The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by juthamat19911991, 2019-03-25 05:06:35

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

แบบประเมินครูอัตราจ้าง วิทยาลัยเทคนิคระยอง

ใบความรู้ที่ 6 หน่วยที่ 6
สอนคร้ังที่ 14-15
ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103

ช่ือหน่วย การตดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
เพอื่ ใหน้ กั เรียนสามารถตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้

เน้ือหา

1. การตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์
2. ข้นั ตอนการติดต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์
3. การทาสุญญากาศ การตรวจรอยร่วั การเติมสารทาความเยน็

1. การติดต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

การติดต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์ จะตอ้ งตดิ ต้งั อุปกรณ์ตามลาดบั การทางาน เพอื่ ใหก้ าร
ทางานของอุปกรณ์มีการสมั พนั ธก์ นั ประกอบดว้ ยคอมเพรสเซอร์ทีใ่ ชเ้ ครื่องยนตฉ์ ุดดว้ ยสายพาน
การติดต้งั รอก (Pulley) สายพาน คอนเดนเซอร์ระบายความร้อนตดิ ต้งั หนา้ หมอ้ น้ารถยนต์ อีวาปอเรเตอร์
ติดต้งั ในช่องดา้ นล่างคอนโซนรถยนต์ และรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ตดิ ต้งั บริเวณหอ้ งเครื่องยนต์ ทีม่ ี
การระบายความรอ้ นไดด้ ี

คอมเพรสเซอร์ รีซีฟเวอร์ดรายเออร์

คอนเดนเซอร์
รีเอกซ์แพนช่ันวาล์ว
อวี าปอเรเตอร์

รูปที่ 6.1 แสดงตาแหน่งการติดต้ังอปุ กรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์

ลาดบั การเตรียมการก่อนติดต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์
1. ตอ้ งเปลี่ยนรอก(pulley)เพลาขอ้ เหวี่ยงเป็นแบบ 2 ร่อง(มกั มีขายเฉพาะยหี่ อ้ รถแตล่ ะรุ่น)
2. ตอ้ งซ้ือแทน่ ยดึ คอมเพรสเซอร์ ซ่ึงมกั มีขาย ทาไวเ้ ฉพาะยห่ี อ้ รถ และใชก้ บั

คอมเพรสเซอร์ ยห่ี อ้ ใด (สามารถดดั แปลงทาเองได้ โดยเฉพาะกรณีซ้ือคอมเพรสเซอร์เก่ามา
ดดั แปลงใชง้ าน)

3. ตอ้ งตดิ ฟิลม์ กรองแสง (เปอร์เซนตส์ ูงจะทบึ มาก)
4. ควรปูสกั หลาดพ้นื รถใหม่
5. ตอ้ งเลือกใชส้ ายพานช้นั ดี เพอ่ื ความคงทนถาวร เพราะจะเกิดการสึกหรอเร็วมาก
โดยเฉพาะถา้ ตดิ ต้งั คอมเพรสเซอร์เยอ้ื งศูนย์

6. ตอ้ งอุดช่องทร่ี ว่ั ทุกแห่งของตวั รถ แตใ่ หค้ านึงการระบายอากาศในตวั รถดว้ ย
7. ตอ้ งเจาะรูปล่อยน้าท้ิงออกจากชุดอีวาปอเรเตอร์ (ตแู้ อร์) ลงใตพ้ ้นื รถ และระวงั
อยา่ ใหน้ ้าทงิ้ โดนช้ินส่วนโลหะหรืออุปกรณ์เพอื่ ความปลอดภยั เช่น ทอ่ น้ามนั เบรก

8. ตอ้ งซ้ือทอ่ สารทาความเยน็ ช้นั ดี 1 ชุด ควรระบใุ หผ้ ูจ้ าหน่ายทราบวา่ จะนาไปใช้
กบั คอมเพรสเซอร์และชุดอีวาปอเรเตอร์ ยหี่ อ้ ใด เคร่ืองยนตก์ ี่สูบ (ทอ่ สารทาความเยน็ 1 ชุด จะมี

4 เสน้ และมกั เป็นทอ่ โลหะเพยี ง 1 เสน้ )

9. ตอ้ งซ้ืออุปกรณ์และช้ินส่วนระบบปรับอากาศใหค้ รบ โดยเฉพาะคอมเพรสเซอร์
ตอ้ งเลือกพอดีกบั ขนาดความจขุ องเครื่องยนต์ (ซี.ซี.) และจานวนผโู้ ดยสารในรถ

2. ข้นั ตอนการติดต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

2.1 การตดิ ต้งั คอมเพรสเซอร์ คอมเพรสเซอร์คอื อุปกรณ์หลกั ของระบบปรับอากาศ

สาหรับการติดต้งั คอมเพรสเซอร์ระบบปรับอากาศรถยนตม์ ีลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ี

1. ตอ้ งถอดอุปกรณ์บางอยา่ งของรถยนตอ์ อกบา้ ง เพอื่ ความสะดวกในการติดต้งั

2. รอก (pulley) ตวั ขบั มีร่องสายพานเดี่ยวใหเ้ ปล่ียนใหม่ เพอื่ เพมิ่ ร่องของรอก(pulley)

ใหก้ บั สายพานของคลตั ชแ์ ม่เหลก็ (Magnetic clutch)

3. ตอ้ งตดั แผน่ เหลก็ ยดึ ระหวา่ งคอมเพรสเซอร์กบั ตวั เครื่องยนต์ (อาจหาซ้ือเป็ นชุดหรือ

ใชก้ ระดาษแขง็ ตดั เป็นแบบก่อน)

4. การตดิ ต้งั คอมเพรสเซอร์ควรทาดว้ ยความระมดั ระวงั ตวั ถงั รถยนตด์ ว้ ย
5. ความตงึ ของสายพานฉุดคอมเพรสเซอร์ ตอ้ งใหต้ งึ พอประมาณ ไม่ตงึ เกินไป
เพราะเป็นสาเหตขุ องลูกปื นคลตั ชซ์ ่ึงอาจแตกได้ นอกน้นั เราต้งั สายพานโดยการบิดสายพานบริเวณ
ก่ึงกลางของดา้ นทย่ี าวท่ีสุด ถา้ บิดได้ ¼ ถึง ½ รอบ แสดงวา่ ความตึงของสายพานใชไ้ ด้

6. การต้งั ร่องรอก (pulley) ใหต้ รงจะเป็นการยดื อายกุ ารใชง้ านของสายพานตวั ฉุด
คอมเพรสเซอร์

7. ก่อนทเ่ี ราจะใส่คลตั ชแ์ ม่เหล็ก เขา้ ปลายเพลาของตวั คอมเพรสเซอร์ เราตอ้ งตรวจ
ปลายแกนขอ้ เหวยี่ ง หรือปลายเพลาเสียก่อนสิ่งที่ดีควรทาดว้ ยน้ามนั หรือจาระบเี สียก่อน

8. การขนั นอ็ ตปลายเพลาเพอ่ื ยดึ ตวั คลตั ชแ์ ม่เหลก็ ตอ้ งขนั ใหแ้ น่นจนแน่ใจก่อน
ทาการตดิ ต้งั ถาวร

2.2 การติดต้งั คอนเดนเซอร์ โดยปกติจะตดิ ต้งั บริเวณดา้ นหนา้ หมอ้ น้า และจะมีพดั ลม
เพอ่ื ช่วยระบายความรอ้ น ลาดบั ข้นั การติดต้งั คอนเดนเซอร์มีข้นั ตอนดงั น้ี

1. อาจจะตอ้ งถอดตะแกรงหรือหมอ้ น้ารถยนตอ์ อกกอ่ น เพอื่ ความสะดวก
2. อยา่ วางชิดหมอ้ น้าเกินไป จะทาใหก้ ารระบายความรอ้ นท้งั ของคอนเดนเซอร์
และหมอ้ น้าไม่ดีเครื่องยนตจ์ ะรอ้ น ควรวางห่างกนั ประมาณ ½ - 1 ½ น้ิว
3. ในการติดต้งั คอนเดนเซอร์ในรถยนตเ์ กือบทุกยหี่ อ้ จะตอ้ งเปลี่ยนใบพดั ลมใหม้ ีขนาด
โตและจานวนใบเพม่ิ ข้ึน(ขนาดโตไม่เกินความสูงของหมอ้ น้าหรือไม่โตจนอาจไปตีท่อยางของ
หมอ้ น้า)
4. การติดต้งั ใหต้ าแหน่งท่อทางสารทาความเยน็ ออกอยดู่ า้ นล่างเสมอและอยใู่ นตาแหน่ง
ทส่ี ามารถต่อทอ่ ไปยงั ถงั พกั สารทาความเยน็ ไดโ้ ดยง่าย
5. การเจาะสกรูเพอื่ ตดิ ต้งั แผงคอนเดนเซอร์ จะตอ้ งไม่อยใู่ นตาแหน่งของหมอ้ น้า

เพราะเวลาขนั สกรูยดึ แผงคอนเดนเซอร์จะทาใหส้ กรูน้นั อาจเจาะทะลุหมอ้ น้า หรืออาจทาให้หมอ้ น้าบบุ เสียหาย
ได้

6. ท่อสารทาความเยน็ ทางออกของแผงคอนเดนเซอร์ ส่วนใหญ่อาจเป็นท่อยางหรือท่อ

อลูมเิ นียมหนาและอ่อน ท่อน้ีบางคร้ังตอ้ งทาการติดต้งั ทอ่ ทางออกเสียก่อนเพื่อความสะดวก

7. ตาแหน่งทต่ี ้งั ควรจะอยตู่ รงกลางใบพดั ลมรถยนต์

2.3 การตดิ ต้งั อวี าปอเรเตอร์ การตดิ ต้งั ชุดอีวาปอเรเตอร์ไม่สูม้ ีปัญหามาก พอสรุปเป็ น
หวั ขอ้ สาคญั ไดด้ งั น้ี

1. เลือกตาแหน่งชุดอีวาปอเรเตอร์อยรู่ ะหวา่ งกลาง ระหวา่ งคนขบั กบั คนนงั่

ดา้ นหนา้ เพอื่ ใหล้ มเยน็ สามารถส่งออกไปทว่ั ไดภ้ ายในรถ

2. ท่อระบายน้าท้งิ ตอ้ งเจาะอยา่ งระมดั ระวงั อยา่ ใหเ้ กะกะบริเวณทว่ี างเทา้

3. ตอ้ งต่อทอ่ ทางเดินสารทาความเยน็ โดยถาวร ก่อนทาการยดึ ตดิ ต้งั ช่องใหค้ วาม
เยน็

ถา้ เราทาการติดต้งั ช่องใหค้ วามเยน็ ก่อนตอ่ ทอ่ ทางเดินสารทาความเยน็ จะลาบากหรือ ไมอ่ าจตอ่
ท่อทางเดินสารทาความเยน็ ไดเ้ ลย

2.4 การติดต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ และการเดนิ ท่อสารทาความเยน็

ตวั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ หาทต่ี ิดภายในกระโปรงรถ ทางออกหนั ไปทางหลงั รถ
เมื่อติดต้งั อุปกรณต์ ่าง ๆ แลว้ ต่อท่อต่าง ๆ ดงั น้ี

1. ทอ่ ทางอดั ของคอมเพรสเซอร์ (D) ตอ่ เขา้ ทางคอนเดนเซอร์ (ดา้ นบน)

2. ท่อทางออกของคอนเดนเซอร์ (ดา้ นลง) ต่อเขา้ ทางเขา้ ของรีซีฟเวอร์ดรายเออร์

3. ทอ่ ทางออกของรีซีฟเวอร์ดรายเออร์ ต่อเขา้ ทางเขา้ ของ เอก็ ซ์แพนชนั่ วาลว์

(อยทู่ แ่ี ผงอีวาปอเรเตอร์ภายในรถยนต)์

4. ทอ่ ทางออกของอีวาปอเรเตอร์ต่อเขา้ ทอ่ ทางดูดของคอมเพรสเซอร์ (S)

เม่ือทาการต่อทอ่ ทางเดินของสารทาความเยน็ เรียบรอ้ ยแลว้ ใหท้ าการตรวจท่อสาร

ทาความเยน็ สองเสน้ ท่ีลอดผา่ นตวั ถงั รถเขา้ มาน้นั วา่ มีการป้ องกนั การเสียดสีหรือเปล่า จากน้นั ให้ใชฉ้ นวน
ประเภทกนั ความช้ืนและกนั ไม่ให้อากาศและฝ่นุ จากภายนอกเขา้ มาไดป้ ิดสนิท ก่อนทาการปิดควรทาความ
สะอาดบริเวณดงั กล่าวเสียก่อน เพื่อทาใหแ้ ผน่ ฉนวนมีการยดึ จบั บริเวณน้นั ไดด้ ียง่ิ ข้ึน

2.5 การเดินวงจรไฟฟ้ า

ภายหลงั จากการดาเนินการติดต้งั อุปกรณว์ งจรทางกลแลว้ ใหด้ าเนินการติดต้งั

อุปกรณ์ทางไฟฟ้ า ประกอบดว้ ย เทอร์มอสแตต สวติ ชพ์ ดั ลม สวิตชค์ วบคุมแรงดนั ตลอดจนเดินสาย
วงจรไฟฟ้ าตามแบบและรุ่นของระบบปรับอากาศ พร้อมตรวจสอบความถูกตอ้ งเรียบร้อย และทดสอบให้
สมบรู ณ์ เพอ่ื ไมใ่ ห้เกิดการผดิ พลาดทาใหเ้ สียเวลา

สวิตชก์ ุญแจ ฟิ วส์ เมนรีเลย์
20A
สวติ ชพ์ ดั ลม

ฟิ วส์ มอเตอร์พดั ลม
15A
แบตเตอร่ี รี ซีสเตอร์

สวิตชป์ รับความเยน็ สวิตชค์ วบคุมความดนั
เทอร์มีสเตอร์

คอยลจ์ ุดระเบิด วงจรถา่ ยRทPอNด ทราน คลตั ชแ์ มเ่ หลก็
อวุณงหจรภถมู ่าิ ยทอด ซิสเตอร์

แอมพลิฟาย

รูปที่ 6.2 ตวั อยา่ งวงจรไฟฟ้ าระบบปรับอากาศรถยนต์ นิปปอนเดนโซ่

3. การตรวจรอยรั่ว การทาสุญญากาศและการบรรจุสารทาความเยน็

หลงั จากดาเนินการติดต้ังอุปกรณ์ระบบปรับอากาศแล้ว การบรรจุสารทาความเยน็ ควรปฏบิ ัติตามข้นั ตอนให้ครบถ้วน
เพือ่ ไม่ให้เกิดปัญหาขนึ้ ภายหลัง การปฏิบัติตามข้นั ตอน ตรวจรอยรั่ว ทาสุญญากาศ ต้องปฏิบัตดิ ้วยความละเอยี ด

3.1 การทาสุญญากาศ ภายหลงั จากตรวจสอบหารอยรั่วเรียบรอ้ ยการทาสุญญากาศ

คือ ข้นั ตอนการดูดอากาศ ความช้ืน และฝ่ นุ ละอองตา่ ง ๆออกจากระบบเพอ่ื ทาใหร้ ะบบสะอาด
พรอ้ มจะบรรจุสารทาความเยน็ การทาสุญญากาศจะตอ้ งดาเนินการใหร้ ัดกุม เพอ่ื ไม่ใหม้ ีความช้นื
หลงเหลืออยใู่ นระบบ ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดปัญหาข้ึนมาภายหลงั

3.2 การบรรจสุ ารทาความเยน็ ตอ้ งตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ สารทาความเยน็ ทจ่ี ะใชเ้ ป็น

R – 12 หรือ R-134 a และปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนการเตมิ สารทาความเยน็ ใหค้ รบถว้ นและสมบรู ณ์
บรรจุสารทาความเยน็ ในปริมาณทเี่ หมาะสมตามเกณฑท์ ่กี าหนด ควรระมดั ระวงั เร่ืองการใชส้ ารทา
ความเยน็ หา้ มใชส้ ารทาความเยน็ R-134a ปนหรือแทนสารทาความเยน็ R-12 เพราะจะทาให้
อุปกรณ์ต่าง ๆ เสียหายได้ โดยเฉพาะโอริงและท่อยางต่าง ๆ

3.3 การตรวจรอยร่ัว สามารถดาเนินการไดห้ ลายวธิ ีตามความเหมาะสมแตไ่ ม่แนะนา
ใหใ้ ชก้ ารตรวจหารอยรัว่ ดว้ ยการใชต้ ะเกียงตรวจร่ัว เพราะอาจเกิดการลุกไหมไ้ ด้ หากจาเ

ใบงานที่ 6 หน่วยที่ 6
สอนคร้งั ที่ 14-15
ชื่อวิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103

ช่ือหน่วย การตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์
เรียนสามารถติดต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

รายการเคร่ืองมืออุปกรณ์
1. ประแจปากตาย เบอร์ 14,16,17,19,20,22,24,26

2. คอมเพรสเซอร์ 1 ตวั
แผง
3. คอนเดนเซอร์ 1 ชุด
ตวั
4. อีวาปอเรเตอร์ 1 ชุด
ชุด
5. รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ 1 ชุด
ชุด
6. ท่อวงจรระบบปรับอากาศ 1 ชุด
เครื่อง
7. อุปกรณ์วงจรไฟฟ้ า 1 ชุด
ตวั
8. ไขควง 1 กิโลกรมั (kg)

9. คีม 1

10. เคร่ืองยนตส์ าธิต หรือ รถยนตส์ าธิต 1

11. มลั ตมิ ิเตอร์ 1

12. แมนนิโฟลดเ์ กจ 1

13. ป๊ัมสุญญากาศ 1

14. สารทาความเยน็ 2

คาสั่ง ใหน้ กั เรียน แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 – 6 คน ปฏิบตั กิ ารตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์
ใหเ้ สร็จสมบูรณ์ในเวลาท่ีกาหนด

…………..

งานติดต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

ลาดบั ที่ รายการปฏบิ ัติงาน ผลการปฏิบัตงิ าน หมายเหตุ

ผ่าน ไม่ผ่าน

1. การเตรียมเครอื่ งมือและอุปกรณ์ 2 คะแนน
2. ติดตง้ั คอมเพรสเซอร์
2 คะแนน
- มคี วามแข็งแรงดี 1 คะแนน
- ตรงแนวรอก(pulley)ของเครอื่ งยนต์ 2 คะแนน
3. ตดิ ตง้ั คอนเดนเซอร์มคี วามแขง็ แรงดี
4. ตดิ ตง้ั อีวาปอเรเตอร์ 2 คะแนน
- มีความแขง็ แรงดี 1 คะแนน
- ต่อทอ่ ปลอ่ ยนา้ ทง้ิ
5. ตดิ ต้งั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ 2 คะแนน
- มคี วามแขง็ แรงดี 1 คะแนน
- มองเหน็ ได้ง่าย 1 คะแนน
- ต้งั ตรง 90 องศา 2 คะแนน
6. ต่อท่อวงจรทุกจดุ
7. ต่อท่อเขา้ รซี ีฟเวอรด์ รายเออรเ์ ป็น 1 คะแนน
ตวั สดุ ท้าย 3 คะแนน
8. ตรวจสอบรอยรว่ั ของระบบ 2 คะแนน
9. การทาสญุ ญากาศ
10. การบรรจสุ ารทาความเย็น 1 คะแนน
- การไลอ่ ากาศ 2 คะแนน
- ปริมาณเหมาะสม 3 คะแนน
11. ความเรยี บรอ้ ยของงาน

12. ทาความสะอาดบรเิ วณปฏิบตั ิงาน 2 คะแนน
รวมคะแนน

ช่อื นักเรยี น 1 …………………………………. เลขที่ ……………
2 …………………………………. เลขท่ี ……………

3 …………………………………. เลขที่ ……………

4 …………………………………. เลขที่ ……………

ผู้ตรวจ………………………….
(……………………….)

แบบตรวจผลงานที่ 6 หน่วยท่ี 6
สอนคร้ังที่ 14-15
ช่ือวชิ า งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103

ช่ือหน่วย การตดิ ต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนต์

เกณฑ์การให้คะแนน
5 ดีมาก
4 ดี
3 ปานกลาง
2 พอใช้
1 ตอ้ งปรบั ปรุง

ท่ี รายการทตี่ รวจ นา้ หนักการให้คะแนน

5 4 3 2 1 รวม

1. การจดั เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์

2. ความเขา้ ใจในข้นั ตอนปฏิบตั งิ าน
การประสานงานและสมั พนั ธง์ านในกลุ่ม

3. ผลงานมีความถูกตอ้ ง สมบรู ณ์และเรียบร้อย

4. ความสนใจการปฏบิ ตั ิงาน และปฏิบตั ิงาน
ทนั กาหนดเวลา

5.

รวม

ผตู้ รวจ……………………….
(………………………)



แบบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หน่วยท่ี 6

ชื่อวิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้ังที่ 14-15

ชื่อหน่วย การติดต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

คาสั่ง ใหน้ กั เรียนทาเครื่องหมาย  ทบั ขอ้ ทถ่ี ูกตอ้ งทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดียว (ขอ้ ละ 1 คะแนน)

1. อุปกรณ์ตวั ใดทตี่ ิดต้งั อยภู่ ายในหอ้ งโดยสาร ?

ก. คอนเดนเซอร์ ข . คอมเพรสเซอร์

ค. อีวาปอเรเตอร์ ง. รีซีฟเวอร์ดรายเออร์

2. อุปกรณ์ตวั ใดท่ีติดต้งั อยดู่ า้ นหนา้ ของหมอ้ น้า ?

ก. คอนเดนเซอร์ ข . คอมเพรสเซอร์

ค. อีวาปอเรเตอร์ ง. รีซีฟเวอร์ดรายเออร์

3. รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ถูกติดต้งั ระหวา่ งอุปกรณ์ในขอ้ ใด ?

ก. คอมเพรสเซอร์ - คอนเดนเซอร์ ข. คอนเดนเซอร์ - เอ็กซ์แพนชน่ั วาลว์

ค. อีวาปอเรเตอร์ - คอมเพรสเซอร์ ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก

4. แผงคอนเดนเซอร์ ควรติดต้งั ห่างจากหมอ้ น้าเทา่ ใด ?

ก. ½ - 1 ½ น้ิว ข. 2 นิ้ว

ค. 2 - 2 ½ น้ิว ง. 3 น้ิว

5. ลูกศรท่ีช้ีปรากฎทีต่ วั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์เป็นการแสดงทศิ ทางสารทาความเยน็ เขา้ ?

ก. คอนเดนเซอร์ ข. คอมเพรสเซอร์

ค. เอก็ ซ์แพนชนั่ วาลว์ ง. อีวาปอเรเตอร์

6. การต่อทอ่ น้าท้งิ ควรต่ออยา่ งไร ?

ก. ต่อไปทอ่ พกั น้า ข. ปล่อยน้าท้งิ ออกนอกรถ

ค. ตอ่ เขา้ กบั หมอ้ น้า ง. ตอ่ ทง้ิ กบั ท่อไอเสีย

7. การตรวจหารอยร่ัวในการติดต้งั ระบบปรบั อากาศรถยนตใ์ ชเ้ คร่ืองมือในขอ้ ใด ?

ก. ใชฟ้ องสบู่ ข. ใชต้ ะเกียงตรวจร่วั

ค. ใชเ้ คร่ืองตรวจอิเลก็ ทรอนิกส์ ง. ถูกทกุ ขอ้

8. ในการติดต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์ วงจรไฟฟ้ าควรใชเ้ ครื่องมือชนิดใดตรวจ ?

ก. โอหม์ มิเตอร์ ข. แอมป์ มิเตอร์

ค. มลั ตมิ ิเตอร์ ง. วตั ตม์ ิเตอร์

9. ถา้ ปรับความตงึ ของสายพานฉุดคอมเพรสเซอร์หยอ่ นเกินไป จะทาใหเ้ กิดปัญหาในขอ้ ใด ?

ก. ลูกปื นคลตั ชแ์ ม่เหล็กเสียหาย ข. แรงเครื่องยนตจ์ ะตก

ค. เกิดเสียงดงั ง. คอมเพรสเซอร์ทางานไม่เตม็ ท่ี

10. อุปกรณ์ตวั ใดทถ่ี ูกยดึ ตดิ กบั แผงคอนโซลในหอ้ งโดยสาร ?

ก. สวติ ชพ์ ดั ลม ข. เอ็กซแ์ พนชนั่ วาลว์

ค. สวติ ชค์ วบคุมแรงดนั ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก

แบบเฉลยแบบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หน่วยที่ 6
สอนคร้งั ที่ 14-15
ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103
ชื่อหน่วย การตดิ ต้งั ระบบปรับอากาศรถยนต์

เฉลยแบบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ชุดการสอนที่ 6

1. ค 2. ก 3. ข 4. ก 5. ค
6. ข 7. ง 8. ค 9. ง 10 ก

.

ชุดการสอนที่ 7
การหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์

โครงการสอนที่ 7 หน่วยท่ี 7
สอนคร้งั ที่ 16
ชื่อวิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 เวลา 6 ชม.

ชื่อหน่วย การหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์

เรื่อง 1. ความช้ืนในอากาศ รายการสอน
2. อุณหภูมิที่เหมาะสมกบั ร่างกายมนุษย์
3. การอ่านคา่ ตารางความช้ืนสมั พทั ธ์

จุดประสงค์การสอน

1. ทดสอบหาความช้ืนในระบบปรับอากาศรถยนต์ 1. ความช้ืนในอากาศ
ได้ 2. อุณหภมู ิทเี่ หมาะสมกบั ร่างกายมนุษย์
3. การอ่านคา่ ตารางความช้ืนสมั พทั ธ์
2. ทดสอบหาอุณหภูมิในระบบปรบั อากาศรถยนต์
ได้

3. อ่านค่าตารางความช้ืนสมั พทั ธไ์ ด้

วธิ ีการสอน บรรยาย/ถาม - ตอบ

สื่อการสอน ส่ือประกอบการสอนอุปกรณ์ 3 ชนิด เทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะเปี ยก แบบ

กระเปาะแหง้ ตารางไซโครเมตริชาร์ท ซ่ึงเป็นของจริง

ส่ือ ใบความรู้ แบบฝึกหดั ใบงาน แบบทดสอบ

การประเมินผล คะแนนจากการทาแบบทดสอบ หนังสืออ้างองิ บรรณานุกรมลาดบั ท่ี

ก่อน/หลงั เรียน แบบประเมินผลใบงาน 1, 2, 3, 4, 5, 7, 8, 9, 12

แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

แผนการสอนที่ 7 หน่วยท่ี 7
สอนคร้ังที่ 16
ช่ือวิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 เวลา 6 ชม.

ช่ือหน่วย การหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์

สาระสาคญั

ระบบปรบั อากาศรถยนตเ์ มื่อตดิ ต้งั เสร็จส้ินสมบูรณ์หรือเมื่อมีการบรรจุสารทาความเยน็

เสร็จส้ินควรมีการทดสอบประสิทธิภาพของระบบดว้ ย ซ่ึงถา้ ประสิทธิภาพอยใู่ นเกณฑท์ เ่ี หมาะสม
กเ็ ป็ นสิ่งท่ีดีในการนาไปใชง้ านตอ่ ไป ถา้ ประสิทธิภาพดอ้ ยกวา่ มาตรฐาน ซ่ึงก็ คอื ระบบปรับ
อากาศรถยนต์ ไม่คอ่ ยเยน็ นน่ั เองและถา้ ประสิทธิภาพสูงกวา่ มาตรฐาน ซ่ึงก็คอื ระบบปรบั อากาศ
รถยนต์ จะเยน็ เกินไป เกินความจาเป็นอนั อาจจะก่อใหเ้ กิดผลเสียตามมา เช่น มีเกล็ดน้าแขง็ เกาะที่
ครีบอีวาปอเรเตอร์ ลมเยน็ ไม่คอ่ ยออกมีน้ากระเดน็ ออกมาจากหนา้ กากชุดอีวาปอเรเตอร์ ขดทอ่
อีวาปอเรเตอร์ผกุ ร่อนงา่ ยและร่ัว การทดสอบประสิทธิภาพจะบอกใหเ้ ราทราบว่าระบบปรับอากาศ
รถยนตท์ ี่ใชอ้ ยมู่ ีประสิทธิภาพอยใู่ นระดบั ใด เพอ่ื ทจ่ี ะไดป้ รบั ปรุงแกไ้ ขตอ่ ไปกรณีที่ไม่เขา้ มาตรฐาน

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

จุดประสงค์ท่ัวไป

เพอ่ื ใหน้ กั เรียน สามารถหาค่าประสิทธิภาพในระบบปรบั อากาศในรถยนต์
ได้

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อนกั เรียนเรียนชุดการสอนท่ี 7 แลว้ นกั เรียนสามารถ

1. ทดสอบหาความช้ืนในระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้
2. ทดสอบหาอุณหภมู ิในระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้
3. อ่านคา่ ตารางความช้ืนสมั พทั ธไ์ ด้

เนื้อหา 1. ความช้ืนในอากาศ

2. อุณหภูมิท่ีเหมาะสมกบั ร่างกายมนุษย์

3. การอ่านค่าตารางความช้ืนสมั พทั ธ์

กจิ กรรมการเรียนการสอน

กจิ กรรมการเรียนการสอน

13.ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน
13.1 นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
13.2 ซกั ถามเร่ืองอุณหภมู ิทมี่ นุษยต์ อ้ งการ
13.3 เครื่องมือการวดั อุณหภมู ิท่มี ีใชก้ นั อยทู่ วั่ ไป

14.ข้นั สาธิตหรือยกตวั อยา่ ง
2.1 อธิบายการอ่านค่าอณุ หภูมิในเทอร์โมมิเตอร์

2.2 อธิบายการอ่านคา่ ความช่ืนสมั พทั ธ์ เทียบกบั ตารางไซโครเมตริชาร์ท

2.3 อธิบายกราฟหาคา่ ประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศรถยนต์

15.ข้นั ฝึกปฏิบตั ิ
15.1 ใหน้ กั เรียนหาประสิทธิภาพตามข้นั ตอนที่กาหนดให้
15.2 แบ่งกลุ่มนกั เรียนหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์
15.3 แบ่งกลุ่มอภิปรายงานที่ไดป้ ฏิบตั ิ งานมีปัญหาหรือุปสรรคอะไร เพอื่
นามาปรับปรุงแกไ้ ข

16.ข้นั สรุปและตรวจสอบ
16.1 สรุปการฝึกปฏิบตั ิงานร่วมกนั
16.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ งการหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์

17.ข้นั ฝึกใหเ้ กิดความชานาญ
ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่มใหฝ้ ึกปฏิบตั กิ บั ระบบปรบั อากาศรถยนตข์ องจริงจนเกิดความ
ชานาญ และหดั อ่านคา่ ตารางไซโครเมตริชาร์ทจนคล่องและชานาญดว้ ย

18.ข้นั ประเมินผล
18.1 จากการซกั ถาม
18.2 จากการสงั เกต
18.3 ตรวจบนั ทึกการปฏบิ ตั ิงาน
18.4 แบบทดสอบก่อน - หลงั เรียน

ส่ือการเรียนการสอน

27. ใบความรู้ หน่วยที่ 7 เรื่องการหาประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศรถยนต์
28. สื่อประกอบการสอนอุปกรณ์ 3 ชนิด เทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะเปี ยก

แบบกระเปาะแหง้ ตารางไซโครเมตริชาร์ท ซ่ึงเป็นของจริง

29. แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน
30. แบบฝึกหดั
31. ใบงาน
การวดั ผล / ประเมินผล
การวัดผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี

38. การทาแบบทดสอบก่อนเรียน
39. การซกั ถามระหวา่ งเรียน
40. ความสนใจระหวา่ งเรียน
41. บนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ าน
42. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
43. คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

การประเมนิ ผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาหนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี

คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑข์ ้นั ต่า
คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก
คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน
คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้
คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้
คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี
คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก
คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยย่ี ม

หมายเหตุ
น้าหนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 %

จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

แบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน หน่วยท่ี 7
สอนคร้ังที่ 16
ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 เวลา 6 ชม.

ชื่อหน่วย การหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์

คาสง่ั จงทาเคร่ืองหมาย  ทบั ข้อทถ่ี ูกทีส่ ุดเพยี งข้อเดยี ว

1. เทอร์โมมิเตอร์ทีใ่ ชใ้ นการหาประสิทธิภาพของระบบปรบั อากาศรถยนตม์ ีก่ีชนิด

ก. 1 ข. 2

ค. 3 ง. 4

2. อุณหภมู ิท่เี หมาะสมกบั ร่างกายมนุษยอ์ ยรู่ ะหวา่ งค่าเท่าไร

ก. 15-18 ซ ข. 18-24 ซ

ค. 23-25 ซ ง. 27-32 ซ

3. ควรตดิ เคร่ืองยนตก์ ่อนทดสอบหาประสิทธิภาพเคร่ืองปรับอากาศรถยนตป์ ระมาณกี่นาที

ก. 5-10 ข. 15-20

ค. 25-30 ง. 60

4. ถา้ อากาศรอ้ นความช้ืนสมั พทั ธจ์ ะเป็นอยา่ งไร

ก. มาก ข. นอ้ ย

ค. เปลี่ยนแปลงไดท้ กุ ขณะ ง. ปานกลาง

5. การหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์ ควรใชค้ วามเร็วรอบของเคร่ืองยนตเ์ ท่าไร

ก. 500 rpm ข. 1,000 rpm

ค. 2,000 rpm ง. 3,000 rpm

6. ขอ้ มลู ในขอ้ ใด ไม่จาเป็นตอ้ งใชใ้ นการทดสอบหาประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศรถยนต์

ก. ความช้ืนสมั พทั ธ์ ข. อุณหภูมิจุดน้าคา้ ง
ค. อุณหภมู ิกระเปาะแหง้ ง. อุณหภมู ิกระเปาะเปี ยก

7. ขอ้ ใดกล่าวผดิ

ก. การหาความช้ืนสมั พทั ธต์ อ้ งหาจากไซโครเมตริกชาร์ต
ข. การหาความช้ืนสมั พทั ธต์ อ้ งหาจากแผนภาพประสิทธิิภาพมาตรฐาน
ค. อุณหภูมิกระเปาะแหง้ และอุณหภมู ิกระเปาะเปี ยกนามาใชห้ าความช้ืนสมั พทั ธ์
ง. การทดสอบประสิทธิภาพเครื่องปรบั อากาศตอ้ งใชท้ ้งั แผนภาพประสิทธิภาพ

มาตรฐานและไซโครเมตริกชาร์ต

8. ถา้ วดั อุณหภมู ิกระเปาะแหง้ ได้ 30  C และวดั อุณหภมู ิกระเปาะเปี ยกได้ 21 C

ความช้ืนสมั พทั ธม์ ีคา่ เท่าใด

ก. 35 % ข. 44 %

ค. 52 % ง. 60 %

9. อตั ราส่วนระหวา่ งน้าหนกั ไอน้าในอากาศทวี่ ดั ไดจ้ ริง กบั น้าหนกั ไอน้าทร่ี ะเหยไดเ้ ตม็ ท่ี

ทอี่ ุณหภมู ิเดียวกนั เรียกวา่ อะไร

ก. ความแหง้ อากาศ ข. ความช้ืนสมั พทั ธ์
ง. น้าหนกั ไอน้าสมั บูรณ์
ค. ไอน้าอากาศสมั พทั ธ์
10. ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ ง

ก. โดยปกติอุณหภูมิกระเปาะแหง้ จะต่ากวา่ อุณหภมู ิกระเปาะเปี ยก
ข. โดยปกติอุณหภมู ิกระเปาะแหง้ และอุณหภมู ิกระเปาะเปี ยกจะเทา่ กนั
ค. เทอร์โมมิเตอร์ทหี่ ุม้ กระเปาะดว้ ยผา้ ชุบน้าใชว้ ดั อุณหภูมิกระเปาะแหง้
ง. เทอร์โมมิเตอร์ท่หี ุม้ กระเปาะดว้ ยผา้ ชุบน้าใชว้ ดั อุณหภูมิกระเปาะเปี ยก

แบบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน หน่วยท่ี 7
สอนคร้ังท่ี 16
ชื่อวิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 เวลา 6 ชม.

ชื่อหน่วย การหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน ชุดการเรียนท่ี 7

1. ข 2. ค 3. ก 4. ก 5. ค
6. ข 7. ข 8. ข 9. ข 10. ง

ใบความรู้ที่ 7 หน่วยที่ 7
สอนคร้งั ท่ี 16
ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 เวลา 6 ชม.

ชื่อหน่วย การหาประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศรถยนต์

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
เพอ่ื ใหน้ กั เรียน สามารถหาคา่ ประสิทธิภาพในระบบปรบั อากาศในรถยนตไ์ ด้

เนือ้ หา 1. ความช้ืนในอากาศ
2. อุณหภมู ิทเ่ี หมาะสมกบั ร่างกายมนุษย์

3. การอ่านคา่ ตารางความช้ืนสมั พทั ธ์

ความช้ืนในอากาศ และอณุ หภมู ิท่ีเหมาะสมกบั มนุษย์

หลงั จากทาการบรรจสุ ารความเยน็ แลว้ ควรทาการทดสอบหาประสิทธิภาพของระบบ
ปรบั อากาศรถยนตว์ า่ อยใู่ นเกณฑท์ ใ่ี ชไ้ ดห้ รือไม่ โดยคานึงถึงหลกั 2 ประการน้ีคือ

1. ความช้ืนในอากาศ ถา้ อากาศร้อนมกั จะมีความช้ืนมากกวา่ อากาศเยน็ ขณะทอี่ ากาศ
ช้ืนจะป้ องกนั ขดั ขวางไม่ใหเ้ กิดการระเหย จะทาใหร้ ูส้ ึกร้อน ความช้ืนมากทาใหร้ ูส้ ึกอึดอดั หรือ
ถา้ ความช้ืนนอ้ ยทาใหผ้ วิ แหง้ ดงั น้นั ปริมาณความช้ืนทีท่ าใหเ้ รารู้สึกสบายคือ 50-55%

2. อุณหภูมิตอ้ งปรบั ใหเ้ หมาะสมกบั ร่างกายมนุษย์ อุณหภูมิท่ีกาลงั สบายควรอยรู่ ะหวา่ ง
23-25 ซ

ดงั น้นั เราจึงตอ้ งนาเอาปัจจยั สองอยา่ งน้ีมา เพอื่ หาประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศรถยนต์

ขน้ั ตอนการหาประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศรถยนต์
1. เครื่องมอื และอปุ กรณ์

1.1 แมนนิโฟลดเ์ กจ
1.2 เทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะแหง้ , กระเปาะเปี ยก

ข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน
1. เตรียมเครื่องมือและวสั ดุ อุปกรณ์
2. นารถเขา้ ในทร่ี ่มและเปิ ดประตูรถทุกบาน

. ใชผ้ า้ คลุมบงั โคลนรถ ผา้ คลุมเบาะรถ
4. ตรวจดูวาลว์ ของแมนนิโฟลดเ์ กจ ตอ้ งอยใู่ นตาแหน่งปิ ดท้งั คู่ แมนนิโฟลดเ์ กจ
เมื่อเลิกใชง้ านแลว้ ตอ้ งปิ ดวาลว์ ท้งั คู่เสมอ
5. เปิ ดฝาครอบลิ้นบริการท้งั สองดา้ นทค่ี อมเพรสเซอร์
6. ต่อสายเกจเขา้ กบั ลิ้นบริการที่คอมเพรสเซอร์
6.1 เกจดา้ นความดนั ต่า ใหต้ ่อสายเขา้ ท่ีล้ินบริการของคอมเพรสเซอร์ดา้ นดูด
6.2 เกจดา้ นความดนั สูง ใหต้ ่อสายเขา้ ทล่ี ้ินบริการของคอมเพรสเซอร์ดา้ นอดั
7. ตดิ เครื่องยนตแ์ ละอุ่นเคร่ืองยนตป์ ระมาณ 5-10 นาที
8. ต้งั ความเร็วรอบเคร่ืองยนตใ์ หอ้ ยปู่ ระมาณ 2,000 rpm
9. เปิ ดสวติ ชค์ วบคุมความเร็วพดั ลมอีวาปอเรเตอร์ใหอ้ ยใู่ นตาแหน่ง เร็วสูงสุด
10. เปิ ดสวติ ชเ์ ทอร์มอสแตตใหอ้ ยใู่ นตาแหน่ง เยน็ สูงสุดขณะน้ี วาลว์ ท้งั คู่ของ
แมนนิโฟลดเ์ กจ ยงั อยใู่ นตาแหน่ง ปิ ด
11. อ่านค่าความดนั ทแ่ี มนนิโฟลดเ์ กจ ท้งั สองดา้ น ค่าความดนั ควรอยใู่ นเกณฑต์ ่อไปน้ี
11.1 ความดนั ดา้ นต่า 30-40 psi
11.2 ความดนั ดา้ นสูง 200-250 psi

รูปท่ี 7.1 แสดงการวดั อุณหภมู ิ

12. นาเทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะเปี ยก กระเปาะแหง้ ตดิ ไวท้ ่ดี า้ นช่องดูดอากาศเขา้
ของอีวาปอเรเตอร์ (ไม่ใช่ทางลมเยน็ ออก)

13. นาเทอร์โมมิเตอร์เฉพาะแบบกระเปาะแหง้ ติดไวท้ ่อดา้ นหนา้ ของชุดอีวาปอเรเตอร์
(ทางลมเยน็ ออก)โดยพยายามใหส้ ่วนที่เป็นกระเปาะของเทอร์โมมิเตอร์ปะทะกบั ลมเยน็ มากทีส่ ุด
(สอดเขา้ ใหล้ ึกท่ีสุดแตอ่ ยา่ ใหช้ นกบั ครีบหรือขดทอ่ ของอีวาปอเรเตอร์) นิยมใชเ้ ทอร์โมมิเตอร์ แบบ
หนา้ ปัดกลมหรือแบบแท่งแกว้ ยาว ประมาณ 1 ฟตุ

14. ใหอ้ ่านคา่ เทอร์โมมิเตอร์ดงั น้ี
14.1 ค่าอุณหภมู ิจากเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะแหง้ และกระเปาะเปี ยก (ทางอากาศเขา้ )

ตวั อย่าง อ่านเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะแหง้ ไดค้ ่า 25 ซ และอ่านเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปี ยกได้
20 ซ

14.2 ค่าอุณหภูมิจากเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะแหง้ (ทางลมเยน็ ออก)
ตัวอย่าง อ่านเทอร์โมมิเตอร์ได้ 6 ซ

15. นาค่าอุณหภมู ิจากขอ้ 14.1 มาหาคา่ ความช้ืนสมั พทั ธจ์ ากกราฟ
ตวั อย่าง จะไดค้ วามช้ืนสมั พทั ธ์ เท่ากบั 60 เปอร์เซ็นต์

รูปท่ี 7.2 แสดงการหาคา่ ความช้ืนสมั พทั ธจ์ ากกราฟ

16. หาคา่ ผลตา่ งของอุณหภมู ิกระเปาะแหง้ ระหวา่ งทางอากาศเขา้ กบั ทางลมเยน็ ออก โดย
นาค่าอณุ หภมู ิกระเปาะแหง้ ของทางอากาศเขา้ ลบดว้ ยค่าอุณหภูมิกระเปาะแหง้ ของทางลมเยน็ ออก
ตวั อยา่ ง อุณหภูมิกระเปาะแหง้ ทางอากาศเขา้ เทา่ กบั 25 ซ และอุณหภมู ิกระเปาะแหง้ ทางลมเยน็
ออกเท่ากบั 6 ซ ซ่ึงผลตา่ งเทา่ กบั 19 ซ

17. นาคา่ ความช้ืนสมั พทั ธจ์ ากขอ้ 15 และคา่ ผลต่างอุณหภมู ิกระเปาะแหง้ จาก

ข้นั ตอนที่ 16 มาหาจดุ ร่วมบนกราฟประสิทธิภาพมาตรฐานของระบบปรับอากาศรถยนต์

17.1 ถา้ จดุ ร่วมอยใู่ นแนวเสน้ ทึบ แสดงวา่ ประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศรถยนต์

อยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน

17.2 ถา้ จดุ ร่วมอยเู่ หนือเสน้ ทบึ แสดงวา่ ระบบปรับอากาศจะใหค้ วามเยน็ จดั เกิน
ซ่ึงอาจก่อใหเ้ กิดผลเสียต่อระบบปรบั อากาศได้ เช่น เกิดเกล็ดน้าแขง็ อุดตนั ครีบอีวาปอเรเตอร์

ขดท่ออีวาปอเรเตอร์ร่ัวไดง้ ่าย แต่มีขอ้ ดีอยบู่ า้ งในกรณีที่เปิ ดระบบปรบั อากาศใชง้ านสามารถเปิ ด
สวติ ชพ์ ดั ลมและสวติ ชเ์ ทอร์มอสแตตใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งต่าหรือปานกลาง ซ่ึงเป็ นการยดื อายกุ ารใช้
งานของระบบปรบั อากาศไดท้ างหน่ึง

17.3 ถา้ จดุ ร่วมอยตู่ ่ากวา่ เสน้ ทึบ แสดงวา่ ระบบปรับอากาศไม่คอ่ ยเยน็

รูปท่ี 7.3 กราฟประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศรถยนต์

จากตัวอย่าง ผลต่างอุณหภูมิกระเปาะแหง้ ของอากาศเขา้ – ลมเยน็ ออก = 19  ซ และค่าความช้ืน
สมั พทั ธ์ = 60 % นามาหาจดุ ร่วมบนกราฟ ปรากฏวา่ จุดร่วมอยใู่ นแนวเสน้ ทึบ แสดงวา่
ประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนตอ์ ยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน

....... 18. หลงั จากทดสอบประสิทธิภาพแลว้ ใหป้ ิ ดสวติ ชพ์ ดั ลมและสวติ ชเ์ ทอร์มอสแตต

ก่อนท่ีจะดบั เครื่องยนต์

19. อ่านคา่ ความดนั บนเกจท้งั สองดา้ น เมื่อค่าความดนั เทา่ กนั หรือใกลเ้ คยี งกนั (แตกตา่ ง
กนั ไม่เกิน 10 ปอนด/์ ตร.น้ิว) จึงถอดสายเกจออกจากลิน้ บริการของคอมเพรสเซอร์ท้งั สองดา้ นโดย
พยายามใหส้ ารทาความเยน็ รัว่ ไหลไดน้ อ้ ยทีส่ ุด

19.1 ควรสวมแวน่ ตานิรภยั ขณะถอดสายเกจ
19.2 การถอดสายเกจออก ใหก้ ดสายเกจเขา้ ไปในลิ้นบริการแลว้ รีบคลายน็อต
ล็อกสายเกจออกใหเ้ ร็วที่สุด จะช่วยใหส้ ารทาความเยน็ รัว่ ไหลไดน้ อ้ ย

20. ปิ ดฝาครอบล้ินบริการคอมเพรสเซอร์

21. ทบทวนข้นั ตอน การทดสอบประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศรถยนต์
22. ทาความสะอาดและจดั เก็บเคร่ืองมือ วสั ดุ อุปกรณ์ และบริเวณปฏิบตั ิงาน
ข้อควรจา ในขณะทดสอบ

1. ความช้ืนสมั พทั ธ์ ควรอยรู่ ะหวา่ ง 50-70 %
2. คา่ ผลตา่ งอุณหภมู ิกระเปาะแหง้ ระหวา่ งทางอากาศเขา้ กบั ทางลมเยน็ ออก ควรมีค่า
ผลตา่ งอยรู่ ะหวา่ ง 10-22 ซ หรือ 50-70 ฟ
3. อุณหภมู ิบรรยากาศภายนอก ควรอยรู่ ะหวา่ ง 86-95 ฟ หรือ 30-35 ซ
4. ค่าความดนั บนเกจดา้ นความดนั ต่า ควรอยรู่ ะหวา่ ง 30-40 ปอนด์ / ตารางนิ้ว
5. ค่าความดนั บนเกจดา้ นความดนั สูง ควรอยรู่ ะหวา่ ง 200-250 ปอนด์ / ตารางน้ิว
6. ถา้ คา่ ในขณะทดสอบแตกต่างจากดงั กล่าว 5 ขอ้ ขา้ งตน้ ขอ้ ใดขอ้ หน่ึงควรเลื่อน
การทดสอบออกไปเพราะผลการทดสอบจะคลาดเคลื่อนจากสภาพความเป็ นจริง
7. หลกั การอยา่ งง่าย ๆ อีกกรณีหน่ึงคอื การพจิ ารณาอุณหภูมิแตกตา่ งระหวา่ ง ในหอ้ ง
โดยสารซ่ึงควรต่างกนั ไม่ต่ากวา่ 18 ฟ หรือ 10 ซ ข้ึนไป จึงจะจดั ไดว้ า่ ระบบปรับอากาศ

... ใบงานที่ 7 หน่วยท่ี 7

ช่ือวิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้ังที่ 16

ชื่อหน่วย การหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์ เวลา 6 ชม.

จุดประสงค์การเรียนรู้

เม่ือนกั เรียนฝึกปฏิบตั ิงานตามใบงานท่ี 7 แลว้ นักเรียนสามารถ หาประสิทธิภาพในระบบ
ปรบั อากาศในรถยนตไ์ ด้
รายการเคร่ืองมืออุปกรณ์

1. รถยนตท์ ีใ่ ชใ้ นการทดสอบสาหรบั ตรวจสอบ
2. เทอร์โมมิเตอร์ แบบกระเปาะเปี ยก , แบบกระเปาะแหง้
3. แมนนิโฟลดเ์ กจ

คาสั่ง ใหน้ กั เรียนหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์ ตามข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี

ลาดบั ข้นั การปฏบิ ตั งิ าน
1. เตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณ์
2. นารถทจี่ ะทดสอบเขา้ พ้นื ท่ีในร่ม
3. ตรวจดูวาลว์ ของแมนนิโฟลดเ์ กจตอ้ งอยใู่ นตาแหน่งปิ ด
4. เปิ ดฝาครอบลิ้นท้งั 2 ดา้ นทคี่ อมเพรสเซอร์
5. ต่อสายเกจเขา้ กบั ลิ้นท่ีคอมเพรสเซอร์
6. ติดเคร่ืองยนตป์ ระมาณ 5-10 นาที
7. ต้งั ความเร็วรอบเครื่องยนตอ์ ยใู่ นประมาณ 2,000 rpm
8. เปิ ดสวติ ชค์ วบคุมความเร็วพดั ลมและสวติ ชเ์ ทอร์มอสแตตทตี่ าแหน่งสูงสุด
9. อ่านคา่ ท่แี มนนิโฟลดเ์ กจดา้ นต่าอยรู่ ะหวา่ ง 30-40 psi ดา้ นสูงอยรู่ ะหวา่ ง 200-250 psi
10. นาเทอร์โมมิเตอร์แบบกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแหง้ วดั อุณหภมู ิหอ้ งโดยสารและ

อ่านคา่
11. นาเทอร์โมมิเตอร์ กระเปาะแหง้ ใส่เขา้ ทางลมออก
12. นาคา่ อณุ หภมู ิ (ขอ้ 10) ไปหาความช้ืนสมั พทั ธจ์ ากกราฟ
13. นาเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะแหง้ ไปตดิ ไวท้ างลมเขา้ และอ่านคา่

14. นาค่าผลตา่ งอุณหภูมิลมเยน็ ออก ลบดว้ ยคา่ อุณหภูมิลมเขา้ ไปหาประสิทธิภาพ
ระบบปรบั อากาศจากกราฟ

15. ทาความสะอาดเคร่ืองมือ อุปกรณ์และบริเวณปฏบิ ตั ิงาน
แสดงข้นั ตอนการหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์

1. สตาร์ทเครื่องยนต์ เปิ ดระบบปรบั อากาศไวป้ ระมาณ 10 นาที
2. ใชเ้ ทอร์โมมิเตอร์กระเปาะแหง้ และกระเปาะเปี ยก วดั อุณหภูมิในหอ้ งโดยสาร

รูปท่ี 7.4 แสดงการวดั ดว้ ยเทอร์โมมิเตอร์
3. นาคา่ อณุ หภมู ิท้งั สองหาค่าความช้ืนสมั พทั ธใ์ นกราฟ

รูปท่ี 7.5 แสดงการหาความช้ืนสมั พทั ธจ์ ากกราฟ

4. วดั อุณหภมู ิระหวา่ งลมเขา้ กบั ลมออกของอีวาปอเรเตอร์และนาค่าท้งั สองลบกนั จะได้ ค่า
แตกต่างของอุณหภมู ิ

รูปที่ 7.6 แสดงวดั อุณหภมู ิทางลมเขา้

รูปท่ี 7.7 แสดงการวดั อุณหภูมิลมออกของอีวาปอเรเตอร์
5. นาค่าความช้ืนสัมพัทธ์และอุณหภูมิแตกต่างระหว่างลมเข้ากับลมออก หาค่า

ประสิทธิภาพระบบปรับอากาศในกราฟ

รูปท่ี 7.8 กราฟประสิทธิภาพมาตรฐานของระบบปรบั อากาศรถยนต์

ถา้ คา่ ท้งั สองตดั กนั
- ในพน้ื ท่ีสีดาแสดงวา่ ประสิทธิภาพระบบปรบั อากาศรถยนตใ์ ชไ้ ด้
- นอกพน้ื ทสี่ ีดาแสดงวา่ ประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนตใ์ ชไ้ ม่ได้

แบบตรวจผลงานท่ี 7 หนว่ ยท่ี 7
สอนครัง้ ท่ี 16
ชื่อวชิ า งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103

ชื่อหน่วย การหาประสิทธิภาพระบบปรับอากาศรถยนต์

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

5 ดีมาก
4 ดี
3 ปานกลาง
2 พอใช้
ตอ้ งปรับปรุง

ที่ รายการท่ีตรวจ น้าหนกั การใหค้ ะแนน รวม หมายเหตุ
54321

1. การใช้เครื่องมอื ถูกต้อง

2. การปฏิบตั งิ านตามลาดบั

3. การหาค่าความชื้นสัมพทั ธ์

4. การหาประสิทธิภาพ

5. ความเรียบร้อยในการปฏบิ ตั ิ

รวม

ผู้ตรวจ………………………….
(……………………………)

ชุดการสอนที่ 8
การคดิ ราคางานปรับอากาศรถยนต์

โครงการสอนที่ 8 หน่วยท่ี 8
สอนคร้ังท่ี 17
ช่ือวิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 เวลา 6 ชม.

ช่ือหน่วย การคดิ ราคางานปรับอากาศรถยนต์

เรื่อง 1. การประมาณราคาคา่ บริการงานปรับอากาศรถยนต์

2. การหาราคาคา่ แรง

3. การหาราคาทนุ รายการสอน
4 การหาค่าบริการ

จุดประสงค์การสอน

1. อธิบายการประมาณราคาคา่ บริการ 1. การประมาณราคาคา่ บริการงานปรับอากาศ
งานปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้ รถยนต์

2. คานวณหาราคาคา่ แรงได้ 2. การหาราคาคา่ แรง
3. คานวณการหาราคาทนุ ได้
4. คานวณราคาคา่ บริการได้ 3. การหาราคาทนุ
4 การหาคา่ บริการ

วิธีการสอน บรรยาย/ถาม - ตอบ

ส่ือการสอน ส่ือ ใบความรู้ แบบฝึกหดั แบบทดสอบ

การประเมินผล คะแนนจากการทาแบบทดสอบ หนังสืออ้างอิง บรรณานุกรมลาดบั ท่ี

ก่อน/หลงั เรียน แบบประเมินผลใบงาน 6,7,8,11,12

แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

แผนการสอนท่ี 8 หน่วยที่ 8
สอนคร้งั ที่ 17
ชื่อวชิ า งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 เวลา 6 ชม.

ชื่อหน่วย การคิดราคางานปรบั อากาศรถยนต์

สาระสาคญั
การคิดราคาค่าบริการงานปรับอากาศรถยนตน์ ้นั ผปู้ ระกอบการหรือช่างผใู้ หบ้ ริการ

จะตอ้ งคิดออกมาเพอื่ คิดราคากบั ลูกคา้ หรือผเู้ ขา้ รับบริการ การประมาณราคา กค็ อื แยกงานเป็ น
งานยอ่ ย ๆ จากน้นั จะนาเอางานยอ่ ย ๆ น้นั มาคิดแยกเป็นคา่ แรง คา่ วสั ดุอุปกรณ์และกาไรท่ี
ตอ้ งการ กจ็ ะไดป้ ระมาณราคาในงานน้นั เพอื่ แจง้ แก่ลูกคา้

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

จุดประสงค์ทัว่ ไป

เพอื่ ใหน้ กั เรียนมีหลกั การคิดราคาในการบริการงานปรบั อากาศรถยนต์

ในลกั ษณะต่าง ๆ

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เมื่อนกั เรียนเรียนชุดการสอนที่ 8 แลว้ นกั เรียนสามารถ

8. อธิบายการประมาณราคาคา่ บริการงานปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้
9. คานวณหาราคาคา่ แรงได้
10. คานวณการหาราคาทุนได้
11. คานวณราคาคา่ บริการได้

เน้ือหา
1. การประมาณราคาคา่ บริการงานปรับอากาศรถยนต์

2. การหาราคาคา่ แรง
3. การหาราคาทนุ
4. การหาค่าบริการ

กจิ กรรมการเรียนการสอน

กิจกรรมการเรียนการสอน

19.ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน
19.1 นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
19.2 ซกั ถามเร่ืองการคดิ ราคางานปรบั อากาศรถยนต์

20.ข้นั สาธิตหรือยกตวั อยา่ ง
2.1 อธิบายหลกั การคดิ ราคา

2.2 นกั เรียนยกตวั อยา่ งการคิดราคาทีเ่ คยพบเห็น

21.ข้นั ฝึกปฏบิ ตั ิ
นกั เรียนทาแบบฝึกหดั

22.ข้นั สรุปและตรวจสอบ
22.1 ซกั ถามหลกั การคดิ ราคาเป็นรายบคุ คล
22.2 อภิปรายเป็นกลุ่ม
22.3 ตรวจแบบฝึกหดั

23.ข้นั ประเมินผล
23.1 ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
23.2 ซกั ถาม
23.3 สงั เกต
23.4 ตรวจบนั ทึกการปฏบิ ตั ิงาน

ส่ือการเรียนการสอน
1. ใบความรู้
2. แบบทดสอบก่อน/หลงั เรียน
3. แบบฝึกหดั

….………

การวดั ผล / ประเมินผล
การวัดผล วดั ผลโดยวธิ ีการดงั น้ี

44. การทาแบบทดสอบก่อนเรียน
45. การซกั ถามระหวา่ งเรียน
46. ความสนใจระหวา่ งเรียน
47. บนั ทึกการปฏิบตั งิ าน
48. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
49. คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

การประเมนิ ผล ประเมินผลโดยถือเกณฑ์ กาหนดจากระดบั คะแนนการวดั ผลดงั น้ี

คะแนนร้อยละ 0 ถึง 49 ระดบั คะแนน(เกรด) 0 ผลการเรียนต่ากว่าเกณฑข์ ้นั ต่า
คะแนนร้อยละ 50 ถึง 54 ระดบั คะแนน(เกรด) 1 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก
คะแนนร้อยละ 55 ถึง 59 ระดบั คะแนน(เกรด) 1.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน
คะแนนร้อยละ 60 ถึง 64 ระดบั คะแนน(เกรด) 2 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้
คะแนนร้อยละ 65 ถึง 69 ระดบั คะแนน(เกรด) 2.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้
คะแนนร้อยละ 70 ถึง 74 ระดบั คะแนน(เกรด) 3 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ี
คะแนนร้อยละ 75 ถึง 79 ระดบั คะแนน(เกรด) 3.5 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีมาก
คะแนนร้อยละ 80 ถึง 100 ระดบั คะแนน(เกรด) 4 ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑด์ ีเยย่ี ม

หมายเหตุ
น้าหนกั ของคะแนนในการประเมินผลคะแนนจากการตรวจผลงาน 80 %

จากการทดสอบหลงั เรียน 20 %

แบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน หน่วยที่ 8
สอนคร้ังที่ 17
ช่ือวชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 เวลา 6 ชม.

ชื่อหน่วย การคิดราคางานปรับอากาศรถยนต์

คาสั่ง จงทาเคร่ืองหมาย  ทบั ขอ้ ความท่ีถกู ตอ้ งที่สุดเพยี งขอ้ เดียว

จากขอ้ มูลต่อไปน้ี ใหเ้ อาไปตอบคาถาม ขอ้ 1- 5

รถยนตม์ ารับบริการเปลี่ยนแผงอีวาปอเรเตอร์ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ราคาแผง

อีวาปอเรเตอร์ใหม่เป็นเงนิ 3,500 บาท ในการทางานมีค่าใชจ้ า่ ยเป็ นค่าวสั ดุ 680 บาท ใช้
คนทางานเพยี งคนเดียว ทางรา้ นตอ้ งการกาไร 15% ของราคาทนุ

หมายเหตุ คดิ คา่ แรงตามตารางที่ 8.1 เป็นเงิน 400 บาท

1. ถา้ รา้ นคิดราคาโดยท่ีไม่คดิ กาไรกบั ลูกคา้ ทางร้านจะคดิ เงินเท่าไรกบั ลูกคา้

ก. 3,500 บาท ข. 680 บาท
ค. 4,580 บาท ง. 4,180 บาท
2. ราคาทุน คือขอ้ ใด

ก. 5,267 บาท ข. 3,500 บาท
ค. 4,180 บาท ง. 4,580 บาท
3. ราคากาไรคอื ขอ้ ใด

ก. 4,180 บาท ข. 5,267 บาท
ค. 687 บาท ง. 525 บาท
4. ราคาคา่ บริการคอื ขอ้ ใด

ก. 5,267 บาท ข. 525 บาท
ค. 400 บาท ง. 4,180 บาท
5. ราคาคา่ แรงของช่างถา้ คิดคนเดียวคือขอ้ ใด

ก. 200 บาท ข. 300 บาท
ค. 500 บาท ง. 400 บาท

6. ราคาค่าแรง บวก ราคาวสั ดุ บวก ราคาอะไหล่ คือสูตรการคิดราคาอะไร

ก. ราคาค่าบริการ ข. ราคาทนุ

ค. ราคาคา่ แรง ง. ราคากาไร

7. คู่มือชวั่ โมงมาตรฐาน ถา้ เวลาทางาน 24 นาที คดิ เป็นเลขทศนิยมมีคา่ เทา่ ใด

ก. 0.4 ชม. ข. 0.5 ชม.

ค. 0.1 ชม. ง. 1.0 ชม.

8. ถา้ ตอ้ งการกาไร 25% เม่ือลงทุนไป 200 บาท คดิ เป็ นกาไรก่ีบาท

ก. 100 บาท ข. 75 บาท

ค. 50 บาท ง. 25 บาท

9. การนาเอาราคาทุนบวกกบั ราคากาไรคือสูตรการคดิ ค่าราคาอะไร

ก. ค่าแรง ข. คา่ บริการ

ค. คา่ ทนุ ง. ค่าใชจ้ า่ ย

10. ในการประมาณราคาค่าบริการตอ้ งคดิ จากคา่ อะไรบา้ ง

ก. ค่าวสั ดุ ข. ค่าแรง
ค. คา่ อะไหล่ ง. ถูกทกุ ขอ้

แบบเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน หน่วยท่ี 8
ชื่อวิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั 2101-2103 สอนคร้งั ท่ี 17
เวลา 6 ชม.
ชื่อหน่วย การคิดราคางานปรับอากาศรถยนต์

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ชุดการสอนท่ี 8

1. ค 2. ง 3. ค 4. ก 5. ง
6. ข 7. ก 8. ค 9. ข 10. ง



3.4 วจิ ัยในชัน้ เรียนทุกภาคเรียน (5 คะแนน)
มีการส่งงานวิจยั ตามกาหนดในภาคเรยี นที่ 2/2560



3.5 การสง่ ผลการเรียน (5 คะแนน)
เนอ่ื งจากชว่ งเวลาการรวบรวมเอกสารการประเมนิ อยูร่ ะหวา่ งภาคเรียน จึงไม่มีเอกสารการส่งผลการ

เรียนของภาคเรยี นที่ 1/2561 จึงนาเอกสารการส่งผลการเรียนภาคเรียนท่ี 2/2560 เพื่อยืนยนั การสง่





3.6 สมดุ บนั ทกึ เวลาเรยี น (5 คะแนน)


Click to View FlipBook Version