The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูอาร์ม, 2022-09-26 16:05:56

รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา

Full Text

141

ต่อหลักสูตรฝึกอบรมโดยรวมและแต่ละด้านอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับจิราภรณ์ เกตุแก้ว (2559)
ที่ศึกษาการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะ สำหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช และพบว่าศึกษามีความพึงพอใจต่อหลักสูตรฝึกอบรม
เพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะในระดับมาก สอดคล้องกับวีรภัทร ไม้ไหว (2560) ที่ได้พัฒนาหลักสูตร
ฝกึ อบรมครูเพือ่ พฒั นาทักษะชีวติ ของนกั เรยี นระดับประถมศึกษาโรงเรียนสงั กดั กรุงเทพมหานคร และ
พบว่า ครูผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรฝึกอบรมครูเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
ของนักเรียนในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับกาญจนา ดงสงคราม และวรปภา อารีราษฎร์ (2561)
ที่ได้พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับการฝึกอบรมออนไลน์ ของศูนย์การเรียนรู้ไอซีทีชุมชน
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม และพบวา่ ผเู้ ข้าอบรมมีผลคะแนนสอบ
หลังอบรมของผู้เข้าอบรมสูงกว่าก่อนอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพบว่า ผู้เข้า
อบรมมีความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมผ่านระบบการฝึกอบรมออนไลน์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
สอดคล้องกับรุจาภา เพชรเจริญ และ วรสิทธิ์ เจริญศิลป์ (2561) ที่ได้ไประเมินการใช้โปรแกรม
Kahoot ในการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายการสอนทางไกล Telemedicine แก่นักศึกษา
แพทย์ พบวา่ นักศกึ ษาแพทยม์ ีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดบั มากท่สี ุด และสอดคล้องกบั จฑุ ามาศ
ใจสบาย (2562) ที่ได้พัฒนาบทเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom รายวิชา เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อชวี ติ พบวา่ นกั เรยี นมีความพงึ พอใจตอ่ บทเรยี นออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom
อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ

6.3 ข้อเสนอแนะ
6.3.1 ข้อเสนอแนะในการนำผลวิจยั ไปใช้
6.3.1.1 หลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

สำหรับครูอาชีวศึกษา ที่ได้พัฒนาขึ้นมานี้มีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้สำหรับการอบรมออนไลน์
สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับอาชีวศึกษาโดยเฉพาะ แต่สามารถนำไปปรับใชก้ บั ครูและ
บุคลากรทางการศึกษาอื่น ๆ ได้ทุกระดับ เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนออนไลน์มีกิจกรรมท่ี
ผสู้ อนและผูเ้ รยี นตอ้ งทำในลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กัน

6.3.1.2 การนำหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษาไปใช้ สามารถสร้างแบบฝึกหัด แบบฝึกปฏิบัติ และแบบประเมินที่
หลากหลายเพื่อวัดและประเมิน เพิ่มเติมได้ เช่น แบบอัตนัย ปรนัย จับคู่ ถูกผิด หรืออาจจะเพิ่มเติม
การประเมินผลหลังจากการฝึกอบรมผ่านไปแล้วสักระยะหนึ่งเพื่อวัดผลการนำไปใช้จริงของผู้เข้ารับ
การฝึกอบรม

142

6.3.1.3 การนำหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษาที่พัฒนาขึ้นไปใช้ จะต้องมีการเตรียมความพร้อมเป็นอย่างดีทั้งส่วน
ของผู้สอน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม สื่อ และวัสดุอุปกรณ์ สำหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
เพื่อให้สามารถดำเนินกิจกรรมตามขั้นตอนการอบรมออนไลน์ได้ประสบความสำเร็จ เนื่องจาก
การอบรมออนไลน์ต้องอาศัยความรับผิดชอบของผู้เข้ารับการอบรมค่อนข้างสูง ผู้สอนจะต้องกระตุน้
ความสนใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง เช่น การติดตาม การตั้งคำถาม การตอบคำถาม
รวมถึงความพร้อมของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารที่ผู้เข้ารับการอบรมและผู้สอน
จำเปน็ ต้องใช้ เนือ่ งจากการอบรมออนไลน์ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะตอ้ งสามารถเขา้ รับการอบรมได้ทุก
สถานที่ ทุกเวลาที่ผู้เข้ารับการอบรมต้องการ และผู้สอนจะต้องพร้อมเสมอสำหรับการให้ความ
ชว่ ยเหลือผเู้ ขา้ รับการอบรมตามความจำเป็น

6.3.2 ข้อเสนอแนะสำหรบั งานวจิ ัยครัง้ ต่อไป
6.3.2.1 ควรมีการศึกษาการหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียน

การสอนออนไลน์ สำหรับครูและบุคลากรทางการศกึ ษาระดับอื่น ๆ เช่น ระดับอนุบาล ประถมศึกษา
เนื่องจากเป็นระดับการศึกษาที่น่าสนใจ ว่าหากนำการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ไปใช้กับครูและ
บุคลากรทางการศึกษาระดับเหล่านี้ผลการศึกษาจะเป็นอย่างไร และสามารถนำไปใช้ในการจัด
การเรียนการสอนกับผูเ้ รียนในระดบั นไ้ี ดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพและมีสมรรนถะดิจิทัลทีด่ เี ทยี บเท่า
การจดั การเรยี นการสนอในชน้ั เรียนปกติหรือไม่

6.3.2.2 ควรมีการศึกษาการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมกับการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติ เพื่อเป็นการ
เพิ่มกิจกรรมการอบรมที่มากขึ้น และเพื่อเป็นการเพิ่มผลสัมฤทธิ์การอบรมของผู้เข้ารับ
การฝึกอบรม

6.3.2.3 ควรมีการศึกษาการพัฒนาหลักสูตรการจัดการฝึกอบรมออนไลน์กับกลุ่มเป้าหมาย
อนื่ ๆ เชน่ ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจา้ งชวั่ คราว

143

บรรณานกุ รม
งานวจิ ัยในประเทศ
กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนทศและการส่ือสาร. (2559). แผนพัฒนาดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม.

สืบค้นวันที่ 15 กรกฎาคม 2562 จาก https://bit.ly/3ICXkn7.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ. สบื คน้ วันท่ี 15 กรกฎาคม 2562

จาก https://bit.ly/3NWExDX.
_______ (2560). แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ. สืบคน้ วันท่ี 15 กรกฎาคม 2562 จาก https://bit.ly/3ysMk6S.
_______ (2560). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบับท่ี 12.

สืบคน้ วนั ที่ 15 กรกฎาคม 2562 จาก https://bit.ly/3ysMk6S.
กาญจนา ดงสงคราม และวรปภา อารีราษฎร์. (2561). การพัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรมสำหรบั

การฝึกอบรมออนไลน์ ของศูนย์การเรียนรู้ไอซีทีชุมชน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม. วารสารวิจยั และพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1.
เกรียงไกร ลม่ิ ทอง. (2560). การประยกุ ตใ์ ชร้ ปู แบบกจิ กรรมผ่านเกมสส์ ำหรบั การเขา้ ชัน้ เรยี น
และการมีสว่ นรว่ มในชนั้ เรยี น: กรณีศกึ ษา นกั ศกึ ษาภาควิชาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์
มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ. การประชุมหาดใหญว่ ชิ าการระดับชาตแิ ละนานาชาตคิ ร้ังที่ 8.
22 มิถนุ ายน 2560 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
จิระ จติ สุภา. (2562). การใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละโปรแกรมสำเร็จรปู เพอ่ื ประโยชน์ในการจัด
การเรียนการสอนเอกสารคำสอน. คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ .
_______ (2563). ห้องเรียนออนไลนร์ ายวชิ าความเขา้ ใจและการใช้ดิจิทลั . คณะครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต.
จริ าภรณ์ เกตุแกว้ . (2559). การพัฒนาหลักสูตรฝกึ อบรมเพือ่ เสรมิ สร้างจติ สาธารณะ สำหรับ
นักศกึ ษาคณะครุศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช. ดษุ ฎนี พิ นธ์การศกึ ษาดุษฎี
บัณฑติ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา.
จนิ ตวีร์ คล้ายสังข.์ (2560). การผลติ และใชส้ ื่ออยา่ งเป็นระบบเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21.
กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
จีรศกั ดิ์ หมุนขาํ สริ ิพร อัง้ โสภา และอคั ครตั น์ พลู กระจ่าง. (2563). การพฒั นาหลักสูตรฝกึ อบรม
ฐานสมรรถนะด้านการจดั การเรียนรู้ สาํ หรับครผู ชู้ ว่ ยในสถานศึกษาสงั กดั สาํ นกั งาน
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาโดยวธิ กี ารเรยี นรู้แบบมสี ่วนร่วม. วารสารวจิ ัยและนวตั กรรม
การอาชีวศกึ ษา. ปี ท่ี 4 ฉบับท่ี 1 มกราคม - มิถนุ ายน 2563.

144

จฑุ ามาศ ใจสบาย. (2019). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom รายวชิ า
เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ ชวี ติ . วารสารธาตพุ นมปริทรรศน์. ปที ี่ 3 ฉบับที 1. (มกราคม -
มิถุนายน 2562).

ชนินทร์ ตั้งพานทอง. (2560). ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนออนไลน์เพื่อเสริมการเรียนการสอน.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

ชัยยศ ดำรงกิจโกศล พิสิฐ เมธาภัทร และไพโรจน์ สถิรยากร. (2558). การพัฒนาระบบการประเมิน
หลักสูตรการจัดการเรยี นการสอนโดยสถานศึกษา. วารสารศิลปศาสตร์ประยุกต.์ มกราคม
– มถิ ุนายน 2558.

ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. (2556). ระบบสือ่ การสอน. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
ธนัชชา บินดุเหล็ม. (2562). ผลของการสอนแบบออนไลน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1. การประชุมหาดใหญ่วิชาการ
ระดบั ชาติและนานาชาติครง้ั ที่ 10. วนั ท่ี 12-13 กรกฎาคม 2562. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2562). ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาวิชาอาเซียนศึกษาโดย
การเรียนรู้ผ่านเกม Kahoot. วารสารรังสิตสารสนเทศ. ปีที่ 25 ฉบับท่ี2 กรกฎาคม –
ธนั วาคม 2562.
นคร เสรรี กั ษ์ และภรณี ดีราษฎร์วเิ ศษ. (2555). วิจยั ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งยาก. สำนกั พิมพ์
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.
บญุ ศรี พรหมมาพนั ธ์.ุ (2556). การสร้างและตรวจสอบคณุ ภาพแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น.
เอกสารการสอนชดุ วิชาการพัฒนาเครอ่ื งมอื วดั ด้านพ?ุ ธพิ สิ ัย หน่วยท่ี 6. สำนกั พมิ พ์
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช.
ปณติ า วรรณพิรณุ และปรัชญนันท์ นิลสุข. การพฒั นาเว็บฝกึ อบรมสมรรถนะพนกั งาน
มหาวทิ ยาลยั สายวิชาการและสายสนับสนุนวชิ าการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอม
เกล้าพระนครเหนือ. วารสารวิทยบริการ. 23 (2) (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2555): 115-128.
ปรชั ญนันท์ นลิ สขุ . (2542). WBT: Web-Based Training เทคโนโลยีการฝกึ อบรมครูในอนาคต.
วารสารศึกษาศาสตรป์ รทิ ัศน.์ 14 (2) (พฤษภาคม - สิงหาคม 2542): 79-88.
ผ่องพรรณ จรัสจินดารัตน์ สบสันต์ิ อุตกฤษฏ์ ชัยวิชิต เชียรชนะ และสิริรักษ์ รัชชุศานติ. (2556).
การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมรูปแบบของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา. วารสารวชิ าการพระจอมเกล้าพระนครเหนอื .
ปีท่ี 23 ฉบบั ท่ี 3 กันยายน – ธนั วาคม 2556.

145

พลั ลภ พริ ิยะสรุ วงศ์. (2560). การพัฒนารูปแบบการฝกึ อบรมโดยเน้นกระบวนการ. พิมพค์ รัง้ ที่ 1.
กรุงเทพมหานคร : ศูนยผ์ ลิตตำราเรียนมหาวทิ ยาลยั ทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

พินิจ นามบำรุง ถวิล ลดาวัลย์ และสำเร็จ ยุรชัย. (2560). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสมรรถนะ
ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ.
ปที ่ี 4 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2560.

ภวู นยั สุวรรณธารา ธรี ะภาพ เพชรมาลัยกลุ และสมชาย เทพแสง. (2561). การพฒั นาหลักสูตร
ฝกึ อบรมภาวะผนู้ ำเชงิ ระบบของครวู ิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน. วารสารวิชาการ
มหาวทิ ยาลยั ฟารอ์ สี เทอรน์ . ปีที่ 12 ฉบับท่ี 3 กรกฎาคม 2561- กันยายน 2561.

มนต์ชัย เทยี นทอง. สถิตแิ ละวธิ กี ารวจิ ยั ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สถาบนั
เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ, 2548.

รงั สรรค์ ทบวอ สนทิ ตีเมืองซ้าย และ พงศ์ธร โพธิพ์ ลู ศักดิ์. (2562). การพฒั นารูปแบบการเรียนรู้
แบบโครงงานออนไลน์ ทม่ี ีการสง่ เสรมิ การเรยี นรดู้ ้วยเทคนคิ ความผูกพันของผู้เรยี น
สำหรบั ผเู้ รียนอาชีวศกึ ษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ปที ี่ 13 ฉบับที่
3 กรกฎาคม - กนั ยายน พ.ศ. 2562.

รจุ าภา เพชรเจรญิ และ วรสทิ ธ์ิ เจริญศิลป์. (2561). การประเมินการใช้ Kahoot Program ในการ
จัดการเรยี นการสอนผา่ นเครอื ขา่ ยการสอนทางไกล Telemedicine. วารสารครพุ บิ ูล.
ปที ่ี 5 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม–ธนั วาคม 2561).

วลั ภา คงพวั ะ. (2562). การศึกษาความพึงพอใจที่มตี อ่ การใช้ KAHOOT! ในการจดั การเรยี นรขู้ อง
นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี สาขาวิชาการจดั การ มหาวิทยาลัยนอรท์ กรงุ เทพ ศูนย์
การศึกษานนทบุรี. วารสารสมาคมสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย. ปที ่ี 25
ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2562.

วิชัย วงษใ์ หญ.่ (2555). การพัฒนาหลักสตู รระดบั อุดมศึกษา. กรงุ เทพฯ : อารแ์ อนดป์ รนิ้ ท.์
วรี ภัทร ไมไ้ หว. (2560). การพฒั นาหลักสตู รฝึกอบรมครูเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ ของนักเรียนระดบั

ประถมศกึ ษาโรงเรียนสงั กดั กรุงเทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธ์การศกึ ษาดษุ ฎบี ัณฑติ
วทิ ยาลยั ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรุ กิจบณั ฑติ ย์.
ศศิธร ขนั ตธิ วรางกรู . (2551). การจดั การชัน้ เรยี นของผสู้ อนมอื อาชพี . วารสารครศุ าสตร.์ ปีท่ี 1
ฉบับที่ 2 เดอื น มีนาคม 2551.
สมชาย วรกจิ เกษมสกลุ . (2553). ระเบียบวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร.์
พมิ พ์ครัง้ ท่ี ๒.อดุ รธานี : อกั ษรศิลปก์ ารพิมพ์.

146

สมคิด แซ่หลี และศวิ พร ลนิ ทะลกึ . (2563). คมู่ อื การใช้งานระบบวดี โิ อคอนเฟอรเ์ รนต์ โครงการ
พฒั นาพฒั นาครูอาชีวศึกษาดจิ ทิ ัลและสื่อดิจิทัลเพอ่ื การอาชีพ. สำนกั งานคณะกรรมการ
การอาชีวศกึ ษา, กระทรวงศึกษาธกิ าร.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา. (2563). รายงานประจำปี 2562 สำนกั งานคณะกรรมการ
การอาชีวศกึ ษา. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา,กระทรวงศกึ ษาธิการ.

สำนกั งานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. (พ.ศ. 2561). นโยบายและแผน
ระดับชาตวิ า่ ดว้ ยการพฒั นาดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม. สืบคน้ วนั ท่ี 23 ตลุ าคม 2562
จาก https://bit.ly/3bYHOWh.

สำนกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน. (2560). แนวทางการพฒั นาทกั ษะด้านดจิ ทิ ัล
ของข้าราชการและบุคลากรภาครฐั เพื่อปรบั เปลี่ยนเปน็ รฐั บาลดจิ ิทัล. สบื ค้นวนั ที่ 10
มกราคม 2561 จาก https://bit.ly/3PwwoIe.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2556). สาระความรแู้ ละสมรรถะของผปู้ ระกอบวิชาชีพครู
ตามมาตรฐานความรู้. สืบคน้ วนั ที่ 17เมษายน 2561 จาก https://bit.ly/3yNXsN0

สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2560). แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. สำนกั งาน
เลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟิค.

_______ (2561). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. [สบื คน้ วนั ท่ี 23 ตลุ าคม 2562].
จาก https://bit.ly/3ypdlIu

สำนักงานพฒั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส.์ (2563). ผลการสำรวจพฤตกิ รรมผใู้ ชอ้ ินเทอรเ์ นต็
ในประเทศไทย ปี 2562. สำนักงานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์. กระทรวงดจิ ิทัลเพอ่ื
เศรษฐกิจและสังคม.

สำนกั งานพัฒนารฐั บาลดิจิทัล (องค์การมหาชน). (พ.ศ. 2561). แผนแม่บทเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสอ่ื สาร. สบื ค้นวันที่ 23 ตลุ าคม 2562 จาก https://bit.ly/3Rli0Uk.

สรุ เชษฐ์ สมไชย ไพโรจน์ สถิรยากร และพสิ ิฐ เมธาภัทร. (2560). การพฒั นาหลกั สตู รฝกึ อบรม
การพฒั นารปู แบบการบริหารจัดการศนู ยข์ ้อมูลและสารสนเทศในสถานศกึ ษา
อาชวี ศึกษา. วารสารวิชาการศลิ ปศาสตรป์ ระยกุ ต.์ มกราคม – มถิ นุ ายน 2560.

สุรางค์ โค้วตระกลู . (2556). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
อนิรุทธ์ สติม่ัน. (2550). ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ

โครงงานบนเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตทม่ี ีตอ่ การเรยี นรแู้ บบนำตนเองและผลสมั ฤทธ์ทิ าง
การเรียนของนกั ศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษา. วทิ ยานพิ นธก์ ารศกึ ษาดษุ ฎีบัณฑติ . บณั ฑติ
วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ.

147

อภชิ าติ อนกุ ูลเวช. (2563). รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนออนไลนอ์ าชีวศึกษายคุ วกิ ฤตโิ ควดิ 19.
วทิ ยาลยั เทคนิคชลบุรี.

อารยี ์ เจริญสหายานนท์ ธนีนาฏ ณ สุนทร และสำรวย มหาพราหมณ์. (2562). การพัฒนาหลกั สตู ร
ฝึกอบรมภาวะผนู้ ำโดยผ่านการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมไคเซ็นของนกั ศกึ ษาหลกั สตู ร
ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั สงู . วารสารเซนต์จอห์น.

เอมมกิ า วชริ ะวนิ ท์. (2560). การศกึ ษาประสิทธิภาพหลกั สตู รฝกึ อบรมออนไลนเ์ รอื่ งการประยกุ ต์
ใชเ้ ว็บ 2.0 ในชน้ั เรียน โดยใช้ทฤษฎกี ารเรยี นรรู้ ว่ มกนั บนออนไลน์เพอื่ ส่งเสรมิ สมรรถนะ
ไอซที ขี องคร.ู วารสารวชิ าการศกึ ษาศาสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.
ปที ี่ 18 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มถิ ุนายน 2560.

งานวิจยั ตา่ งประเทศ
Anderson, T. The Theory and Practice of Online Learning. Canada : AU Press,

Athabasca University, 2008.
European Commission. (2019). [Online]. Digital competence: the vital 21st-century

skill forteachers and students. [cited 2020 Jan. 18]. Available from : URL :
https://bit.ly/3NRxJYt
Khan, B. H. (2004). The People–Process–Product Continuum in E-Learning: The E-
Learning P3 Model. Educational Technology. Vol.44, No. 5. pp. 33-40.

ภาคผนวก

149

ภาคผนวก ก

การวจิ ยั ระยะที่ 1 การสงั เคราะหท์ ักษะดิจิทลั เพื่อการจดั การเรียนการสอนออนไลน์
สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา

1. รายช่ือผูเ้ ชย่ี วชาญ
2. หนังสือขอความอนเุ คราะหผ์ เู้ ช่ียวชาญ
3. แบบตอบรับผูเ้ ชยี่ วชาญ
4. เคร่อื งมือ

150

รายนามผเู้ ชยี่ วชาญประเมินค่าความสอดคล้อง (IOC)

แบบประเมินความเหมาะสมของทกั ษะดิจิทลั เพ่ือการจดั การเรียนการสอนออนไลน์

ท่ี ชื่อ-นามสกุล ตำแหนง่ /สงั กัด

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณพร ชจู ิตารมย์ อาจารยค์ ณะดจิ ทิ ลั อาร์ต

มหาวทิ ยาลยั รงั สิต

2 ดร.วรพงษ์ น่วมอนิ ทร์ ผู้อำนวยการกลุ่มเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและ

สารสนเทศ สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอก

ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

3. ดร.สวุ ฒุ ิ ตุ้มทอง คณบดีคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภูมิ

รายนามผเู้ ชีย่ วชาญประเมินความเหมาะสมของทกั ษะดจิ ิทัลเพ่ือการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์

ท่ี ช่ือ-นามสกลุ ตำแหนง่ /สงั กดั

1. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จริ ะ จติ สภุ า อาจารยป์ ระจำคณะครุศาสตร์

มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ

2 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ชนินทร์ ตงั้ พานทอง อาจารย์ประจำสาขาวิชาคอมพิวเตอร์และ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี

3. ดร.สุวุฒิ ต้มุ ทอง คณบดคี ณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ

4. ดร.นวลศรี สงสม อาจารย์ประจำสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ

คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ

วทิ ยาเขตสุพรรณบี ุรี

5. ดร.อภชิ าติ อนุกูลเวช ครูชำนาญการพเิ ศษ วทิ ยาลยั เทคนิคชลบุรี

151

ตัวอยา่ งหนงั สือขอความอนเุ คราะหผ์ ู้เช่ียวชาญ
ประเมนิ ค่าความสอดคลอ้ ง (IOC)

152

ตัวอย่างหนังสอื ขอความอนเุ คราะหผ์ เู้ ช่ียวชาญ
ประเมนิ ความเหมาะสมของทักษะดิจิทลั เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์

153

ตวั อย่างหนังสือตอบรับของผเู้ ชีย่ วชาญ
ประเมินค่าความสอดคล้อง (IOC)

154

ตัวอย่างหนงั สือตอบรบั ของผู้เช่ียวชาญ
ประเมินความเหมาะสมของทกั ษะดจิ ทิ ลั เพอ่ื การจัดการเรียนการสอนออนไลน์

155

แบบสอบถามเพ่อื การวจิ ยั

การประเมนิ ความเหมาะสมร่างทกั ษะดิจิทลั

เพือ่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศึกษา

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ผู้วิจยั นายธนสาร รจุ ิรา

ตำแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ วิทยฐานะ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ

คำชีแ้ จง

แบบสอบถามการประเมินความเหมาะสมร่างทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

สำหรับครูอาชีวศึกษา ประกอบทั้งหมด 3 ตอน โปรดทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่องว่างให้ตรงกับความ

คดิ เห็นของทา่ น โดยมเี กณฑใ์ นการพิจารณาดังนี้

5 หมายถงึ เหมาะสมมากทส่ี ดุ

4 หมายถึง เหมาะสมมาก

3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง

2 หมายถึง เหมาะสมนอ้ ย

1 หมายถึง เหมาะสมน้อยทสี่ ดุ

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

คำชี้แจง โปรดทำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ ง  หนา้ ขอ้ ความทต่ี รงกับสภาพความเป็นจรงิ ของทา่ น

1. เพศ  ชาย  หญิง

2. ระดับการศึกษา  ปรญิ ญาตรี  ปรญิ ญาโท  ปรญิ ญาเอก

3. ประสบการณท์ ำงาน

 ต่ำกว่า 5 ปี  5-10 ปี  10 ปี ขึ้นไป

156

ตอนที่ 2 การประเมินความเหมาะสมรา่ งทกั ษะดจิ ทิ ลั เพ่อื การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์

สำหรับครูอาชีวศกึ ษา

คำช้แี จง โปรดทำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในช่อง  ใหต้ รงกับความคดิ เหน็ ของทา่ น

รายการประเมนิ ระดับความเหมาะสม หมายเหตุ
54321

ทักษะการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้

ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่อื การศกึ ษา

ทกั ษะการสรา้ งหอ้ งเรยี นออนไลน์

ทกั ษะการสรา้ งสือ่ ดิจิทัล

ทักษะการวดั และประเมินผลออนไลน์

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื .....………………………………... ผปู้ ระเมิน
(......................................................)
.........../............/.............

ผวู้ ิจยั ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสงู
ทใี่ ห้ความอนุเคราะหต์ อบแบบประเมินอนั เป็นประโยชนอ์ ยา่ งยิง่ ต่องานวจิ ยั น้ี

นายธนสาร รจุ ริ า
โทรศพั ท์. 084-000-8842, E-mail: [email protected]

157

แบบประเมินความสอดคล้องสำหรับผเู้ ชยี่ วชาญ

การประเมินความเหมาะสมการสงั เคราะห์ทักษะดจิ ทิ ลั

เพอื่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศกึ ษา

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ผู้วิจยั นายธนสาร รจุ ริ า

ตำแหน่ง ศกึ ษานเิ ทศก์ วิทยฐานะ ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการ

คำชีแ้ จง

แบบสอบถามฉบับนี้ เป็นแบบสอบถามความคิดเหน็ ของผู้เชีย่ วชาญประเมินความสอดคล้อง ของ

แบบการประเมินความเหมาะสมการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัล เพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา โปรดทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ งวา่ งให้ตรงกบั ความคดิ เห็นของทา่ น โดยมีเกณฑ์

ในการพิจารณาดงั นี้

+ 1 หมายถงึ ขอ้ คำถามมีความสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์

0 หมายถึง ไมแ่ นใ่ จวา่ ข้อคำถามมีความสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์

- 1 หมายถงึ ขอ้ คำถามไม่มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

ท่ี รายการ ความคดิ เห็น
เห็นดว้ ย ไม่แน่ใจ ไม่เหน็ ด้วย

1 เพศ

 ชาย

 หญงิ

2 ระดับการศกึ ษา

 ปริญญาตรี

 ปริญญาโท

 ปริญญาเอก

3 ประสบการณท์ ำงาน

 ต่ำกว่า 5 ปี

 5-10 ปี

 10 ปี ขนึ้ ไป

158

ท่ี รายการ ความคดิ เหน็
เหน็ ดว้ ย ไมแ่ น่ใจ ไมเ่ ห็นดว้ ย
4 ทักษะการออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้
5 ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่อื การศึกษา
6 ทักษะการสรา้ งห้องเรียนออนไลน์
7 ทักษะการสร้างสื่อดิจิทลั
8 ทักษะการวัดและประเมนิ ผลออนไลน์

ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื .....………………………………... ผ้ปู ระเมิน
(......................................................)
.........../............/.............

ผ้วู ิจยั ขอขอบพระคณุ เปน็ อย่างสงู
ทีใ่ ห้ความอนุเคราะหต์ อบแบบประเมินอันเป็นประโยชนอ์ ยา่ งยิง่ ต่องานวิจยั น้ี

นายธนสาร รุจริ า
โทรศัพท์. 084-000-8842, E-mail: [email protected]

159

ผลสรุปความสอดคล้องของแบบประเมินความสอดคล้องสำหรบั ผ้เู ชย่ี วชาญ
การประเมินความเหมาะสมการสังเคราะหท์ ักษะดิจิทลั

เพ่อื การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา

ข้อ ความคดิ เห็นผูเ้ ชี่ยวชาญ IOC แปลผล
123
1.00 สอดคล้อง
11 1 1 1.00 สอดคล้อง
1.00 สอดคลอ้ ง
21 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง
1.00 สอดคลอ้ ง
31 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง
1.00 สอดคล้อง
41 1 1 1.00 สอดคล้อง

51 1 1

61 1 1

71 1 1

81 1 1

160

ภาคผนวก ข

การวิจยั ระยะที่ 2 การพัฒนารปู แบบการพัฒนาทักษะดจิ ทิ ัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา

1. รายชื่อผเู้ ช่ยี วชาญ
2. หนังสือขอความอนุเคราะหผ์ ู้เชย่ี วชาญ
3. แบบตอบรบั ผ้เู ชย่ี วชาญ
4. เครือ่ งมือ

161

รายนามผูเ้ ช่ยี วชาญประเมนิ คา่ ความสอดคลอ้ ง (IOC)

1. รูปแบบการพฒั นาทกั ษะดิจิทัลเพอื่ การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา

2. แบบประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพฒั นาทักษะดิจทิ ัลเพ่ือการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์

สำหรับครอู าชวี ศึกษา

ท่ี ช่อื -นามสกลุ ตำแหนง่ /สงั กัด

1. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณพร ชจู ติ ารมย์ อาจารย์คณะดจิ ทิ ลั อารต์

มหาวิทยาลัยรงั สิต

2 ดร.วรพงษ์ น่วมอินทร์ ผู้อำนวยการกลุ่มเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และ

สารสนเทศ สำนกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอก

ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

3. ดร.สุวุฒิ ตมุ้ ทอง คณบดคี ณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภูมิ

3. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์กิ ารพฒั นาทักษะดจิ ทิ ัลเพ่อื การจัดการเรียนการสอนออนไลน์

สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา

4. แบบประเมินทกั ษะดิจิทัลเพื่อการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา

ท่ี ชอ่ื -นามสกุล ตำแหน่ง/สังกัด

1. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.เขมิกา อารมณ์ หัวหนา้ สาขาวชิ าสถิติประยกุ ต์

คณะวทิ ยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภฏั บรุ รี มั ย์

2 ดร.พรี พงษ์ พันธโ์ สดา ผู้อำนวยการวทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเทคโนโลยี

ฐานวทิ ยาศาสตร์ (ชลบุร)ี

3. ดร.ชมนาด พรมมจิ ติ ร หวั หน้าแผนกวชิ าสามญั สมั พันธ์

วิทยาลัยเทคนคิ เชยี งใหม่

162

รายนามผ้เู ชีย่ วชาญประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทัล

เพื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศกึ ษา

ท่ี ชอ่ื -นามสกุล ตำแหนง่ /สังกัด

1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จิระ จติ สุภา อาจารย์ประจำคณะครศุ าสตร์

มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ

2 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ชนินทร์ ตงั้ พานทอง อาจารย์ประจำสาขาวิชาคอมพวิ เตอรแ์ ละ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี

3. ดร.สุวุฒิ ตุ้มทอง คณบดคี ณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภมู ิ

4. ดร.สมคดิ แซ่หลี อาจารย์ประจำภาควชิ าคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา

คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมพระนครเหนือ

5. ดร.สรุ เชษฐ์ จันทร์งาม ผู้ชว่ ยคณบดฝี ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

อาจารย์ประจำแขนงคอมพิวเตอร์

หลกั สตู รบรกิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ

คณะวทิ ยาการจดั การ

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจนั ทรเกษม

6. ดร.นวลศรี สงสม อาจารยป์ ระจำสาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ

คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ

วทิ ยาเขตสุพรรณีบรุ ี

7. ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรงุ ชัย อาจารยป์ ระจำสาขาวชิ าคอมพวิ เตอรแ์ ละ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

8. ดร.อนนั ต์ วรธติ พิ งศ์ ประธานคณะอนกุ รรมการรว่ มภาครัฐและ

เอกชนเพื่อผลิตและพฒั นากำลังคนอาชีวศกึ ษา

(อ.กรอ.อศ.) กลุ่มอาชพี เทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสือ่ สารและดจิ ทิ ลั คอนเทนต์

9. ดร.อภชิ าติ อนกุ ูลเวช ครชู ำนาญการพเิ ศษ วทิ ยาลยั เทคนิคชลบุรี

163

รายนามครสู ำหรับตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์จิ ากการพัฒนาทกั ษะดจิ ิทัล

เพอื่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศึกษา

ท่ี ชอ่ื -นามสกุล ตำแหนง่ /สังกัด

1. นายขจร ชศู รี ครู วทิ ยาลยั การอาชีพบ้านลาด
2 นายพีรภทั ร เอ่ยี มเพชร ครู วิทยาลยั การอาชีพบ้านลาด
3. นายบญั ญัติ เคล้าคลึง ครู วิทยาลยั การอาชีพบา้ นลาด
4. นายบณั ฑติ เพชรยอ้ ย ครู วทิ ยาลัยการอาชีพบ้านลาด
5. นางอรรชลี ชาญประไพร ครู วทิ ยาลัยการอาชีพวงั น้ำเย็น
6. นายพพิ ฒั น์ ดวงใจ ครู วิทยาลัยการอาชพี ขุขนั ธ์
7. นายชูวงศ์ แก้วนมิ ิตร ครู วิทยาลัยการอาชีพขขุ ันธ์
8. นายกษมา เจริญศรี ครู วทิ ยาลัยเทคนิคชลชลบรุ ี
9. นายอาทิตย์ เลิกนอก ครู วทิ ยาลัยบรหิ ารธุรกจิ และการท่องเท่ียวกรงุ เทพ
10. นางสาวปรารถนา ชูแสง ครู วิทยาลยั บรหิ ารธรุ กจิ และการท่องเทีย่ วกรุงเทพ
11. นางสาววรรณสริ ิ รินทร์ธราศรี ครู วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาธนบุรี
12. นางสาวนริศรา เคนแสง ครู วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเสาวภา
13. นางสาวกาญจนา เหล่ือมแกว้ ครู วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี
14. นางกนกกร พรหมวิเศษ ครู วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสุราษฎรธ์ านี
15. นางนริศรา ปทะวานชิ ครู วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี
16. นางสาวณฐั เกศ เรืองทอง ครู วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาสุราษฎร์ธานี
17. นายจิรัฏฐ์ิ มามะ ครู วทิ ยาลัยการอาชพี ปัตตานี
18. นางสาวโนซีลา สาลีม ครู วิทยาลยั การอาชีพปัตตานี
19. นายอลั บคู อรี เตะ๊ แต ครู วิทยาลยั การอาชีพปัตตานี
20. นายอีลาฟี อาแวกะจิ ครู วิทยาลัยการอาชีพปัตตานี
21. นายนพดล พัดจันทร์หอม ครู วทิ ยาลยั การอาชีพพชิ ัย
22. นางวาสนา สุขใจ ครู วทิ ยาลัยการอาชีพพิชยั
23. นายวสิ ูตร มาศชาย ครู วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยกี ระบ่ี
24. นางสาวคันธรส วิทยาภริ มย์ ครู วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรธี รรมราช
25. นางดาวสกาย พลู เกษ ครู วิทยาลยั เทคนคิ กำแพงเพชร
26. นางสาวรวนิ ทน์ ภิ า วงษาฟู ครู วิทยาลัยเทคนิคเชยี งราย
27. นางสมสุข ขำสวสั ดิ์ ครู วิทยาลัยอาชวี ศึกษาเพชรบรุ ี

28. นางสุเมตตา จอ้ ยเจรญิ ครู วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเพชรบรุ ี

29. นางบวั ทิพย์ ชติ รตั น์ ครู วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเพชรบุรี

30. นางชัฎฎาพร ศกั ดจ์ิ ริ พาพงษ์ ครู วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเพชรบรุ ี

164

ตวั อย่างหนังสอื ขอความอนุเคราะห์ผเู้ ชยี่ วชาญ
ประเมินค่าความสอดคลอ้ ง (IOC)

รูปแบบการพัฒนาทกั ษะดจิ ทิ ลั เพอ่ื การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศกึ ษา

165

ตวั อย่างหนังสือตอบรับของผเู้ ชีย่ วชาญ
ประเมินค่าความสอดคล้อง (IOC)

166

ตัวอย่างหนังสอื ขอความอนุเคราะห์ผูเ้ ชี่ยวชาญ
ประเมนิ คา่ ความสอดคล้อง (IOC) แบบประเมินรปู แบบการพัฒนาทกั ษะดิจทิ ัล

เพื่อการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศกึ ษา

167

ตัวอยา่ งหนงั สอื ตอบรบั ของผเู้ ชี่ยวชาญ
ประเมินความเหมาะสมรปู แบบการพฒั นาทักษะดิจทิ ลั
เพือ่ การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศกึ ษา

168

แบบสอบถามเพ่อื การวจิ ยั

การประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพฒั นาทกั ษะดจิ ทิ ลั

เพอื่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศึกษา

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ผู้วิจัย นายธนสาร รจุ ริ า

ตำแหนง่ ศกึ ษานเิ ทศก์ วทิ ยฐานะ ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการ

คำช้ีแจง

แบบสอบถามการประเมนิ การยอมรับรูปแบบการพฒั นาทกั ษะดจิ ิทลั เพือ่ การจดั การเรยี นการสอน

ออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศึกษาประกอบท้ังหมด 3 ตอน โปรดทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในช่องว่างให้ตรงกับ

ความคดิ เหน็ ของท่าน โดยมเี กณฑใ์ นการพิจารณาดังนี้

5 หมายถงึ เหมาะสมมากทีส่ ุด

4 หมายถึง เหมาะสมมาก

3 หมายถงึ เหมาะสมปานกลาง

2 หมายถึง เหมาะสมน้อย

1 หมายถึง เหมาะสมนอ้ ยท่สี ุด

ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม

คำช้แี จง โปรดทำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ ง  หน้าขอ้ ความทตี่ รงกบั สภาพความเป็นจรงิ ของท่าน

1. เพศ  ชาย  หญิง

2. ระดับการศกึ ษา  ปริญญาตรี  ปริญญาโท  ปริญญาเอก

3. ประสบการณท์ ำงาน

 ต่ำกว่า 5 ปี  5-10 ปี  10 ปี ขน้ึ ไป

169

ตอนท่ี 2 การประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทกั ษะดจิ ทิ ัล เพ่ือการจัดการเรียนการสอน

ออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศกึ ษา

คำช้แี จง โปรดทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในช่อง  ให้ตรงกับความคดิ เหน็ ของทา่ น

ดา้ นปจั จยั นำเข้า (Input)

รายการประเมิน ระดับความเหมาะสม หมายเหตุ
54321

1. ข้อมลู พื้นฐาน

1.1 วตั ถุประสงคก์ ารอบรม

1.2 หลกั สูตรการอบรม

1.3 คุณลักษณะของผเู้ ข้ารบั การอบรม

1.4 คุณลักษณะวทิ ยากร

2. เทคโนโลยี

2.1 เทคโนโลยพี ื้นฐาน

2.2 ระบบนิเวศการเรยี นรู้

ดา้ นกระบวนการ (Process) ระดบั ความเหมาะสม หมายเหตุ
54321
รายการประเมิน

1. ระยะกอ่ นการอบรม
1.1 การเตรียมความพร้อมก่อนการอบรม
1.2 การเขา้ รว่ มชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพ

2. ระยะหวา่ งการอบรม
2.1 การประเมนิ ก่อนการอบรม
2.2 การอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous)
2.3 การอบรมแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous)
2.4 กิจกรรม PLC
2.5 การประเมินหลังการอบรม

3. ระยะหลังการอบรม
3.1 การร่วมกจิ กรรมในชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี
3.2 การนเิ ทศติดตาม

170

ดา้ นผลลพั ธ์ (Output) ระดบั ความเหมาะสม หมายเหตุ
54321
รายการประเมนิ

1. ทักษะการออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้
2. ทกั ษะการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่ือการศกึ ษา
3. ทกั ษะการสร้างหอ้ งเรยี นออนไลน์
4. ทกั ษะการสร้างส่ือดจิ ทิ ลั
5. ทกั ษะการวดั และประเมินผลออนไลน์

ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ .....………………………………... ผู้ประเมนิ
(......................................................)
.........../............/.............

ผ้วู จิ ยั ขอขอบพระคณุ เป็นอย่างสูง
ท่ีใหค้ วามอนุเคราะห์ตอบแบบประเมินอันเปน็ ประโยชน์อยา่ งย่ิงตอ่ งานวิจยั น้ี

นายธนสาร รจุ ริ า
โทรศพั ท์. 084-000-8842, E-mail: [email protected]

171

แบบประเมินความสอดคลอ้ งสำหรับผู้เชย่ี วชาญ

แบบการประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดจิ ทิ ลั

เพอื่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศกึ ษา

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ผวู้ ิจัย นายธนสาร รุจิรา

ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการ

คำช้ีแจง

แบบสอบถามฉบับนี้ เป็นแบบสอบถามความคิดเหน็ ของผู้เชี่ยวชาญประเมินความสอดคล้อง ของ

แบบการประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัล เพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา โปรดทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่องวา่ งใหต้ รงกบั ความคดิ เหน็ ของท่าน โดยมีเกณฑ์

ในการพจิ ารณาดังน้ี

+ 1 หมายถึง ขอ้ คำถามมีความสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์

0 หมายถงึ ไม่แนใ่ จว่าขอ้ คำถามมีความสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์

- 1 หมายถึง ขอ้ คำถามไม่มีความสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์

ท่ี รายการ ความคดิ เห็น
เห็นดว้ ย ไมแ่ น่ใจ ไมเ่ ห็นดว้ ย

1 เพศ

 ชาย

 หญงิ

2 ระดับการศึกษา

 ปรญิ ญาตรี

 ปริญญาโท

 ปรญิ ญาเอก

3 ประสบการณท์ ำงาน

 ตำ่ กว่า 5 ปี

 5-10 ปี

 10 ปี ข้ึนไป

172

ด้านปจั จัยนำเข้า (Input) ความคิดเห็น
เห็น ไมแ่ นใ่ จ ไมเ่ ห็น
ท่ี รายการ ดว้ ย ดว้ ย

1. ข้อมูลพน้ื ฐาน ความคิดเหน็
4 1.1 วตั ถุประสงค์การอบรม เหน็ ไมแ่ น่ใจ ไมเ่ ห็น
5 1.2 หลักสตู รการอบรม ดว้ ย ดว้ ย
6 1.3 คุณลกั ษณะของผเู้ ข้ารับการอบรม
7 1.4 คณุ ลกั ษณะวิทยากร

2. เทคโนโลยี
8 2.1 เทคโนโลยพี นื้ ฐาน
9 2.2 ระบบนเิ วศการเรียนรู้

ดา้ นกระบวนการ (Process)

ท่ี รายการ

1. ระยะกอ่ นการอบรม
10 1.1 การเตรียมความพรอ้ มก่อนการอบรม
11 1.2 การเขา้ ร่วมชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ

2. ระยะหวา่ งการอบรม
12 2.1 การประเมินกอ่ นการอบรม
13 2.2 การอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous)
14 2.3 การอบรมแบบไมป่ ระสานเวลา (Asynchronous)
15 2.4 กจิ กรรม PLC
16 2.5 การประเมนิ หลังการอบรม

3. ระยะหลังการอบรม
17 3.1 การร่วมกจิ กรรมในชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี
18 3.2 การนิเทศตดิ ตาม

173

ด้านผลลพั ธ์ (Output) ความคิดเห็น
เห็น ไมแ่ นใ่ จ ไมเ่ หน็
ท่ี รายการ ด้วย ดว้ ย

19 1. ทักษะการออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้
20 2. ทกั ษะการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการศกึ ษา
21 3. ทกั ษะการสรา้ งหอ้ งเรียนออนไลน์
22 4. ทกั ษะการสรา้ งสอื่ ดจิ ิทลั
23 5. ทักษะการวดั และประเมนิ ผลออนไลน์

ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ .....………………………………... ผู้ประเมิน
(......................................................)
.........../............/.............

174

ผลสรปุ ความสอดคล้องของแบบการประเมนิ ความเหมาะสม

รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจทิ ลั เพ่ือการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา

ข้อ ความคิดเห็นผเู้ ชย่ี วชาญ IOC แปลผล
123

1 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

2 1 1 0 0.66 สอดคล้อง

3 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

4 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

5 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

6 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

7 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

8 1 0 1 0.66 สอดคลอ้ ง

9 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

10 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

11 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

12 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

13 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

14 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

15 1 0 1 0.66 สอดคล้อง

16 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

17 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

18 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

19 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

20 0 1 1 0.66 สอดคล้อง

21 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

22 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

23 1 0 1 0.66 สอดคล้อง

175

แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิการพฒั นาทกั ษะดจิ ิทลั
เพ่อื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศกึ ษา
1. การเขียนแผนการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์จะตอ้ งองคป์ ระกอบหลกั อะไรบา้ ง
ก. เนือ้ หา , วธิ ีสอน, เทคโนโลยี
ข. เทคโนโลยี, หลกั สตู ร, โปรแกรมออนไลน์
ค. เทคโนโลยี , คำอธิบายรายวชิ า, ห้องเรียนออนไลน์
ง. อินเทอร์เนต็ ความเร็วสงู , คอมพิวเตอร์, โปรแกรมประชุมออนไลน์
2. ขนั้ ตอนการจัดการเรยี นการสอนปกตกิ บั การจัดการเรียนการสอนออนไลนแ์ ตกตา่ งกนั ขอ้ ใดอยา่ งไร
ก. การใช้เทคโนโลยี
ข. การบรรยายของผูส้ อน
ค. การซกั ถามของผ้เู รียน
ง. การนำเขา้ สู่บทเรียน
3. ข้อใดทีผ่ ู้สอนออนไลนจ์ ะตอ้ งเตรยี มความพรอ้ มดว้ ยตนเอง
ก. โปรแกรมท่ีใช้สอนออนไลน์
ข. คำอธบิ ายรายวิชาที่จะสอนออนไลน์
ค. อนิ เทอร์เนต็ ความเรว็ สงู
ง. แผนการเรียนรอู้ อนไลน์
4. ขอ้ ควรระวังของการจัดการเรยี นออนไลน์คืออะไร
ก. ความเร็วของอนิ เทอรเ์ นต็
ข. ระบบ 5G
ค. ขนาดของไฟลว์ ดี ิโอ
ง. ช่องทางการสอ่ื สาร
5. ข้อใดเป็นระบบ Single gateway ทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารเตรยี มไว้ใหก้ บั ครสู อนออนไลน์
ก. DLTV
ข. DEEP
ค. Google Meet
ง. Microsoft Team

176

6. ถ้าครตู ้องการสอนแบบพบผ้เู รียนออนไลนใ์ นเวลาเดียวกันต้องเปดิ ห้องเรียนด้วยโปรแกรมอะไร
ก. Sway Office
ข. Zoom
ค. Google drive
ง. Sway Office

7. ถา้ ครตู ้องการให้ผู้เรียนเข้าไปศกึ ษาดว้ ยตนเองในหอ้ งเรียนออนไลนต์ ้องสรา้ งดว้ ยอะไร
ก. Webex Cisco
ข. Google Meet
ค. Open Broadcasting System
ง. Moodle

8. ถา้ ต้องการสรา้ งเวบ็ เพจเน้ือหารายวิชาสามารถใชโ้ ปรแกรมอะไร
ก. Google Sites
ข. Google Slide
ค. Google Chrome
ง. Google Drive

9. ขอ้ ใดคือความแตกต่างระหว่าง Google Meet กบั Google Classroom
ก. สอนสดกบั สรา้ งใหเ้ รยี นด้วยตนเอง
ข. สรา้ งได้ยากกับสรา้ งไดง้ ่าย
ค. ใชไ้ ด้ฟรกี ับเสยี ค่าใช้จ่าย
ง. เรียนไดเ้ รว็ กบั เรยี นได้ชา้

10. ขอ้ ใดเป็นเคร่ืองมอื สร้างแบบทดสอบของ Google
ก. Google Document
ข. Google Sheet
ค. Google Form
ง. Google Drawing

11. ผลคะแนนของผ้เู รียนในห้องเรยี นออนไลนส์ ามารถส่งออกมาแสดงผลเปน็ ไฟลใ์ ด
ก. Pdf
ข. spread sheet
ค. jpg
ง. doc

177

12. ผ้เู รียนสามารถจัดเกบ็ งานที่เปน็ ไฟล์เอาไวใ้ นระบบใด
ก. Google Drive
ข. Google Sheet
ค. Google Sites
ง. Google Plus

13. การใช้งาน Microsoft Teams สามารถเขา้ สูร่ ะบบทีไ่ หน
ก. office.com
ข. google.com
ค. gmail.com
ง. moe.go.th

14. ความแตกต่างระหวา่ ง Google Meet กบั Microsoft Teams คืออะไร
ก. การประชุมทางไกลติดกล้องกับไม่ตดิ กลอ้ ง
ข. การสอนสดกบั การเรยี นด้วยตนเอง
ค. ความเรว็ แตกต่างกันมาก
ง. คนละบริษทั

15. การกำหนดตารางนดั หมายใน Microsoft Teams ควรใช้เคร่อื งมอื อะไร
ก. Calendar
ข. Class
ค. Options
ง. Profile

16. ถ้าตอ้ งการจดั กลมุ่ ยอ่ ยในระบบ Microsoft Teams ควรใช้เคร่ืองมอื อะไร
ก. Member
ข. Code
ค. Channel
ง. Setting

17. พนื้ ที่ในการจัดเก็บไฟลข์ อ้ มลู ใน Microsoft Teams คืออะไร
ก. OneDrive
ข. Box
ค. Office 365
ง. Actions

178

18. ข้อใดไมใ่ ชเ่ ครอ่ื งมือเฉพาะในการสรา้ งคลปิ วดี ิโอการสอน
ก. Microsoft Teams
ข. Google Meet
ค. Padlet
ง. Zoom

19. เครอ่ื งมือเฉพาะในการสร้างแบบประเมินออนไลน์ได้แกข่ อ้ ใด
ก. Google Form
ข. Google G-Suite
ค. Videoconferencing
ง. MOODLE

20. ขอ้ ใดเป็นโปรแกรมที่สร้างแบบทดสอบปฏสิ ัมพันธ์บนโทรศัพทม์ ือถอื
ก. LINE
ข. Kahoot
ค. Padlet
ง. Dashboard

179

แบบประเมนิ ทักษะดจิ ทิ ัลเพื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศึกษา

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำชแี้ จง

1. แบบประเมินนี้ใช้เพื่อประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู

อาชวี ศึกษา หลังการอบรม

2. ทำเคร่อื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งผลการประเมินทักษะของผเู้ ข้ารับการอบรม

ชื่อ - นามสกลุ ......................................................... วทิ ยาลัย .......................................... เลขที่ ...........

รายการประเมนิ ระดบั คะแนน หมายเหตุ
21 0

ทักษะการออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้

1. การวิเคราะหเ์ นอ้ื หารายวิชา

ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั เพื่อการศกึ ษา

1. การใชง้ านระบบวิดีโอคอนเฟอรเ์ รนต์

2. การบริหารจัดการห้องเรียนออนไลน์

3. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ออนไลน์

ทกั ษะการสร้างหอ้ งเรียนออนไลน์

1. การจดั การห้องเรยี นออนไลน์

2. การจดั แหล่งเรียนรู้ในช้ันเรียนออนไลน์

ทักษะการสร้างส่อื ดจิ ทิ ลั

1. การสร้างส่ือการเรียนรู้

2. การสรา้ งวิดโี อการเรยี นรู้

ทักษะการวัดประเมนิ ผลออนไลน์

1. การสรา้ งแบบทดสอบ

2. การวัดผลและประเมินออนไลน์

หมายเหตุ

2 หมายถงึ ผ่านการประเมนิ
1 หมายถึง ต้องปรบั ปรุง
0 หมายถงึ ไมผ่ า่ น

180

แบบประเมนิ ความสอดคล้องสำหรบั ผูเ้ ชย่ี วชาญ
แบบประเมินทกั ษะดิจิทัลเพอื่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศึกษา
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผ้วู ิจัย นายธนสาร รจุ ิรา

ตำแหนง่ ศกึ ษานิเทศก์ วทิ ยฐานะ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ
คำชแ้ี จง

แบบสอบถามฉบับนี้ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชีย่ วชาญประเมินความสอดคล้อง ของ
แบบการประเมินความเหมาะสมการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัล เพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครอู าชวี ศกึ ษา โปรดทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่องว่างให้ตรงกบั ความคดิ เห็นของท่าน โดยมีเกณฑ์
ในการพจิ ารณาดงั น้ี

+ 1 หมายถึง ข้อคำถามมคี วามสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์
0 หมายถงึ ไม่แนใ่ จวา่ ข้อคำถามมคี วามสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์
- 1 หมายถงึ ข้อคำถามไมม่ คี วามสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์

ท่ี รายการ ความคดิ เห็น
เหน็ ดว้ ย ไมแ่ นใ่ จ ไม่เหน็ ด้วย
1 ชอื่ - นามสกุล
2 วทิ ยาลยั
3 เลขที่
ทักษะการออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้
4 การวิเคราะหเ์ นอื้ หารายวิชา
ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลเพอ่ื การศกึ ษา
5 การใช้งานระบบวดิ โี อคอนเฟอร์เรนต์
6 การบริหารจดั การหอ้ งเรยี นออนไลน์
7 การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ออนไลน์
ทกั ษะการสรา้ งห้องเรียนออนไลน์
8 การจดั การห้องเรยี นออนไลน์
9 การจัดแหลง่ เรยี นรใู้ นชัน้ เรยี นออนไลน์

181

ท่ี รายการ ความคิดเหน็
เหน็ ดว้ ย ไม่แนใ่ จ ไมเ่ หน็ ดว้ ย
ทักษะการสรา้ งสื่อดจิ ิทลั
10 การสร้างสื่อการเรียนรู้
11 การสรา้ งวิดโี อการเรยี นรู้
ทักษะการวัดประเมินผลออนไลน์
12 การสร้างแบบทดสอบ
13 การวัดผลและประเมินออนไลน์

ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ .....………………………………... ผปู้ ระเมิน
(......................................................)
.........../............/.............

182

ผลสรุปความสอดคลอ้ งของแบบประเมินทกั ษะดจิ ทิ ลั

เพือ่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา

ขอ้ ความคิดเหน็ ผูเ้ ชี่ยวชาญ IOC แปลผล
123

1 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

2 1 1 0 0.66 สอดคล้อง

3 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

4 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

5 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

6 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

7 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

8 1 0 1 0.66 สอดคลอ้ ง

9 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

10 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

11 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

12 1 1 1 1.00 สอดคล้อง

13 1 1 1 1.00 สอดคลอ้ ง

183

ภาคผนวก ค

การวิจยั ระยะที่ 3 การพฒั นาครอู าชีวศึกษาใหม้ ที ักษะดจิ ทิ ัลเพื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์
สำหรบั ครอู าชีวศึกษา

1. หนงั สอื แจง้ รายช่อื ผ้มู ีสทิ ธ์ิเขา้ รับการอบรม
2. รายชอ่ื ผเู้ ขา้ รับการอบรม
3. เครอื่ งมอื

184

หนังสอื แจง้ รายช่อื ผูม้ สี ทิ ธ์เิ ข้ารับการพฒั นาทักษะดิจทิ ัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชีวศึกษา

185

รายนามครเู ขา้ รบั การพฒั นาทักษะดิจทิ ลั
เพอ่ื การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา

ภาคกลาง

ที่ ชอ่ื -นามสกลุ ตำแหน่ง/สังกัด

1. นายธีรพงษ์ เอี่ยมยัง วทิ ยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี
2 นายเตชะภู พงษแ์ จม่ วทิ ยาลัยการอาชีพปราณบุรี
3. นายจิโรจน์ จิระวาณชิ กุล วทิ ยาลัยการอาชพี พุทธมณฑล
4. นางสาวจุไรวรรณ รกั สมยา วิทยาลัยการอาชีพวงั ไกลกงั วล
5. นางสาวดวงตา จวนเจรญิ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบรุ ี
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศิลปาชพี บางไทร
6. นางพชั รนิ ทร์ ลมิ ปนะวงศานนท์ วิทยาลัยเทคนคิ ชยั นาท
วิทยาลัยเทคนคิ นครปฐม
7. นายอดิศร เปล่ยี นดษิ ฐ วทิ ยาลยั เทคนคิ ประจวบคีรขี นั ธ์
8. นายเบญจา สุนทรเสถยี ร วทิ ยาลยั เทคนิคประจวบคีรขี ันธ์
9. นางวนั ดี นติ ยโ์ ชติ วทิ ยาลัยเทคนิคพระนครศรีอยุธยา
10. นายสมหมาย จุเรศ วิทยาลยั เทคนิคสระบรุ ี
วิทยาลัยเทคนคิ สงิ ห์บรุ ี
11. นายพนม ภู่สำอางค์ วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง
12. นายวิเชียร ทวีสขุ วิทยาลัยสารพัดชา่ งสระบรุ ี
13. นายปรีชา ปรอื ปรงั วทิ ยาลัยสารพัดชา่ งกาญจนบุรี
14. นายไพศาล เอี่ยมมิ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษากาญจนบรุ ี
15. นายธวัชชยั เหลอื หลาย วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาฉะเชงิ เทรา
วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษานครปฐม
16. นางรัตตยิ า เกิดสนิ ธ์ุ วิทยาลัยสารพดั ชา่ งสมทุ รสงคราม

17. นางสาวนิพาพรรณ มลศริ ิ

18. นางกรชนก ภเู จรญิ

19. นายเอกชน โพธินาม

20. นางกนกขวัญ ลืมนัด

186

รายนามครูเข้ารับการพฒั นาทักษะดิจิทลั
เพอื่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

ท่ี ชอ่ื -นามสกุล ตำแหนง่ /สงั กัด

1. นายศภุ ชยั โพธศ์ิ รี วิทยาลัยการอาชีพหว้ ยผง้ึ
วิทยาลยั การอาชพี ขอนแก่น
2 นางสาวอรทยั เลิศขุนทด วิทยาลยั การอาชีพชุมพวง
วิทยาลยั การอาชพี นวมินทราชินมี ุกดาหาร
3. นางสาวพชั รนิ ทร์ คชลัย วทิ ยาลยั การอาชพี สงั ขะ
วิทยาลัยการอาชพี หว้ ยผงึ้
4. นางสาวณฏั ฐาวรยี ์ เสอื แกว้ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี รีสะเกษ
วทิ ยาลยั เทคนิคเขาวง
5. นายวงศเ์ จรญิ ยอดทอง วทิ ยาลัยเทคนิคชมุ แพ
วิทยาลัยเทคนคิ นครขอนแกน่
6. นางสาวนารรี ตั น์ โชติชว่ งนริ นั ดร์ วิทยาลัยเทคนคิ นครพนม
7. นางสาวพรสวรรค์ สัมนา วทิ ยาลัยเทคนคิ พบิ ลู มังสาหาร
8. นายกฤษฎา บญุ เรือง วิทยาลยั เทคโนโลยรี ้อยเอด็
9. นายณรงคศ์ ักด์ิ ด้วงตะกวั่ วทิ ยาลยั เทคโนโลยแี ละการจดั การดอนตาล
10. นางปาณชนิน ตรีพรหม วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาขอนแกน่
11. นายสมควร บสุ วุ ะ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษามหาสารคาม
วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเลย
12. นางสาวปริม อปุ ถมั ภ์ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสรุ นิ ทร์
วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาหนองคาย
13. นางสาวนิภาภรณ์ สทุ ธโิ คตร วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาอุดรธานี

14. นายพรหมพงษ์ โกศลศริ ศักด์ิ

15. นางสาวพยอม เหล่าชุมพล

16. นางนนั ทา เพต็ มาน

17. นางรักชนก คิดคำนวน
18. นายพรพิทักษ์ ศรแี กว้
19. นายวฒุ ิภัทร บตุ รธนู
20. นางสาวทองทพิ ย์ พรเพียรวชิ านนท์

187

รายนามครูเข้ารบั การพฒั นาทักษะดจิ ิทัล
เพอ่ื การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา

ภาคตะวันตะวนั ออกและกรงุ เทพมหานคร

ท่ี ชอ่ื -นามสกลุ ตำแหนง่ /สังกดั

1. นางสองเมือง กุด่ัน วิทยาลยั เทคนคิ มนี บุรี
วทิ ยาลยั การอาชพี ของครกั ษ์
2 นางสาววภิ าวี แสงธนู วทิ ยาลยั การอาชพี นครนายก
วทิ ยาลัยการอาชีพนวมนิ ทราชทู ศิ
3. นางณฐั กานต์ เหรยี ญทอง วทิ ยาลัยการอาชีพนายายอาม
วทิ ยาลยั การอาชพี บางปะกง
4. นางนางศริ ิพร อารมณ์สวะ วิทยาลัยการอาชพี วงั นำ้ เยน็
วิทยาลัยเทคนคิ กาญจนาภิเษก มหานคร
5. วา่ ทร่ี ้อยตรณี รงค์ ทองกลู วทิ ยาลัยเทคนิคจนั ทบุรี
วทิ ยาลยั เทคนคิ ตราด
6. นายศภุ ชัย แกว้ วิลัย วิทยาลยั เทคนิคนครนายก
7. นายอรรถพล วริ ยิ สกุลวัฒนา วทิ ยาลัยเทคนิคนนทบุรี
8. นางสาวสมร ซันประสทิ ธิ์ วิทยาลยั เทคนคิ สตั หบี
9. นางสาวพรี ญา สขุ ขีวรรณ วทิ ยาลยั เทคนคิ สตั หบี
10. นายชยั ณรงค์ ประสิทธานนั ท์ วทิ ยาลัยเทคนิคสมทุ รปราการ
11. นางสาวศริ ิกัลยา คำนนท์ วิทยาลัยเทคโนโลยีรตั นโกสนิ ทร์
วทิ ยาลัยบรหิ ารธรุ กจิ และการทอ่ งเทย่ี วกรุงเทพ
12. นางสาวสาคร ขุนอำไพ วทิ ยาลัยบริหารธรุ กิจและการทอ่ งเทีย่ วกรงุ เทพ
วิทยาลัยพณชิ ยการธนบรุ ี
13. นางกฤตาณัฐ ผอ่ งศรี วทิ ยาลัยพณชิ ยการบางนา

14. นายสมเกียรติ สมพอง

15. นางสาวเจนจริ า ทองเฟ่ือง

16. นายอนตุ ร เติมสายทอง

17. นางกลุ ิสรา สวุ รรณ

18. นางสาวภทั ราวรรณ วรรณะบำเพ็ญ

19. นางสนฏิ ฐา วุฒิวิกัยการ

20. นายรกั พงษ์ ขอลือ

188

รายนามครเู ข้ารับการพฒั นาทกั ษะดจิ ิทลั
เพอื่ การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา

ภาคเหนอื

ที่ ชอ่ื -นามสกลุ ตำแหนง่ /สงั กัด

1. นายอำนวย อนิ ทรโชติ วิทยาลยั การอาชพี ชนแดน
วิทยาลยั การอาชพี นวมนิ ทราชนิ แี ม่ฮอ่ งสอน
2 นายปรัตถกร ไชยสริ ิยานนท์ วทิ ยาลัยการอาชพี บ้านตาก
วิทยาลัยการอาชีพลอง
3. นางสาวภทั ทริ า ชานนั ทโ์ ท วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีพะเยา
วทิ ยาลัยเทคนคิ เชยี งราย
4. นางพมิ ลณัฐ กิง่ จำปา วิทยาลยั เทคนคิ เชยี งราย
วิทยาลยั เทคนคิ เชียงใหม่
5. นางสาวปัณฑกิ า ศิรอิ ำมาต วทิ ยาลัยเทคนิคลำพนู
วิทยาลัยเทคนิคเวยี งปา่ เป้า
6. นายณรงค์ บรรณเลศิ วทิ ยาลัยเทคนิคสารภี
วิทยาลยั เทคนิคสโุ ขทยั
7. นายคณาธิป ทะจนั ทร์ วทิ ยาลยั พณิชยการบงึ พระพษิ ณุโลก
วิทยาลัยสารพดั ชา่ งเชยี งใหม่
8. นางสาวขวัญดารินทร์ จติ หาญ วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งนา่ น
วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งพษิ ณโุ ลก
9. นายปิติภาคย์ ป่ินรอด วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชยี งใหม่
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาแพร่
10. นางสาวสชุ าดา ถกึ สถติ ย์ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาพิษณโุ ลก
วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาพิษณโุ ลก
11. นางสาวอภวิ นั ท์ จกั รคำ

12. นายพงษ์ศกั ดิ์ บุญภกั ดี

13. นายสุวัฒน์ชัย ฉวศี ักดิ์

14. นางสรุ ีรตั น์ ทักษะวสุ

15. นางสาวกัญญานฐั เหลา่ อาภากลุ

16. นายปานเทพ รตั นอมั พร

17. นายภูรณิ ัฐ ยาระปา
18. นายนิพนธ์ ร่องพืช
19. นางสาวฐติ ารีย์ จันทรวัทน์
20. นายภมู ิพัฒน์ วนพิพัฒน์พงศ์

189

รายนามครูเขา้ รับการพฒั นาทกั ษะดจิ ิทัล
เพ่ือการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา

ภาคใต้

ที่ ชอ่ื -นามสกลุ ตำแหนง่ /สงั กัด

1. นางสาวสณุ า เชาวช์ ่าง วทิ ยาลัยการอาชีพคลองทอ่ ม
วิทยาลัยการอาชีพท่าแซะ
2 นางสาวยสตุ มา หลีหมดั วทิ ยาลัยการอาชีพเบตง
วทิ ยาลยั การอาชพี ปัตตานี
3. นางสาวอาซอื มะห์ มะดีเยาะ วทิ ยาลยั การอาชพี หลงั สวน
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครศรธี รรมราช
4. นายแวอับดลุ อาซิ อเู มาะอาลี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง
วิทยาลยั เทคนคิ กาญจนาภเิ ษกปัตตานี
5. นายจิโรจน์ แสงอ่อน วิทยาลยั เทคนิคจะนะ
วทิ ยาลยั เทคนิคจะนะ
6. นางสาวเอมพวัลย์ ศรมี กุ ข์ วิทยาลยั เทคนิคตรัง
7. นางสาวพชั นยิ า ชมุ ผอม วทิ ยาลัยเทคนคิ พทั ลงุ
8. นางสาวทพิ วรรณ มากทอง วิทยาลยั เทคนคิ ยะลา
9. นางสาวธนดิ า เลขานุกิจ วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี
10. นายสวุ ิทย์ เชยบัวแก้ว วทิ ยาลัยเทคนคิ สุราษฎรธ์ านี
11. นางทพิ ยว์ ดี พัฒนา วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษานครศรธี รรมราช
วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาภเู กต็
12. นางสาวกัลยา เกม็ เบญ็ หมาด วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาสรุ าษฏธ์ านี
วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสรุ าษฏธ์ านี
13. นายทรงเผา่ ชว่ ยคงมา วิทยาลัยเทคนิคชุมพร

14. นายวรวฒุ ิ ต้ังนรกุล

15. นางสาววยิ ะดา คงแกว้

16. นายทัศน์พงศ์ พงศ์สมคั ร

17. นางพรชนก เฮงประเสรฐิ
18. นางเสาวณีย์ ไกรนกุ ลู
19. นายสมั ฤทธิ์ ทองพฒั น์
20. นายวิษนุ สง่ ศรี

190

แบบประเมนิ ทักษะดจิ ทิ ัลเพื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศึกษา

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คำชแี้ จง

1. แบบประเมินนี้ใช้เพื่อประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู

อาชวี ศึกษา หลังการอบรม

2. ทำเคร่อื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งผลการประเมินทักษะของผเู้ ข้ารับการอบรม

ชื่อ - นามสกลุ ......................................................... วทิ ยาลัย .......................................... เลขที่ ...........

รายการประเมนิ ระดบั คะแนน หมายเหตุ
21 0

ทักษะการออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้

1. การวิเคราะหเ์ นอ้ื หารายวิชา

ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั เพื่อการศกึ ษา

1. การใชง้ านระบบวิดีโอคอนเฟอรเ์ รนต์

2. การบริหารจัดการห้องเรียนออนไลน์

3. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ออนไลน์

ทกั ษะการสร้างหอ้ งเรียนออนไลน์

1. การจดั การห้องเรยี นออนไลน์

2. การจดั แหล่งเรียนรู้ในช้ันเรียนออนไลน์

ทักษะการสร้างส่อื ดจิ ทิ ลั

1. การสร้างส่ือการเรียนรู้

2. การสรา้ งวิดโี อการเรยี นรู้

ทักษะการวัดประเมนิ ผลออนไลน์

1. การสรา้ งแบบทดสอบ

2. การวัดผลและประเมินออนไลน์

หมายเหตุ

2 หมายถงึ ผ่านการประเมนิ
1 หมายถึง ต้องปรบั ปรุง
0 หมายถงึ ไมผ่ า่ น


Click to View FlipBook Version