The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by juthamat19911991, 2019-03-25 05:06:35

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

…………………. ใบงานท่ี 4.3 หนว่ ยท่ี 4
ชอ่ื หนว่ ย การซ่อมบารงุ ระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครั้งท่ี 8-10
เวลา 18 ชม.
เร่อื ง การตรวจสอบคลตั ชแ์ มเ่ หล็ก

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
เพ่อื ใหน้ ักเรียนสามารถตรวจวดั คลัตช์แม่เหล็กได้

รายการเคร่ืองมอื และอุปกรณ์
1. มลั ติมเิ ตอร์
2. คลัตช์แมเ่ หล็ก

คาสั่ง ให้นักเรียนใช้มัลติมิเตอร์ (ต้ังย่านการวัดโอห์ม) วัดความต้านทานคลัตช์แม่เหล็ก
จานวน 5 ตัว เพือ่ สรปุ ว่ามคี วามต้านทานทีด่ ีใชง้ านจานวนก่ีตวั และเสียเป็นจานวนก่ตี วั

ขอ้ รายการคลตั ชแ์ มเ่ หลก็ ผลการวัดความตา้ นทาน สรุปผล หมายเหตุ
ท่ี  ดี เสีย

1. คลัตช์แม่เหล็ก ตวั ที่ 1
2. คลัตชแ์ มเ่ หลก็ ตวั ที่ 2
3. คลัตช์แม่เหลก็ ตัวท่ี 3
4. คลตั ช์แมเ่ หลก็ ตวั ที่ 4
5. คลัตชแ์ ม่เหล็ก ตัวที่ 5

ช่ือนกั เรยี น………………………
กลุ่ม ………………………….

………….

แบบตรวจผลงานที่ 4.3 หน่วยที่ 4
ช่อื หนว่ ย การซอ่ มบารงุ ระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครั้งท่ี 8-10
เรอื่ ง การตรวจสอบคลัตชแ์ ม่เหลก็

เกณฑ์การให้คะแนน

5 ดีมาก
4 ดี
3 ปานกลาง
2 พอใช้
1 ต้องปรับปรุง

ท่ี รายการท่ตี รวจ นา้ หนกั การใหค้ ะแนน
5 4 3 2 1 รวม

1. การใช้มัลติมเิ ตอร์ในการวดั

และตรวจสอบอปุ กรณ์

ความเขา้ ใจในการวดั อปุ กรณ์

2. ผลการวัดมคี วามถูกตอ้ ง
ความใสใ่ จในความปลอดภัยในการปฏบิ ตั งิ าน
3. ความสนใจในการปฏิบัติงาน

4. และปฏบิ ัติงานเสรจ็ ทันกาหนด

5.

รวม

ผตู้ รวจ……………………….

(………………………)
………….

ใบงานท่ี 4.4 หนว่ ยท่ี 4
ชื่อหน่วย การซอ่ มบารุงระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครั้งท่ี 8-10
เวลา 18 ชม.
เร่ือง การตรวจสอบเทอร์มอสแตต

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
เพ่ือใหน้ กั เรยี นสามารถวัดและตรวจสอบเทอร์มอสแตตได้

รายการเคร่ืองมือและอุปกรณ์
1. มลั ตมิ ิเตอร์
2. เทอร์มอสแตต
2.1 เทอรม์ อสแตตแบบกระเปาะ
2.2 เทอร์มอสแตตแบบโลหะสองชนิด
2.3 เทอรม์ อสแตตแบบอิเล็กทรอนิกส์

3. เทอร์โมมิเตอร์

คาสง่ั ใหน้ ักเรยี นทาการวัดเทอรม์ อสแตต เพ่อื สรปุ วา่ มเี ทอร์มอสแตตตวั ใดบา้ งเสีย และตวั ใดดี

ข้อท่ี รายการอปุ กรณ์ ความต้านทาน สรปุ ผล หมายเหตุ
 ดี เสยี
1. เทอรม์ อสแตตแบบกระเปาะ
2. เทอรม์ อสแตตแบบโลหะสองชนดิ
3. เทอรม์ อสแตตแบบอเิ ล็กทรอนิกส์

ช่ือนกั เรียน......…………………
กลมุ่ …………...………..…….

………….

แบบตรวจผลงานท่ี 4.4 หนว่ ยท่ี 4
ชอ่ื หน่วย การซอ่ มบารงุ ระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครัง้ ท่ี 8-10

เร่ือง เทอรม์ อสแตต

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
5 ดมี าก
4 ดี
3 ปานกลาง
2 พอใช้
1 ตอ้ งปรบั ปรุง

ท่ี รายการท่ีตรวจ นา้ หนกั การให้คะแนน
5 4 3 2 1 รวม

1. การใชม้ ลั ติมเิ ตอรใ์ นการวัด

และตรวจสอบอุปกรณ์

ความเขา้ ใจในข้ันตอนการวัดอุปกรณ์

2. ผลการวัดมีความถูกต้อง
ความระมัดระวงั ในความปลอดภัย
3. ขณะปฏิบัติงาน

4. ความสนใจในการปฏิบัตงิ าน
และปฏบิ ัตงิ านเสร็จทนั กาหนด

5.

รวม

ผู้ตรวจ……………………….

(………………………)
………….

ใบงานที่ 4.5 หนว่ ยที่ 4
ชื่อหน่วย การซ่อมบารงุ ระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนคร้งั ท่ี 8-10
เวลา 18 ชม.
เร่อื ง การตรวจสอบสวติ ชค์ วบคุมความเร็วพดั ลม

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถวัดและตรวจสอบสวติ ชค์ วบคุมความเรว็ พัดลมได้

รายการเคร่อื งมอื และอปุ กรณ์
1. มลั ติมิเตอร์

2. สวติ ช์ควบคุมความเรว็ พดั ลม
คาส่ัง ให้นักเรียนวัดความต้านทานสวิตช์ควบคุมความเร็วพัดลม เพ่ือตรวจสอบว่าใช้งานได้
หรือไม่ และขว้ั ต่อใดคอื ขว้ั ความเร็วพดั ลม HI – MED – LO

ข้อท่ี รายการความต้านทาน ความต้านทาน หมายเหตุ

1. ขว้ั 1 - ขว้ั 2
2. ข้วั 1 - ข้ัว 3
3. ขั้ว 1 - ขั้ว 4
4. ขว้ั 2 - ขั้ว 3
5. ขั้ว 2 - ขั้ว 4
6. ขัว้ 3 - ขั้ว 5

สรปุ ผล 1. สวิตชค์ วบคุมความเรว็ พดั ลมตัวนี้ ดี เสีย

2. ข้วั Common คือข้วั ……………..

ขว้ั ความเรว็ HI คอื ขวั้ …………….

ข้ัวความเร็ว MED คือข้วั …………….

ข้วั ความเร็ว LO คือข้วั …………….

ชอื่ นกั เรียน………………………

กลุม่ ………………………….

แบบตรวจผลงานที่ 4.5 หนว่ ยที่ 4
ชือ่ หนว่ ย การซ่อมบารงุ ระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครงั้ ที่ 8-10

เร่อื ง การตรวจสอบสวิตช์ควบคุมความเร็วพัดลม

เกณฑก์ ารให้คะแนน

5 ดีมาก
4 ดี
3 ปานกลาง
2 พอใช้
1 ต้องปรบั ปรุง

ท่ี รายการท่ตี รวจ น้าหนกั การให้คะแนน
5 4 3 2 1 รวม

1. การใชม้ ัลตมิ ิเตอร์ในการวัด

และตรวจสอบอปุ กรณ์

ความเข้าใจในข้นั ตอนการวัดอุปกรณ์

2. ผลการวัดมีความถูกตอ้ ง
ความถูกต้องในการสรปุ ผลการปฏิบตั ิงาน
3. ตามคาส่ัง

4. ความสนใจในการปฏบิ ัตงิ าน
และปฏิบตั งิ านเสร็จทันกาหนด

5.

รวม

ผูต้ รวจ……………………….

(………………………)

………….

ใบงานที่ 4.6 หนว่ ยท่ี 4
ช่ือหนว่ ย การซ่อมบารงุ ระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครัง้ ท่ี 8-10
เวลา 18 ชม.
เรื่อง การตรวจสอบสวิตช์ควบคุมความดัน

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถวัดและตรวจสอบสวติ ชค์ วบคมุ ความดันได้

รายการเครือ่ งมอื และอปุ กรณ์
1. มลั ตมิ ิเตอร์
2. สวติ ชค์ วบคุมความดัน

คาสั่ง ให้นกั เรียนใช้มัลติมิเตอร์ วัดความต้านทานสวิตช์ควบคมุ ความดัน โดยการลดความดัน
สารทาความเย็นเป็นลาดบั เพ่ือตรวจสอบว่าสวิตชค์ วบคมุ ความดนั ใช้งานได้หรือไม่

ขอ้ ที่ ความดันนา้ ยา ความต้านทาน หมายเหตุ

1. เครอ่ื งไม่ทางาน
2. เครอ่ื งทางาน………………….
3. 30 psi
4. 25 psi
5. 20 psi

สรปุ สวิตช์ควบคุมความดันตัวนี้ ไมเ่ สยี เสยี
(ทาเครอ่ื งหมาย / ในชอ่ ง )

ชอ่ื นกั เรียน..……………………
กลุ่ม ………………………….

…………

แบบตรวจผลงานท่ี 4.6 หนว่ ยท่ี 4
ชอื่ หน่วย การซอ่ มบารงุ ระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครัง้ ท่ี 8-10
เร่อื ง การตรวจสอบสวิตช์ควบคมุ ความดัน

เกณฑก์ ารให้คะแนน
5 ดมี าก
4 ดี
3 ปานกลาง
2 พอใช้
1 ต้องปรบั ปรงุ

ท่ี รายการทต่ี รวจ นา้ หนกั การให้คะแนน
5 4 3 2 1 รวม

1. การใช้มลั ตมิ เิ ตอร์ในการวดั

และตรวจสอบอปุ กรณ์

ความเขา้ ใจในขัน้ ตอนการปฏบิ ัตงิ าน

2. ผลการวัดมคี วามถูกต้อง
ความถูกตอ้ งในการสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงาน
3. ตามคาสงั่

4. ความสนใจในการปฏบิ ัติงาน
และปฏบิ ัตงิ านเสรจ็ ทนั กาหนด

5.

รวม

ผ้ตู รวจ……………………….

(………………………)

แบบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น หน่วยที่ 4
ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103

ช่อื หนว่ ย การซ่อมบารุงระบบปรบั อากาศรถยนต์

คาสงั่ ใหน้ ักเรยี นทาเครอื่ งหมาย  ทับขอ้ ทถี่ ูกต้องทส่ี ดุ เพยี งข้อเดียว (ขอ้ ละ 1 คะแนน)

1. อุปกรณ์ทที่ าหนา้ ท่ี เปิด – ปิด ระบบปรบั อากาศรถยนตค์ ือข้อใด ?

ก. อีวาปอเรเตอร์ ข . คอมเพรสเซอร์

ค. สวิตชพ์ ัดลม ง. สวิตช์ควบคมุ ความดัน

2. อปุ กรณท์ ที่ าหนา้ ที่ควบคมุ อุณหภูมใิ นหอ้ งโดยสารตามทต่ี อ้ งการคือ ?

ก. เทอร์มอสแตต ข. สวติ ชพ์ ัดลม

ค. คอมเพรสเซอร์ ง. สวิตชค์ วามดัน

3. หนา้ สัมผัสของเทอรม์ อสแตต ควรจะแยกออกทอ่ี ุณหภมู อิ วี าปอเรเตอร์มคี า่ เท่าใด ?

ก. 16 - 18  ฟ ข. 18 – 22  ฟ

ค. 22 – 24  ฟ ง. ตา่ กวา่ 32  ฟ

4. สวติ ชค์ วบคุมความดันมคี ณุ สมบัตอิ ย่างไร ?

ก. ควบคมุ ความดันเกนิ พิกัด

ข. ควบคมุ ความดนั ตา่

ค. ควบคมุ ปริมาณสารทาความเยน็

ง. ตดั วงจรเมอ่ื สารทาความเยน็ ดา้ นต่ากว่า 28 psi

5. ในการตรวจเทอร์มิสเตอร์ท่ีอุณหภูมิ 25  ซ ค่าความต้านทานควรมีค่าเท่าใด ท่ีเหมาะสมกับ

การใชง้ าน ?

ก. 200 – 250 โอหม์ ข. 600 – 800 โอหม์

ค. 1000 - 2000 โอหม์ ง. 1300 – 1500 โอห์ม

6. ในระบบปรับอากาศรถยนต์ท่ีใช้สารทาความเย็นชนิด R-134a ขณะทางานในภาวะปกติด้าน

ความดันตา่ ควรมคี ่าความดันเท่าไร ?

ก. 14 -19 psi ข. 21 – 36 psi

ค . 3 8 – 4 7 psi ง. 100 – 200 psi

7. ในระบบปรับอากาศรถยนต์ท่ีใช้สารทาความเย็น ชนิด R – 12 ขณะทางานในสภาวะปกติด้าน
ความดันสูงควรมีค่าเท่าไร ?

ก . 1 0 0 – 1 2 0 psi ข. 150 – 200 psi

ค. 200 – 215 psi ง. 230 – 250 psi

8. ถา้ มีอากาศเข้าไปในระบบทางเดินของสารทาความเยน็ ข้อใดเป็นตวั บ่งช้ีอาการดงั กล่าว ?

ก. ทอ่ ทางด้านความดนั ต่าจะมีความรอ้ นสงู

ข. ท่อทางด้านความดนั ต่าจะมีน้าแข็งจับ

ค. มองเห็นฟองอากาศทกี่ ระจกตัวรีซฟี เวอรด์ รายเออร์

ง. ถกู ทั้งข้อ ก. และ ข้อ ค.

9. ตวั อักษร H ท่ีตวั สวิตช์ควบคมุ ความเรว็ พดั ลมมคี วามหมายอยา่ งไร ?

ก. หยุดทางาน ข. ความเรว็ มากสุด

ค. ความเร่งปานกลาง ง. ความเร็วตา่ สดุ

10. โดยปกตฟิ วิ ส์ท่ใี ช้ควบคุมวงจรไฟฟา้ ของระบบปรบั อากาศรถยนต์ ควรใชอ้ ยา่ งนอ้ ยกีแ่ อมป์ ?

ก. 15 แอมป์ ข. 20 แอมป์

ค . 25 แ อ ม ป์ ง. 30 แอมป์

แบบเฉลยแบบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น หน่วยที่ 4
ช่ือวิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103 สอนครง้ั ท่ี 8-10
เวลา 18 ชม.
ช่ือหน่วย การซอ่ มบารุงระบบปรับอากาศรถยนต์

เฉลยแบบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ชดุ การสอนท่ี 4

1. ค 2. ก 3. ง 4. ง 5. ก
6. ข 7. ค 8. ง 9. ข 10 ข

.

ชุดการสอนท่ี 5
การบรรจสุ ารทาความเยน็ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์

โครงการสอนที่ 5 หน่วยที่ 5
ชื่อวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้ังท่ี 11-13

ช่ือหนว่ ย การบรรจุสารทาความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์

เร่อื ง 1. วธิ ีการทาสญุ ญากาศในระบบปรบั อากาศรถยนต์
2. วิธกี ารบรรจสุ ารทาความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์

3. ข้อแตกต่างของระบบปรบั อากาศรถยนต์ท่ใี ชส้ ารทาความเยน็ R-12 กับ R-134a

4. วธิ ีการตรวจหารอยร่ัวในระบบปรับอากาศรถยนต์

จดุ ประสงค์การสอน รายการสอน

1. ทาสุญญากาศในระบบปรับอากาศรถยนต์ได้ 12.วิธีการทาสญุ ญากาศในระบบปรับอากาศ
2. บรรจุสารทาความเย็น R-12 และ R-134a รถยนต์

13.วธิ ีบรรจสุ ารทาความเย็นในระบบปรบั
ได้ อากาศรถยนต์

3. ตรวจหารอยรว่ั ในระบบปรับอากาศรถยนต์ 14.การตรวจหารอยร่วั โดยใชฟ้ องสบู่

ได้ 15.การตรวจหารอยร่วั ใชต้ ะเกยี งตรวจรอย
รัว่

16. การตรวจหารอยร่ัวใชเ้ คร่อื งตรวจ

รอยรั่วอิเลก็ ทรอนกิ ส์

17. หลักการทางานของเอ็กซแ์ พนชัน่ วาลว์

7. การบรรจสุ ารทาความเยน็ ในระบบ

ปรบั อากาศรถยนต์

วธิ กี ารสอน บรรยาย/ถาม - ตอบ

สื่อการสอน สอ่ื ประกอบการสอนอปุ กรณ์ 5 ชนดิ ซ่ึงเป็นของจรงิ
ส่อื ใบความรู้ แบบฝึกหัด ใบงาน แบบทดสอบ

การประเมินผล คะแนนจากการทาแบบทดสอบ หนงั สืออ้างองิ บรรณานกุ รมลาดบั ที่
ก่อน/หลังเรยี น แบบประเมนิ ผลใบงาน 1, 2, 4, 5, 7, 8, 9, 12,
แบบทดสอบวัดลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
13

แผนการสอนท่ี 5 หนว่ ยท่ี 5
ชอ่ื วิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนครั้งที่ 11-13

ช่ือหนว่ ย การบรรจุสารทาความเย็นในระบบปรับอากาศรถยนต์

สาระสาคญั
ระบบปรบั อากาศรถยนต์ทกุ ชนิดไม่วา่ จะเปน็ ระบบใหม่หรือเก่า เม่ือทาการติดตั้งใหม่

หรอื ตรวจซอ่ มแก้ไข จะตอ้ งปล่อยสารทาความเยน็ ออกจนหมด ก่อนเติมสารทาความเยน็ ทกุ
คร้งั จะต้องดูดอากาศและความชื้นภายในทอ่ ทางเดนิ ของสารทาความเยน็ ออกให้หมด
เสียก่อน โดยใชป้ ั๊มดูดอากาศออก (Vacuum pump) นอกจากนัน้ ก่อนเติมสารทาความ
เย็นจะต้องตรวจสอบระบบให้ละเอยี ดวา่ มจี ุดรอยรวั่ ตาแหนง่ ใดบ้างตรวจจนแน่ใจวา่ ไม่มีรอยร่วั
จงึ เตมิ สารทาความเยน็ เข้าไปและเม่ือเตมิ เสร็จแลว้ ต้องตรวจสอบรอยร่ัวอกี ครง้ั หนึง่ จึงจะสมบูรณ์

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงค์ท่ัวไป

เพอื่ ให้นกั เรียน สามารถบรรจุสารทาความเยน็ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์

จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เม่ือนกั ศึกษาเรียนชดุ การสอนที่ 5 แลว้ นกั เรียนสามารถ

1. ทาสญุ ญากาศในระบบปรับอากาศรถยนต์ได้

2. บรรจสุ ารทาความเยน็ R-12 และ R-134a ได้

3. ตรวจหารอยรั่วในระบบปรบั อากาศรถยนต์ได้

เนื้อหา
6. วิธีการทาสญุ ญากาศในระบบปรับอากาศรถยนต์
7. วิธกี ารบรรจสุ ารทาความเยน็ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์
8. ขอ้ แตกตา่ งของระบบปรับอากาศรถยนต์ทใ่ี ช้สารทาความเยน็ R-12 กบั R-134a
9. วธิ กี ารตรวจหารอยร่ัวในระบบปรับอากาศรถยนต์

กิจกรรมการเรียนการสอน

กิจกรรมการเรียนการสอน

1. ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรยี น
1.1 นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
1.2 ครูซกั ถามเร่ืองการทาสุญญากาศในระบบปรับอากาศรถยนต์
1.3 ครูซกั ถามเรื่องสารทาความเย็นในระบบปรบั อากาศรถยนต์
1.4 ครซู กั ถามเรอ่ื งการตรวจหารอยรัว่ ในระบบปรับอากาศรถยนต์

2. ขั้นสาธิตหรอื ยกตัวอย่าง
2.1 ครูแสดงวธิ ีการทาสุญญากาศในระบบปรบั อากาศรถยนต์
2.2 ครูอธิบายวิธีการบรรจุสารทาความเย็นในระบบปรบั อากาศรถยนต์
2.3 ครแู สดงวธิ ีการบรรจุสารทาความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์
2.4 ครแู สดงวธิ กี ารตรวจหารอยรวั่ ในระบบปรับอากาศรถยนต์

3. ขั้นฝกึ ปฏิบตั ิ
3.1 แบ่งกลุ่มนกั เรยี นฝึกทาสุญญากาศในรถยนตท์ ีใ่ ชฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิ
3.2 แบง่ กลุม่ นกั เรียนฝึกบรรจุสารทาความเยน็ ในรถยนต์ท่ีใช้ฝกึ ปฏิบตั ิ
3.3 แบ่งกลมุ่ นกั เรียนฝึกตรวจหารอยรั่วในรถยนต์ที่ใช้ฝึกปฏิบตั ิ

4. ข้ันสรปุ และตรวจสอบ
4.1 ให้แต่ละกลุม่ ช่วยกันอภิปรายการปฏบิ ตั งิ าน
4.2 ตรวจสอบความถูกต้องในการฝึกปฏบิ ัติ

5. ขั้นฝกึ ใหเ้ กดิ ความชานาญ
ครผู ู้สอนแนะนาเพิม่ เตมิ จากการอภิปรายและตรวจผลงาน ของนักเรยี นแลว้ ให้ฝึก

ซ้าอกี จนสามารถปฏบิ ตั ิไดเ้ ป็นอยา่ งดี

6. ขน้ั ประเมนิ ผล
ซักถามในระหว่างฝึกปฏบิ ัติ
สงั เกตการปฏบิ ัตงิ าน
ตรวจการปฏิบัติงาน
ทาแบบทดสอบหลงั เรียน

สื่อการเรียนการสอน

17. สอ่ื ประกอบการสอนอุปกรณ์ รถยนต์ฝึกปฏบิ ัตแิ ทน่ ฝกึ วชิ าปรบั อากาศรถยนต์
ป๊มั สุญญากาศ แมนนโิ ฟลด์เกจ สารทาความเยน็ R-12, R-134a อปุ กรณก์ ารตรวจสอบรอยรว่ั
ซึง่ เป็นของจริง

18. ใบความรู้ หน่วยที่ 5 เร่อื งการบรรจสุ ารทาความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์

19. แบบทดสอบกอ่ น/หลังเรยี น
20. แบบฝกึ หัด

21. ใบงาน
การวัดผล / ประเมินผล

การวดั ผล วัดผลโดยวิธกี ารดังน้ี

26. การทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
27. การซักถามระหว่างเรียน

28. ความสนใจระหว่างเรยี น
29. บันทึกการปฏิบตั งิ าน

30. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
31. คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
การประเมินผล ประเมินผลโดยถอื เกณฑ์ กาหนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี

คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดับคะแนน 0 ผลการเรยี นต่ากว่าเกณฑข์ ัน้ ต่า
(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ อ่ นมาก
คะแนนรอ้ ยละ 50 ถึง 54 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ อ่ น
ระดบั คะแนน 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้
คะแนนรอ้ ยละ 55 ถึง 59 (เกรด) 2.5 ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้
3 ผลการเรียนอย่ใู นเกณฑด์ ี
คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน 3.5 ผลการเรยี นอย่ใู นเกณฑ์ดมี าก
(เกรด) 4 ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑด์ ีเยีย่ ม
คะแนนรอ้ ยละ 65 ถงึ 69
ระดับคะแนน
คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 (เกรด)

คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดับคะแนน
คะแนนร้อยละ 80 ถงึ (เกรด)

100 ระดบั คะแนน
(เกรด)

ระดบั คะแนน
(เกรด)

ระดบั คะแนน
(เกรด)

หมายเหตุ
น้าหนักของคะแนนในการประเมนิ ผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 %

จากการทดสอบหลงั เรยี น 20

แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลงั เรยี น หน่วยที่ 5
ชื่อวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103 สอนครงั้ ที่ 11-13

ชอื่ หน่วย การบรรจุสารทาความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์

คาส่ัง จงทาเคร่อื งหมาย  ทบั ขอ้ ท่ีถูกทส่ี ุดเพียงขอ้ เดยี ว

1. ความดันด้านสงู ของระบบปรับอากาศทีใ่ ช้สารทาความเยน็ R-134a ประมาณเทา่ ใด

ก. 100-150 ปอนด/์ ตารางนิ้ว ข. 150-250 ปอนด์/ตารางนว้ิ

ค. 250-350 ปอนด/์ ตารางนิ้ว ง. 350-450 ปอนด์/ตารางนิ้ว

2. นักศกึ ษาคดิ ว่าข้นั ตอนใดมาก่อนในการเติมสารทาความเย็นเข้าไปในระบบปรบั อากาศ

ก. ตรวจสอบรอยร่ัว ข. ทาสุญญากาศ

ค. ติดตง้ั แมนนโิ ฟลดเ์ กจ ง. เดินระบบปรบั อากาศ

3. ปกตกิ ารทาสุญญากาศควรใช้เวลาประมาณเท่าไรเปน็ อย่างนอ้ ย

ก. 5 นาที ข. 10 นาที
ง. 50 นาที
ค. 30 นาที
4. ขอ้ ใดเป็นอุปกรณ์ท่ีใชต้ รวจรอยรั่ว

ก. ตะเกียงตรวจรว่ั ข. คอมเพรสเซอร์

ค. ประแจ ง. ไฟจากไมข้ ดี

5. การดูดอากาศและความชน้ื ออกจากระบบนักศกึ ษาจะทาอย่างไร

ก. ใชค้ อมเพรสเซอรด์ ดู ออก ข. ใชแ้ มนนโิ ฟลดเ์ กจดูดออก

ค. ใชป้ ั๊มสญุ ญากาศโดยเฉพาะดดู ออก ง. ใช้ป๊ัมลมดูดออก

6. ระบบปรบั อากาศรถยนต์ ก่อนบรรจสุ ารทาความเยน็ นกั ศกึ ษาควรทาอย่างไร

ก. ดดู อากาศและความชน้ื ออก ข. ต่อสายแมนนิโฟลดเ์ กจเขา้ กับคอมเพรสเซอร์

ค. เลอื กสารทาความเยน็ ง. ซอ่ มแก้ไขคอมเพรสเซอร์

7. ตะเกยี งตรวจสอบรอยร่ัว ถ้ามีรอยร่ัวของสารทาความเย็นติดไฟจะมสี อี ะไร

ก. แดง ข. เหลอื ง
ค. สเี ขียวตองอ่อน ง. สีนา้ เงิน



8. ขอ้ ใดเปน็ สารตรวจสอบรอยร่วั ในระบบปรบั อากาศรถยนต์

ก. นา้ สบู่ ข. นา้ มนั หล่อล่ืน

ค. น้ามัน ง. นา้ ยาเคมี

9. การทาสุญญากาศอย่างนอ้ ยจะต้องอ่านค่าความดันไดเ้ ท่าไรจึงจะทาให้ไม่มีความชน้ื

เหลอื อยใู่ นระบบ

ก. 18 นวิ้ ปรอท ข. 30 นิ้วปรอท

ค. 38 นิว้ ปรอท ง. 48 นวิ้ ปรอท

10. อปุ กรณ์ใดตอ่ ไปนที้ ี่สามารถใชแ้ ทนกันไดข้ องระบบปรับอากาศรถยนตท์ ่ีใช้

สารทาความเย็น R-12 กบั R-134a

ก. คอมเพรสเซอร์ ข. รีซฟี เวอรด์ รายเออร์
ค. เอ็กซ์แพนชน่ั วาลว์ ง. ใช้แทนกันไมไ่ ด้

แบบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น/หลงั เรียน หน่วยที่ 5
ชื่อวชิ า งานปรบั อากาศรถยนต์ รหัส 2101-2103 สอนครั้งท่ี 11-13

ช่ือหน่วย การบรรจุสารทาความเย็นในระบบปรับอากาศรถยนต์

1. ค 2. ข 3. ค 4. ก 5. ค

6. ก 7. ค 8. ก 9. ข 10 ง
.

ใบความรทู้ ่ี 5.1 หนว่ ยที่ 5

ชอื่ หนว่ ย การบรรจุสารทาความเย็นในระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครั้งที่ 11-13

เร่อื ง วธิ ีการทาสุญญากาศในระบบปรบั อากาศรถยนต์

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้เพ่อื ใหน้ กั เรียนสามารถทาสุญญากาศในระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้
เนื้อหา

1. การทาสญุ ญากาศระบบ (Vacuum pump)
2. การดึงความชื้นออกจากระบบ (Moisture removal)
1. การทาสญุ ญากาศระบบ (Vacuum pump)
ภายหลงั จากการตรวจรอยรวั่ ในระบบและแนใ่ จแลว้ ว่าไม่มที ีร่ ั่วใด ๆ ในระบบซงึ่ ตดิ ตั้ง
หรือถอดประกอบอย่างแนน่ อน ขัน้ ตอ่ ไปก็คือ การทาสุญญากาศในระบบเพอื่ ดงึ เอาอากาศ
และความช้นื ท่เี ขา้ ในระบบขณะตดิ ตงั้ หรอื ถอดซอ่ มออกจากภายในระบบใหห้ มด
การดูดเอาอากาศและความช้นื ออกจากในระบบโดยปัม๊ สุญญากาศ (vacuum pump)
เรียกว่าการทาสุญญากาศระบบ หรือการทาแวคคม่ั ระบบ ปมั๊ สญุ ญากาศถูกใช้สาหรบั ลดความ
ดันในระบบและอดั ทิ้งออกสู่อากาศภายนอก สายทอ่ กลางของแมนนิโฟลดเ์ กจจะถูกต่อเข้า
กับป๊ัมสญุ ญากาศ วาล์วท้งั ค่ขู องแมนนโิ ฟลด์เกจอยู่ในตาแหนง่ เปิดเต็มที่ เดินป๊มั สุญญากาศ
เพอื่ ดูดเอาอากาศ และความช้ืนออกจากในระบบอยา่ งนอ้ ย 20 นาที แต่ถา้ สามารถทา
สุญญากาศระบบให้นานกวา่ น้ีก็จะเปน็ การดี การทาสญุ ญากาศในระบบถ้าเดินเคร่อื งปม๊ั
สุญญากาศได้นานถึง 1 ชัว่ โมงจะทาใหก้ ารดูดเอาอากาศและความชน้ื ออกจากระบบสมบูรณ์
ยิ่งข้นึ

รปู ท่ี 5.1 แสดงการทาสญุ ญากาศระบบชนิดสารทาความเยน็ R-12

รปู ที่ 5.2 แสดงการทาสญุ ญากาศระบบชนดิ สารทาความเยน็ R-134 a

2. การดึงความชน้ื ออกจากระบบ (Moisture removal)
ในขณะทก่ี าลงั ทาสุญญากาศระบบ ค่าความดันของเกจวัดความดันตา่ จะอา่ นค่าไดต้ ่า

กว่า 0 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว เกจจะแสดงคา่ ให้ทราบวา่ ความดนั ในระบบเป็นสญุ ญากาศ ซ่งึ เป็น
ท่เี ขา้ ใจไดอ้ ยา่ งง่าย ๆ ว่าความดันในระบบจะต้องน้อยกวา่ ค่าความดนั บรรยากาศ

ในการทาสุญญากาศน้นั จะเห็นได้ชัดเจนว่าอากาศถูกดูดออกในระบบ แตส่ ิ่งที่สาคญั
ที่สุดของการทาสญุ ญากาศก็คือ ความชนื้ ภายในระบบจะต้องถกู ดูดออกให้หมดเชน่ กนั การลด
ความดนั ทผ่ี วิ หนา้ ของของเหลวจะทาให้จุดเดือดของของเหลวน้นั ลดต่าลง ฉะนั้นถงึ แมว้ า่ ใน
อากาศจะมีความชน้ื สงู เข้าไปในระบบปรบั อากาศ แต่เมือ่ ระบบถูกทาสญุ ญากาศ อากาศจะถูก
ดดู ออกนอกระบบ และความดนั ต่าลง ทาใหค้ วามช้ืนทีเ่ หลือในระบบจะถูกเปล่ียนสถานะงา่ ยข้นึ

ตารางที่ 5.1 อุณหภูมิจดุ เดือดของนา้ ภายใต้ความดนั สุญญากาศ

ระบบสุญญากาศ/ อณุ หภูมิจุดเดือด ซ
น้ิวปรอท
ของน้า / ฟ 60
24.04 140 54
25.30 130 49
26.45 120 43
27.32 110 38
27.99 100 32
28.50 90 27
28.89 80 21
29.18 70 16
29.40 60 10
29.66 50 4
29.71 40 -1
29.76 30 -7
29.82 20 -12
29.86 10 -15
29.87 5 -18
29.88 0 -23
29.90 -10 -29
29.91 -20

จากตารางที่ 5.1 แสดงใหเ้ หน็ ถึงจดุ เดอื ดของน้าจะเปล่ียนแปลงไปตามคา่ ความดนั ท่ี

เพิม่ ข้นึ หรอื ลดลง สังเกตว่าขณะที่ในระบบใกล้สญุ ญากาศหรอื ที่ความสงู ของปรอทใกล้ 29 นวิ้ ปรอท
น้าจะมจี ดุ เดอื ดที่ 0 องศาฟาเรนไฮต์ ซ่งึ เปน็ ขอ้ ยนื ยันว่า ในการทาสุญญากาศระบบ ถ้าใชเ้ วลานาน
เพยี งพอแล้ว ความช้นื ในระบบจะถกู ดดู ออกหมดด้วย ถา้ ปมั๊ สญุ ญากาศมีขีดความสามารถพอจะทา
สญุ ญากาศได้ถึง 29 นวิ้ ปรอท การทาสุญญากาศระบบสามารถจะใช้เวลานอ้ ยลงได้ ถ้าป๊ัมสุญญากาศมี
ขีดความสามารถน้อยกต็ ้องใชเ้ วลาในการทาสุญญากาศมากกว่า ปม๊ั สญุ ญากาศจะตอ้ งสามารถทา
สุญญากาศได้ถึง 28 น้ิวปรอทเป็นอย่างนอ้ ย จงึ จะสามารถทาให้ภายในระบบไม่มีความชืน้ หลงเหลืออยู่
เลย การตรวจร่ัวก็สามารถทาได้ในระหว่างทาสุญญากาศ โดยการปดิ วาลว์ ทัง้ สองของแมนนิโฟลด์
เกจ ซึ่งขณะนีป้ ๊มั สุญญากาศถูกตดั ออกจากระบบ ให้สงั เกตค่าความดนั ทอ่ี า่ นไดบ้ นเกจวัดความดัน
ตา่ ทิ้งไว้ประมาณ 5 นาที แลว้ มาดใู หม่ ถ้าคา่ ความดันสงู ขึน้ กว่าเดิมเกินกว่า 1 น้ิวปรอท
แสดงว่าจะต้องมีการรวั่ ทใ่ี ดท่หี นง่ึ ของระบบใหก้ ารหาตาแหน่งรั่ว แตถ่ ้าค่าความดันเกจคงที่อยู่ท่ีเดิม
แสดงวา่ ระบบไมร่ ่ัว ให้เปดิ วาล์วทัง้ คูข่ องแมนนโิ ฟลดเ์ กจอีกคร้งั หนงึ่ และเดนิ เครอ่ื งป๊มั สญุ ญากาศ
ตอ่ ไป เมอ่ื ระบบทาสุญญากาศเรียบรอ้ ยแลว้ ก็พรอ้ มท่ีจะเตมิ สารทาความเย็นเข้าในระบบ และ
ตรวจสอบประสิทธิภาพการทางานของระบบต่อไป ในการหยุดทาสุญญากาศ ใหห้ มนุ วาลว์ ทงั้ คู่ของ
แมนนโิ ฟลด์เกจ ใหอ้ ยู่ในตาแหน่งปิดก่อนหยุดเคร่ืองป๊ัมสุญญกาศ แลว้ จึงปลดสายกลางของแมนนิ
โฟลด์เกจที่ตอ่ อยกู่ ับปม๊ั สญุ ญากาศตอ่ ไป

....... ใบงานที่ 5.1 หน่วยท่ี 5

ชอ่ื หนว่ ย การบรรจุสารทาความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนคร้ังท่ี 11-13

เร่ือง วธิ กี ารทาสญุ ญากาศในระบบปรับอากาศรถยนต์

1. หยดุ ไว้ประมาณ 5-10 นาที สงั เกตดูเข็มที่ดา้ นความดนั ตา่ ช้ขี ึน้ หรือไม่
- ถ้าเข็มไมช่ ข้ี ้ึน แสดงวา่ ระบบไมม่ ีจุดรว่ั
- ถ้าเขม็ ช้ีขน้ึ แสดงว่าระบบมจี ุดรั่ว ใหต้ รวจหาจุดรว่ั และการแกไ้ ข หลังจากนนั้

2. ให้เร่ิมขัน้ ตอนท่ี 5 เปน็ ตน้ ไป อีกครงั้ หน่งึ
3. ทาความสะอาดเครื่องมอื อปุ กรณ์ และบริเวณปฏิบัติงาน

หมายเหตุ โดยปกตแิ ลว้ หลังจากเสรจ็ สน้ิ จากการทาสญุ ญากาศแลว้ จะทาการเตมิ สารทาความ
เย็นตอ่ ไป

คอมเพรสเซอร์

รปู ท่ี 5.3 แสดงการทาสุญญากาศ

ข้อควรระวงั
การตอ่ สายแมนนิโฟลดเ์ กจ จะตอ้ งต่อใหถ้ ูกตอ้ ง เกจด้านความดันต่าต่อเขา้ ดา้ นดูด

เกจวัดความดันสูงตอ่ เข้าดา้ นอัดของคอมเพรสเซอรแ์ ละสายกลางต่อเขา้ กบั ป๊มั สญุ ญากาศ

แบบตรวจผลงานท่ี 5.1 หนว่ ยที่ 5

ชอ่ื หนว่ ย การบรรจุสารทาความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครัง้ ที่ 11-13

เรือ่ ง วธิ ีการทาสุญญากาศในระบบปรับอากาศรถยนต์

เกณฑ์การให้คะแนน
5 ดมี าก
4 ดี
3 ปานกลาง
2 พอใช้
1 ตอ้ งปรบั ปรงุ

ที่ รายการทต่ี รวจ นา้ หนกั การให้คะแนน รวม หมายเหตุ

54321

1. ความเรียบรอ้ ยการเตรยี มเครื่องมือ
2. อุปกรณ์
3. การต่อสายแมนนิโฟลด์เกจถูกตอ้ ง
4. การอา่ นคา่ แมนนโิ ฟลดเ์ กจถกู ต้อง
5. การปฏบิ ัตงิ านตามข้ันตอนทุกขั้นตอน
6. การบนั ทึกการปฏิบตั งิ าน

การเก็บรกั ษาเคร่ืองมืออุปกรณ์

ผู้ตรวจ…………………………
( ………………………)

ใบความรูท้ ่ี 5.2 หน่วยที่ 5

ช่ือหน่วย การบรรจุสารทาความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครัง้ ท่ี 11-13

เรื่อง วธิ กี ารบรรจสุ ารทาความเย็นในระบบปรบั อากาศรถยนต์

1. การบรรจสุ ารทาความเย็นเข้าในระบบทาความเยน็ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์
2. การบรรจสุ ารทาความเย็นในสถานะแก๊สในระบบปรับอากาศรถยนต์

3. ขอ้ แตกต่างระบบปรับอากาศรถยนต์ที่บรรจสุ ารทาความเย็น R-12 กบั R-134a
4. ข้อควรระวังในขณะเตมิ สารทาความเยน็ เขา้ ส่รู ะบบในระบบปรบั อากาศรถยนต์

1. การเติมสารทาความเยน็ เข้าในระบบทาความเย็นในระบบปรับอากาศรถยนต์

การเติมสารทาความเย็นเข้าในระบบเปน็ การปฏบิ ัติต่อจากการทาสุญญากาศระบบสาย
กลางของแมนนิโฟลดเ์ กจท่ีปลดออกจากปัม๊ สญุ ญากาศแลว้ จะถูกตอ่ เขา้ กบั ถังบรรจุสารทาความ
เยน็ ( R-134a) เม่ือตอ่ สายกลางของแมนนิโฟลด์เกจ เข้ากบั ถงั สารทาความเยน็ ( R-134a)
แลว้ จะตอ้ งทาการไลอ่ ากาศในสายกลางน้เี สยี ก่อน โดยคลายสายกลางดา้ นติดกับแมนนโิ ฟลดเ์ กจ
เลก็ น้อยเปดิ วาลว์ ถงั สารทาความเยน็ ( R-134a) ความดันของสารทาความเย็น ( R-134a)ในถงั
จะดนั ออกเปน็ การไลอ่ ากาศในสาย แลว้ จึงขันหวั ต่อสายกลางให้แนน่ ตามเดมิ ซ่งึ ขณะน้สี ารทา
ความเย็น ( R-134a) พรอ้ มทจ่ี ะบรรจุเข้าระบบไดส้ ารทาความเย็น ( R-134a) จะถูกบรรจุ
เข้าในระบบในสถานะแกส๊ หรือบางคร้งั อาจบรรจเุ ขา้ ในระบบในสถานะสารทาความเย็น( R-
134a) เหลวก็ได้

2. การบรรจุสารทาความเย็น (R-134a) ในสถานะแกส๊ (charging by vapor)
การบรรจสุ ารทาความเย็นเข้าในระบบโดยวธิ นี ี้จะใช้เวลาเพ่มิ ขน้ึ อกี เลก็ นอ้ ย แตเ่ ปน็ วิธที ี่

ธรรมดา ๆ และปลอดภยั ในการปฏิบตั ิในขณะที่หยุดระบบปรับอากาศ ให้เปดิ วาล์วด้านเกจวัด
ความดนั สูง ปล่อยใหส้ ารทาความเย็น ( R-134a) ในถังสารทาความเย็นผ่านเขา้ ทางด้านความ
ดนั สงู ของระบบและคอยควบคุมให้เกจดา้ นความดันสูงมีความดันประมาณ 50 ปอนดต์ ่อตารางน้วิ
เพอ่ื ป้องกันมใิ ห้คอมเพรสเซอรเ์ กิดชารดุ จากการเพมิ่ ความดนั อย่างรวดเร็ว ขณะนี้สารทาความ
เย็น

( R-134a) ได้ถูกบรรจุเข้าในระบบทางด้านความดันสงู ใหเ้ พ่มิ สารทาความเยน็ ( R-134a) เข้า
ในระบบจนกระทั่งไม่สามารถบรรจเุ พ่ิมเข้าไดอ้ ีกเน่อื งจากความดนั ของแก๊สในระบบเท่ากับความ
ดนั ของสารทาความเยน็ ภายในถังบรรจตุ ามปกติการเติมหรือบรรจุ สารทาความเยน็ ( R-134a)
เขา้ ในระบบจะกระทาไมไ่ ด้ ถ้าไมเ่ ดินระบบปรบั อากาศและปิดวาล์วด้านความดนั สูงของแมนนิ
โฟลด์เกจ และการบรรจุสารทาความเย็นจะกระทาตอ่ ไปได้โดยการเดนิ ระบบปรบั อากาศแล้ว
ค่อย ๆ เปิดวาลว์ เกจดา้ นความดนั ตา่

เม่ือระบบปรับอากาศเรมิ่ ทางานและบรรจุสารทาความเย็นในสถานะแกส๊ เขา้ ในระบบ
ทางด้านความดันต่า ให้สงั เกตความดนั ดา้ นเกจวดั ความดนั สูงของระบบประกอบการบรรจุ
สารทาความเยน็ เขา้ ในระบบด้วย

รปู ที่ 5.4 แสดงการบรรจุสารทาความเยน็ R-134 a ในสถานะแกส๊

3. ข้อแตกตา่ งระบบปรับอากาศรถยนต์ทีใ่ ชส้ ารทาความเย็น R-12 กับ R – 134a

สารทาความเยน็ R – 12 เป็นสารทม่ี ีขอ้ บกพรอ่ งอยูอ่ ย่างหนง่ึ คอื ทาลายชน้ั
บรรยากาศ

ของโลก ซ่ึงนานาชาติได้มีมติในท่ีประชมุ ใหเ้ ลกิ ผลิตสารทีท่ าลายชัน้ บรรยากาศของโลกออกมา
ใช้

ไม่วา่ จะเป็นอุตสาหกรรมใด ดังนัน้ สารทาความเยน็ R – 12 จงึ อย่ใู นขา่ ยของสารดงั กลา่ วท่ีจะ
เลิกผลิตดว้ ยเหตนุ ้ี R – 134 a จึงเป็นสารท่ถี กู ผลติ ขน้ึ มาใช้งานแทน R – 12 แตส่ าร R –
134 a ไม่สามารถนามาใชแ้ ทน R – 12 ไดท้ ันที เนอื่ งจากมีคณุ สมบตั ิบางอยา่ งทีแ่ ตกต่างกัน
ดงั นี้

3.1 R – 134a ไม่สามารถใช้ร่วมกบั นา้ มนั คอมเพรสเซอร์ท่วั ไปได้ จึงตอ้ งเปล่ียนนา้ มัน
คอมเพรสเซอรใ์ หม่

3.2 R – 134a มีคุณสมบัตทิ าให้ซลี และทอ่ ออ่ นบวมหรอื เสยี หาย จึงตอ้ งเปล่ียนวสั ดุทา
ซลี

และท่อออ่ น

3.3 R – 134a ดูดความชืน้ ได้มากทาให้มีโอกาสเกิดสนมิ ได้งา่ ย ดังนนั้ ต้องเปลีย่ น
รซี ีฟเวอร์ดรายเออรท์ ี่มีประสทิ ธิภาพดดู ความช้ืนสงู กวา่ เดิม

3.4 R – 134a มคี วามดันขณะทางานสงู มาก ด้านตา่ 40 – 60 ปอนด์ตอ่ ตารางนวิ้
ดา้ นสงู

250 – 350 ปอนด์ต่อตารางน้ิว จึงต้องเปล่ยี นคอมเพรสเซอร์

3.5 R – 134a มคี วามดนั ของการทางานสงู จึงมีผลทาให้อุณหภูมิของสารทาความเยน็ สูง
ดว้ ย

ดังน้นั คอนเดนเซอรจ์ ึงมกี ารออกแบบใหม้ ีการระบายความร้อนไดด้ ยี ง่ิ ขนึ้

3.6 ที่เอก็ ซแ์ พนชั่นวาล์วก็มกี ารปรบั ความดันของสปริงเชน่ เดยี วกัน เพือ่ ให้เหมาะสมกับ
ความดนั ของสารทาความเย็น R – 134a

3.7 เพอื่ ปอ้ งกนั ความผดิ พลาดระหว่างระบบปรบั อากาศ R – 12 กบั R – 134a จงึ
ตอ้ ง

เปลย่ี นแปลงเคร่อื งมือและอปุ กรณด์ ังน้ี

- เปลี่ยนแปลงรูปทรงของขอ้ ต่อต่าง ๆ ไม่ให้เหมือนกนั , เปลีย่ นแปลงวาล์ว
บรกิ าร

เป็นแบบลอ็ ก , เปลีย่ นเครอ่ื งมอื บรกิ ารใหม่ใหม้ ีขนาดตา่ งกัน , ทาเครอื่ งหมายบนทอ่ หรือ
อปุ กรณต์ ่าง ๆ ให้ชัดเจน

4. ข้อควรระวังในขณะบรรจุสารทาความเยน็ เขา้ ระบบปรับอากาศ

4.1 ในขณะทาการบรรจุสารทาความเยน็ เขา้ ในสถานะแก๊ส และกาลังเดนิ
คอมเพรสเซอร์

อยูน่ ้ี หา้ มเปิดวาลว์ เกจดา้ นความดันสูง เพราะถา้ เปิดวาล์วด้านความดนั สงู ของระบบแล้ว
สารทาความเย็นจะถูกอัดและเปน็ การหยดุ บรรจุสารทาความเย็น ถา้ ปลอ่ ยไว้นานอาจจะอดั
ความดนั เขา้ ท่อสารทาความเยน็ จนกระท่ังเกิดการระเบิดได้

ใบงานท่ี 5.2 หน่วยท่ี 5

ช่อื หนว่ ย การบรรจุสารทาความเย็นในระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครั้งที่ 11-13

เร่ือง วธิ กี ารบรรจุสารทาความเย็นในระบบปรับอากาศรถยนต์

1. รบั อากาศรถยนต์ที่ใช้สารทาความเยน็ R-12
2. ชุดฝกึ ระบบปรบั อากาศรถยนต์ท่ีใชส้ ารทาความเย็น R-134a
3. แมนนโิ ฟลดเ์ กจ
4. สารทาความเยน็ R – 12 , R-134a

5. เครื่องมือ ประแจสาหรบั ขนั ปดิ -เปิด วาลว์ หรอื ขอ้ ต่อต่าง ๆ

คาส่ัง
ใหน้ ักเรียนฝกึ บรรจสุ ารทาความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์ทใี่ ช้สารทาความเยน็

R-12 และระบบปรบั อากาศรถยนต์ท่ใี ช้สารทาความเย็น R-134a

ลาดับขน้ั ปฏิบัติงาน

1. เตรียมเครื่องมือและอปุ กรณ์
2. ตอ่ ชดุ แมนนิโฟลดเ์ กจเข้ากบั วาล์วบริการของระบบ
3. วาลว์ เกจอย่ใู นตาแหน่งปิดท้งั คู่
4. ภายในระบบต้องเป็นสญุ ญากาศ
5. ต่อสายกลางของแมนนโิ ฟลด์เกจเข้ากับถงั สารทาความเยน็ (R-12, R-134a)
6. เปดิ วาลว์ ถงั สารทาความเย็น (R-12, R-134a)
7. ไลอ่ ากาศทีค่ ้างอย่ใู นสายกลางของแมนนิโฟลดเ์ กจ โดยคลายสายกลางด้านติดกบั

ตวั
แมนนิโฟลด์เกจเลก็ นอ้ ย ปลอ่ ยให้สารทาความเย็นจากถงั ไลอ่ ากาศออก แล้วขนั สายให้แนน่

ตามเดมิ

8. ในขณะหยุดระบบปรบั อากาศ เปดิ วาลว์ เกจวัดความดนั สงู สารทาความเย็นจากใน
ถัง

สามารถบรรจเุ ข้าในระบบได้ท้ังสถานะแกส๊ หรอื สถานะของเหลว

9. ความดนั ภายในระบบ จะอ่านค่าได้ 60 ถงึ 80 ปอนดต์ อ่ ตารางนวิ้ ท่ี เกจวดั ความดัน
ทง้ั

คู่และจะไม่สามารถอัดสารทาความเยน็ เพิ่มเขา้ ไดอ้ กี เน่อื งจากความดนั ในระบบเท่ากับความดัน
ภายในถงั สารทาความเย็นแลว้

10. ปดิ วาล์วเกจวัดความดันสูง

11. ถ้าบรรจุสารทาความเยน็ เขา้ ในระบบในสถานะแก๊ส ใหว้ างถังสารทาความเย็นใน

ลักษณะต้งั ข้นึ

4. ใหเ้ ครอื่ งยนต์ทางานท่ีความเร็วรอบ 1500 รอบตอ่ นาที และใหร้ ะบบปรบั อากาศ
ทางานทตี่ าแหนง่ ความเย็นสูงสุดและความเร็วรอบของพัดลมสูงสดุ

13. เปิดวาลว์ เกจวดั ความดันตา่ ในขณะทจ่ี ะบรรจุสารทาความเย็น (R-12, R-134a)
เข้า

ในระบบ

14. บรรจุสารทาความเยน็ เข้าในระบบจนกวา่ จะไม่เห็นฟองอากาศที่กระจกมอง
สารทาความเยน็ ปิดวาลว์ เกจวดั ความดันต่า ในขณะบรรจุสารทาความเยน็ อาจมีความ
จาเป็นต้องจ่มุ ถังสารทาความเยน็ ลงในนา้ อุ่น (150 องศาฟาเรนไฮต,์ 65 องศาเซลเซียส) เพอ่ื
ชว่ ยให้ความดันของแก๊สในถังสารทาความเย็นสูงข้นึ เพือ่ ใหบ้ รรจสุ ารทาความเย็นเขา้ ในระบบได้
งา่ ยข้ึน

ขอ้ ควรระวงั ห้ามใชไ้ ฟลนถงั สารทาความเยน็ หรือใหค้ วามร้อนแกถ่ งั สารทาความเยน็
ในลกั ษณะอน่ื ๆ

15. เมือ่ บรรจุสารทาความเยน็ เสรจ็ เรียบรอ้ ย ใหป้ รับความเร็วของเครอ่ื งยนตอ์ ยูใ่ น
ตาแหนง่ เดนิ เบาปกติ (idle speed) ใหด้ บั เคร่ืองยนต์และระบบปรับอากาศ

16. ถอดสายชุดแมนนโิ ฟลด์เกจดว้ ยความระมัดระวงั
17. ปดิ ฝาครอบวาล์วบริการตามเดิม
18. ในการตรวจสอบครั้งสดุ ท้าย ให้ทาการตรวจหาที่รัว่ อีกคร้งั หนึ่ง
19. ทาความสะอาดเคร่อื งมือ อปุ กรณแ์ ละบริเวณฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน

รูปที่ 5.5 แสดงการบรรจสุ ารทาความเย็นในสถานะแก๊ส

ขอ้ ควรระวัง
1. ควรตอ่ สายแมนนโิ ฟลด์เกจใหถ้ ูกตอ้ ง
2. ควรสังเกตเขม็ เกจวัดความดนั อยูเ่ สมอ
3. สงั เกตรอยร่วั ทุกจดุ ให้ดี

ใบความร้ทู ี่ 5.3 หน่วยที่ 5

ชอ่ื หน่วย การบรรจุสารทาความเยน็ ในระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนคร้ังที่ 11-13

เรือ่ ง วิธตี รวจหารอยรัว่ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

เพอ่ื ให้นกั เรยี นตรวจหารอยร่ัวในระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้

เนือ้ หา

1. การตรวจหารอยรวั่ โดยใช้ฟองสบู่
2. การตรวจหารอยรว่ั ใช้ตะเกยี งตรวจรอยร่วั
3. การตรวจหารอยร่ัวใชเ้ ครอื่ งตรวจรอยร่ัวอเิ ลก็ ทรอนิกส์
1. การตรวจหารอยร่วั โดยใช้ฟองสบู่

1.1 การตรวจรอยรั่วโดยใช้ฟองสบู่ หลงั จากบรรจสุ ารทาความเยน็ (R-12, R-
134a) เขา้ ในระบบดงั กล่าวแลว้ ให้ใช้ฟองสบูต่ รวจรอยรว่ั ตามข้อตอ่ ต่าง ๆ ของทอ่ ทางเดนิ
สารทาความเยน็ หากมกี ารรวั่ ฟองสบจู่ ะโป่งออกจนแตกสาหรบั ระบบทท่ี างานอยู่แล้วถ้าเกิดรอย
รว่ั ท่ีจุดใด ๆ จะสงั เกตเห็นคราบนา้ มันจับอยรู่ อบ ๆ ทงั้ นี้เพราะขณะที่สารทาความเย็นรวั่ ออกมา
จะพาเอานา้ มนั หล่อลนื่ ในระบบตดิ ออกมาด้วยแลว้ สารทาความเยน็ จะระเหยตัวไป ส่วนนา้ มนั จะ
จับเป็นคราบตดิ อยู่

รปู ที่ 5.6 แสดงการตรวจรอยรวั่ ด้วยฟองสบู่

2. การตรวจรอยรั่ว โดยใชต้ ะเกียงตรวจสอบรอยรั่ว
การตรวจรัว่ โดยตะเกียงตรวจรวั่ การตรวจรวั่ โดยวธิ ีนี้อาศัยหลักคณุ สมบัตขิ อง

สารทาความเย็น (R-12) น่ันคอื เมื่อถกู เผาไหม้จะเปลี่ยนสเี ปลวไฟ จากสีเหลืองส้มเปน็
สเี ขยี วตองออ่ น

การตรวจร่ัวโดยวธิ นี ีค้ วรปฏบิ ัติตามข้นั ตอนดงั ต่อไปนีค้ ือ

1. เปิดวาล์วให้แกส๊ ในทอ่ ออกมา

2. จดุ ไฟทีห่ ัวติดไฟ (burner)

3. นาปลายสายยางสาหรบั ดูดอากาศเข้าไปจอ่ ตามจดุ ข้อต่อตา่ ง ๆ ของท่อทางเดนิ
สารทาความเย็นที่สงสยั วา่ จะรวั่

4. สังเกตสีเปลวไฟ หากจดุ ใดของระบบเกดิ ร่วั สารทาความเย็น (R-12) จะถูกดดู เขา้
ไป

ผสมกบั แก๊สจุดไฟ เปลี่ยนสขี องเปลวไฟเปน็ สีเขยี วตองออ่ น

ตะเกยี งตรวจรั่วนั้นนอกจากจะใชแ้ ก๊สสาหรบั จดุ ไฟแล้ว บางคร้ังกพ็ บวา่ ใช้แอลกอฮอล์

เปน็ เชอื้ เพลงิ ในการจดุ เปลวไฟแทนไดด้ ว้ ย

หวั ตดิ ไฟ ส่วนตรวจรวั่
สายดูดอากาศ

ทอ่ แกส๊

รูปท่ี 5.7 ตะเกยี งตรวจรอยร่วั

3. การตรวจรั่ว โดยใช้เครอ่ื งตรวจรอยรั่วอิเล็กทรอนกิ ส์
การตรวจร่ัวโดยใชเ้ ครอ่ื งตรวจร่ัวอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การตรวจรวั่ โดยวธิ นี ใ้ี ชต้ รวจระบบทใ่ี ช้

สารทาความเย็น (R-12 , R-134a) เท่าน้ันเช่นเดียวกับตะเกยี งตรวจรวั่

เครอื่ งตรวจรว่ั นอ้ี าจมลี ักษณะเปน็ แบบปืน ทุกแบบมหี ลกั การทางานเช่นเดยี วกันคอื จะมี
ปลายรบั สัมผัสแก๊สทีไ่ วมาก ซงึ่ ถ้าพบวา่ สารทาความเยน็ ร่วั จะทาให้เกดิ เสียงดังเป็นสญั ญาณใหร้ ู้

รปู ท่ี 5.8 เครือ่ งตรวจรั่วอิเลก็ ทรอนกิ ส์

ขอ้ แนะนาในการตรวจรว่ั ควรจะกระทาดังนี้คือ

1. ตรวจดดู ้วยสายตาวา่ ตามจุดตอ่ ต่าง ๆ ของระบบปรบั อากาศมคี ราบนา้ มันจบั อยูท่ ่ี
ใดบ้าง

2. ต่อชดุ แมนนโิ ฟลด์เกจเข้ากับระบบท่วี าลว์ บริการ

3. ถา้ อา่ นคา่ ความดันในระบบได้ถงึ 60-80 ปอนดต์ อ่ ตารางน้ิว ให้ตรวจหาจุดร่วั
ด้วยเคร่ืองตรวจร่ัวต่อไป

4. ถา้ เกจแสดงใหเ้ ห็นวา่ ไมม่ ีความดนั ในระบบหรอื อา่ นคา่ ได้ตา่ มาก ให้เติม
สารทาความเย็น (R-12, R-134a) เข้าอีก 1/2 กิโลกรมั ในขณะทห่ี ยดุ ระบบ โดยทาตามลาดบั
ขัน้ ดังนี้

4.1 ต่อสายบรรจุสารทาความเย็นจากถงั สารทาความเย็น (R-12, R-134a) เขา้
กบั รู

กลางของแมนนิโฟลด์เกจ

4.2 เปิดวาลว์ ดา้ นเกจวัดความดันทางสูงและวาลว์ ของถังทาความเยน็ (R-12,

R134a)

4.3 สังเกตดวู า่ สารทาความเยน็ ไหลเขา้ ในระบบ เกจจะแสดงวา่ ความดันทเ่ี พ่มิ ขึ

4.4 ถ้าจาเปน็ ควรวางถังสารทาความเยน็ (R-12,R-134a) ลงในนา้ อนุ่ เพอื่ ชว่ ยให้
น้ายา

ไหลเข้าในระบบไดเ้ รว็ ขน้ึ
4.5 ปิดวาลว์ ด้านเกจวัดความดันทางสูง และวาลว์ ของถงั สารทาความเยน็

(R-12,R-134a)
5. ใช้เครอ่ื งตรวจรัว่ ตรวจตามจุดตอ่ ตา่ ง ๆ ของท่อทางเดนิ สารทาความเยน็ ในระบบทุก

จุด
และท่ีคอนเดนเซอร์ คอมเพรสเซอร์ รีซฟี เวอรด์ รายเออร์ และอีวาปอเรเตอร์

6. ในการตรวจอวี าปอเรเตอร์ให้เดินพดั ลมด้วยความเรว็ ที่ต่าทสี่ ุด และสังเกตท่ี

ความเยน็ ของชอ่ งลมเย็นออก ถ้าเยน็ นอ้ ยกอ็ าจยนื ยันไดว้ า่ สารทาความเยน็ ในระบบรั่ว
7. ถ้าพบวา่ จุดตอ่ ตา่ ง ๆ รั่ว ใหข้ นั ใหแ้ น่น

8. เมอื่ จาเปน็ ต้องซ่อมช้นิ ส่วนอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ของระบบปรบั อากาศ ต้องปล่อย
สารทาความเยน็ ในระบบท้ิงกอ่ นทจี่ ะถอดชน้ิ ส่วนอปุ กรณน์ ้นั ๆ ออกซ่อม

9. ถา้ พบว่าจดุ รั่วของระบบพาเอาน้ามันของระบบออกมามาก จาเปน็ ต้องตรวจระดับ
น้ามันคอมเพรสเซอร์ หากน้อยเกินเกณฑ์ให้เตมิ นา้ มันคอมเพรสเซอร์เข้าไปใหพ้ อดี

ชุดการสอนที่ 6
การตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

โครงการสอนที่ 6 หน่วยที่ 6
สอนคร้ังท่ี 14-15
ชื่อวชิ า งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103
ชื่อหน่วย การตดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์

เร่ือง การติดต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

จุดประสงค์การสอน รายการสอน
1. ตดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้
1. การติดต้งั คอมเพรสเซอร์
2. การติดต้งั คอนเดนเซอร์
3. การตดิ ต้งั อีวาปอเรเตอร์
4. การตดิ ต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์และ

การเดินทอ่ สารทาความเยน็
5. การเดินวงจรไฟฟ้ า

วิธีการสอน บรรยาย/ถาม – ตอบ

ส่ือการสอน สื่อประกอบการสอนอุปกรณ์ 5 ชนิด ชุดสาธิตระบบปรบั อากาศรถยนต์

เคร่ืองมือติดต้งั ปั๊มสุญญากาศ แมนนิโฟลดเ์ กจ สารทาความเยน็ ซ่ึงเป็ นของจริง

ส่ือ ใบความรู้ แบบฝึกหดั ใบงาน แบบทดสอบ

การประเมินผล คะแนนจากการทาแบบทดสอบ หนังสืออ้างองิ บรรณานุกรมลาดบั ท่ี

ก่อน/หลงั เรียน แบบประเมินผลใบงาน 1, 2, 4, 5, 7, 8, 9, 12, 13

แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

… แผนการสอนที่ 6 หน่วยท่ี 6

ชื่อวิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้งั ท่ี 14-15

ช่ือหน่วย การติดต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์

สาระสาคญั

การตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์ มีข้นั ตอนทค่ี อ่ นขา้ งจะยงุ่ ยาก และตอ้ งการความ
ละเอียดพถิ ีพถิ นั เพราะพน้ื ท่ีท่ตี ิดต้งั คือรถยนต์ การเกิดขอ้ ผดิ พลาดจงึ ไม่ควรเกิดข้ึนเลย
เพราะฉะน้นั ช่างที่ทาการตดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์ ตอ้ งเป็ นผทู้ ี่มีความชานาญ มีความรู้
ระบบปรบั อากาศรถยนตอ์ ยา่ งเดียวไม่พอ ตอ้ งรู้จกั ระบบต่างๆ ภายในรถยนตด์ ว้ ย ความรู้ เขา้ ใจ
ในการติดต้งั อุปกรณ์ปรับอากาศคอื สิ่งสาคญั รถยนตแ์ ต่ละยห่ี อ้ มีตาแหน่งตดิ ต้งั อุปกรณ์ท่แี ตกต่าง
กนั มีขนาดต่างกนั การฝึกฝนตดิ ต้งั อุปกรณ์ เช่น คอมเพรสเซอร์ คอนเดนเซอร์ อีวาปอเรเตอร์
รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ และการเดินทอ่ เชื่อมตอ่ อุปกรณ์ ตลอดจนข้นั ตอน ทาสุญญากาศ ตรวจรอยร่ัว
บรรจสุ ารทาความเยน็ คือสิ่งทีน่ กั ศึกษาจะไดป้ ฏบิ ตั ใิ นแผนการสอนน้ี เพอ่ื ใหเ้ กิดความชานาญ
และเป็ นช่างท่ีดีในอนาคต

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

จดุ ประสงค์ทั่วไป

เพอื่ ใหน้ กั เรียนสามารถติดต้งั ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เม่ือนกั เรียนเรียนชุดการสอนท่ี 6 แลว้ นกั เรียนสามารถ

ตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้

เน้ือหา

การติดต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์

กจิ กรรมการเรียนการสอน

กิจกรรมการเรียนการสอน

7. ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน
7.1 นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
7.2 นาเขา้ สู่บทเรียน ดว้ ยวิธีการซกั ถาม

8. ข้นั สาธิตหรือยกตวั อยา่ ง
8.1 ครูผสู้ อนยกตวั อยา่ งการตดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์
8.2 อธิบายวธิ ีการตดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์

9. ข้นั ฝึกปฏิบตั ิ
9.1 นกั เรียนแบง่ กลุ่มปฏบิ ตั ติ ดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์
9.2 ฝึกปฏิบตั ิตามใบงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย

10.ข้นั สรุปและตรวจสอบ
10.1 นกั เรียนส่งงานที่ไดร้ บั มอบหมาย
10.2 ครูผสู้ อนตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิงาน
10.3 ครูผสู้ อนเสนอแนะเพม่ิ เตมิ

11.ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชานาญ
11.1 นกั เรียนท่ไี ดร้ ับการตรวจสอบแลว้ ดาเนินการฝึกฝนเพมิ่ เติม
11.2 ฝึกปฏบิ ตั ิปรับปรุงเทคนิคการตดิ ต้งั ใหเ้ กิดความชานาญ

12.ข้นั ประเมินผล
12.1 ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
12.2 ซกั ถาม - สงั เกต
12.3 ตรวจบนั ทึกการปฏิบตั ิงาน

ส่ือการเรียนการสอน

22. ใบความรู้
23. สื่อประกอบการสอนอุปกรณ์ 5 ชนิด ชุดสาธิตระบบปรบั อากาศรถยนต์

เครื่องมือติดต้งั ปั๊มสุญญากาศ แมนนิโฟลดเ์ กจ สารทาความเยน็ ซ่ึงเป็ นของจริง
24. แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน
25. แบบฝึกหดั
26. ใบงาน

การวดั ผล / ประเมินผล
การวัดผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี

32. การทาแบบทดสอบก่อนเรียน
33. การซกั ถามระหวา่ งเรียน
34. ความสนใจระหวา่ งเรียน
35. บนั ทึกการปฏิบตั งิ าน
36. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
37. คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

การประเมนิ ผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาหนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี

คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่ากว่าเกณฑข์ ้นั ต่า
คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก
คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน
คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้
คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้
คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี
คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก
คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยย่ี ม

หมายเหตุ
น้าหนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 %

จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

แบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน หน่วยที่ 6
สอนคร้งั ที่ 14-15
ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103

ช่ือหน่วย การตดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์

คาส่ัง จงทาเคร่ืองหมาย  ทบั ขอ้ ความที่ถูกตอ้ งท่สี ุดเพยี งขอ้ เดียว

1. อุปกรณ์อะไรทจี่ ะตอ้ งตดิ ต้งั คู่กบั คอมเพรสเซอร์เสมอ

ก. สายไฟ ข. พลูเล่ยส์ ายพาน

ค. รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ ง. เทอร์โมสตตั

2. แผงคอนเดนเซอร์ควรติดต้งั อยใู่ นส่วนใดของรถยนต์

ก. ดา้ นหนา้ รถยนต์ ข. ดา้ นหลงั รถยนต์

ค. ดา้ นหนา้ หมอ้ น้า ง. ดา้ นหลงั หมอ้ น้า

3. ลูกศรท่ปี รากฏทรี่ ีซีฟเวอร์ดรายเออร์ควรช้ีไปทอ่ี ุปกรณ์ใด

ก. คอมเพรสเซอร์ ข. คอนเดนเซอร์

ค. อีวาปอเรเตอร์ ง. เอ็กซแ์ พนชน่ั วาลว์

4. สารทาความเยน็ ชนิดใดบา้ งทสี่ ามารถใชก้ บั ระบบปรับอากาศรถยนต์

ก. R - 11 ข. R – 12

ค. R 134 a ง. ขอ้ ข และ ค ถูก

5. การติดต้งั แผงคอนเดนเซอร์ ควรตดิ ต้งั ห่างจากหมอ้ น้าเทา่ ใดจงึ เหมาะสม

ก. ½ - 1 ½ น้ิว ข. 2 น้ิว

ค. 2 – 2 ½ นิ้ว ง. 3 นิ้ว

6. การติดต้งั สายพานฉุดคอมเพรสเซอร์ตงึ เกินไป อาจจะทาใหเ้ กิดปัญหา

ก. สายพานขาด ข. คอมเพรสเซอร์หลุดจากแทน่ ยดึ
ค. เคร่ืองยนตไ์ ม่ทางาน ง. ลูกปื นคลตั ชแ์ ม่เหลก็ แตก

7. ทอ่ น้าทิ้งควรท้ิงที่ใด

ก. ทิง้ กบั ทอ่ ไอเสีย ข. ตอ่ เขา้ กบั หมอ้ น้า

ค. ต่อไปถงั พกั ง. ปล่อยทง้ิ ภายนอกรถ

8. เคร่ืองมืออะไรที่ไม่จาเป็นใชใ้ นการตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

ก. กรรไกร ข. ประแจปากตาย

ค. ไขควง ง. คีม

9. นกั ศกึ ษาคิดวา่ วธิ ีการตรวจรอยร่วั วธิ ีใด ทเ่ี หมาะสมใชต้ รวจหารอยรั่วในการตดิ ต้งั ระบบปรับ

อากาศรถยนต์

ก. ใชฟ้ องสบู่ ข. ใชต้ ะเกียงตรวจรั่ว

ค. ใชเ้ ครื่องตรวจอิเลก็ ทรอนิกส์ ง. ถูกทกุ ขอ้

10. ควรใชเ้ ครื่องมืออะไรตรวจสอบระบบไฟฟ้ ารถยนต์ ก่อนทาการทดลองใชร้ ะบบปรับอากาศ

รถยนต์

ก. โอหม์ ข. แอมป์ มิเตอร์
ค. วตั ตม์ ิเตอร์ ง. มลั ตมิ ิเตอร์

แบบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน หน่วยที่ 6
สอนคร้ังท่ี 14-15
ช่ือวิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103

ช่ือหน่วย การติดต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน ชุดการสอนที่ 6

1. ข 2. ค 3. ง 4. ง 5. ก
6. ง 7. ง 8. ก 9. ง 10. ง


Click to View FlipBook Version