโรคที่สําคัญ เม่ือยุงลายตัวเมีย

กดั และดูดเลือดผูปวยที่อยูในระยะไขสูง ซ่ึงเปนระยะที่มีไวรัสอยูในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเขาสู
กระเพาะยุง และเพมิ่ จาํ นวนมากข้นึ แลวเดินทางเขา สูตอมนํ้าลาย เมอ่ื ยุงทีม่ เี ช้ือไวรัสชิคุนกุนยาไปกัด
คนอืน่ กจ็ ะปลอ ยเชอื้ ไปยังคนทถี่ กู กดั ทําใหคนนนั้ เกิดอาการของโรคได

ระยะฟก ตัว
โดยทวั่ ไปประมาณ 1-12 วัน แตท่พี บบอ ยประมาณ 2-3 วนั

ระยะติดตอ
ระยะไขสงู ประมาณวันท่ี 2-4 เปนระยะท่มี ไี วรสั อยูในกระแสเลอื ดมาก

อาการและอาการแสดง
ผูปวยจะมอี าการไขสูงอยา งฉับพลัน มีผืน่ แดงขน้ึ ตามรา งกายและอาจมอี าการคนั รวม

ดว ย พบตาแดง (conjunctiva injection) แตไ มคอยพบจดุ เลอื ดออกในตาขาว สว นใหญแลวในเด็กจะมี
อาการไมร นุ แรงเทาในผใู หญ ในผใู หญอ าการทเี่ ดน ชัดคืออาการปวดขอ ซงึ่ อาจพบขออักเสบได สวน
ใหญจ ะเปน ทีข่ อ เลก็ ๆ เชน ขอมอื ขอเทา อาการปวดขอจะพบไดห ลาย ๆ ขอ เปลี่ยนตําแหนงไปเรื่อย
ๆ อาการจะรุนแรงมากจนบางครั้งขยับขอไมไ ด อาการจะหายภายใน 1-12 สปั ดาห ผูป ว ยบางรายอาจมี

107

อาการปวดขอเกิดข้ึนไดอ ีกภายใน 2-3 สปั ดาหตอ มา และบางรายอาการปวดขอจะอยไู ดน านเปน เดือน
หรอื เปนป ไมพ บผปู ว ยทมี่ ีอาการรนุ แรงถึงช็อก ซ่ึงแตกตางจากโรคไขเลอื ดออก

โรคน้จี ะพบมากในฤดฝู น เมื่อประชากรยงุ เพ่ิมขนึ้ และมีการติดเช้ือในยุงลายมากขึ้น
พบโรคนีไ้ ดใ นทกุ กลุมอายุ ซึ่งตางจากไขเ ลอื ดออกและหดั เยอรมนั ทส่ี วนมากพบในผูอายุนอยกวา 15
ป ในประเทศไทยพบมีการระบาดของโรคชิคุนกุนยา 6 ครั้ง ในป พ.ศ. 2531 ท่ีจังหวัดสุรินทร พ.ศ.
2534 ที่จังหวัดขอนแกนและปราจีนบุรี ในป พ.ศ. 2536 มีการระบาด 3 ครั้ง ท่ีจังหวัดเลย
นครศรีธรรมราช และหนองคาย และกลับมาระบาดอกี ในป พ.ศ. 2551

การรักษา
ไมมีการรักษาท่ีจําเพาะเจาะจง (specific treatment) การรักษาเปนการรักษาแบบ
ประคับประคอง (supportive treatment) เชน ใหยาลดอาการไข ปวดขอ และการพกั ผอน
การปองกนั
การปองกันทดี่ ีควรปฏบิ ตั ิเชน เดยี วกับการปองกันโรคไขเลือดออก คือ ทําลายแหลง
เพาะพันธุยุงลาย และนอนกางมุง หรือนอนในหองท่ีมีมุงลวด หากตองออกไปในท่ีมียุงชุกชุม ควร
ทายากนั ยุงปองกนั ทกุ คร้งั

โรคไขหวดั ใหญแ ละไขห วัดใหญส ายพันธใุ หม 2009
โรคไขห วดั ใหญ
โรคไขหวดั ใหญ เปน โรคตดิ เช้อื ระบบทางเดินหายใจ เกดิ จากเชอ้ื ไวรัส พบไดท ้ังเด็ก

และผใู หญ สามารถติดตอ กันไดงา ยจะมอี าการรุนแรงกวาโรคหวดั ธรรมดา
ผปู ว ยจะมไี ขสงู ปวดศีรษะ ปวดเมอ่ื ยกลามเนือ้ ออนเพลยี คัดจมูก นาํ้ มูกไหล ตาแดง

ไอ จาม บางรายอาจมีอาการคลื่นไส อาเจียน เบ่ืออาหาร ทองเดิน และอาจมีโรคแทรกซอนได เชน
หลอดลมอักเสบ กลามเน้ือหัวใจอักเสบ ปวดบวม ตอมทอนซิลอักเสบ เปนตน ซึ่งภาวะแทรกซอน
เหลา นีม้ กั เกดิ ในเด็กเลก็ คนสงู อายุ ผปู ว ยเบาหวาน คนทส่ี บู บุหรีจ่ ดั หรือผูป วยทเ่ี ปน โรคปอดเรอ้ื รงั

ถาปวยเปน โรคไขห วัดใหญควรไปรับการตรวจรักษาจากแพทย เพราะจะไมหายงาย
ๆ เหมอื นโรคหวัดธรรมดา สาํ หรับการปฏิบัติตนหลังการตรวจรักษาก็ควรพักผอนมาก ๆ งดการทํางาน
หนกั หรอื การออกกาํ ลังกาย สวมเส้อื ผาใหร า งกายอบอนุ อยาอาบน้ําเย็น ดื่มน้ําอุนมาก ๆ เพ่ือชวยลด
ไข รบั ประทานอาหารออน ๆ ใชผ าชุบนํา้ ธรรมดาเช็ดตัวเม่ือเวลามีไข และรับประทานยาตามแพทยส่งั

ในการปองกันโรคนี้ก็เหมือนกับการปองกันโรคหวัดธรรมดาและในปจจุบันน้ีก็มี
วัคซีนปองกนั โรคไขหวัดใหญ ซึ่งผูที่ควรไดรับวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญ ไดแก ผูสูงอายุ ผูปวย
ดว ยโรคเร้อื รัง

108

ตาง ๆ เชน โรคเบาหวาน โรคหอบหดื โรคไต โรคเลือด โรคหัวใจ โรคปอด เปนตน ผูปวยติดเชื้อเอช
ไอวี เดก็ ทม่ี โี รคเรอ้ื รงั เกี่ยวกบั ระบบทางเดินหายใจ ผทู กี่ ําลงั จะเดินทางไปตางประเทศและผูที่ทํางาน
บริการสาธารณชน

โรคไขห วดั ใหญ ติดตอเฉยี บพลันของระบบทางเดินหายใจไดรวดเร็ว มักระบาดใน
ฤดูฝน ไขห วดั ใหญม ีหลายชนดิ บางชนดิ รนุ แรงทาํ ใหผูปว ยเสียชีวติ ได

สาเหตุ เกดิ จากเชื้อไวรัส มีอยู 3 ชนิด คือ ชนิดเอ ชนิดบี และชนิดซี บางครั้งใชชื่อ
ตามเมืองที่ระบาด เชน ไขหวดั ฮองกง หรอื ไขห วัดใหญ 2009 เปนตน

การติดตอ เหมอื นกบั ไขห วดั ธรรมดา ติดตอ โดยการสัมผัสโดยตรง ดว ยการไอหรือ
จามรดกนั หายใจเอาเช้อื โรคท่ปี ะปนอยใู นอากาศและติดตอทางออมโดยการใชสิ่งของ เสื้อผา ปะปน
กับผปู ว ย

ระยะฟก ตวั ของโรค ประมาณ 1-3 วัน สําหรับเด็กเล็กอาจแพรเ ชื้อไดน านถงึ 7 วนั
อาการ มอี าการรนุ แรงมากกวา ไขหวัดธรรมดา มักเกิดขึ้นทันทีทันใด ดวยการปวด
ศรี ษะ หนาวสน่ั มีไข ปวดเมอ่ื ยกลา มเน้ือ ออ นเพลยี เบอื่ อาหาร
การรักษาพยาบาล ไขหวัดใหญไมมียารักษา ตองรักษาตามอาการของโรคและ
ปอ งกันการเกิดโรคแทรกซอน
การปฏบิ ัติตน เมอื่ มีอาการโรค ควรรักษาตามอาการของโรค โดยปรึกษาแพทยและ
รับประทานยาตามแพทยสั่ง พักผอนใหมาก ๆ รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู ควรทําใหรางกาย
อบอุน เชน การนอนหม ผา เวลาไอหรอื จามควรใชผาหรอื กระดาษปด ปากปด จมกู เพ่อื ปองกันเชื้อโรค
ไมใหแ พรกระจายไปสูผ ูอ่นื
การปองกันและควบคุมโรค ควรปฏบิ ัตดิ งั นี้
1. ไมค วรคลุกคลกี ับผูปวย ควรแยกใหอยตู า งหาก
2. ไมใ ชข องใชร วมกบั ผูปวย
3. เวลาไอหรอื จามควรปด ปาก ปดจมูก
4. รกั ษารา งกายใหแขง็ แรงอยเู สมอ

โรคไขหวดั ใหญสายพนั ธุใหม 2009
ไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 หรือไขหวัดใหญสายพันธุใหมชนิดเอ (H1N1) ท่ี

แพรระบาดเปนปญหาสาธารณสุขของประเทศไทยอยูในขณะน้ี ทําใหมีผูเสียชีวิตแลวหลายสิบราย
และมผี ูติดเชือ้ กวาพันราย (ขอมูลเดอื นสิงหาคม 2552)

ปจจุบันการแพรระบาดของโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ (H1 N1) กําลัง
ขยายตัวไปท่ัวโลก และขณะน้ีประเทศไทยพบการระบาดภายในประเทศแลว โดยเฉพาะอยางยิ่ง
สถานศึกษาและสถานประกอบการ ซึ่งอาจแพรระบาดอยางรวดเร็ว ไขหวัดใหญสายพันธุใหมนี้มี

109

อาการคลา ยกับไขห วดั หรอื ไขหวดั ใหญธรรมดา สวนใหญม ีอาการนอยและหายไดโดยไมตองรับการ
รักษาท่โี รงพยาบาล

สําหรับผูปวยจํานวนไมมากในตางประเทศที่เสียชีวิต มักเปนผูท่ีมีโรคประจําตัว
เรือ้ รงั เชน โรคปอด หอบหดื โรคหวั ใจและหลอดเลือด เบาหวาน เปนตน ผูมีภูมิตานทานตํ่า โรค
อวน ผูสงู อายุมากกวา 65 ป เดก็ อายุต่าํ กวา 5 ป และหญิงมคี รรภ

สําหรับวิธีการติดตอและวิธีการปองกันโรค จะคลายกับไขหวัดใหญธรรมดา
กระทรวงสาธารณสุขจึงขอใหคําแนะนําในการปองกันและควบคุมโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม
ชนิดเอ (เอช1 เอ็น1) ดังตอ ไปน้ี

คําแนะนาํ สาํ หรบั ประชาชนทัว่ ไป
1. ลา งมือบอ ย ๆ ดวยน้ําและสบู หรือใชแอลกอฮอลเ จลทําความสะอาดมอื
2. ไมใ ชแกว น้ํา หลอดดดู นาํ้ ชอนอาหาร ผาเชด็ มอื ผาเช็ดหนา ผา เชด็ ตัว รวมกับ

ผูอ ื่น
3. ไมค วรคลุกคลใี กลชิดกับผูปวยท่ีมอี าการไขห วัด
4. รกั ษาสขุ ภาพใหแขง็ แรง ดว ยการกนิ อาหารที่มีคณุ คาทางโภชนาการ ดื่มน้ํามาก ๆ

นอนหลับพกั ผอนใหเพยี งพอ และออกกําลังกายอยา งสม่ําเสมอ
5. ควรหลกี เลย่ี งการอยใู นสถานทท่ี มี่ ผี ูค นแออดั และอากาศถายเทไมดีเปนเวลานาน

โดยไมจาํ เปน
6. ติดตามคาํ แนะนาํ อ่นื ๆ ของกระทรวงสาธารณสุขอยางใกลชดิ
คาํ แนะนาํ สาํ หรับผปู ว ยไขหวดั หรือไขห วดั ใหญ
1. หากมีอาการปวยไมรุนแรง เชน ไขไมสูง ไมซึม และรับประทานอาหารได

สามารถรกั ษาตามอาการดวยตนเองท่ีบา นได ไมจ ําเปนตองไปโรงพยาบาล ควรใชพาราเซตามอลเพื่อ
ลดไข (หามใชย าแอสไพรนิ ) นอนหลับพักผอ นใหเพียงพอ และด่มื นาํ้ มาก ๆ

2. ควรหยดุ เรยี น หยดุ งาน จนกวาจะหายเปนปกติ และหลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกลชิด
หรือใชสง่ิ ของรวมกบั ผูอ่ืน

3. สวมหนา กากอนามัยเม่ือจําเปนตองอยูกับผูอ่ืน หรือใชกระดาษทิชชู ผาเช็ดหนา
ปดปากและจมกู ทุกครงั้ ที่ไอ จาม

4. ลางมือบอย ๆ ดวยน้ําและสบู หรือใชแอลกอฮอลเจลทําความสะอาดมือ
โดยเฉพาะหลงั การไอ จาม

5. หากมีอาการรุนแรง เชน หายใจลําบาก หอบเหน่ือย อาเจียนมาก ซึม ควรรีบไป
พบแพทย

110

คําแนะนําสําหรบั สถานศึกษา
1. แนะนาํ ใหผูเ รยี นที่มีอาการปวยคลายไขหวัดใหญ พักรักษาตัวที่บานหรือหอพัก

หากมอี าการปว ยรุนแรง ควรรบี ไปพบแพทย
2. ตรวจสอบจํานวนผูเรียนท่ีขาดเรียนในแตละวัน หากพบขาดเรียนผิดปกติ หรือ

ตั้งแต 3 คนข้ึนไปในหองเรียนเดียวกัน และสงสัยวาปวยเปนไขหวัดใหญใหแจงตอเจาหนาที่
สาธารณสุขในพน้ื ที่ เพ่อื สอบสวนและควบคมุ โรค

3. แนะนาํ ใหผ ูเ รียนทีเ่ ดินทางกลับจากตางประเทศ เฝาสังเกตอาการของตนเองเปน
เวลา 7 วนั ถา มอี าการปว ยใหห ยุดพักรกั ษาตัวทีบ่ า น

4. หากสถานศึกษาสามารถใหผูเรียนที่มีอาการปวยคลายไขหวัดใหญทุกคน
หยดุ เรยี นไดก จ็ ะปอ งกนั การแพรก ระจายเชอ้ื ไดด ี และไมจาํ เปน ตอ งปดสถานศกึ ษา แตห ากจะพจิ ารณา
เปดสถานศึกษา ควรหารอื รวมกนั ระหวางสถานศึกษากบั เจาหนา ทสี่ าธารณสุขในพน้ื ท่ี

5. ควรทําความสะอาดอุปกรณ ส่ิงของ เคร่ืองใชท่ีมีผูสัมผัสจํานวนมาก เชน โตะ
เรียน ลูกบดิ ประตู โทรศัพท ราวบนั ได คอมพวิ เตอร ฯลฯ โดยการใชน ้ําผงซกั ฟอกเช็ดทาํ ความสะอาด
อยา งนอ ยวนั ละ 1-2 ครัง้ จดั ใหม อี างลางมือ น้ําและสบูอ ยา งเพียงพอ ในบางวันควรเปดประตูหนาตาง
ใหอ ากาศถา ยเทไดส ะดวก และแสงแดดสอ งไดท่ัวถงึ

คําแนะนําสาํ หรับสถานประกอบการและสถานที่ทาํ งาน
1. แนะนําใหพนักงานท่ีมีอาการปวยคลายไขหวัดใหญ พักรักษาตัวท่ีบาน หากมี

อาการปว ยรุนแรง ควรรบี ไปพบแพทย
2. ตรวจสอบจํานวนพนักงานที่ขาดงานในแตละวัน หากพบขาดงานผิดปกติ หรือ

ตง้ั แต 3 คนขนึ้ ไปในแผนกเดียวกัน และสงสยั วาปว ยเปน ไขหวัดใหญ ใหแจง ตอเจาหนาทีส่ าธารณสุข
ในพน้ื ท่ี เพื่อสอบสวนและควบคมุ โรค

3. แนะนําใหพนักงานท่ีเดินทางกลับจากตางประเทศ เฝาสังเกตอาการของตนเอง
เปน เวลา 7 วัน ถา มีอาการปว ยใหหยดุ พักรักษาตวั ที่บา น

4. ในสถานการณปจจุบัน ยงั ไมแ นะนาํ ใหป ดสถานประกอบการหรือสถานท่ีทํางาน
เพื่อการปองกนั การระบาดของโรคไขหวัดใหญ

5. ควรทําความสะอาดอุปกรณ ส่ิงของ เคร่ืองใช ที่มีผูสัมผัสจํานวนมาก เชนโตะ
ทํางาน ลกู บิดประตู โทรศัพท ราวบันได คอมพิวเตอร ฯลฯ โดยการใชน ้ําผงซักฟอกทั่วไปเชด็ ทาํ ความ
สะอาดอยางนอยวันละ 1-2 ครง้ั จัดใหมีอา งลางมือ นํ้าและสบูอยางเพียงพอ ในบางวันควรเปดประตู
หนา ตาง ใหอ ากาศถายเทไดสะดวก และแสงแดดสองไดทั่วถึง

6. ควรจัดทําแผนการประคองกิจการในสถานประกอบการและสถานท่ีทํางาน
เพ่อื ใหสามารถดําเนนิ กจิ การตอ ไปไดอ ยา งตอ เนอ่ื ง หากเกิดการระบาดใหญ

111

แหลง ขอ มลู การติดตอเพ่อื ปรกึ ษากับเจาหนาทส่ี าธารณสขุ ในพ้ืนที่
1. กรุงเทพมหานคร ติดตอไดที่ กองควบคุมโรค สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร
โทรศพั ท 0-2245-8106, 0-2246-0358 และ 0-2354-1836
2. ตางจงั หวัด ตดิ ตอไดท่ี สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวดั ทุกแหง
ติ ด ต า ม ข อ มู ล แ ล ะ ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ด ที่ เ ว็ บ ไ ซ ต ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข
www.moph.go.th และหากมีขอสงสัย สามารถติดตอไดท่ี ศูนยปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค หมายเลข
โทรศัพท 0-2590-3333 และศูนยบ ริการขอ มลู ออนไลน กระทรวงสาธารณสุข หมายเลขโทรศัพท 0-
2590-1994 ตลอด 24 ชว่ั โมง

กจิ กรรม ใหผ เู รียนศกึ ษาและรวบรวมขอ มูลการเจบ็ ปวยดวยโรคตดิ ตอที่ระบาดอยูใ นชว งเวลา
ปจ จุบัน พรอมบอกวธิ ีการปองกนั และแกปญ หาในชุมชน

ชอื่ โรค.....................................................................................
 อาการ

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

 เช้ือโรคและพาหะนาํ โรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

112

 การปอ งกนั และการรกั ษา
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

 การแกปญ หาการแพรร ะบาดในชุมชน โดยวธิ ี
…………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

113

บทท่ี 6
ยาแผนโบราณและยาสมุนไพร

สาระสาํ คญั
ปจ จุบนั ประชาชนหนั มานิยมใชยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพรกนั มากข้ึน การศึกษา

ถงึ สรรพคณุ และวธิ ีการใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพรที่ถูกตองจะชวยใหประชาชนรูจักการดูแล
รักษาสขุ ภาพดว ยตนเองอยางมีประสทิ ธิภาพและปลอดภยั

ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั
เพ่อื ใหผ ูเรยี นสามารถ

1. บอกสรรพคุณและวธิ กี ารใชย าแผนโบราณและยาสมุนไพรท่สี าํ คัญได
2. อธบิ ายอันตรายทอี่ าจเกดิ ขนึ้ จากการใชย าแผนโบราณและยาสมุนไพรได

ขอบขายเนอื้ หา
เร่อื งท่ี 1 หลกั และวธิ กี ารใชยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร
เรอื่ งท่ี 2 อันตรายจากการใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพร

114

เรอ่ื งที่ 1 หลักและวธิ กี ารใชยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร

ปจ จบุ นั มกี ารสนับสนุนใหใช “สมุนไพร” ในการรักษาโรคตาง ๆ และมีผลิตภัณฑ
สมนุ ไพรออกมามากจนเกดิ การสบั สนระหวาง “สมุนไพร” และ “ยาแผนโบราณ” ซึ่ง “ยาสมุนไพร”
นนั้ จะหมายถึง ยาทีไ่ ดจ ากพฤกษชาติ สตั ว หรอื แร ซ่งึ มิไดผ สมปรุงหรือแปรสภาพในขณะที่ “ยาแผน
โบราณ” เปน การนําเอาสมุนไพรมาแปรรูปแลวอาจจะอยูในรูปยาน้ํา ยาเม็ด หรือแคปซูล ซ่ึงยาแผน
โบราณนี้ การจะผลติ หรือนําสั่งเขา มาจะตองไดรับอนญุ าตจาก อย. กอน รวมท้งั การขายยาแผนโบราณ
ตองขายเฉพาะในรา นขายยาแผนโบราณหรอื ในรา นขายยาแผนปจ จุบนั เทา น้ัน

1.1 หลักและวิธกี ารใชย าแผนโบราณ
ความหมายของยาแผนโบราณ
ตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2510 ไดแบงออกเปน 2 แบบ คือ ยาแผนปจจุบันและยา

แผนโบราณ “ยาแผนโบราณ” คอื ยาที่มงุ หมายสําหรับใชในการประกอบโรคศิลปแ ผนโบราณ ซึ่งเปน
ยาทีอ่ าศัยความรจู ากตาํ ราหรือเรียนสืบตอกันมา อันมิใชการศึกษาตามหลักวิทยาศาสตร และยาแผน
โบราณ ที่ยอมรับของกฎหมายยาจะตองปรากฏในตํารายาที่รัฐมนตรีประกาศหรือเปนยาที่รัฐมนตรี
ประกาศหรือรบั ขึ้นทะเบียนเทาน้นั

การควบคุมยาแผนโบราณตามกฎหมายท่ีควรรู
1. การผลิต นําเขา และการขายยาแผนโบราณ จะตองไดรับอนุญาตจากสํานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา หรือสาํ นักงานสาธารณสุขจงั หวัด และตอ งจัดใหผูประกอบโรคศลิ ปแผน
โบราณเปน ผูมหี นา ทปี่ ฏบิ ตั ิการประจาํ อยตู ลอดเวลาทเี่ ปด ทาํ การ
2. หามมิใหผูรับอนุญาตผลิตยา ขาย หรือนําเขายาแผนโบราณนอกสถานที่ท่ีได
กําหนดไวในใบอนญุ าต เวน แตเปนการขายสงตรงตอผูรับอนุญาตขายยาแผนโบราณ
3. ตํารับยาแผนโบราณท่ีผลิตหรือนําเขาอยางถูกตองตามกฎหมาย จะตองขอขึ้น
ทะเบยี นตาํ รบั ยาและไดเลขทะเบยี นจงึ จะผลติ หรอื นําเขาได

115

4. ยาแผนโบราณที่รับขึ้นทะเบียน ตองเปนยาท่ีมีสรรพคุณเปนที่เชื่อถือไดและ
ปลอดภยั ในการใช

5. ผูผลิต ขาย หรือนําเขายาแผนโบราณ โดยไมไดรับอนุญาต จะมีความผิดตอง
ระวางโทษจาํ คุกไมเ กิน 3 ป และปรับไมเกนิ 5,000 บาท (หาพันบาท)

6. ผูผลิต ขาย หรือนําเขายาท่ีไมไดข้ึนทะเบียน จะมีความผิดตองระวางโทษจําคุก
ไมเ กิน 3 ป หรอื ปรับไมเกิน 5,000 บาท (หาพนั บาท) หรอื ทงั้ จาํ ท้ังปรับ

7. ผูท่ีผลิตยาปลอมจะมีความผิดตองระวางโทษจําคุกตั้งแต 3 ปถึงตลอดชีวิต และ
ปรบั ตั้งแต 10,000 บาท – 50,000 บาท (หน่ึงหมน่ื ถึงหา หม่นื บาท)

8. ผูท่ีขายยาปลอมจะมีความผิด ตองระวางโทษจําคุกต้ังแต 1 ป – 20 ป และปรับ
ตง้ั แต 2,000 – 10,000 บาท (สองพันถึงหนงึ่ หม่นื บาท)

9. ผทู โี่ ฆษณาขายยาโดยฝาฝนกฎหมาย ตองระวางโทษ ปรับไมเกิน 100,000 บาท
(หน่ึงแสนบาท) รายละเอียดจะกลา วตอ ไป

ปญหายาแผนโบราณท่พี บในปจ จบุ ัน
แมวาจะมีกฎหมายและหนวยงานที่คอยควบคุมการผลิตและการขายยาแผนโบราณเพื่อ

คมุ ครองใหผูบ รโิ ภคปลอดภยั จากการใชยาแผนโบราณ แตก็ไมสามารถที่จะขจัดปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น
ได ไมวาจะเปนการลักลอบผลิตและขายยาแผนโบราณโดยไมไดขออนุญาตผลิตและขายจาก
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาหรือสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด การขายยาแผนโบราณท่ี
ไมไ ดข นึ้ ทะเบยี นหรอื ยาปลอม

อนั ตรายจากการรับประทานยาแผนโบราณทีไ่ มไ ดขึ้นทะเบียนหรอื ยาปลอม
ในปจจุบันพบวา มียาแผนโบราณที่ไมไดขึ้นทะเบียนหรือยาปลอมกอใหเกิดอันตรายตอ

ผูบริโภคได เชน มีการปนเปอนของจุลินทรียที่กอใหเกิดโรค หรือการนําสารเคมีท่ีไมปลอดภัยตอ
ผบู ริโภคมาใสในยาแผนโบราณ เชน เมธิลแอลกอฮอล คลอโรฟอรม การใสยาแกปวด แผนปจจุบัน
เชน อินโดเมทาซนิ หรอื แมแตการนํายาเฟนิลบิวตาโวนและสเตียรอยด ซ่ึงเปนยาควบคุมพิเศษ ซ่ึงมี
ผลขางเคยี งสงู ผสมลงในยาแผนโบราณ เพ่อื ใหเกิดผลในการรักษาท่ีรวดเร็ว แตจะทําใหเกิดอันตราย
ตอผูบรโิ ภค คอื ทําใหเกิดโรคกระดกู ผุ โรคความดนั โลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคกระเพาะได เปน
ตน

116

การเลอื กซือ้ ยาแผนโบราณ
เพื่อความปลอดภัยในการใชยาแผนโบราณ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาขอ

แนะนําวิธกี ารเลือกซื้อยาแผนโบราณ ดังน้ี
1. ควรซอ้ื ยาแผนโบราณจากรา นขายยาท่มี ใี บอนุญาตและมีเลขทะเบยี นตํารบั ยา
2. ไมค วรซ้ือยาแผนโบราณจากรถเรขาย เพราะอาจไดรับยาที่ผลิตขึ้นโดยผูผลิตที่

ไมไดมาตรฐาน ซึ่งอาจมีการปนเปอนของจุลินทรียในระหวางการผลิตอาจทําใหเกิดอันตรายตอ
ผูบรโิ ภคได

3. กอ นซื้อยาแผนโบราณ ควรตรวจดูฉลากยาทกุ ครง้ั วา มีขอความดงั กลา วน้ีหรอื ไม
 ชื่อยาเลขทหี่ รอื รหัสใบสําคัญการข้ึนทะเบียนยา ปริมาณของยาท่ีบรรจุ

เลขทีห่ รืออักษรแสดงคร้ังทีผ่ ลติ
 ชื่อผูผลิตและจงั หวัดท่ีตั้งสถานที่ผลิตยาวัน เดือน ป ท่ีผลิตยา คําวา“ยา

แผนโบราณ” ใหเห็นไดชดั เจน
 คําวา “ยาใชภายนอก” หรือ “ยาใชเฉพาะที่” แลวแตกรณี ดวยอักษรสี

แดงเห็นไดชดั เจน ในกรณเี ปนยาใชภายนอกหรอื ยาใชเฉพาะที่ คําวา “ยาสามัญประจําบาน” ในกรณี
เปน ยาสามญั ประจาํ บา น คาํ วา “ยาสําหรับสตั ว” ในกรณเี ปน ยาสําหรบั สตั ว

วธิ สี ังเกตเลขทะเบยี นตํารับยาแผนโบราณ มดี งั น้ี
1. หากเปนยาแผนโบราณท่ีผลิตในประเทศ จะขึ้นตนดวยอักษร G ตามดวยเลข

ลําดบั ท่อี นุญาต/ป พ.ศ. เชน เลขทะเบียน G20/42
2. หากเปนยาแผนโบราณทีน่ าํ เขา จากตา งประเทศ จะข้ึนตนดวยอักษร K ตามดวย

เลขลําดับท่ีอนญุ าต/ป พ.ศ. เชนเลขทะเบยี น D15/42 สาํ หรบั การโฆษณายาทุกชนิดไมว าจะเปนยาแผน
โบราณหรอื แผนปจ จบุ ัน ตามพระราชบัญญัตยิ า พ.ศ. 2510 มาตรา 88 โดยสรปุ คอื หามโฆษณาโออวด
สรรพคณุ วา สามารถบําบัด บรรเทา รักษาหรือปองกันไดอยางศักดิ์สิทธิ์หรือหาย นอกจากน้ียังหาม
โฆษณาเปน เทจ็ หรอื เกิดความจริง หามโฆษณาสรรพคุณยาวาสามารถบําบัดบรรเทา รักษาหรือปองกัน
โรคหรืออาการของโรคทร่ี ัฐมนตรีประกาศตามมาตรา 77 ไดแก โรคเบาหวาน มะเร็ง อัมพาต วัณโรค
โรคเร้ือน โรคหรืออาการโรคของสมอง หัวใจ ปอด ตับ มาม และไต (เวนแตจะเปนการโฆษณา
โดยตรงตอผปู ระกอบโรคศลิ ป ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผูประกอบการบําบัดโรคสัตว) ผูใด
โฆษณา ขายยาโดยฝา ฝน มาตรา 88 ตอ งระวางโทษปรับไมเ กนิ หน่ึงแสนบาท ดงั น้นั ถาผบู รโิ ภคพบ
เหน็ การโฆษณาโออวดดงั กลาว สามารถแจง รองเรยี นไดทสี่ ํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ
ที่สาํ นกั งานสาธารณสุขจังหวดั ทุกแหง

การซื้อยาแผนโบราณคร้ังใดควรเลือกยาที่มีเลขทะเบียนตํารับยาและซื้อจากรานที่มี
ใบอนุญาตเทานั้น จงึ จะปลอดภยั ในการใชยาแผนโบราณ

117

1.2 หลักและวธิ กี ารใชยาสมนุ ไพร
ในปจจุบันคาใชจายทางดานสุขภาพของคนไทยเพิ่มขึ้นตามลําดับ ในแตละป

ประเทศชาติตองเสียงบประมาณในการสั่งซื้อยา และเวชภัณฑจากตางประเทศเปนจํานวนมาก
กระทรวงสาธารณสุขไดพยายามหากลวิธีในการใชทรัพยากรและภูมิปญญาทองถิ่น เพ่ือการปองกัน
สงเสริมสุขภาพและรักษาโรค สมุนไพรไทยและการแพทยแผนไทยนับเปนทางเลือกหนึ่งของ
ประชาชนซึ่งกําลังไดรับความนิยมอยางแพรหลาย เพราะเปนการใชทรัพยากรและภูมิปญญาไทยที่
นอกจากมคี วามปลอดภัยแลว ยงั เปน การประหยัดเงนิ ตราของประเทศอีกดว ย

สมนุ ไพรตามพระราชบัญญตั ิยา หมายถงึ ยาทีไ่ ดจากพชื สตั ว หรอื แรธ าตุ ซ่ึงยังไมได
ผสม ปรุง หรือแปรสภาพ

แตในทางการคาสมนุ ไพรมักจะถูกดัดแปลงสภาพไป เชน ห่ันเปนช้ินใหเล็กลง บด
เปนผงใหละเอยี ด นาํ ผงที่บดมาอัดเปนเมด็ หรือนํามาใสแ คปซูล

ในปจจบุ นั ไดมีการนําสมุนไพรมาใชอยา งกวา งขวาง เชน ใชเปนอาหาร อาหารเสริม
เคร่อื งดื่ม ยารักษาโรค เครือ่ งสาํ อาง สวนประกอบในเครือ่ งสําอาง ใชแ ตงกล่ินและสีอาหาร ตลอดจน
ใชเปน ยาฆาแมลง

สว นของพชื ท่นี าํ มาใชเปน สมนุ ไพร
สว นของพชื ท่เี รานาํ มาใชเ ปนยาน้ันมีหลายสวนขึ้นอยูกับตัวยาวาใชสวนใดของพืช
ซง่ึ สว นของพืชทนี่ ํามาใชเ ปนสมุนไพร มีดังนี้
1. ราก (Root) รากของพชื จะมี 2 แบบ คอื แบบที่มีรากแกวและรากฝอย ซึ่งสามารถ
นํามาใชทําเปนยาไดทง้ั 2 แบบ

2. ลาํ ตน (Stem) สามารถแบงไดเปน 2 ชนิด คอื

118

ลาํ ตนเหนือดิน (Aerial Stem) ไดแก พืชที่มีลําตนอยูเหนือดินท้ังหลาย มีท้ังตน
ใหญและตน เล็ก อาจนาํ เปลอื กหรอื เนื้อไมม าทาํ เปนยาได

ลําตนใตดิน (Underground Stem) จะมีลักษณะคลายราก แตจะมีขนาดใหญ มี
รปู รา งตา ง ๆ ซึ่งเราเรยี กสว นท่อี ยูใตดนิ วา “หัว” หรือ “เหงา”

3. ใบ (Leaf) ใบของพชื จะมรี ูปรา งแตกตา งกันไป เชน รูปเรียวยาว รูปรี รูปไข รูป
ใบหอก รูปหัวใจ รปู ไต รปู โล เปนตน

4. ดอก (Flower) ดอกไมจะประกอบดวย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู และเกสร
ตัวเมยี ซงึ่ จะตดิ อยบู นฐานรองดอก

5. ผล (Fruit) อาจเรียกเปนผลหรอื เปนฝก กไ็ ด

สมุนไพรไทยท่คี วรรจู ัก
สมนุ ไพรไทยทจี่ ะกลาวในท่นี จ้ี ะกลาวเฉพาะชื่อของพืชที่สามารถนํามาใชเปนยาใน

การรกั ษา ปองกัน และเสริมสรา งสขุ ภาพได ซ่ึงสมนุ ไพรไทยนัน้ มจี ํานวนมากมายมหาศาล ตอไปนี้จะ
กลาวเฉพาะท่ีเราไดพบเห็นกันอยูบอย ๆ บางครั้งอาจคิดไมถึงวาเปนสมุนไพร พอจะยกตัวอยางได
ดงั น้ี

กระเทียม หอม กระชาย กะเพรา กระวานไทย กานพลู ขา ขิง ขมิ้นชัน ดีปลี
ตะไคร พริกไทย มะละกอ สบั ปะรด กลวยนาํ้ วา ข้ีเหล็ก ฝกคูน ชุมเห็ดเทศ ชุมเห็ดไทย มะขาม
มะขามเทศ มะขามปอ ม หญาคา หญา หนวดแมว หญาปก กิ่ง วา นหางจระเข ใบบวั บก ใบพลบั พลงึ
ใบแมงลัก เพชรสังฆาต ฝร่งั ทบั ทิม มงั คุด ฟาทะลายโจร ยอ ผักคราดหัวแหวน บอระเพ็ด ชิงชา
ลาลี ยานาง กระเจ๊ียบแดง ขลู ออยแดง มะกรูด มะนาว แวงเครือ เพกา มะแวง ตนไพล พลู
ชองระอา หญา ปลองทอง วา นมหากาฬ ผกั บงุ ทะเล สาบเสอื กะเม็ง วานหางชาง เหงือกปลาหมอ

119

ทองพันชงั่ ประคําดคี วาย พญาไรใ บ นอ ยหนา สม ปอย เอ็นออน วานชักมดลูก หนุมานประสาน
กาย วา นนาํ้ แกนขนุน ชะลดู เปราะหอม
วา นนางคํา

วธิ ีใชสมุนไพร
สมุนไพรที่มกี ารนํามาใชในปจจบุ นั นี้มักนํามาปรุงเปนยาเพื่อใชรักษา ปองกัน และ

สรา งเสรมิ สุขภาพ แตส ว นมากจะเปน การรักษาโรค ท่ีพบมากมีดังน้ี
1. ยาตม อาจเปนสมุนไพรชนิดเดียวหรือหลาย ๆ ชนิดก็ไดที่นํามาตม เพื่อให

สาระสาํ คญั ท่ีมีในสมุนไพรละลายออกมาในน้ํา วิธีเตรียมทําโดยนําสมุนไพรมาใสลงในหมอ ซึ่งอาจ
เปนหมอดินหรอื หมอ ท่เี ปนอะลมู ิเนียม สแตนเลสกไ็ ด แลว ใสน้ําลงไปใหทว มสมุนไพร แลวจึงนําไป
ตั้งบนเตาไฟ ตมใหเดือดแลวเค่ียวตออีกเล็กนอย วิธีรับประทานใหรินนํ้าสมุนไพรใสถวยหรือแกว
หรอื จะใชถวยหรือแกว ตกั เฉพาะน้าํ ข้ึนมาในปริมาณพอสมควร หรอื ศกึ ษาจากผูข ายยาบอก ยาตมบาง
ชนดิ สามารถใชไดเกินกวา 1 คร้งั ดวยการเติมนํ้าลงไปแลวนาํ มาตมแลวเคี่ยวอีกจนกวารสยาจะจืดจึง
เลิกใช เรามกั เรยี กยาน้วี า “ยาหมอ” จะมีรสชาติและกล่ินที่ไมนารับประทาน นํ้าหนักของสมุนไพรท่ี
นาํ มาตม นั้น แตละชนิดมักจะชงั่ ซงึ่ มีหนว ยนํ้าหนกั เปน บาท ตามรา นที่ขายจะมีเครื่องช่ังชนิดนี้ แตถา
หมอที่จายยาไมช่ังก็จะใชวิธีกะปริมาณเอง ในการตมยานี้ถาเปนสมุนไพรสดจะออกฤทธ์ิดีกวา
สมุนไพรแหง แตต ามรานขายยาสมนุ ไพรมกั เปน สมุนไพรแหง เพราะจะเก็บไวไ ดนานกวา

2. ยาผง เปนสมนุ ไพรทนี่ ํามาบดใหเ ปนผง ซ่ึงตามรานขายยาสมุนไพรจะมีเคร่ือง
บด โดยคดิ คา บดเพ่มิ อกี เลก็ นอย อาจเปนสมุนไพรชนิดเดียวหรือหลายชนิดก็ไดท่ีนํามาบดใหเปนผง
แลวนํามาใสก ลอง ขวด หรอื ถุง วธิ รี ับประทานจะละลายในนํ้าแลวใชดื่มก็ได หรือจะตักใสปากแลว
ดม่ื นา้ํ ตามใหละลายในปากได ปจจุบันมีการนํามาใสแคปซูล เพื่อสะดวกในการรับประทาน พกพา
และจําหนา ย

3. ยาชง วิธเี ตรยี มจะงายและสะดวกกวา ยาตม มกั มีกลนิ่ หอม เตรยี มโดยหนั่ เปน ชิ้น
เล็ก ๆ ตากหรอื อบใหแหงแลว นํามาชงนํ้าดื่มเหมือนกับการชงนํ้าชา ปจจุบันมีสมุนไพรหลายอยางท่ี
นํามาชงดม่ื มักเปน สมนุ ไพรชนดิ เดยี ว เชน ตะไคร หญา หนวดแมว ชาเขยี วใบหมอ น หญาปกก่ิง เปน
ตน ในปจจบุ ันมกี ารนาํ สมนุ ไพรมาบดเปน ผงแลวใสซองมีเชือกผกู ติดซอง ใชช งในนาํ้ รอนบางชนิดมี
การผสมนาํ้ ตาลทรายแดงเพ่ือใหม ีรสชาตดิ ขี ึน้ แลว นํามาชงกับนํา้ รอนดื่ม ซึ่งทง้ั สองรูปแบบน้ีมีขายอยู
ทวั่ ไป

4. ยาลกู กลอน เปนการนํายาผงมาผสมกับน้ําหรือน้ําผึ้งแลวปนเปนลูกกลม ๆ เล็ก
ๆ วิธรี ับประทานโดยการนาํ ยาลกู กลอนใสป าก ดื่มนํา้ ตาม

120

5. ยาเม็ด ปจจุบันมีการนํายาผงมาผสมนํ้าหรือน้ําผ้ึงแลวมาใสเครื่องอัดเปนเม็ด
เครอื่ งมือนี้หาซอื้ ไดงา ย มีราคาไมแพง ใชม อื กดได ไมตองใชเครื่องจักร ตามสถานที่ปรุงยาสมุนไพร
หรือวดั ท่ีมกี ารปรงุ ยาสมุนไพรมกั จะซอ้ื เครือ่ งมือชนิดน้ีมาใช

6. ยาดองเหลา ไดจากการนําสมุนไพรมาใสโหลแลวใสเหลาขาวลงไปใหทวม
สมุนไพร ปดฝาท้ิงไวประมาณ 1-6 สัปดาห แลว รนิ เอานาํ้ มาดม่ื เปนยา ปจจุบนั มีการจําหนายเปน “ซุม
ยาดอง” ซง่ึ มใี หพบเหน็ อยูบา ง

7. นํามาใชสด ๆ อาจนํามาใชทาบาดแผล หรือใชทาแกพิษ เชน วานหางจระเข
ผักบุงทะเล เปนตน นาํ มาตําใหแหลกแลวพอติดไวที่แผล เชน หญาคา ใบชุมเห็ด เปนตน นํามายาง
ไฟแลวประคบ เชน ใบพลับพลึง เปน ตน หรือนํามาใชเ ปน อาหาร เชน หอม กระเทียม กลวยนํ้าวา ขา
ขงิ ใบบัวบก เปน ตน

121

เรื่องที่ 2 อนั ตรายจากการใชยาแผนโบราณและยาสมุนไพร

อันตรายจากยาแผนโบราณ
จากปญหาของยาแผนโบราณในสังคมไทย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

(อย.) รว มกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ไดมีการติดตามตรวจสอบและเฝาระวังการแพร
ระบาดของยาสมนุ ไพรที่ไมไดขึ้นทะเบียนตํารับยาแผนโบราณ ซึ่งเปนยาปลอมอยางสม่ําเสมอ และ
จากผลการตรวจวิเคราะหยาปลอมเหลานัน้ พบวา มกี ารปนเปอนของจุลนิ ทรยี ทกี่ อใหเกิดโรคหรอื การ
ลักลอบนําสารเคมีที่ไมปลอดภัยตอผูบริโภคมาใสในยาแผนโบราณ เชน เมธทิลแอลกอฮอล
คลอโรฟอรม การใสย าแกปวดแผนปจ จบุ นั เชน อินโดเมทาซิน หรือแมแตการลักลอบนํายาเฟนิลบิว
ตาโซน และสเตียรอยด ซ่งึ เปนยาควบคมุ พเิ ศษท่มี ผี ลขา งเคยี งตอรางกายสูง ผสมลงในยาแผนโบราณ
เพอื่ ใหเ กดิ ผลในการรกั ษาที่รวดเร็ว ซึ่งลว นแตเปนอันตรายตอผูบริโภคได โดยเฉพาะสารสเตียรอยด
มักจะพบเพรดนิโซโลนและเดกซามีธาโซน (Prednisolone) และ (Dexamethasone) ผสมอยูใน
สมนุ ไพรแผนโบราณท่ไี มไ ดขึ้นทะเบียน

สารสเตียรอยดท่ีผสมอยูในยาแผนโบราณกอใหเกิดอันตรายตอรางกายไดมากมาย
เชน

- ทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหาร อาจถึงขั้นทําใหกระเพาะทะลุ ซ่ึงพบในผูที่
รับประทานยากลมุ นี้หลายรายที่กระเพาะอาหารทะลุ ทําใหหนามืด หมดสติ และอาจอันตรายถึงชีวิต
ได โดยเฉพาะในผูสูงอายุ หรือผูทม่ี โี รคประจาํ ตัวอยแู ลว

- ทําใหเ กิดการบวม (ตึง) ที่ไมใชอ ว น
- ทาํ ใหก ระดกู ผกุ รอน และเปราะงา ย นําไปสูความทพุ พลภาพได
- ทาํ ใหค วามดันโลหติ สงู และระดับนํ้าตาลในเลือดสูงพบในบางรายท่ีสูงจนถึงขั้น
เปน อนั ตรายมาก
- ทําใหภ มู คิ มุ กันรางกายตาํ่ มโี อกาสตดิ เช้อื ไดง าย นําไปสูความเสย่ี งที่จะติดเช้ือและ
อาจรุนแรงถงึ ขนั้ เสียชวี ติ ได
บทกําหนดโทษตามกฎหมาย
บทกาํ หนดโทษตามกฎหมายสาํ หรบั ผูกระทําความผิดฝาฝนกฎหมายในเรื่องของยา
แผนโบราณ มีดังนี้
ฝา ฝน กฎหมายบทกําหนดโทษ
1. ผผู ลิต ขาย หรอื นําเขายาแผนโบราณ โดยไมไดรับอนญุ าตผูฝาฝนตองระวางโทษ
จาํ คกุ ไมเ กนิ 3 ป และปรับไมเ กนิ 5,000 บาท (หา พันบาท)

122

2. ผูผลิต ขาย หรือนาํ เขา ยาทไี่ มไดข นึ้ ทะเบียนตํารับยาจะมีความผิดตองระวางโทษ
จําคกุ ไมเกิน 3 ป หรือปรับไมเ กิน 5,000 บาท (หาพนั บาท) หรอื ทง้ั จําทั้งปรับ

3. ผูที่ผลิตยาปลอมจะมีความผิดตองระวางโทษจําคุกต้ังแต 3 ปถึงตลอดชีวิต และ
ปรบั ตั้งแต 10,000 – 50,000 บาท (หน่ึงหมน่ื ถงึ หา หมน่ื บาท)

4. ผทู ่ขี ายยาปลอมจะมีความผดิ ตอ งระวางโทษจําคุกตั้งแต 1 ป – 20 ป และปรับตั้ง
แต 2,000 – 10,000 บาท (สองพนั ถงึ หนึ่งหม่นื บาท)

5. ผูท่ีโฆษณาขายยาโดยฝาฝนกฎหมายตองระวางโทษปรับไมเกิน 100,000 บาท
(หนึง่ แสนบาท)

หลกี เลย่ี งการซ้อื ยาแผนโบราณทีอ่ าจนาํ มาซึง่ อันตรายเพื่อความปลอดภยั ในการใชยา
แผนโบราณ มคี าถาทเ่ี ปนขอ หา มซึง่ ทานควรทอ งจําไวใ หข นึ้ ใจ

1. หา มซ้อื ยาแผนโบราณจากรถเรขายตามวัดหรือตามตลาดนัดโดยเด็ดขาด เพราะ
อาจไดรบั ยาท่ีผลติ ข้ึนโดยผผู ลิตท่ีไมไดม าตรฐาน ไมไ ดร บั อนุญาตใหผลติ ยา ไมไดขอข้ึนทะเบยี นตาม
ตาํ รบั ยา เพราะยาอาจมกี ารปนเปอนของจุลินทรียในระหวางการผลิต หรือมีการลักลอบผสมยาแผน
ปจจุบนั อาทิ สารสเตียรอยด ฯลฯ เพอื่ เรงผลการรกั ษาใหเ รว็ ข้ึน นํามาซ่ึงอันตรายตอ ผบู รโิ ภคได

2. หา มซอื้ ยาแผนโบราณตามคาํ โฆษณาชวนเชื่อวา ยาแผนโบราณนั้นสามารถรักษา
โรคตา ง ๆ ไดครอบจกั รวาล เชน แกปวดเมอ่ื ย เบ่อื อาหาร นอนไมห ลับ โรคตบั โรคไต โรคหวั ใจ หรอื
โฆษณาวา รักษาโรคมะเร็ง โรคเอดสได เพราะลวนเปน การโฆษณาที่โออวดเกินจริง ไมไดรับอนุญาต
ใหทาํ การโฆษณา

3. หา มใชยาท่มี ีผูอ่ืนมาเชิญชวนใหลองใชโดยอางวาเขาเคยใชมาแลวไดผล อาการ
เจ็บปว ยหายทนั ที หรืออาการเจบ็ ปวยหายขาด

เลือกซือ้ ยาแผนโบราณอยา งไรจงึ ปลอดภยั
หากทานมอี าการเจบ็ ปว ย และมคี วามจาํ เปน ทีจ่ ะตอ งซอ้ื ยาแผนโบราณมาใชโ ปรด
1. ซ้อื ยาจากรานขายยาทมี่ ใี บอนุญาตขายยาเทา นน้ั
2. สงั เกตฉลากยาแผนโบราณทต่ี อ งการซอ้ื (จากรานขายยาท่มี ใี บอนุญาตขายยา)

ท่ฉี ลากตองมีขอ ความสําคัญตาง ๆ ดงั นี้
- ชื่อยา
- เลขที่หรือรหัสใบสําคัญการขนึ้ ทะเบียนยา ซง่ึ ก็คอื เลขทะเบียนตํารับยานนั่ เอง
- ปรมิ าณของยาทีบ่ รรจุ
- เลขท่ีหรอื อกั ษรแสดงครง้ั ที่ผลติ
- ช่อื ผูผ ลติ และจังหวดั ท่ตี ัง้ สถานท่ีผลิตยา
- วัน เดอื น ป ท่ผี ลิตยา

123

- คําวา “ยาแผนโบราณ” ใหเหน็ ชัดเจน
- คําวา “ยาใชภายนอก” หรือ “ยาใชเฉพาะท่ี” แลวแตกรณีดวยอักษรสีแดง
เห็นไดชดั เจน ในกรณที ่ีเปนยาใชภ ายนอก หรือยาใชเฉพาะที่
- คําวา “ยาสามญั ประจาํ บา น” ในกรณเี ปน ยาสามัญประจาํ บาน
- คาํ วา “ยาสาํ หรบั สัตว” ในกรณเี ปน ยาสาํ หรับสัตว
อยางไรก็ตามในกรณีที่ฉลากบนภาชนะบรรจุยาแผนโบราณมีขนาดเล็กต้ังแต 3
ตารางนว้ิ
ลงมาผผู ลติ จะไดร บั การยกเวนใหไมตองแสดงบางขอ ความท่ีกลาวขา งตน อยา งไรกต็ าม ฉลากยาแผน
โบราณอยางนอยจะตองแสดงขอความ ชื่อยา เลขทะเบียนตํารับยา วันเดือนปท่ีผลิตใหผูบริโภค
รบั ทราบ

วิธสี ังเกตเลขทะเบียนตํารับยาแผนโบราณ มีดังนี้
1. หากเปน ยาแผนโบราณที่ผลิตในประเทศ จะขึน้ ตน ดว ยอักษร G ตามดว ยเลขลําดับ

ทีอ่ นุญาต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบยี น G20/42
2. หากเปนยาแผนโบราณทน่ี ําเขาจากตา งประเทศ จะข้ึนตน ดว ยตัวอักษร K ตามดัวย

เลขลําดับทอี่ นุญาต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบยี น K15/42
3. หากเปน ยาแผนโบราณทีแ่ บงบรรจุ จะขนึ้ ตน ดว ยตวั อักษร H ตามดวยเลขลําดับท่ี

อนญุ าต........../ป พ.ศ. ...... เชน เลขทะเบียน H999/45

พบปญ หาหรอื มขี อ สงสยั เกย่ี วกับยาแผนโบราณตดิ ตอ ทใ่ี ด
1. พบยาแผนโบราณทไ่ี มม เี ลขทะเบียนตาํ รบั
2. พบการขายยาจากรถเรข าย การขายยาตามวดั แผงลอยและตลาดนัด และสงสัยวา

เปน ยาปลอม
3. พบการโฆษณายาแผนโบราณที่โออ วดสรรพคุณวาสามารถบําบัด บรรเทา รักษา

หรือปองกนั โรคไดอยางศกั ด์สิ ิทธห์ิ รอื หายขาด

4. สงสัยเก่ียวกับยาแผนโบราณทานสามารถติดตอไปไดที่สํานักงานสาธารณสุข
จังหวัดทกุ แหง หรือสํานักงานคณะกรรมการอาหารและโปรดอยาลืม....... ซื้อยาแผนโบราณครั้งใด
ตองซอ้ื จากรานขายยาท่ีมีใบอนุญาตเทานั้น และตรวจสอบฉลากใหรอบคอบกอนซ้ือ วายานั้นมีเลข
ทะเบียนตาํ รับยาทถี่ ูกตอง

124

2.2 อันตรายจากการใชย าสมนุ ไพร
การใชสมุนไพรเพ่ือการบํารุงสุขภาพและรักษาโรคไดสืบทอดมาชานาน ปจจุบัน

ไดรับความนิยมมากขึ้น และไดรับการสนับสนุนจากกระทรวงสาธารณสุข โดยมีการศึกษาคนควา
อยา งจริงจงั เชน การสง เสรมิ ใหใ ชยาสมนุ ไพรและการบริการทางการแพทยแผนไทยในโรงพยาบาล
ทวั่ ไป

ผลิตภณั ฑส มุนไพรทวั่ ไปจดั อยใู นจาํ พวกอาหารหรือสว นประกอบอาหารที่ฉลากไม
ตองระบุสรรพคุณทางการแพทยหรือขนาดรบั ประทาน ดงั นั้น ผูใ ชผ ลติ ภณั ฑส มนุ ไพรสว นมากจงึ ตอ ง
ศึกษาจากหนังสอื หรือขอคาํ ปรึกษาจากผรู ูห รอื แพทยท างเลอื ก เชน แพทยแ ผนไทย แพทยแผนจนี เปน
ตน

สาํ หรบั สมนุ ไพรท่ีใชเ ปนยาสวนมากจะทําในรูปชา สําหรับใชชงดื่ม ซ่ึงมักมีรสขม
หรือมรี สเฝอ น ท้ังนีไ้ มค วรหลงเช่อื ชาสมนุ ไพรรสดที ่ีมขี ายทั่วไป เพราะมักมียาสมุนไพรผสมอยูนอย
มาก นอกจากนยี้ าสมนุ ไพรที่อยูในรปู ของยาชงดมื่ แลว ยงั มียาตม ยาดอง ยาผง ยาลูกกลอน และยาใช
ภายนอกดว ย เปน ยากพอกหรือยาประคบ

ขอ ควรระวังในการใชย าสมุนไพร
1. พืชสมนุ ไพรหลายชนิดมีพิษโดยเฉพาะถา ใชไมถูกสวน เชน ฟาทะลายโจร ควร

ใชสวนใบออน แตไมควรใชกานหรือลําตน เพราะมีสารไซยาไนตประกอบอยู ดังน้ันกอนใชยา
สมนุ ไพรตอ งแนใจวา มอี ะไรเปนสว นประกอบบา ง

2. กอ นใชยาสมนุ ไพรกบั เด็กและสตรีมีครรภ ตอ งปรกึ ษาแพทยกอ นทกุ คร้งั
3. การรบั ประทานยาสมนุ ไพรควรรับประทานตามปริมาณและระยะเวลาที่แพทย
แนะนาํ หากใชในปริมาณที่เกนิ ขนาดอาจเกิดผลขา งเคยี งทเ่ี ปน อันตรายมาก
4. ตองสังเกตเสมอวา เมื่อใชแลวมีผลขางเคียงอะไรหรือไม หากมีอาการผิดปกติ
เชน ผืน่ คนั เวยี นศรี ษะ หายใจไมสะดวก หรอื มอี าการถายรนุ แรง ควรรีบปรกึ ษาแพทยโ ดยเรว็

สรปุ ยาทุกประเภทมีท้ังคุณและโทษ การใชย าโดยขาดความรูความเขาใจหรือใชไม
ถูกกับโรค ไมถูกวิธี นอกจากไมเกิดประโยชนในการรักษาแลว ยังอาจกอใหเกิดอันตรายได
โดยเฉพาะยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพรท่ีมขี ายอยูท ัว่ ไป มีจาํ นวนไมม ากนักท่ผี านกระบวนการผลิต
ทไี่ ดมาตรฐาน ดงั นั้น การเลือกใชยาดังกลาวจึงตองคัดเลือกยาท่ีไดรับมาตรฐานอาหารและยา (อย.)
ตลอดจนตองทราบสรรพคุณและวิธกี ารใชท ่ีถูกกับสภาพและอาการเจบ็ ปว ยของแตละบคุ คล จึงจะเกดิ
ประโยชนต อ สขุ ภาพอยางแทจรงิ ทัง้ นี้ กอนใชย าทุกประเภทควรคํานึงถึงหลกั การใชยาทั่วไป โดยอา น
ฉลากยาใหล ะเอยี ดและใชอ ยา งระมัดระวัง ดังนี้

125

ถกู ขนาด หมายถงึ ใชย าในปริมาณทไี่ ดผ ลในการรกั ษา ไมใชในปรมิ าณที่มาก
หรือนอ ยเกนิ ไป

ถกู เวลา หมายถึง ใชย าใหถ ูกตองตามวธิ กี ารใชท่ีระบใุ นฉลากยา
ถูกวิธี หมายถึง ใชยาใหถ กู ตอ งตามเวลาที่ระบุในฉลาก เชน

- ยากอนอาหาร ควรรับประทานกอนมอ้ื อาหารอยาง
นอยครึง่ ชั่วโมง

- ยาหลงั อาหาร ควรรบั ประทานหลังอาหารไปแลว
อยา งนอย 15 นาที

- ยากอ นอาหาร ควรปรับประทานหลงั อาหารม้อื เย็น
ประมาณ 3-4 ชว่ั โมง

ถกู โรค หมายถงึ ใชยาใหถูกกบั อาการเจบ็ ปวยหรอื โรคทเ่ี ปน ซง่ึ จะตอ ง
ไดร ับ

การวนิ ิจฉยั จากแพทยหรอื ผูร เู ฉพาะดานอยา งถูกตอง
เสยี กอ น

กิจกรรม
ใหผูเรียนรวบรวมขอมูลตํารับยาแผนโบราณและยาสมุนไพรที่มีในทองถิ่นอยางนอย 2 ชนิด

พรอมบอกสรรพคณุ วิธกี ารใช สว นประกอบสาํ คัญ และผลขา งเคียงหรือขอควรระวังในการใช ดงั น้ี

ยาแผนโบราณ
 ชื่อยา
 สรรพคณุ
 สวนประกอบสําคญั
 วธิ ีการใช
 ขอควรระวงั

ยาสมนุ ไพร
 ช่อื ยา
 สรรพคณุ
 สวนประกอบสาํ คัญ
 วธิ กี ารใช
 ขอ ควรระวงั

126

บทท่ี 7
การปองกนั สารเสพติด

สาระสําคญั
ความรูความเขาใจเก่ียวกับปญหา สาเหตุ ประเภท และอันตรายของสารเสพติด

ตลอดจนลกั ษณะอาการของผตู ิดสารเสพตดิ และสามารถรวู ิธีการปอ งกนั และหลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมเสยี่ ง
ตอสารเสพตดิ ได

ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง
เพือ่ ใหผ ูเรยี นสามารถ
1. อธบิ ายและบอกประเภทและอนั ตรายของสารเสพตดิ ได
2. อธิบายและบอกลกั ษณะอาหารของผูตดิ สารเสพติดได
3. อธบิ ายถงึ วิธกี ารปอ งกันและหลกี เลย่ี งพฤติกรรมเสย่ี งตอ สารเสพตดิ ได

ขอบขา ยเนือ้ หา
เรอ่ื งที่ 1 ปญ หา สาเหตุ ประเภท และอันตรายของสารเสพติด
เรอ่ื งที่ 2 ลักษณะอาการของผูต ดิ ยาเสพตดิ
เรือ่ งที่ 3 การปองกันและหลีกเล่ียงการตดิ สารเสพติด

127

เรือ่ งท่ี 1 ปญ หา สาเหตุ ประเภท และอนั ตรายของสารเสพติด

สถานการณป จ จุบนั พบวา ภาวการณแ พรระบาดของการใชสารเสพติดไดแพรร ะบาด
เขา ไปถึงทุกเพศทกุ วยั ทุกกลุมอายุ สงผลกระทบตอ สขุ ภาพพลานามัยของบคุ คลกลุม น้ัน ๆ โดยเฉพาะ
การใชย าเสพตดิ ในทางทผ่ี ดิ ของกลมุ เยาวชนทีก่ าํ ลังศึกษาเลาเรียนในสถานศึกษา หรอื นอกสถานศกึ ษา
หรือกลมุ เยาวชนนอกระบบการศกึ ษา

สารเสพติด หมายถงึ ยาเสพตดิ วัตถอุ อกฤทธิ์ และสารระเหย
ยาเสพติด ท่ีจะกลาวในท่ีนี้คือ ยาเสพติดใหโทษ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให

โทษ พ.ศ. 2522 (ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2528 และฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2530) ซึ่งหมายถึงสารเคมีวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่ง
เมื่อเสพเขาสูรางกายไมวาจะรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือดวยประการใด ๆ แลวทําใหเกิดผลตอ
รางกายและจติ ใจในลกั ษณะสําคัญ เชน ตองเพิม่ ขนาดการเสพขึน้ เปนลาํ ดบั มกี ารถอนยาเมื่อขาดยา มี
ความตองการเสพท้ังทางรางกายและจติ ใจอยางรนุ แรงตลอดเวลา และสขุ ภาพโดยท่ัวไปจะทรุดโทรม
ลงกบั ใหร วมตลอดถึงพืชหรอื สวนของพืชที่เปน หรอื ใหผ ลผลิตเปนยาเสพตดิ ใหโทษ หรืออาจใชผลิต
เปนยาเสพตดิ ใหโ ทษ และสารเคมที ีใ่ ชในการผลติ ยาเสพติดใหโ ทษดวย ทง้ั นตี้ ามที่รัฐมนตรีประกาศใน
ราชกจิ จานุเบกษา แตไ มห มายความถงึ ยาสามัญประจาํ บานบางตําราตามกฎหมายวา ดวยยาทีม่ ียาเสพตดิ
ใหโทษผสมอยู

1.3 ประเภทของสารเสพตดิ
ยาเสพติดใหโทษแบงได 5 ประเภท [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 135

(พ.ศ. 2539) เรื่องระบุช่ือและประเภทยาเสพติดใหโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.
2522] ดงั น้ี

1. ยาเสพติดใหโ ทษประเภท 1 เชน เฮโรอีน เมทแอมเฟตามีน เอ็มดีเอ็มเอ (ยาอี) ยา
เสพตดิ ใหโทษประเภทนีไ้ มใชประโยชนทางการแพทย

2. ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 2 เชน มอรฟน โคเคอีน เพทิดีน เมทาโดน และฝน ยา
เสพติดใหโทษประเภทน้ีมีประโยชนทางการแพทย แตก็มีโทษมาก ดังนั้นจึงตองใชภายใตความ
ควบคมุ ของแพทย และใชเ ฉพาะในกรณีท่จี าํ เปน เทานน้ั

3. ยาเสพตดิ ใหโทษประเภท 3 เปนยาสาํ เร็จรูปที่ผลิตข้ึนตามทะเบียนตํารับ ที่ไดรับ
อนญุ าตจากกระทรวงสาธารณสขุ แลว มีจาํ หนายตามรานขายยา ไดแ ก ยาแกไอ ที่มตี วั ยาโคเคอีน หรือ
ยาแกทอ งเสยี ท่มี ีตวั ยาไดเฟนอกซิน เปนตน ยาเสพติดใหโทษประเภท 3 มีประโยชนทางการแพทย
และมโี ทษนอ ยกวา ยาเสพติดใหโ ทษอ่นื ๆ

4. ยาเสพติดใหโทษประเภท 4 เปน นาํ้ ยาเคมีท่ีนาํ มาใชใ นการผลิตยาเสพติดใหโทษ
ประเภท 1 ไดแ ก น้ํายาเคมี อาซติ กิ แอนไฮไดรด อาซติ ลิ คลอไรด เอทลิ ิดีน ไดอาเซเตท สารเออรโกเมทรีน

128

และคลอซูโดอีเฟดรีน ยาเสพติดใหโทษประเภทน้ีสวนใหญไมมีการนํามาใชประโยชนในการ
บาํ บัดรักษาอาการของโรคแตอยา งใด

5. ยาเสพติดใหโทษประเภท 5 ไดแก พืชกัญชา พืชกระทอม พืชฝน และพืชเห็ด
ขี้ควาย ยาเสพติดใหโ ทษประเภทนไ้ี มมปี ระโยชนท างการแพทย

พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ กําหนดบทลงโทษสําหรับผูทําการผลิต นําเขา
สง ออก จาํ หนาย มีไวครอบครอง และการเสพยาเสพติดใหโ ทษประเภท 1, 2, 3 และ 5 นอกจากนี้ยังมี
บทลงโทษสาํ หรบั ผูย ยุ ง หรอื สงเสริม หรือกระทําการใด ๆ อันเปนการชว ยเหลือ หรือใหความสะดวก
ในการทีผ่ ูอ ่ืนเสพยาเสพตดิ ใหโ ทษ

การเสพ หมายถึง การรับยาเสพติดใหโทษเขาสูรางกายไมวาดวยวิธีการใด ๆ เชน
รับประทาน สูดดม ฉดี

ผตู ิดยาเสพติดใหโ ทษ ถาสมัครเขารับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลท่ีกระทรวง
สาธารณสุขกําหนดเปนสถานพยาบาลสําหรับบําบัดรักษาผูติดยา กอนท่ีความผิดจะปรากฏและได
ปฏิบัติครบถว นตามระเบยี บของสถานพยาบาลแลว กฎหมายจะเวนโทษสาํ หรบั การเสพยา

วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท หรือวัตถุออกฤทธ์ิ ตามพระราชบัญญัติวัตถุท่ีออก
ฤทธต์ิ อจติ และประสาท พ.ศ. 2518 ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2528) ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2535) หมายถึง “วัตถุที่ออกฤทธิ์
ตอ จิตและประสาทที่เปน สงิ่ ธรรมชาติหรือไดจ ากสง่ิ ธรรมชาติ หรอื วตั ถทุ อี่ อกฤทธิ์ตอจติ และประสาท
ทเี่ ปนวตั ถสุ งเคราะห ทง้ั น้ีตามทรี่ ัฐมนตรปี ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา”

วัตถุออกฤทธ์ิแบงได 4 ประเภท [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี 97 (พ.ศ.
2539) เรื่องระบุชอ่ื และจัดแบงประเภทวัตถอุ อกฤทธ์ิตามความในพระราชบญั ญัตวิ ตั ถทุ อ่ี อกฤทธิ์ตอ จิต
และประสาท พ.ศ. 2518] ดังนี้

1. วัตถุออกฤทธ์ิประเภท 1 มีความรุนแรงในการออกฤทธ์ิมาก ทําใหเกิดอาการ
ประสาทหลอน ไมมีประโยชนใ นการบําบัดรกั ษาอาการของโรค ไดแก ไซโลไซบนั และเมสคาลีน

2. วตั ถอุ อกฤทธิ์ประเภท 2 เชน ยากระตุน ระบบประสาท เชน อเี ฟดรนี เฟเนทิลลีน
เพโมลนี และยาสงบประสาท เชน ฟลูไนตราซีแพม มิดาโซแลม ไนตราซีแพม วัตถุประเภทนี้มีการ
นาํ ไปใชใ นทางที่ผดิ เชน ใชเปน ยาแกงว ง ยาขยัน หรอื เพอ่ื ใชมอมเมาผอู ่ืน

3. วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 3 ใชในรูปยารักษาอาการของโรค สวนใหญเปนยากด
ระบบประสาทสวนกลาง เชน เมโพรบาเมต อะโมบารบิตาล และยาแกปวด เพตาโซซีน การใชยา
จาํ พวกน้ีจําเปนตอ งอยูในความควบคุมดูแลของแพทย

4. วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 4 ไดแก ยาสงบประสาท/ยานอนหลับในกลุมของบารบิ
ตูเรต เชน ฟโนบารบิตาล และเบ็นโซไดอาซีปนส เชน อัลปราโซแลม ไดอาซีแพม สวนใหญมีการ
นํามาใชอยางกวางขวาง ท้ังนี้เพื่อบําบัดรักษาอาการของโรค และการนํามาใชในทางที่ผิด การใชยา
วัตถุออกฤทธปิ์ ระเภทน้ตี องอยภู ายใตการควบคุมของแพทยเชนเดียวกับการใชวัตถอุ อกฤทธป์ิ ระเภท3

129

สารระเหย ตามพระราชกําหนดปองกันการใชสารระเหย พ.ศ. 2533 หมายถึง
“สารเคมี หรอื ผลิตภัณฑทร่ี ัฐมนตรปี ระกาศวา เปนสารระเหย”

สารระเหย เปนสารเคมี 14 ชนิด และผลิตภัณฑ 5 ชนิด [ประกาศกระทรวง
สาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับท่ี 14 (พ.ศ. 2538) เร่ืองกําหนดชื่อ ประเภท ชนิด หรือขนาด
บรรจุของสารเคมี หรือผลติ ภัณฑเปน สารระเหย]

สารเคมี 14 ชนิด ไดแ ก อาซโี ทน เอทิลอาซีเตท โทลอู นี เซลโลโซลฟ ฯลฯ
ผลิตภัณฑ 5 ชนิด ไดแก ทินเนอร แลคเกอร กาวอินทรียสังเคราะห กาวอินทรีย
ธรรมชาติ ลกู โปง วิทยาศาสตร
การตดิ ยากบั การเสพยา
องคการอนามยั โลกไดใหการนยิ ามของภาวะทเ่ี กีย่ วขอ งกับยาเสพติดไว ดงั น้ี
1. การใชยาในทางทีผ่ ิด (Harmful use, abuse) หมายถึง การใชยาเสพติดในลักษณะ
อนั ตรายตอสุขภาพ ท้ังทางดานรา งกายและดา นจติ ใจ เชน ภาวะซมึ เศราจากการด่มื สรุ าอยางหนกั
2. การติดสารเสพติด (Depenedence syndrome) หมายถึง ภาวะผิดปกติทางดาน
ปญ ญา ความคิดอา น และระบบสรีระรา งกายซึ่งเกิดภายหลังจากการใชสารเสพติดซ้ํา ๆ และมีอาการ
ตาง ๆ ดังตอไปน้รี วมดวย

1) มคี วามตอ งการอยา งรนุ แรงทจี่ ะใชสารตัวนั้น ๆ
2) มคี วามยากลาํ บากในการควบคุมการใชท ง้ั ปรมิ าณและความถี่
3) ยงั คงใชส ารนัน้ ตอ ไปทงั้ ๆ ท่ีรูวา จะเปนอันตรายตอรางกาย
4) หมกมุนอยกู ับการใชส ารเสพติดมากกวาการทํากิจกรรมอืน่ ที่สาํ คัญกวา
5) มอี าการด้ือยา คอื ตองเพ่มิ ปริมาณการใช เพื่อใหไดผ ลเทา เดมิ
6) เมื่อหยุดการใชยาจะเกิดอาการขาดยาหรืออยากยาทางรางกาย (Physical

with)

130

1.4 สาเหตุของการตดิ สารเสพตดิ
1. สาเหตุทเ่ี กิดจากความรเู ทา ไมถงึ การณ
1) อยากทดลอง เกดิ จากความอยากรูอยากเห็นซงึ่ เปน นิสยั ของคนโดยทว่ั ไป

และโดยทไี่ มค ดิ วา ตนจะตดิ สง่ิ เสพตดิ นไ้ี ด จงึ ทาํ การทดลองใชส งิ่ เสพติดนนั้ ในการทดลองใชค รง้ั แรก
ๆ อาจมคี วามรูสึกดหี รอื ไมด กี ต็ าม ถายงั ไมต ดิ ส่ิงเสพตดิ น้นั กอ็ าจประมาท ไปทดลองใชในส่ิงเสพติด
น้นั อีก จนในที่สดุ กต็ ิดส่งิ เสพติดนน้ั หรือถาไปทดลองใชส่ิงเสพติดบางชนิด เชน เฮโรอีน แมจะเสพ
เพยี งครงั้ เดียวกอ็ าจทําใหตดิ ได

2) ความคกึ คะนอง คนบางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเกงเปนนิสัย
โดยเฉพาะวัยรนุ มกั จะมนี สิ ัยดังกลา ว คนพวกนอ้ี าจแสดงความเกงกลาของตน ในกลุมเพ่ือนโดยการ
แสดงการใชส่ิงเสพติดใหเพ่ือนฝูงยอมรับวาตนเกง โดยมิไดคํานึงถึงผลเสียหายหรืออันตรายที่จะ
เกดิ ขน้ึ ภายหลงั แตอ ยางไร ในทสี่ ุดตนเองก็กลายเปนคนติดส่งิ เสพติดนัน้

3) การชักชวนของคนอ่ืน อาจเกิดจากการเช่ือตามคําชักชวนโฆษณาของ
ผูขายสินคา ที่เปนสิ่งเสพติดบางชนิด เชน ยากระตุนประสาทตาง ๆ ยาขยัน ยาบา เปนตน โดยผูขาย
โฆษณาสรรพคุณของสิ่งเสพติดนั้นวามีคุณภาพดีสารพัดอยางเชน ทําใหมีกําลังวังชา ทําใหมีจิตใจ
แจมใส ทาํ ใหม ีสุขภาพดี ทําใหมีสติปญ ญาดี สามารถรกั ษาโรคไดบางชนิด เปนตน ผูท่ีเช่ือคําชักชวน
โฆษณาดังกลาวจึงไปซื้อตามคําชักชวนของเพ่ือนฝูง ซ่ึงโดยมากเปนพวกที่ติดส่ิงเสพติดน้ันอยูแลว
ดวยความเกรงใจเพอื่ น หรือเชอื่ เพื่อน หรือตองการแสดงวา ตวั เปนพวกเดียวกับเพ่ือน จึงใชสิ่งเสพติด
นั้น

2. สาเหตทุ ีเ่ กิดจากการถูกหลอกลวง
ปจ จุบันน้มี ผี ขู ายสินคา ประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มบางรายใชสิ่งเสพติด

ผสมลงในสินคา ท่ขี าย เพ่ือใหผ ูซอ้ื สินคานนั้ ไปรับประทานเกิดการติด อยากมาซื้อไปรับประทานอีก
ซ่ึงในกรณีนี้ ผูซื้ออาหารนั้นมารบั ประทาน จะไมร สู ึกวา ตนเองเกดิ การตดิ ส่งิ เสพติดข้ึนแลว รูแตเพียง
วา อยากรับประทานอาหาร ขนม หรือเคร่ืองดมื่ ท่ีซื้อจากรา นนน้ั ๆ กวา จะทราบก็ตอเมอ่ื ตนเองรูสึกผิด
สังเกตตอความตองการ จะซ้ืออาหารจากรานน้ันมารับประทาน หรือตอเมื่อมีอาการเสพติดรุนแรง
และมีสุขภาพเส่อื มลง

3. สาเหตทุ ีเ่ กดิ จากความเจ็บปวย
1) คนที่มีอาการเจ็บปวยทางกายเกิดขึ้นเพราะสาเหตุตาง ๆ เชน ไดรับ

บาดเจ็บรุนแรง เปนแผลเรอ้ื รัง มคี วามเจ็บปวดอยูเปน ประจาํ เปนโรคประจําตัวบางอยาง เปนตน ทํา
ใหไดร บั ทกุ ขทรมานนั้น ซ่ึงวิธีหน่งึ ทที่ าํ ไดงา ยคอื การรบั ประทานยาทมี่ ีฤทธ์ิระงับอาการเจ็บปวดนั้น
ได ซง่ึ ไมใ ชเ ปนการรกั ษาที่เปนตน เหตุของความเจ็บปว ย เพียงแตร ะงบั อาการเจ็บปวดใหหมดไปหรือ
ลดนอ ยลงไดชว่ั ขณะ เมื่อฤทธิ์ยาหมดไปกจ็ ะกลบั เจบ็ ปวดใหม ผปู วยกจ็ ะใชยาน้ันอีก เมื่อทําเชนนี้ไป
นาน ๆ เกดิ อาการตดิ ยานัน้ ขนึ้

131

2) ผูท่ีมีจิตใจไมเปน ปกติ เชน มคี วามวติ ก กังวล เครียด มีความผิดหวังใน
ชวี ิต มีความเศราสลด เสียใจ เปนตน ทาํ ใหส ภาวะจติ ไมเ ปน ปกตจิ นเกดิ การปวยทางจิตข้นึ จึงพยายาม
หายาหรือสิ่งเสพติดท่ีมีฤทธิ์สามารถคลายความเครียดจากทางจิตไดชั่วขณะหน่ึงมารับประทาน แต
ไมไดรกั ษาที่ตนเหตุเม่ือยาหมดฤทธิ์ จิตใจก็จะกลับมาเครียดอีก และผูปวยก็จะเสพสิ่งเสพติด ถาทํา
เชนนีไ้ ปเรอื่ ย ๆ ก็จะทําใหผ ูนัน้ ตดิ ยาเสพติดในท่สี ดุ

3) การไปซอ้ื ยามารับประทานเองโดยไมทราบสรรพคุณยาที่แทจริง ขนาด
ยาทคี่ วรรับประทาน การรับประทานยาเกินจํานวนกวาที่แพทยไดสั่งไว การรับประทานยาบางชนิด
มากเกนิ ขนาด หรอื รับประทานติดตอกนั นาน ๆ บางครงั้ อาจมีอาการถงึ ตายได หรือบางครั้งทําใหเกิด
การเสพติดยานั้นได

4. สาเหตุอืน่ ๆ
การอยูใกลแหลง ขายหรือใกลแหลง ผลิต หรือเปนผขู ายหรือผูผลิตเอง จึงทําใหมี

โอกาสติดส่ิงเสพตดิ ใหโทษนัน้ มากกวาคนท่ัวไปเม่ือมีเพื่อนสนิทหรือพี่นองท่ีติดสิ่งเสพติดอยู ผูน้ัน
ยอ มไดเ หน็ วิธกี ารเสพของผทู ีอ่ ยใู กลช ดิ รวมทง้ั ใจเห็นพฤตกิ รรมตาง ๆ ของเขาดวย และยังอาจไดรับ
คาํ แนะนาํ หรือชักชวนจาก
ผูเสพดวย จึงมีโอกาสตดิ ได

1) คนบางคนอยูใ นสภาพทม่ี ปี ญหา เชน วา งงาน ยากจน คาใชจายเพิ่มโดย
มรี ายไดลดลง หรือคงที่ มีหนีส้ นิ มาก ฯลฯ เมือ่ แกป ญหาตาง ๆ เหลานี้ไมไดก็หันไปใชส่ิงเสพติดชวย
ผอ นคลายความรสู ึกในความทุกขย ากตา ง ๆ เหลา น้ี แมจะรวู าเปน ช่ัวครชู ่ัวยามก็ตาม เชน กลมุ ใจท่ีเปน
หน้ีคนอ่ืนกไ็ ปกนิ เหลา หรอื สูบกัญชาใหเ มาเพ่ือทจ่ี ะไดลืมเรื่องหนี้สิน บางคนตองการรายไดเพ่ิมข้ึน
โดยพยายามทาํ งานใหห นักและมากขน้ึ ทั้ง ๆ ทรี่ า งกายออ นเพลยี มากจงึ รับประทานยากระตนุ ประสาท
เพ่ือใหส ามารถทํางานตอไปได เปน ตน ถา ทาํ อยเู ปนประจาํ ทําใหติดสงิ่ เสพตดิ น้นั ได

2) การเลียนแบบ การท่ไี ปเหน็ ผทู ตี่ นสนิทสนมรกั ใครห รอื เพื่อน จึงเห็นวา
เปน สิ่งนา ลอง เปนสิง่ โกเก เปนสิ่งแสดงความเปน พวกเดียวกนั จงึ ไปทดลองใชส ง่ิ เสพตดิ นั้นจนตดิ

3) คนบางคนมีความผดิ หวงั ในชวี ิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครัว หรือ
ผิดหวังในชีวติ สังคม เพื่อเปน การประชดตนเองหรือคนอื่น จึงไปใชส่ิงเสพติดจนติดท้ัง ๆ ที่ทราบวา
เปน สิง่ ไมดกี ็ตาม

132

1.5 อันตรายและโทษของสารเสพตดิ
สารเสพตดิ ใหโทษมหี ลายชนิดไดแพรร ะบาดเขามาในประเทศไทย จะพบในหมูเด็ก

และเยาวชนเปนสวนมาก นับวาเปนเรื่องรายแรงเปนอันตรายตอผูเสพและประเทศชาติเปนอยางย่ิง
ผูเรียนควรทราบอนั ตรายจากสารเสพติดในแตล ะชนิด ดงั น้ี

1. ฝน (Opium) ฝน จะมฤี ทธก์ิ ดประสาท ทาํ ใหนอนหลบั เคลบิ เคลมิ้ ผูท ีต่ ิดฝน จะมี
ความคดิ อานชาลง การทํางานของสมอง หัวใจ และการหายใจชาลง นอกจากนี้ ยังพบวาฝนทําใหตับ
เสื่อมสมรรถภาพปลายประสาทและกลามเนื้อหัวใจอักเสบ ระบบยอยอาหารเสื่อมสมรรถภาพ เบื่อ
อาหาร ทองผูก ระบบฮอรโมนเปลี่ยนแปลง ผูหญิงอาจเกิดการขาดประจําเดือน ผูชายอาจหมด
สมรรถภาพทางเพศ และรา งกายทรดุ โทรม

อาการขาดยา จะเริม่ หลังจากไดรับยาครั้งสุดทาย 4-10 ช่ัวโมง แลวไมสามารถ
หายาเสพไดอ ีก จะมอี าการกระวนกระวาย หงดุ หงดิ โกรธงา ย ตื่นเตน ตกใจงาย หาวนอนบอ ย ๆ นาํ้ มกู
นํ้าตา นํ้าลาย และเหง่อื ออกมาก ขนลกุ กลามเนอ้ื กระตุก ตัวสนั่ มานตาขยาย ปวดหลังและขามาก ปวด
ทอง อาเจียน ทองเดนิ บางรายมอี าการรนุ แรงถงึ ขนาดถา ยเปนเลือด ที่ภาษาชาวบานเรียกวา “ลงแดง” ผู
ตดิ ยาจะมีความตอ งการยาอยางรุนแรงจนขาดเหตุผลที่ถูกตอง อาการขาดยานี้จะเพ่ิมข้ึนในระยะ 24
ช่วั โมงแรก และจะเกดิ มากที่สุดภายใน 48-72 ช่ัวโมง หลงั จากนั้นอาการจะคอย ๆ ลดลง

2. มอรฟน (Morphine) เปนแอลคาลอยดจากฝนดิบ มีฤทธ์ิท้ังกดและกระตุน
ระบบประสาทสว นกลาง ทําใหศ นู ยประสาทรับความรูสึกชา อาการเจ็บปวดตาง ๆ หมดไป กลามเนื้อ
คลายตวั มคี วามรสู ึกสบายหายกังวล นอกจากนี้ยังมีฤทธ์ิกดศูนยการไอทําใหระงับอาการไอ กดศูนย
ควบคุมการหายใจ ทําใหรางกายหายใจชาลง เกิดอันตรายถึงแกชีวิตได สวนฤทธ์ิกระตุนระบบ
ประสาทสวนกลางจะทําใหคลื่นไส อาเจียน มานตาหร่ี บางรายมีอาการตื่นเตนดวย กระเพาะอาหาร
และลําไสท าํ งานนอยลง หูรดู ตาง ๆ หดตวั เล็กลง จงึ ทาํ ใหมีอาการทองผกู และปส สาวะลาํ บาก

3. เฮโรอีน (Heroin) สกัดไดจากมอรฟนโดยกรรมวิธีทางเคมี ซึ่งเกิดปฏิกิริยา
ระหวางมอรฟ นและนา้ํ ยาอะซติ คิ แอนไฮไดรด เปนยาเสพติดท่ีติดไดงายมาก เลิกไดยาก มีความแรง
สูงกวามอรฟ น ประมาณ 5-8 เทา แรงกวาฝน 80 เทา และถาทําใหบริสุทธ์ิจะมีฤทธิ์แรงกวาฝนถึง 100
เทาตวั เฮโรอนี เปนยาเสพติดใหโทษที่รายแรงท่ีสุด ใชไดทั้งวิธีสูบฉีดเขากลามเนื้อหรือเสนเลือดดํา
ละลายไดดใี นน้าํ เฮโรอนี มฤี ทธิ์ทําใหงวงนอน งนุ งง คล่นื ไส อาเจียน เบอ่ื อาหาร รา งกายผอมลงอยาง
รวดเรว็ ออ นเพลยี ไมกระตือรอื รน ไมอยากทาํ งาน หงุดหงิด โกรธงา ย มกั กอ อาชญากรรมไดเสมอ มัก
ตายดวยมโี รคแทรกซอ น หรือใชย าเกินขนาด

4. บารบ ิทเู รต (Barbiturates) ยาที่จัดอยูใ นพวกสงบประสาทใชเปนยานอนหลับ
ระงับความวิตกกงั วล ระงบั อาการชักหรือปอ งกนั การชัก ทีใ่ ชกันแพรห ลายไดแ ก เซดคบารบิตาลออก
ฤทธก์ิ ดสมอง ทําใหสมองทํางานนอยลง ใชยาเกินขนาดทําใหมีฤทธิ์กดสมองอยางรุนแรง ถึงขนาด

133

หมดความรสู กึ และเสยี ชวี ิต จะมีอาการมึนงงในคอหงุดหงิด เล่ือนลอย ขาดความรับผิดชอบ มีความ
กลา อยา งบาบิน่ ชอบทะเลาะววิ าท กาวรา ว
ทํารายตนเอง คลุมคลัง พูดไมชัด เดินโซเซคลายกับคนเมาสุรา ขาดความอาย อาทิ สามารถเปลื้อง
เสือ้ ผาเพ่อื เตน โชวไ ด

5. ยากลอ มประสาท (Tranquilizers) เปนยาที่มีฤทธิ์กดสมอง ทําใหจิตใจสงบหาย
กังวล แตฤทธิ์ไมร นุ แรงถงึ ขนั้ ทาํ ใหห มดสติหรอื กดการหายใจ การใชยาเปน เวลานาน จะทาํ ใหร างกาย
เกดิ ความตา นทานตอยาและเกิดการเสพติดไดและมีแนวโนมจะปวยดวยโรคความดันโลหิตตํ่า โรค
กระเพาะ โรคทางเดนิ อาหาร ฯลฯ

6. แอมเฟตามนี (Amphetamine) มีชือ่ ท่บี ุคคลทัว่ ไปรูจัก คือ ยาบา หรือยาขยันเปน
ยาทีม่ ีฤทธกิ์ ระตุน ประสาทสวนกลาง และระบบประสาทสว นปลาย ทําใหมีอาการต่ืนตัว หายงวง พูด
มาก ทาํ ใหหลอดเลอื ดตีบเลก็ ลง หัวใจเตน เร็วข้นึ ความดันเลือดสูง มือส่ันใจส่ัน หลอดลมขยาย มาน
ตาขยาย เหงื่อออกมาก ปากแหง เบื่ออาหาร ถาใชเกินขนาดจะทําใหเวียนศีรษะนอนไมหลับ ตัวสั่น
ตกใจงา ย ประสาทตงึ เครียด โกรธงาย จติ ใจสบั สน คลื่นไส อาเจยี น ทองเดินและปวดทอ งอยางรุนแรง
มีอาการชกั หมดสติ และตายเนอ่ื งจากหลอดเลือดในสมองแตกหรอื หัวใจวาย

7. กัญชา (Cannabis) เปนพชื ลมลกุ ชนดิ หน่ึง ขนึ้ ไดง า ยในเขตรอน อาทิ ไทย อินเดีย
เม็กซิโก ผลที่เกิดข้ึนตอรางกายจะปรากฏหลังจากสูบ 2-3 นาที หรือหลังจากรับประทานคร่ึงถึง 1
ชั่วโมง ทําใหมีอาการตืน่ เตน ชางพูด หัวเราะสงเสยี งดัง กลามเนื้อแขนขาออ นเปล้ียคลา ยคนเมาสรุ า ถา
ไดร บั ในขนาดสงู ความรูสกึ นึกคดิ และการตัดสินใจเสียไป ความจําเส่ือม ประสาทหลอน หวาดระแวง
ความคิดสับสน ไมสนใจสิ่งแวดลอม การสูบกัญชา ยังทําใหเกิดหลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคหืด
หลอดลม มะเร็งที่ปอด บางรายมีอาการทองเดิน อาเจียน มือส่ันเปนตะคริว หลอดเลือดอุดตัน หัว
ใจเตน เรว็ ความรูสึกทางเพศลดลงหรือหมดไป และเปนหนทางนําไปสูการเสพติดยาชนดิ อืน่ ๆ ไดงาย

8. ยาหลอนประสาท (Hallucinogen) เปนยาท่ีทําใหประสาทการเรียนรูผิดไปจาก
ธรรมดา ยาทีแ่ พรหลายในปจ จบุ ัน ไดแก แอลเอสดี ดีเอ็มที เอสทีพี เมสคาลีน เห็ดข้ีควาย ตนลําโพง
หัวใจเตนเร็วข้ึน ความดันเลือดสูง มานตาขยาย มือเทาสั่น เหง่ือออกมากท่ีฝามือ บางรายคลื่นไส
อาเจยี น สงผลตอจติ ใจ คอื มอี ารมณออนไหวงาย ประสาทรับความรูสึกแปรรวน ไมสามารถควบคุม
สติได ทายสุดผเู สพมกั ปว ยเปนโรคจิต

9. สารระเหย สารระเหยจะถกู ดูดซึมผานปอด เขาสูกระแสโลหิต แลวเขาสูเน้ือเย่ือ
ตาง ๆ ของรางกาย เกิดพิษซ่ึงแบง ไดเ ปน 2 ระยะ คือ

พิษระยะเฉียบพลัน ตอนแรกจะรูสึกเปนสขุ รา เริง ควบคุมตัวเองไมได คลายกับ
คนเมาสุรา ระคายเคอื งเยื่อบุภายในปากและจมูก น้ําลายไหลมาก ตอมามีฤทธ์ิกดทําใหง ว งซมึ หมดสติ
ถา เสพในปรมิ าณมากจะไปกดศนู ยห ายใจทําใหตายได

134

พษิ ระยะเร้ือรงั หากสดู ดมสารระเหยเปนระยะเวลานานติดตอกัน จะเกิดอาการ
ทางระบบประสาท วิเวียนศีรษะ เดินโซเซ ความคิดสับสน หัวใจเตนผิดปกติ เกิดการอักเสบของ
หลอดลม ถายทอดทางพันธกุ รรม เปนเหตใุ หเ ด็กทเ่ี กิดมามคี วามพิการได เซลลสมองจะถูกทําลายจน
สมองฝอ จะเปน โรคสมองเสอื่ มไปตลอดชวี ติ

10. ยาบา เปนชื่อท่ีใชเรียกยาเสพติดที่มีสวนของสารเคมีประเภทแอมเฟตามีน
(Amphetamine) สารประเภทนี้แพรร ะบาดอยู 3 รปู แบบดวยกนั คอื

1) แอมเฟตามนี ซัลเฟต (Amphetamine Sulfate)
2) เมทแอมเฟตามนี (Methamphetamine)
3) เมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด (Methamphetamine Hydrochloride)
ซ่งึ จากผลการตรวจพิสูจนย าบา ปจจบุ ันทีพ่ บอยใู นประเทศไทยมักพบวา เกอื บทั้งหมดมีเมทแอมเฟตามีน
ไฮโดรคลอไรด ผสมอยู
ยาบา จัดอยูในกลุมยาเสพติดที่ออกฤทธ์ิกระตุนประสาท มีลักษณะเปนยาเม็ด
กลมแบนขนาดเล็ก เสนผานศูนยกลางประมาณ 6-8 มิลลิเมตร ความหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร
น้ําหนักเม็ดยาประมาณ 80-100 มลิ ลิกรมั มีสีตางๆ กัน เชน สสี ม สนี ํ้าตาลสีมวง สีเทา สีเหลือง และสี
เขียว มีสัญลักษณท่ีปรากฏบนเม็ดยา เชน ฬ, M, PG, WY สัญลักษณรูปดาว, รูปพระจันทรเสี้ยว, 99
หรือ อาจเปนลักษณะของเสนแบงคร่ึงเม็ด ซึ่งลักษณะเหลานี้อาจปรากฏบนเม็ดยาดานหนึ่งหรือท้ัง
สองดา นหรือ อาจเปน เม็ดเรียบทั้งสองดา นก็ได
อาการผูเ สพ
เมื่อเสพเขา สูรางกาย ในระยะแรกจะออกฤทธิ์ทําใหรางกายตื่นตัว หัวใจเตนเร็ว
ความดันโลหิตสูง ใจส่ัน ประสาทตึงเครียด แตเม่ือหมดฤทธิ์ยา จะรูสึกออนเพลียมากกวาปกติ
ประสาทลา ทําใหก ารตดั สนิ ใจชา และผดิ พลาด เปน เหตุใหเกดิ อุบัติเหตรุ า ยแรงได ถาใชติดตอกันเปน
เวลานาน จะทําใหส มองเสอ่ื ม เกดิ อาการประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หวาดระแวงคลุม คลั่ง เสียสติ
เปนบาอาจทํารายตนเองและผูอื่นได หรือในกรณีที่ไดรับยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกด
ประสาทและระบบการหายใจทาํ ใหห มดสติ และถงึ แกค วามตายได
อนั ตรายท่ีไดรับ
การเสพยาบากอใหเ กดิ ผลรายหลายประการ ดังน้ี
1. ผลตอจิตใจ เม่ือเสพยาบาเปน ระยะเวลานานหรอื ใชเปน จํานวนมาก จะทาํ ใหผู
เสพมคี วามผิดปกติทางดา นจติ ใจกลายเปน โรคจิตชนดิ หวาดระแวง สง ผลใหม พี ฤตกิ รรมเปลี่ยนแปลง
ไป เชน เกิดอาการหวาดหว่ัน หวาดกลัว ประสาทหลอน ซ่ึงโรคน้ีหากเกิดขึ้นแลว อาการจะคงอยู
ตลอดไป แมในชว งเวลาท่ีไมไดเ สพยากต็ าม
2. ผลตอระบบประสาท ในระยะแรกจะออกฤทธิ์กระตุนประสาท ทําให
ประสาทตงึ เครียด แตเม่ือหมดฤทธย์ิ าจะมีอาการประสาทลา ทาํ ใหการตัดสินใจในเร่ืองตาง ๆ ชา และ

135

ผิดพลาด และหากใชติดตอกันเปนเวลานานจะทําใหสมองเส่ือม หรือกรณีที่ใชยาในปริมาณมาก
(Overdose) จะไปกดประสาทและระบบการหายใจ ทาํ ใหหมดสตแิ ละถึงแกความตายได

3. ผลตอพฤติกรรม ฤทธข์ิ องยาจะกระตนุ สมองสว นทค่ี วบคมุ ความกา วราว และ
ความกระวนกระวายใจ ดังน้ันเมอ่ื เสพยาบา ไปนาน ๆ จะกอ ใหเ กิดพฤติกรรมท่ีเปลี่ยนแปลงไป คือ ผู
เสพจะมีความกา วราวเพิ่มข้นึ และหากยงั ใชต อไปจะมีโอกาสเปน โรคจิตชนิดหวาดระแวง เกรงวาจะมี
คนมาทาํ รา ยตนเอง จงึ ตองทํารายผูอื่นกอน

11. ยาอ,ี ยาเลิฟ
ยาอี ยาเลิฟ เอค็ ซตาซี (Ecstasy) เปน ยาเสพตดิ กลุม เดียวกนั จะแตกตางกันบางใน

ดา นโครงสรา งทางเคมี
ลักษณะของยาอี มีทั้งท่ีเปนแคปซูลและเปนเม็ดยาสีตางๆ แตท่ีพบในประเทศ

ไทย สวนใหญมีลักษณะเปนเม็ดกลมแบน เสนผาศูนยกลาง 0.8-1.2 ซม. หนา 0.3-0.4 ซม. ผิวเรียบ
และปรากฏสัญลักษณบนเมด็ ยา เปนรูปตา งๆ เชน กระตาย, คา วคาว, นก, ดวงอาทติ ย, PT ฯลฯ

เสพโดยการรับประทานเปนเม็ด จะออกฤทธ์ภิ ายในเวลา 45 นาที และฤทธ์ิยาจะ
อยใู นรางกายไดน านประมาณ 6-8 ซม.

ยาอี ยาเลฟิ เอค็ ซตาซี เปนยาท่ีแพรระบาดในกลมุ วัยรนุ ทีช่ อบเท่ียวกลางคืนออก
ฤทธ์ิใน 2 ลกั ษณะ คอื ออกฤทธ์ิกระตุนระบบประสาท ในระยะสั้นๆ หลักจากน้ัน จะออกฤทธ์ิหลอก
ประสาทอยางรุนแรง ฤทธิข์ องยาจะทาํ ใหผเู สพรูส กึ รอน เหง่ือออกมาก หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิต
สูง การไดยินเสียง และการมองเห็นแสงสีตาง ๆ ผิดไป จากความเปนจริง เคลิบเคล้ิม ไมสามารถ
ควบคุมอารมณของตนเองได อันเปนสาเหตุที่จะนําไปสูพฤติกรรมเส่ือมเสียตาง ๆ และจากการ
คนควาวิจัยของแพทย และนักวิทยาศาสตรหลายทาน พบวา ยาชนิดนี้มีอันตรายรายแรง แมจะเสพ
เพียง 1-2 คร้ัง ก็สามารถทําลายระบบภูมิคุมกันของรางกาย สงผลใหผูเสพมีโอกาสติดเชื้อโรคตาง ๆ
ไดง าย และยังทาํ ลายเซลลส มองสวนที่ทําหนาที่สงสารซีโรโทนิน (Serotonin) ซ่ึงเปนสาระสําคัญใน
การควบคมุ อารมณใหม ีความสขุ ซง่ึ ผลจากการทาํ ลายดังกลาว จะทําใหผเู สพเขาสูสภาวะของอารมณท ี่
เศรา หมองหดหอู ยา งมาก และมแี นวโนมการฆาตวั ตายสงู กวาปกติ

อาการผเู สพ
เหงอื่ ออกมาก หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง ระบบประสาทการรับรูเกิดการ
เปลีย่ นแปลงทงั้ หมด (Psychedelic) ทําใหการไดยินเสยี งและการมองเห็นแสงสีตางๆ ผิดไปจากความ
เปนจรงิ เคลบิ เคลิ้ม ควบคุมอารมณไ มได

136

อันตรายท่ีไดรบั
การเสพยาอี กอใหเกิดผลรา ยหลายประการดังน้ี
1. ผลตอ อารมณ เมื่อเร่ิมเสพในระยะแรกยาอีจะออกฤทธ์ิกระตุนประสาทใหผู
เสพรูสึกต่ืนตัวตลอดเวลา ไมสามารถควบคุมอารมณของตนเองได เปนสาเหตุใหเกิดพฤติกรรมสํา
สอนทางเพศ
2. ผลตอ การรสู ึก การรบั รูจะเปลี่ยนแปลงไปจากความเปนจรงิ
3. ผลตอ ระบบประสาท ยาอีจะทําลายระบบประสาท ทําใหเซลลสมองสวนท่ี
ทาํ หนาทหี่ ล่งั สารซีโรโทนนิ (Serotonin) ซงึ่ เปนสาระสาํ คญั ในการควบคมุ อารมณน น้ั ทํางานผิดปกติ
กลาวคือ เมื่อยาอีเขาสูสมองแลว จะทําใหเกิดการหล่ังสาร “ซีโรโทนิน” ออกมามากเกินกวาปกติ
สงผลใหจิตใจสดช่ืนเบิกบาน แตเม่ือระยะเวลาผานไปสารดังกลาวจะลดนอยลง ทําใหเกิดอาการ
ซึมเศราหดหูอยางมาก อาจกลายเปนโรคจิต ประเภทซมึ เศรา (Depression) และอาจเกดิ สภาวะอยากฆา
ตัวตาย นอกจากนี้การทสี่ ารซโี รโทนนิ ลดลง ยังทาํ ใหธ รรมชาตขิ องการหลบั นอนผิดปกติ จาํ นวนเวลา
ของการหลบั ลดลง นอนหลับไมสนิท จึงเกิดอาการออนเพลียขาดสมาธิในการเรียน และการทํางาน
ออ นเพลียขาดสมาธใิ นการเรียน และการทาํ งาน
4. ผลตอ สภาวะการตายขณะเสพ มักเกิดเมื่อผูเสพสูญเสียเหง่ือมาก ทําใหเกิด
สภาวะขาดน้ําอยา งฉับพลัน หรอื กรณีที่เสพยาอีพรอมกับดื่มแอลกอฮอลเขาไปมาก หรือผูท่ีปวยเปน
โรคหัวใจ จะทาํ ใหเกิดอาการชอ็ กและเสยี ชวี ติ ได
สรุป
สารเสพติดมีหลายชนิด มีฤทธิ์รายแรงทําลายสุขภาพ มีผลตอระบบประสาทเปน
อยางมาก ผูเ สพจะมีอาการในลกั ษณะท่ีควบคมุ ตนเองไมคอยได เปนไปตามฤทธิ์ของยาเสพติดแตละ
ชนิดเม่ือเสพติดตอกันไประยะหนึ่ง จะทําใหมีความตองการโดยขาดไมได และจะมีความตองการ
เพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ ในที่สุดรางกายจะทรุดโทรมลงและเสียชีวิตในที่สุด ยาเสพติดเหลานี้ไดแก ฝน มอรฟน
เฮโรอีน ยากลอมประสาท กัญชา ยาอี ฯลฯผเู รียนไมควรริลอง เพราะจะทําใหเกิดการเสพติดโดยงาย
ทําใหเสยี การเรยี น เสียอนาคตในทส่ี ุด

137

เรือ่ งท่ี 2 ลกั ษณะอาการของผูต ิดสารเสพติด

ลกั ษณะการตดิ ยาเสพติด
ยาเสพตดิ บางชนดิ กอใหเ กดิ การตดิ ไดท งั้ ทางรา งกายและจิตใจ แตย าเสพติดบางชนิด

ก็กอใหเกิดการติดทางดา นจิตใจเพียงอยางเดียว
ลกั ษณะท่วั ไป
1. ตาโรยขาดความกระปรี้กระเปรา น้ํามูกไหล นํ้าตาไหล ริมฝปากเขียวคลํ้าแหง

แตก (เสพโดยการสูบ)
2. เหง่อื ออกมาก กล่นิ ตัวแรง พดู จาไมส ัมพันธก บั ความจริง
3. บรเิ วณแขนตามแนวเสน โลหติ มีรอ งรอยการเสพยาโดยการฉีดใหเ หน็
4. ทท่ี องแขนมรี อยแผลเปน โดยกรีดดวยของมีคมตามขวาง (ติดเหลาแหง ยากลอม

ประสาท ยาระงบั ประสาท)
5. ใสแ วนตากรอบแสงเขมเปนประจาํ เพราะมานตาขยายและเพือ่ ปด นยั นต าสีแดงกํ่า
6. มักสวมเสื้อแขนยาวปกปดรอยฉีดยา โปรดหลีกใหพนจากบุคคลท่ีมีลักษณะ

ดังกลา ว ชีวติ จะสุขสนั ตตลอดกาล
7. มีความตองการอยา งแรงกลาท่จี ะเสพยาน้นั ตอไปอกี เรื่อย ๆ
8. มีความโนม เอยี งที่จะเพม่ิ ปรมิ าณของส่งิ เสพติดใหมากข้ึนทุกขณะ
9. ถาถึงเวลาทีเ่ กิดความตองการแลวไมไดเสพจะเกิดอาการขาดยาหรืออยากยาโดย

แสดงออกมาในลักษณะอาการตาง ๆ เชน หาว อาเจียน น้ํามูกน้ําตาไหล ทุรนทุราย คลุมคล่ัง ขาดสติ
โมโห ฉุนเฉยี ว ฯลฯ

10. สงิ่ เสพติดนนั้ หากเสพอยูเสมอ ๆ และเปนเวลานานจะทําลายสุขภาพของผูเสพ
ทง้ั ทางรางกายและจติ ใจ

11. ทําใหรางกายซูบผอมมีโรคแทรกซอน และทําใหเกิดอาการทางโรคประสาท
และจติ ไมปกติ

การติดยาทางกาย
เปนการตดิ ยาเสพติดท่ีผูเสพมีความตอ งการเสพอยา งรนุ แรง ทง้ั ทางรางกายและจิตใจ
เมอื่ ถึงเวลาอยากเสพแลว ไมไ ดเ สพ จะเกิดอาการผิดปกติอยา งมาก ท้งั ทางรา งกายและจิตใจ ซึ่งเรียกวา
“อาการขาดยา” เชน การตดิ ฝน มอรฟ น เฮโรอนี เมอื่ ขาดยาจะมกี ารคลนื่ ไส อาเจยี น หาว น้ํามูก นํ้าตา
ไหล นอนไมห ลบั เจ็บปวดทัว่ รางกาย เปนตน

138

การตดิ ยาทางใจ
เปน การตดิ ยาเสพตดิ เพราะจิตใจเกิดความตองการหรือเกิดการตดิ เปน นสิ ยั หากไมได
เสพรางกายก็จะไมเกิดอาการผิดปกติ หรือทุรนทุรายแตอยางใด จะมีบางก็เพียงเกิดอาการหงุดหงิด
หรอื กระวนกระวาย
วธิ สี ังเกตอาการผูตดิ ยาเสพติด
จะสงั เกตวาผูใดใชหรือเสพยาเสพติด ใหสังเกตจากอาการและการเปลี่ยนแปลงทั้ง
ทางรา งกายและจติ ใจตอไปนี้

ทองแขน 1. การเปลีย่ นแปลงทางรา งกาย จะสังเกตไดจาก
- สุขภาพรา งกายทรุดโทรม ซูบผอม ไมม แี รง ออ นเพลีย
- รมิ ฝปากเขยี วคลา้ํ แหง และตก
- รางกายสกปรก เหง่ือออกมาก กลิน่ ตวั แรงเพราะไมช อบอาบนํา้
- ผิวหนังหยาบกราน เปนแผลพุพอง อาจมีหนองหรือน้ําเหลือง คลายโรค
ผิวหนัง
- มีรอยกรีดดวยของมีคม เปนรอยแผลเปนปรากฏที่บริเวณแขน และ/หรือ

- ชอบใสเสือ้ แขนยาว กางเกงขายาว และสวมแวนตาดําเพ่อื ปดบงั มานตาที่ขยาย

2. การเปลย่ี นแปลงทางจิต ความประพฤติและบคุ ลิกภาพ สงั เกตไดจ าก
- เปน คนเจา อารมณ หงุดหงิดงาย เอาแตใจตนเอง ขาดเหตุผล
- ขาดความรับผดิ ชอบตอ หนา ที่
- ขาดความเช่อื ม่นั ในตนเอง
- พดู จากา วรา ว แมแ ตบ ดิ ามารดา ครู อาจารย ของตนเอง
- ชอบแยกตัวอยคู นเดียว ไมเ ขาหนาผอู ื่น ทําตวั ลึกลับ
- ชอบเขาหอ งนาํ้ นาน ๆ
- ใชเ งินเปลืองผิดปกติ ทรัพยสนิ ในบา นสูญหายบอ ย
- พบอปุ กรณเกี่ยวกบั ยาเสพติด เชน หลอดฉดี ยา เขม็ ฉีดยา กระดาษตะกั่ว
- มัว่ สมุ กับคนที่มพี ฤติกรรมเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ
- ไมสนใจความเปน อยขู องตนเอง แตงกายสกปรก ไมเรยี บรอย ไมคอยอาบนํ้า
- ชอบออกนอกบานเสมอ ๆ และกลับบานผดิ เวลา
- ไมช อบทํางาน เกียจครา น ชอบนอนตนื่ สาย
- อาการวิตกกงั วล เศราซมึ สีหนาหมองคลํา้

139

3. การสงั เกตอาการขาดยา ดงั ตอ ไปนี้
- นา้ํ มกู น้าํ ตาไหล หาวบอ ย
- กระสบั กระสาย กระวนกระวาย หายใจถี่ ปวดทอง คล่นื ไส อาเจยี น เบอื่ อาหาร

นาํ้ หนักลด อาจมอี จุ จาระเปนเลือด
- ขนลกุ เหง่ือออกมากผิดปกติ
- ปวดเม่อื ยตามรา งกาย ปวดเสียวในกระดูก
- มา นตาขยายโตขึน้ ตาพราไมส แู ดด
- มีการสน่ั ชัก เกร็ง ไขขนึ้ สงู ความดันโลหิตสงู
- เปน ตะคริว
- นอนไมหลบั
- เพอ คลมุ คลง่ั อาละวาด ควบคุมตนเองไมไ ด

เรอื่ งที่ 3 การปองกนั และหลีกเล่ยี งการติดสารเสพตดิ

การดําเนินงานปองกันสารเสพติด จําเปนตองสรางใหกลุมเปาหมายมี “ภูมิคุมกัน”
เกิดขนึ้ กบั ตัวเอง มที ักษะชีวิต (Life Skill) เพยี งพอท่จี ะไมใหตนเองตองติดยาเสพติดและสามารถเฝา
ระวงั พฤติกรรมเสยี่ ง ปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมเสี่ยง เพ่อื ปอ งกันมใิ หบคุ คลทตี่ นรกั เพ่อื นสนทิ ฯลฯ ตดิ ยา
เสพติดได โดยสามารถดําเนนิ การไดด งั น้ี

1. ปองกนั ตนเอง ไมใ ชยาโดยมไิ ดร บั คาํ แนะนําจากแพทย และจงอยาทดลองเสพ
ยาเสพติดทกุ ชนดิ โดยเดด็ ขาด เพราะติดงายหายยาก

2. ปองกันครอบครัว ควรสอดสองดูแลเด็กและบุคคลในครอบครัวหรือท่ีอยู
รว มกันอยา ใหเก่ยี วขอ งกบั ยาเสพติด ตอ งคอยอบรมสั่งสอนใหรูส กึ โทษและภัยของยาเสพติด หากมีผู
เสพยาเสพตดิ ในครอบครวั จงจัดการใหเ ขา รกั ษาตวั ท่โี รงพยาบาล ใหห ายเดด็ ขาด การรกั ษาแตแ รกเรม่ิ
ตดิ ยาเสพตดิ มโี อกาสหายไดเร็วกวาทีป่ ลอ ยไวนาน ๆ

3. ปอ งกนั เพ่อื นบาน โดยชวยชแ้ี จงใหเ พอ่ื นบา นเขา ใจถึงโทษและภยั ของยาเสพตดิ
โดยมใิ หเ พื่อนบา นรเู ทา ไมถึงการณ ตองถูกหลอกลวง และหากพบวาเพ่ือนบานติดยาเสพติด จงชวย
แนะนาํ ใหไ ปรกั ษาตวั ท่ีโรงพยาบาล

4. ปองกนั โดยใหค วามรว มมอื กับทางราชการ เมื่อทราบวาบานใด ตําบลใด มียาเสพ
ติดแพรระบาดขอใหแ จง เจาหนาที่ตํารวจทุกแหงทุกทองที่ทราบ หรือที่ศูนยปราบปรามยาเสพติดให
โทษ สํานักงานตํารวจแหงชาติ (ศปส.ตร.) โทร. 0-2252-7962, 0-2252-5932 และที่สํานักงาน
คณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (สาํ นักงาน ป.ป.ส.) สํานกั นายกรฐั มนตรี
โทร. 0-2245-9350-9

140

การปองกนั และหลกี เลย่ี งสารเสพตดิ ในชมุ ชน มแี นวทางดังน้ี
1. ปองกนั ตนเอง ทาํ ไดโ ดย
 ศึกษาหาความรูเพ่ือใหร เู ทาทันโทษพษิ ภัยของยาเสพติด
 ไมทดลองใชย าเสพตดิ ทกุ ชนิดและปฏิเสธเมื่อถูกชักชวน
 ระมดั ระวงั เรอ่ื งการใชยา เพราะยาบางชนิดอาจทาํ ใหเสพตดิ ได
 ใชเ วลาวางใหเปนประโยชน
 เลือกคบเพ่ือนดี ที่ชกั ชวนกนั ไปในทางสรางสรรค
 เมอื่ มปี ญ หาชีวิต ควรหาหนทางแกไ ขทไี่ มข องเก่ยี กับยาเสพติดหากแกไ ขไมไ ด
ควรปรึกษาผใู หญ
2. ปองกันครอบครวั ทาํ ไดโดย
 สรางความรัก ความอบอนุ และความสมั พันธอ นั ดรี ะหวางสมาชกิ ในครอบครัว
 รแู ละปฏิบตั ติ ามบทบาทหนา ที่ของตนเอง

 ดแู ลสมาชิกในครอบครวั ไมใ หข องเก่ียวกับยาเสพตดิ
 ใหก ําลังใจและหาทางแกไข หากพบวา สมาชิกในครอบครวั ติดยาเสพตดิ
3. ปองกันชมุ ชน ทําไดโ ดย
 ชว ยชมุ ชนในการตอ ตา นยาเสพติด
 เม่ือทราบแหลงเสพ แหลงคา หรือผลิตยาเสพติด ควรแจงใหเจาหนาท่ีทราบ

ทันทีที่ - สํานกั งาน ป.ป.ส. โทร. 0-2245-9414 หรือ 0-2247-0901-19 ตอ
258 โทรสาร 0-2246-8526

- ศูนยร บั แจงขาวยาเสพตดิ สํานักงานตํารวจแหงชาติ โทร. 1688

สรุป สารเสพติดไดแพรระบาดเขาไปถึงกลุมคนทุกกลุม สงผลกระทบตอสุขภาพ
ของกลมุ คนเหลาน้ัน และมีผลตอประเทศชาติในท่ีสุด การดําเนินงานปองกันสารเสพติด จึงควรให
ภมู คิ ุมกันแกกลุม เปาหมาย โดยมหี ลกั การ รปู แบบกจิ กรรมเพอื่ ปองกันสารเสพติดใหโ ทษที่ชัดเจน

141

กิจกรรมที่ 1 ใหผูเรยี นอธิบายตามประเด็นดังตอ ไปนี้

1. ถาผูเรียนทราบแหลงซอ้ื ขายยาอี ยาบา ผูเ รยี นจะดาํ เนนิ การอยางไร
........................................................................................................... .......................................
.................................................................................................... ..............................................
.................................................................................................... ..............................................

2. ถา มีเพือ่ นชกั ชวนไปเสพสารเสพติด ผูเ รียนจะปฏิบตั อิ ยา งไร
...................................................................................................................... ............................
.................................................................................................... ..............................................
.................................................................................................... ..............................................

3. ผูเ รียนมีวธิ ีชว ยเหลอื อยางไร เม่ือมเี พือ่ นสนทิ ตดิ สารเสพตดิ
............................................................................................................................. .....................
.................................................................................................... ..............................................
.................................................................................................... ..............................................

กิจกรรมท่ี 2 ใหผูเรียนเลาประสบการณก ารมสี วนรว มในการปองกนั และแกปญหาสารเสพติดทั้ง
ในสถานศกึ ษา สถานท่ที ํางาน และในชุมชน
.................................................................................................... ....................................................
.........................................................................................................................................................
.................................................................................................... ....................................................
...................................................................................................................... ..................................

142

บทท่ี 8
อันตรายจากการประกอบอาชพี

สาระสําคญั
ความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึนในการประกอบอาชีพตลอดจน

วธิ ีการปองกันแกไขและวธิ ปี ฐมพยาบาลเมอ่ื เกดิ อันตรายจากการประกอบอาชีพได

ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั
1. สามารถอธิบายถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในการประกอบอาชีพตลอดจนแนว

ทางการปองกนั แกไ ขได
2. สามารถอธบิ ายถึงวิธีการปฐมพยาบาลเม่อื เกิดอนั ตรายจากการประกอบอาชีพได

ขอบขา ยเนอื้ หา
เรอื่ งท่ี 1 การปองกันอันตรายจากการประกอบอาชพี
เรอ่ื งท่ี 2 การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน


Click to View FlipBook Version