The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-02-26 21:08:03

มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

Keywords: มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

มนตพิธี - หนาท่ี 240
คำเกบ็ มานตั ต
วัตตัง นิกขปิ ามิ มานตั ตงั นิกขปิ ามิ
ทุติยมั ป วตั ตงั นกิ ขปิ ามิ มานัตตัง นิกขิปามิ
ตะตยิ มั ป วตั ตัง นิกขปิ ามิ มานตั ตงั นิกขปิ ามิ

คำขออพั ภาน
อะหัง ภนั เต สัมพะหลุ า สังฆาทิเสสา อาปต ติโย อาปชชิง
อาปตตปิ ะริยนั ตงั เอกจั จัง ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ
รัตตปิ ะริยนั ตัง เอกจั จงั ชานามิ เอกัจจงั นะ ชานามิ
อาปตติปะรยิ นั ตงั เอกจั จงั สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
รตั ตปิ ะรยิ นั ตัง เอกัจจงั สะรามิ เอกจั จงั นะ สะรามิ
อาปตตปิ ะริยนั เต เอกจั จัง เวมะตโิ ก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก
รัตตปิ ะริยนั เต เอกจั จงั เวมะตโิ ก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
โสหัง สงั ฆงั ตาสงั อาปต ตินัง สทุ ธันตะปะริวาสัง ยาจิง
ตัสสะ เม สงั โฆ ตาสงั อาปตตีนัง สุทธนั ตะปะรวิ าสัง อาทาสิ
โสหัง ปะรวิ ุตถะปะริวาโส สงั ฆงั ตาสงั อาปตตีนัง ฉารัตตงั
มานัตตงั ยาจงิ
ตัสสะ เม สงั โฆ ตาสงั อาปต ตนี ัง ฉารตั ตัง มานัตตงั อะทาสิ
โสหงั ภันเต จณิ ณะมานตั โต สงั ฆงั อพั ภานัง ยาจามิ

มนตพธิ ี - หนาท่ี 241
อะหัง ภนั เต สมั พะหลุ า สังฆาทิเสสา อาปตติโย อาปชชงิ
อาปต ตปิ ะรยิ ันตัง เอกจั จงั ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ
รัตตปิ ะรยิ นั ตงั เอกจั จัง ชานามิ เอกัจจงั นะ ชานามิ
อาปต ตปิ ะรยิ นั ตงั เอกัจจงั สะรามิ เอกัจจะ นะ สะรามิ
รตั ติปะรยิ นั ตงั เอกจั จัง สะรามิ เอกัจจะ นะ สะรามิ
อาปต ตปิ ะรยิ นั เต เอกัจจงั เวมะตโิ ก เอกัจเจ นะ สะรามิ
รัตติปะริยนั เต เอกัจจัง เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
โสหัง สังฆัง ตาสัง อาปต ตีนัง สทุ ธนั ตะปะริวาสงั ยาจิง
ตัสสะ เม สังโฆ ตาสงั อาปตตีนัง สุทธนั ตะปะริวาสัง อาทาสิ
โสหงั ปะริวตุ ถะปะริวาโส สังฆัง ตาสัง อาปตตนี ัง ฉารัตตัง
มานตั ตัง ยาจงิ
ตสั สะ เม สังโฆ ตาสงั อาปต ตีนัง ฉารัตตงั มานัตตงั อะทาสิ
โสหัง จณิ ณะมานตั โต ทตุ ยิ มั ป ภันเต สงั ฆัง อัพภานัง ยาจามิ
อะหงั ภันเต สัมพะหลุ า สังฆาทเิ สสา อาปต ติโย อาปช ชิง
อาปตติปะริยันตัง เอกัจจงั ชานามิ เอกัจจงั นะ ชานามิ
รัตตปิ ะริยนั ตัง เอกจั จัง ชานามิ เอกัจจงั นะ ชานามิ
อาปต ติปะรันตัง เอกจั จัง สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
รัตติปะริยันตงั เอกัจจัง สะรามิ เอกจั จงั นะ สะรามิ
อาปตติปะรยิ ันเต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นิพเพมะตโิ ก
รตั ตปิ ะริยันเต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นพิ เพมะติโก
โสหัง สังฆงั ตาสัง อาปตตนี ัง สุทธนั ตะปะรวิ าสัง ยาจิง

มนตพธิ ี - หนาท่ี 242
ตัสสะ เม สังโฆ ตาสัง อาปต ตินัง สทุ ธนั ตะปะริวาสัง อะทาสิ
โสหัง ปะรวิ ุตถะปะริวาโส สังฆัง ตาสงั อาปตตนี งั ฉารัตตัง
มานตั ตงั ยาจงิ
ตัสสะ เม สงั โฆ ตาสัง อาปตตีนัง ฉารตั ตงั มานตั ตัง อะทาสิ
โสหงั จิณณะมานตั โต ตะตยิ ัมป ภนั เต สงั ฆงั อพั ภานงั ยาจามิ.

กรรมวาจาใหอัพภาน
สุณาตุ เม ภนั เต สงั โฆ อะยงั อิตถนั นาโม
ภกิ ขุ สัมพะหุลา สังฆาทิเสสา อาปตติโย อาปชชิ
อาปตตปิ ะรยิ ันตัง เอกจั จัง ชานาติ เอกัจจงั นะ ชานาติ
รัตตปิ ะริยนั ตัง เอกัจจงั ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ
อาปต ตปิ ะริยันตงั เอกัจจงั สะระติ เอกจั จงั นะ สะระติ
รัตติปะริยนั ตัง เอกจั จงั สะระติ เอกัจจงั นะ สะระติ
อาปต ตปิ ะริยนั เต เอกจั เจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะติโก
รัตตปิ ะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก
โส สงั ฆงั ตาสงั อาปตตีนัง สทุ ธันตะปะรวิ าสัง ยาจิ
ตสั สะ สงั โฆ ตาสงั อาปตตีนัง สทุ ธนั ตะปะริวาสงั ยาจิ
โส ปะริวตุ ถะปะริวาโส สังฆัง ตาสัง อาปต ตีนัง ฉารัตตัง
มานตั ตงั ยาจิ ตสั สะ สงั โฆ ตาสงั อาปต ตนี ัง ฉารตั ตัง
มานตั ตัง อะทาสิ โส จิณณะมานตั โต สงั ฆงั อพั ภานัง ยาจะติ

มนตพธิ ี - หนาที่ 243
ยะทิ สงั ฆัสสะ ปต ตะกัลลงั สังโฆ อิตถันนามงั ภิกขุง อัพเภยยะ
เอสา ญตั ติ ฯ

สณุ าตุ เม ภนั เต สงั โฆ อะยัง อติ ถนั นาโม
ภิกขุ สัมพะหลุ า สังฆาทเิ สสา อาปตตโิ ย อาปชชิ
อาปตติปะริยนั ตงั เอกจั จัง ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ
อาปต ติปะรยิ นั ติ เอกัจจงั สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
รตั ตปิ ะริยนั ตงั เอกัจจัง สะราติ เอกัจจงั นะ สะระติ
อาปต ตปิ ะริยันเต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นิพเพมะติโก
รตั ติปะรยิ ันเต เอกจั เจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะติโก
โส สังฆัง ตาสงั เอปตตีนงั สุทธนั ตะปะริวาสัง ยาจิ
ตสั สะ สงั โฆ ตาสงั อาปตตีนัง สุทธันตะปะรวิ าสัง อะทาสิ
โส ปะรวิ ตุ ถะปะรวิ าโส สงั ฆัง ตาสงั อาปต ตนี งั ฉารัตตงั
มานตั ตงั ยาจิ ตสั สะ สังโฆ ตาสัง อาปต ตนี ัง ฉารัตตงั
มานัตตัง อะทาสิ โส จณิ ณะมานัตโร สังฆัง อัพภานงั ยาจะติ
สงั โฆ อติ ถนั นามงั ภิกขุง อัพเภติ ยสั สายสั สมะโต ขะมะติ
อิตถันนามสั สะ ภิกขุโน อพั ภานงั โส ตณุ หัสสะ ยสั สะ
นักขะมะติ โส ภาเสยยะ ฯ

ทุตยิ มั ป เอตะมัตถงั วะทามิ สณุ าตุ เม ภันเต สังโฆ
อะยงั อิตถนั นาโม ภกิ ขุ สมั พะหลุ า สังฆาทิเสสา อาปต ติโย อาปช ชิ
อาปตติปะริยังตัง เอกจั จงั ชานาติ เอกัจจั ง นะ ชานาติ
รตั ติปะรยิ นั ตัง เอกจั จงั ชานาติ เอกจั จัง นะ ชานาติ

มนตพธิ ี - หนาที่ 244
อาปต ติปะริยันตงั เอกจั จัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
รัตตปิ ะรยิ นั ตัง เอกจั จัง สะระติ เอกจั จงั นะ สะระติ
อาปตติปะรยิ นั เต เอกจั จัง เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก
รัตตปิ ะริยันเต เอกจั จงั เวมะติโก เอกจั เจ นพิ เพมะติโก
โส สงั ฆงั ตาสัง อาปต ตนี งั สทุ ธันตะปะรวิ าสัง ยาจิ
ตสั สะ โส สังโฆ ตาสัง อาปต ตีนัง สุทธนั ตะปะรวิ าสัง อะทาสิ
โส ปะรวิ ุตถะปะริวาโส สังฆงั ตาสัง อาปตตนี งั ฉารตั ตงั
มานตั ตงั ยาจิ ตสั สะ สงั โฆ ตาสัง อาปตตีนงั ฉารัตตงั
มานัตตัง อะทาสิ โส จิณณะมานัตโต สงั ฆัง อพั ภานัง ยาจะติ
สงั โฆ อติ ถันนามงั ภกิ ขุง อัพเภติ ยัสสายัสมะโต ขะมะติ
อตั ถนั นามสั สะ ภิกขุโน อัพภานงั โส ตณุ หสั สะ ยัสสะ นักขะมะติ
โส ภาเสยยะ ฯ

ตะตยิ ัมป เอตะมตั ถงั วะทามิ สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ
อะยัง อิตถันนาโม ภิกขุ สัมพะหลุ า สงั ฆาทเิ สสา อาปตตโิ ย อาปชชิ
อาปตติปะริยนั ตงั เอกจั จงั ชานาติ เอกัจจงั นะ ชานาติ
รตั ตปิ ะริยันตงั เอกจั จัง ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ
อาปตติปะรยิ ันตงั เอกัจจงั สะระติ เอกจั จัง นะ สะระติ
รตั ติปะริยนั ตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
อาปตตปิ ะริยันเต เอกจั จงั เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะตโิ ก
รัตตปิ ะริยนั เต เอกจั จงั เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะติโก
โส สังฆัง ตาสงั อาปตตนี งั สุทธันตะปะริวาสงั ยาจิ

มนตพธิ ี - หนา ที่ 245
ตสั สะ สงั โฆ ตาสัง อาปตตีนัง สทุ ธนั ตะปะรวิ าสงั อะทาสิ
โส ปะริวตุ ถะปะริวาโส สงั ฆงั ตาสงั อาปต ตนี งั ฉารัตตัง
มานตั ตงั ยาจิ ตสั สะ สงั โฆ ตาสงั อาปตตีนัง ฉารัตตงั
มานัตตงั อะทาสิ โส จณิ ณะมานตั โต สงั ฆัง อัพภานงั ยาจะติ
สังโฆ อติ ถนั นามัง ภกิ ขงุ อพั เภติ ยสั สายัสมะโต ขะมะติ
อัตถันนามสั สสะ ภิกขโุ น อพั ภานัง โส ตณุ หสั สะ ยสั สะ นกั ขะมะติ
โส ภาเสยยะ ฯ

อัพภโิ ต สังเฆนะ อติ ถันนาโม ภิกขุ ขะมะติ สงั ฆสั สะ
ตัสมา ตณุ หี เอวะเมตงั ธาระยามิ ฯ

คาถาทำนำ้ มนตใหขายของดี

พทุ ธงั พะหูชะนานงั

เอหิจติ ตัง เอหมิ ะนุสสานงั

เอหลิ าภัง เอหิเมตตา

ชมภูทเี ป มะนสุ สานงั

อติ ถิโย ปุรโิ ส จติ ตัง พนั ธงั เอหิ.

คาถานี สวดภาวนาทำนำ้ มนต ประพรมสง่ิ ของที่ขาย ขายของดนี ักแล

(จากปฏทิ นิ อเนกประสงค 336 ป)

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 246
คำสมาทานธดุ งค
๑. ถือทรงผา บงั สกุ ุลเปน วตั ร วา คะหะปะตจิ วี ะรัง ปะฏกิ ขปิ ามิ
ปง สุกลู ิกงั คงั สะมาทิยามิ แปลวา เรางดคหบดีจีวรเสยี สมาทานองคข อง
ผถู ือซึ่งผา บงั สุกุลเปน วตั ร
๒. ถอื ทรงเพยี งไตรจีวรเปนวตั ร วา จะตตุ ถะจีวะรัง ปะฏิกขปิ ามิ
เตจวี ะรกิ ังคงั สะมาทิยามิ แปลวา เรางดจวี รผืนที่สเี่ สยี สมาทานองคข อง
ผถู ือซงึ่ ไตรจวี รเปน วัตร
๓. ถือเท่ียวบิณฑบาตเปน วตั ร วา อะติเรกะลาภัง ปะฏกิ ขปิ ามิ
ปณฑะปาติกังคัง สะมาทยิ ามิ แปลวา เรางดอตเิ รกลาภเสยี สมาทาน
องคข องผูถ อื บิณฑบาตเปนวัตร
๔. ถือเที่ยวบณิ ฑบาตไปตามแถวเปนวตั ร วา โลลุปปะจารัง
ปะฏิกขปิ ามิ สะปะทานะจารกิ กังคงั สะมาทยิ ามิ แปลวา เรางดการเทยี่ ว
โลเลเสีย สมาทานองคข องผถู ือเท่ยี วบณิ ฑบาตไปตามแถวเปนวัตร
๕. ถือนงั่ ฉันอาสนะเดียวเปน วตั ร วา นานาสะนะโภชะนัง
ปะฏกิ ขิปามิ เอกาสะนกิ ังคงั สะมาทยิ ามิ แปลวา เรางดฉนั ตา งอาสนะเสีย
สมาทานองคของผถู ือนั่งฉันอาสนะเดียวเปนวัตร
๖. ถอื ฉนั เฉพาะใน บาตรเดยี วเปนวตั ร วา ทตุ ิยะภาชะนัง
ปะฏิกขปิ ามิ ปต ตะปณฑิกังคงั สะมาทิยามิ แปลวา เรางดภาชนะทีส่ องเสีย
สมาทานองคของผูถอื การฉันเฉพาะในบาตรเปน วัตร

มนตพิธี - หนาท่ี 247
๗. ถือหา มภตั อนั นกถวายเมอื่ ภายหลงั เปน วตั ร วา อะติรติ ตะ-
โภชะนงั ปะฏิกขิปามิ ขะลุปจฉาภัตตกิ งั คงั สะมาทยิ ามิ แปลวา เรางด
โภชนะอันเหลอื เฟอเสยี สมาทานองคแหงผหู ามภตั อันนำถวายเมือ่ ภายหลงั
เปน วัตร
๘. ถอื อยูป า เปนวัตร วา คามันตะเสนะสะนงั ปะฏิกขิปามิ
อารัญญิกงั คงั สะมาทิยามิ แปลวา เรางดเสนาสนะชายบา นเสีย สมาทาน
องคแหงผูถอื การอยูปาเปน วตั ร
๙. ถืออยูโคนไมเปน วัตร วา ฉนั นัง ปะฏิกขปิ ามิ รุกขะมูลกิ ังคงั
สะมาทยิ ามิ แปลวา เรางดที่มุงที่บังเสยี สมาทานองคของผูถือการอยูโคนไม
เปน วตั ร
๑๐. ถอื อยใู นทีแ่ จงเปนวัตร วา ฉันนญั จะ รกุ ขะมลู ญั จะ
ปะฏกิ ขปิ ามิ อพั โภกาสิกังคัง สะมาทยิ ามิ แปลวา เรางดทม่ี ุงทบ่ี ัง
และโคนไมเสีย สมาทานองคของผถู ือการอยูในที่แจง เปนวัตร
๑๑. ถอื อยูปาชา เปนวตั ร วา อะสสุ านงั ปะฏกิ ขิปามิ โสสานิกงั คัง
สะมาทิยามิ แปลวา เรางดทม่ี ใิ ชปาชา เสีย สมาทานองคข องผถู อื การอยปู าชา
เปนวัตร
๑๒. ถือการอยูใน เสนาสนะอนั ทา นจัดใหอ ยางไรเปนวัตร วา
เสนาสะนะโลลุปง ปะฏกิ ขิปามิ ยะถาสนั ถะตกิ งั คัง สะมาทิยามิ
แปลวา เรางดความโลเลในเสนาสนะเสยี สมาทานองคของผูอ ยใู นเสนาสนะ
อนั ทา นจัดใหอยางไร
๑๓. ถอื การนัง่ เปนวตั ร วา เสยยงั ปะฏิกขิปามิ เนสัชชิกงั คัง
สะมาทยิ ามิ แปลวา เรางดการนอนเสยี สมาทานองคข องผถู อื การน่งั เปน วตั ร

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 248
กรรมวาจาเน่ืองดว ยสีมา
คำสวดถอนติจีวราวิปปวาส
สณุ าตุ เม ภนั เต สังโฆ โย โส สงั เฆนะ ตจิ วี ะเรนะ
อะวปิ ปะวาโส สัมมะโต, ยะทิ สังฆสั สะ ปตตะกัลลงั , สงั โฆ ตงั
ติจีวะเรนะ อะวปิ ปะวาสัง สะมูหะเนยยะ. เอสา ญตั ติ.
สณุ าตุ เม ภันเต สงั โฆ. โย โส สงั เฆนะ ติจีวะเรนะ
อะวปิ ปะวาโส สัมมะโต, สังโฆ ตงั ติจีวะเรนะ อะวิปปะวาสงั
สะมหู ะปะต.ิ ยัสสายัสมะโต, ขะมะติ เอตัสสะ ตจิ วี ะเรนะ
อะวิปปะวาสัสสะ สะมุคฆาโต, โส ตุณหสั สะ, ยสั สะ นักขะมะติ
โส ภาเสยยะ.
สะมูหะโต โส สงเฆนะ ติจวี ะเรนะ อะวิปปะวาโส, ขะมะติ
สังฆสั สะ, ตสั มา ตณุ หี, เอวะเมตงั ธาระยาม.ิ

คำสวดถอนสมานสงั วาสสีมา
สุณาตุ เม ภนั เต สงั โฆ. ยา สา สงั เฆนะ สีมา สมั มะตา
สะมานะสังวาสา เอกโุ ปสะถา, ยะทิ สงั ฆสั สะ ปต ตะกลั ลัง, สงั โฆ
ตัง สมี งั สะมหู ะเนยยะ เอสา ญตั ต.ิ
สณุ าตุ เม ภนั เต สงั โฆ. ยา สา สังเฆนะ สมี า สมั มะตา
สะมานะสังวาสา เอกุโปสะถา, สงั โฆ ตัง สีมัง สะมูหะนะติ,

มนตพิธี - หนาที่ 249
ยสั สายัสมะโต ขะมะติ เอตสิ สา สีมายะ สะมานะสงั วาสายะ
เอกโุ ปสะถา สะมุคฆาโต, โส ตุณหสั สะ ยสั สะ นกั ขะมะติ โส
ภาเสยยะ,

สะมหู ะตา สา สมี า สังเฆนะ สะมานะสงั วาสา เอกุโกสะถา.
ขะมะตี สงั ฆสั สะ, ตัสมา ตณุ ห,ี เอวะเมตงั ธาระยามิ.

คำสมมติสมานสังวาสสีมา
สณุ าตุ เม ภันเต สงั โฆ. ยาวะตา สะมันตา นมิ ิตตา กิตตติ า
ยะทิ สงั ฆัสสะ ปตตะกลั ลงั . สงั โฆ เอเตหิ นมิ ติ เตหิ สมี ัง
สมั มนั เนยยะ สะมานะสังวาสัง เอกุโปสะถัง. เอสา ญัตติ.
สุณาตุ เม ภนั เต สงั โฆ. ยาวะตา สะมนั ตา นมิ ติ ตา
กติ ตติ า, สังโฆ เอเตหิ นิมิตเตหิ สีมงั สัมมนั ะติ สะมานะสงั วาสัง
เอกุโปสะถงั . ยสั สายสั มะโต ขะมะติ เอเตหิ นมิ ติ เตหิ สมี ายะ
สัมมะติ สะมานะสังวาสายะ เอกุโปสะถายะ, โส ตุณหัสสะ, ยัสสะ
นักขะมะติ โส ภาเสยยะ.
สัมมะตา สมี า สังเฆนะ เอเตหิ นิมติ เตมิ สะมานะสงั วาสา
เอกโุ ปสะถา. ขะมะติ สังฆสั สะ, ตสั มา ตณุ ห,ี เอวะเมตงั ธาระยามิ.

คำสมมติตจิ วี ราวปิ ปวาส
สุณาตุ เม ภันเต สงั โฆ. ยา สา สังเฆนะ สมี า สมั มะตา
สะมานะสงั วาสา เอกุโปสะถา ยะทิ สังฆัสสะ ปตตะกลั ลงั , สังโฆ
ตงั สีมงั ตจิ วี ะเรนะ อะวิปปะวาสัง สมั มันเนยยะ ฐะเปตวา
คามัญจะ คามปุ ะจารญั จะ, เอสา ญัตติ.

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 250

สุณาตุ เม ภันเต สงั โฆ. ยา สา สังเฆนะ สีมา สัมมะตา

สะมานะสงั วาสา เอกุโปสะถา, สงั โฆ ตัง สมี ัง ตจิ ีวะเรนะ

อะวปิ ปะวาสัง สัมมนั นะติ ฐะเปตวา คามัญจะ คามปุ ะจารญั จะ

ยสั สายสั มะโต ขะมะติ เอตสิ สา สีมายะ ตจิ ีวะเรนะ อะวปิ ปะวาสัสสะ

สมั มะติ ฐะเปตวา คามญั จะ คามุปะจารัญจะ, โส ตณุ หสั สะ,

ยสั สะ นกั ขะมะติ โส ภาเสยยะ.

สัมมะตา สา สมี า สงั เฆนะ ติจีวะเรนะ อะวปิ ปะวาโส

ฐะเปตวา คามัญจะ คามปุ ะจารัญจะ. ขะมะติ สังฆัสสะ, ตัสมา ตุณหี,

เอวะเมตงั ธาระยามิ.

คำทกั นมิ ิต

ในทศิ ตะวันออก วา ปุรัตถมิ ายะ ทิสายะ กงิ นิมิตตงั

ในทศิ ตะวนั ออกเฉียงใต วา ปุรัตถมิ ายะ อะนุทิสายะ กงิ นิมิตตงั

ในทิศใต วา ทกั ขณิ ายะ ทิสายะ กงิ นมิ ติ ตัง

ในทศิ ตะวันตกเฉยี งใต วา ทักขณิ ายะ อะนทุ สิ ายะ กงิ นมิ ติ ตัง

ในทศิ ตะวันตก วา ปจฉมิ ายะ ทสิ ายะ กิง นิมติ ตัง

ในทิศตะวนั ตกเฉียงเหนอื วา ปจฉมิ ายะ อะนทุ สิ ายะ กิง นมิ ิตตงั

ในทศิ เหนอื วา อุตตะรายะ ทสิ ายะ กิง นิมติ ตัง

ในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ วา อุตตะรายะ อะนุทิสายะ กงิ นิมติ ตัง

ซำ้ ในทศิ ตะวันออกอกี วา ปรุ ัตถมิ ายะ ทิสายะ กงิ นมิ ิตตัง

คำตอบ

แสดงศลิ านิมิตเปนตัวอยา ง วา ปาสาโณ ภนั เต

มนตพิธี - หนาท่ี 251
พระสะหัสสะนัย
สทุ ธิกะปะฏิปะทา
(กสุ ะลา ธมั มา อะกสุ ะลา ธัมมา อพั ยากะตา ธมั มา)
กะตะเม ธมั เม กสุ ะมา ยสั มงิ สะมะเย โลกุตตะรัง ฌานงั
ภาเวติ นยิ ยานิกงั อะปะจะยะคามิง ทิฏฐคิ ะตานัง ปะหานายะ
ปะฐะมายะ ภูมิยา ปต ตยิ า วิวจิ เจวะ กาเมหิ ปะฐะมัง ฌานงั
อปุ ะสัมปชชะ วิหะระติ ทกุ ขาปะฏปิ ะทงั ทันธาภญั ญัง ทุกขาปะฏปิ ะทัง
ขิปปาภกิ ญญัง สขุ าปะฏปิ ะทงั ทนั ธาภัญญงั สขุ าปะฏปิ ะทัง ขิปปาภญิ ญัง
ตสั มิง สะมะเย ผสั โส โหติ อะวิกเขโป โหติ อิเม ธัมมา กสุ ะลา
กะตะเม ธมั มา กุสะลา ยัสมงิ สะมะเย โลกุตตะรงั ฌานงั
ภาเวติ นิยยานิกัง อะปะจะยะคามงิ ทฏิ ฐคิ ะตานัง ปะหานายะ
ปะฐะมายะ ภูมยิ า ปต ตยิ า วติ กั กะวจิ ารานัง วูปะสะมา ทุตยิ ัง
ฌานัง ตะตยิ งั ฌานงั จะตตุ ถัง ฌานงั ปะฐะมงั ฌานัง ปญจะมงั
ฌานงั อุปะสัมปชชะ วิหะระติ ทุกขาปะฏิปะทัง ทันธาภญิ ญงั
ทุกขาปะฏิปะทงั ขิปปาภิญญัง สขุ าปะฏิปะทงั ทันธาภญิ ญงั สขุ าปะ-
ฏิปะทัง ขิปปาภิญญงั ตัสมิง สะมะเย ผสั โส โหติ อะวิกเขโป
โหติ อิเม ธมั มา กสุ ะลา

มนตพ ิธี - หนาที่ 252
สุญญะตะมูละกะปะฏิมา
กะตะเม ธัมมา กสุ ะลา ยสั มงิ สะมะเย โลกตุ ตะรัง ฌานงั
ภาเวติ นยิ ยานิกัง อะปะจะยะคามงิ ทิฏฐิคะตานงั ปะหานายะ
ปะฐะมายะ ภูมยิ า ปต ตยิ า ววิ จิ เจวะ กาเมหิ ปะฐะมงั ฌานงั
อปุ ะสมั ปช ชะ วหิ ะระติ ทุกขาปะฏปิ ะทงั ทันธาภิญญัง สญุ ญะตงั
ทุกขาปะฏปิ ะทัง ขปิ ปาภิญญัง สุญญะตัง สุขาปะฏิปะทงั ทันธา-
ภญิ ญัง สญุ ญะตัง สขุ าปะฏิปะทงั ขิปปาภัญญัง สุญญะตงั ตสั มงิ
สะมะเย ผสั โส โหติ อะวกิ เขโป โหติ อิเม ธัมมา กสุ ะลา
กะตะเม ธัมมา กุสะลา ยสั มงิ สะมะเย โลกตุ ตะรงั ฌานงั
ภาเวติ นยิ ยานกิ ัง อะปะจะยะคามงิ ทฏิ ฐิคะตานงั ปะหานายะ
ปะฐะมายะ ภมู ยิ า ปตติยา วิตกั กะวจิ ารานงั วปู ะสะมา ทตุ ิยงั
ฌานงั ตะตยิ ัง ฌานงั จะตตุ ถงั ฌานงั ปะฐะมงั ปญ จะมงั
ฌานัง อุปะสมั ปช ชะ วหิ ะระติ ทุกขาปะฏปิ ะทงั ทันธาภิญญงั
สุญญะตงั ทุกขาปะฏปิ ะทงั ขิปปาภญิ ญัง สญุ ญะตัง สุขาปะฏิปะทงั
ทันธาภิญญงั สุญญะตัง สุขาปะฏปิ ะทงั ขิปปาภญิ ญัง สุญญะตงั
ตสั มิง สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ อิเม ธมั มา กุสะลา

อปั ปะณิหติ ะปะฏปิ ะทา
กะตะเม ธมั มา กสุ ะลา ยัสมิง สะมะเย โลกุตตะรงั

มนตพธิ ี - หนาท่ี 253
ฌานัง ภาเวติ นยิ ยานิกงั อะปะจะยะคามงิ ทิฏฐคิ ะตานัง ปะหานายะ
ปะฐะมายะ ภูมยิ า ปตตยิ า วิวจิ เจวะ กาเมหิ ปะฐะมงั ฌานงั
อุปะสมั ปชชะ วิหะระติ ทกุ ขาปะฏิปะทงั ทันธาภญิ ญัง อัปปะ-
ณหิ ติ ัง ทกุ ขาปะฏิปะทงั ขปิ ปาภิญญัง อัปปะณหิ ิตงั สุขาปะฏปิ ะทัง
ทนั ธาภิญญัง อัปปะณิหิตงั สขุ าปะฏปิ ะทงั ขปิ ปาภิญญงั อปั ปะณหิ ติ ัง
ตัสมงิ สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ อิเม ธัมมา กสุ ะลา

กะตะเม ธมั มา กสุ ะลา ยสั มิง สะมะเย โลกุตตะรงั ฌานัง
ภาเวติ นิยยานกิ งั อะปะจะยะคามงิ ทฏิ ฐคิ ะตานัง ปะหายนายะ ปะฐะ-
มายะ ภูมยิ า ปต ติยา วติ ักกะวจิ ารานัง วปู ะสะมา ทตุ ยิ งั ฌานงั
ตะตยิ งั ฌานงั จะตตุ ถัง ฌานัง ปะฐะมงั ฌานงั ปญ จะมงั
ฌานัง อปุ ะสัมปช ชะ วิหะระติ ทุกขาปะฏิปะทัง ทันธาภิญญงั
อปั ปะณหิ ติ ัง ทกุ ขาปะฏปิ ะทงั ขปิ ปาภิญญัง อัปปะณหิ ิตัง สุขาปะฏิ-
ปะทงั ทนั ธาภญิ ญงั อปั ปะณหิ ติ งั สขุ าปะฏิปะทงั ขปิ ปาภญิ ญัง
อัปปะณหิ ติ งั ตัสมิง สะมะเย ผสั โส โหติ อะวกิ เขโป โหติ
อเิ ม ธมั มา กสุ ะลา

อะธิปะติ
กะตะเม ธมั มา กสุ ะลา ยสั มงิ สะมะเย โลกุตตะรัง
ฌานัง ภาเวติ นยิ ยานกิ งั อะปะจะยะคามงิ ทิฏฐคิ ะตานงั ปะหา-
นายะ ปะฐะมายะ ภูมิยา ปต ตยิ า วิวจิ เจวะ กาเมหิ ปะฐะหัง

มนตพ ิธี - หนา ที่ 254
ฌานัง อุปะสมั ปช ชะ วิหะระติ ทุกขาปะฏปิ ะทงั ทนั ธาภิญญงั
ฉนั ทาธปิ ตเตยยัง วิรยิ าธปิ ตเตยยงั จติ ตาธิปต เตยยัง วมิ งั สาธิปต เตยยัง
ทกุ ขาปะฏปิ ะทงั ขิปปาภิญญงั ฉนั ทาธิปต เตยยงั วิริยาธิปต เตยยงั
จติ ตาธิปต เตยยัง วิมังสาธิปตเตยยัง สุขาปะฏปิ ะทัง ทนั ธาภิญญงั
ฉันทาธปิ ตเตยยงั วิริยาธปิ ตเตยยัง จติ ตาธิปตเตยยัง วมิ ังสาธิปตเตยยัง
สุขาปะฏปิ ะทัง ขปิ ปาภญิ ญงั ฉนั ทาธปิ ต เตยยงั วิรยิ าธิปต เตยยงั
จติ ตาธิปต เตยยัง วิมังสาธติ เตยยัง ตสั มงิ สะมะเย ผสั โส โหติ
อะวิกเขโป โหติ อเิ ม ธมั มา กุสะลา

กะตะเม ธัมมา กสุ ะลา ยัสมิง สะมะเย โลกตุ ตะรงั ฌานงั
ภาเวติ นยิ ยานกิ ัง อะปะจะยะคามิง ทฏิ ฐิคะตานัง ปะหานายะ
ปะฐะมายะ ภมู ิยา ปต ตยิ า วิตกั กะวิจารนัง วปู ะสะมา ทตุ ยิ ัง
ฌานงั ตะตยิ งั ฌานงั จะตุตถงั ฌานัง ปะฐะมงั ฌานัง ปญจะมงั
ฌานัง อปุ ะสมั ปช ชะ วิหะระติ ทุกขาปะฏิปะทัง ทันธาภญิ ญงั
ฉันทาธปิ ต เตยยัง วิรยิ าธิปตเตยยงั จติ ตาธปิ ต เตยยัง วมิ งั สาธิปต เตยยัง
ทุกขาปะฏปิ ะทงั ขปิ ปาภิญญัง ฉนั ทาธิปต เตยยงั วิรยิ าธิปตเตยยัง
จติ ตาธปิ ตเตยยัง วิมังสาธิปต เตยยงั สขุ าปะฏปิ ะทงั ทนั ธาภญิ ญงั
ฉันทาธปิ ต เตยยงั วริ ยิ าธปิ ตเตยยงั จติ ตาธิปต เตยยัง วมิ ังสาธปิ ตเตยยัง
สขุ าปะฏปิ ะทัง ขิปปาภญิ ญัง ฉนั ทาธิปตเตยยงั วริ ิยาธปิ ต เตยยัง
จิตตาธปิ ต เตยยัง วมิ งั สาธปิ ต เตยยงั (อะทุกขะมะสุขาปะฏปิ ะทงั
ทนั ธาภิญญัง ฉนั ทาธปิ ตเตยยัง วิรยิ าธิปตเตยยัง จิตตาธปิ ต เตยยัง
วิมงั สาธปิ ตเตยยัง อะทุกขะมะสขุ าปะฏิปะทงั ขิปปาภญิ ญัง ฉนั ทาธิ-
ปตเตยยงั วิริยาธปิ ต เตยยัง จติ ตาธิปตเตยยัง วมิ ังสาธปิ ต เตยยัง) ตสั มิง
สะมะเย ผสั โส โหติ อะวกิ เขโป โหติ อเิ ม ธัมมา กุสะลา

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 255
พธิ กี ารทำบญุ
ตามประเพณีของชาตทิ ่เี จรญิ แลว ยอมมพี ิธีการทำบญุ ตา ง ๆ กันตาม
คตินยิ มของชนหมูนน้ั ๆ ชาตนิ ้ัน ๆ ภาษานน้ั ๆ โดยเฉพาะพธิ ีการทางพระ
พุทธศาสนา เม่ือกลาวโดยปริยายแลว มมี ากดว ยกนั แตถ า จะกลา วโดยสรปุ
กค็ งมีเพยี ง ๒ ประการเทา น้นั คอื
๑. ทำบุญในงานมงคล
๒. ทำบญุ ในงานอวมงคล
การทำบญุ ในงานมงคลนน้ั ไดแ กการทำบุญเพ่ือความสขุ ความ
เจริญ โดยปรารภเหตทุ ีด่ ี ท่เี ปนมงคล เชน ทำบุญฉลองอายุครบ ๓ รอบ
๕ รอบ ๗ รอบ หรอื ทำบญุ วนั เกิด ทำบญุ ข้นึ บานใหม ทำบญุ ฉลองพระ
พุทธรูป ทำบุญฉลองพระธรรมที่สรา งข้ึน และฉลองพระสงฆท ่ีอปุ สมบท
ข้นึ ใหม หรือทำบญุ ในงานมงคลโกนผมไฟ โกนจุก มงคลสมรส เปนตน
เรยี กวา ทำบญุ ในงานมงคล
การทำบญุ ในงานอวมงคลน้ัน ไดแ กการทำบญุ เพอ่ื ความสขุ
ความเจรญิ โดยปรารภเหตุทีไ่ มสดู ี แลวจดั การทำบุญเพ่อื กลับรายให
กลายเปน ดี เชนปรารภการมรณกรรมของญาติมิตร หรอื ทำบุญ ๗ วนั
๕๐ วนั ๑๐๐ วนั หรือทำบุญเพือ่ อุทศิ กศุ ลตามธรรมเนยี ม หรือมลี าง
นมิ ติ รา ยอยางใดอยางหน่ึงเกดิ ขึน้ เชน อสนีบาตตกตองเคหสถาน

มนตพธิ ี - หนาท่ี 256
แรง จบั หลงั คาบานเรือน สตั วทถี่ อื วา ไมเปน มงคลขน้ึ บานเปนตน แลว จดั
การทำบุญเพื่อปด เปา อุบาทว หรอื ลางนิมติ รายเหลาน้นั ใหกลับเปนดี
อยา งนี้เรยี กวาทำบญุ ในงานอวมงคล

การทำบุญท้ัง ๒ อยางดังกลา งนี้ ตามประเพณีนิยมในพระพุทธ-
ศาสนา มวี ธิ กี ารทจ่ี ะตองจดั เตรยี มการอีกหลายอยาง ดงั จะกลา วเปน
ขอ ยอ ๆ ดังตอ ไปน้ี

การทำบญุ เลย้ี งพระ
๑. นมิ นตพระกอน
เมือ่ กำหนดแนน อนแลว วาจะทำบญุ ในวันนัน้ เดือนนั้น ปน ้ัน
เวลานน้ั กจิ เบือ้ งตนควรนมิ นตพ ระกอ น ดว การเขยี นฎีกานิมนตพระ
ลว งหนาอยา งนอ ย ๓ วนั ๗ วนั ฎีกาสำหรบั นิมนตพระน้นั มีตัวอยา งดังนี้
ขออาราธนาพระคุณเจา (พรอมดวยพระสงฆในวดั นี้อีก...รปู
เจรญิ พระพุทธมนต หรือสวดมนต หรอื รบั บิณฑบาต หรือแสดงธรรม
เทศนาแลว แตกรณยี ) ในงาน......................ท.ี่ ................ถนน...............
ตำบล...................อำเภอ.............................จงั หวดั .......................กำหนด
วนั ท.่ี ..............เดอื น...................พ.ศ........................เวลา.........................น.
รงุ ขนึ้ .............เวลา....................น. รับภตั ตาหาร.......................(เชา หรอื เพล)
ถา สวดมนตแ ละฉนั วนั เดียว หรอื เวลาเดียวกนั ไมต อ งใชค ำวา
รุงข้ึน เพียงแตบ อกวาเจรญิ พระพุทธมนต แลว รบั บิณฑบาตเชาหรือเพล
ถาจะตองใชบ าตรปน โต ใหเขยี นในทายฎีกา วา มีบาตรปน โตดว ย หากจะ

มนตพิธี - หนาท่ี 257
มีรถหรือเรอื รับสง กล็ งหมายเหตุในทา ยฎกี า กำหนดเวลาใหพ ระไดท ราบ
ลวงหนา

ถารูจักมกั คุน กับพระสงฆ จะนมิ นตโดยไมตอ งเขียนฎกี าก็ใชไ ด
แตข อเตือนวาการนิมนตพระสงฆมาฉันอาหารน้ัน จงอยางระบชุ ื่ออาหาร
เชน ขา วสกุ ขนมสด ขนมแหง ปลา เนื้อ ถาระบแุ ลว จะขดั กบั ทางพระ
วินยั ของสงฆ จงึ มีสมณโวหารสำหรบั นมิ นตพระมาฉันวา นมิ นตรับ
บิณฑบาตเชา หรือเพล ดังน้ี หรอื จะพดู วา นมิ นตพระคณุ เจา ฉนั เชาหรือ
ฉนั เพล ดงั นก้ี ใ็ ชได

งานมงคลสมรส นยิ มนมิ นตพระคู คือ ๖ รูป ๘ รูป ๑๐ รูป
เพราะคติโบราณเพื่อจะใหค ูบาวสาวนิมนตฝายละจำนวนเทาๆ กัน หรอื
รับเปน เจาภาพฝายละเทา ๆ กนั สว นงานมงคลอนื่ ๆ นิมนตพ ระ ๕ รูป
๗ รูป ๙ รปู คอื นิมนตพระค่ี ถาเปนงานทำบุญอายุ นยิ มนิมนตใ หเ กิน
กวาอายุขึน้ ไป ถา วาเปนการเพมิ่ อายุ

๒. เตรียมสถานท่แี ละจดั อาสนะ
สถานทที่ ีจ่ ะบำเพ็ญกุศลนัน้ ๆ จะเปนบานใหญ บานเลก็
บา นใหม หรอื บานเกา ก็ตาม ถา ไดจดั ทำใหถ กู สุขลกั ษณะแลว ก็
จะทำใหเ จริญตา เจริญใจได การจดั อาสนสงฆนั้นตองจดั ใหสงู กวา
คฤหสั ถ จดั ใหน ่งั หา งกันพอควร ใชพ รมหรอื ผาปนู ั่งเฉพาะองค ๆ ถาไม
สามารถจะจดั ทเ่ี ฉพาะองค ๆ ได กใ็ ชผ า ขาวปบู นพรมรองนั่งอกี ชัน้ หนงึ่
ก็ยง่ิ ดี เพราะผา ขาวเปน ของสูง เปน การแสดงความเคารพอยางสูงอกี ดวย

มนตพ ิธี - หนา ที่ 258
จัดสถานท่พี ระนัง่ เจรญิ พระพทุ ธมนตใหอยเู บ้อื งซายของพระพทุ ธรปู ถา สถาน
ที่ไมอำนวยหรือจำเปน จะตองจดั ใหพ ระสงฆนั่งทางขวาของพระพุทธ ก็ควรจดั
พระพทุ ธใหหันพระพักตรม าทางพระสงฆ โดยไมตอ งเขา แถวกบั พระสงฆ

๓. จัดภาชนะเครือ่ งใชสำหรับพระ
ถามีของมากก็จัดถวายองคล ะที่ โดยต้ังทางขวามือของพระ หาก
มีของนอ ยจะจัดเพยี ง ๒ องคตอ ๑ ท่กี ใ็ ชได สว นถว ยน้ำรอน แกว น้ำเยน็
ตอ งใชองคละท่ี ตั้งใจระหวาง ๆของที่จำเปน ตอ งใชคือ กระโถน ภาชนะ
นำ้ เย็น พานหมากพลบู หุ รี่ จัดต้งั กระโถนอยขู างใน ถดั ออกมาภาชนะ
นำ้ เยน็ แลว ถงึ หมากพลูบหุ รี่ เปนท่สี ุด สว นน้ำรอ นประเคนภายหลงั

๔. จัดเคร่อื งตงั้ สักการบชู า
อัญเชิญ พระพุทธรปู มาต้ัง บนโตะ บชู าท่เี ตรยี มไวอยางสะอาด
และสวยงาม ทางขวามือของอาสนพระสงฆ ดังกลา วแลว ถาเปนโตะ
หมูต อ งจดั ใหถกู ตองตามระเบียบ ถาไมม ีโตะหมูแตใ ชโตะ อืน่ แทนตอง
หาส่ิงประกอบตามสมควร เชน แจกนั เชิงเทยี น กระถางธูป สำหรบั กระถาง
ธูปหรอื เครื่องใชอน่ื ใดทจี่ ะประกอบกบั โตะบชู า พงึ ระวังใหดี ไมค วรใช
ภาชนะอันนา รังเกยี จ เชน กระโถน เปน ตน

๕. ภาชนะสำหรบั ใสน้ำมนต
จะใชบ าตรหรอื หมอน้ำมนต หรือขันนำ้ พานรองทองเหลอื ง หรอื
ขันมเี ชิงรองอยา งใดอยา งหนึง่ ก็ได ใสน ำ้ ประมาณครง่ึ หนึ่ง แตข ันเงนิ

มนตพ ิธี - หนา ที่ 259
ขันทองไมควรใช เพราะไมสะดวกแกการท่ีพระจะจับตอง เนอื่ งจากของ
เหลา นั้นเปนวตั ถุอนามาส ขัดกับพระวินยั สงฆ

๖. เครือ่ งประกอบน้ำพระพทุ ธมนต
เตรยี มเทยี นทำนำ้ มนตไ ว ๑ เลม ควรใชเทียนขี้ผึง้ อยา งดี หนกั
๑ บาท ไสเทียนใหญพอควร ติดไวท ี่ขอบขันน้ำมนตใ หแ นน เตรียมใบ
เงินใบทองใสล งในขันนำ้ มนตพอควร ถา หาไมไดจ ะใชด อกบัวแทนกไ็ ด
แตไ มควรจะใชด อกไมอ ่นื แทน สว นเครอ่ื งประพรมนำ้ พระพุทธมนต
ควรจะใชห ญาคามดั เปนกำแลวตัดปลายและรากท้งิ กะยาวประมาณ ๑
ศอก เพราะถือกันวาหญา คาเปนหญา มงคล พระสัมมาสมั พทุ ธเจาเมื่อจะ
ไดตรัสรูพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ก็ทรงประทับนงั่ บนมดั หญาคา
ซ่ึงโสตถยิ พราหมณถ วายในวนั ทีพ่ ระองคจะไดต รสั รู อนั เรยี กวา รัตน-
บังลงั ก แมในศาสนาพราหมณ ก็ถอื กนั วาเปน หญา มงคลเหมือนกัน เกดิ
ขึ้นเมือ่ ครง้ั เทวดาแยง นำ้ อมฤตกับอสรู หกตกลงมาในมนุษยโลกจงึ เกิด
เปนหญา คาขึ้น เพราะฉะน้ันจึงใชห ญาคา ถาสดุ ความสามารถท่จี ะ
หาไดจ รงิ ๆ จงึ คอ ยใชอยา งอืน่ แทน.

๗. การโยงดา ยสายสญิ จน
โยงเปนทักษิณาวฏั คือเวยี นจากซา ยไปขวาอยา งเขม็ นากา
รอบเคหสถาน หรอื บรเิ วณบานเรอื น แลวนำเขา มาโยงท่โี ตะพระ-
พุทธรปู วงฐานพระพุทธรูปดว ย ตอ ลงมาก็ลงภาชนะนำ้ มนต โดยทกั ษิ-
ณาวฏั เชนกนั เสร็จแลวมวนสายสิญจนวางไวบ นพานทบ่ี ูชา หรอื ท่ี
พระสงฆ

มนตพ ธิ ี - หนา ที่ 260
๘. เมือ่ พระสงฆม าถงึ บาน
ฝายเจา ภาพตอจัดการตอนรับใหด ี ถา ทานไมไ ดส วมรองเทา
ตองคอยตักน้ำลา งเทา ใหท าน และหาผา เช็ดเทาเตรยี มไวด วย เมอื่ พระ
นัง่ บนอาสนะแลว ประเคนขนั น้ำ หมากพลู บุหรีท่ ่ีเตรียมไว เมื่อถงึ
เวลาทพี่ ระจะเจริญพระพทุ ธมนตห รือฉัน หรือเทศนตอ ไป ถาเปนงาน
มงคลสมรส ใหค บู า วสาวจุดเทียนธูปคนละชุด บชู าพระรัตนตรัย ถา ไม
ใชงานสมรสใหเ จาภาพเปน ผจู ดุ เม่อื จดุ เทียนธูปเสรจ็ แลว นำพานดา ย
สายสญิ จนถวายพระเถระผเู ปน ประธาน กลาวคำอาราธนาศลี รบั ศีล
จบแลว อาราธนาพระปริตร พระขดั สัคเค หรือชุมนุมเทวดา พอพระสงฆ
สวดมนตถงึ บท อะเสวะนา จะ พาลานงั เจา ภาพพึงจุดเทยี นน้ำมนต
นอมเขา ไปถวายพระเถระผเู ปน ประธาน ครน้ั ประสงฆสวดมนตจวน
จะจบพงึ เตรยี มน้ำรอ น นำ้ เย็น หรือเครื่องดืม่ เทาที่จัดไวคอยถวายทา น
พอพระสวดมนตจ บจะไดถวายไดทนั ที

๙. การถวายภตั ตาหาร
ถา ถวายภตั ตาหารพระสงฆในวันรงุ ข้ึน จะเปนเชาก็ตาม เพล
กต็ าม การเตรยี มเครือ่ งรับรองเมอื่ พระสงฆม าถึง พงึ จัดอยางวัน
สวดมนตเยน็ เม่ือพระสงฆม าพรอมแลว เจา ภาพจดุ เทียนธูปบชู าพระ
รตั นตรัย อาราธนาศลี รบั ศลี เหมือนตอนเยน็ เสรจ็ แลว ไมตอง
อาราธนาพระปริตร พระสงฆเ ริ่มสวดถวายพรพระเอง ถา มกี าร

มนตพ ธิ ี - หนา ที่ 261
ตักบาตรดวย เมอื่ พระสงฆสวดมนตถึงบท พาหุง พงึ เร่มิ ลงมือ
ตักบาตร เสรจ็ แลว เตรยี มไวใหพ รอมท้งั ขาวทัง้ กบั ทั้งทพ่ี ระพุทธและที่
พระสงฆ เมอ่ื พระสวดมนตจ บแลว ก็จัดถวายไดท ันที ทงั้ ท่ีพระพุทธ
และท่ีพระสงฆ

๑๐. งานวันเดียว
ถา เปน งานวนั เดยี ว คอื สวดมนตก อ นฉัน จะเปน ฉันเชา ก็ตาม
ฉันเพลากต็ าม การตระเตรียมตา ง ๆ ก็คงจดั ครงั้ เดยี ว พระสงฆเจริญพระ
พุทธมนตกอน แลวสวดถวายพรพระตอนทาย เจา ภาพพงึ นัง่ ประนม
มอื ฟง เมอื่ พระสงฆสวดมนตถ งึ บท พาหุง หรอื ถวายพรพระ พึงเตรียม
อาหารไวใ หพรอ ม พอพระสวดจบก็ยกประเคนไดด ังกลา ว และ ถา มี
ศิษยว ัดมาดวยกใ็ หจดั เลีย้ งเสียในระยะน้ี เพราะจะไดเสร็จและเดินทางกลบั
พรอมกับพระไมตอ งเสยี เวลาใหพ ระนั่งคอยรอ ถามพี าหนะรบั สง กเ็ ตรียม
ไวใ หพ รอม ตอนนี้เชนกนั เมอ่ื พระเสร็จจากอนุโมทนา แลว จะไดจดั สงทาน
สุดทา ยพิธี เมือ่ พระสงฆฉนั เสร็จแลว ถวายเคร่ืองไทยธรรม
ตอ จากน้ันพระองคอ นโุ มทนา ขณะพระวา บท ยะถา ใหเ รมิ กรวดน้ำ
พอพระวาบท สพั พี พึงประนมมือรับพรไปจนจบ ถา มกี ารจะใหพระ
สงฆประพรมนำ้ พระพุทธมนตห รือเจิม (โดยเจาภาพเตรียม แปง น้ำหอม หรือ
เครือ่ งเจมิ ไวแลว ) ก็กราบเรยี นใหท า นทราบในระยะน้ีเสรจ็ แลว สงพระกลบั

มนตพิธี - หนาที่ 262
การทำบุญเก่ียวกบั ศพ
ซงึ่ จดั วา เปนการทำบญุ ในงานอวมงคล มกี ิจกรรมท่คี วรตระเตรียมไว
เปน เบอ้ื งตน สวนใหญค ลา ยกบั ทำบญุ งานมงคลดงั กลาวแลว มขี อ แตกตา ง
กนั อยบู า งประการเทานัน้ คือ

๑. นิมนตพ ระ
การนมิ นตพ ระมาสวดมนตใ นงานอวมงคลนม้ี ีนิยมจำนวน ๘ รูป
๑๐ รปู หรอื กวานนั้ ขนึ้ ไปแลวแตก รณยี  ในเร่อื งอาราธนาพระสงฆท ำ
บุญงานอวมงคลนั้น ใชค ำอาราธนาวา "ขออาราธนา สวด พระพุทธ-
มนตไ มใชค ำอาราธนาวา " "ขออาราธนา เจรญิ พระพุทธมนต" อยา ง
ทำบญุ งานมงคล มขี อแตกตางกันอยตู รงท่ี สวด กับ เจริญ เทานน้ั
เปน เรอ่ื งท่ีควรกำหนด

๒. ไมต ั้งขันนำ้ มนตไ มโยงดา ยสายสญิ จน
การทำบุญในงานอยา งนี้ ไมตอ งตง้ั ภาชนะสำหรบั ทำนำ้ พระ
พทุ ธมนตแ ละไมต อ งโยงดายสายสิญจน

๓. เตรียมสายโยงหรือภูษาโยง
สายโยงน้นั คอื สายสญิ จนนน่ั เอง ถา ใชใ นงานมงคลเรยี กวา
สายสิญจน แตเวลาใชกับศพเชนน้ีเรียกวา สายโยง ถาเปนแผนผา

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 263
เรียกวาภษู าโยง ใชโยงตอจากศพไว เพ่อื ใชบงั สกุ ุล การเดนิ สายโยง
ภษู าโยงน้ัน ตอ งระวงั อยางหนึง่ คือจะโยงในท่ีท่ีสงู กวาพระพทุ ธรปู ที่ต้ัง
ในพิธีไมได และจะปลอ ยใหล าดมากบั พน้ื ทเ่ี ดินหรือนัง่ ก็ได เพราะ
สายโยงน้ีเปนสายทีโ่ ยงลามออกมาจากกระหมอ มศพ เปนสิ่งเนอื่ งดวย
ศพ จงึ ตอ งลา มหรอื โยงใหสมควร

สว นการปฏิบตั กิ ิจอื่น ๆ เมอื่ พระมาถงึ สถานทที่ ่ปี ระกอบพิธีแลว ก็
เหมือน ๆ กันกับงานมงคล

๔. การทอดผา
การทอดผาบังสุกุลที่ภษู าโยงหรอื สายโยงนน้ั มีไตร จวี ร สบง
ยาม ผา เชด็ หนา ผาเช็ดตัวเปน ตนการทอดผาตอ งทอดตามขวางสายโยง
หรอื ภูษาโยง อยา ทอดตามยาวขนานไปกับสายโยง ถาไมม ผี า พระทา น
กจ็ ะจับสายโยง หรือภูษาโยงบังสุกุลเอง สายโยงหรือภูษาโยงน้ีถือกนั
มาก หา มขามเปนเดด็ ขาด ถาขา มถอื เปน การหมิ่นประมาทผูตาย ขาด
คราวะ ควรระวงั ใหมาก.

๕. การจบั พดั จบั สายโยงของพระ
ถา เปนการอนุโมทนาเวลาปกติ ใชจับพัดดวยมือขา งขวา จับ
ดา มพดั ตำ่ จากใบพัดประมาณ ๕ นิ้วมอื ใชมอื กำดา มน้ิวทัง้ ๔ เวน
หวั แมม อื ใหยกขึ้นแตะทาบขนึ้ ไปตามดา มพดั ถา จบั พัดเวลาชักบงั สุกุล

มนตพ ิธี - หนา ที่ 264
ใหจัดพดั ดวยมอื ขางซาย ตำ่ จากใบพดั ประมาณ ๕ น้วิ มอื กำดา มดวย
นวิ้ ท้งั ๔ ยกหวั แมม ือทาบขนึ้ ไปตามดา มพัดเหมือนกบั มอื ขวาดังกลา ว
แลวใชมือขวาจับสายโยงหรือภษู าโยง หงายมือใชน วิ้ ท้งั ๔ เวน หวั
แมม ือสวดเขา ไปใตผา ท่ชี ัก แลวใชน ้ิวหวั แมม ือจับบนผา อยาควำ่ มอื
หรอื ทำอาการเพยี งใชนว้ิ แตะ ๆ ทผ่ี า เปนอนั ขาด ระวงั อยาจับ
พัด จับผา ใชผ ิดระเบียบ ผูรูเ ขาจะแยม สรวลเอาได เม่อื จับพรอ มกัน
แลว เรม่ิ วา บทชักบังสุกุล (อะนจิ จา) พรอ มกนั จบแลว ชักผา ออกจาก
สายโยงหรือภษู าโยง วางไวต รงหนา ผาที่เจาภาพทอดนน้ั ถาเปนผา ที่
พอจะใสย า มได ก็ใหใสย า มมาเวลากลับ หากเปนผาทใี่ สยามไมไ ด
เชน ผาไตร หรอื ไมมยี า ม พงึ ถือกอดมาดวยมือขางซาย.

การประเคนของพระ
การประเคนของพระ คือ การถวายของใหพ ระไดรบั ถึงมอื ของ
ท่ปี ระเคนนัน้ ตอ งเปน ของที่ไมขัดกับพระวินยั พอคนคนเดียวยกได
อยา งธรรมดา ๆ ไมใ ชของหนกั หรอื ใหญโ ตจนเกนิ ไป ไมม วี ตั ถุอนา-
มาสอยดู วย
พึงนำของท่จี ะประเคนเขาไปใหใกลพระผรู ับประมาณ ๑ ศอก
จะน่งั หรอื ยนื แลวแตส ถานท่ที ี่พระนงั่ อยูน ้นั จะอำนวย
จับของทจี่ ะประเคนดว ยมือท้ังสอง ยกใหสูงข้นึ เลก็ นอย แลว
นอมถวายพระซ่งึ ทา นจะยน่ื มอื ทงั้ สองออกรับ ถาผปู ระเคนเปนหญงิ
พงึ วางลงบนผาทพ่ี ระปูรบั อยูขางหนา เสร็จแลว พงึ ไหวห รือกราบหนหนง่ึ
แลว แตกรณี

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 265
ฝา ยพระสงฆ เม่ือทอดผารบั ประเคน พึงคล่ีผาใหเ รยี บรอ ยจับ
ผาหงายมอื เหมอื นจบั ภษู าโยง ดังกลาวแลว คือหงายมอื ใชน วิ้ ท้ังส่ี
เวน หวั แมมอื สอดเขา ไปใตผา ทที่ อดรับของพรอมกนั ทงั้ สองมอื แลว ใช
นว้ิ หัวแมมอื จับบนผา อยา คว่ำมอื หรอื ทำอาการเพียงใชน วิ้ แตะ ๆ ที่ผา
เปน อนั ขาด

การแสดงความเคารพพระ
ปะนมมือ คือกระพุมมือทงั้ สองประนมมลี กั ษณะคลา ยดอก
บวั ตมู ตั้งไวระหวางอก เปน การแสดงความเคารพ เวลาสวดมนต
หรอื ฟง พระสวดพระเทศน เปนตน
ไหว คอื การยกมือท่ีประนมแลวดงั กลาวขน้ึ พรอมกบั กม
ศีรษะลงเล็กนอ ย ใหมอื ประนมจดหนาผาก นิ้วหวั แมม ือทั้งสองอยู
ระหวาวค้ิว ใชแ สดงความเคารพในขณะน่งั เกาอ้หี รือยินอยู
กราบ คือกราบลงกบั พ้นื ดวยเบญจางคประดิษฐ ไดแกกราบ
ดวยองคทง้ั ๕ คอื เขา ทั้งสอง ฝามือท้งั สอง หนา ผากหนึง่ ใชก ราบเม่ือ
น่งั อยูใ นสถานท่ที ่จี ะกราบได เปน การแสดงความเคารพอยา งสงู

มนตพิธี - หนาที่ 266
วธิ ีไหว ๕ คร้งั
คนเราทกุ คน ในวนั หนง่ึ ๆ จะตอ งไหวใ หไ ด ๕ ครงั้ เปน อยางนอ ย
คอื ในเวลาค่ำใกลจ ะนอน ตง้ั ใจระลกึ ถงึ พระรตั นตรัยอนั เปนสรณะอันสงู สุด
และทา นผูมีพระคุณแกต น คอื มารดาบดิ า และครอู าจารย โดยประนมมือ
(๑) นมสั การพระอรหนั ตสัมมาสมั พุทธเจา กลาววา อะระหงั สัมมา
สัมพุทโธ ภะคะวา พทุ ธัง ภะคะวนั ตงั อะภวิ าเทมิ กราบลงหนหนง่ึ
(๒) ไหวพระธรรมคำสอนของพระพทุ ธเจา วา สวากขาโต
ภะคะวะตา ธมั โม ธัมมัง นะมสั สามิ กราบลงหนหนึ่ง
(๓) ไหวพระสงฆสาวกของพระพทุ ธเจา วา สุปะฏปิ นโน ภะคะ-
วะโต สาวะกะสงั โฆ สงั ฆงั นะมามิ กราบลงหนหน่งึ
(๔) ไหวคุณมารดาบิดา วา มยั หงั มาตาปตนู งั วะปาเท วนั ทามิ
สาทะรัง กราบลงหนหนง่ึ
(๕) ไหวค รูอาจารย วา ปญ ญาวุฑฒกิ ะเร เต เต ทนิ โน วาเท
นะมามิหัง กราบลงหนหน่ึง
ตอจากนัน้ พงึ ตง้ั ใจแผเ มตตาจิตไปในเพื่อมนุษย และสัตวท ้งั หลาย
ทง้ั ปวง วา ขอทานท้งั หลายอยาไดม เี วรแกกันและกนั เลย อยาไดเ บียด
เบยี นซง่ึ กันเลย อยาไดม ีความทกุ ขก ายทุกขใจเลย จงมีความสุขกาย
สุขใจ รกั ษาตนใหพ นจากทกุ ขภ ัยดว ยกนั หมดทัง้ สิ้น เทอญ.
(เสร็จแลวหลับนอนความสบาย)

มนตพ ิธี - หนาที่ 267
พธิ ีรักษาอุโบสถศีล
เม่ือพระสงฆสามเณรทำวัตรเชา เสรจ็ แลว อบุ าสกอุบาสกิ พงึ ทำวัตร
เชา โดยเรม่ิ คำบูชาพระ วา
ยะมะหัง สัมมาสมั พทุ ธัง ภะคะวนั ตัง สะระณัง คะโต, (หญงิ วา
คะตา) พระผมู พี ระภาค, พระองคตรสั รูดแี ลว โดยชอบพระองคใ ด, ขา พเจา
ถงึ แลว วา เปน ทีพ่ ่ึงกำจดั ภัยจรงิ , อมิ นิ า สักกาเรนะ, ตงั ภะคะวันตงั ,
อะภปิ ูชะยาม,ิ ขาพเจา บูชา, ซงึ่ พระผูม พี ระภาคนน้ั , ดวยเครอื่ งสักการะอันนี้.
ยะมะหัง สวากขาตงั , ธมั มัง สะระณงั คะโต (หญิงวา คะตา)
พระธรรมที่พระผมู ีพระภาค, พระองคต รัสไวดแี ลว สง่ิ ใด, ขาพเจาถงึ แลว วา
เปน ท่ีพง่ึ กำจัดภัยจรงิ , อิมินา สักกาเรนะ, ตงั ธมั มงั , อะภิปูชะยาม,ิ
ขา พเจา บชู า, ซงึ่ พระธรรมน้ัน, ดว ยเครอื่ งสกั การะอนั นี้.
ยะมะหัง สุปะฏปิ นนงั , สังฆัง สะระณัง คะโต (หญงิ วา คะตา)
พระสงฆทท่ี านเปน ผูปฏบิ ตั ิดแี ลว หมใู ด, ขาพเจาถึงแลววาเปน ที่พงึ่ กำจัดภยั
จริง, อมิ นิ า สกั กาเรนะ, ตงั สังฆงั , อะภิปชู ะยาม,ิ ขา พเจาบชู า, ซึ่ง
พระสงฆหมูน้ัน, ดว ยเครื่องสักการะอันนี้.
อะระหงั สัมมาสมั พุทโธ ภะคะวา, พุทธงั ภะคะวันตัง อะภวิ าเทมิ

(กราบ)

มนตพ ิธี - หนา ท่ี 268
สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, ธัมมงั นะมสั สามิ (กราบ)
สปุ ะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงั ฆัง นะมามิ (กราบ)
(ตอจากน้ี ทำวัตรเชา จบแลวหัวหนา อบุ าสกหรอื อุบาสกิ าพึงคกุ เขา
ปะนมมอื ประกาศองคอ โุ บสถ ทั้งคำบาลแี ละคำไทย ดงั น้)ี
อชั ชะ โภนโต ปกขัสสะ อัฏฐะมีทิวะโส (ถาวันพระ ๑๕ ค่ำ วา
ปณณะระสีทวิ ะโส ๑๕ คำ่ วา จาตุททะสที วิ ะโส) เอวะรโู ป โข โภนโต
ทิวะโส พุทเธนะ ภะคะวะตา ปญ ญตั ตสั สะ ธมั มัสสะวะนัสสะ เจวะ
ตะทัตถายะ อุปาสะกะอปุ าสิกานัง อุโปสถสั สะ จะ กาโล โหติ หันทะ
มะยัง โภนโต สัพเพ อิธะ สะมาคะตา ตัสสะ ภะคะวะโต ธมั มาน-ุ
ธัมมะปะฏปิ ตติยา ปูชะนัยถายะ อิมญั จะ รัตติง อมิ ญั จะ ทวิ ะสัง
อัฏฐังคะสะมันนาคะตงั อโุ ปสะถงั อุปะวะสสิ สามาติ กาละปะรจิ เฉหัง
กตั วา ตัง ตัง เวระมะณิง อารมั มะณัง กะริตวา อะวกิ ขิตตะจติ ตา หุตวา
สกั กัจจัง อุโปสะถงั สะมาทิเยยยามะ อีทสิ งั หิ อุโปสะถงั สมั ปต ตานัง
อัมหากงั ชีวิตัง มา นิรตั ถะกงั โหตุ

คำแปล
ขอประกาศเร่มิ เรือ่ งความที่จะสมาทานรักษาอุโบสถ อันพรอ มไปดวย
องคแปดประการ ใหส าธชุ นทไ่ี ดต ้ังจิตสมาทานทราบทั่วกันกอ น แตสมาทาน
ณ บดั น้ี ดว ยวนั น้ี เปน วันอัฏฐะมดี ถิ ที ่ีแปด (ถาวันพระ ๑๕ ค่ำวา วันปณ-
ณะระสดี ิถีท่ีสบิ หา ๑๔ คำ่ วา วนั จาตทุ ทะสีดถิ ที ่ีสบิ สี)่ แหงปก ษมาถึงแลว

มนตพ ิธี - หนาที่ 269
ก็แหละวันเชน น้ี เปน กาลที่สมเด็จพระผมู ีพระภาคเจาทรงบัญญตั ิแตง ตง้ั ไวใ ห
ประชมุ กนั ฟงธรรมและเปนกาลทจี่ ะรักษาอโุ บสถของ อบุ าสกอบุ าสกิ า ทง้ั หลาย
เพอื่ ประโยชนแกการฟง ธรรมนัน้ ดว ย เชิญเถดิ เราท้ังหลายทัง้ ปวงท่ไี ดมา
ประชุมพรอมกัน ณ ที่น้ี พึงกำหนดกาลวาจะรกั ษาอุโบสถตลอดวันหนึ่งกับคนื
หนงึ่ น้ี แลว พึงทำความเวน โทษนน้ั ๆ เปนอารมณ คือ

- เวน จากฆาสตั ว ๑
- เวน จากลกั ฉอ สิง่ ที่เจา ของเขาไมให ๑
- เวน จากประพฤตกิ รรมทเ่ี ปนขา ศกึ แกพ รหมจรรย ๑
- เวน จากเจรจาคำเทจ็ ลอ ลวงผอู ื่น ๑
- เวนจากด่มื สุราเมรัยอันเปนเหตุทีต่ ัง้ แหง ความประมาท ๑
- เวนจากบริโภคอาหาร ตงั้ แตเวลาพระอาทติ ยเท่ยี งแลว ไปจน

ถึงเวลาอรุณข้นึ มาใหม ๑
- เวนจากฟอนรำขบั รอ งและประโคมเคร่ืองดนตรตี าง ๆ แต
บรรดาทีเ่ ปน ขาศกึ แกบ ุญกุศลทงั้ สิ้น และทดั ทรงประดบั ตก

แตง รา งกายดวยดอกไมของหอม เครอื่ งประดบั เคร่ืองทา
เครื่องยอ ม ผัดผิด ทำกายใหวิจติ รงดงามตางๆ อนั เปนเหตุ
ทตี่ ้ังแหง ความกำหนดั ยินดี ๑
- เวนจากนัง่ นอนเหนือเตยี งตั่งมาทมี่ ีเทาสงู เกินประมาณ และ
ท่นี ่ังทน่ี อนใหญ ภายในมีนมุ และสำสี และเครอ่ื งปลู าดที่
วิจิตรดวยเงนิ และทองตาง ๆ ๑

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 270

อยา ใหม ีจิตฟงุ ซา นสง ไปอ่นื พงึ สมาทานเอาองคอโุ บสถทงั้ แปดประการโดย

เคารพ เพอื่ จะบชู าสมเดจ็ พระผมู ีพระภาค พระพุทธเจานน้ั ดว ยธรรมมานุธรรม

ปฏิบัติ อนึ่ง ชวี ติ ของเราทัง้ หลายทีไ่ ดเ ปนอยรู อดมาถงึ วนั อโุ บสถเชนนี้ จงอยา

ไดล วงไปเสยี เปลา จากประโยชนเ ลย

(เม่อื หวั หนาประกาศจบแลว พระสงฆผแู สดงธรรมขึน้ นัง่ บนธรรมาสน

อุบาสกอุบาสกิ พงึ นงั่ คกุ เขากราบพรอมกนั ๓ ครั้ง แลว กลา วคำอาราธนา

อุโบสถศลี พรอมกนั วาดงั น)้ี

มะยัง ภันเต ตสิ ะระเณนะ สะหะ

อฏั ฐังคะสะมันนาคะตงั อโุ ปสะถัง ยาจามะ (วา ๓ จบ)

ตอน้ี คอยต้งั ใจรับสรณคมนแ ละศีลโดยเคารพ คอื ประนมมือ วาตาม

คำทีพ่ ระสงฆบ อกเปนตอน ๆ วา

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธัสสะ (๓ จบ)

พุทธงั สะระณัง คจั ฉามิ

ธมั มัง สะระณัง คจั ฉามิ

สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ

ทุตยิ มั ป พุทธงั สะระณัง คจั ฉามิ

ทตุ ยิ มั ป ธมั มัง สะระณัง คจั ฉามิ

ทุติยัมป สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ

ตะตยิ ัมป พุทธงั สะระณงั คัจฉามิ

ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คจั ฉามิ

ตะติยัมป สังฆงั สะระณัง คัจฉามิ

มนตพิธี - หนา ท่ี 271

เมอ่ื พระสงฆว า ตสิ ะระณะคะมะนงั นิฏฐิตงั พงึ รบั พรอมกันวา

อามะ ภันเต

๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาประทัง สะมาทยิ ามิ

๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทยิ ามิ

๓. อะพรัหมะจริยา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ

๔. มสุ าวาทา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ

๕. สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทงั

สะมาทยิ ามิ

๖. วิกาละโภชะนา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทยิ ามิ

๗. นจั จะคีตะวาทิตะึวสิ กู ะทสั สะนา มาลาคนั ธะวิเลปะนะ-

ธาระณะ มัณฑะนะวิภูสะนฏั ฐานา เวระมะณี สิกขาปะทงั

สะมาทยิ ามิ

๘. อุจจาสะยะนะมะสะยะนา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั

สะมาทยิ ามิ

อมิ ัง อฏั ฐงั คะสะมันนาคะตัง, พทุ ธะปญ ญตั ตัง อโุ ปสะถงั , อิมัญจะ

รตั ตงิ อมิ ัญจะ ทวิ ะสัง, สัมมะเทวะ อะภิรักขติ งุ สะมาทิยามิ (หยุดรับ

เพียงเทาน)้ี ตอนน้ี พระสงฆจ ะวา อมิ านิ อฏั ฐะ สกิ ขาปะทานิ อุโปสะถะ-

วะเสนะ มะนะสิกะริตวา สาธกุ งั อัปปะมาเทนะ รักขติ พั พานิ (พึงรับ

พรอมกันวา ) อามะ ภันเต (พระสงฆว าตอ)

สเี ลนะ สุคะติง ยนั ติ สีเลนะ โภคะสมั ปะทา

สีเลนะ นพิ พุติง ยนั ติ ตัสมา สีลัง วโิ สธะเย

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 272

พงึ กราบพรอ มกนั ๓ คร้งั ตอ น้นี ่งั รอบพับเพยี บประนมมือฟง ธรรม

เมื่อจบแลว พึงใหสาธุการและสวดประกาศตนพรอมกนั ดงั นี้

สาธุ สาธุ สาธุ

อะหัง พทุ ธญั จะ ธัมมญั จะ สังฆญั จะ สะระณัง คะโต (หญิงวา คะตา)

อปุ าสะกตั ตัง (หญงิ วา อปุ าสิกตั ตัง) เทเสสงิ ภิกขุสงั ฆัสสะ สัมมุขา

เอตัง เม สะระณงั เขมัง เอตัง สะระณะมตุ ตะมัง

เอตัง สะระณะมาคมั มะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะเย

ยะถาพะลงั จะเรยยาหัง สัมมาสมั พุทธะสาสะนัง

ทุกขะนสิ สะระณสั เสวะ ภาคี อัสสงั (หญิงวา ภาคินิสสงั ) อะนาคะเต ฯ

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา

พทุ เธ กกุ ัมมงั ปะกะตัง มะยา ยงั

พุทโธ ปะฏคิ คณั หะตุ อัจจะยันตัง

กาลนั ตะเร สังวะริตุง วะ พทุ เธ

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะวา วา

ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตงั มะยา ยงั

ธัมโม ปะฏิคคณั หะตุ อจั จะยนั ตัง

กาลันตะเร สงั วะริตงุ วะ ธัมเม

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา

สงั เฆ กกุ มั มงั ปะกะตัง มะยา ยงั

สงั โฆ ปะฏคิ คัณหะตุ อัจจะยนั ตัง

กาลันตะเร สังวะรติ ุง วะ สังเฆ ฯ

มนตพ ธิ ี - หนา ที่ 273

คำอาราธนาธรรมพเิ ศษ

จาตุททะสี ปณณะระสี ยา จะ ปก ขสั สะ อัฏฐะมี

กาลา พุทเธนะ ปญญตั ตา สทั ธมั มัสสะวะนสั สิเม

อัฏฐะมี โข อะยนั ทานิ สัมปตตา อะภลิ กั ขิตา

เตนายงั ปะรสิ า ธัมมัง โสตงุ อิธะ สะมาคะตา

สาธุ อัยโย ภิกขสุ ังโฆ กะโรตุ ธัมมะเทสะนัง

อะยัญจะ ปะรสิ า สพั พา อฏั ฐกิ ัตวา สณุ าตุ ตนั ติ ฯ

หมายเหตุ ถา วนั พระ ๑๕ คำ่ วา ปณ ณะระสี ถา ๑๔ ค่ำ วา จาตทุ ทะสี

คำแผเ มตตา
สพั เพ สัตตา สัตวท ้งั หลาย ท่เี ปนเพ่อื นทกุ ขเ กิดแกเจบ็ ตายดว ยกนั
หมดทัง้ สิน้
อะเวรา จงเปนสขุ ๆ เถดิ อยาไดม ีเวรแกก นั และกันเลย
สัพเพ สัตตา สตั วท ้งั หลายท่เี ปนเพอ่ื นทกุ ขเ กดิ แกเ จบ็ ตายดวยกนั
หมดทงั้ สิน้
อพั ยา ปชฌา จงเปนสขุ ๆ เถิด อยาไดเบยี ดเบียนซึง่ กันและกัน
เลย
สัพเพ สตั ตา สัตวท งั้ หลาย ทเ่ี ปนเพอื่ นทุกขเ กิดแกเจบ็ ตายดว ยกนั
หมดท้งั ส้นิ
อะนีฆา จงเปน สขุ ๆ เถดิ อยา ไดมคี วามทุกขกายทกุ ขใจเลย

มนตพ ิธี - หนา ที่ 274
สพั เพ สตั ตา สตั วท ้งั หลายทีเ่ ปน เพอ่ื นทุกขเกดิ แกเจบ็ ตายดวยกนั
หมดท้งั สน้ิ
สขุ ี อตั ตานงั ปะริหะรันตุ จงมีความสขุ กายสุขใจ รักษาตนใหพ น
จากทุกขภ ยั ทงั้ ส้ินเถิด ทา นทง้ั หลาย ท่ีทา นไดท ุกขข อใหท านมคี วามสุข ทา น
ท้งั หลายที่ทานไดสุข ขอใหส ขุ ยงิ่ ๆ
สพั เพ สตั ตา สตั วทงั้ หลายที่เกิดเปน ชะลาพุชะ ท่เี กิดเปน อัณฑะชะ
ท่ีเกดิ เปน สงั เสทะชะ ทเี่ กดิ เปนโอปปาติกะ จงมารับกศุ ลผลบุญใหถ ว นทั่ว
ทุกตวั สัตว

อะภณิ หะปจ จะเวกขะณะ
ชะรา ธมั โมมหิ ชะรัง อะนะตีโต (หญิงวา อะนะตีตา) เรามี
ความแกช ราเปน ธรรมดา เราไมลวงพน ความแกชราไปได
พยาธิ ธมั โมมหิ พยาธิง อะนะตโี ต (หญงิ วา อะนะตตี า) เรามี
ความไขเจ็บเปนธรรมดา เราไมล ว งพนความไขเ จ็บไปได
มะระณะ ธมั โมมหิ มะระณงั อะนะตโี ต (หญิงวา อะนะตตี า)
เรามีความตายเปนธรรมดา เราไมลว งพนความตายไปได
สพั เพหิ เม ปเยหิ มะนา เปหิ นานาภาโว วินาภาโว คงมีแกเรา
ความเปน ตาง และความพลดั พรากจากสัตวแ ละสงั ขาร และความพลดั พราก
จากของท่นี ารักนาชอบใจของเราท้งั หลาย
กัมมสั สะโกมหิ เรามีกรรมเปนกรรมของตวั
กมั มะทายาโท เรามกี รรมเปน ผูนำมามอบให

มนตพธิ ี - หนา ท่ี 275
กัมมะโยนิ เรามกี รรมเปน ผนู ำไปเกดิ
กมั มะพันธุ เรามีกรรมเปนเผาพันธุ และพวกพอ ง
กมั มะปะฏิสะระโณ เรามีกรรมเปน เครอ่ื งยยุ งเปนเครอื่ งระลึก
ยงั กมั มัง กะริสสามิ กลั ยาณัง วา ปาปะกงั วา เราจะทำ
กรรมอนั ใด ๆ ไว จะเปนกรรมงามกรรมดีท่เี ปนกุศลหรอื หรือจะเปนกรรมชัว่
กรรมลามกที่เปนบาป
ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามิ เราจะตอ งเปน ผรู ับผลของกรรมน้ัน

อะจิรัง วะตะยัง กาโย บังสุกุล
ฉฑุ โฑ อะเปตะวญิ ญาโณ ปะฐะวงิ อะธเิ สสสะติ
อะนิจจา วะตะ สังขารา นิรัตถงั วะ กะลิงคะรงั
อุปปช ชติ วา นริ ุชฌนั ติ อุปปาทะวะยะธมั มิโน
เตสงั วูปะสะโม สุโข

คำลากลบั บาน
หันทะทานิ มะยัง ภนั เต อาปุจฉามะ
พะหุ กิจจา มะยงั พะหกุ ะระณยี า
พระสงฆผูร ับลากลาวคำวา ยสั สะทานิ ตุมเห กาลงั มัญญะถะ
ผูลาพงึ รับพรอมกนั วา สาธุ ภันเต แลว กราบ ๓ ครง้ั

มนตพิธี - หนา ที่ 276
คำอาราธนา บชู า ภาวนา ถวาย
(กอนอาราธนา บูชา ภาวนา ถวาย ตองภาวนาดวย นะโม ๓ จบกอนเสมอ)

คำบูชาพระรัตนตรยั
อิมนิ า สกั กาเรนะ พุทธงั ปเู ชมิ
อมิ นิ า สักกาเรนะ ธัมมงั ปูเชมิ
อิมนิ า สกั กาเรนะ สงั ฆัง ปูเชมิ

คำอาราธนาศลี ๕
มะยงั ภันเต วสิ งุ วิสุง รกั ขะณัตถายะ
ติสะระเณนะ สะหะ ปญ จะ สีลานิ ยาจามะ
ทุตยิ มั ป มะยงั ภนั เต วิสุง วิสุง รกั ขะณัตถายะ
ตสิ ะระเณนะ สะหะ ปญ จะ สลี านิ ยาจามะ
ตะตยิ ัมป มะยัง ภนั เต วิสงุ วสิ งุ รักขะณัตถายะ
ตสิ ะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ
หมายเหตุ ถา ศีล ๘ เปลี่ยน ปญจะ เปน อัฏฐะ

คำอาราธนาพระปรติ ร

วปิ ตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปต ติสัทธิยา

สัพพะ ทุกขะ วินาสายะ ปะรติ ตงั พรถู ะ มงั คะลัง

วปิ ตตปิ ะฏิพาหายะ สพั พะสมั ปต ตสิ ทิ ธิยา

สัพพะ ภะยะ วินาสายะ ปะรติ ตัง พรถู ะ มงั คะลงั

วปิ ตตปิ ะฏิพาหายะ สพั พะสมั ปต ติสิทธิยา

สัพพะ โรคะ วนิ าสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง

มนตพธิ ี - หนา ที่ 277
คำอาราธานาธรรม
พรัหมา จะ โลกาธปิ ะตี สะหมั ปะติ
กตั อญั ชะลี อนั ธวิ ะรงั อะยาจะถะ
สนั ตธี ะ สัตตาปปะระชักขะชาติกา
เทเสตุ ธมั มัง อะนุกมั ปม งั ปะชงั
คำถวายขา วพระพุทธ
อมิ งั สปู ะพยญั ชะนะสมั ปน นัง สาลีนัง โอทะนัง
อุทะกงั วะรงั พุทธัสสะ ปเู ชมิ
คำลาขา วพระพุทธ
เสสัง มงั คะลา ยาจามิ
คำถวายสังฆทาน (สามญั )
อิมานิ มะนงั ภนั เต ภตั ตานิ สะปะรวิ ารานิ ภิกขสุ งั ฆสั สะ
โอโณชะยามะ สาธุ โน ภนั เต ภกิ ขสุ ังโฆ อมิ านิ ภัตตานิ
สะปะรวิ ารานิ ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากงั ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ

คำแปล
ขา แตพ ระสงฆผเู จรญิ ขาพเจา ท้ังหลาย ขอนอ มถวาย ภัตตาหาร
กับทั้งบริวารเหลา น้ี แกพ ระภิกษุสงฆ ขอพระภิกษสุ งฆจงรบั ภตั ตาหารกบั
ท้งั บรวิ ารเหลา นี้ ขอขาพเจา ท้ังหลาย เพอื่ ประโยชนและความสขุ แกขา พเจา
ท้งั หลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 278
คำอปโลกนส ังฆทาน
ยคั เฆ ภนั เต สงั โฆ ชานาตุ ขอพระสงฆทงั้ ปวงจงฟงคำ
ขาพเจา
บัดนี้ ทายก ทายกิ า ผมู จี ติ ศรทั ธา ไดน อ มยนำมาซ่ึงภตั ตาหาร
มาถวายเปนสงั ฆทานแกพ ระภิกษสุ งฆ อนั วา สงั ฆทาน้ี ยอ มมอี านสิ งส
อนั ย่ิงใหญ สมเด็จพระพทุ ธองคจ ะไดจำเพาะเจาะจงวาเปน ของภิกษุรปู หนง่ึ
รปู ใดก็หามิได เพราะเปน ของไดแกสงฆทว่ั สงั ฆมณฑล พระพุทธองค
ตรสั วาใหแจกกนั ตามบรรดาทมี่ าถึง
ฉะน้นั บดั นี้ขา พเจา จะสมมตติ นเปนผแู จกของสงฆ พระสงฆ
ทัง้ ปวงจะเหน็ สมควรหรอื ไมเ ห็นสมควร ถาเห็นวาไมเ ปน การสมควรแลวไซร
ขอจงไดทักทว งขน้ึ ในทามกลางสงฆอ ยา ไดเกรงใจ ถาเหน็ วาเปนสมควร
แลว กจ็ งเปนผูนิ่งอยู (หยุดนิดหนึ่ง) บดั นี้ พระสงฆท้ังปวงนง่ิ อยู ขา พเจา
จกั รูไดว าเปนการสมควรแลว จะไดท ำการแจกของสงฆต อไป ณ กาลบัดนี้
อะยงั ปะฐะมะ ภาโค มะหาเถรสั สะ ปาปณุ าติ สว นท่ี ๑
ยอมถึงแกพระเถระผูใหญผูอ ยเู หนอื ขาพเจา
อะวะเสสา ภาคา อมั หากงั ปาปณุ าติ สวนท่ีเหลือจากพระเถระ
ผูใหญแลว ยอ มถงึ แกขาพเจา ทงั้ หลาย ตามบรรดาที่มาถึงพรอมกันทกุ ๆ รูป
(ตลอดถงึ สามเณรดวย) เทอญ

สาธุ
หมายเหตุ มะหาเถรัสสะ นนั้ เปลย่ี นเปน เถรสั สะ บา ง มัชฌิมะ
บา ง ตามฐานะของหัวหนาในทน่ี น้ั ถาไมมสี ามเณรอยูดวย ก็ไมตองวา
ตลอดถงึ สามเณรดวย คำอปโลกนนีเ้ ปน หนา ท่ขี องรปู ที่ ๒ หรือท่ี ๓ กไ็ ด

มนตพ ิธี - หนาที่ 279
คำถวายสลากภตั ต
เอตานิ มะยัง ภนั เต สะลากะภัตตานิ สะปะริวารานิ อะสกุ ัฏฐาเน
ฐิ ะปต านิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภกิ ขุสงั โฆ
เอตานิ สะลากะภัตตานิ สะปะริวารานิ ปะฏคิ คณั หาตุ อมั หากัง
ทฆี ะรัตตัง หิตายะ สุขายะ

คำแปล
ขา แตพ ระสงฆผูเจริญ สลากภตั ตาหารกบั ทงั้ บริวารท้งั หลาย ซ่งึ ตว้ั ไว
ณ ที่โนนนนั้ ขาพเจาทง้ั หลาย ขอนอมถวายแกพ ระภกิ ษสุ งฆ ขอพระภกิ ษุสงฆ
จงรับ ซ่ึงสลากภัตตาหาร กับทัง้ บรวิ ารเหลา นนั้ ของขา พเจา ท้ังหลาย เพ่อื
ประโยชนและความสุข แกขาพเจา ท้ังหลาย ส้นิ กาลนานเทอญ ฯ

คำถวายขา วสาร
อมิ านิ มะยงั ภันเต ตัณฑลุ านิ สะปะริวารานิ ภกิ ขสุ ังฆัสสะ
โอโณชะยามะ สาธุ โน ภนั เต ภิกขสุ ังโฆ อิมานิ ตัณฑลุ านิ
สะปะรวิ ารานิ ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากงั ทีฆะรตั ตงั หติ ายะ สขุ ายะ

คำแปล
ขาแตพ ระสงฆผ เู จริญ ขา พเจาทง้ั หลาย ขอนอมถวายขาวสารกับทง้ั
บรวิ ารเหลานี้ แกพระภกิ ษสุ งฆ ขอพระภิกษุสงฆจงรับ ขาวสารกบั ท้ัง
บริวารเหลา น้ี ของขา พเจาทัง้ หลาย เพอ่ื ประโยชนแ ละความสุข แกข า พเจา
ท้ังหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 280
คำถวายผาวสั สิกสาฎก (ผาอาบน้ำฝน)
อิมานิ มะยงั ภนั เต วสั สกิ ะสาฏิกานิ สะปะริวารานิ ภกิ ขุสังฆัสสะ
โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภกิ ขุสังโฆ อิมานิ วัสสิกะสาฏิกานิ
สะปะรวิ ารานิ ปะฏคิ คณั หาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตงั หิตายะ สขุ ายะ

คำแปล
ขาแตพระสงฆผเู จริญ ขาพเจา ท้งั หลาย ขอนอ มถวาย ผาอาบนำ้ ฝน
กบั ทง้ั บริวารเหลา น้ี แกพ ระภิกษุสงฆ ขอพระภกิ ษสุ งฆข อรบั ผา อาบนำ้ ฝน
กบั ทั้งบริวารเหลาน้ี ของขา พเจา ท้ังหลาย เพอื่ ประโยชนแ ละความสขุ แก
ขา พเจา ทัง้ หลาย สน้ิ กาลนาน เทอญ ฯ

คำถวายผา ปา
อิมานิ มะยงั ภนั เต ปง สุกลู ะจีวะรานิ สะปะริวารามิ ภิกข-ุ
สังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ ปง สกุ ูละ-
จีวะรานิ สะปะรวิ ารานิ ปะฏิคคณั หาตุ อัมหากงั ทีฆะรตั ตงั หิตายะ สุขายะ

คำแปล
ขา แตพ ระสงฆผเู จรญิ ขา พเจา ทงั้ หลาย ขอนอมถวาย ผาบงั สกุ ุลจีวร
กบั ท้ังบริวารเหลา นี้ แกพระภิกษสุ งฆ ขอพระภิกษสุ งฆจงรับ ผาบังสุกุลจวี ร
กบั ท้ังบรวิ ารเหลาน้ี ของขาพเจาท้ังหลาย เพื่อประโยชนแ ละความสขุ แก
ขา พเจาทั้งหลาย สนิ้ กาลนาน เทอญ ฯ

คำชกั ผา ปา
อิมงั ปงสกุ ูละจีวะรงั อสั สามกิ ัง มัยหงั ปาปุณาติ

มนตพิธี - หนา ที่ 281
คำถวายดอกไมธูปเทียนเพื่อบชู า
อมิ านิ มะยงั ภนั เต ทปี ะธปู ะปปุ ผะวะรานิ ระตะนัตตะยัสเสวะ
อะภปิ ูเชมะ อัมหากง ระตะนัตตะยัสสะ ปชู า ทฆี ะรตั ตัง หติ ะสขุ าวะหา
โหตุ อาสะวักขะยปั ปต ติยา

คำแปล
ขา แตพ ระคุณเจาท้ังหลายผเู จรญิ ขา พเจา ท้งั หลายขอบูชาธูปเทยี นและ
ดอกไมอนั ประเสรฐิ เหลานี้ แกพระรตั นตรัย กริ ิยาทบ่ี ูชาแกพ ระรตั นตรยั น้ี
จงเปน ผลนำมาซง่ึ ประโยชนและความสุข แกขา พเจาทง้ั หลาย สนิ้ กาลนาน จง
เปน ไปเพื่อใหถึงซึ่งพระนพิ พาน เปน ทีส่ น้ิ ไปแหงอาสวะกิเลส เทอญ ฯ

คำถวายกระทงสำหรับลอยประทปี
มะยงั อิมินา ปะทีเปนะ อะสกุ ายะ นมั มะทายะ นะทยิ า ปุลเิ น
ฐติ ัง มุนิโน ปาทะวะลญั ชงั อะภปิ เู ชมะ อะยัง ปะทเี ปนะ มนุ โิ น
ปาทะวะลัญชสั สะ ปูชา อมั หากัง ทฆี ะรัตตัง หิตายะ สขุ ายะ สงั วัตตะตุ.

คำแปล
ขาพเจาทงั้ หลาย ขอบชู า ซ่ึงรอยพระพุทธบาท ท่ีตง้ั อยเู หนอื หาดทราย
ในแมน ้ำชอ่ื นมั มทานทโี นน ดวยประทปี น้ี กิรยิ าทบี่ ูชารอยพระพทุ ธบาท
ดวยประทปี นี้ ขอจงเปนไปเพ่ือประโยชน และความสขุ แกขาพเจาทั้งหลาย
ส้ินกาลนาน เทอญ ฯ

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 282
คำภาวนาเมือ่ ยกมือไหวพระ
(ยกมือไหวพ ระพทุ ธวา) สาธุ พุทธัง วันทามิ
(ยกมือไหวพ ระธรรมวา) สาธุ ธมั มงั วันทามิ
(ยกมอื ไหวพระสงฆวา) สาธุ สงั ฆงั วันทามิ
คำอธิษฐานเมื่อจบของตาง ๆ ถวายพระ
สทุ นิ นัง วะตะ เม ทานงั อาสะวกั ขะยาวะหงั นพิ พานงั โหตุ เม

อะนาคะเต กาเล

คำอาราธนาพระเคร่ือง
พทุ ธัง อาราธะนานัง

ธัมมงั อาราธะนานัง
สังฆัง อาราธะนานัง
พทุ ธงั ปะสทิ ธิ เม
ธัมมัง ปะสิทธิ เม
สงั ฆงั ปะสทิ ธิ เม

คำภาวนาเวลากอพระเจดียท ราย
อิมัง วาลุกัง เจตยิ งั อะธิฏฐามิ

มนตพิธี - หนาที่ 283
คำภาวนาเวลาไปเยย่ี มศพ
อะวสั สัง มะยา มะรติ ัพพงั
คำภาวนาเวลารดน้ำศพ
(แบบที่ ๑) กายะกัมมงั วะจีกมั มงั มะโนกัมมงั อะโหสิกมั มัง
สมั พะปาปง วนิ ัสสะตุ
(แบบที่ ๒) อิทัง มะตะกะสะรรี ัง อุทะกงั วิยะ สิญจิตงั อะโหสิ-
กมั มัง
คำถวายผาไตรอุทิศแกผ ูต าย
อมิ านิ มะยงั ภนั เต ตีจวี ะรานิ อยั ยสั สะ เทมะ สาธุ โน
ภันเต อะยงั ตจิ ีวะระปชู าวิปาโก อมั หากัง มาตาปตุอาทีนัง ญาตีนัง
กาละกะตานัง สงั วัตตะตุ อัมหากงั มาตาปตอุ าทะโย ญาตะกา
ทานะ ปตตงั ละภันตุ อัมหากัง เจตะสา ฯ

คำแปล
ขาแตพระผเู ปนเจาผเู จริญ ขาพเจาท้งั หลาย ขอถวายไตรจวี รนีแ้ กพ ระ
ผูเปนเจา ขา แตพ ระผเู ปน เจา ผเู จริญ อันวาผลวิบากของการบูชาดว ยไตรจวี ร
น้ี จงเปน ไปเพ่อื ญาติทง้ั หลาย มมี ารดาบดิ าของขา พเจาทั้งหลายเปน ตน จง
ไดส วนแหงทานนี้ ตามความประสงค ของพวกขา พเจา ทั้งหลาย เทอญ ฯ

คำภาวนาเวลาทอดผาหนาศพ
นามะรปู ง อะนจิ จัง นามะรูปง ทกุ ขัง นามะรูปง อะนัตตา

มนตพธิ ี - หนา ท่ี 284
คำภาวนาเวลาจดุ ศพ
(แบบท่ี ๑) อะสุจิ อะสภุ งั กัมมัฏฐานัง ภาเวติ
(แบบท่ี ๒) จุติ จตุ งั อะระหัง จุติ
(แบบท่ี ๓) อะยมั ป โข เม กาโย เอวงั ภาวี ธัมโม เอวัง อะนะตโี ต
คำกรวดน้ำแบบสนั้
อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขติ า โหนตุ ญาตะโย
ขอบุญน้ีจงสำเร็จ แกญ าตทิ ง้ั หลาย ของขาพเจาเถดิ
ขอญาตทิ ั้งหลายจงเปนสขุ ๆ เถดิ

คำบชู าพระพทุ ธเจา
ขาพระพุทธเจา ขอบชู าพระพทุ ธเจา ดวยดอกไม ธูปเทียน
เหลาน้ี ขอพระพทุ ธองคจงทรงรบั ซงึ่ ดอกไมธ ปู เทียนเหลา นี้ เพอ่ื
ประโยชนสขุ แกข าพระพทุ ธเจา สนิ้ กาลนาน เทอญ
(หมายเหตุ ถามีเพยี งดอกไม กค็ วรจะวา เฉพาะดอกไม หรือถา มสี ่งิ ใด

ก็วาเฉพาะส่ิงนั้น)
ปวารณาบตั ร

ขาพเจา ขอถวายจตุปจจยั แดพระคณุ ทา นเปน มลู คา.............บาท
หากพระคุณทานประสงคส ิ่งใดขอไดโปรดเรยี กจากไวยาวัจกร ดว ยเทอญ.

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 285

คำจบขันขา วใสบาตร

ขาวของขา พเจา ขาวดงั ดอกบงั ยกข้ึนเหนือหวั ถวายแด

พระสงฆ จติ ใจจำนง ตรงตอ พระนพิ พาน

คำจบเงนิ ทำบญุ

ทรัพยของขาพเจา ไดมาโดยบรสิ ทุ ธิ์ ขอบชู าพระพุทธ บชู า

พระธรรม บูชาพระสงฆ จติ ใจจำนง ตรงตอ พระนพิ พาน ขอใหถ ึง

เมอื งแกว ขอใหแ คลว บว งมาร ขอใหพบพระศรีอารยิ  ในอนาคตกาล

นน้ั เทอญ.

คำถวายเครอื่ งสังเวยพระภูมิ

นะโม เม พระภมู เิ ทวานัง ธปู ะทปี ะ จะ ปุปผัง สกั การะ-

วนั ทะนัง สปู ะพะยัญชะนะสัมปนนัง โภชะนานงั สาลนี ัง สะปะรวิ ารงั

อทุ ะกังวะรัง อาคจั ฉนั ตุ ปะริภญุ ชันตุ สัพพะทา หิตายะ สขุ ายะ

สนั ตเิ ทวา มะหทิ ธกิ า เตป อัมเห อะนรุ ักขันตุ อาโรคะเยนะ

สเุ ขนะ จะ.

คำลาเคร่อื งสงั เวยพระภูมิ

อายนั ตุ โภนโต อธิ ะ ทานะสีละ เนกขมั มะปญญา สะหะ

วริ ยิ ะ ขันตี สจั จาธฏิ ฐานะ เมตตุเปกขายทุ ธายะโว ทสิ สาวนิ ะติ

อะเสสะโต.

คำบูชาพระภูมิดวยดอกไมธ ปู เทยี นหรือพวงมาลัย

ภมุ มัสมงิ ทิสาภาเค สันติ ภุมมา มะหทิ ธิกา

เตป อัมเห อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ ฯ

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 286

คำอธษิ ฐานปด ทองลูกนิมติ

ขอเดชะ บุญทาน การกุศล
ทศพล
ปด นมิ ติ อุโบสถ โชตติ ระการ

เร่มิ ลูกตน กลางโบสถ เสกประสาท
เสริมสัณฐาน
เปน นิมติ ลกู เอก สาธุการ
ผกู สีมา
งามโอภาส มาศเฉลิม ไดเปนใหญ

เปนนิมติ เตือนตา ดงั เลขา
บรู พา
ทา มกลางงาน บุญพิธี ปรากฏไกล
อาคเนย
เกิดชาติหนา อยารูเข็ญ พสิ มัย
ษณิ ศักดชิ ยั
รูปวไิ ล เปนเสนห  วฒั นา
หรดี
ปดนิมิต ลูกทิศ
ชนั ษา
ใหกา วหนา เกียรตยิ ศ อิ่มอรุ า
ด่งั ใจปอง
ปดนมิ ิต ลูกทิศ ดับทุกขโศก
รายท้งั ผอง
ขอใหเ ท- วาประสทิ ธิ์
กรประคอง
ปด นมิ ติ ทศิ ทกั - ทกุ รายการ

ใหสมใจ สมบตั ิ

ปด นิมติ ลูกทิศ

ขอใหชี- วติ ม่ัน

ปด นิมิต ทิศประจิม

ปรารถนา ใดได

ปด นิมิต ทิศพายัพ

นริ าศโรค นิราศภัย

ปด นิมิต ทิศอุดร

ไดเ งนิ ทอง สมหมาย

มนตพธิ ี - หนาท่ี 287

ปด นมิ ิต ทศิ อีสาน ประการทาย

ใหส มหมาย ไดส ขุ ทุกสถาน

รวมเกาลกู สุกใส ใจเบกิ บาน

กวา จะถงึ ซงึ่ นพิ พาน เมื่อนนั้ เทอญ.

ธรรมสาธก

คำถวายคัมภีรพ ระธรรม

มะยัง ภันเต อมิ งั สะปะริวารงั โปฏฐะกะคนั ถงั พะหชุ ชะนะห-ิ

ตายะ พะหชุ ชะนะสขุ ายะ มะหาเถเรหิ ยุตตัปปะยตุ ตงั ธัมมกิ งั

ธัมมะลทั ธัง จาตทุ ทสิ ัสสะ ภกิ ขสุ ังฆัสสะ โอโณชะยามะ สาธุ

โน ภันเต ภิกขสุ ังโฆ อมิ งั สะปะรวิ ารงั โปฏฐะกะคนั ถงั พะหุชชะ-

นะหิตายะ พะหชุ ชะนะสขุ ายะ มะหาเถเรหิ ยตุ ตปั ปะยุตตัง ธัมมกิ ัง

ธัมมะลัทธัง ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทฆี ะรัตตงั หติ ายะ สุขายะ

คำแปล

ขาแตพระสงฆผูเจรญิ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอ มถวาย ซึ่งคมั ภรี พ ระ

ธรรม อันพระมหาเถระทง้ั หลาย ชำระสอบทานแลวอนั เกดิ ขึน้ โดยชอบธรรม

อนั ไดมาโดยชอบธรรม กับทั้งบริวารน้ี แกพ ระภิกษสุ งฆ ผมู ีในทศิ ทั้ง ๔ ขอ

พระภิกษสุ งฆจ ะรบั ซงึ่ คมั ภรี พระธรรม อนั พระมหาเถระทั้งหลาย ชำระ

สอบทานแลว อนั เกดิ ขึ้นแลวโดยชอบธรรม อันไดม าโดยธรรม กับทง้ั

บรวิ ารนี้ ของขา พเจาทัง้ หลาย เพอื่ ประโยชนแ ละความสขุ แกขาพเจา

ทั้งหลาย ส้นิ กาลนาน เทอญ.

มนตพธิ ี - หนา ที่ 288
คำถวายเวจกุฎี
มะยัง ภันเต, อมิ ัง, วัจจะกฏุ งิ , อาคะตานาคะตัสสะ, จาตทุ -
ทสิ ัสสะ ภิกขสุ ังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภกิ ขสุ งั โฆ,
อมิ ัง, วัจจะกฏุ ิง, ปะฏิคคัณหาตุ, อมั หากัง, ทีฆะรัตตัง, หติ ายะ,
สุขายะ

คำแปล
ขา แตพ ระสงฆผเู จรญิ ขา พเจา ท้งั หลาย ขอนอมถวาย เวจกฎุ ีหลงั น้ี
แกพ ระภิกษสุ งฆ ผมู ใี นทศิ ทั้ง ๔ ท่ีมาแลวกด็ ี ยังไมม ากด็ ี ขอพระภิกษุ
สงฆจ งรับ เวจกฎุ ีหลงั น้ี ของขาพเจา ท้ังหลาย เพื่อประโยชนและความสุข
แกข าพเจาทง้ั หลาย สิน้ กาลนาน เทอญ ฯ

คำถวายยาบำบดั ความปว ยไข
อมิ านิ มะยงั ภันเต, คลิ านะเภสัชชานิ สะปะรวิ าราน,ิ สงั ฆัสสะ
โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต, สงั โฆ, อมิ านิ, คลิ านะเภสัชชาน,ิ
สะปะริวารานิ, ปะฏคิ คณั หาต,ุ อัมหากัญจะ, มาตาปตอุ าทีนัญจะ,
ญาตะกานัง, ทฆี ะรตั ตัง, หิตายะ สขุ ายะ.

คำแปล
ขาแตพ ระสงฆผเู จริญ ขา พเจา ท้งั หลาย ขอนอ มถวาย ยาบำบัดความ
ปว ยไข กบั ท้งั เวชภณั ฑทั้งหลายเหลานี้ แกพ ระสงฆ ขอพระสงฆจ งรบั ยา
บำบดั ความปวยไข และเวชภณั ฑทงั้ หลายเหลาน้ี ของขา พเจา ทัง้ หลายเพ่อื
ประโยชนและความสุข แกข า พเจา ทั้งหลายดวย แกญ าติท้งั หลาย มีมารดา
บดิ าเปน ตนดว ย สน้ิ กาลนาน เทอญ.

มนตพิธี - หนา ท่ี 289
ิ คำถวายพระพุทธรูป

อิมัง ภนั เต พทุ ธะรปู ง สงั ฆัสสะ โอโณชะยามะ อายะติง
สาสะนสั สะ อะติโรจะนายะ จะ ถาวะรายะ จะ สาธุ โน ภันเต สังโฆ
อิมงั พทุ ธะรปู ง ปะฏิคคัณหาตุ อมั หากัง ทฆี ะรตั ตงั หิตายะ. สุขายะ

คำแปล
ขา แตทานท้ังหลายผูเจรญิ ขาพเจา ท้ังหลาย ขอนอมถวาย ซึง่ พระ
พุทธรูปน้ี แกพระสงฆ เพอื่ ความรงุ เรอื ง และเพอ่ื ความถาวร แหง พระ-
ศาสนาตอ ไป ขาแตท า นทัง้ หลายผูเจรญิ ขอพระสงฆจ งรับ ซึง่ พระพทุ ธรปู
นี้ ของขาพเจา ทั้งหลาย เพ่อื ประโยชนและความสขุ แกขา พเจาท้งั หลาย
ส้ินกาลนาน เทอญ ฯ

คำถวายเสนาสนะ กุฏิ วหิ าร
อมิ านิ มะยงั ภนั เต, เสนาสะนาน,ิ อาคะตานาคะตัสสะ,
จาตุททิสสั สะ ภิกขุสงั ฆสั สะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต
ภกิ ขสุ ังโฆ อมิ านิ, เสนาสะนามิ, ปะฏคิ คณั หาตุ, อัมหากงั ทีฆะรตั ตัง,
หิตายะ, สุขายะ,

คำแปล
ขาแตพระสงฆผูเจรญิ ขา พเจาท้ังหลาย ขอนอมถวายเสนาสนะเหลา
น้ี แกพ ระภิกษสุ งฆ ผูมีในทิศทั้ง ๔ ทีม่ าแลว กด็ ี ยงั ไมม าก็ดี ขอพระภกิ ษุ
สงฆจ งรับเสนาสนะเหลา น้ี ของขาพเจา ทัง้ หลาย เพอื่ ประโยชนแ ละความสขุ ,
แกขา พเจา ท้ังหลาย สนิ้ กาลนาน เทอญ.


Click to View FlipBook Version