The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by juthamat19911991, 2019-03-25 05:06:35

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

1.5 การถา่ ยเทอากาศ
การถา่ ยเทของอากาศให้อากาศบริสุทธิ์ ภายในห้องปรบั อากาศตอ้ งคานงึ ถงึ ความเรว็ ของ
ลมที่ผ่านเขา้ ไป และลมท่ีออกจากหอ้ งปรบั อากาศ เช่น คนเราเมื่อนอนนั้น ถ้าหากนอนในที่แคบ ๆ อากาศถา่ ยเทไม่
สะดวก กับนอนในท่โี ลง่ มีลมพัดผ่านเราจะร้สู กึ ถงึ ความแตกต่างวา่ นอนในท่โี ลง่ จะรู้สกึ สดชน่ื สบายกาย
ดังนน้ั หอ้ งปรบั อากาศทวั่ ๆ ไปจงึ จาเป็นตอ้ งติดพัดลมดดู อากาศ เพ่อื เป็นการถา่ ยเท
อากาศเสียออกไป และในขณะเดียวกัน ถ้าเลกิ ใช้ระบบปรบั อากาศ ควรเปดิ ประตูหน้าตา่ งระบายอากาศ เพอื่ เปน็ การ
ลดกล่ินอบั
2. อณุ หภมู ิ (Temperature)
อณุ หภูมิเป็นขีดบอกความรู้สึกร้อนหนาว หรือเป็นการวัดระดบั ความหนาแน่นของความร้อนถ้าอุณหภูมิสูงเป็น
เคร่ืองชี้ว่าระดับของความร้อนมีมาก ทาให้ร่างกายมีความรู้สึกร้อน ในทางตรงกันข้ามถ้าอุณหภูมิต่าเป็นเครอ่ื งชี้ว่าระดับ
ของความร้อนมีนอ้ ย ทาใหร้ า่ งกายร้สู กึ เยน็
ความหมายและข้อแตกตา่ งระหว่างความร้อนและอณุ หภมู ิ
2.1 ความร้อน (heat) คือพลังงานรูปหนงึ่ ปกตคิ วามร้อนจะไหลจากสารทมี่ ีอุณหภูมิสูง ไปสูส่ ารที่มอี ุณหภูมิ
ตา่ กว่า ซง่ึ เรียกวา่ การสง่ ผ่านความร้อน
2.2 การเปลี่ยนสถานะของสาร (phase change) จะเกดิ ขึ้นเม่อื มกี ารใหค้ วามรอ้ นหรือเมอ่ื มีการระบายความ
รอ้ นออก

รูปท่ี 1.1 การเปลย่ี นสถานะของสาร

2.3 กรณีระบายความรอ้ นออก
- แกส๊ กลายเป็นของเหลว เรยี กวา่ การควบแน่น (condensation)
- ของเหลวกลายเป็นของแขง็ เรียกวา่ การแขง็ ตัว (solidification)

2.4 กรณใี หค้ วามรอ้ น
- ของแข็งกลายเป็นของเหลว เรยี กวา่ การหลอมละลาย (fusion)
- ของแข็งกลายเปน็ แกส๊ เรียกว่า การระเหิด (sublimation)
- ของเหลวกลายเป็นแกส๊ เรยี กวา่ การระเหยหรือการเดอื ด (vaporization)

3. เทอร์โมมเิ ตอร์ (Thermometers)
เทอรโ์ มมเิ ตอรเ์ ปน็ เครอ่ื งมือที่ใชส้ าหรบั วัดอณุ หภมู ิ เทอร์โมมเิ ตอร์ส่วนมากอาศยั หลกั การ

ขยายตัวและหดตัวของของเหลวในหลอดแก้วเม่ือได้รับความร้อน ส่วนใหญ่จะใช้ของเหลวท่ีใช้บรรจุในหลอดแก้ว
แอลกอฮอลห์ รือปรอท แต่ทนี่ ยิ มใชม้ ากกค็ ือ ปรอททงั้ นีเ้ พราะปรอทมจี ดุ เดอื ดสงู กว่าแอลกอฮอลม์ าก เทอร์โมมิเตอร์
ที่ใช้โดยท่ัวไปแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดเซลเซียสหรือเซนติเกรด (Celcius or Centigrade) และชนิดฟาเรนไฮต์
(Fahrenheit)

รู ป ท่ี 1 .2 เท อ ร์ โ ม มิ เ ต อ ร์

(Thermometers)

3.1 เทอร์โมมเิ ตอร์ชนิดเซลเซียส (  C, ซ) กาหนดให้จุดเยือกแข็งของน้าภายใต้ความดนั
บรรยากาศอยู่ที่ 0 องศา และจุดเดือดของน้าอยทู่ ี่ 100 องศา ช่วงระหว่างจดุ ทง้ั สองแบง่ ออกเป็น 100 ช่องเทา่ ๆ กนั แต่
ละช่องมีค่าเป็น 1 องศา ฉะนน้ั ระยะระหวา่ งจุดเยอื กแข็งและจดุ เดอื ดของน้า บนสเกลของเทอร์โมมิเตอร์ชนิดเซลเซียสจึง
มคี ่าเป็น 100 องศา จดุ เยือกแขง็ ของน้าอยูท่ ่ี 0 องศาเซลเซียสและจุดเดอื ดอยทู่ ี่ 100 องศาเซลเซียส

3.2 เทอร์โมมิเตอร์ชนิดฟาเรนไฮต์ (  F,  ฟ) กาหนดจุดเยือกแขง็ ของน้าอยทู่ ่ี 32 องศา
และจดุ เดือดของน้าอยู่ท่ี 212 องศาภายใต้ความดนั บรรยากาศ ช่วงระหว่างจุดเยือกแข็งและจุดเดอื ดของน้าแบ่งออกเป็น
180 ส่วนเท่า ๆ กัน จุด 0 บนสเกลของเทอร์โมมิเตอรช์ นดิ ฟาเรนไฮต์กาหนดไว้ที่ต่ากว่าจุดเยอื กแขง็ ของน้าลงไปอีก 32

ชอ่ ง จดุ เยอื กแข็งของนา้ อยู่ที่ 32 องศาฟาเรนไฮต์ และจุดเดอื ดอยู่ท่ี 212 องศาฟาเรนไฮต์

3.3 การแปลงคา่ อุณหภูมิ (Temperature conversion)

คา่ อุณหภูมทิ อ่ี า่ นไดบ้ นสเกลใดสเกลหนง่ึ สามารถแปลงคา่ เปน็ สเกลอื่นไดโ้ ดยสตู รต่อไปนี้

สูตร c  F  32

59

ตัวอย่างท่ี 1.1 ถ้าเทอร์โมมิเตอร์ชนดิ เซลเซยี สอา่ นคา่ ได้ 100  C ถา้ ชนิดฟาเรนไฮตจ์ ะอา่ นคา่ ไดเ้ ทา่ ไร?

วิธที า จากสตู ร c  F  32
ในทีน่ ี้ 59

C = 100

F = 1.8  C + 32

= (1.8 x 100) + 32

= 180 + 30

= 212  F ตอบ

ตัวอย่างท่ี 1.2 ถา้ เทอรโ์ มมเิ ตอรซ์ ึง่ ติดบนผนงั ห้องอ่านค่าได้ 32  F อณุ หภมู ิชนิดเซลเซียสจะมีคา่ เท่าไร?

วิธที า จากสตู ร c  F  32
59

C = F  32

1.8

= 32  32

1.8

=0

1.8

= 0  C ตอบ

… แบบฝึกหัดที่ 1.1 หน่วยท่ี 1

ชอ่ื หน่วย อณุ หภูมแิ ละความดันในระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนคร้ังที่ 1

เรอ่ื ง อุณหภูมิ เวลา 7 ชม.

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
เพ่อื ให้นักเรยี นสามารถแปลงหน่วยอณุ หภมู ิระหว่าง C ( ซ ) และ F ( ฟ ) ได้

คาส่งั ใหน้ ักเรยี นแสดงลาดบั ขนั้ ตอนต่อไปนี้
1. จงแปลงหน่วยอุณหภมู ิ 5 C ให้เปน็ F
2. จงแปลงหน่วยอณุ หภูมิ - 150 F ให้เปน็ C
3. ถ้าเทอรโ์ มมิเตอร์ตวั หน่งึ อา่ นคา่ ได้ 50 C ถา้ เป็น F จะไดเ้ ท่าใด
4. เทอร์โมมเิ ตอรต์ วั หนึ่งอ่านค่าได้ 86 F ถา้ แปลงเป็น C จะไดเ้ ทา่ ใด
5. จงพสิ จู นว์ ่า 100 C = 212 F

\

… แบบตรวจผลงานท่ี 1.1 หนว่ ยที่ 1

ช่ือหน่วย อณุ หภูมิและความดันในระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครง้ั ที่ 1

เรอ่ื ง อุณหภูมิ

ความหมายระดับคะแนน
5 ดมี าก
4 ดี

3 ปานกลาง
2 พอใช้

1 ต้องปรับปรงุ

ขอ้ ท่ี ผลการตรวจ คะแนน คะแนนได้
ถูก ผิด 01

1.

2.

3.

4.

5.

รวม

สรุปผลคะแนนอยใู่ นระดบั ………………………………
ลงชอ่ื …………………………….ผตู้ รวจ
(…………………………..)

…. แบบเฉลยใบงานที่ 1.1 หน่วยที่ 1
ชอ่ื หนว่ ย อุณหภูมิและความดนั ในระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครัง้ ที่ 1
เวลา 7 ชม.
เร่ือง อณุ หภมู ิ

1. จงแปลงอณุ หภูมิ 5 C ใหเ้ ป็น F

วิธที า C  F  32
จากสูตร 59

C  F  32
59

 จะได้ F - 325 C = 41 F ตอบ

9  1

2. จงแปลงอณุ หภูมิ - 150F Fให้เป็น (9Cx1)  32
วธิ ที า

จะได้ จากCสFูตร  41
- 150  32
59

C  F  32
59
C  - 182

 - 1550 F = -9101 C ตอบ

C  20.2 x 5

C  101

3. ถา้ เทอร์โมมิเตอร์ตวั หนง่ึ อ่านคา่ ได้ 50C ถ้าแปลงเปน็ F จะไดเ้ ทา่ ใด

วธิ ที า จากสูตร C  F  32
59

จะได้ 50  - F  32
59

F  32  10
9

 50FC = 121222 F ตอบ

4. เทอรโ์ มมเิ ตอรต์ ัวหนึง่ อ่านคา่ ไดF้ 86F 9ถ0า้ แป32ลงเปน็ C จะไดเ้ ท่าใด

วิธีทา จากสูตร C  F  32
59

จะได้ C  - 86  32

59

 8C6 F =594 3x0 5C ตอบ

5. จงพิสูจน์ ว่า 100C = 21C2 F 30

วธิ ีทา จากสูตร C  - F  32
จะได้ 59
100  - F  32
59

F  32 = 22012 F ตอบ

 1900 C

F  (20 x 9)  32

 212 F

ใบความรู้ท่ี 1.2 หน่วยท่ี 1
ชือ่ หนว่ ย อุณหภมู แิ ละความดนั ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครั้งท่ี 1
เวลา 7 ชม.
เรือ่ ง ความดนั

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. เพอ่ื ให้นกั เรียนสามารถอธบิ ายคุณสมบตั ขิ องความดนั

2. เพื่อใหน้ ักเรยี นสามารถแปลงหนว่ ยความดนั ได้

เนอ้ื หา

1. ความดนั (Pressure)

2. การแปลงหนว่ ยความดัน psia และ psig

1. ความดัน (Pressure)

ความดนั คือแรงท่ีจะผลักดนั หรอื นา้ หนกั ท่ีจะตกลงบนพ้ืนที่ 1 ตารางพื้นทแี่ ละส่วนมาก

จะออกในรูปของนา้ หนักเปน็ ปอนดต์ ่อตารางนวิ้ (Pound Per Square lnch หรือ psi) หรือ กิโลกรมั ตอ่ ตาราง

เซนตเิ มตร หรือ นวิ ตนั ตอ่ ตารางเมตร

สสารทอ่ี ย่บู นพืน้ ผิวโลกทกุ ชนิดจะถกู แรงดนั ของอากาศดันอยรู่ อบ ๆ แรงกดดนั

ของอากาศทีม่ ีอยทู่ ว่ั ไปน้ี เรียกว่าความดันของบรรยากาศ (Atmospheric Pressure) ซ่งึ จะมคี า่

เท่ากับ 14.7 ปอนด์ ต่อตารางน้ิว (14.7 psi) หรอื 1.033 kg

ต่อตารางเซนติเมตร หรอื 1.013 บาร์ (1bar 105 N/m2 )

รปู ท่ี 1.2 แสดงความดันบรรยากาศ

1.1 ความดนั สมั บรู ณ์ และความดันที่เกจวดั (Absolute Pressure and Gauge Pressure)
ความดนั สมั บรู ณ์ (Absolute Pressure) คอื ความดนั ท่แี ทจ้ ริงซ่งึ วัดจากจดุ เร่ิมตน้ ท่ีศูนย์
สว่ นความดันท่เี กจวัดคอื ความดันขณะทเี่ อาเกจวัดความดัน (Pressure Gauge) วัดความดนั ขณะนนั้ ความดนั ที่เกจวัดได้
จะเรมิ่ วัดต่อจากความดันของบรรยากาศ (14.7 psi) ดังนน้ั

ความดันสมั บูรณ์ = ความดนั ทเ่ี กจวดั + ความดนั ของบรรยากาศ

Absolute Pressure = Gauge Pressure + Atmospheric
Pressure

psia = psi + 14.7

ในทางคานวณคิดง่าย ๆ = psi + 15
psia

kPa (bar / psi)

ความดนั สัมบูรณ์ ช่วงความดันเกจ
(Pabs)
(Pg) ความดันบรรยากาศ

14.7 ปอนด์ /
ช่วงความดนั สุญตรญ.านกิว้ าศ
รูปท่ี 1.3 แสดงความดนั (สPัมvบ) รู ณ์ (P atm)

ในระบบองั กฤษ ระบบเมตริก ระบบ SI ขณะท่ี psia มีค่า เท่ากับ 14.7 นนั้ psig จะมีคา่ เท่ากับ 0 และเม่ือ psia
มีคา่ เท่ากับ 0 แสดงว่าเปน็ Absolute Zero Pressure คือไม่มีอากาศเลยจรงิ ๆ เรยี กวา่ สญุ ญากาศ (Vacuum)
ดังนั้น ที่ 0 psia มีค่า = 29.92 นว้ิ ปรอท ของเกจ หรือ 760 มม.

โดยการอา่ นค่าจากเกจจะอา่ นในหน่วยอังกฤษ ซง่ึ นยิ มมากท่สี ดุ

psia psig

39.7 25
34.7 20
29.7 15
24.7 10
19.7 5
15 หรือ (14.7) 0

10 10
5 20
0 29.92 หรือ 30 น้ิวปรอท

ABSOLUTE ZERO
รปู ที่ 1.4 แสดงการเปรียบเทยี บ psia และ psig

1.2 สุญญากาศ (Vacuum) คอื บรเิ วณทีไ่ ม่มีความดนั กระทาตอ่ พน้ื ทเ่ี ลย ซง่ึ จะวัดความดนั ท่ีบริเวณนน้ั ได้ 0
psia หรอื 29.92 น้ิวปรอท ประมาณเทา่ กบั 30 นวิ้ ปรอท (0 psia = 30" Hg psig)

รูปที่ 1.5 แสดงการ
เกิด สญุ ญากาศ

2. การ แปลงหน่วย

ความดนั สมบรู ณ์

(psia) และ ความดัน

เกจ (psig)

ถา้ ต้องการ

เปลย่ี น หนว่ ยความ

ดนั จาก psia เปน็ ค่าของ psig โดยคา่ ของ psia ต่ากวา่ 15 psia ซ่งึ เปน็ ความดันสญุ ญากาศโดยหนว่ ยท่อี า่ นไดม้ หี นว่ ยเป็น

นวิ้ ปรอทหรอื มิลลเิ มตรปรอท ใหเ้ อา 2 ไปคูณ psia ทีต่ อ้ งการจะเปลยี่ นแลว้ เอาไปลบออกจาก 30

ตัวอยา่ งท่ี 1.3 วดั ความดนั ได้ 10 psia ถ้าใชเ้ กจวัดจะมีค่าเทา่ ไร

psig = 30 - (2 x psia)

= 30 - (2 x 10)

= 30 - 20

= 10" Hg ตอบ

ตวั อย่างที่ 1.4 วดั ความดันได้ 0 psia ถ้าใชเ้ กจวดั จะมีคา่ เท่าไร

psig = 30 - (2 x Psia)

= 30 - (2 x 0)

psig = 30" Hg ตอบ

สาหรบั การเปล่ียนคา่ psia และ psig ในกรณีทีค่ า่ psig เหนอื 0 ขน้ึ ไป และค่า psia มากกวา่ 14.7 (หรอื 15) ข้นึ
ไป กจ็ ะไม่ยงุ่ ยาก

ใช้สูตร psia = psig + 15

ตวั อยา่ งที่ 1.5 คา่ เกจวดั ได้ 30 psig เมอ่ื เป็นหนว่ ย psia จะมคี า่ เทา่ ไร

psia = 30 + 15 = 45

 30 psig = 45 psia ตอบ

ตัวอยา่ งท่ี 1.6 ความดัน 60 psig มคี า่ เท่ากับ psia เท่าไรในหน่วยของ psia
จากสตู ร psia = psig + 15

psia = 60 + 15
= 75

 60 psig = 75 psia ตอบ

การเปลย่ี นจากความดันที่เกจวัดทีว่ ัดตา่ กว่า 0 psig ให้เป็น psia ใหเ้ อา 30 ตั้งแล้วลบด้วยจานวนความดนั
น้วิ ปรอท (" Hg) ท่เี ราจะต้องเปลยี่ น ได้ผลลัพธเ์ ท่าไร เอา 2 ไปหาร

ตวั อย่างที่ 1.7 ความดนั ที่เกจวดั ได้ 5" Hg เปล่ยี นเปน็ หน่วย psia ได้เทา่ ไร

psia = 30 - 55 = 12.5 ตอบ
2

 5"Hg = 12.5 psia

ตัวอย่างที่ 1.8 ความดนั ทเ่ี กจวดั ได้ 10" Hg เปล่ยี นเปน็ หนว่ ย psia ไดเ้ ทา่ ไร

psiPasia= =30 -21100 ตอบ
 10" Hg = 10 psia

… แบบฝกึ หัดท่ี 1.2 หน่วยท่ี 1
ชือ่ หน่วย อุณหภมู แิ ละความดนั ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครงั้ ที่ 1
เรื่อง ความดัน เวลา 7 ชม.

จุดประสงค์การเรียนรู้
เพ่อื ให้นักเรยี นสามารถแปลงความดันระหวา่ ง psia และ psig ได้

คาสัง่ ใหน้ ักเรียนแสดงลาดับขัน้ ตอนต่อไปน้ี
1. จงแปลงความดนั 5 psia ใหเ้ ปน็ หนว่ ยความดัน psig ?
2. จงแปลงความดัน 90 psig ใหเ้ ป็นหน่วยความดัน psia ?
3. จงแปลงความดนั 15" Hg ใหเ้ ป็นหนว่ ยความดัน psia ?
4. ความดนั 160 psig เท่ากับก่ี psia ?
5. จงพสิ จู นว์ า่ ความดนั 0 psig เท่ากับความดัน 15 psia

แบบตรวจแบบฝกึ หัดท่ี 1.2 หน่วยที่ 1
ชื่อหน่วย อณุ หภูมิและความดนั ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครัง้ ท่ี 1

เรอื่ ง ความดัน

ความหมายระดับคะแนน
5 ดีมาก
4 ดี

3 ปานกลาง
2 พอใช้

1 ตอ้ งปรบั ปรุง

ข้อที่ ผลการตรวจ คะแนน คะแนนได้
ถกู ผิด 01

1.

2.

3.

4.

5.

รวม

สรปุ ผลคะแนนอย่ใู นระดับ………………………………
ลงชอ่ื …………………………….ผูต้ รวจ
(…………………………..)

….. แบบเฉลยแบบฝกึ หดั ท่ี 1.2 หน่วยท่ี 1
ชอื่ หนว่ ย อณุ หภมู แิ ละความดันในระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครง้ั ที่ 1
เวลา 7 ชม.
เรือ่ ง ความดนั

1. จงแปลงความดัน 5 psia ให้เป็นหน่วยความดัน psig
วิธที า จากสูตร psig  30 - (2 x psia)

จะได้ psig  30 - (2 x 5)

2. จงแปลงความดนั 90 psigpsใiหg้เป็นหน2ว่ ย0ค"Hวาgมดนั psiaตอบ
วิธีทา จากสูตร psia  psig  15

จะได้ psia  90  15

3. จงแปลงความดัน 15" Hg pใหsi้เaป็นหน่วย1ค0ว5ามดัน psia ตอบ
วธิ ีทา จากสูตร psia  30 - psig

2

จะได้ psia  30 -15

2

4. ความดนั 160 psig เท่ากบั pกs่ี iapsia 7.5 ตอบ

วธิ ีทา จากสูตร psia  psig  15

จะได้ psia  160  15 ตอบ

psia  175

5. จงพิสูจนว์ ่าความดัน 0 psig เท่ากบั ความดัน 15 psia
วิธที า จากสูตร psia  psig  15

จะได้ psia  0  15 ตอบ

psia  15

ใบความรทู้ ี่ 1.3 หน่วยที่ 1

….. ชอ่ื หน่วย อณุ หภมู แิ ละความดันในระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครงั้ ที่ 1

เร่อื ง การใชเ้ ทอร์โมมิเตอรแ์ ละแมนนโิ ฟลดเ์ กจ เวลา 7 ชม.

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เทอร์โมมิเตอร์เปน็ อปุ กรณ์วัด
เพอ่ื ให้นกั เรียนอา่ นค่าจากเทอรโ์ มมเิ ตอร์ และแมนนิโฟลดเ์ กจได้ ระดับความเขม้ ขน้ ความรอ้ น เทอรโ์ มมเิ ตอร์

เน้ือหา อยู่ 2 หน่วยวดั คือ องศาเซลเซียส (ซ
1. เทอรโ์ มมเิ ตอร์ (Thermometer)
2. แมนนโิ ฟลดเ์ กจ (Manifolds gauge) ไฮต์ (ฟ) ในปจั จุบนั เทอรโ์ มมิเตอร์มกี าร
ดิจิตอลซ่ึงมคี วามเทย่ี งตรง และแม่นยากว่า
1. เทอร์โมมเิ ตอร์ (Thermometer) รูปแบบเก่า

อุณหภมู เิ พื่อบง่ ชี้
ท่ีใชง้ านท่วั ไปจะมี
) และองศาฟาเรน
พัฒนา อย่ใู นระบบ
เทอรโ์ มมเิ ตอร์

รปู ท่ี 1.6 แสดงรปู แบบเทอร์โมมเิ ตอร์ชนิดตา่ ง ๆ

2. แมนนโิ ฟลดเ์ กจ (Manifolds gauge)
แมนนิโฟลด์เกจเป็นเคร่ืองมือสาหรับวัดความดันและสุญญากาศในระบบปรับอากาศและเป็นเคร่ืองมือท่ีสาคัญ

สาหรบั การบรกิ ารเกี่ยวกบั สารทาความเยน็
2.1 สว่ นประกอบของแมนนโิ ฟลดเ์ กจ
แมนนโิ ฟลด์เกจ ประกอบด้วยสว่ นประกอบท่สี าคัญ ดังนี้
1. เกจด้านความดนั ตา่ เปน็ เกจท่สี ามารถวดั ได้ทัง้ ความดัน และสญุ ญากาศโดยจะใช้

สาหรบั วดั ความดนั และสญุ ญากาศทางด้านความดนั ต่า (ดา้ น LOW) ของระบบเท่าน้นั
2. เกจด้านความสูงเป็นเกจทส่ี ามารถวัดไดเ้ ฉพาะความดันเท่านัน้ ไม่สามารถใชว้ ดั

สญุ ญากาศได้ ซึ่งจะใชส้ าหรับวดั ความดนั ทางดา้ นความดนั สูง (ดา้ น HI) ของระบบเทา่ นน้ั
3. ท่อหรือสายของแมนนิโฟลดเ์ กจ มอี ยู่ 3 เส้น คอื
- สายสแี ดง เปน็ สายสาหรบั ต่อกบั เกจด้าน HI เข้ากับวาลว์ บรกิ ารด้านความดันสูง

ของระบบ
- สายสีน้าเงนิ เป็นสายสาหรับตอ่ กับเกจดา้ น LOW เขา้ กับวาลว์ บรกิ ารด้านความดันตา่

ของระบบ
- สายสีเหลือง สเี ขียว หรอื สดี า เป็นสายสาหรับงานบรกิ ารต่าง ๆ เช่น การบรรจุ

สารทาความเย็นเขา้ ระบบ การเติมสารทาความเยน็ เพิ่มเข้าไปในระบบการทาสุญญากาศ เป็นต้น
4. ปลกั๊ เกบ็ สาย เปน็ ท่ีสาหรบั เกบ็ สายเกจ ขณะไมไ่ ดใ้ ช้งาน
5. วาลว์ ความดันต่า หรือวาล์วด้าน LOW เป็นวาล์วสาหรบั เปดิ – ปิดช่องทาง ระหว่าง

ชอ่ งทางทีม่ าจากสายเกจเสน้ กลางกับชอ่ งทางทม่ี าจากสายเกจดา้ น LOW
6. วาลว์ ความดันสูง หรอื วาล์วดา้ น HI เป็นวาลว์ สาหรับปดิ – เปิดชอ่ งทาง ระหวา่ ง

ช่องทางท่ีมาจากสายเกจเสน้ กลางกับชอ่ งทางที่มาจากสายเกจด้าน HI

รูปที่ 1.7 แมนนิโฟลด์เกจ (Manifolds gauge) ชนดิ ใช้กบั R-12 และ R-134 a
2.2 แมนนโิ ฟลดเ์ กจ สาหรับสารทาความเย็นระบบ R-12 และ R134a
เนื่องจากเครอื่ งปรับอากาศรถยนต์ในปัจจบุ ันมอี ยู่ 2 ระบบ คอื ระบบทใี่ ช้สารทาความเยน็
R-12 และระบบทีใ่ ช้สารทาความเย็น R134a ซง่ึ สารทาความเย็นท่ีใช้ในแตล่ ะระบบมีคณุ สมบัติที่แตกต่างกันจึงไม่ควรใช้
แมนนโิ ฟลด์เกจร่วมกัน ดังน้นั แมนนโิ ฟลด์เกจทีใ่ ช้จงึ มีลักษณะทีแ่ ตกตา่ งกัน โดยมีสว่ นที่แตกตา่ งกนั อยา่ งชดั เจน ดงั น้ี
1. เกลยี วของขอ้ ต่อสาย ขนาดของเกลียวข้อตอ่ สายจะแตกตา่ งกนั ทาให้ไมส่ ามารถใช้
งานสลับกันไดร้ ะหวา่ งระบบสารทาความเย็น R-12 กบั R-134a

2. ลักษณะขอ้ ต่อ ลกั ษณะขอ้ ตอ่ ของสายแมนนโิ ฟลดเ์ กจ ดา้ นท่ตี ่อกับวาลว์ บริการของ
ระบบจะแตกต่างกัน โดยระบบ R-12 มีลักษณะเป็นเกลียว ส่วนระบบ R-134a ไม่มีเกลยี วแต่จะใช้วิธีสวมลอ็ ค ซึ่งข้อ
ต่อแบบนี้เรียกวา่ ขอ้ ตอ่ แบบสวมลอ็ ค หรอื แบบ Quick-joints

รปู ท่ี 1.8 ขอ้ ต่อใชก้ บั สารทาความเย็น R-12 และ R-134a

….. ใบงานที่ 1.3 หนว่ ยที่ 1
ชอื่ หน่วย อณุ หภูมิและความดันในระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครงั้ ที่ 1
เวลา 7 ชม.
เรื่อง การใชเ้ ทอรโ์ มมิเตอรแ์ ละแมนนิโฟลด์เกจ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
เพ่ือให้นักเรยี นสามารถอ่านค่า จากเทอร์โมมเิ ตอร์ และแมนนโิ ฟลด์เกจได้

รายการเคร่ืองมือและอปุ กรณ์
1. เทอรโ์ มมิเตอร์แบบธรรมดา , แบบเขม็ และแบบดิจิตอล
2. แมนนโิ ฟลด์เกจ

คาสงั่ ใหน้ กั เรียนอา่ นค่าจากหน้าปัทม์เทอร์โมมิเตอร์ และแมนนโิ ฟลด์เกจ
ลาดบั ขนั้ การปฏบิ ัติงาน

1. ตรวจสอบชนดิ ของอปุ กรณ์
2. ทดสอบติดตั้งเทอร์โมมิเตอรแ์ ละแมนนิโฟลด์เกจตามจดุ ต่าง ๆ
3. อ่านคา่ จากหน้าปทั ม์
4. ทาการทดสอบหลาย ๆ คร้งั

…. แบบตรวจใบงานที่ 1.3 หน่วยท่ี 1
ช่ือหน่วย อุณหภูมิและความดนั ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนคร้งั ที่ 1

เรอ่ื ง การใชเ้ ทอรโ์ มมเิ ตอรแ์ ละแมนนิโฟลด์เกจ

ความหมายระดับคะแนน น้าหนักการให้คะแนน รวม หมายเหตุ
5 ดมี าก 54321
4 ดี
3 ปานกลาง
2 พอใช้
1 ต้องปรับปรงุ

ที่ รายการทต่ี รวจ

1 ใชอ้ ุปกรณ์ถกู ต้องกบั งาน

2 ตดิ ตง้ั อุปกรณ์ไดถ้ ูกต้อง

3 อ่านค่าไดถ้ กู ต้อง

4 มี ค ว า ม เข้ า ใจ ร ะ ห ว่ า ง ก า ร
ปฏบิ ัติงาน

5 การระวงั เรื่องความปลอดภัย

รวม

สรปุ ผลคะแนนอยู่ในระดับ………………………………

ลงชือ่ …………………………….ผตู้ รวจ
(…………………………..)

แบบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น หน่วยท่ี 1

ชื่อวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้ังที่ 1
….. ชื่อหน่วย อุณหภมู แิ ละความดันในระบบปรบั อากาศรถยนต์ เวลา 7 ชม.

คาสั่ง ใหน้ ักเรียนทาเครอ่ื งหมาย  ทบั ข้อทถี่ กู ต้องทีส่ ุดเพยี งข้อเดยี ว (ขอ้ ละ 1 คะแนน)

1. ขอ้ ใดเป็นหนว่ ยการวดั สญุ ญากาศ ? ข . N/m2

ก. in.Hg

ค. lb ง. BTU

2. ขอ้ ใดเปน็ หนว่ ยการวัดความดนั ?

ก. J ข. Cal

ค. psi ง. Watt

3. อุณหภมู ิ 50 C มคี ่าเท่ากบั ก่ี  F ?

ก. 82  F ข. 96 F

ค. 100 F ง. 122 F

4. ขอ้ ใดคือความหมายของความดนั ?

ก. แรงอดั ในกระบอกสูบ

ข. แรงหรือน้าหนักทีก่ ดลงบนพน้ื ท่ี 1 ตารางหน่วย

ค. อากาศรอบ ๆ ตัวเรา

ง. กระแสลมทพ่ี ัดผา่ นพน้ื ที่ 1 ตารางหน่วย

5. สายสใี ดไมม่ ีในชุดแมนนิโฟลดเ์ กจ ?

ก. สขี าว ข. สแี ดง

ค. สีนา้ เงิน ง. สเี หลือง

6. ความดนั 80 Psig มีค่าเทา่ กบั ข้อใด ?

ก. 90 psia ข. 95 psia

ค. 100 psia ง. 105 psia

7. ความดนั 10 psia มคี ่าเท่ากับขอ้ ใด ?

ก. 5 ” Hg ข. 10 ” Hg

ค. 15 ” Hg ง. 20 ” Hg

8. ขอ้ ใดคือความหมายของสญุ ญากาศ ?

ก. ทีไ่ ม่มีออกซเิ จนเลย ข. ท่ีไมม่ อี ากาศเลย

ค. ทไี่ มม่ คี วามดันเลย ง. ที่ไมม่ ีลมเลย

9. อณุ หภูมิ คอื ความหมายในข้อใด ?

ก. การเปลีย่ นแปลงความร้อน

ข. ความรสู้ ึกทีร่ า่ งกายรบั ได้

ค. หนว่ ยชีบ้ อกถึงระดับความรอ้ นหรอื เย็น

ง. ถูกข้อ ข และ ค

10. เครอื่ งมือชนดิ ใดท่ีสามารถวัดความดนั ในระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ ?

ก. เทอร์โมมเิ ตอร์ ข. บานอมิเตอร์

ค. มิลติมิเตอร์ ง. แมนนิโฟลดเ์ กจ

….. แบบเฉลยแบบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น หนว่ ยที่ 1
ช่อื หนว่ ย อณุ หภูมิและความดนั ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครัง้ ท่ี 1
เร่ือง อณุ หภมู ิและความดันในระบบปรบั อากาศรถยนต์ เวลา 7 ชม.

เฉลยแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ชุดการสอนท่ี 1

1. ก 2. ค 3. ง 4. ข 5. ก
6. ข 7. ข 8. ค 9. ง 10 ง

.

ชดุ การสอนท่ี 2
หลกั การทางานของอุปกรณ์ระบบปรบั อากาศรถยนต์

โครงการสอนท่ี 2 หน่วยท่ี 2
ชือ่ วิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103 สอนคร้งั ท่ี 2

ชือ่ หนว่ ย หลกั การทางานของอปุ กรณ์ระบบปรบั อากาศรถยนต์ เวลา 6 ชม.

เรือ่ ง 1. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์ รายการสอน
2. หลักการทางานของคอนเดนเซอร์
3. หลักการทางานของรีซฟี เวอรด์ รายเออร์
4 หลกั การทางานของเอก็ ซ์แพนช่ันวาลว์
5. หลกั การทางานของอวี าปอเรเตอร์

จดุ ประสงค์การสอน

1. อธบิ ายหลักการทางานของคอมเพรสเซอรไ์ ด้ 7. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์
2. อธิบายหลักการทางานของคอนเดนเซอร์ได้ 8. หลักการทางานของคอนเดนเซอร์
3. อธิบายหลักการทางานของรีซีฟเวอรด์ รายเออร์ได้ 9. หลกั การทางานของ
4. อธิบายหลกั การทางานของเอ็กซแ์ พนชั่นวาล์วได้
5. อธิบายหลักการทางานของอีวาปอเรเตอร์ได้ รซี ฟี เวอรด์ รายเออร์

10. หลกั การทางานของ
เอ็กซ์แพนชัน่ วาล์ว

11. หลักการทางานของอวี าปอเรเตอร์

วิธกี ารสอน บรรยาย/ถาม - ตอบ

สอ่ื การสอน ส่ือประกอบการสอนอุปกรณ์ 5 ชนิด ซ่งึ เป็นของจริง

ส่อื ใบความรู้ แบบฝกึ หัด ใบงาน แบบทดสอบ

การประเมินผล คะแนนจากการทาแบบทดสอบ หนังสืออ้างอิง บรรณานุกรมลาดบั ที่

ก่อน/หลังเรียน แบบประเมินผลใบงาน 1, 2, 4, 5, 7, 8, 9, 12

แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น

แผนการสอนท่ี 2 หน่วยที่ 2
ช่อื วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนครงั้ ที่ 2

ชอ่ื หนว่ ย หลกั การทางานของอุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ เวลา 6 คาบ

สาระสาคัญ
อุปกรณ์ในระบบปรับอากาศทีส่ าคญั และการศึกษาใหเ้ ข้าใจหลกั การทางานกอ่ นการ

ปฏบิ ตั ิงานประกอบไปด้วย คอมเพรสเซอร์(Compressor), คอนเดนเซอร์ (Condenser), รีซีฟ
เวอร์ดรายเออร์ (Receiver Drier), เอก็ ซ์แพนช่ันวาลว์ (Expension Valve), อีวาปอเรเตอร์
(Evaporator) อุปกรณเ์ หล่านี้จะติดตั้งอยู่ในรถยนต์

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

จดุ ประสงคท์ ั่วไป

เพอื่ ให้นกั เรียนเข้าใจหลกั การทางานของอุปกรณ์ระบบปรับอากาศในรถยนต์

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เมอื่ นักเรยี นเรียนชดุ การสอนที่ 2 แล้วนกั เรียนสามารถ

1. อธิบายหลักการทางานของคอมเพรสเซอร์ได้
2. อธบิ ายหลักการทางานของคอนเดนเซอร์ได้
3. อธบิ ายหลกั การทางานของรซี ฟี เวอร์ดรายเออร์ได้
4. อธบิ ายหลักการทางานของเอก็ ซแ์ พนชั่นวาล์วได้
5. อธิบายหลกั การทางานของอวี าปอเรเตอร์ได้

เนอ้ื หา
1. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์
2. หลักการทางานของคอนเดนเซอร์
3. หลักการทางานของรีซฟี เวอร์ดรายเออร์
4. หลักการทางานของเอ็กซ์แพนชั่นวาลว์
5. หลักการทางานของอีวาปอเรเตอร์

…………………..กจิ กรรมการเรียนการสอน

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรียน
1.1 นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
1.2 ซกั ถามเรอ่ื งอุปกรณใ์ นรถยนต์

2. ขนั้ สาธิตหรอื ยกตวั อยา่ ง
2.1 สาธิตการทางานหลกั การของอปุ กรณ์ 5 ชนดิ จากของจริง

2.2 นกั เรยี นยกตวั อยา่ งอปุ กรณ์ท่เี คยพบเห็น

3. ขน้ั ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
แบ่งกลมุ่ เขียนหลักการทางาน

4. ขน้ั สรปุ และตรวจสอบ
4.1 ซักถามหลกั การทางานเปน็ รายบุคคล
4.2 อภิปรายเป็นกลมุ่

5. ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชานาญ
วาดภาพช้ินส่วนประกอบพร้อมอธบิ ายการทางานในสมุดจดบนั ทกึ ทกุ คน

6. ขั้นประเมนิ ผล
6.1 ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
6.2 ซักถาม
6.3 สงั เกต
6.4 ตรวจบันทกึ การปฏิบตั ิงาน

สื่อการเรยี นการสอน
7.ใบความรู้
8.สอ่ื ประกอบการสอนอุปกรณ์ 5 ชนิด ซงึ่ เป็นของจริง
9.แบบทดสอบกอ่ น/หลังเรยี น
10. แบบฝึกหัด
11. ใบงาน

การวัดผล / ประเมนิ ผล
การวดั ผล วัดผลโดยวิธกี ารดงั นี้

8. การทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
9. การซกั ถามระหวา่ งเรยี น
10. ความสนใจระหวา่ งเรยี น
11. บันทึกการปฏบิ ตั งิ าน
12. ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
13. คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น

การประเมนิ ผล ประเมนิ ผลโดยถอื เกณฑ์ กาหนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดังน้ี

คะแนนรอ้ ยละ 0 ถงึ 49 ระดบั คะแนน 0 ผลการเรยี นตา่ กว่าเกณฑ์ข้นั ตา่
คะแนนรอ้ ยละ 50 ถงึ 54 (เกรด) 1 ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ออ่ นมาก
คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 1.5 ผลการเรียนตา่ กว่าเกณฑอ์ อ่ น
คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน 2 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์พอใช้
คะแนนรอ้ ยละ 65 ถงึ 69 (เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยู่ในเกณฑพ์ อใช้
คะแนนรอ้ ยละ 70 ถงึ 74 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ดี
คะแนนรอ้ ยละ 75 ถึง 79 ระดับคะแนน 3.5 ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ดีมาก
คะแนนรอ้ ยละ 80 ถึง (เกรด) 4 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ ีเยี่ยม

100 ระดับคะแนน
(เกรด)

ระดับคะแนน
(เกรด)

ระดบั คะแนน
(เกรด)

ระดับคะแนน
(เกรด)

ระดบั คะแนน
(เกรด)

หมายเหตุ
น้าหนักของคะแนนในการประเมนิ ผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 %

จากการทดสอบหลงั เรยี น 20 %

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลงั เรียน หน่วยท่ี 2
ชื่อวิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้งั ท่ี 2

ชอื่ หนว่ ย หลักการทางานของอุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ เวลา 6 ชม.

คาสั่ง ใหน้ กั เรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อทถี่ ูกต้องทีส่ ุดเพยี งข้อเดยี ว (ขอ้ ละ 1 คะแนน)
1. หนา้ ที่สาคัญของคอมเพรสเซอร์ คืออะไร

ก. ดูดความชื้น ข. ระบายความร้อน
ค. เก็บสารทาความเย็น ง. ดูดและอดั สารทาความเย็น
2. หน้าท่ขี องคอนเดนเซอร์ คือ

ก. ดูดความร้อนจากภายนอกเขา้ ระบบ ข. ระบายความร้อนออกจากสารทาความเยน็

ค. ทาใหส้ ารทาความเยน็ เดือดเปน็ ไอ ง. เปล่ยี นสถานะของเหลวให้เป็นไอ
3. สารทาความเย็นไหลออกจากคอนเดนเซอรใ์ นสถานะใด

ก. เป็นของเหลวและแกส๊ ข. เป็นแกส๊ ทงั้ หมด

ค. เปน็ ไออ่ิมตวั ง. เปน็ ของเหลวทั้งหมด
4. เอ็กซ์แพนชนั่ วาล์วจะติดต้งั อยกู่ ับส่วนใด

ก. ใกล้ท่อทางออกของรีซฟี เวอรด์ รายเออร์

ข. ใกล้ทอ่ ทางเข้าของรีซฟี เวอรด์ รายเออร์

ค. ใกลท้ อ่ ทางออกของอวี าปอเรเตอร์

ง. ใกล้ทอ่ ทางเขา้ ของอีวาปอเรเตอร์
5. สารทาความเยน็ เปล่ียนสถานะและดูดความร้อนทอี่ ปุ กรณ์ใด

ก. คอนเดนเซอร์ ข. เอก็ ซ์แพนชัน่ วาลว์

ค.รซี ฟี เวอร์ดรายเออร์ ง. อวี าปอเรเตอร์

6. สารทาความเย็นทีไ่ หลออกจากรซี ฟี เวอร์ดรายเออร์ มีลกั ษณะอยา่ งไร
ก. เปน็ ของเหลวและแก๊สความดนั สงู ข. เป็นของเหลวและแกส๊ ความดันต่า

ค. เป็นของเหลว 100 % ความดันสูง ง. เป็นของเหลว 100 % ความดนั ต่า

7. ขอ้ ใดทาใหค้ อมเพรสเซอรข์ องเครอ่ื งปรบั อากาศรถยนต์ทางาน

ก. เปดิ สวิตช์เครือ่ งปรับอากาศ

ข. สตารต์ เครื่องยนต์แลว้ เรง่

ค. เปดิ สวิตช์เครือ่ งปรับอากาศ แลว้ เปิดสวติ ช์มอเตอรข์ ับคอมเพรสเซอร์
ง. สตารต์ เครอื่ งยนต์ แลว้ เปดิ สวิตชเ์ ครอ่ื งปรบั อากาศ
8. ความร้อนในห้องโดยสารถา่ ยเทใหอ้ ุปกรณ์ใด

ก. คอนเดนเซอร์ ข. รีซีฟเวอรด์ รายเออร์

ค. เอก็ ซ์แพนช่ันวาล์ว ง. อวี าปอเรเตอร์

9. แรงชนดิ ใดท่ีไม่ได้ควบคุมการทางานของเอก็ ซ์แพนชั่นวาล์ว

ก. แรงดันจากอีวาปอเรเตอร์ ข. แรงดนั ของสปริง

ค. แรงของเคร่ืองยนต์ ง. แรงขยายตัวของสารทาความเยน็ ในกระเปาะ

10. ขอ้ ใดไมจ่ ดั อยู่ในอุปกรณ์หลักของระบบปรับอากาศรถยนต์

ก. สารทาความเย็น ข. อีวาปอเรเตอร์

ค. คอนเดน็ เซอร์ ง. คอมเพรสเซอร์

แบบเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรยี น หนว่ ยที่ 2
ชอื่ วชิ า งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้งั ที่ 2

ชอ่ื หน่วย หลกั การทางานของอุปกรณร์ ะบบปรับอากาศรถยนต์ เวลา 6 ชม.

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลงั เรยี น ชดุ การสอนที่ 2

1. ง 2. ข 3. ง 4. ง 5. ข
6. ค 7. ง 8. ง 9. ค 10. ก

ใบความร้ทู ี่ 2.1 หนว่ ยท่ี 2
ชอ่ื วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103 สอนครั้งท่ี 2

ชอื่ หน่วย หลักการทางานของอุปกรณร์ ะบบปรับอากาศรถยนต์ เวลา 6 ชม.

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

เพือ่ ให้นกั เรยี นสามารถอธิบายหลักการทางานของอปุ กรณร์ ะบบปรบั อากาศในรถยนต์ได้

เนอื้ หา

1. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์
2. หลกั การทางานของคอนเดนเซอร์
3. หลกั การทางานของรีซีฟเวอรด์ รายเออร์
4. หลักการทางานของเอ็กซ์แพนช่นั วาล์ว
5. หลกั การทางานของอวี าปอเรเตอร์

รปู ที่ 2.1 วฏั จักรการทางานระบบปรบั อากาศรถยนต์

1. คอมเพรสเซอร์
หลังจากท่ีสารทาความเย็นมีการเปล่ยี นแปลงสถานะไปเปน็ แก๊สอณุ หภูมแิ ละความดันตา่

สารทาความเย็นจะถูกอัดโดยคอมเพรสเซอร์ ทาใหม้ ีความดันและอณุ หภูมิสงู ขึ้นแลว้ สง่ ต่อไปยัง
คอนเดนเซอร์ คอมเพรสเซอร์ แบง่ ออกได้ 3 ชนดิ ดังน้ี

1.1 คอมเพรสเซอรแ์ บบลูกสบู (Reciprocating Compressor)
ในคอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สบู หรือแบบเหวย่ี งไปมา (Reciprocating Compressor)
การหมนุ ของเพลาขอ้ เหวี่ยงจะถูกเปลีย่ นเป็นการเคล่ือนที่ขน้ึ ลง ของลกู สบู

รูปที่ 2.2 คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ
1.1.1 หลักการทางานของคอมเพรสเซอรแ์ บบลูกสบู

รูปที่ 2.3 แสดงการทางานของหรดี วาลว์

แตล่ ะกระบอกสูบจะต้องประกอบด้วยหรีดวาล์วด้านดดู และหรดี วาลว์ ด้านอัด โดย
หรดี วาล์วท้ังสองจะยึดตดิ กบั วาลว์ เพลต (Valve Plate) การทางานของคอมเพรสเซอรม์ อี ยู่ 2
จงั หวะ คอื จงั หวะดูดเปน็ จังหวะท่เี กิดขน้ึ ขณะลกู สบู เคล่ือนทลี่ ง และจังหวะอดั ซ่งึ เปน็ จังหวะที่
เกิดข้ึนขณะลูกสูบเคล่ือนท่ขี ้นึ คอมเพรสเซอรแ์ บบลูกสบู สว่ นใหญจ่ ะมีจานวน 2 สบู โดยขณะท่ี
ลกู สบู หนึง่ เคลอ่ื นท่ลี งอีกลูกสูบหน่งึ จะเคลื่อนทีข่ ้ึน

ขณะลกู สูบเคล่อื นที่ลงซงึ่ เป็นจงั หวะดดู ความดนั ของสารทาความเย็นในกระบอกสบู จะ
ลดลงมาก หรดี วาล์วด้านอัดจะถูกปิดด้วยแรงอดั ของสารทาความเยน็ ทางดา้ นความดันสงู ส่วนหรีด
วาล์วดา้ นดดู จะเปิดให้สารทาความเยน็ จากทางด้านดดู ของคอมเพรสเซอรเ์ ขา้ มาในกระบอกสูบ เม่ือ
ลกู สูบเคลือ่ นที่ขึน้ สารทาความเยน็ ในกระบอกสบู จะถกู อัดตวั ทาใหค้ วามดันเพิม่ สูงขนึ้ เร่ือย ๆ
จนกระท่งั ดันใหห้ รีดวาลว์ ด้านอัดเปดิ ออกให้สารทาความเย็นท่ีมคี วามดนั สูงน้ไี หลออกไปยงั
คอนเดนเซอร์ตอ่ ไป

1.2 คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swash plate compressor)
คอมเพรสเซอร์แบบนี้ดูดและอดั สารทาความเยน็ ดว้ ยการเคลอื่ นท่ีของลกู สูบเชน่ เดยี วกบั
คอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สูบ แต่การขบั เคลื่อนลูกสูบของคอมเพรสเซอรแ์ บบนี้ ไม่ใช้เพลาข้อเหวี่ยงแต่
ใช้แผ่นเอียง (Swash Plate) แทน
1.2.1 โครงสร้างของคอมเพรสเซอรแ์ บบสวอชเพลต
คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลตมีสว่ นประกอบหลกั ที่สาคัญ ดังนี้
1) แผน่ เอียง หรือสวอชเพลต
2) ลกู สูบ
3) กระบอกสูบ
4) เพลาสวอชเพลต
5) หรีดวาล์วด้านดูด และดา้ นอัด

รูปท่ี 2.4 คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต

1.2.2 การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต

เมื่อเพลาสวอชเพลตหมุนไปความเอยี งของสวอชเพลตทเี่ ปลยี่ นไปตามองศาการหมุนของ
เพลาสวอชเพลต จะพาให้ลกู สบู เคล่ือนที่ไปมาขณะทล่ี กู สูบเคล่ือนท่ไี ปทางด้านขวามือ สารทาความ
เย็นในกระบอกสูบทางดา้ นขวามอื จะถูกอดั ตัวให้มีความดันสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนทาให้หรดี วาลว์ ดา้ นอัด
ของกระบอกสูบด้านขวามือ เปดิ ให้สารทาความเย็นท่มี ีความดันสูงไหลออกไปยังคอนเดนเซอร์ตอ่ ไป
ขณะเดยี วกันลูกสูบในกระบอกสบู ด้านซา้ ยมอื จะเคล่ือนที่ในจงั หวะดูดหรดี วาล์วดา้ นดูดของกระบอก
สบู ดา้ นซา้ ยมอื จงึ เปิดให้สารทาความเยน็ จากด้านทางเข้าของคอมเพรสเซอรไ์ หลเข้ามาบรรจุใน
กระบอกสบู และเม่อื ลูกสูบเคลื่อนที่ไปทางด้านซ้ายมอื การทางานก็จะตรงกันขา้ มกับที่กล่าวมา

จะเห็นไดว้ ่าลกู สูบของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลตสามารถทางานไดท้ ัง้ 2 ดา้ น โดย
ทางานในจงั หวะตรงกนั ขา้ ม ดงั นัน้ คอมเพรสเซอร์แบบน้ีจึงมจี านวนสบู มาก เชน่ 10 สูบ 6 สูบ
โดยคอมเพรสเซอรข์ นาด 10 สูบ จะมลี ูกสบู 5 ลกู และคอมเพรสเซอร์ 6 สูบ จะมีลูกสบู 3
ลกู

รูปท่ี 2.5 การทางานของคอมเพรสเซอรแ์ บบสวอชเพลต
1.3 คอมเพรสเซอร์เวนโรตาร่ี หรอื ใบพัดหมุน (Vane Rotary)
คอมเพรสเซอร์แบบนเี้ ป็นแบบที่ไม่มลี ูกสูบการดดู และอดั สารทาความเยน็ จะใชใ้ บพัดซงึ่ ทาให้
เสียงจากการทางานของคอมเพรสเซอร์แบบน้ีเบากวา่ แบบมีลูกสูบ นอกจากนี้ยงั มปี ริมาตรดดู สงู มี
ความเสียดทานตา่ และขนาดเลก็

1.3.1 โครงสร้างของคอมเพรสเซอร์แบบโรตาร่ี
คอมเพรสเซอรแ์ บบน้ีมสี ว่ นประกอบหลกั ทส่ี าคัญ ดังน้ี
1) ใบพัด
2) โรเตอร์
3) วาลว์ ด้านส่ง
4) ชอ่ งดดู

รปู ที่ 2.6 คอมเพรสเซอรเ์ วนโรตาร่ี หรอื ใบพัดหมนุ
1.3.2 การทางานของคอมเพรสเซอรแ์ บบโรตาร่ี
ขณะท่ีโรเตอรห์ มนุ ใบพดั จะถูกสลดั ออกมาชิดกับผนงั กระบอกสบู ดา้ นในเพ่ือกวาดสารทา
ความเยน็ ให้พจิ ารณาชอ่ งว่างระหวา่ งใบพัดท้งั สองตามจงั หวะการทางาน ดังนี้
จังหวะดูด เม่ือใบพดั หมนุ ผ่านชอ่ งดดู ไปปริมาตรทีอ่ ยรู่ ะหว่างใบพดั ทงั้ สองจะเพ่ิมข้นึ
เรอื่ ย ๆ ทาให้เกิดแรงดดู ดดู สารทาความเย็นเขา้ มาทางชอ่ งดูด
จังหวะอดั เมอ่ื ใบพดั หมุนผ่านชอ่ งดดู ไปปริมาตรท่อี ยรู่ ะหวา่ งใบพดั ทงั้ สองจะเริ่มลดลง
และลดลงเร่อื ย ๆ จนกระทงั่ ใบพัดเคลือ่ นทถ่ี งึ ช่องทางออก

จังหวะส่ง เม่ือใบพัดเคลื่อนท่ีผ่านช่องทางออก สารทาความเย็นที่ถูกอัดอยู่ระหว่าง
ใบพัดทัง้ สองจะดนั ลิน้ สง่ เปดิ ออกแลว้ ไหลไปยงั ห้องความดันสูง เพ่อื ส่งตอ่ ไปยงั คอนเดนเซอร์ตอ่ ไป

….

รูปท่ี 2.7 การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารี่
2. คอนเดนเซอร์

คอนเดนเซอร์ใช้ทาหนา้ ที่ถ่ายเทความรอ้ นออกจากสารทาความเย็นทเี่ ปน็ แก๊ส ซง่ึ ถูกอัดโดย
คอมเพรสเซอร์ ทาให้มีอุณหภูมิสูง ความดันสูง จากนั้นจะเปล่ียนสถานะจากแก๊สไปเป็น
ของเหลวภายในคอนแดนเซอร์นี้ คอนเดนเซอร์จะถูกติดตง้ั ที่ดา้ นหนา้ ของรถยนต์ มนั จะถูก
ระบายความรอ้ นออกโดยอากาศทถี่ กู ดูดไหลผ่านโดยพัดลม หมอ้ น้าของเครอ่ื งยนต์ และอากาศ
จะผา่ นมากขน้ึ เม่ือรถวิ่ง ในปัจจุบันนี้ รถยนต์หลาย ๆ รุ่นไดต้ ิดต้ังพัดลมไฟฟ้าสาหรับคอนเดนเซอร์
โดยเฉพาะ

รปู ที่ 2.8 คอนเดนเซอร์

3. รซี ฟี เวอรด์ รายเออร์

รีซีฟเวอรด์ รายเออร์ ท่ีติดต้ังในระบบปรบั อากาศรถยนตม์ ีวตั ถุประสงคใ์ นการใชง้ าน ดังนี้

1. ทาการเกบ็ สารทาความเย็นในสถานะของเหลวท่ีผา่ นมาจากคอนเดนเซอร์จากนน้ั ก็
จะยอมใหส้ ารทาความเย็นผ่านไป ตามภาระของการทาความเยน็

2. กรองเอาสิง่ สกปรกและความชื้นที่จะเปน็ ตวั ทาความเสียหายให้แก่ระบบ กระจกมอง
สารทาความเย็นจะอยู่ที่ด้านบนของรีซฟี เวอรด์ รายเออร์ ใช้สาหรับสังเกตลกั ษณะของ สารทาความเย็นที่
ไหลเวียนในระบบ

เขา้ กระจกมอง
ออก
ท่อรีซีฟเวอร์
เรือนรีซีฟเวอร์ ดรายเออร์
กรองความช้ืน
กรอง

รูปท่ี 2.9 รซี ฟี เวอรด์ รายเออร์

3.1 การทางานของรีซฟี เวอรด์ รายเออร์
เม่อื สารทาความเยน็ จากคอนเดนเซอร์ ซ่งึ มที งั้ สารทาความเย็นที่เป็นของเหลว และสาร

ทาความเย็นที่เป็นแก๊สไหลเข้ามายังรซี ฟี เวอรด์ รายเออร์ สารทาความเย็นท่ีเปน็ ของเหลว จะไหล
ผา่ นฟลิ เตอร์และสารดดู ความชื้นลงไปสะสมอยู่ด้านล่างของตัวรซี ีฟเวอรด์ รายเออร์ ส่วนสารทาความ
เยน็ ทเี่ ปน็ แก๊สก็จะลอยอยสู่ ่วนบนของรีซฟี เวอรด์ รายเออร์ ซงึ่ เป็นการแยกตัวออกจากกัน ระหว่าง
สารทาความเย็นทีเ่ ปน็ แก๊สและสารทาความเยน็ ทีเ่ ป็นของเหลว

ขณะที่สารทาความเย็นไหลผ่านฟลิ เตอรแ์ ละสารดูดความชื้นนั้น หากมสี ิ่งสกปรกตา่ ง ๆ
ปนมากบั สารทาความเยน็ สิ่งสกปรกดังกลา่ วจะไม่สามารถไหลผ่านฟลิ เตอรไ์ ด้ จงึ มเี พียงสารทา
ความเย็นเทา่ นั้นทีไ่ หลผา่ นไปได้ ขณะเดยี วกันหากมคี วามช้นื ปนมากบั สารทาความเย็น ความชื้นนก้ี ็
จะถูกสารดูดความชื้นดดู รับไว้ ทาให้สารทาความเยน็ ที่ไหลออกจากรซี ฟี เวอร์ดรายเออร์ ไม่มี
ความชนื้ และส่งิ สกปรกอ่ืน ๆ เจอื ปน สารดูดความชื้นนอกจากดดู ความชืน้ ออกจากสารทาความเยน็

เหลวทไ่ี หลผา่ นแล้ว ยงั ดูดความชื้นออกจากสารทาความเย็นท่ีเปน็ แกส๊ ซงึ่ ลอยอยสู่ ่วนบนของรีซีฟ
เวอร์ดรายเออร์อกี ด้วย

ถ้าสารทาความเย็นมีความชื้นจะเป็นตัวทาให้เกดิ การเกาะตัวเปน็ นา้ แข็ง ในทอ่ ทางเข้าของ
เอ็กซ์แพนชัน่ วาลว์ และท่อทางเข้าของปลกั๊ นิรภัย ซง่ึ จะหยดุ การไหลของสารทาความเยน็ หรอื
การเกาะตวั เปน็ นา้ แขง็ ภายในอวี าปอเรเตอร์ ทาใหส้ ารทาความเย็นไมส่ ามารถไหลผ่านได้การทาให้
ความช้นื หมดไปจากระบบจงึ เปน็ การปอ้ งกนั ปัญหาท่ีจะเกดิ ขึ้น

3.2 ไซต์กลาส หรือท่เี รียกวา่ กระจกมองนา้ ยา หรือตาแก้ว เปน็ สว่ นประกอบทอ่ี ย่ดู ้านบน
ของรีซฟี เวอร์ดรายเออร์ มลี กั ษณะเปน็ กระจกใสสามารถมองทะลุผ่านได้ ไซต์กลาสเป็นทสี่ าหรับให้
ชา่ งบรกิ ารสังเกตสภาพสารทาความเย็นในระบบที่ไหลผ่านรซี ฟี เวอร์ดรายเออร์ ซง่ึ สภาพของสารทา
ความเยน็ ดังกล่าวจะเป็นตัวบง่ ชถี้ งึ การทางานของเครอ่ื งปรับอากาศขณะนั้นว่าปกตหิ รือไมแ่ ละยงั
สามารถนาไปวิเคราะหห์ าสาเหตขุ อ้ ขัดข้อง ในกรณที ่เี คร่อื งปรบั อากาศทางานผิดปกตไิ ดอ้ ีกดว้ ย
4. เอก็ ซ์แพนช่ันวาลว์

เอ็กซแ์ พนช่นั วาล์ว หรอื เทอรโ์ มสแตติก เอก็ ซ์แพนช่นั วาลว์ หรือ ที.อ.ี วี. (T.E.V.) เป็น
อปุ กรณ์ทสี่ าคัญอกี อนั หนง่ึ ของระบบปรับอากาศ เป็นอปุ กรณ์ทม่ี ีบทบาทสาคญั ในการทาให้เกิดการ
เปล่ียนสถานะของสารทาความเย็น ซ่ึงทาใหเ้ กดิ ความเยน็ ขึ้นในท่ีสดุ โดยที่ตวั เอก็ ซแ์ พนชน่ั วาลว์ น้ี
จะตอ่ อย่รู ะหว่างรีซฟี เวอร์ดรายเออร์ กบั อวี าปอเรเตอร์

รปู ที่ 2.10 เอก็ ซ์แพนช่ันวาล์

……….

4.1 หนา้ ทขี่ องเอ็กซ์แพนช่ันวาลว์
1. ทาหน้าที่ลดความดนั ของสารทาความเยน็ เหลวทไ่ี หลมาจากรีซฟี เวอรด์ รายเออรล์ ง
เพอ่ื ให้สารทาความเย็นท่ไี หลเขา้ ไปยังอวี าปอเรเตอรเ์ ปล่ยี นสถานะจากของเหลวเปน็ แกส๊
2. ควบคมุ ปรมิ าณสารทาความเยน็ เหลวที่จะไหลเข้าไปยงั อีวาปอเรเตอร์ ให้มีปรมิ าณ
พอเหมาะกบั ปรมิ าณความรอ้ นในหอ้ งโดยสารท่ีจะต้องถ่ายเทให้กับอวี าปอเรเตอร์
4.2 โครงสรา้ งของเอก็ ซ์แพนชั่นวาล์ว
โครงสร้างของเอ็กซแ์ พนชนั่ วาล์ว ประกอบดว้ ยส่วนต่าง ๆ ดังน้ี
1. ตวั วาลว์ (Body)
2. แผน่ ไดอะแฟรม (Diaphragm)
3. กา้ นสง่ วาลว์ (Push Rod)
4. บ่าวาล์ว (Valve Seat)
5. เขม็ วาล์ว (Valve Needle)
6. แรงดันสปรงิ (Superheat Spring)
7. กระเปาะรับอุณหภูมิ (Sensing Bulb)
8. ท่อทางเดนิ สารทาความเย็น (Capillary Tube)

รูปท่ี 2. 11 แสดงโครงสร้างเอ็กซ์แพนชั่นวาลว์
4.3 การทางาน ในสภาพท่ยี ังไม่ทางาน สปรงิ จะดันให้ซีลวาล์วปดิ ชอ่ งทางระหวา่ ง
ทางเข้ากบั ทางออกไว้
เมอื่ เกดิ การทางานขณะท่อี วี าปอเรเตอรม์ โี หลดความร้อนมาก ท่อทางออกของอีวาปอเรเตอร์
จะมอี ณุ หภมู สิ ูงขึน้ ส่งผลให้นา้ ยาในกระเปาะรบั อุณหภมู ขิ ยายตวั ความดันจากการขยายตัวของน้ายาน้จี ะทา

ให้แรงในห้องด้านบนของแผ่นในไดอะแฟรมเพม่ิ ขนึ้ จนมีค่ามากกวา่ แรงดนั ดา้ นลา่ งของแผ่นไดอะแฟรมจงึ ดนั
ให้แผ่นไดอะแฟรมเล่ือนลงมาดนั ใหว้ าล์วเปดิ มากข้ึน สารความเย็นก็จะไหลผา่ นวาลว์ เข้าไปในอวี าปอเรเตอร์
ได้มากขนึ้ เปน็ ผลใหส้ ามารถดูดความรอ้ นได้มากขึ้น

เมอื่ โหลดความร้อนลดลง ทอ่ ทางออกของอีพอเรเตอรจ์ ะมอี ณุ หภูมลิ ดลงตามไปดว้ ย
สง่ ผลใหน้ า้ ยาในกระเปาะรับอุณหภมู ขิ ยายตัวได้น้อย แรงในหอ้ งด้านบนของแผน่ ในไดอะแฟรมจึงลดลง
จนกระทั่งมีคา่ น้อยกวา่ แรงดนั ดา้ นล่างบนแผน่ ไดอะแฟรมแรงดนั ดา้ นลา่ งของแผ่นไดอะแฟรมก็จะดันแผน่
ไดอะแฟรมเลื่อนขนึ้ ดงึ ให้วาลว์ เปิดนอ้ ยลง สารทาความเยน็ ก็จะไหลผ่านวาล์วเข้าไปในอวี าปอเรเตอร์ได้น้อยลง
ทาใหด้ ูดความร้อนได้นอ้ ยลงสัมพนั ธ์กบั โหลดความรอ้ นที่ไดร้ ับ

5. อวี าปอเรเตอร์
อีวาปอเรเตอร์จะมีโครงสรา้ งคล้าย ๆ กบั คอนเดนเซอร์ แตม่ ันจะเป็นสว่ นประกอบทส่ี าคัญอย่าง

หนึ่งของระบบทาความเยน็ โครงสร้างและสภาวะการทางานของอวี าปอเรเตอร์ จะมีผลอย่างมากตอ่
ประสิทธิภาพการทางานของระบบการทาความเย็นของการปรบั อากาศ

5.1 หนา้ ที่อีวาปอเรเตอร์ มหี น้าที่สาคญั ดังน้ี
1. เปน็ ท่ีสาหรับให้สารทาความเยน็ เปล่ยี นสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส

2. ดูดรับปริมาณความร้อนจากห้องโดยสาร เพ่ือใช้ในการเปล่ียนสถานะของสารทาความเย็นที่อยู่
ในอวี าปอเรเตอร์

รูปที่ 2.12 อวี าปอเรเตอร์

5.2 การทางานของอีวาปอเรเตอร์
อีวาปอเรเตอรม์ ีหลักการทางานที่สาคัญคือ เม่ือสารทาความเย็นท่ีถูกลดความดันลงด้วยเอ็กซ์

แพนชั่นวาล์วไหลเข้ามาในอีวาปอเรเตอร์ สารทาความเย็นจะเรมิ่ เปล่ยี นสถานะเป็นแก๊ส การเปล่ียนสถานะ

น้ีจะดาเนนิ ไปเรือ่ ยๆ เร่ิมต้งั แต่ทางเข้าของอวี าปอเรเตอร์ จนกระทง่ั ถงึ ท่ดี า้ นทางออกของอวี าปอเรเตอร์ ท่ี
ด้านทางออกอีวาปอเรเตอร์นี้สารทาความเย็นจะเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊สท้ังหมด โดยไมม่ ีสารทาความเย็นท่ี

เปน็ ของเหลวเหลอื อยู่ ในระหว่างท่ีสารทาความเยน็ เปล่ียนสถานะเป็นแกส๊ น้ัน สารทาความเย็นจะดูดความ
ร้อนออกจากตัวอีวาปอเรเตอร์ (ท่อและครีบ) เพ่ือใช้ในการเปล่ียนสถานะส่งผลให้อุณหภูมขิ องตัวอีวาปอเร
เตอร์ลดลง อากาศในห้องโดยสารซึง่ มีอณุ หภูมสิ ูงกว่าจะถ่ายเทความร้อนให้กับตวั อีวาปอเรเตอรอ์ ีกตอ่ หน่ึง

หรืออาจกล่าวอย่างง่าย ๆ ว่า อีวาปอเรเตอร์ จะดูดความร้อนออกจากอากาศในห้องโดยสารนั่นเอง
อณุ หภูมขิ องอากาศในหอ้ งโดยสารจึงลดลง หรอื เกิดความเยน็ ขน้ึ ภายในหอ้ งโดยสารนน่ั เอง

ของเหลว 50% สารทาความเยน็ เหลวจะเดือดเปล่ียน
แกส๊ 50% 4.4 สถานะตลอดท่อทางเดินสารความเยน็
สารทาความเยน็ ผสมระหวา่ งของเหลว C ในอีวาปอเรเตอร์
และแกส๊ จากชุดควบคุมการไหล

ของเหลว 50%
50% 4.4 C

แก๊ส 100% 10 C ไปยงั
คอมเพรสเซอร์(ซูเปอร์ฮีตแกส๊ )

100%
4.4 C

รปู ที่ 2.13 แสดงการทางานของอีวาปอเรเตอร์

แบบฝึกหดั ท่ี 2.1 หน่วยที่ 2

ชื่อหนว่ ย หลกั การทางานของอุปกรณร์ ะบบปรับอากาศรถยนต์ สอนคร้ังท่ี 2
เร่อื ง หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์ เวลา 6 ชม.

รายการเครอ่ื งมืออปุ กรณ์
1. คอมเพรสเซอร์ ของจรงิ 3 ชนิด คือ แบบลกู สูบแบบเวนโรตารีแ่ ละแบบสวอชเพลต
2. กระดาษเขยี นแบบ พรอ้ มอปุ กรณ์การเขยี น เพ่ือใช้สเกต็ ซภ์ าพของคอมเพรสเซอร์

คาส่ัง ใหน้ กั เรียน เขยี นภาพเพ่อื ชีช้ ้ินสว่ น พร้อมกับอธบิ ายหลกั การทางานเบอ้ื งต้นของคอมเพรสเซอร์
1. สเกต็ ซ์ภาพคอมเพรสเซอร์
…………………………………………………………………………………….…

……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………

2. อธิบายหลกั การทางานเบือ้ งต้นของคอมเพรสเซอร์
………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

3. สรปุ ผลและการอธิบาย หลักการทางานของคอมเพรสเซอร์
………………………………………………….……………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

แบบฝกึ หดั ท่ี 2.2 หนว่ ยที่ 2

ช่ือหนว่ ย หลกั การทางานของอุปกรณร์ ะบบปรับอากาศรถยนต์ สอนคร้ังที่ 2

เร่อื ง หลกั การทางานของคอนเดนเซอร์ เวลา 6 ชม.

ารเคร่ืองมืออปุ กรณ์
1. คอนเดนเซอร์ของจริง
2. กระดาษเขียนแบบพรอ้ มอุปกรณ์การเขยี น เพ่ือใชส้ เก็ตซภ์ าพคอนเดนเซอร์

คาส่งั ใหน้ กั เรยี น ศกึ ษาหลักการทางานของคอนเดนเซอรจ์ ากของจริง สเกต็ ซ์ภาพแล้ว
อธิบายหลักการทางานเปน็ ขัน้ ตอน

1. สเก็ตซภ์ าพคอนเดนเซอร์

…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

2. หลกั การทางานของคอนเดนเซอร์

…………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

3. สรุปและการอธบิ ายหลักการทางานของคอนเดนเซอร์
…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

แบบฝกึ หัดท่ี 2.3 หนว่ ยที่ 2

ช่อื หนว่ ย หลักการทางานของอุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนคร้ังท่ี 2

เรอื่ ง หลักการทางานของรซี ีฟเวอรด์ รายเออร์ เวลา 6 ชม.
รีซฟี เวอรด์ รายเออร์ของจรงิ
2. กระดาษเขยี นแบบพร้อมอปุ กรณ์การเขียน เพ่ือใชส้ เกต็ ซ์ภาพ

คาส่งั ใหน้ ักเรียน ศึกษาหลกั การทางานของรีซฟี เวอร์ดรายเออร์จากของจริง สเก็ตซ์
ภาพอธบิ ายหลักการทางานเปน็ ขัน้ ตอน

1. สเก็ตซ์ภาพรซี ีฟเวอร์ดรายเออร์
…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. อธิบายหลกั การทางานของรซี ีฟเวอรด์ รายเออร์
…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

3. สรุปและอภิปรายหลักการทางานของรซี ีฟเวอร์ดรายเออร์
…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

แบบฝกึ หดั ที่ 2.4 หน่วยที่ 2

ชื่อหน่วย หลกั การทางานของอปุ กรณร์ ะบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครง้ั ที่ 2

เรอื่ ง หลักการทางานของเอก็ ซ์แพนชน่ั วาลว์ เวลา 6 ชม.

2. กระดาษเขยี นแบบพรอ้ มอุปกรณ์การเขียน เพอ่ื ใช้สเก็ตซภ์ าพ

คาส่ัง ให้นักเรียน ศกึ ษาหลกั การทางานของเอก็ ซ์แพนช่นั วาล์วจากของจริง แลว้ สเกต็ ซ์
ภาพพรอ้ มอธิบายหลกั การทางานเปน็ ข้ันตอน

1. สเก็ตซภ์ าพเอก็ ซ์แพนช่ันวาล์ว
…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. อธบิ ายหลักการทางานของเอ็กซแ์ พนช่นั วาลว์
…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

3. สรปุ และการอธบิ ายหลักการทางานของเอ็กซแ์ พนชั่นวาล์ว
…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

แบบฝึกหัดที่ 2.5 หน่วยท่ี 2

ชื่อหน่วย หลกั การทางานของอุปกรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครง้ั ท่ี 2

เร่ือง หลักการทางานของอวี าปอเรเตอร์ เวลา 6 ชม.

1. วาปอเรเตอรข์ องจริง
2. กระดาษเขียนแบบพรอ้ มอุปกรณก์ ารเขยี น เพือ่ ใช้สเกต็ ซ์ภาพของอีวาปอเรเตอร์

คาส่งั ให้นกั เรียน ศึกษาหลักการทางานของอีวาปอเรเตอรจ์ ากของจริง แล้วสเก็ตซภ์ าพ
พร้อมอธบิ ายหลักการทางานเป็นขนั้ ตอน

1. สเกต็ ซ์ภาพอวี าปอเรเตอร์
…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
2. อธิบายหลักการทางานของอวี าปอเรเตอร์

…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

3. สรุปและอภิปรายหลักการทางานของอวี าปอเรเตอร์
…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

แบบตรวจผลงานที่ 2.5 หน่วยที่ 2

ช่อื หน่วย หลกั การทางานของอุปกรณร์ ะบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนคร้งั ที่ 2
เร่ือง หลกั การทางานของอีวาปอเรเตอร์

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
5 ดมี าก

4 ดี
3 ปานกลาง

2 พอใช้
ตอ้ งปรบั ปรุง

ที่ รายการท่ีตรวจ น้าหนักการใหค้ ะแนน รวม หมายเหตุ
54321

1. สเก็ตซ์ภาพถูกตอ้ งสวยงาม
2. ชีส้ ว่ นประกอบถกู ตอ้ ง
3. อธบิ ายขนั้ ตอนการทางาน
4. การสรปุ และอภปิ รายผล
5. ความสนใจในการปฏบิ ัติงาน

ผตู้ รวจ………………………….
(……………………………)

\

แบบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น หนว่ ยที่ 2
ชื่อวิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103

ช่อื หนว่ ย หลักการทางานของอปุ กรณร์ ะบบปรบั อากาศรถยนต์

คาสั่ง ให้นักเรยี นทาเครอ่ื งหมาย  ทบั ข้อที่ถูกตอ้ งท่สี ุดเพียงขอ้ เดียว (ข้อละ 1 คะแนน)

1. ข้อใดคือหน้าทข่ี องคอมเพรสเซอร์ ?

ก. ดูดและอดั สารทาความเย็น ข . ดดู ความช้ืน

ค. ระบายความรอ้ น ง. เกบ็ สารทาความเยน็

2. จงั หวะใดทีส่ ่งผลใหล้ ิ้นของคอมเพรสเซอรแ์ บบแวนโรตารเ่ี ปิด ?

ก. จังหวะดดู ข. จงั หวะสง่

ค. จังหวะอดั ง. จังหวะผลกั

3. ข้อใดกลา่ วถกู ต้องเกี่ยวกับคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต ?

ก. ใชใ้ บพดั ดันลกู สบู

ข. ใชเ้ พลาขอ้ เหว่ยี งดันลกู สบู

ค. ใชแ้ ผ่นเอียงดันลูกสบู

ง. ใชใ้ บพดั ในการดูดและอัดสารทาความเย็น

4. อุปกรณ์ทที่ าหนา้ ทร่ี ะบายความร้อนออกจากสารทาความเยน็ คือ ?

ก. คอมเพรสเซอร์ ข. คอนเดนเซอร์

ค. อีวาปอเรเตอร์ ง. หม้อน้า

5. สารทาความเยน็ ไหลออกจากคอนเดนเซอร์ในสถานะใด ?

ก. เป็นไออ่ิมตัว ข. ของแข็ง

ค . เ ป็ น แ ก๊ ส ทั้ ง ห ม ด ง. เป็นของเหลวและแกส๊

6. อุปกรณท์ ท่ี าหนา้ ท่ีเก็บและกรองสารทาความเย็นในระบบปรับอากาศรถยนต์คือ ?

ก. รีซีฟเวอรด์ รายเออร์ ข. เอ็กซแ์ พนช่ันวาล์ว

ค. อีวาปอเรเตอร์ ง. คอนเดนเซอร์

7. ไซตก์ ลาส คือ ข้อใด ?

ก. กระจกมองสถานะสารทาความเย็น ข. ชิ้นส่วนของคอมเพรสเซอร์

ค. ชิน้ สว่ นของเอก็ ซ์แพนช่นั วาลว์ ง. ไมม่ ีข้อใดถูก

8. เมื่อทางออกอีวาปอเรเตอรม์ อี ณุ หภูมสิ ูงขนึ้ เอก็ แพนชั่นวาล์วทางานอย่างไร ?

ก. แรงดนั ดา้ นบนแผ่นไดอะแฟรมมากขน้ึ

ข. เข็มปดิ ไม่จ่ายสารทาความเย็น

ค. เขม็ เปิดกวา้ งข้ึน

ง. ขอ้ ก. และ ค. ถูก


Click to View FlipBook Version