The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูอาร์ม, 2022-09-26 16:05:56

รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา

Full Text

91

3.2.4.1.7 ปรับปรุงรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศกึ ษาตามข้อเสนอแนะของผ้เู ช่ียวชาญ

3.2.4.2 ประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจทิ ัลเพอ่ื การจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศึกษา

3.2.4.2.1 สร้างแบบประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อ
การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศกึ ษา

1) ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบประเมินความ
เหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทกั ษะดิจิทัลเพื่อการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา

2) สร้างร่างแบบประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัล
เพื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศึกษา

3) นำร่างแบบประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์และแอปพลิเคชันสำหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ จำนวน 3 คน ประเมินความ
สอดคล้องของเนื้อหาและวัตถุประสงค์ และหาค่าดชั นีความสอดคล้อง (Index of Consistency: IOC)
และปรับปรุงตามผู้เชี่ยวชาญแนะนำ โดยกำหนดระดับการแสดงความคิดเห็น 3 ระดับ คือ +1, 0 และ
-1 โดยแตล่ ะระดบั มีความหมายดงั น้ี

+1 หมายถงึ เนื้อหาสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์
0 หมายถงึ ไม่แนใ่ จว่าเนอื้ หาสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์
-1 หมายถึง เนือ้ หาไม่สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์
4) จัดทำแบบประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพ่ือ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ฉบับสมบูรณ์ตามข้อเสนอแนะ
ของผูเ้ ชย่ี วชาญ
5) นำรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทลั เพ่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชวี ศึกษา ให้ผ้เู ชย่ี วชาญท่ีมีประสบการณ์และความเชีย่ วชาญจำนวน 9 คน ประกอบด้วย
ผ้เู ชยี่ วชาญดา้ นหลักสตู รและการสอน จำนวน 3 คน ดา้ นการจัดการวดั และประเมินผล จำนวน 3 คน
และด้านการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ จำนวน 3 คน ประเมินรับรองรูปแบบการพัฒนาทักษะ
ดิจิทัลเพ่อื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศกึ ษา ดว้ ยแบบประเมนิ ที่มีแบบมาตรวัด
5 ระดับ ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert Scale) โดย
ให้เกณฑ์ใน 5 ระดบั คะแนน คอื
5 คะแนน หมายถงึ มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ
4 คะแนน หมายถงึ มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก

92

3 คะแนน หมายถงึ มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสมอยใู่ นระดับน้อย
1 คะแนน หมายถึง มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับน้อยท่สี ุด
มีกำหนดเกณฑก์ ารแปลความหมายเพอื่ จัดระดับช่วงคะแนนเฉลี่ยค่าความเหมาะสม
กำหนดเป็นชว่ งดงั ตอ่ ไปน้ี
ค่าคะแนนเฉล่ยี 4.50-5.00 หมายถึง มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั มากที่สุด
ค่าคะแนนเฉลี่ย 3.50-4.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดับมาก
ค่าคะแนนเฉลย่ี 2.50-3.49 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดับปานกลาง
คา่ คะแนนเฉล่ีย 1.50-2.49 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั นอ้ ย
คา่ คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.49 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั นอ้ ยท่สี ดุ
6) ปรับปรุงรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา ตามข้อเสนอแนะของผู้เชย่ี วชาญ
3.2.4.2 พัฒนาหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา
3.2.4.2.1 พัฒนาร่างหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศกึ ษา
1) กำหนดจุดมงุ่ หมาย หลกั การ โครงสร้าง และการออกแบบหลกั สูตร โดย
อาศัยข้อมูลจากสภาพปัญหาและความต้องการปัจจุบันของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นำผลการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา เพ่ือ
พัฒนาร่างหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศกึ ษา
2) ยกร่างเนื้อหาหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศึกษา และนำเนอื้ หาของหลกั สตู รการพัฒนาทกั ษะดิจทิ ัลเพื่อการจัดการ
เรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศกึ ษา ให้ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์และ
แอปพลิเคชันสำหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ จำนวน 3 คน ประเมินความสอดคล้องของ
เนื้อหาและวัตถุประสงค์ และหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Consistency: IOC) และปรับปรุง
ตามผ้เู ชี่ยวชาญแนะนำ โดยกำหนดระดับการแสดงความคดิ เห็น 3 ระดับ คือ +1, 0 และ -1 โดยแต่ละ
ระดบั มคี วามหมายดังนี้

+1 หมายถึง เนือ้ หาสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์
0 หมายถงึ ไมแ่ นใ่ จวา่ เนือ้ หาสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์
-1 หมายถงึ เนอื้ หาไมส่ อดคล้องกบั วัตถุประสงค์

93

3) จัดทำร่างหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ฉบบั สมบรู ณ์ตามขอ้ เสนอแนะของผ้เู ช่ยี วชาญ

4) นำร่างหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ให้ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญจำนวน 9 คน
ประกอบด้วย ผเู้ ชย่ี วชาญด้านหลักสตู รและการสอน จำนวน 3 คน ด้านการจดั การวดั และประเมินผล
จำนวน 3 คน และด้านการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ จำนวน 3 คน ประเมินรับรองรูปแบบการ
พฒั นาทักษะดจิ ิทลั เพอื่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศกึ ษา ดว้ ยแบบประเมินที่มี
แบบมาตรวัด 5 ระดับ ซ่ึงเปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคิรท์ (Likert
Scale) โดยใหเ้ กณฑใ์ น 5 ระดับคะแนน คือ

5 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสมอยใู่ นระดบั มากท่สี ดุ
4 คะแนน หมายถงึ มีความเหมาะสมอยใู่ นระดบั มาก
3 คะแนน หมายถึง มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับนอ้ ย
1 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสมอยใู่ นระดบั น้อยที่สดุ
มีกำหนดเกณฑ์การแปลความหมายเพื่อจัดระดับช่วงคะแนนเฉล่ียคา่ ความเหมาะสม
กำหนดเป็นช่วงดงั ต่อไปนี้
คา่ คะแนนเฉลยี่ 4.50-5.00 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั มากทีส่ ุด
ค่าคะแนนเฉลยี่ 3.50-4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมอยใู่ นระดับมาก
ค่าคะแนนเฉลีย่ 2.50-3.49 หมายถึง มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั ปานกลาง
คา่ คะแนนเฉล่ยี 1.50-2.49 หมายถงึ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับนอ้ ย
คา่ คะแนนเฉลีย่ 1.00-1.49 หมายถงึ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับน้อยที่สดุ
3.2.4.2.2 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการ
เรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา
1) กำหนดวัตถุประสงค์ของการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เพ่ือ
ตรวจสอบความรู้พื้นฐานของผู้เข้ารับการอบรม เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของผู้เข้ารับการอบรม
และเพื่อสรุปผลการอบรม
2) พัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์จากการอบรมพัฒนาทักษะดิจิทัลเพ่ือ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ฉบับร่าง เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4
ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ ตามข้นั ตอนการสรา้ งแบบทดสอบของ บุญศรี พรหมมาพันธ์ุ (2556)
3) นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์จากการอบรมพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการ
จัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศึกษา ฉบับร่าง ให้ผู้เชีย่ วชาญด้านเนื้อหา จำนวน 3 คน

94

พิจารณาเพื่อตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา จากการคำนวณดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับ
วตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมเปน็ รายข้อ เลอื กแบบทดสอบขอ้ ท่ีมี IOC ต้งั แต่ .50 ข้นึ ไป โดยใช้เกณฑ์การ
ประเมินดังน้ี

ให้คะแนน +1 เมอื่ แน่ใจว่าขอ้ นั้นวัดได้ตรงตามนยิ าม
ให้คะแนน 0 เม่ือ ไมแ่ น่ใจว่าขอ้ นั้นวัดได้ตรงตามนยิ าม
ใหค้ ะแนน -1 เมอ่ื แนใ่ จว่าขอ้ น้ันวดั ไมต่ รงนยิ าม
4) ตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิจากการพัฒนาทักษะดิจิทลั
เพือ่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศกึ ษา ดว้ ยการนำไปทดลองใช้กับครูอาชีวศึกษา
ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน เพื่อตรวจสอบความยากของข้อสอบ (p) ให้อยู่ในช่วง .20 ถึง .80
ตรวจสอบอำนาจจำแนกของข้อสอบ (r) ท่ีมีค่าต้งั แต่ .20 ขน้ึ ไป และหาค่าความเชอ่ื ม่ันของแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ด้วยวิธีของคูเดอร์ ริชาดสัน (KR-20) คัดเลือกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ผ่านเกณฑ์
จำนวน 20 ข้อ
5) จัดทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์จากการอบรมการพัฒนาทักษะดิจิทัล
เพ่ือการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา ฉบบั สมบูรณ์
3.2.4.2.3 สร้างแบบประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครอู าชวี ศึกษา มีรายละเอยี ดดงั น้ี
1) ศึกษาแบบแบบวัด แบบประเมินจากเอกสารและงานวิจัย และหลักสูตร
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์สำหรับครูอาชีวศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างแบบประเมิน
ทักษะดิจิทัล และสร้างแบบประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศกึ ษา เปน็ แบบมาตรวัด 3 ระดับ แจกแจงระดับคะแนนในแต่ละข้อคำถาม คือ
คะแนน 2 หมายถงึ ผ่านการประเมนิ ทักษะ
คะแนน 1 หมายถึง ผา่ นตอ้ งปรับปรงุ
คะแนน 0 หมายถึง ไมผ่ ่านการประเมินทักษะ
2) สร้างแบบประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา ฉบบั ร่าง
3) นำแบบประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชีวศึกษา ฉบับร่าง ให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน พิจารณาเพื่อตรวจสอบความตรงเชิง
เนือ้ หาจากการคำนวณดชั นีความสอดคล้องระหว่างขอ้ คำถามกับวัตถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมเป็นรายข้อ
ปรับปรงุ และเลอื กแบบประเมินข้อทมี่ ี IOC ตงั้ แต่ .50 ข้นึ ไป โดยใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ดังนี้
ให้คะแนน +1 เมื่อ แนใ่ จว่าข้อนนั้ วดั ไดต้ รงตามนิยาม
ใหค้ ะแนน 0 เมอ่ื ไมแ่ น่ใจว่าข้อนั้นวัดไดต้ รงตามนิยาม

95

ใหค้ ะแนน -1 เมือ่ แนใ่ จว่าข้อนั้นวัดไมต่ รงนยิ าม
4) จัดทำแบบประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชีวศึกษา ฉบบั สมบูรณ์
3.2.4.4 ประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศึกษา
3.2.4.4.1 ทดสอบประสทิ ธิภาพแบบเดี่ยว (1:5) ทดสอบประสทิ ธิภาพหลกั สูตรกับครู
อาชีวศึกษา จำนวน 5 คน ประกอบด้วย ครูอาชีวศึกษาจากภาคกลาง ภาคเหนือ ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ภาคละ 1 คนเพื่อทดสอบ
คุณภาพของหลักสูตรเบื้องต้น ด้านความเข้าใจเนื้อหาการอบรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ สื่อสำหรับ
การนำเสนอ กิจกรรม และขั้นตอนการอบรม ระหว่างทดสอบประสิทธิภาพได้จับเวลาในการทำ
กิจกรรม สังเกตพฤติกรรมของผู้ฝึกอบรม สัมภาษณ์หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม ประเมินการอบรมจาก
กิจกรรมและงานที่มอบหมายให้ทำ และทดสอบหลังอบรม นำคะแนนมาคำนวณหาประสิทธิภาพ
ปรบั ปรุงแกไ้ ขขอ้ บกพร่องของหลกั สูตรเพ่อื เตรยี มใช้ในการทดสอบหาประสทิ ธภิ าพแบบกลุม่ ตอ่ ไป
3.2.4.4.2 ทดสอบหาประสิทธิภาพแบบกลุ่ม (1:15) ทดสอบประสิทธิภาพหลักสูตร
กับครูอาชีวศึกษา จำนวน 15 คน ประกอบด้วย ครูอาชีวศึกษาจากภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ภาคละ 3 คน เพ่อื ทดสอบคุณภาพ
ของหลักสูตรเบื้องต้น ด้านความเข้าใจเนื้อหาการอบรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ สื่อสำหรับการ
นำเสนอ กิจกรรม และขั้นตอนการอบรม ระหว่างทดสอบประสิทธิภาพได้จับเวลาในการทำกิจกรรม
สังเกตพฤติกรรมของผู้อบรม สัมภาษณ์หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม ประเมินการอบรมจากกิจกรรมและ
งานที่มอบหมายให้ทำ และทดสอบหลังอบรม นำคะแนนมาคำนวณหาประสิทธิภาพ ปรับปรุงแก้ไข
ข้อบกพรอ่ งของหลักสตู ร เพอื่ เตรยี มใชใ้ นการทดสอบหาประสทิ ธภิ าพภาคสนามตอ่ ไป
3.2.4.4.3 ทดสอบประสิทธิภาพภาคสนาม (1:30) ทดสอบประสิทธิภาพหลักสูตรกับ
ครูอาชีวศึกษา จำนวน 30 คน ประกอบด้วย ครูอาชีวศึกษาจากภาคกลาง ภาคเหนือ
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ภาคละ 6 คน เพื่อทดสอบ
คุณภาพของหลักสูตร ด้านความเข้าใจเนื้อหาการอบรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ สื่อสำหรับ
การนำเสนอ กิจกรรม และขั้นตอนการฝึกอบรม ระหว่างทดสอบประสิทธิภาพได้จับเวลาในการทำ
กิจกรรม สังเกตพฤติกรรมของผู้อบรม สัมภาษณ์หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรม ประเมินการฝึกอบรมจาก
กิจกรรมและงานที่มอบหมายให้ทำ และทดสอบหลังอบรม นำคะแนนมาคำนวณหาประสิทธิภาพของ
หลกั สตู รใหไ้ ด้ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใชส้ ูตร E1/E2 (ชยั ยงค์ พรหมวงศ์, 2556)

96

3.2.5 สถิตทิ ี่ใช้ในการวจิ ัย ระยะท่ี 2
3.2.5.1 คา่ ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) (มนต์ชยั , 2548)

IOC = ∑



เมอื่ IOC หมายถงึ ดชั นีความสอดคลอ้ ง
∑ หมายถึง ผลรวมของคะแนนความคิดเหน็ ของผู้เชีย่ วชาญ
N หมายถงึ จำนวนผู้เชยี่ วชาญ

3.2.5.2 ค่าเฉล่ยี เลขคณิต (มนต์ชัย, 2548)

Mean = ∑



เมอ่ื Mean หมายถงึ คา่ เฉล่ยี
∑ หมายถึง ผลรวมขอ้ มูลทั้งหมด
N หมายถงึ จำนวนขอ้ มลู

3.2.5.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) (มนต์ชยั , 2548)
S.D. = √∑( − ̅ )2



เมอื่ S.D. หมายถงึ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานประชากร
หมายถงึ ขอ้ มูลแตล่ ะตัวในเซ็ต
̅ หมายถงึ ค่าเฉลย่ี ประชากร
N หมายถงึ จำนวนขอ้ มลู

97

3.2.5.4 การประเมนิ ประสิทธิภาพ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2556)

X
N
E1 = A x 100

เมื่อ E1 หมายถงึ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ
 X หมายถึง คะแนนรวมของแบบฝึกปฏบิ ัติ กิจกรรมหรอื
งานที่ทำระหว่างอบรม
A หมายถงึ คะแนนเตม็ ของแบบฝกึ ปฏบิ ตั ทิ กุ ช้ินรวมกนั
N หมายถึง จำนวนผู้อบรม

F
N
E2 = B x 100

เมือ่ E2 หมายถึง ประสิทธภิ าพของผลลัพธ์
F หมายถงึ คะแนนรวมผลลัพธ์ของการประเมินหลงั อบรม
B หมายถงึ คะแนนเตม็ ของการประเมนิ สุดทา้ ยของ

N แต่ละหน่วย ประกอบด้วย ผลการสอบหลัง
การอบรมและคะแนนจากการประเมินงาน
หมายถงึ จำนวนผอู้ บรม

98

3.3 การวจิ ยั ระยะท่ี 3 พฒั นาครูอาชวี ศกึ ษาใหม้ ที ักษะดิจทิ ลั เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอน
ออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา

การพัฒนาครูอาชีวศึกษาให้มีทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศกึ ษา มีขั้นตอนการดำเนนิ การดงั ตารางท่ี 3-4

ตารางที่ 3-4 ขั้นตอนพัฒนาครูอาชีวศึกษาให้มีทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชีวศกึ ษา

ขั้นตอน/กระบวนการ ผลลพั ธ์

1. นำผลจากการดำเนินการในระยะที่ 2 รูปแบบการ 1. ผลสัมฤทธิ์ของผู้เข้ารับการอบรมที่

พัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน เข้ารับการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการ

ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา มาอบรมเพื่อพัฒนา จัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับ

ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ครูอาชวี ศกึ ษา

สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา 2. ผลการประเมินทักษะของผู้เข้ารับ

2. อบรมพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ การอบรมที่เข้ารับการพัฒนาทักษะ
สอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศึกษา
ดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
3. วัดผลสัมฤทธ์ิการอบรม และประเมินทกั ษะดจิ ิทลั เพ่อื ออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศึกษา
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู

อาชีวศึกษา

99

เร่มิ ต้น
ทดสอบก่อนการอบรมพฒั นาทกั ษะดิจิทัล

อบรมพฒั นาทกั ษะดจิ ิทัลฯ ประเมนิ ทักษะดิจิทลั
ทดสอบหลงั การอบรมพฒั นาทกั ษะดจิ ิทลั ฯ

ส้ินสุด

ภาพที่ 3-4 ขน้ั ตอนการดำเนินการวิจยั ระยะท่ี 3 การพัฒนาครอู าชวี ศึกษาใหม้ ีทักษะดิจทิ ัล
เพื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศกึ ษา

การดำเนินงานขน้ั ตอนการวิจยั ในระยะที่ 3 เปน็ การพฒั นาครอู าชวี ศกึ ษาให้มีทักษะดิจทิ ัลเพ่ือ
การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศกึ ษา โดยมรี ายละเอียด ดงั ต่อไปน้ี

3.3.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง การวจิ ยั ระยะท่ี 3
ประชากรที่ใช้ในการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

สำหรับครูอาชีวศึกษา คือ ครูอาชีวศึกษาของสถานศึกษาภาครัฐและเอกชน สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ที่สมัครเข้ารับการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศึกษา จำนวน 400 คน

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชีวศึกษา คือ ครูอาชีวศึกษาของสถานศึกษาภาครัฐและเอกชน สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ที่สมัครและผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้ารับ
การพัฒนาทกั ษะดจิ ิทัลเพือ่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา จำนวน 100 คน
โดยวธิ กี ารคดั เลอื กแบบกำหนดโควต้า (Quota Selection) (สมชาย, 2553) โดยพจิ ารณาจากผู้สมัคร
เข้ารับการอบรมตามภาค 5 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ 20 คน ภาคกลาง 20 คน ภาคใต้ 20 คน
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 20 คน และภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร 20 คน

100

3.3.2 ตัวแปรทใ่ี ช้ในการวิจัย ระยะท่ี 3
3.3.2.1 ตวั แปรตน้
การพัฒนาทักษะดิจทิ ัลเพื่อการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศึกษา
3.3.2.2 ตัวแปรตาม
3.3.2.2.1 ผลสัมฤทธก์ิ ารอบรมพฒั นาทกั ษะดจิ ิทัลเพือ่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์

สำหรบั ครอู าชวี ศึกษา
3.3.2.2.1 ผลการประเมินทักษะดจิ ทิ ัลเพอ่ื การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับ

ครูอาชีวศึกษา
3.3.3 เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั ระยะที่ 3
3.3.3.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน

ออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศกึ ษา
3.3.3.2 แบบประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู

อาชีวศกึ ษา
3.3.4 ข้นั ตอนวิธดี ำเนินการวิจัย ระยะท่ี 3 การอบรมพัฒนาทักษะดิจิทลั เพ่อื การจัดการเรียน

การสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศึกษา มีรายละเอยี ดดังน้ี
3.3.4.1 การอบรมพฒั นาครอู าชวี ศกึ ษาให้มีทักษะดิจทิ ัลเพ่ือการจัดการเรียนการสอน

ออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศึกษา มขี นั้ ตอนการดำเนนิ งาน 3 ระยะดงั น้ี
3.3.4.1.1 ขออนุมัติดำเนินโครงการนิเทศออนไลน์พัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อ

การเรียนการสอนอาชีวศึกษา จากหนว่ ยศึกษานเิ ทศก์
3.3.4.1.2 ประกาศรับสมัครเข้าอบรมโครงการนิเทศออนไลน์พัฒนาทักษะ

ดิจิทัลเพื่อการเรียนการสอนอาชีวศึกษา โดยประชาสัมพันธ์ผ่านทาง E-Office ไปยังวิทยาลัยสังกัด
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา และผ่านชอ่ งทาง Social Media ของหน่วยศึกษานเิ ทศก์

3.3.4.1.3 ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการอบรมโครงการนิเทศออนไลน์
พฒั นาทกั ษะดจิ ทิ ัลเพอ่ื การเรียนการสอนอาชีวศึกษา

3.3.4.1.4 ปฐมนิเทศผู้เข้ารับการอบรมพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัด
การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศึกษา จำนวน 100 คน

3.3.4.1.5 ทดสอบก่อนการอบรมพัฒนาทักษะดิจิทัลครูอาชีวศึกษาเพื่อการ
จดั การเรียนการสอนออนไลน์

3.3.4.1.6 อบรมเชิงปฏิบัติการตามหลักสูตรการพฒั นาทักษะดิจทิ ัลเพือ่ การ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา จำนวน 100 คน ด้วยรูปแบบ Hybrid Training

101

ที่ใช้วิธีการอบรมแบบ Synchronous Learning และวิธีการอบรมแบบ Asynchronous Learning
ดงั น้ี

1) วิธีการอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) คือ
การอบรมแบบมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างวิทยากรและผู้เข้ารับการอบรม ณ เวลาเดียวกัน ผ่าน Google
Meet ในขั้นตอนการสอนสด และการทำกิจกรรมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับการ
แลกเปลยี่ นเรยี นรูร้ ะหว่างการอบรม

2) วิธีการอบรมแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning)
คือการอบรมด้วยตนเองของผู้เข้ารับการอบรม ผ่าน Google Classroom ท่ีวิทยากรได้ออกแบบและ
กำหนดเนอื้ หาทกั ษะดิจิทลั เพื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ 5 ดา้ น 10 บทเรียนยอ่ ย

3.3.4.1.7 วทิ ยากรตรวจชิ้นงานใน Google Classroom ทั้ง 5 ทกั ษะ ตลอด
ระยะเวลาการอบรมพฒั นาทกั ษะดิจทิ ลั เพอื่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศึกษา

3.3.4.1.8 ทดสอบหลงั การอบรมพัฒนาทักษะดิจทิ ัลเพอื่ การจดั การเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา

3.3.4.1.9 วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติเชงิ พรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) และ
สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

3.3.5 สถิติท่ีใช้ในการวจิ ัย ระยะท่ี 3
3.3.5.1 ค่าเฉล่ยี เลขคณิต (มนต์ชัย, 2548)

Mean = ∑



เมือ่ Mean หมายถงึ คา่ เฉลี่ย
∑ หมายถึง ผลรวมข้อมูลทั้งหมด
N หมายถึง จำนวนข้อมลู

3.3.5.2 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) (มนต์ชยั , 2548)

S.D. = √∑( − ̅ )2



เมือ่ S.D. หมายถงึ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานประชากร
หมายถงึ ขอ้ มูลแต่ละตวั ในเซ็ต
̅ หมายถงึ ค่าเฉลีย่ ประชากร
N หมายถงึ จำนวนขอ้ มลู

102

3.4 การวิจัยระยะที่ 4 การประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทลั
เพ่ือการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศึกษา

ตารางท่ี 3-5 ข้ันตอนการประเมนิ ความพึงพอใจของครอู าชีวศึกษาทม่ี ีตอ่ การพฒั นาทกั ษะดจิ ิทัล
เพอ่ื การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศกึ ษา

ขนั้ ตอน/กระบวนการ ผลลพั ธ์

1. นำผลจากการดำเนินการในระยะที่ 3 การพัฒนาครู ผลการประเมินความพงึ พอใจของ

อาชีวศึกษาให้มีทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียน ครอู าชวี ศึกษาทม่ี ีต่อการพฒั นาทกั ษะ

การสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศกึ ษา ดจิ ทิ ลั เพ่ือการจดั การเรียนการสอน

2. สร้างแบบประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษา ออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศกึ ษา

ที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการ

เรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศึกษา

3. ประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการ

พัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน

ออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศึกษา

4. วิเคราะหข์ อ้ มลู ทไ่ี ด้รับจากการประเมินความพึงพอใจ

ของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัล

เพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับ

ครูอาชีวศึกษา

เริ่มต้น

สรา้ งแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ฯ

ประเมินความพงึ พอใจฯ

สิ้นสุด

ภาพท่ี 3-5 ขน้ั ตอนการดำเนนิ การวจิ ัยระยะท่ี 4 การประเมินความพงึ พอใจของครอู าชวี ศึกษา
ทม่ี ตี อ่ การพัฒนาทกั ษะดจิ ทิ ลั เพอื่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศกึ ษา

103

การดำเนินงานขั้นตอนการวิจัยในระยะที่ 4 เป็นการประเมินความพึงพอใจของครู
อาชวี ศึกษาท่ีมีต่อการพัฒนาทักษะดิจทิ ลั เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศึกษา
โดยมีรายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปนี้

3.4.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง การวจิ ัยระยะที่ 4
ประชากรที่ใช้ในการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

สำหรับครูอาชีวศึกษา คือ ครูอาชีวศึกษาของสถานศึกษาภาครัฐและเอกชน สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ที่สมัครเข้ารับการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการ
จดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศกึ ษา จำนวน 400 คน

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชีวศึกษา คือ ครูอาชีวศึกษาของสถานศึกษาภาครัฐและเอกชน สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ที่สมัครและผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้ารับ
การพัฒนาทักษะดิจิทัลเพือ่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศึกษา จำนวน 100 คน
โดยวธิ ีการคดั เลือกแบบกำหนดโควต้า (Quota Selection) (สมชาย, 2553) โดยพจิ ารณาจากผู้สมัคร
เข้ารับการอบรมตามภาค 5 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ 20 คน ภาคกลาง 20 คน ภาคใต้ 20 คน
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 20 คน และภาคตะวนั ออกและกรงุ เทพมหานคร 20 คน

3.4.2 ตัวแปรที่ใชใ้ นการวิจยั ระยะที่ 4
3.4.2.1 ตวั แปรต้น
การพฒั นาทกั ษะดิจทิ ลั เพ่อื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา
3.4.2.2 ตัวแปรตาม
ผลการประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัล

เพ่อื การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศึกษาออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศกึ ษา
3.4.3 เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ระยะท่ี 4
แบบประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อ

การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา
3.4.4 ข้ันตอนวิธีดำเนนิ การวจิ ยั ระยะที่ 4
3.4.4.1 ศกึ ษาแบบสอบถาม แบบวัด และแบบประเมินจากเอกสารและงานวิจยั ต่างๆ

เพอื่ ใช้เปน็ แนวทางในการสรา้ งแบบวัดความพึงพอใจ
3.4.4.2 สร้างแบบประเมินความพงึ พอใจของครูอาชวี ศกึ ษาจากการเขา้ รับการพัฒนา

ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ฉบับร่าง จำนวน 3 ตอน
ประกอบด้วย

104

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของครอู าชีวศกึ ษา
ตอนที่ 2 ประเดน็ การประเมนิ ความพึงพอใจ
ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอที่มีต่อการทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา เป็นแบบมาตรวัด 5 ระดับ แจกแจงความคิดเห็นของผู้เข้ารับการ
อบรมในแตล่ ะขอ้ คำถาม คอื

คะแนน 5 หมายถงึ มีความพงึ พอใจระดับมากท่ีสุด
คะแนน 4 หมายถึง มีความพึงพอใจระดับมาก
คะแนน 3 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจระดับปานกลาง
คะแนน 2 หมายถงึ มีความพึงพอใจระดับน้อย
คะแนน 1 หมายถึง มีความพงึ พอใจนอ้ ยที่สดุ
3.4.4.3 นำแบบประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะ
ดิจิทัลเพ่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศึกษา ฉบับร่าง ให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3
ท่าน ประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของเนื้อหาและวัตถุประสงค์ และหาค่าดัชนีความ
สอดคล้อง (Index of Consistency: IOC) กำหนดระดับการแสดงความคิดเห็น 3 ระดับ คือ +1, 0
และ -1 โดยแตล่ ะระดับมีความหมายดังน้ี
+1 หมายถงึ เนือ้ หาขอ้ คำถามสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์
0 หมายถงึ ไม่แนใ่ จวา่ เนื้อหาขอ้ คำถามสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์
-1 หมายถงึ เนอื้ หาขอ้ คำถามไมส่ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์
3.4.4.4 นำแบบประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะ
ดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ฉบับร่าง ปรับปรุงตาม
ข้อเสนอแนะของผู้เชีย่ วชาญ
3.4.4.5 นำแบบประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะ
ดิจทิ ลั เพอื่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศึกษา ประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เข้ารับ
การพัฒนาทักษะดิจทิ ัลเพ่ือการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศกึ ษา
3.4.4.6 วเิ คราะห์ผลโดยใช้สถติ ิเชงิ พรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลย่ี (Mean) และส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

105

3.4.5 สถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย ระยะที่ 5
3.4.5.1 คา่ ดัชนคี วามสอดคล้อง (IOC) (มนต์ชัย, 2548)

IOC = ∑



เม่ือ IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคล้อง
∑ หมายถงึ ผลรวมของคะแนนความคิดเหน็ ของผ้เู ชย่ี วชาญ
N หมายถงึ จำนวนผเู้ ชี่ยวชาญ

3.4.5.2 คา่ เฉลีย่ เลขคณติ (มนตช์ ยั , 2548)

Mean = ∑



เม่ือ Mean หมายถึง คา่ เฉลี่ย
∑ หมายถงึ ผลรวมข้อมูลทง้ั หมด
N หมายถงึ จำนวนข้อมลู

3.4.5.3 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) (มนตช์ ัย, 2548)
S.D. = √∑( − ̅ )2



เม่ือ S.D. หมายถงึ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานประชากร
หมายถึง ข้อมลู แต่ละตวั ในเซต็
̅ หมายถึง คา่ เฉลย่ี ประชากร
N หมายถึง จำนวนข้อมูล

106

บทที่ 4
ผลการวิจยั

การวิจัยเรื่อง รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับ
ครูอาชีวศึกษา การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ผู้วิจัยขอนำเสนอผลงานวิจัย
ตามกระบวนการวิจัย โดยแบ่งออกเปน็ 4 ระยะตามวตั ถุประสงค์ของการวิจยั โดยมีรายละเอียดดังน้ี

4.1 ผลการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพอื่ การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศึกษา
4.2 ผลการพฒั นารปู แบบการพัฒนาทกั ษะดิจทิ ัลเพอื่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับ
ครูอาชีวศกึ ษา
4.3 ผลการพัฒนาครูอาชีวศึกษาให้มีทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรบั ครูอาชีวศึกษา
4.4 ผลการประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการ
จดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศกึ ษา
4.1 ผลการสงั เคราะห์ทกั ษะดจิ ทิ ัลเพอื่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศึกษา
ผลการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา
ตามกรอบแนวคิดของงานวิจัย ประกอบด้วย 2 ระยะ คือ 1) ผลการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา และ 2) ผลการประเมินความเหมาะสมของผล
การสงั เคราะหท์ กั ษะดจิ ิทัลเพอ่ื การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศกึ ษา มีรายละเอยี ด
ดังน้ี
4.1.1 ผลการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชวี ศึกษา ตามกรอบแนวคิดการวิจยั มรี ายละเอยี ด ดังนี้
ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาค้นคว้าขอ้ มลู เอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้อง เพื่อนำข้อมูลมา
วิเคราะห์ และสังเคราะห์ สรุปเป็นกรอบแนวคิดของทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา และใช้ผลการสังเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวเป็นแนวทางในการพัฒนา
ทกั ษะดจิ ิทัลเพ่ือการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศกึ ษา แสดงดงั ตารางที่ 4-1

107

ตารางที่ 4-1 ผลการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศกึ ษา

ทักษะดิจิทัลเพื่อการจดั การเรียน พัลลภ (2560)
การสอนออนไลน์ ก.พ. (2560)
กระทรวง ึศกษาธิการ (2561)
สำหรับครอู าชวี ศึกษา กระทรวง ิดจิทัลฯ (2559)
คุรุสภา (2562)
ู้ผ ิวจัย

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ✓✓✓✓✓✓
การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพือ่ การศกึ ษา ✓✓✓✓✓✓
การสร้างหอ้ งเรยี นออนไลน์ ✓✓✓✓✓✓
การสรา้ งสื่อดิจิทัล ✓✓✓✓✓✓
การวัดและประเมินผลออนไลน์ ✓✓✓✓✓✓

จากตารางที่ 4-1 ผลสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศึกษา พบว่าทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา
ประกอบด้วย 5 ทักษะ ได้แก่ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
การสร้างห้องเรียนออนไลน์ การสรา้ งสอ่ื ดจิ ิทัล และการวัดประเมนิ ผลออนไลน์ ดังภาพท่ี 4-1

ภาพที่ 4-1 ทกั ษะดจิ ิทลั เพือ่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศึกษา

108

4.1.2 ผลการประเมินความเหมาะสมของผลการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศกึ ษา ตามกรอบแนวคดิ การวิจัย มรี ายละเอยี ด ดังนี้

ผู้วิจัยได้นำผลการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศึกษา ใหผ้ เู้ ชยี่ วชาญ จำนวน 5 คน ประเมนิ ความเหมาะสม ผลการประเมนิ แสดงดังตารางท่ี 4-2

ตารางท่ี 4-2 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของผลการสงั เคราะห์ทักษะดจิ ิทัลเพอื่ การจดั การเรียน
การสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศกึ ษา

รายการประเมนิ ผลการประเมนิ ระดบั
Mean S.D. ความเหมาะสม
ทกั ษะการออกแบบแผนการจดั การเรยี นรู้
ทกั ษะการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่อื การศึกษา 5.00 0.00 มากที่สุด
ทกั ษะการสรา้ งหอ้ งเรยี นออนไลน์ 4.80 0.45 มากทส่ี ดุ
ทกั ษะการสร้างสอื่ ดิจทิ ัล 4.80 0.45 มากท่ีสดุ
ทักษะการวดั และประเมินผลออนไลน์ 5.00 0.00 มากท่สี ุด
5.00 0.00 มากทส่ี ุด
รวม 4.92 0.24 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4-2 ผลการประเมินความเหมาะสมทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา พบว่า ความเหมาะสมทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา โดยรวม มีความเหมาะสมมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.92 และค่า
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.24 และเมื่อพิจารณาประเด็นการประเมินความเหมาะสมทักษะ
ดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา พบว่า ทักษะดิจิทัลทั้ง 5 ด้าน
มีความเหมาะสมมากที่สุด โดยทักษะด้าน การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ การสร้างสื่อดิจิทัล
และการวัดและประเมินผลออนไลน์ มีความเหมาะสมมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.00 ทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา และการสร้าง
บทเรียนดิจิทลั มคี า่ เฉลี่ยเทา่ กับ 4.80 และค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.45

109

4.2 ผลการพัฒนารปู แบบการพฒั นาทกั ษะดจิ ิทัลเพื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครู
อาชีวศกึ ษา

ผลการดำเนินการวิจัยในระยะนี้เป็นการออกแบบและพัฒนารูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัล
เพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ประกอบด้วย 1) รูปแบบการพัฒนา
ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู และ2) ผลการประเมินความเหมาะสม
รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ซึ่งผล
ของการวิจัยมีดังน้ี

4.2.1 รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศึกษา จากการศึกษา ค้นคว้า ทฤษฎี หลักการ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการ
พัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ประกอบด้วย 3
องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า (Input) 2) กระบวนการ (Process) และ3) ผลลัพธ์ (Output)
รายละเอยี ดแสดงในบทที่ 5

1. ปจั จัยนำเข้า (Input) ประกอบดว้ ย 2 องคป์ ระกอบยอ่ ย ได้แก่
1.1 ข้อมูลพื้นฐาน
1.1.1 วตั ถปุ ระสงค์ของอบรม
1.1.2 หลักสูตรการอบรม
1.1.3 คณุ ลักษณะของผูเ้ ขา้ รับการอบรม
1.1.4 คุณลักษณะวิทยากร
1.2 เทคโนโลยี
1.2.1 เทคโนโลยพี ้ืนฐาน
1.2.2 ระบบนิเวศการเรยี นรู้

2. กระบวนการ (Process)
2.1 ระยะก่อนการอบรม
2.1.1 การเตรียมความพร้อมก่อนการอบรม
2.1.2 การเข้าร่วมชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพ
2.2 ระยะระหวา่ งการอบรม
2.2.1 การประเมนิ กอ่ นการอบรม
2.2.2 การอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous Training)
2.2.3 การอบรมแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Training)

110

2.2.5 กิจกรรม PLC
2.2.5 การประเมินหลังการอบรม
2.3 ระยะหลงั การอบรม
2.3.1 เขา้ รว่ มชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ
2.3.2 การนเิ ทศติดตาม
3. ผลลัพธ์ (Output)
3.1 ทักษะทกั ษะการออกแบบแผนการจดั การเรยี นรู้
3.2 ทกั ษะการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอ่ื การศกึ ษา
3.3 ทกั ษะการสร้างห้องเรยี นออนไลน์
3.4 ทกั ษะการสร้างสื่อดจิ ทิ ัล
3.5 ทกั ษะการวดั และประเมินผลออนไลน์
4.2.2 ผลการประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา จากผู้ที่มีประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
การออกแบบ การพัฒนาและการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ จำนวน 9 คน ได้ผลการวิเคราะห์
แสดงดังตาราง 4-3 ถึงตารางท่ี 4-6

ตารางท่ี 4-3 ผลการประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศกึ ษา ภาพรวม

ประเดน็ การประเมนิ ความเหมาะสม ผลการประเมนิ ระดบั
Mean S.D. ความเหมาะสม
1. ปัจจัยนำเข้า (Input)
2. กระบวนการ (Process) 4.65 0.10 มากทส่ี ุด
3. ผลลัพธ์ (Output) 4.84 0.24 มากทีส่ ดุ
5.00 0.00 มากทสี่ ุด
รวม 4.83 0.12 มากทส่ี ุด

จากตารางท่ี 4-3 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมรปู แบบการพฒั นาทักษะดจิ ทิ ลั เพอื่ การจัดการ
เรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา โดยรวม มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 5.00 และค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.00 และเมอ่ื พิจารณาประเดน็ การประเมินความ
เหมาะสมรายข้อ พบว่า ทุกประเด็นที่มีความเหมาะสมมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และค่าส่วน
เบยี่ งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.00

111

ตารางที่ 4-4 ผลการประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา องค์ประกอบปจั จยั นำเข้า (Input)

ประเดน็ การประเมนิ ความเหมาะสม ผลการประเมิน ระดบั
Mean S.D. ความเหมาะสม
1. ข้อมลู พื้นฐาน
1.1 วตั ถุประสงค์การอบรม 4.78 0.44 มากท่ีสุด
1.2 หลกั สตู รการอบรม 4.67 0.50 มากที่สดุ
1.3 คุณลักษณะของผู้เข้ารับการอบรม 4.67 0.50 มากท่ีสดุ
1.4 คณุ ลกั ษณะวทิ ยากร 4.78 0.44
มากที่สดุ
2. เทคโนโลยี
2.1 เทคโนโลยพี ืน้ ฐาน 4.67 0.50 มากท่สี ดุ
2.2 ระบบนเิ วศการเรียนรู้ 4.33 0.71 มาก
รวม 4.65 0.10
มากท่ีสดุ

จากตารางที่ 4-4 ผลการประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจทิ ัลเพอื่ การจัดการ
เรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา องค์ประกอบปัจจัยนำเข้า (Input) โดยรวม มีความ
เหมาะสมในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.65 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.01
และเมื่อพิจารณาประเด็นการประเมินความเหมาะสมรายข้อ พบว่า ประเด็นที่มีความเหมาะสม
มากที่สุดคือ วัตถุประสงค์การอบรม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.78
และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.44 และประเด็นที่มีความเหมาะสมน้อยที่สดุ คือ ระบบนิเวศ
การเรียนรู้ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 0.71

112

ตารางท่ี 4-5 ผลการประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศกึ ษา องค์ประกอบดา้ นกระบวนการ (Process)

ประเดน็ การประเมินความเหมาะสม ผลการประเมนิ ระดบั
Mean S.D. ความเหมาะสม
1. ระยะกอ่ นการอบรม
1.1 การเตรยี มความพร้อมก่อนการอบรม 4.56 0.53 มากทสี่ ดุ
1.2 การเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี 4.56 0.53 มากทส่ี ดุ

2. ระยะระหวา่ งการอบรม 5.00 0.00 มากท่สี ุด
2.1 การประเมนิ ก่อนการอบรม 5.00 0.00 มากที่สุด
2.2 การอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous Training) 4.89 0.33 มากที่สุด
2.3 การอบรมแบบไมป่ ระสานเวลา (Asynchronous Training) 4.67 0.50 มากทส่ี ุด
2.4 กิจกรรม PLC 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ
2.5 การประเมินหลงั การอบรม
5.00 0.00 มากทสี่ ุด
3. ระยะหลงั การอบรม 4.89 0.33 มากที่สุด
3.1 การรว่ มกจิ กรรมในชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ 4.84 0.24 มากทส่ี ุด
3.2 การนเิ ทศตดิ ตาม
รวม

จากตารางที่ 4-5 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมรปู แบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพ่อื การจัดการ
เรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา องค์ประกอบด้านกระบวนการ (Process) โดยรวม
มีความเหมาะสมในระดบั มากที่สดุ มีคา่ เฉล่ียเท่ากบั 4.84 และคา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.24
และเมื่อพิจารณาประเด็นการประเมินความเหมาะสมรายข้อ พบว่า ประเด็นที่มีความเหมาะสมมาก
ท่สี ดุ ไดแ้ ก่ การประเมนิ ก่อนการอบรม, การอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous Training) และ
การร่วมกิจกรรมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.00 และประเด็นที่มีความเหมาะสมน้อยที่สุดคือ การเตรียมความพร้อมก่อนการ
อบรม และการเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย
เท่ากบั 4.56 และคา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.53

113

ตารางท่ี 4-6 ผลการประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา องคป์ ระกอบดา้ นผลลพั ธ์ (Output)

ประเดน็ การประเมินความเหมาะสม ผลการประเมิน ระดบั
Mean S.D. ความเหมาะสม
1. ทักษะการออกแบบแผนการจดั การเรยี นรู้
2. ทกั ษะการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพือ่ การศึกษา 5.00 0.00 มากทสี่ ุด
3. ทักษะการสรา้ งหอ้ งเรียนออนไลน์ 5.00 0.00 มากท่สี ดุ
4. ทกั ษะการสรา้ งสือ่ ดจิ ิทัล 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ
5. ทักษะการวัดและประเมินผลออนไลน์ 5.00 0.00 มากที่สุด
5.00 0.00 มากที่สุด
รวม
5.00 0.00 มากทส่ี ุด

จากตารางที่ 4-6 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมรูปแบบการพฒั นาทกั ษะดิจิทัลเพอ่ื การจัดการ
เรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา องค์ประกอบด้านผลลัพธ์ (Output) โดยรวม มีความ
เหมาะสมในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.00 และ
เมื่อพิจารณาประเด็นการประเมินความเหมาะสมรายข้อ พบว่า ทุกประเด็นที่มีความเหมาะสมมาก
ที่สดุ มีคา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 5.00 และค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.00

4.3.3 หลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชวี ศกึ ษา

การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศึกษา ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 7 ส่วน ได้แก่ 1) ชื่อหลักสูตร 2) วัตถุประสงค์การ
ฝึกอบรม 3) เนื้อหาการเรียนรู้ 4) กระบวนการฝึกอบรม 5) สื่อ เทคโนโลยีและทรัพยากรการเรียนรู้
6) ระยะเวลา และ7) การวดั และประเมนิ ผล

4.3.3.1 ช่ือหลักสตู ร : การพฒั นาทักษะดจิ ทิ ลั เพ่อื การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรบั ครูอาชีวศึกษา

4.3.3.2 วตั ถุประสงค์การฝึกอบรม
4.3.3.2.1 เพ่ือใหค้ รอู าชวี ศึกษามีทกั ษะในการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์
4.3.3.2.2 เพื่อสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพด้านการจัดการเรียน

การสอนดว้ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ

114

4.3.3.2 เน้อื หาการเรียนรู้
เนื้อหาของหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน

ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ประกอบด้วย 5 ทกั ษะ 10 บทเรียนยอ่ ย ดังนี้
4.3.3.2.1 ทักษะทกั ษะการออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้
1) การวเิ คราะหเ์ นือ้ หารายวชิ า
4.3.3.2.2 ทกั ษะการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพื่อการศกึ ษา
1) การใชง้ านระบบวิดีโอคอนเฟอรเ์ รนต์
2) การบริหารจดั การหอ้ งเรียนออนไลน์
3) การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ออนไลน์
4.3.3.2.3 ทกั ษะการสร้างหอ้ งเรยี นออนไลน์
1) การจัดการหอ้ งเรยี นออนไลน์
2) การจดั แหลง่ เรียนรใู้ นช้ันเรยี นออนไลน์
4.3.3.2.4 ทักษะการสรา้ งสอื่ ดจิ ิทลั
1) การสรา้ งส่ือการเรียนรู้
2) การสรา้ งวิดีโอการเรียนรู้
4.3.3.2.5 ทักษะการวดั และประเมินผลออนไลน์
1) การสร้างแบบทดสอบ
2) การวัดผลและประเมนิ ออนไลน์

4.3.3.4 กระบวนการฝึกอบรม
4.3.3.4.1 ระยะกอ่ นการอบรม
1) การเตรยี มความพร้อมก่อนการอบรม
2) การเข้ารว่ มชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี
4.3.3.4.2 ระยะระหว่างการอบรม
1) การประเมินก่อนการอบรม
2) การอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous Training)
3) การอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous Training)
4) กจิ กรรม PLC
5) การประเมนิ หลงั การอบรม

115

4.3.3.4.3 ระยะหลังการอบรม
1) การรว่ มกิจกรรมในชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชพี
2) การนิเทศติดตาม

4.3.3.5 ส่ือ เทคโนโลยีและทรัพยากรการเรยี นรู้
4.3.3.5.1 Video ชุดฝกึ พัฒนาทักษะดิจิทัล
4.3.3.5.2 เอกสารประกอบการบรรยาย

4.3.3.6 ระยะเวลา
เดอื นสิงหาคม - ธันวาคม 2563

4.3.3.7 การวัดและประเมนิ ผล
4.3.3.7.1 แบบประเมินผลสัมฤทธิ์การพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการ

เรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศกึ ษา
4.3.3.7.2 แบบประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

สำหรับครอู าชีวศกึ ษา
4.4.4 ผลการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรยี น

การสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา
ตารางที่ 4-7 ผลการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจทิ ลั เพอ่ื การจดั การเรียน
การสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา

ประเดน็ การประเมินความเหมาะสม ผลการประเมนิ ระดบั
Mean S.D. ความเหมาะสม
1. หลกั สูตรสามารถนำไปใช้ปฏบิ ตั ิจริงได้
2. หลักสตู รเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผ้เู ข้าอบรม 5.00 0.00 มากท่ีสุด
3. หัวขอ้ อบรมมีความครบถ้วนและครอบคลมุ 5.00 0.00 มากทส่ี ุด
4. หัวเรอ่ื งเรยี งลำดับไดอ้ ย่างเหมาะสม 4.67 0.50 มากทส่ี ุด
4.44 0.73 มากทสี่ ุด

116

ตารางท่ี 4-7 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของหลกั สตู รการพัฒนาทักษะดิจิทลั เพือ่ การจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศกึ ษา (ต่อ)

ประเดน็ การประเมนิ ความเหมาะสม ผลการประเมนิ ระดบั
Mean S.D. ความเหมาะสม
5. เนอ้ื หาเหมาะสมกบั ระดบั ความรขู้ องผู้เข้าอบรม
6. เนอื้ หาใน ชุด Video ดแู ล้วเขา้ ใจง่าย ไมซ่ บั ซอ้ น 4.89 0.33 มากที่สดุ
7. แบบฝึกหดั ตรงตามเน้ือหา 5.00 0.00 มากทีส่ ุด
8. แบบทดสอบครอบคลุมเนื้อหา 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ
9. แบบประเมนิ ทักษะครอบคลมุ เน้อื หา 5.00 0.00 มากท่สี ุด
10. ระยะเวลาเหมาะสม 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ
4.67 0.50 มากทส่ี ุด
รวม
4.87 0.28 มากที่สุด

จากตารางที่ 4-7 ผลการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา โดยรวม มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด
มีค่าเฉลีย่ เทา่ กบั 4.87 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.28 เมอื่ พิจารณาประเด็นการประเมิน
ความเหมาะสมรายข้อ พบว่า ประเด็นที่มีความเหมาะสมมากที่สุดได้แก่ หลักสูตรสามารถนำไปใช้
ปฏบิ ตั ิจริงได,้ หลักสูตรเป็นประโยชนต์ อ่ ผ้เู ขา้ อบรม,เนือ้ หาใน ชุด Video ดูแลว้ เขา้ ใจงา่ ย ไม่ซับซ้อน,
แบบฝึกหัดตรงตามเนื้อหา, แบบทดสอบครอบคลุมเนื้อหา และแบบประเมินทักษะครอบคลุมเนื้อหา
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.00 และประเด็นที่มีความเหมาะสม
น้อยที่สุดคือ ระยะเวลาเหมาะสม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.67 และค่า
สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.50

4.4.5 ผลการประเมินประสิทธิภาพหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ

สอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศกึ ษา

ผลการประเมินประสิทธิภาพหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน

ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศกึ ษา จากครูอาชีวศึกษาทีใ่ ชใ้ นการศึกษาประสิทธิภาพหลกั สูตรการพัฒนา

ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา จำนวน 30 คน เพื่อหา

ประสิทธิภาพหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู

อาชีวศึกษาตามเกณฑ์ 80/80 แสดงดังตารางที่ 4-8

117

ตารางที่ 4-8 ผลการประเมินประสิทธิภาพหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา

รายการ จำนวน คะแนน คะแนนรวม ประสิทธิภาพ
ผูเ้ ข้าอบรม เตม็
120 3059 84.97
คะแนนระหวา่ งอบรม (E1) 30 20 502 83.67

คะแนนหลงั อบรม (E2) 30

จากตารางที่ 4-8 แสดงผลการวเิ คราะหห์ าประสิทธภิ าพหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพ่ือ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศกึ ษา พบว่า หลักสูตรการพัฒนาทักษะดจิ ิทัลเพือ่
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา มีประสิทธิภาพ 84.97/83.67 เป็นไปตาม
เกณฑ์ที่กำหนดท่ี 80/80

4.3 ผลพฒั นาครอู าชีวศกึ ษาใหม้ ที ักษะดจิ ิทลั เพือ่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศกึ ษา

ผลการดำเนินการวิจัยในระยะนี้เป็นการพัฒนาครูอาชีวศึกษาให้มีทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการ
เรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ในรูปแบบการอบรมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งผลการวิจัย
ประกอบด้วย 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูอาชีวศึกษาที่เข้ารับการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา และ2) ผลการประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการ
จดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศึกษา ซงึ่ ผลของการวจิ ยั มีดังนี้

4.3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูอาชีวศึกษาที่เข้ารับการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการ
จัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศึกษา

การวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูอาชีวศึกษาที่เข้ารับการพัฒนาทักษะดิจิทัล
เพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษาด้วยการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อน
อบรมและหลังอบรม จำนวน 100 คน แสดงดงั ตารางท่ี 4-9

ตารางที่ 4-9 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูอาชีวศึกษาที่เข้ารับการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อ

การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศึกษา

ผลสัมฤทธิ์ คะแนนเตม็ N Mean S.D. t-test df sig

ก่อนอบรม 20 100 11.03 6.51 -15.50 99 .000
หลงั อบรม 20 100 16.49 6.09 **

**p<.05

118

จากตารางที่ 4-9 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูอาชีวศึกษาที่เข้ารับการพัฒนาทักษะ

ดจิ ิทัลเพ่อื การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา พบว่า มคี ่าเฉลย่ี ของคะแนนก่อน

อบรมเท่ากับ 11.03 และหลังอบรมเท่ากับ 16.49 ตามลำดับ เมื่อนำมาเปรียบเทียบกันโดยใช้สถิติ

t-test Dependent พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูอาชีวศึกษาที่เข้ารับการฝึกอบรม

หลกั สูตรการพฒั นาทกั ษะดิจิทัลเพอ่ื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศกึ ษา ระหว่าง

ก่อนอบรมและหลังอบรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนนเฉลี่ยหลัง

อบรมสูงกว่าคะแนนเฉลย่ี กอ่ นอบรม

4.3.2 ผลการประเมนิ ทักษะดจิ ิทัลเพื่อการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศกึ ษา
จากการอบรมเชิงปฏิบัติการตามหลักสูตรการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา จำนวน 100 คน ด้วยรูปแบบ Hybrid Training ที่ใช้วิธีการ
อบรมแบบ Synchronous Learning และวิธีการอบรมแบบ Asynchronous Learning โดยการ
เรียนรู้ด้วยตนเองและส่งชิ้นงานแบบฝึกทักษะ ผ่าน Google Classroom โดยมีวิทยากรเป็นผู้ตรวจ
งานและมีการประเมินผลตามสภาพจริง ในแต่ละบทเรียน จำนวน 10 บทเรียน เป็นระยะ พบว่า
มีผู้ผ่านการประเมินทักษะดจิ ิทัลเพื่อการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศกึ ษา จำนวน
88 คน คิดเป็นร้อยละ 88 และผู้ไม่ผ่านการประเมิน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 12 ผลการ
วเิ คราะหแ์ สดงดงั ตารางท่ี 4-10 และ 4-11
ตารางที่ 4-10 ผลการประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู

อาชีวศึกษา ภาพรวม

ผลการประเมนิ สมรรถนะดจิ ิทลั จำนวน ร้อยละ
ผ่านการประเมนิ 88 88.00
ไม่ผ่านการประเมนิ 12 12.00
รวม 100 100

จากตารางที่ 4-10 แสดงผลการประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชวี ศกึ ษาพบวา่ ครอู าชีวศกึ ษาผ่านการประเมนิ ทกั ษะดจิ ทิ ัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ร้อยละ 88.00 และครูอาชีวศึกษาที่ไม่ผ่านการประเมินทักษะดิจิทัล
เพอื่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศึกษา รอ้ ยละ 12.00

119

ตารางที่ 4-11 ผลการประเมินทกั ษะดิจทิ ัลเพ่อื การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชีวศกึ ษา รายประเด็น

ประเดน็ การประเมินทักษะดจิ ิทลั ผลการประเมนิ
ผ่าน ไมผ่ ่าน
ทกั ษะการออกแบบแผนการจดั การเรยี นรู้
1. การวิเคราะหเ์ นอ้ื หารายวิชา 88 12
88 12
1.1 ออกแบบแผนการเรยี นโดยใช้เครือ่ งมือออนไลนเ์ ปน็ สื่อกลางได้
1.2 ส่งหน่วยการจดั การเรยี นร้อู อนไลน์ 1 แผนได้ 88 12
ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อการศกึ ษา 88 12
2. การใชง้ านระบบวิดโี อคอนเฟอรเ์ รนต์
2.1 สรา้ งหอ้ งประชมุ เชญิ ผู้เรยี นเข้าหอ้ งเรียนสดได้ ดว้ ย Google 88 12
88 12
Meet, MS Team, Zoom อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงได้ 88 12
2.2 ควบคมุ ผ้เู รียนในหอ้ งเรียนออนไลน์ นำเสนอสือ่ 88 12

บันทกึ การสอนเปน็ วดิ โี อได้ 88 12
3. การบริหารจดั การหอ้ งเรียนออนไลน์ 88 12
88 12
3.1 มอบหมายงาน สั่งงาน ในรูปแบบตา่ ง ๆ ใน MS Team ได้ 88 12
3.2 จัดกจิ กรรมใหผ้ เู้ รียนส่งงานใน MS Team ได้
4. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรอู้ อนไลน์ 88 12
4.1 จดั กิจกรรมเชงิ รกุ (Active Learning) โตต้ อบระหวา่ งผสู้ อน/ผเู้ รยี น
4.2 จดั กจิ กรรมถาม-ตอบแบบปฏิสัมพันธ์ (Kahoot)
ทกั ษะการสรา้ งหอ้ งเรยี นออนไลน์
5. การจัดการห้องเรียนออนไลน์
5.1 สรา้ งห้องเรียนออนไลนใ์ น Google Classroom ได้
5.2 สรา้ งลงิ ก์ Google Meet และนัดหมายผู้เรยี นได้
6. การจัดแหลง่ เรยี นรใู้ นชนั้ เรียนออนไลน์
6.1 สรา้ งแหล่งเรยี นรูใ้ นชนั้ เรยี นออนไลนต์ ามเนอื้ หารายวชิ าได้
6.2 แทรกเนื้อหา รูปภาพ ไฟล์ และวดิ ีโอจาก Youtube ได้
ทกั ษะการสรา้ งส่ือดิจทิ ลั
7. การสรา้ งส่ือการเรยี นรู้
7.1 สรา้ งสื่อการเรียนรูเ้ ปน็ คลิปวิดีโอมีความยาว 5-10 นาที

120

ประเด็นการประเมินทกั ษะดจิ ทิ ัล ผลการประเมนิ
ผ่าน ไมผ่ า่ น
7.2 สรา้ งช่องสถานโี ทรทศั นอ์ อนไลนด์ ้วย Youtube ได้ 88 12
8. การสรา้ งวดิ โี อการเรยี นรู้
88 12
8.1 ตดิ ตง้ั วดิ โี อการเรยี นรใู้ นสถานีโทรทศั นอ์ อนไลน์และแชรล์ ิงก์ได้ 88 12
8.2 นำวดิ ีโอออนไลนเ์ ขา้ สู่หอ้ งเรยี นออนไลนไ์ ด้
ทกั ษะการวัดประเมนิ ผลออนไลน์ 88 12
9. การสรา้ งแบบทดสอบ 88 12
9.1 สรา้ งแบบทดสอบออนไลน์ได้ (ขอ้ สอบ)
9.2 สรา้ งแบบประเมินออนไลนไ์ ด้ (แบบสอบถาม) 88 12
10. การวดั ผลและประเมินออนไลน์ 88 12
10.1 ครูผเู้ ขา้ อบรมนำเสนอห้องเรียนสอนสดและวธิ กี ารประเมินผลได้
10.2 ครแู สดงผลคะแนนผู้เรยี นออนไลนไ์ ด้

จากตารางที่ 4-11 แสดงผลการประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรบั ครอู าชวี ศึกษาพบว่า ครอู าชวี ศกึ ษาผา่ นการประเมนิ ทักษะดจิ ทิ ัลเพื่อการจดั การเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา ผา่ นการประเมนิ ทักษะ จำนวน 88 คน ไม่ผ่านการประเมนิ 12 คน

4.4 ผลการประเมินความพึงพอใจของครูอาชวี ศกึ ษาทม่ี ีต่อการพฒั นาทักษะดจิ ทิ ัลเพือ่ การจดั

การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา

ผลการประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัด

การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชวี ศึกษา มผี ู้ตอบตอบแบบประเมิน จำนวน 100 คน ผลการ

วิเคราะหแ์ สดงดังตารางที่ 4-12

ตารางที่ 4-12 ผลการประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัล

เพอ่ื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศึกษา

ประเด็นการประเมินความพึงพอใจ ผลการประเมิน ระดับความ
Mean S.D. พงึ พอใจ

การถ่ายทอดความรู้และการอธบิ ายเนื้อหา 4.51 0.65 มากที่สดุ

การใชเ้ วลาตามที่กำหนดไว้ 4.52 0.68 มากทส่ี ดุ

การตอบขอ้ ซกั ถามในการฝึกอบรม 4.59 0.64 มากทีส่ ุด

การยกตวั อย่างประกอบการบรรยาย 4.49 0.68 มาก

121

ประเดน็ การประเมนิ ความพงึ พอใจ ผลการประเมิน ระดับความ
Mean S.D. พึงพอใจ
ระยะเวลาในการอบรม 4.34 0.82
รูปแบบการอบรม 4.48 0.70 มาก
ความรทู้ ไ่ี ดร้ ับ 4.49 0.66 มาก
ประโยชน์ที่ได้รบั 4.69 0.57 มาก
การนำความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏิบตั ิงาน 4.62 0.59 มากทส่ี ดุ
การนำความรไู้ ปเผยแพร/่ ถ่ายทอด 4.40 0.70 มากที่สุด
มาก
รวม 4.51 0.67
มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4-12 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนา
ทกั ษะดจิ ิทัลเพอ่ื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศกึ ษา พบว่า ผลการความพึงพอใจ
ของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศึกษาโดยรวม อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเทา่ กับ 0.67 และเมื่อพิจารณาประเด็นการประเมินความพึงพอใจของครอู าชวี ศึกษา พบว่า
ประเด็นที่มีผลการประเมินความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ การถ่ายทอดความรู้และการ
อธบิ ายเนือ้ หา การใช้เวลาตามที่กำหนดไว้ การตอบข้อซักถามในการฝกึ อบรม ประโยชนท์ ี่ได้รับ และ
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และประเด็นที่มีผลการประเมินความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมาก ได้แก่ การยกตัวอย่างประกอบการบรรยาย ระยะเวลาในการอบรม รูปแบบการอบรม
ความรทู้ ีไ่ ด้รับ ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั และการนำความรู้ไปเผยแพร่/ ถา่ ยทอด

122

บทท่ี 5
รปู แบบการพัฒนาทกั ษะดิจิทัล
เพื่อการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศกึ ษา

5.1 รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา
เป็นรูปแบบสำหรับการอบรมออนไลน์แบบ Hybrid Training ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ปจั จัยนำเขา้ (Input) 2) กระบวนการ (Process) และ3) ผลลพั ธ์ (Output)

1. ปจั จัยนำเขา้ (Input) ประกอบดว้ ย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่
1.1 ข้อมลู พื้นฐาน
1.1.1 วัตถุประสงคข์ องอบรม
1.1.2 หลักสตู รการอบรม
1.1.3 คณุ ลักษณะของผเู้ ข้ารบั การอบรม
1.1.4 คณุ ลกั ษณะวทิ ยากร
1.2 เทคโนโลยี
1.2.1 เทคโนโลยีพ้นื ฐาน
1.2.2 ระบบนิเวศการเรียนรู้

2. กระบวนการ (Process)
2.1 ระยะก่อนการอบรม
2.1.1 การเตรียมความพร้อมก่อนการอบรม
2.1.2 การเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ
2.2 ระยะระหว่างการอบรม
2.2.1 การประเมนิ กอ่ นการอบรม
2.2.2 การอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous Training)
2.2.3 การอบรมแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Training)
2.2.5 กิจกรรม PLC
2.2.5 การประเมนิ หลงั การอบรม
2.3 ระยะหลงั การอบรม
2.3.1 เข้าร่วมชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี
2.3.2 การนิเทศติดตาม

123
3. ผลลพั ธ์ (Output)

3.1 ทกั ษะทกั ษะการออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้
3.2 ทักษะการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพื่อการศกึ ษา
3.3 ทักษะการสร้างหอ้ งเรยี นออนไลน์
3.4 ทกั ษะการสรา้ งสือ่ ดจิ ิทลั
3.5 ทกั ษะการวัดประเมินผลออนไลน์
ซึ่งในการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพ่ือการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศึกษา เป็น
การพัฒนาในรูปแบบของการอบรมเชิงปฏิบัติการ โดยผู้เข้ารับการอบรมและผู้ดำเนินการอบรม
จำเป็นต้องดำเนินการตามขั้นตอนทั้ง 3 องค์ประกอบนี้ โดยเริ่มตั้งแต่การเตรียมเข้าอบรม การเข้า
อบรม จนไปถึงกิจกรรมหลังการอบรม ซึ่งผู้วิจัยอธิบายกระบวนการขององค์ประกอบต่าง ๆ ของ
รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพ่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ดังแสดง
ในภาพที่ 5-2 ถงึ 5-4 ดงั นี้

ภาพที่ 5-1 รูปแบบการพฒั นาทกั ษะดจิ ิทัลเพ่อื การจดั การเรียนการสอนออนไลน์
สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา

124

ภาพขยาย ภาพที่ 5-1 รูปแบบการพัฒนาทกั ษะดิจิทัลเพอ่ื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์
สำหรบั ครูอาชวี ศกึ ษา

125
5.1.1 ปัจจัยนำเขา้ (Input)
เป็นองค์ประกอบที่ดำเนินการก่อนการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์สำหรับครูอาชีวศึกษา โดยผู้เดินโครงการจำเป็นจะต้องวิเคราะห์ความต้องการของระบบ
และเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นดำเนินโครงการ รายละเอียดแสดงดงั ภาพท่ี 5-2

ภาพที่ 5-2 ปจั จัยนำเข้า (Input)
จากภาพที่ 5-2 แสดงองค์ประกอบย่อย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) ข้อมูลพื้นฐาน และ2)
เทคโนโลยี

5.1.1 ข้อมลู พ้นื ฐาน
5.1.1.1 วัตถปุ ระสงค์ของอบรม
กำหนดสิ่งที่ต้องการให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีหรือบรรลุตามท่ี

กำหนด มีวตั ถุประสงคด์ า้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะ และเจตคติ รวมไปถงึ จดุ มุง่ หมายและขอบเขตของการ
อบรม เพ่อื มุ่งให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ และทักษะตามวตั ถปุ ระสงค์ทกี่ ำหนดไว้

126

5.1.1.2 หลกั สตู รการอบรม
กำหนดเน้ือหาที่จะใช้ในการจัดอบรม ให้ครอบคลุมตาม

วตั ถปุ ระสงค์ของการอบรมในข้อท่ี 5.1.1.1 โดยมีแนวการออกแบบหลกั สตู รทมี่ ีลกั ษณะดังนี้
1) กำหนดระยะเวลาในการอบรม
2) กำหนดจำนวนผูเ้ ข้ารบั การอบรม
3) กำหนดเน้ือหาสาระของการอบรม
4) กำหนดรูปแบบ/กิจกรรมการอบรม
5) การสรา้ งส่ือประกอบการอบรม
6) การสร้างเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผล
7) สร้างแบบประเมินความพึงพอใจการอบรม

5.1.1.3 คณุ ลักษณะของผเู้ ขา้ รบั การอบรม
กำหนดคุณลักษณะของผู้เข้ารับการอบรมให้สอดคล้องกับ

วัตถุประสงค์และหลักสูตรการอบรม เพื่อให้ได้ผู้รับการอบรมตรงตามความต้องการของผู้ดำเนิน
โครงการ โดยพิจารณาคณุ ลักษณะต่าง ๆ เช่น 1) ผู้เข้ารับการอบรมเป็นใคร 2) ตำแหน่งใด 3) สังกัด
วิทยาลัยใด 4) หากเป็นครูสอนสาขาใด 5) ความสามารถพื้นฐานขั้นต่ำ (กรณีเป็นการอบรมเฉพาะ
ทาง) รวมไปถงึ กระบวนการคัดเลือกผู้เข้ารบั การอบรม

5.1.1.4 คุณลกั ษณะวิทยากร
กำหนดคุณลักษณะของวิทยากรให้มีความน่าเชื่อถือ และมีความรู้

ความสามารถตรงตามวัตถุประสงค์และหลักสูตรการอบรม โดยกำหนดให้เป็นผู้ที่มีความรู้
ความสามารถหรือมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง มีระดับการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการ หรือวิทยฐานะ
ประสบการณท์ ่เี กี่ยวข้องกับเรื่องน้ัน หรอื เปน็ ผู้ทีม่ คี วามเช่ียวชาญเป็นท่ียอมรับและประกอบอาชีพใน
ดา้ นทีเ่ ปน็ วทิ ยากรนน้ั

5.1.2 เทคโนโลยี
5.1.2.1 เทคโนโลยีพืน้ ฐาน
เทคโนโลยีพื้นฐานที่ใช้ในการดำเนินการอบรมที่เตรียมไว้รองรับ

สำหรับบุคคล 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ผู้เข้ารับการอบรม 2) วิทยากร และ3) ผู้ดำเนินการจัดอบรม
โดยทั้งหมดนี้จะต้องครอบคลุมการจัดอบรมในรูปแบบออนไซต์ (OnSite) และออนไลน์ (OnLine)
เช่น ระบบอินเทอรเ์ นต็ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ เคร่อื งเสยี ง โปรเจคเตอร์ กล้องเวบ็ แคม ไมโครโฟน ระบบ
แสง เปน็ ตน้

127

5.1.2.2 ระบบนิเทศการเรยี นรู้
สร้างพื้นที่ หรือ แหล่งเรียนรู้ให้กับผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งอาจจะ

รวมเป็น ระบบนิเวศการเรยี นรู้แบบกายภาพ หรือ ระบบนิเวศแบบออนไลน์ เพื่อเป็นพืน้ ที่ให้ผู้เข้ารบั
การอบรมให้เรยี นรหู้ รือศึกษาเนือ้ หาตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยตวั เอง ประกอบด้วย

1) คน (People) เชน่ วทิ ยากร ผเู้ ชี่ยวชาญ
2. เนื้อหา (Content) เนื้อหาที่สามารถการเรียนรู้ตามความสนใจ
ท่ไี มจ่ ำกัดรปู แบบการเรียนรู้ ไมว่ ่าจะเปน็ การเรยี นรจู้ ากสื่อดูวิดีโอ อ่านบทความ หรอื ฟงั พอดคาสต์
3. เทคโนโลยี (Technology) แพลตฟอร์มในการเรียนรู้รูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น ระบบสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ (Learning Experience Platform;LXP) ระบบการ
จัดการเรียนรู้ (Learning Management System; LMS)
4. ข้อมูล (Data) จำนวนคร้ังการเขา้ ใชร้ ะบบ จำนวนหัวข้อที่เลอื ก
ศกึ ษา คะแนนเกบ็ ขณะอบรม หรือ ข้อมลู อ่ืนๆ ทส่ี ามารถตอบสนองความต้องการของผู้อบรมได้
5.1.2 กระบวนการ (Process)
เป็นองค์ประกอบที่ดำเนินการขณะพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชวี ศึกษา รายละเอียดแสดงดังภาพที่ 5-3

ภาพท่ี 5-3 กระบวนการ (Process)

128
ภาพขยาย ภาพท่ี 5-3 กระบวนการ (Process)

129

จากภาพที่ 5-3 แสดงองค์ประกอบย่อย 3 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะก่อนการอบรม 2) ระยะ
ระหว่างการอบรม และ3) ระยะหลังการอบรม มรี ายละเอียดดังน้ี

5.1.2.1 ระยะกอ่ นการอบรม
ระยะก่อนการอบรมเป็นระยะทเ่ี ริม่ ตน้ ตง้ั แตป่ ระชาสัมพันธ์โครงการ ฯ ถงึ

ขนั้ ตอนก่อนการอบรม โดยมขี ัน้ ตอนดังน้ี

ภาพท่ี 5-4 ระยะกอ่ นการอบรม
จากภาพท่ี 5-4 แสดงระยะกอ่ นการอบรม ประกอบด้วย 2 ข้นั ตอน ได้แก่

1. การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นการอบรม
ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมก่อนการอบรม โดยเริ่มตั้งแต่

การประชาสัมพันธ์โครงการอบรม การรับสมัครเข้ารับการอบรม การประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับ
การอบรม และรายงานตวั เข้ารับการอบรม

2. การเขา้ รว่ มชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ
ผู้ที่มีรายชื่อเข้ารับการอบรมเข้าร่วมกลุ่มไลน์ หรือ Facebook

Group เพื่อรายงานตัวเข้ารับการอบรม และเตรียมความพร้อมก่อนการอบรม ตามที่วิทยากรหรือ
ผู้ดำเนนิ โครงการไดก้ ำหนดไว้ เช่น ลงทะเบยี นใชง้ าน Email, เข้ารว่ มห้องเรียน LMS เปน็ ต้น

130

5.1.2.2 ระยะระหวา่ งการอบรม
ระยะระหว่างการอบรมเป็นระยะที่ต่อเนื่องจากระยะก่อนการอบรม

เป็นระยะตั้งแต่เริ่มการอบรมจนสิ้นสุดการอบรม โดยระยะนี้จะเป็นการนำรูปแบบ Hybrid Training
เข้ามาร่วมด้วย โดยการผสมผสานกันระหว่างการอบรมออนไลน์แบบประสานเวลา (Synchronous
Training) และ การอบรมออนไลน์แบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous Training) ร่วมกับการทำ
กิจกรรมในชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ โดยมีรายละเอียดดงั นี้

ภาพที่ 5-5 ระยะระหวา่ งการอบรม
จากภาพท่ี 5-5 แสดงระยะระหวา่ งการอบรม ประกอบดว้ ย 5 ข้นั ตอนดงั น้ี

1. การประเมินกอ่ นการอบรม
ผู้เข้ารับการอบรมทำแบบทดสอบก่อนการอบรม ด้วยแบบทดสอบ

ที่ผู้ดำเนินโครงการได้เตรียมไว้ผ่านเครื่องมือวัดและประเมินผลออนไลน์ เช่น Google Forms,
Microsoft Forms, Quizizz เป็นต้น เมื่อดำเนินการสอบเสร็จสิ้นแล้ว ผู้ดำเนินโครงการประกาศ
คะแนนใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรมทกุ ท่านทราบคะแนนสอบก่อนการอบรม

2. การอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous Training)
ผู้เข้ารับการอบรมเข้าห้องประชุมออนไลน์ เช่น Google Meet,

Microsoft Teams, Zoom หรอื อืน่ ๆ เพื่อรบั ฟังการปฐมนิเทศ แนวทางการอบรม เกณฑก์ ารวดั และ
ประเมนิ ผล ชอ่ งการติดต่อสอื่ สารระหวา่ งการอบรม

131

3. การอบรมแบบไมป่ ระสานเวลา (Asynchronous Training)
ผู้เข้ารับการอบรมเข้าเรียนรู้เนื้อหา ใบความรู้ คลิปวิดีโอ ใบงาน

ของหลักสูตรการอบรมด้วยตนเองผ่าน LMS ที่ผู้ดำเนินโครงการและวิทยากรได้เตรียมไว้ เช่น
Google Classroom, Microsoft Teams, Moodle และอ่นื ๆ และสง่ ชนิ้ งานตาม

4. กิจกรรม PLC แบ่งออกเปน็ 2 รปู แบบดังน้ี
4.1 การสอบถาม ขอ้ สงสยั หรอื ปัญหาตา่ ง ๆ ได้ในกลุ่มชุมชนแห่ง

การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ท่ผี ู้ดำเนินโครงการไดเ้ ตรียมไว้ เชน่ กลมุ่ ไลน,์ Facebook Group หรืออ่นื ๆ
4.2 การนัดหมายเวลาระหว่างผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้

ดำเนินโครงการ อาทิตย์ละ 1 ครั้ง เพื่อประชุมผ่านห้องประชุมออนไลน์ สำหรับการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ และปญั หาท่พี บในการเขา้ เรยี นรู้ด้วยตนเอง

5. การประเมินหลงั การอบรม
5.1 ผู้เข้ารับการอบรมทำแบบทดสอบหลังการอบรม ด้วย

แบบทดสอบที่ผู้ดำเนินโครงการได้เตรียมไว้ผ่านเครื่องมือวัดและประเมินผลออนไลน์ เช่น Google
Forms, Microsoft Forms, Quizizz เป็นต้น เมื่อดำเนินการสอบเสร็จสิ้นแล้ว ผู้ดำเนินโครงการ
ประกาศคะแนนให้ผ้เู ข้ารับการอบรมทกุ ทา่ นทราบคะแนนสอบกอ่ นการอบรม

5.2 ผู้ดำเนินโครงการสรุปผลการประเมินชิ้นงานจากการเรียนรู้
ดว้ ยตนเองของผเู้ ข้ารับการอบรม และผลการทำแบบทดสอบหลงั การอบรม

5.1.2.3 ระยะหลังการอบรม
ระยะหลังการอบรมเป็นระยะที่ต่อเนื่องจากระยะระหว่างการอบรม

ในระยะนี้เป็นการวางแผนกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้เข้ารับการอบรมและผู้ดำเนินโครงการ โดยมี
รายละเอยี ดดังน้ี

132

ภาพท่ี 5-6 ระยะหลังการอบรม
จากภาพท่ี 5-6 แสดงระยะหลงั การอบรม ประกอบดว้ ย 2 กจิ กรรมดังน้ี

1. เข้ารว่ มชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี
2. การนเิ ทศตดิ ตาม
5.1.3 ผลลัพธ์ (Output) คือ สิ่งที่ผู้รับการอบรมจะได้รับหลังจากจบการอบรมแล้ว ซึ่งใน
งานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้กำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้จากการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศกึ ษา ตามผลการวิจยั ระยะท่ี 1 ได้ 5 ด้าน ดงั น้ี

133

ภาพท่ี 5-7 ผลลัพธ์ (Output)
จากภาพที่ 5-7 ผลลัพธ์ (Output) ประกอบด้วยทักษะดิจิทลั เพือ่ การจดั การเรยี นการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชวี ศึกษา 5 ด้านดงั นี้

5.1.3.1 ทกั ษะทกั ษะการออกแบบแผนการจดั การเรยี นรู้
5.1.3.2 ทกั ษะการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการศกึ ษา
5.1.3.3 ทกั ษะการสรา้ งห้องเรยี นออนไลน์
5.1.3.4 ทกั ษะการสรา้ งส่ือดจิ ิทลั
5.1.3.5 ทักษะการวดั และประเมินผลออนไลน์

134

บทท่ี 6
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับ
ครูอาชีวศึกษา การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ผู้วิจัยขอนำเสนอผลงานวิจัย
ตามกระบวนการวิจัย โดยแบ่งออกเป็น 4 ระยะตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยมีรายละเอียดดังนี้
ระยะ ตามวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชีวศึกษา 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศกึ ษา 3) เพอื่ พฒั นาครอู าชีวศกึ ษาใหม้ ีทักษะดิจทิ ัลเพื่อการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา และ4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการ
พัฒนาทักษะดิจิทัลเพ่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา โดยสรุปผลการวิจัย
อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ตามลำดบั ดงั น้ี

6.1 สรปุ ผลการวจิ ยั
6.2 อภิปรายผล
6.3 ข้อเสนอแนะ

6.1 สรปุ ผลการวจิ ยั
การวิจยั เรอ่ื งรูปแบบการพฒั นาทักษะดจิ ิทลั เพ่ือการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครู

อาชีวศึกษา แบง่ ออกเป็น 4 ตอน ตามวัตถปุ ระสงค์ดงั น้ี
6.1.1 สรุปผลการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู

อาชีวศึกษา
6.1.1.1 ผลสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู

อาชีวศึกษา พบว่าทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา
ประกอบด้วย 5 ทักษะ ได้แก่ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
การสรา้ งหอ้ งเรียนออนไลน์ การสร้างส่ือดจิ ทิ ลั และการวัดและประเมินผลออนไลน์

6.1.1.2 ผลการประเมินความเหมาะสมทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา พบว่า ความเหมาะสมทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา โดยรวม มีความเหมาะสมมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.92 และค่า
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.24 และเมื่อพิจารณาประเด็นการประเมินความเหมาะสมทักษะ
ดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา พบว่า ทักษะดิจิทัลทั้ง 5 ด้าน
มีความเหมาะสมมากที่สุด โดยทักษะด้าน การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ การสร้างสื่อดิจิทัล

135

และการวัดประเมินผลออนไลน์ มีความเหมาะสมมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.00 ทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา และการสร้าง
บทเรยี นดิจิทัลมคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 และค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.45

6.1.2 สรุปผลการพัฒนารูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศึกษา

6.1.2.1 รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครูอาชีวศึกษา จากการศึกษา ค้นคว้า ทฤษฎี หลักการ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ
รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา
ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า (Input) 2) กระบวนการ (Process) และ3)
ผลลพั ธ์ (Output)

1. ปจั จัยนำเขา้ (Input) ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ไดแ้ ก่
1.1 ข้อมลู พนื้ ฐาน
1.1.1 วตั ถุประสงคข์ องอบรม
1.1.2 หลักสูตรการอบรม
1.1.3 คณุ ลกั ษณะของผู้เข้ารบั การอบรม
1.1.4 คณุ ลกั ษณะวทิ ยากร
1.2 เทคโนโลยี
1.2.1 เทคโนโลยีพ้นื ฐาน
1.2.2 ระบบนเิ วศการเรียนรู้

2. กระบวนการ (Process)
2.1 ระยะกอ่ นการอบรม
2.1.1 การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นการอบรม
2.1.2 การเข้ารว่ มชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชพี
2.2 ระยะระหว่างการอบรม
2.2.1 การประเมนิ ก่อนการอบรม
2.2.2 การอบรมแบบประสานเวลา (Synchronous Training)
2.2.3 การอบรมแบบไมป่ ระสานเวลา (Asynchronous Training)
2.2.5 กิจกรรม PLC
2.2.5 การประเมินหลงั การอบรม

136

2.3 ระยะหลงั การอบรม
2.3.1 เขา้ ร่วมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี
2.3.2 การนเิ ทศตดิ ตาม

3. ผลลพั ธ์ (Output)
3.1 ทกั ษะทกั ษะการออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้
3.2 ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั เพื่อการศึกษา
3.3 ทักษะการสร้างห้องเรียนออนไลน์
3.4 ทักษะการสรา้ งสอื่ ดิจิทลั
3.5 ทกั ษะการวดั และประเมินผลออนไลน์

6.1.2.2 ผลการประเมินความเหมาะสมรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 9 คน มีความ
เหมาะสมในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.00 และ
เมื่อพิจารณาประเด็นการประเมินความเหมาะสมรายข้อ พบว่า ทุกประเด็นที่มีความเหมาะสม
มากท่ีสดุ มคี า่ เฉลย่ี เทา่ กบั 5.00 และคา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.00

6.1.3 สรุปผลการพัฒนาครูอาชีวศึกษาให้มีทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ สำหรับครอู าชวี ศกึ ษา

6.1.3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูอาชีวศึกษาที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร
การพฒั นาทักษะดิจิทลั เพือ่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศกึ ษา มีคา่ เฉล่ียคะแนน
ก่อนอบรมเทา่ กับ 11.03 และค่าเฉลีย่ คะแนนหลงั อบรม 16.49 ตามลำดับ เมื่อนำมาเปรียบเทียบกัน
โดยใช้สถิติ t-test Dependent คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูอาชีวศึกษาที่เข้ารับการ
ฝึกอบรมหลกั สูตรการพัฒนาทกั ษะดิจทิ ัลเพอื่ การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชีวศกึ ษา
ระหว่างก่อนอบรมและหลังอบรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนนเฉล่ีย
หลงั อบรมสงู กว่าคะแนนเฉลีย่ กอ่ นอบรม

6.1.3.2 ผลการประเมินทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับ
ครูอาชีวศึกษา มีผู้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 100 คน ผ่านการประเมินทักษะ จำนวน 88
คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 88 และไมผ่ า่ นการประเมินสมรรถนะ จำนวน 12 คน คดิ เป็นร้อยละ 12

6.1.4 สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจของครอู าชวี ศึกษาทมี่ ตี ่อการพฒั นาทกั ษะดิจิทัลเพ่ือ
การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรบั ครูอาชีวศึกษา

ผลการประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา โดยรวม อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด

137

มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.67 ประเด็นที่มีผลการประเมินความ
พึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ การถ่ายทอดความรู้และการอธิบายเนื้อหา การใช้เวลาตามที่
กำหนดไว้ การตอบข้อซักถามในการฝึกอบรม ประโยชน์ที่ได้รับ และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
ในการปฏิบัติงาน และประเดน็ ทม่ี ีผลการประเมนิ ความพงึ พอใจอย่ใู นระดับมาก ได้แก่ การยกตัวอย่าง
ประกอบการบรรยาย ระยะเวลาในการอบรม รูปแบบการอบรม ความร้ทู ่ีไดร้ ับ ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั และ
การนำความรูไ้ ปเผยแพร/่ ถ่ายทอด

6.2 อภปิ รายผล
การวิจยั เรื่อง รูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับ

ครูอาชวี ศกึ ษา ครัง้ นี้ สามารถอภปิ รายผลตามวัตถุประสงค์การวจิ ยั ได้ โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี
6.2.1 ผลการสังเคราะห์ทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู

อาชวี ศึกษา จากการศึกษา โดยการวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะหเ์ อกสารงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง พบว่า ทักษะ
ดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา ประกอบด้วย 5 ทักษะ 10
บทเรียน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1) ทักษะการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ 2) ทักษะการใช้
เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพื่อการศึกษา 3)ทักษะการสร้างห้องเรยี นออนไลน์ 4) ทักษะการสรา้ งสอื่ ดจิ ิทัล และ
5) ทักษะการวัดประเมินผลออนไลน์ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ก.พ. (2561), กระทรวงดิจิทัลฯ
(2561), คุรุสภา(2562), ก.ค.ศ. (2564), Aydin Balyer(2018), European Commission (2019),
Umut AKCIL et al. (2019) และ Maren Oberlanderet al. (2019)

6.2.2 การพัฒนารูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
สำหรับครอู าชวี ศึกษา

การรูปแบบการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศึกษา ประกอบด้วยเนื้อหา 10 บทเรียน ได้แก่ 1) การวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา 2) การใช้งาน
ระบบวีดิโอคอนเฟอเรนซ์ 3) การบริหารจัดการห้องเรียนออนไลน์ 4) การจัดการห้องเรียนออนไลน์
5) การจัดการหอ้ งเรียนออนไลน์ 6) การจัดแหล่งเรียนรใู้ นชน้ั เรียนออนไลน์ 7) การสรา้ งสื่อการเรียนรู้
8) การสร้างวิดีโอการเรียนรู้ 9) การสร้างแบบทดสอบ และ10) การวัดและประเมินผลออนไลน์
มีความเหมาะสม องค์ประกอบของเนื้อหามีความสอดคล้องกัน ตลอดจนหลักหลักสูตรการจัด
การเรียนการสอนออนไลน์สำหรับครูอาชีวศึกษาฉบับร่างมีความเหมาะสมระดับมากที่สุด ทำให้เห็น
ได้ว่าหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สำหรับครูอาชีวศึกษาที่คณะผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมานั้น
มีความถูกต้องเหมาะสม ทั้งนี้เนื่องจากผู้วิจัยพัฒนาหลักสูตรตามขั้นตอนของวิชัย วงษ์ใหญ่ (2555)
ประกอบดว้ ยการกำหนดจุดม่งุ หมาย หลักการ โครงสรา้ ง และการออกแบบหลกั สูตร โดยอาศัยข้อมูล
จากสภาพปัญหาและความต้องการโดยตรงของสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ปรกึ ษา และ

138

สัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ยกร่างเนื้อหา
หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สำหรับครูอาชีวศึกษา และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ และประเมินร่างหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สำหรับครู
อาชีวศึกษา เพื่อให้ได้ร่างหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สำหรับครูอาชีวศึกษาที่เนื้อหามี
ความสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ สอดคล้องกบั สรุ เชษฐ์ สมไชย และคณะ (2560) ทีไ่ ดพ้ ัฒนาหลักสูตร
ฝึกอบรมการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศในสถานศึกษาอาชีวศึกษา
ด้วยการศึกษาข้อมูลจากการวิเคราะห์ และศึกษาเอกสาร ตำรา เพื่อนำมากำหนดเป็นหัวข้อเรื่องใน
การจัดทำหลักสูตรฝึกอบรม และพบว่าเนื้อหาสำหรับการฝึกอบรมทั้ง 10 หัวข้อกับวัตถุประสงค์ของ
การฝกึ อบรมมีความสอดคล้องกับชัยยศ ดำรงกิจโกศล และคณะ (2558) ท่ีผลการประเมนิ บริบทของ
หัวข้อเรื่องในการฝึกอบรมกับวัตถุประสงค์การฝึกอบรม มีความสอดคล้องกันในระดับสอดคล้องสูง
และมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับการศึกษาประสิทธิภาพหลักสูตรฝึกอบรม
ออนไลน์เรื่องการประยุกต์ใช้เว็บ 2.0 ในชั้นเรียน โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมกันบนออนไลน์เพ่ือ
ส่งเสริมสมรรถนะไอซีทีของครูสอดคล้องกับเอมมิกา วชิระวินท์ และคณะ (2560) ที่มีลำดับขั้นตอน
การสร้างหลักสูตรฝึกอบรมออนไลน์ที่มีความถูกต้องเหมาะสม เนื่องจากได้ศึกษาเอกสาร ตำรา
งานวิจัย และศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการโดยการสำรวจข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ก่อนนำมา
พฒั นาหลกั สูตร มกี ารกำหนดจุดประสงค์ เนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้ ตลอดจนการวดั ประเมนิ ผล

5.2.3 การพฒั นาทักษะดจิ ทิ ัลเพื่อการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครอู าชีวศกึ ษา
ผลสัมฤทธ์ิการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครู
อาชีวศึกษา ระหว่างก่อนอบรมและหลังอบรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
โดยคะแนนเฉลี่ยหลังอบรมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนอบรม เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ สอดคล้องกับ
จีรศกั ดิ์ หมุนขาํ และคณะ (2563) ที่ได้นำหลักสูตรอบรมฐานสมรรถนะดา้ นการจดั การเรียนรู้ ไปใช้กับ
ครูผู้ช่วยในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดยวิธีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
แลว้ พบว่า ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู้ ขา้ อบรมหลังการอบรมสงู กวา่ ก่อนการอบรม อยา่ งมนี ยั สำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .01 สอดคล้องกับภูวนัย สุวรรณธารา และคณะ (2561) ที่ได้นำหลักสูตรอบรมภาวะ
ผู้นำเชิงระบบของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน และพบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีค่าเฉลี่ยความรู้ภาวะ
ผู้นำเชิงระบบของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนภายหลังการทดลองใช้สูงกว่าก่อนการทดลองใช้
หลักสูตรอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคล้องกับ พินิจ นามบำรุง และคณะ (2560)
ที่ได้พัฒนาหลักสูตรอบรมสมรรถนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 และพบว่า หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้มีสมรรถนะ
ด้านภาวะผู้นำหลังการอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 สอดคล้อง
กับจิราภรณ์ เกตุแก้ว (2559) ที่ศึกษาการพัฒนาหลักสูตรอบรมเพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะ สำหรับ

139

นักศึกษาคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช และพบว่าผลการเปรียบเทียบ
จิตสาธารณะของนักศึกษากลุ่มเป้าหมายก่อนการทดลองและหลังการทดลองใช้หลักสูตรแตกต่างกัน
อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .01 สอดคลอ้ งกับวรี ภัทร ไมไ้ หว (2560) ท่ีได้พฒั นาหลักสตู รอบรมครู
เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร และพบว่า
ครูที่รับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลังฝึกอบรมสงู กว่าก่อนอบรม สอดคล้องกับอารีย์ เจริญสหายา
นนท์ และคณะ (2562) ที่ได้ศึกษาการพัฒนาหลักสูตรอบรมภาวะผู้นำโดยผ่านการปฏิบัติกิจกรรมไค
เซ็นของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พบว่า หลังจากการอบรมนักศึกษามีค่าเฉล่ีย
ของความรู้เรื่องคุณลักษณะ พฤติกรรมของภาวะผู้นำ และทัศนคติที่มีต่อหลักการไคเซ็น สูงกว่าก่อน
การอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 สอดคล้องกับกาญจนา ดงสงคราม และวรปภา
อารีราษฎร์ (2561) ที่ได้พัฒนาหลักสูตรอบรมสำหรับการฝึกอบรมออนไลน์ ของศูนย์การเรียนรู้
ไอซีทีชุมชน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม และพบว่า ผู้เข้าอบรม
มีผลคะแนนสอบหลังอบรมของผู้เข้าอบรมสูงกว่าก่อนอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สอดคล้องกับธนัชชา บินดุเหล็ม (2562) ที่ได้ศึกษาผลของการสอนแบบออนไลน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้ันสูงปที ่ี 1 พบว่า นกั เรียนทีไ่ ดร้ บั การสอนแบบ
ปกติ ก่อนและหลังการทดลอง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ นักเรียนที่ได้รับ
การสอนแบบออนไลน์ ก่อนและหลังเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และ
นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติกับ นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบออนไลน์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคัญ สอดคล้องกบั เกรียงไกร ลิ่มทอง (2560) ทป่ี ระยกุ ต์ใชร้ ปู แบบกิจกรรมผา่ น
เกมส์สำหรับการเข้าชั้นเรยี นและการมสี ่วนรว่ มในชั้นเรียนกับนักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนเพิ่มขึ้นกว่าการเรียนรู้ที่ไม่ใช้กิจกรรมผ่านเกมส์ สอดคล้อง
กับธัญธัช วิภัติ ภูมิประเทศ (2562) ที่ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาวิชาอาเซียนศึกษา
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน โดยการเรียนรู้ผ่านเกม Kahoot พบว่า กลุ่มที่เรียนรู้ผ่านเกม Kahoot
มีค่าเฉลี่ยผลการเรียนสูงกว่ากลุ่มทีเ่ รียนรู้แบบปกติ และมีค่าเฉลีย่ ผลการเรียนสูงกวา่ เกณฑ์ร้อยละ 75
และสอดคลอ้ งกบั จฑุ ามาศ ใจสบาย (2562) ซึ่งไดพ้ ฒั นาบทเรยี นออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือชีวิต พบว่า นักเรียนมีผลการเรียนหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
นัยสำคัญ ครูอาชีวศึกษาร้อยละ 93.19 ผ่านการประเมินสมรรถนะดิจิทัล10 สมรถนะ ประกอบด้วย
การวิเคราะห์เนื้อหารายวิชา การใช้งานระบบวิดีโอคอนเฟอร์เรนต์ การจัดการห้องเรียนออนไลน์ การ
จดั แหล่งเรียนรใู้ นช้ันเรียนออนไลน์ การจัดกจิ กรรมการเรียนรอู้ อนไลน์ การสร้างแบบทดสอบ การสร้าง
สื่อการเรียนรู้ การสร้างวิดีโอการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก และการวัดผลและประเมิน
ออนไลน์ สมรรถนะดจิ ทิ ัลเปน็ สง่ิ ทจี่ ำเป็นที่ครอู าชีวศึกษาจะต้องมใี นยคุ ทก่ี ารศกึ ษาเขา้ สคู่ วามปกติใหม่
ครูต้องสามารถจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในแบบประสานเวลาและไม่ประสานเวลาได้ การเรียน

140

การสอนจะไม่กลับไปสู่แบบชั้นเรียนปกติ เพราะผู้เรียนมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ
ออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีในยุคดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ โดยเฉพาะผู้เรียนอาชีวศึกษาที่เรียน
วิชาชีพและใช้ชีวิตในวิถีแบบปกติใหม่ที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือในการใช้
ชวี ิตประจำวัน ครอู าชีวศกึ ษาจงึ ตอ้ งมสี มรรถนะที่เท่าทันตอ่ การเปลี่ยนผา่ นในยุคดิจิทลั เทคโนโลยีเป็น
สงิ่ ทจ่ี ำเปน็ ต่อการใช้ชวี ติ ในอนาคต ขณะทค่ี วามเป็นมนุษย์ในปจั จุบันกำลงั ลดลง เพราะการเข้ามาของ
เทคโนโลยี ครอู าชีวศึกษาจงึ ตอ้ งสอนทักษะอาชีพควบค่กู ับการใช้ชวี ติ ในสงั คมทมี่ ีเทคโนโลยเี ป็นฐาน

6.2.4 การประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการ
จดั การเรยี นการสอนออนไลน์ สำหรบั ครอู าชวี ศึกษา

ผลการประเมินความพึงพอใจของครูอาชีวศึกษาที่มีต่อการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อการจัด
การเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา พบว่า การถ่ายทอดความรู้และการอธิบายเนื้อหา
การใช้เวลาตามที่กำหนดไว้ การตอบข้อซักถามในการฝึกอบรม ประโยชน์ที่ได้รับ และการนำความรู้
ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ได้รับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด และการยกตัวอย่าง
ประกอบการบรรยาย ระยะเวลาในการอบรม รูปแบบการอบรม ความรู้ที่ไดร้ ับ และการนำความรูไ้ ป
เผยแพร่หรือถ่ายทอด ได้รับความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก แสดงว่าครูอาชวี ศึกษามคี วามพึงพอใจต่อ
การพัฒนาทักษะดิจิทัลเพ่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สำหรับครูอาชีวศึกษา อยู่ในระดับมาก
ที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัยของ ปณิตา วรรณพิรุณ และปรัชญนันท์ นิลสุข (2555) ที่ได้ศึกษา
การพัฒนาเว็บอบรมสมรรถนะพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมซึ่งเป็นพนักงาน
มหาวิทยาลัยสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ
นครเหนือ จำนวน 80 คน มีความพึงพอใจในการใช้เว็บอบรมอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับ
จีรศักดิ์ หมุนขํา และคณะ (2563) ที่ได้ศึกษาการพัฒนาหลักสูตรอบรมฐานสมรรถนะด้าน
การจัดการเรียนรู้ ไปใช้กับครูผู้ช่วยในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดย
วิธีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจต่อการอบรมโดยรวมอยู่ในระดับมาก
สอดคล้องกับ ผ่องพรรณ จรัสจินดารัตน์ และคณะ (2556) ที่ได้ศึกษาการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม
รูปแบบของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อการจัดอบรมในภาพรวม อยู่ในระดับมาก สอดคล้อง
กับ ภูวนัย สุวรรณธารา และคณะ (2561) ที่ได้นำหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้นำเชิงระบบ
ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน และพบว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรม
มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับพินิจ นามบำรุง และคณะ (2560) ที่ได้พัฒนา
หลักสูตรอบรมสมรรถนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึ กษาสังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 และพบว่า หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้มีความพึงพอใจ


Click to View FlipBook Version