The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by juthamat19911991, 2019-03-25 05:06:35

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

9. สารทาความเยน็ ที่ไหลออกจากอีวาปอเรเตอรม์ ีลักษณะอยา่ งไร ?

ก. เป็นแกส๊ 100 % ข. เป็นแกส๊ 80 %

ค. เปน็ ของเหลว 100 % ง. เป็นของเหลว 80 %

10. อีวาปอเรเตอร์ มหี น้าทอ่ี ยา่ งไร ?
ก. ลดความดนั ของสารทาความเย็น ข. เพมิ่ ความดนั ของสารทาความเย็น

ค. ดดู ความรอ้ นออกจากหอ้ งโดยสาร ง. เก็บสารทาความเย็น

แบบเฉลยแบบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน หนว่ ยที่ 2
ชือ่ วชิ า งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้งั ท่ี 2

ชอื่ หนว่ ย หลักการทางานของอุปกรณร์ ะบบปรบั อากาศรถยนต์ เวลา 6 ชม.

เฉลยแบบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ชดุ การสอนที่ 2

1. ก 2. ข 3. ค 4. ข 5. ข
6. ก 7. ก 8. ง 9. ก 10 ค

.

ชุดการสอนท่ี 3

การถอดประกอบ การคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพรอ่ ง
ของคอมเพรสเซอร์

โครงการสอนท่ี 3 หนว่ ยที่ 3
ช่ือวชิ า งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนครั้งท่ี 3-8

ชือ่ หน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตุข้อบกพร่องของ เวลา 30 ชม.
คอมเพรสเซอร์

เรือ่ ง 1. ความร้เู บ้ืองต้นเกยี่ วกบั คอมเพรสเซอร์
2. การค้นหาสาเห

ตุขอ้ บกพรอ่ งคอมเพรสเซอร์

3. การถอดประกอบคอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สูบ (Reciprocating)

4. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swash plate)

5. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตาร่ี (Vane rotary)

จุดประสงค์การสอน รายการสอน

1. อธบิ ายหลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์ 1. ความรูเ้ บ้ืองต้นเกยี่ วกบั คอมเพรสเซอร์
แบบต่าง ๆ ได้ 2. การค้นหาสาเหตขุ อ้ บกพร่อง

2. ตรวจสอบสภาพ คน้ หาสาเหตุ และถอดประกอบ คอมเพรสเซอร์
คอมเพรสเซอร์แบบลกู สบู (Reciprocating) ได้ 3. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์

3. ตรวจสอบสภาพ คน้ หาสาเหตุและถอดประกอบ แบบลูกสูบ (Reciprocating)

คอมเพรสเซอร์แบบ สวอชเพลต (Swash plate) 4. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์
ได้
แบบสวอชเพลต (Swash plate)
4. ตรวจสอบสภาพ ค้นหาสาเหตุ และถอดประกอบ
5. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์
คอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารี่ (Vane rotary) ได้ แบบเวนโรตาร่ี (Vane rotary)

วธิ กี ารสอน บรรยาย/ถาม - ตอบ

สื่อการสอน ส่ือประกอบการสอนอปุ กรณ์ 3 ชนดิ คอมเพรสเซอร์แบบลกู สูบ (Reciprocating),

แบบสวอชเพลต (Swash plate) และแบบเวนโรตาร่ี (Vane Rotary) ซ่ึงเป็นของจริง

ใบความรู้ แบบฝึกหดั ใบงาน แบบทดสอบ

การประเมินผล คะแนนจากการทาแบบทดสอบ หนังสืออา้ งอิง บรรณานุกรมลาดับท่ี

กอ่ น/หลงั เรียน แบบประเมนิ ผลใบงาน 1, 2, 3 ,4 , 5, 7, 8, 9, 10, 12

แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ,13

….. แผนการสอนที่ 3 หนว่ ยที่ 3

ชือ่ วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103 สอนคร้ังที่ 3-8

ช่ือหนว่ ย การถอดประกอบการค้นหาสาเหตขุ ้อบกพร่อง เวลา 30 ชม.
ของคอมเพรสเซอร์

คอมเพรสเซอร์ ท่ใี ชก้ นั อยทู่ กุ วันนีส้ ามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท คอื แบบลกู สบู (Reciprocating)
แบบสวอชเพลต (Swash plate) และแบบเวนโรตาร่ีหรือใบพัดหมนุ (Vane rotary) เมอ่ื ใชไ้ ปนาน ๆ ก็
จะเกิดการชารุด เช่น ผูข้ บั รถรู้สกึ วา่ ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ มเ่ ยน็ หรอื ระบบปรบั อากาศไมท่ างาน
ฉะนนั้ จงึ มีการซอ่ มบารงุ ให้สามารถใช้งานได้ดีอยเู่ สมอ ในการที่จะถอดชิ้นส่วน สว่ นใดบ้างใน
คอมเพรสเซอร์ จะตอ้ งรสู้ าเหตุของการเกดิ ปัญหาก่อน จึงจะทาใหไ้ มเ่ สียเวลา หรือเสยี เงินโดยเปล่า
ประโยชนน์ อกจากนี้จะต้องใช้เครอ่ื งมือให้ถกู ตอ้ งกบั งานด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป

เพอ่ื ใหน้ กั เรียน สามารถตรวจสภาพ ค้นหาสาเหตุของขอ้ บกพรอ่ ง และการถอด
ประกอบคอมเพรสเซอร์ 3 ชนดิ คือแบบลกู สบู (Reciprocating) แบบสวอชเพลต (Swash Plate)
และแบบเวนโรตารหี่ รอื ใบพดั หมนุ (Vane Rotary )
จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม

เมือ่ นักเรียนเรียนชดุ การสอนท่ี 3 แลว้ นักเรียนสามารถ
1. อธบิ ายหลกั การทางานของคอมเพรสเซอรแ์ บบตา่ ง ๆ ได้

2. ตรวจสอบสภาพ ค้นหาสาเหตุ และถอดประกอบ คอมเพรสเซอรแ์ บบลูกสูบ
(Reciprocating)ได้

3. ตรวจสอบสภาพ คน้ หาสาเหตแุ ละถอดประกอบคอมเพรสเซอรแ์ บบสวอชเพลต (Swash plate)ได้
4. ตรวจสอบสภาพ ค้นหาสาเหตุ และถอดประกอบ คอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารี่
(Vane rotary)ได้

เนอ้ื หา
1. ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกบั คอมเพรสเซอร์
2. การคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพรอ่ งคอมเพรสเซอร์

3. การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ (Reciprocating)
4. การถอดประกอบคอมเพรสเซอรแ์ บบสวอชเพลต (Swash plate)

5. การถอดประกอบคอมเพรสเซอรแ์ บบเวนโรตาร่ี (Vane rotary)

…………..

กิจกรรมการเรียนการสอน

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1.ข้ันนาเข้าสู่บทเรยี น

1.1 นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
1.2 ทบทวนเรือ่ งเครือ่ งมือท่ีใช้ในงานปรับอากาศรถยนต์
1.3 นาเข้าสู่บทเรยี นโดยใชว้ ธิ ีซักถาม
2. ขั้นสาธิตและยกตวั อย่าง

2.1 สอนเตรียมเคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ รวมท้ังใบงานและใบความรู้
2.2 สาธิตยกตัวอย่างสาเหตุข้อบกพร่องและแสดงวิธกี ารถอดประกอบ

คอมเพรสเซอร์ ตามใบงานเปน็ ขนั้ ตอน

2.3 อธบิ ายรายละเอยี ดการตรวจสภาวะระบบปรบั อากาศรถยนต์พรอ้ ม
ยกตวั อยา่ งประกอบ

3. ข้นั ฝึกปฏิบัติ
3.1 จดั ลาดบั การตรวจสภาพคอมเพรสเซอร์
3.2 จดั ลาดบั การถอดประกอบคอมเพรสเซอร์

4. ขั้นสรุปและตรวจสอบ
4.1 สรปุ สาเหตุข้อบกพร่องของคอมเพรสเซอรว์ ิธกี ารถอดประกอบท่ี

รวดเรว็ และถกู ต้อง

4.2 ตรวจสอบความถกู ต้องในการถอดประกอบ
5. ข้ันฝึกให้เกิดความชานาญฝึกการค้นหาสาเหตุข้อบกพรอ่ ง และการถอด

ประกอบคอมเพรสเซอร์
ซ้าอกี ใหท้ ุกคนที่เรยี นไดฝ้ ึกปฏิบตั ิทุกคน

6. ข้ันประเมินผล
6.2 การซักถามระหวา่ งเรยี น
6.3 การอภปิ รายกลมุ่
6.4 การตรวจสอบการปฏิบตั งิ านตามใบงาน
6.5 การตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน

ส่ือการเรยี นการสอน

1. ใบความรู้ หนว่ ยที่ 3 เรอ่ื งการถอดประกอบการคน้ หาสาเหตุขอ้ บกพรอ่ งของ
คอมเพรสเซอร์

2. ส่อื ประกอบการสอนอปุ กรณ์ 3 ชนดิ คอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สบู (Reciprocating),
แบบสวอชเพลต (Swash plate) และแบบเวนโรตารี่ (Vane Rotary) ซง่ึ เป็นของจรงิ

3. แบบทดสอบก่อน/หลังเรยี น
4. แบบฝกึ หัด
5. ใบงาน
การวดั ผล / ประเมินผล
การวัดผล วดั ผลโดยวธิ ีการดังนี้

14. การทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
15. การซกั ถามระหว่างเรียน
16. ความสนใจระหวา่ งเรียน
17. บนั ทึกการปฏบิ ัติงาน
18. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
19. คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
การประเมนิ ผล ประเมนิ ผลโดยถือเกณฑ์ กาหนดจากระดบั คะแนนการวัดผลดังนี้

คะแนนรอ้ ยละ 0 ถงึ 49 ระดับคะแนน 0 ผลการเรยี นต่ากว่าเกณฑข์ นั้ ต่า
(เกรด) 1 ผลการเรียนอยู่ในเกณฑอ์ อ่ นมาก
คะแนนรอ้ ยละ 50 ถงึ 54 1.5 ผลการเรยี นอยูใ่ นเกณฑอ์ อ่ น
ระดับคะแนน 2 ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์พอใช้
คะแนนรอ้ ยละ 55 ถึง 59 (เกรด) 2.5 ผลการเรยี นอยูใ่ นเกณฑ์พอใช้
3 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ ี
คะแนนรอ้ ยละ 60 ถึง 64 ระดับคะแนน 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ดีมาก
(เกรด) 4 ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ดเี ยยี่ ม
คะแนนรอ้ ยละ 65 ถึง 69
ระดับคะแนน
คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 (เกรด)

คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดับคะแนน
คะแนนรอ้ ยละ 80 ถึง (เกรด)

100 ระดับคะแนน
(เกรด)

ระดับคะแนน
(เกรด)

ระดับคะแนน
(เกรด)

หมายเหตุ
น้าหนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 %

จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

แบบทดสอบก่อนเรยี น/หลังเรียน หนว่ ยที่ 3
ชอ่ื วิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนครง้ั ท่ี 3-8

ชอ่ื หน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตขุ ้อบกพร่องของ เวลา 30 ชม.
คอมเพรสเซอร์

คาสั่ง ให้ทาเครอ่ื งหมาย  ทับขอ้ ท่ถี ูกทส่ี ุดเพยี งข้อเดียว

1. ส่วนประกอบใดมอี ยเู่ ฉพาะในคอมเพรสเซอร์แบบลกู สูบเทา่ น้นั

ก. ลกู สบู ข. พูเลย่ ์

ค. หรีดวาล์ว ง. เพลาขอ้ เหว่ียง

2. ข้อใดท่ีไม่ใช่คอมเพรสเซอร์ท่ีใช้ในเครอ่ื งปรับอากาศรถยนต์

ก. แบบลูกสูบ ข. แบบเวนโรตารี

ค. แบบเซนตฟิ กู ลั ป์ ง. แบบสวอชเพลต

3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกย่ี วกับคอมเพรสเซอรแ์ บบสวอชเพลต

ก. ใชใ้ บพัดขับลกู สบู ข. ใช้แผน่ เอยี งขับลูกสบู

ค. ใชเ้ พลาขอ้ เหวี่ยงขับลกู สูบ ง. ใชใ้ บพดั ในการดูดและอดั สารทาความเย็น

4. จังหวะใดทส่ี ่งผลให้ล้ินของคอมเพรสเซอรแ์ บบเวนโรตารีเปิด

ก. จังหวะดดู ข. จงั หวะอดั

ค. จังหวะส่ง ง. จังหวะผลกั

5. พเู ล่ยท์ ่ีตัวคอมเพรสเซอร์ ทาหน้าท่อี ะไร

ก. สร้างสนามแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ข. รบั กาลงั สง่ จากโรเตอร์
ค. ตดั -ตอ่ กาลงั จากเคร่ืองยนต์ ง. รบั กาลงั ขับจากเครอื่ งยนตโ์ ดยผา่ นทางสายพาน

6. ตัวควบคุมที่ทาใหค้ อมเพรสเซอรท์ างานคอื ขอ้ ใด

ก. คลตั ชแ์ ม่เหลก็ ข. สวิตช์ ปดิ -เปดิ
ค. รีเลยไ์ ฟฟา้ ง. สวิตช์สารทาความเย็น

7. ปกติคอมเพรสเซอร์แบบลกู สูบประกอบด้วยลูกสูบกตี่ ัว

ก. 1 ตัว ข. 2 ตัว

ค. 6 ตัวขนึ้ ไป ง. 10 ตัวขนึ้ ไป

8. ในคอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สูบถ้าวาล์วด้านจ่ายอัดปิดลกู สูบจะอยใู่ นจังหวะใด

ก. ดดู ข. อัด

ค. ระเบิด ง. คาย

9. ลูกสูบของคอมเพรสเซอรแ์ บบสวอชเพลต จะทางานอยู่ในลกั ษณะใด

ก. แนวดงิ่ และตั้ง ข. ตั้งตามบริษทั ผลิต

ค. แนวตง้ั ง. แนวนอน

10. สารทาความเยน็ ในคอมเพรสเซอรอ์ ยู่ในสถานะใด

ก. แข็ง ข. เหลว
ค. แกส๊ ง. ถกู ทุกข้อ

. แบบเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลงั เรยี น หนว่ ยที่ 3

ช่อื วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนครงั้ ที่ 3-8

ชื่อหนว่ ย การถอดประกอบการค้นหาสาเหตุข้อบกพรอ่ งของ เวลา 30 ชม.
คอมเพรสเซอร์

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น /หลังเรียน ชุดการเรียนที่ 3

1. ง 2. ค 3. ข 4. ข 5. ง
6. ก 7. ข 8. ก 9. ง 10. ค

ใบความรทู้ ่ี 3.1 หน่วยที่ 3
ช่อื หน่วย การถอดประกอบการคน้ หาสาเหตขุ ้อบกพร่อง สอนคร้ังท่ี 3-8
ของคอมเพรสเซอร์ เวลา 30 ชม.

เรื่อง ความรเู้ บ้อื งต้นเกย่ี วกับคอมเพรสเซอร์

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
อร์แบบลูกสูบ (Reciprocating)

คอมเพรสเซอรแ์ บบสวอชเพลต (Swash plate)

คอมเพรสเซอรแ์ บบเวนโรตารีห่ รือใบพดั หมนุ ( Vane Rotary)

1. หลักการทว่ั ไปของคอมเพรสเซอรใ์ นระบบปรบั อากาศรถยนต์
คอมเพรสเซอรท์ ี่ใช้ในระบบปรับอากาศรถยนต์ จะเป็นแบบปิด และจะยึดตดิ อยู่กับ

เคร่ืองยนต์ โดยใช้กาลังของเครื่องยนต์มาหมุนให้คอมเพรสเซอรท์ างาน โดยใช้สายพานและจะ มี
คลัตชแ์ มเ่ หลก็ (Magnetic Clutch) ในการควบคุมใหค้ อมเพรสเซอร์ทางานและหยุดทางาน

รปู ที่ 3.1 แสดงคอมเพรสเซอร์ทต่ี ิดต้งั อย่กู บั เครอื่ งยนต์

2. คอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สูบ (Reciprocating Compressor)
เปน็ คอมเพรสเซอรแ์ บบท่ีใช้กนั อยโู่ ดยท่ัวไป โครงสรา้ งเหมอื นกบั คอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สบู ทา

ความเยน็ โดยท่ัวไป ปกติคอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สบู ของระบบปรบั อากาศรถยนต์ จะเปน็ แบบ 2
กระบอกสูบ (Two Cylinder) การทางานน้ันก็เหมอื นกนั คือ ในขณะท่ีลูกสูบหนึง่ เคลือ่ นทล่ี งในจังหวะ
ดูด ลูกสูบอีกลูกหนึ่งจะเคลอื่ นที่ขน้ึ จงั หวะอดั ในจงั หวะดูด ลน้ิ ดา้ นจา่ ย (Discharge valve) จะปิด และ
ลน้ิ ด้านดูดจะเปิดให้สารทาความเยน็ ที่เป็นแกส๊ จากทอ่ ด้านดดู เขา้ มา และในจังหวะอัด (ลูกสบู ทีเ่ คลือ่ นที่
ขนึ้ ) สารทาความเย็นท่เี ป็นแก๊สในกระบอกสบู จะถูกอดั ให้มคี วามดันสูง และลนิ้ ด้านจา่ ยจะเปิดให้สารทา
ความเย็นผา่ นออกทางท่อ ด้านสง่ (Discharge line) เพอื่ สง่ ไปยงั คอนเดนเซอร์ ต่อไป

คอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สูบที่นิยมใช้กนั คือคอมเพรสเซอร์ของยอร์ค (York) ใน
ประเทศไทยใช้อยู่ 3 ขนาด คือ เบอร์ 206 , 209 และ 210

รปู ท่ี 3.2 แสดงการทางานคอมเพรสเซอร์ แบบ 2 สบู

3. คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swash Plate Compressor)
คอมเพรสเซอร์สวอชเพลต ยงั จดั อยใู่ นชนดิ ของคอมเพรสเซอรท์ ใี่ ชล้ ูกสูบ แต่ลูกสูบ

ของแบบสวอชเพลตอยู่ในแนวนอน การเคล่ือนที่ของลูกสูบ เพื่อดูดและอัดสารทาความเย็นของ
คอมเพรสเซอร์แบบน้ีไม่ต้องใช้เพลาข้อเหว่ียง และก้านสูบเป็นตัวช่วยให้ลูกสูบเคล่ือนท่ี แต่ลูกสูบจะ
เลื่อนเขา้ ออกในกระบอกสบู ได้โดยการหมนุ ของสวอชเพลตอยู่ในตาแหนง่ เอียง 45 องศา กลา่ วคือ ขณะท่ี
แกนเพลาที่ต่อมาจากรอก (pulley)หมุน สวอชเพลตหรือแผ่นเอียงก็จะหมุนตามไปด้วย ซ่ึงทาให้ลูกสูบ
เคล่อื นท่ีเข้าออกในกระบอกสบู ทาให้เกิดการดูดอดั สารทาความเย็นได้ คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลตจะมี
ตั้งแต่ 5 สูบข้ึนไป เชน่ 6 สูบ และ 10 สูบ เป็นต้น

รปู ที่ 3.3 คอมเพรสเซอรแ์ บบสวอชเพลตแบบ 5 สบู

4. คอมเพรสเซอรแ์ บบเวนโรตาร่ี ( Vane Rotary)
เปน็ คอมเพรสเซอรท์ ใ่ี ช้ใบพัดหมนุ ซึ่งเป็นรนุ่ ใหมแ่ ละเปน็ ที่ยอมรบั กนั และกาลังจะเข้ามาแทนท่ี

คอมเพรสเซอรแ์ บบสวอชเพลต ซึ่งมลี กั ษณะดังน้ี
มปี ริมาตรดดู สงู จากน้อยไปกระท่งั สูงสุด , มคี วามเสียดทานนอ้ ยเน่อื งจากใชใ้ บพดั , มรี ะดับ

เสียงตา่ และส่ันสะเทือนนอ้ ย, มขี นาดเลก็ และน้าหนักเบา
ส่วนประกอบของคอมเพรสเซอร์ ซงึ่ ประกอบรวมกนั อยจู่ ะมีความเทย่ี งตรง และชอ่ งวา่ งระหว่าง

ชิน้ ส่วนน้อยมาก เนื่องจากชิน้ ส่วนตา่ ง ๆ มชี อ่ งว่างนอ้ ยมากเมื่อมกี ารถอดชนิ้ ส่วนออกมาซอ่ มหรอื
ตรวจสอบและประกอบเขา้ ไปใหม่จะเกิดความบกพรอ่ งไมเ่ ที่ยงตรง ทาให้การทางานของโรเตอร์และใบพดั
จะไมด่ ีเท่าท่ีควร

รูปท่ี 3.4 คอมเพรสเซอร์แบบเวนโรตารห่ี รอื ใบพัดหมุน ( Vane Rotary)

………… ใบงานที่ 3.1 หน่วยที่ 3

ชื่อหน่วย การถอดประกอบการค้นหาสาเหตุ สอนคร้ังที่ 3-8
ขอ้ บกพรอ่ งของคอมเพรสเซอร์

เรื่อง ความร้เู บอ้ื งต้นเก่ยี วกับคอมเพรสเซอร์ เวลา 30 ชม.

มื่อนักเรียนปฏบิ ตั ิงานตามใบงานที่ 3.1 แล้ว นกั เรียนสามารถอธิบาย หลักการเบ้ืองตน้
เก่ียวกบั คอมเพรสเซอร์ได้

คาสงั่ ใหน้ กั เรียนอธิบายเกี่ยวกบั คอมเพรสเซอร์ในระบบปรบั อากาศรถยนตด์ งั ต่อไปนี้
1. หลักการทางานทวั่ ไปของคอมเพรสเซอร์………………………………...……...….…

…………………………………………………………………………………………………….……………………...…….……..……………
……………………………………………………………………..………………………………………………………………………………..
….

…………………………………………………………………………………………………..…

2. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบลูกสบู ………………………………...………
…………………………………………………………………………………………………….……………………...…….……..……………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..


………………..………………………………………………………………………………..….

3. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต…………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………
………………………………………………..…

……………………...…….……..…………………………………………………………………………………..………………………………
………………………………………………..….

4. หลักการทางานของคอมเพรสเซอรแ์ บบเวนโรตารี่ …………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………
……………………………………………

………… เฉลยใบงานที่ 3.1 หน่วยที่ 3
ชือ่ หนว่ ย การถอดประกอบการค้นหาสาเหตุ สอนครั้งที่ 3-8
ขอ้ บกพร่องของคอมเพรสเซอร์ เวลา 30 ชม.

เรือ่ ง ความรู้เบ้ืองตน้ เกย่ี วกับคอมเพรสเซอร์

1. หลักการทัว่ ไปของคอมเพรสเซอร์

หลกั การทางานของคอมเพรสเซอรแ์ บบลูกสบู

คอมเพรสเซอร์ชนดิ นม้ี ลี กู สบู 2 กระบอกสูบ ในขณะที่ลกู สบู หนง่ึ เคลือ่ นทลี่ งในจังหวะ

ดดู ลกู สบู หน่งึ จะเคลื่อนทีใ่ นจังหวะอดั ในจังหวะดูดลิ้นดา้ นจา่ ยจะปิด และลิน้ ดา้ นดูดจะเปดิ ให้
สารทาความเยน็ จากท่อด้านดูดเขา้ มา และในจงั หวะอัดสารทาความเย็นในกระบอกสูบจะถูกอดั
ให้มแี รงดนั สงู และลน้ิ ด้านจา่ ยจะเปิดให้สารทาความเยน็ ผา่ นออกทางท่อด้านจ่าย

3. หลกั การทางานของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต

ลูกสูบของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลตจะอยู่ในแนวนอน การเคลื่อนท่ีไม่ต้องใช้เพลาข้อ
เหว่ยี ง กา้ นสบู เปน็ ตัวช่วยใหล้ ูกสบู เคลอื่ นท่ี ลกู สูบจะเลอ่ื นเขา้ ออกในกระบอกสบู ไดโ้ ดย การหมุน
ของสวอชเพลต อยู่ในตาแหน่งเอียง 45 องศา ทาให้เกิดการดูดอัดสารทาความเย็น
คอมเพรสเซอรแ์ บบน้จี ะมี ตง้ั แต่ 5 สบู ข้ึนไป เช่น 5 สบู และ 10 สูบ เปน็ ตน้

4. หลักการทางานของคอมเพรสเซอรแ์ บบเวนโรตาร่ี
เป็นคอมเพรสเซอรท์ ใี่ ชใ้ บพดั หมุน ซึง่ เปน็ รนุ่ ใหม่และเปน็ ทีย่ อมรบั กันและกาลงั จะเขา้ มา

แทนท่ีคอมเพรสเซอรแ์ บบสวอชเพลต ซึง่ มีลกั ษณะดังนี้

มีปริมาตรดดู สงู จากนอ้ ยไปกระท่งั สงู สุดมีความเสียดทานนอ้ ย เนอื่ งจากใช้ใบพดั มรี ะดับเสียง
ตา่ และสนั่ สะเทอื นน้อยมีขนาดเลก็ และนา้ หนักเบา

……………………….

………………

ชุดการสอนท่ี 4
การซ่อมบารงุ ระบบปรบั อากาศรถยนต์

โครงการสอนท่ี 4 หนว่ ยท่ี 4
ชือ่ วิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103 สอนครง้ั ที่ 8-10
เวลา 18 ชม.
ชอื่ หนว่ ย การซ่อมบารุงระบบปรบั อากาศรถยนต์

เร่อื ง 1. การวิเคราะห์สาเหตุและปญั หาในวงจรทางกล

2. การวิเคราะหส์ าเหตแุ ละปัญหาในวงจรไฟฟ้า รายการสอน
จุดประสงค์การสอน

1. หาสาเหตุข้อขัดข้องของระบบปรบั อากาศ 1. การวิเคราะห์สาเหตุและปัญหาในวงจรทางกล

รถยนต์ได้ 2. การวเิ คราะห์สาเหตุและปัญหาในวงจรไฟฟ้า
2. แกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบปรับอากาศ 3. การตรวจสอบคลัตชแ์ ม่เหลก็
4. การตรวจสอบเทอรม์ อสแตต
รถยนต์ได้ 5. การตรวจสอบสวิตช์ควบคมุ ความเร็วพัดลม

6. การตรวจสอบสวติ ช์ควบคุมความดัน

วิธีการสอน บรรยาย/ถาม - ตอบ

ส่ือการสอน สอ่ื ประกอบการสอนอุปกรณ์ 7 ชนดิ ชุดสาธิตระบบปรับอากาศรถยนต์

แมนนโิ ฟล์เกจ มัลตมิ ิเตอร์ เครอ่ื งมือถอดประกอบ ระบบปรับอากาศรถยนต์ ปั๊มสุญญากาศ

สารทาความเยน็ ซึ่งเป็นของจริง

ส่ือ ใบความรู้ แบบฝึกหัด ใบงาน แบบทดสอบ

การประเมินผล คะแนนจากการทาแบบทดสอบ หนงั สอื อ้างอิง บรรณานุกรมลาดบั ที่

กอ่ น/หลังเรยี น แบบประเมินผลใบงาน 1, 2, 4, 5, 7, 8, 9, 12

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน

…… แผนการสอนท่ี 4 หน่วยท่ี 4

ช่อื วิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103 สอนคร้ังที่ 8-10

ช่ือหน่วย การซ่อมบารุงระบบปรบั อากาศรถยนต์ เวลา 18 ชม.

สาระสาคญั
ระบบปรบั อากาศรถยนต์ เป็นระบบปรบั อากาศที่ ถูกใชง้ านอยา่ งหนกั เพราะตอ้ งการ

ความเย็นสบายแก่ผู้โดยสารและผู้ขับข่ี ตลอดช่วงเวลาที่มีการเดนิ ทาง การใช้งานอย่างต่อเน่ือง
ทาใหร้ ะบบปรบั อากาศเกดิ ขัดข้อง และเกิดการสกปรกท่ีอปุ กรณ์บางอยา่ งในระบบปรบั อากาศ
การซอ่ มบารงุ ดูแลรักษาระบบปรับอากาศตามระยะเวลาทีก่ าหนด จึงมีความสาคญั อยา่ งย่งิ ที่จะ
ยืดอายุการใชง้ านของระบบปรับอากาศ การมีความรู้ความเข้าใจในระบบปรบั อากาศ จึงมี
ความสาคญั และจาเปน็ ย่ิง ต่อช่างและนกั เรยี นทีจ่ ะจบไปเปน็ ชา่ ง เพอื่ จะได้ซ่อมบารุงและดูแล
รกั ษาเคร่ืองปรบั อากาศรถยนตใ์ หม้ อี ายุการใช้งานได้ยนื ยาวขน้ึ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
จุดประสงคท์ ั่วไป

เพอ่ื ใหน้ ักเรียน ซ่อมระบบปรับอากาศรถยนต์ได้

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เมื่อนกั เรียนเรียนชดุ การสอนที่ 4 แล้วนักเรยี นสามารถ

6. หาสาเหตุข้อขัดขอ้ งของระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้
7. แก้ไขข้อขัดขอ้ งของระบบปรับอากาศรถยนต์ได้
เนอื้ หา
1. การวเิ คราะห์สาเหตุและปัญหาในวงจรทางกล

2. การวเิ คราะห์สาเหตุและปญั หาในวงจรไฟฟ้า

…………………..

กิจกรรมการเรียนการสอน

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น
1.1 นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
1.2 ทบทวนอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์
1.3 นาเข้าสบู่ ทเรียน โดยวธิ กี ารซักถาม

2. ขั้นสาธติ หรือยกตวั อยา่ ง
2.1 ผูส้ อนยกตวั อยา่ งขอ้ ขัดขอ้ งระบบปรับอากาศรถยนต์
2.2 อธบิ าย วธิ ีการวิเคราะห์ถงึ สาเหตุของปัญหาทเ่ี กิดขึน้

3. ขนั้ ตอนฝกึ ปฏบิ ัติ
3.1 จดั ลาดบั ปัญหาเพอ่ื แกไ้ ข
3.2 ดาเนนิ การแก้ไขปัญหาตามข้ันตอนและวธิ กี าร

4. ขัน้ สรุปและตรวจสอบ
4.1 สรุปปญั หาทเ่ี กดิ ข้ึนรว่ มกัน
4.2 ตรวจสอบผลการซอ่ มบารุงและแก้ไขปัญหา

5. ขั้นฝกึ ใหเ้ กิดความชานาญ
5.1 ผู้สอนสรา้ งสถานการณใ์ ห้นักเรียน วิเคราะหป์ ัญหาสาเหตุของปญั หา
5.2 ดาเนินการฝกึ แกไ้ ขปญั หาที่เกดิ ขึ้น ซ่อมบารงุ ให้เกดิ ความชานาญ
5.3 ซ่อมบารุง แกไ้ ขปญั หาและป้องกนั ปัญหาทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึนอีก

6. ขน้ั ประเมนิ ผล
6.1 จากการสงั เกต
6.2 จากการซักถาม
6.3 ตรวจสอบการปฏิบัติงาน

ส่อื การเรียนการสอน

12. ใบความรู้ หน่วยที่ 4 เรื่องการซ่อมบารงุ ระบบปรบั อากาศรถยนต์
13. สอ่ื ประกอบการสอนอปุ กรณ์ 7 ชนดิ ซง่ึ เปน็ ของจรงิ
14. แบบทดสอบกอ่ น/หลงั เรียน
15. แบบฝกึ หดั
16. ใบงาน

การวดั ผล / ประเมินผล
การวัดผล วัดผลโดยวิธกี ารดงั น้ี

20. การทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
21. การซักถามระหวา่ งเรียน
22. ความสนใจระหวา่ งเรยี น
23. บันทกึ การปฏิบตั ิงาน
24. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
25. คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น

การประเมนิ ผล ประเมนิ ผลโดยถือเกณฑ์ กาหนดจากระดับคะแนนการวัดผลดังน้ี

คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดับคะแนน 0 ผลการเรียนตา่ กว่าเกณฑ์ข้ันตา่
คะแนนร้อยละ 50 ถงึ 54 (เกรด) 1 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ออ่ นมาก
คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 1.5 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ออ่ น
คะแนนรอ้ ยละ 60 ถงึ 64 ระดับคะแนน 2 ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑ์พอใช้
คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 (เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยูใ่ นเกณฑพ์ อใช้
คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 3 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ ี
คะแนนร้อยละ 75 ถงึ 79 ระดบั คะแนน 3.5 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดมี าก
คะแนนร้อยละ 80 ถึง (เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเย่ียม

100 ระดบั คะแนน
(เกรด)

ระดบั คะแนน
(เกรด)

ระดับคะแนน
(เกรด)

ระดบั คะแนน
(เกรด)

ระดบั คะแนน
(เกรด)

หมายเหตุ
น้าหนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 %

จากการทดสอบหลังเรยี น 20 %

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรยี น หนว่ ยที่ 4
ชื่อวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103 สอนครัง้ ที่ 8-10
เวลา 18 ชม.
ชอ่ื หนว่ ย การซ่อมบารุงระบบปรับอากาศรถยนต์

คาสัง่ จงทาเครอื่ งหมาย  ทับข้อความทีถ่ ูกตอ้ งท่สี ุดเพียงขอ้ เดยี ว

1. ในสภาวะปกติ ความดันสารทาความเย็น (R-12) ด้านต่าของระบบปรับอากาศรถยนต์จะมีแรงดันเท่าใด

ก. 8 – 12 psi ข. 15 – 20 psi

ค. 20 – 30 psi ง. 60 – 75 psi

2. ในสภาวะปกติทรี่ ะบบมีปริมาณสารทาความเย็นทเ่ี หมาะสมควรมสี ภาพเชน่ ไร

ก. เกจวัดความดนั ตา่ จะข้นึ สงู ข. ที่กระจกมองจะไม่เปน็ ฟองอากาศ

ค. อณุ หภูมิภายในจะเยน็ จดั ง. ไมม่ ีข้อใดถกู

3. โดยปกติฟวิ สท์ ี่ควบคุมระบบปรับอากาศรถยนต์ ควรใส่อย่างน้อยก่แี อมป์

ก. 20 แอมป์ ข. 25 แอมป์

ค. 30 แอมป์ ง. 35 แอมป์

4. ในปัจจบุ ันเทอร์มอสแตตชนดิ ใดทน่ี ิยมใช้กันมากทีส่ ดุ

ก. เทอร์มอสแตตแบบกระเปาะ ข. เทอร์มอสแตตแบบโลหะสองชนิด

ค. เทอรม์ อสแตตแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ง. ถูกทุกข้อ

5. หนา้ สัมผัสของเทอรม์ อสแตตแบบกระเปาะควรจะแยกออกทีอ่ ุณหภมู อิ วี าปอเรเตอร์มคี ่าเท่าใด

ก. 18 ฟ ข. 22 ฟ

ค. 26 ฟ ง. ต่ากว่า 32 ฟ

6. การตรวจสอบสภาวะการทางานของระบบปรบั อากาศรถยนต์เครือ่ งยนต์ควรทางานทค่ี วามเรว็

รอบเท่าใด

ก. 1000 รอบ/นาที ข. 1500 รอบ/นาที

ค. 2000 รอบ/นาที ง. 2500 รอบ/นาที

7. การปรับรีโอสตัทหรอื เทอรม์ อสแตตเปล่ียนแปลงอะไร

ก. แรงดันไฟฟา้ ข. กระแสไฟฟา้

ค. กาลังวัตต์ ง. ความตา้ นทาน

8. สวติ ช์ควบคุมความดนั มีคุณสมบัติอย่างไร

ก. ควบคมุ ปริมาณสารทาความเยน็

ข. ควบคมุ ความดนั เกนิ พิกัด

ค. ควบคุมความดนั ต่า

ง. จะตัดวงจรเมื่อความดันสารทาความเยน็ ดา้ นต่าตา่ กวา่ 28 psi

9. ในการตรวจเทอร์มสิ เตอร์ที่อณุ หภูมิ 25 ซ ค่าความต้านทานควรจะอยทู่ ีเ่ ทา่ ใดจงึ จะถอื วา่ ใช้ได้

ก. 200 – 250  ข. 800 – 900 

ค. 1200 – 1500  ง. 1800 – 2000 

10. กระจกมองสารทาความเยน็ มีไวเ้ พื่ออะไร

ก. ดคู วามดันสารทาความเยน็ ข. ดูสารทาความเยน็ ในสถานะแกส๊

ค. ดูสารทาความเย็นในสถานะของเหลว ง. ดูน้ามันคอมเพรสเซอร์

แบบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน หน่วยที่ 4
ช่ือวิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนครง้ั ท่ี 8-10
เวลา 18 ชม.
ช่ือหน่วย การซอ่ มบารุงระบบปรับอากาศรถยนต์

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรยี น ชุดการสอนที่ 4

1. ค 2. ข 3. ก 4. ง 5. ค
6. ค 7. ง 8. ง 9. ก 10. ค

…….. ใบความร้ทู ่ี 4.1 หน่วยที่ 4

ชือ่ หน่วย การซอ่ มบารงุ ระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครง้ั ที่ 8-10

เรอื่ ง การวเิ คราะห์สาเหตุและปัญหาในวงจรทางกล เวลา 18 ชม.

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
เพื่อใหน้ กั เรยี นสามารถวเิ คราะห์ปัญหาเพ่ือหาสาเหตแุ ละแก้ไขปัญหาที่เกดิ ขน้ึ ระบบทางกล

ของระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้

เน้ือหา

การตรวจสอบระบบปรบั อากาศด้วยแมนนิโฟลดเ์ กจ

ในการตรวจซ่อมระบบปรับอากาศรถยนต์ จาเป็นจะตอ้ งใชแ้ มนนิโฟลด์เกจ ตรวจสอบค่า
ความดันของระบบทัง้ ด้านความดนั ต่าและความดันสงู แลว้ นาค่าความดันในระบบที่อา่ นไดม้ า
วเิ คราะห์หาสาเหตุทเ่ี ปน็ ไปไดจ้ ากคา่ ความดันจากแมนนโิ ฟลดเ์ กจทผี่ ิดปกติ ซึ่งเป็นวิธีการหา
ข้อขัดขอ้ งอยา่ งหน่ึงในวงจรทางกลหรือวงจรสารทาความเยน็

การตดิ ตง้ั แมนนิโฟลดเ์ กจ มขี นั้ ตอนในการตดิ ตงั้ ดงั น้ี

1. ปดิ วาลว์ ดา้ นความดันสูง (HI) และดา้ นความดนั ต่า (LO)

2. ตอ่ ท่อดา้ นความดนั ตา่ เข้ากับลิ้นบรกิ ารดา้ นดดู คอมเพรสเซอร์ (S)
3. ต่อทอ่ ด้านความดันสงู เขา้ กับลน้ิ บรกิ ารด้านส่งคอมเพรสเซอร์ (D)

4. การตรวจสอบตามสภาวะ ดงั ตอ่ ไปนี้
4.1 อณุ หภมู ิท่ที อ่ ทางเข้าต้องมีคา่ เท่ากบั 30-35 องศาเซลเซยี ส(86-95 องศาฟาเรน
ไฮต์)

4.2 เคร่อื งยนตท์ างานท่ี 2,000 รอบต่อนาที
4.3 เปดิ สวติ ช์ระบบปรบั อากาศ

4.4 เปิดสวติ ช์พดั ลมไปท่ีความเร็วสงู (HI)
4.5 เปดิ สวติ ช์ควบคมุ อณุ หภูมิ (เทอร์มอสแตต) ไปทีค่ วามเย็นสูงสดุ
ผลที่ค่าความดนั แมนนิโฟลด์เกจ แสดงออกมาอาจมีการเปล่ียนแปลงไปบ้างเล็กน้อย

เน่อื งจากสภาพอณุ หภูมิโดยรอบการวเิ คราะห์ปัญหาจากแมนนโิ ฟลด์เกจ

1. สภาวะปกตคิ า่ ท่อี ่านได้จากเกจ:

ดา้ นความดันต่า ดา้ นความดันสูง

R- 0.15-0.25 Mpa (1.5-2.5 kgf/cm2,21- 1.37-1.57 Mpa(14-16 kgf/cm2,199-
134a 36 psi) 245 psi)

R - 12 0.15-0.20 Mpa (1.5-2.0 kgf/cm2,21- 1.42-1.47 Mpa(14.5-15 kgf/cm2,206-

28 psi) 213 psi)

รูปที่ 4.1 การแสดงค่าแมนนิโฟลดเ์ กจในสภาวะปกติ

………………………….

3. อากาศเขา้ ไปในระบบปรบั อากาศ (ทางเดินสารทาความเย็น)

รปู ที่ 4.3 การแสดงคา่ ของแมนนโิ ฟลดเ์ กจเม่ือมกี ารเปดิ ระบบสารทาความ
เยน็

และเติมสารทาความเยน็ โดยทาสุญญากาศไมห่ มด

ปญั หาทพ่ี บ สาเหตุที่เปน็ ไปได้ การวิเคราะห์ วธิ ีแก้ไข

- ความดนั ทเ่ี กจท้ัง - มีอากาศเข้าไปใน - มอี ากาศเข้าไปใน (1) เปลย่ี นรีซีฟเวอร์

สองด้านจะอา่ นค่าได้ ระบบการทาความ ระบบการทาความเยน็ ดรายเออร์
สูง เย็น
- ทอ่ ทางดา้ นความ (2) ทาสญุ ญากาศและ

ดนั ตา่ จะมีความรอ้ น หรอื เตมิ สารทาความเย็น
สูง ในปริมาณที่เหมาะสม

- เมอื่ มองทีก่ ระจก - การทาสญุ ญากาศใช้
มองสารทาความเย็น เวลานอ้ ยเกินไป
จะเห็นเปน็ ฟองอากาศ

…………………
4. สารทาความเยน็ มากเกินไป

รปู ที่ 4.4 การแสดงค่าแมนนโิ ฟลดเ์ กจเมอ่ื สารทาความเย็นมากเกินไป

ปญั หาทพี่ บ สาเหตุทเี่ ปน็ ไปได้ การวิเคราะห์ วิธีแก้ไข

- ความดันที่เกจวดั - มสี ารทาความ - สารทาความเยน็ มาก (1) ทาความสะอาด
ทัง้ สองด้านจะอ่านคา่ คอนเดนเซอร์
ได้สงู เย็นในระบบมาก เกนิ ไปในวงจรการทา (2) ตรวจการทางาน

- ท่ีความเร็วรอบของ เกนิ ไป ความเยน็ หรือ เตมิ ของพดั ลมระบาย
เครือ่ งยนต์ตา่ สารทา ความรอ้ น
- การระบายความ สารทาความเย็นมาก
ความเยน็ จะไหลได้ (3) ถา้ (1) และ (2)
อยา่ งราบเรียบ (ไม่ ร้อนของ เกนิ ไป ทางานปกตเิ ติมสารทา
เกิดฟองอากาศ) เม่ือ ความเยน็ ในปรมิ าณที่
มองดูท่กี ระจกมอง คอนเดนเซอร์ไม่ - การระบายความรอ้ น
สารทาความเยน็ เพยี งพอ ของคอนเดนเซอร์ชารดุ พอเหมาะ

เสียหายหรอื พัดลมไม่

ทางาน

5. การไหลเวียนของสารทาความเยน็ ไม่ดี

รปู ที่ 4.5 การแสดงคา่ แมนนิโฟลดเ์ กจเมอ่ื คา่ ความเย็นไมเ่ พียงพอเพราะการอดุ ตัน

ปญั หาทพ่ี บ สาเหตทุ ่ีเปน็ ไปได้ การวิเคราะห์ วิธีแก้ไข

- ความดันท่เี กจวัดทั้ง - สงิ่ สกปรกในรซี ฟี เวอร์ - เกิดการอุดตันที่ - เปลีย่ นรีซฟี เวอร์
ดรายเออร์
สองด้านจะอ่านคา่ ได้ ดรายเออร์จะขัดขวาง รซี ีฟเวอร์ดรายเออร์
ตา่ การไหลของสารทาความ

- มนี า้ แข็งเกาะบนทอ่ เยน็

ซงึ่ ออกจากรีซฟี เวอร์

ดรายเออร์

6. ไมม่ กี ารไหลเวยี นของสารทาความเยน็

รปู ที่ 4.6 การแสดงค่าแมนนโิ ฟลด์เกจเม่อื ไม่มกี ารไหลเวียนของสารทาความเยน็

ปญั หาทพี่ บ สาเหตุท่ีเป็นไปได้ การวเิ คราะห์ วิธแี ก้ไข

- ความดนั ทเ่ี กจดา้ น - ความชืน้ หรือสงิ่ - ไมม่ ีการไหลเวยี น (1) ตรวจทีท่ ่อตรวจ
อุณหภูมิที่ เอก็ ซ์
ความดนั ตา่ จะอยู่ที่ค่า สกปรกในระบบของ ของสารทาความเย็น แพนชน่ั วาลว์ และ
สุญญากาศ และความ สารทาความเยน็ EPR
(2) ทาความสะอาด
ดันทเ่ี กจด้านความดนั - มสี ารทาความเยน็ เอ็กซ์แพนชัน่ วาล์ว
โดยใช้ลมเป่า ถา้ ไม่
สงู จะมีคา่ ตา่ รวั่ ออกจากทอ่ สามารถทาความ
สะอาดได้เปลี่ยนเอก็ ซ์
- มีน้าแข็งเกาะบน ตรวจจับอณุ หภมู ิของ แพนชน่ั วาล์ว
(3) เปลย่ี นรซี ีฟเวอร์
ท่อทางเขา้ และทางออก เอก็ ซแ์ พนช่ันวาล์ว ดรายเออร์

ของรซี ีฟเวอร์ดราย (4) ทาสุญญากาศ
แล้วเตมิ สารทาความ
เออรห์ รอื ทเ่ี อ็กซ์ เยน็ ในปรมิ าณท่ี
เหมาะสมเมอ่ื มีการรั่ว
แพนชน่ั วาลว์ จากท่อตรวจจับ
อุณหภูมเิ ปลยี่ นเอก็ ซ์
แพนช่ันวาล์ว

7. สารทาความเยน็ ในระบบไม่เพยี งพอ

รูปท่ี 4.7 การแสดงคา่ แมนนิโฟลด์เกจเมื่อสารทาความเย็นไมเ่ พยี งพอเพราะเกิดรอยรว่ั

ปญั หาทพี่ บ สาเหตทุ เ่ี ป็นไปได้ การวเิ คราะห์ วธิ แี กไ้ ข

- ความดนั ทีเ่ กจวัด - เกดิ การรว่ั ที่ - เกิดการร่ัวของสาร (1) ตรวจการร่ัวของ
ทาความเย็น
ทั้งสองดา้ นจะอา่ นคา่ อุปกรณบ์ างชน้ิ ใน สารทาความเยน็ ด้วย
ไดต้ ่า ระบบการทาความ หรอื เครื่องมือตรวจสอบ
- จะเกดิ ฟองอากาศ เยน็ การรว่ั และทาการ
- สารทาความเย็นท่ี
อย่างต่อเน่อื งเมอื่ ไหลเวียนในระบบไม่ ซ่อมถ้าจาเป็น
มองดทู ก่ี ระจกมอง เพยี งพอ (2) ถ้าคา่ ทอี่ า่ นไดจ้ าก

สารทาความเยน็ เกจมีคา่ ใกลเ้ คยี งศูนย์
- ความเย็นไม่ เม่อื ตอ่ เกจวดั เข้ากับ
เพียงพอ ระบบทาความเย็นแลว้

ใหต้ รวจสอบการรว่ั
และซอ่ มให้ เรียบร้อย

แลว้ ทาสญุ ญากาศ
(3) เตมิ สารทาความ
เยน็ ในปรมิ าณท่ี

พอเหมาะ

8. การติดตง้ั เอ็กซ์แพนช่ันวาลว์ /ท่อตรวจจับอณุ หภมู ไิ มเ่ หมาะสม (เอก็ ซ์แพนชั่นวาล์วเปิดนาน
เกนิ ไป)

รูปที่ 4.8 การแสดงคา่ แมนนโิ ฟลด์เกจเม่อื ความเยน็ ไมเ่ พียงพอ เพราะสารทาความเย็นมากเกินไป

ปญั หาท่พี บ สาเหตุทีเ่ ปน็ ไปได้ การวิเคราะห์ วิธีแก้ไข

- ความดนั ทเ่ี กจ - เกิดขอ้ ขด้ ขอ้ งท่ี - มีสารทาความเย็น (1) ตรวจตาแหนง่
ทง้ั สองด้านจะอ่านค่า เอก็ ซแ์ พนชนั่ วาลว์ มากเกินไปทที่ อ่ ด้าน ติดต้ังท่อตรวจจับ
ได้สูง หรือติดตั้งท่อตรวจจบั ความดนั ต่า อณุ หภูมิ
อณุ หภมู ิในตาแหน่งที่ - เอ็กซ์แพนช่ัน (2) ถ้า (1) ปกติ
- มหี ยดนา้ หรือ ไม่ถูกตอ้ ง วาลว์ เปดิ นานเกินไป ,ตรวจเอ็กซแ์ พนชั่น
น้าแขง็ อย่บู นทอ่ ด้าน วาล์วเปลยี่ นถ้า
ความดนั ตา่ ใน จาเปน็
ปรมิ าณทม่ี าก

...............

9. เกดิ ความบกพรอ่ งทีก่ าลังอัดของคอมเพรสเซอร์

รปู ที่ 4.9 การแสดงค่าแมนนิโฟลดเ์ กจเมื่อไมม่ ีความเยน็

ปัญหาท่พี บ สาเหตุที่เปน็ ไปได้ การวิเคราะห์ การแก้ไข
- เกดิ ขอ้ บกพรอ่ งกบั
- ความดนั ทเ่ี กจด้านความ - เกิดการร่ัวขึ้น กาลงั อัด - ซอ่ มหรือเปลยี่ น
ดันตา่ จะอ่านค่าได้สูง ภายใน คอมเพรสเซอร์
- ความดนั ท่เี กจด้านความ คอมเพรสเซอร์ - วาลว์ ร่วั หรือชารุด
ดันสูงจะอา่ นค่าไดต้ ่า เสยี หาย

………… ใบงานที่ 4.1 หนว่ ยท่ี 4

ชอื่ หน่วย การซ่อมบารุงระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนคร้งั ที่ 8-10

เร่อื ง การวิเคราะห์สาเหตแุ ละปัญหาในวงจรทางกล เวลา 18 ชม.

จดุ ประสงคก์ ารเรียน
เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถบอกวิธแี กไ้ ขปญั หาหรอื ข้อบกพร่องทีเ่ กิดข้ึนกบั ระบบปรบั อากาศรถยนต์

ดว้ ยการใชแ้ มนนโิ ฟลดเ์ กจได้

รายการเคร่ืองมืออปุ กรณ์
1. แมนนิโฟลด์เกจ
2. ชุดฝึกระบบปรบั อากาศรถยนต์ 5 เครือ่ ง
3. ประแจปากตายเบอร์ 1 ชุด

คาสั่ง ให้นักเรียนติดตงั้ แมนนิโฟลด์เกจเข้ากับชดุ ฝึกระบบปรบั อากาศรถยนตท์ ้งั 5 เครอ่ื ง
และวเิ คราะหป์ ญั หาพรอ้ มกบั บอกวธิ ีแก้ไขท่ีเกดิ ขึ้น

ลาดับขน้ั ปฏบิ ัติงาน

1. เตรียมเครอ่ื งมือและอปุ กรณ์
2. ปิดวาล์วทัง้ สองด้านของแมนนิโฟลด์เกจและต่อท่อแมนนโิ ฟลด์เกจทั้งสองเข้ากับ
ลิ้นบรกิ ารของคอมเพรสเซอร์

3. เดนิ เครือ่ งยนต์ ท่ี 2,000 รอบ/นาที เปิดสวติ ช์พัดลมและสวิตช์ควบคุมอณุ หภูมิ
(เทอรม์ อสแตต) ไปตาแหนง่ สงู สดุ

4. จดบนั ทึกคา่ ความดนั ทัง้ ดา้ นต่าและดา้ นสงู ลักษณะการข้นึ ลงของเขม็ แมนนโิ ฟลด์เกจ
ลงในตารางเพ่ือวเิ คราะห์ปัญหาเพื่อหาสาเหตแุ ละแก้ไขปัญหา ทั้ง 5 เคร่ือง

5. เกบ็ เคร่อื งมอื และทาความสะอาดบริเวณปฏบิ ัตงิ าน

………

ใบความรู้ท่ี 4.2 หนว่ ยที่ 4
ชอื่ หนว่ ย การซอ่ มบารุงระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครง้ั ท่ี 8-10
เวลา 18 ชม.
เรื่อง การวิเคราะห์สาเหตุและปญั หาในวงจรไฟฟา้

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
เพื่อให้นักเรยี นสามารถวิเคราะหป์ ัญหาเพอ่ื หาสาเหตแุ ละแกไ้ ขปัญหาท่เี กิดข้นึ กบั วงจร

ไฟฟา้ ของระบบปรบั อากาศรถยนต์

เนอ้ื หา

1. วงจรไฟฟา้ ระบบปรบั อากาศรถยนต์
2. คลตั ช์แมเ่ หลก็
3. เทอรม์ อสแตต

4. สวติ ช์ควบคุมมอเตอรพ์ ัดลม (Blower Control Switch)

1. วงจรไฟฟา้ (Electrical Circuit)
วงจรไฟฟ้าของระบบปรับอากาศรถยนตแ์ ยกจากวงจรไฟภายในรถยนต์ และแยกจาก

กล่องฟวิ ส์ (fuse block) หรอื สวติ ชจ์ ุดระเบิด (ignition switch) สายไฟฟ้าเข้าระบบปรับอากาศ

ควรจะใส่ฟิวส์ 20 แอมแปร์ และควรใชส้ ายเบอร์ 12

อุปกรณ์หลักในวงจรไฟฟา้ ระบบปรบั อากาศรถยนต์ คือ มอเตอร์พดั ลมจะมีตวั ควบคมุ

ความเรว็ คือ รีโอสตตั หรืออาจเป็นสวติ ชป์ รับความเรว็ สามหรอื สี่ความเร็ว รีโอสตัตจะทางานโดยการ
ปรับเปลย่ี นความตา้ นทาน จะแตกตา่ งจากสวติ ช์แบบสามหรือสีค่ วามเร็วท่ปี รับความเรว็ ได้
ตามลาดับเท่าน้ัน

เทอร์มอสแตตเปน็ ตวั ควบคมุ อุณหภมู ิของการปรับอากาศใหอ้ ย่ใู นช่วงท่ตี อ้ งการโดยการตัด
และตอ่ วงจรไฟทเี่ ข้าไปเลี้ยงคลัตชแ์ มเ่ หลก็ ตวั เทอรม์ อสแตตมที ่อเลก็ ๆ สาหรับรับสัมผัส ทาบติด
อยกู่ บั ทางลมออกของอีวาปอเรเตอร์ ซึง่ จะคอยควบคุมอุณหภูมิทางดา้ นนั้นใหอ้ ยู่ในช่วงท่ีต้องการ
โดยปกตเิ ทอรม์ อสแตตจะมีหนา้ สมั ผัสท่ีต่อตลอดเพ่อื ใหม้ กี ระแสไฟฟา้ เลยี้ งคลตั ชแ์ ม่เหล็ก เป็นผลให้
คอมเพรสเซอร์ทางาน ดดู อดั สารทาความเยน็ เมอ่ื อุณหภมู ิของอีวาปอเรเตอรล์ ดต่าลงประมาณ
33 ฟ หรือ 0 ซ เทอรม์ อสแตตจะเปิดวงจรตัดการทางานคลัตช์แม่เหล็ก เป็นผลให้
คอมเพรสเซอรห์ ยุดทางาน

แบตเตอรี่ คลตั ชแ์ ม่เหลก็

สวิตช์
จุดระเบิด

ฟิ วส์ เทอร์มอสแตต

สวติ ชพ์ ดั ลม มอเตอร์พดั ลม

รูปที่ 4.10 วงจรไฟฟ้าระบบปรับอากาศรถยนต์

2. คลัตช์แมเ่ หล็ก (Megnetic Clutch)
คลตั ชแ์ มเ่ หลก็ คือ อุปกรณห์ น่งึ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ โดยเปน็ สว่ นหน่งึ ของ

คอมเพรสเซอร์ทาหนา้ ท่ีตดั และต่อกาลงั งานจากเคร่ืองยนต์กับเพลาของคอมเพรสเซอร์ และอาศยั
อานาจแมเ่ หล็กไฟฟา้ เป็นตัวควบคุม

รอก ขดลวด
น็อตยึด

น็อตยึด
แหวน

คอมเพรสเซอร์

แผ่นกด

รปู ที่ 4.11 คลัตชแ์ ม่เหลก็ ยึดติดกับตวั คอมเพรสเซอร์

คลตั ชแ์ มเ่ หล็กจะมหี ลกั การทางานเหมอื นๆกนั ซ่ึงสามารถแบง่ ออกได้ 2 แบบ คือ

2.1 แบบสนามแมเ่ หล็กอยู่กบั ที่ (Stationary field clutch)

แบบนี้คอ่ นขา้ งนยิ มใช้กนั มากเพราะมกี ารออกแบบใหม้ ีชิน้ ส่วนนอ้ ยทาให้ไม่ยงุ่ ยาก โดย
ขดลวดของสนามแม่เหล็กไฟฟ้านี้จะยดึ อยูด่ า้ นหน้าของคอมเพรสเซอร์ โดยมีรอก ( pulley) สวม
กบั ขดลวดและหมนุ ฟรีไปกับเครอื่ งยนต์ แผ่นคลัตชจ์ ะยึดกับเพลาของคอมเพรสเซอร์

เมอื่ เปดิ สวิตช์ใหก้ ระแสไฟฟา้ เขา้ ไปเลี้ยงขดลวดสนามแมเ่ หลก็ จะเกดิ อานาจแม่เหล็ก
เหนยี่ วนาและดูดแผ่นกดเข้ามาจบั กับหน้าสมั ผัสของรอก (pulley)ทาให้เพลาของคอมเพรสเซอรห์ มุน
ตามรอก (pulley)ไปดว้ ย คอมเพรสเซอร์จะอัดสารทาความเยน็ หมายถงึ ระบบปรับอากาศจะ
เริม่ ทางาน

สวติ ชจ์ ุดระเบิด

แบตเตอร่ี

คลตั ชแ์ มเ่ หลก็ สวติ ชค์ วบคมุ ความดนั
วงจรไฟฟ้ า

รปู ที่ 4.12 คลัตชแ์ ม่เหลก็ แบบสนามแมเ่ หลก็ อยกู่ ับที่

เมอื่ เทอรม์ อสแตตไม่ทางานหรอื ปดิ สวิตช์ ทาให้กระแสไฟฟา้ ถกู ตัดออกไปเล้ียงขดลวด
สนามแม่เหลก็ ทาให้อานาจการเหนย่ี วนาหมดลง แผน่ กดจะแยกออกจากหน้าสมั ผัสของรอก
(pulley) คอมเพรสเซอร์จะหยดุ หมุน สว่ นตวั รอก (pulley) จะหมนุ ฟรไี ปกบั เครอ่ื งยนต์

2.2 แบบสนามแมเ่ หล็กเคลอ่ื นที่ (Rotation field clutch)

คลตั ช์แมเ่ หลก็ แบบน้ตี ัวขดลวดจะเปน็ สว่ นประกอบเดียวกบั รอก (pulley) ซ่ึงขดลวดจะ
หมนุ ไปพร้อมกับรอก (pulley) ท่ีหมนุ ฟรไี ปกับเครื่องยนต์

รอกหมุน
เพลาไมห่ มนุ
แผ่นกดแยกออก

รอกหมนุ
เพลาหมุน
แผ่นกดจบั อยู่

รปู ที่ 4.13 ภาพตดั ของคลัตช์แม่เหลก็ แบบสนามแม่เหลก็ เคลอ่ื นท่ี
เม่อื กระแสไฟฟ้าถูกป้อนเข้าไปเลีย้ งขดลวดสนามแมเ่ หล็ก โดยผา่ นทางแปรงถ่าน ก็จะเกดิ
การเหนย่ี วนาและดดู เอาแผน่ กดเข้ากับมาติดกับรอก (pulley) และทาให้คอมเพรสเซอรเ์ รมิ่ ทางาน
และเช่นเดียวกันเมอ่ื เทอรม์ อสแตตหรอื สวติ ชถ์ กู ตัดทาใหไ้ มม่ กี ระแสไฟฟา้ ไปเลย้ี งขดลวด อานาจ
สนามแมเ่ หล็กหมดลงทาใหแ้ ผน่ กดแยกออกจากหน้าสัมผัสของรอก (pulley) เปน็ ผลให้

คอมเพรสเซอร์หยุดทางาน รอก (pulley) จะหมุนฟรีไปกบั เคร่ืองยนต์

สรุปไดว้ ่าคลัตชแ์ มเ่ หลก็ ทงั้ สองแบบ อาศยั หลักการทางานจากการเหนย่ี วนาของ

สนามแม่เหลก็ เชน่ เดยี วกัน โดยทวั่ ไปแลว้ ขดลวดสนามแมเ่ หลก็ จะมแี บบท่ใี ช้กับแบตเตอร่ี 12
โวลต์ และ 24 โวลต์ ดังน้ันจะต้องเลือกขดลวดใหถ้ ูกต้อง มฉิ ะนน้ั จะเกิดปญั หาขน้ึ เช่น ถา้
เอาขดลวดขนาด 24 โวลต์ไปใช้กบั ขนาด 12 โวลต์ จะทาใหเ้ กิดความเข้มสนามแมเ่ หล็กน้อย

จะทาให้หนา้ สัมผัสของแผน่ กดลืน่ ในทางตรงข้ามกนั ถ้านาขดลวดขนาด 12 โวลต์ ไปใชก้ ับ
ขนาด 24 โวลต์ จะทาใหเ้ กดิ การชอ็ ตวงจรของขดลวด เพราะขดลวดไมส่ ามารถทนตอ่

แรงดันไฟฟา้ ท่สี ูงกว่าได้

……………..

3. เทอรม์ อสแตต (Thermostat)

เทอร์มอสแตต ทาหน้าที่ควบคมุ อุณหภูมิภายในห้องโดยสารใหเ้ หมาะสมกับความต้องการท่ี
เรากาหนด

แบตเตอรี่ คลตั ชแ์ มเ่ หล็ก กระเด่ือง
หนา้
สมั ผสั

ส่วนพบั ยดื (Belleow)

รปู ท่ี 4.14 เทอร์มอสแตต ปรับความเยน็

มอเตอร์ กระเปาะ
พดั ลม
สวิตช์

เทอรม์ อสแตตท่ีใชพก้ ดับั ลรมะบบปรับอากาศรถยนต์มีอยู่ 3 แบบ คอื

3.1 เทอร์มอสแตตแบบกระเปาะ (bulb bellow type)

เทอร์มอสแตตแบบกระเปาะ เปน็ แบบที่อาศัยหลักการขยายตวั ของของเหลวหรอื แกส๊ ท่ี
บรรจอุ ย่ใู นกระเปาะ โดยที่กระเปาะจะสัมผัสกับส่วนที่มีอณุ หภูมิสูงข้นึ และตา่ ลง ซงึ่ มผี ลทาให้
ของเหลวหรือแก๊สขยายหรอื หดตวั ซึ่งมีผลทาให้หน้าสัมผสั ต่อกันหรอื แยกจากกัน ทาใหเ้ กิดการ
ควบคมุ การทางานของคลัตช์แม่เหลก็

ส่วนพบั ยดื (Bellow)

กระเปาะ

รปู ท่ี 4.15 แสดงการทางานของเทอร์มอสแตตแบบกระเปาะ

…………………

จากทีเ่ ทอร์มอสแตตแบบกระเปาะ เปน็ อปุ กรณ์ที่มีขนาดเล็กสามารถติดต้งั ไดง้ า่ ย จงึ
คอ่ นข้างเป็นทน่ี ิยมใช้มาก แต่จากที่ภายในมีการบรรจขุ องเหลวหรอื แก๊ส ดงั นัน้ การถอดประกอบ
และติดตง้ั ควรกระทาด้วยความระมดั ระวัง

วิธกี ารตรวจสอบเทอร์มอสแตตแบบกระเปาะ สามารถกระทาไดด้ งั น้ี
1. หนา้ สมั ผสั ของเทอรม์ อสแตตควรแยกออกจากกันเมื่ออณุ หภมู ทิ ี่อีวาปอเรเตอร์
ประมาณ 26 องศาฟาเรนไฮต์ หรอื – 3 องศาเซลเซียส
2. หน้าสัมผัสของเทอร์มอสแตตจะเกาะกนั อกี ครัง้ เม่อื อณุ หภมู ิอีวาปอเรเตอร์สูงข้ึนถึง
38 องศาฟาเรนไฮต์หรอื 3 องศาเซลเซยี ส
3. ค่าความดันดา้ นต่าทแ่ี มนนโิ ฟลดเ์ กจ ควรอยู่ที่ประมาณ 26 – 32 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
ซึง่ เปน็ อุณหภมู ติ ดั และต่อของเทอร์มอสแตต
4. ทดสอบการทางานของเทอรม์ อสแตตอกี 2 – 3 ครัง้ เพ่ือความมัน่ ใจของเทอรม์ อสแตต
การปรับตั้งเทอร์มอสแตตแบบกระเปาะ
ซ่ึงเป็นการปรบั แตง่ ตาแหน่งอณุ หภูมจิ ดุ ตัดและจุดตอ่ ของเทอรม์ อสแตต โดยมขี ้ันตอนดงั นี้
ถอดอปุ กรณ์เพือ่ ให้สามารถนาไขควงปรบั แต่งท่ีสกรูของเทอร์มอสแตตได้
ปรับสกรูในทศิ ทางทวนเข็มนาฬกิ าจะทาให้อุณหภูมิภายในห้องโดยสารเย็นจัดมากยิ่งขึน้
ในทางตรงข้ามการปรับสกรูตามเข็มนาฬิกาจะทาใหภ้ ายในห้องโดยสารอุณหภมู ิสงู ขน้ึ

ทดสอบการทางานของเทอรม์ อสแตตได้ค่าใกล้เคียงกบั ท่คี วรจะเป็นหรอื ไม่ ใหท้ ดสอบ

2 – 3 ครงั้

4. ถ้าทดสอบแล้วไดค้ า่ ท่ีไมถ่ กู ตอ้ งและไมส่ ามารถปรบั แต่งได้ ต้องเปล่ียนเทอร์มอสแตตใหม่

3.2 เทอร์มอสแตตแบบการขยายตวั ของโลหะสองชนิด (bimetal type)

เทอร์มอสแตตแบบน้ีอาศัยหลักการท่ีนาโลหะสองชนิดมาตรึงติดกัน เม่ือได้รับความ
ร้อนมากขึ้นโลหะชนดิ ท่ีขยายตวั ได้มากจะงอไปทางด้านโลหะชนิดท่ีขยายตัวได้น้อย ในทางตรงข้าม
เม่ืออุณหภูมิลดต่าลงโลหะชนิดท่ีขยายตัวได้น้อยจะหดตัวและงอไปด้านที่โลหะขยายตัว ได้มาก ซึ่ง
ลักษณะการงอของโลหะทั้งสองชนิดจะไปดันให้สวติ ช์ปิดและเปดิ ตามต้องการ

โลหะตา่ งชนิดตรึงติดกนั

โลหะอินวา ทองเหลืองหรื อเหล็ก
ขยายตวั ไดน้ อ้ ย ขยายตวั ไดม้ าก

อุณหภูมิปกติ อณุ หภูมิเพ่ิมข้ึน อณุ หภูมิลดลง

รปู ที่ 4.16 แสดงการขยายตวั ของโลหะสองชนดิ ท่ีนามาตรึงตดิ กัน

3.3 เทอร์มอสแตตแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic type)
สาหรบั เทอรม์ อสแตตแบบน้มี ักเรียกว่า เทอรม์ ิสเตอร์ (thermister) เป็นแบบท่ีใช้สาร

กงึ่ ตัวนาท่ีมีค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานเปน็ ลบ (negative resistance) ซึง่ เทอรม์ สิ เตอร์จะมีขอ้ ดี
คอื มีความไวตอ่ การเปลยี่ นแปลงอณุ หภูมิดีมากซึง่ ดกี วา่ แบบอืน่ ๆ แต่เทอร์มิสเตอรต์ ้องใชร้ ่วมกบั
อุปกรณอ์ ื่นด้วยจงึ จะสามารถทางานได้

การทดสอบเทอร์มสิ เตอร์ สามารถทดสอบได้ดังน้ี
1. นาเทอร์มสิ เตอรท์ ี่ตอ้ งการทดสอบมาวดั คา่ ความต้านทานด้วยโอหม์ มิเตอร์
(ดังรูป 4.17 ก)
2. อ่านคา่ อุณหภูมิขณะวัดคา่ ความต้านทานและจดบันทึกค่าทง้ั สองไว้
3. นาค่าทง้ั สองมาหาจุดตัดที่กราฟแสดงคุณสมบตั ิของเทอร์มสิ เตอร์ ถ้าจดุ ตัดยงั อยู่
ในพ้ืนท่แี รเงาแสดงวา่ ยังใช้งานได้ แต่ถ้าไม่อยใู่ นพน้ื ที่แรเงา แสดงว่าเทอรม์ สิ เตอรใ์ ช้งานไม่ได้

เทอร์มิสเตอร์

รปู ท่ี 4.17 ก(. แส) ดงการทดสเทออรบ์โมเทมิเอตอรรม์์ สิ เตอรโ์ ดยวโอดั หค์ม่ามิเอตอณุ ร์หภูมิและคา่ ความต้านทาน

ข. นาไปหาจดุ ตัดบนกราฟ

4. สวิตช์ควบคุมพดั ลม (Blower Control Switch)
สวติ ช์ควบคุมพัดลมทาหนา้ ทค่ี วบคุมความเร็วของมอเตอรพ์ ดั ลมท่อี ยู่ในอีวาปอเรเตอร์เพ่ือ
เปา่ ลมเยน็ ออกมา นยิ มใช้กนั อยู่ 2 แบบ คอื
4.1 สวิตชค์ วบคุมพดั ลมแบบสามหรือสี่ความเร็ว โดยจะควบคมุ ให้ความเร็วรอบของ
มอเตอรพ์ ดั ลมให้หมุนเท่ากับ 3 – 4 ขั้นความเร็ว โดยอาศยั ตัวความตา้ นทานเปน็ ตวั ลดค่าแรงดัน
ไฟฟ้า ถ้าไฟฟา้ ผ่านคา่ ความต้านทานมากแรงดันไฟฟา้ จะผา่ นมอเตอรพ์ ดั ลมไดน้ ้อย ทาใหค้ วามเร็ว

รอบของพัดลมต่า ลมทผ่ี ่านออกมาจากอีวาปอเรเตอร์ก็จะเบา ในทางตรงข้าม ถ้าแรงดนั ไฟฟ้า
ผา่ นค่าความต้านทานนอ้ ยหรอื ไมผ่ ่านเลยจะทาให้มแี รงดนั ไฟฟา้ ผ่านมอเตอร์พัดลม ก็จะทาให้
ความเร็วรอบของพดั ลมมากขนึ้ ลมที่ออกจากอีวาปอเรเตอรก์ จ็ ะแรงยง่ิ ขึน้

……….

รปู ท่ี 4.18 สวติ ชแ์ บบสามและส่ีความเรว็

ความตา้ นทาน

กลาง ต่า ฟิ วส์ 12 V
ปิ ด คลตั ชแ์ มเ่ หล็ก
มอเตอร์พดั ลม
เร็ว

สวิตชพ์ ดั ลม

รปู ที่ 4.19 วงจรไฟฟา้ ต่อเขา้ กับสวิตช์สามความเร็ว

4.2 สวิตชค์ วบคุมพดั ลมแบบรโี อสตตั
สวิตช์แบบนี้จะควบคมุ ความเรว็ รอบของมอเตอร์จากความเรว็ รอบสูงสดุ ไปยังความเร็วรอบ
ต่าสดุ โดยการปรับเล่อื นหนา้ สัมผสั ของสวิตช์ผ่านรโี อสตัตโดยตรง ทาใหเ้ กิดการเปลย่ี นค่าความ
ทานและทาให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงแรงดันไฟฟา้ ทจ่ี ะไปจา่ ยให้กบั มอเตอร์พดั ลม ดงั นน้ั สวติ ช์แบบ
นจ้ี ะใหค้ วามเรว็ รอบของพดั ลมช้าหรือเร็วกจ็ ะขึ้นอยู่กับตาแหน่งหนา้ สัมผัสทีแ่ ตะอยู่กบั ตวั รีโอสตัต
ซ่ึงจะมหี ลายความเร็วรอบแตกต่างกนั หลายขัน้

รูปท่ี 4.20 สวติ ชแ์ บบรีโอสตัต
5 . สวิตชค์ วบคุมความดนั (Pressure Switch)
สวิตชค์ วบคมุ ความดัน เปน็ สวิตชท์ ตี่ ิดตัง้ อย่ทู างด้านความดนั สูง ทาหน้าที่ช่วยป้องกนั
คอมเพรสเซอร์เสยี หายในกรณีมปี ริมาณสารทาความเยน็ ในระบบมนี อ้ ย อาจเนอ่ื งจากระบบมีการร่ัว
สาหรับตาแหนง่ ทต่ี ดิ ต้ังสวติ ชค์ วบคุมความดนั บางครั้งจะตดิ ตงั้ กบั รีซีฟเวอรด์ รายเออร์ หรอื อาจตดิ
ตงั้ อยูก่ บั ทอ่ สารทาความเยน็ ระหว่างรีซฟี เวอรด์ รายเออร์กบั เอ็กซแ์ พนชั่นวาล์ว

สวติ ช์ควบคุมความดนั

รีซิฟเวอร์ดรายเออร์

รูปท่ี 4.21 แสดงตาแหน่งตดิ ตง้ั สวิตช์ควบคุมความดันท่รี ีซฟี เวอร์ดรายเออร์

คอมเดนเซอร์ สวิตชค์ วบคุมความดนั

รี ซิฟเวอร์ดรายเออร์ เครื่ องยนต์
คอมเพรสเซอร์

อีวาปอเรเตอร์
ทอ่ ของเหลวความดนั สูง

รปู ท่ี 4.22 แสดงตาแหน่งติดตงั้ สวิตช์ควบคุมความดันที่ท่อของเหลว
โดยทว่ั ไปแลว้ สวิตช์ควบคุมความดนั จะเป็นสวติ ช์ของวงจรไฟฟา้ ในระบบปรับอากาศ
รถยนต์ที่ตอ่ ผ่านคลตั ช์แมเ่ หล็กโดยตรง เม่ือความดนั ในระบบไมน่ ้อยกวา่ 30 ปอนด์ / ตารางนิว้
ความดนั จะกดไดอะแฟรมทาใหห้ นา้ สัมผัสของสวิตชแ์ ตะกนั ตลอดเวลา และทาใหม้ ีไฟฟ้าไปจ่าย
ใหค้ ลัตชแ์ ม่เหล็กทาให้ระบบทางาน ขณะเดยี วกันเมอ่ื ระบบมกี ารร่ัวและความดนั ต่ากว่า 30 ปอนด์
/ ตารางน้ิว ทาให้สปริงดันแผ่นไดอะแฟรมและหนา้ สัมผัสของสวิตชแ์ ยกจากกัน จึงไมม่ ไี ฟฟ้า
ไปจ่ายใหค้ ลัตช์แมเ่ หล็ก คอมเพรสเซอรจ์ งึ ไม่ทางาน เพราะถา้ ไม่มสี ารทาความเยน็ อยใู่ นระบบแล้ว
ยังปล่อยให้คอมเพรสเซอร์หมุนตวั เปลา่ กจ็ ะทาให้คอมเพรสเซอรเ์ สยี หายได้ ซึง่ ในสารทาความเย็น
จะมีนา้ มันหล่อลืน่ ปนอยดู่ ว้ ย

……….. ใบงานท่ี 4.2 หนว่ ยท่ี 4
ช่ือหนว่ ย การซ่อมบารุงระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครง้ั ที่ 8-10
เวลา 18 ชม.
เรือ่ ง วงจรไฟฟ้าระบบปรับอากาศรถยนต์

จุดประสงค์การเรียนรู้
เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถหาสาเหตกุ ารเสียของวงจรไฟฟา้ ระบบปรบั อากาศรถยนต์ได้

รายการเครือ่ งมอื และอปุ กรณ์
1. มัลติมิเตอร์
2. อปุ กรณ์ไฟฟ้าระบบปรบั อากาศรถยนตท์ ตี่ ดิ ตั้งแล้วประกอบดว้ ย
2.1 ฟิวส์
2.2 สวิตชม์ อเตอร์พัดลม
2.3 มอเตอร์พัดลม
2.4 เทอรม์ อสแตต
2.5 คลตั ช์แมเ่ หลก็
2.6 สวติ ช์ความดนั

คาส่ัง ให้นักเรียนใช้มัลติมิเตอร์ (ต้ังย่านการวดั โอห์ม) เช็คอุปกรณ์ต่อไปนี้เพ่ือสรุปว่า
อุปกรณใ์ ดบา้ งเสีย ดว้ ยการทาเคร่อื งหมาย / ในชอ่ งท่ีถกู ต้อง

ข้อที่ รายการอุปกรณ์ ผลการวัดความ สรปุ ผล หมายเหตุ
ต้านทาน  ดี เสยี
1. ฟิวส์
2. สวิตช์มอเตอร์พดั ลม
3. มอเตอร์พดั ลม
4. เทอรม์ อสแตต
5. คลตั ชแ์ ม่เหล็ก
6. สวิตชค์ วามดนั

…..….. อปุ กรณ์ท่เี สียคอื

สรปุ ผลการวดั ความต้านทานอุปกรณ์

อปุ กรณใ์ ช้งานไดค้ ือ

7 ………………………………………… 1. …………………………………………
8 ………………………………………… 2. …………………………………………
9 ………………………………………… 3. …………………………………………
10 ………………………………………… 4. …………………………………………
11 ………………………………………… 5. …………………………………………
12 ………………………………………… 6. …………………………………………

ชือ่ นักเรียน….. ………….…………….………………
กลมุ่ …………………………………………………..

……………..

แบบตรวจผลงานท่ี 4.2 หนว่ ยท่ี 4
ช่ือหนว่ ย การซอ่ มบารงุ ระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนคร้งั ที่ 8-10
เรอ่ื ง วงจรไฟฟ้าระบบปรับอากาศรถยนต์

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

5 ดีมาก
4 ดี
3 ปานกลาง
2 พอใช้
1 ต้องปรับปรงุ

ท่ี รายการทีต่ รวจ น้าหนักการใหค้ ะแนน
5 4 3 2 1 รวม
1. การตง้ั ยา่ นการวัดทถ่ี ูกต้อง
รวม
2. การเตรยี มอปุ กรณ์ก่อนทาการวดั
ผลการวดั มคี วามถูกต้อง

3. มคี วามระมัดระวังในการใชเ้ ครอ่ื งมอื
และอปุ กรณ์
4. ความสนใจในการปฏบิ ัติงาน

และปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ ทันกาหนด

5.

ผ้ตู รวจ……………………….

(………………………)


Click to View FlipBook Version