The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-02-26 21:08:03

มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

Keywords: มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

มนตพิธี - หนา ที่ 140
พละ, ยอ มเจรญิ แกบ ุคคลผมู ีปรกตไิ หวก ราบ, มีปรกติออ นนอม (ตอ ผูใหญ)
เปน นิตย ฯ

มงคลจักรวาฬนอ ยแปล
สพั พะพทุ ธานุภาเวนะ ดวยอานุภาพแหงพระพทุ ธเจา ท้งั ปวง
สัพพะธมั มานภุ าเวนะ ดว ยอานุภาพแหง พระธรรมทงั้ ปวง สพั พะสงั ฆา-
นุภาเวนะ ดวยอานภุ าพแหง พระสงฆท ั้งปวง พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง
สังฆะระตะนัง ติณณัง ระตะนานงั อานภุ าเวนะ ดวยอานุภาพแหง
ระตะนะสาม คอื พุทธรตนะ ธรรมรตนะ สังฆรตนะ จะตุรสีติสะหัสสะ-
ธมั มกั ขนั ธานุภาเวนะ ดว ยอานุภาพแหงพระธรรมขนั ธแ ปดหม่นื สพ่ี นั
ปฏะกัตตะยานภุ าเวนะ ดวยอานุภาพแหง พระไตรปฎ ก ชนิ ะสาวะกานุ-
ภาเวนะ ดว ยอานุภาพแหงพระสาวกของพระชินเจา สพั เพ เต โรคา สรรพ-
โรคทงั้ หลายของทาน สพั เพ เต ภะยา สรรพภัยทั้งหลายของทา น สพั เพ เต
อันตะรายา สรรพอนั ตรายทง้ั หลายของทาน สัพเพ เต อปุ ท ทะวา สรรพ
อุปท วะทัง้ หลายของทาน สพั เพ เต ทนุ นิมติ ตา สรรพนิมติ รา ยท้งั หลาย
ของทา น สพั เพ เต อะวะมงั คะลา สรรพอวมงคลทัง้ หลายของทาน วินัส-
สันตุ จงพินาศไป อายุวัฑฒะโก ความเจรญิ อายุ ธะนะวฑั ฒะโก ความ
เจริญทรพั ย สริ ิวัฑฒะโก ความเจรญิ ศริ ิ ยะสะวัฑฒะโก ความเจรญิ ยศ
พะละ วัฑฒะโก ความเจรญิ กำลัง วณั ณะวฑั ฒะโก ความเจรฐิ วรรณะ
สุขะวัฑฒะโก ความเจรญิ สุข โหตุ สพั พะทา จงมี (แกท าน) ในกาล
ท้งั ปวง ทกุ ขะโรคะภะยา เวรา ทุกขโ รคภัย แลเวรท้ังหลาย โสกา สตั ตุ-
จุปททะวา ความโศกศตั รูแลอปุ ท วะทัง้ หลาย อะเนกา อนั ตะรายาป ท้งั
อนั ตรายทง้ั หลายเปน อเนก วินัสสันตุ จะ เตชะสา จงพนิ าศไปดว ยเดช

มนตพ ิธี - หนาที่ 141
ชะยะสิทธิ ธะนงั ลาภัง ความชำนะความสำเรจ็ ทรพั ยลาภ โสตถิ ภาคยงั
สขุ งั พะลงั ความสวสั ดี ความมโี ชค ความสขุ กำลงั สริ ิ อายุ จะ
วัณโณ จะ ศริ อิ ายแุ ละวรรณะ โภคงั วฑุ ฒี จะ ยะสะวา โภคะความเจริญ
แลความเปน ผมู ียศ สะตะวสั สา จะ อายู จะ แลอายยุ นื รอยป ชวี ะสิทธี
ภะวันตุ เต แลความสำเร็จกิจในความเปน อยูจ งมแี กทา น ฯ

กาละทานะสตุ ตะคาถาแปล
กาเล ทะทันติ สะปญญา วะทญั ู วีตะมัจฉะรา, กาลนะ
ทินนัง อะรเิ ยสุ อุชภุ ูเตสุ ตาทิสุ วิปปะสันนะมะนา, ตสั สะ วิปุลา โหติ
ทกั ขิณา ทายกทง้ั หลายเหลาใด, เปน ผูม ปี ญญามีปรกตริ จู กั คำพูด ปราศจาก
ตระหน,่ี มใี จเล่ือมใสแลว ในพระอรยิ ะเจา ท้งั หลาย ซงึ่ เปน ผตู รงคงท,ี่ บริจาค
ทานทำใหเ ปนของท่ตี นถวายโดยกาลนิยมในกาลสมยั , ทักษิณาของทายกนน้ั
เปนคณุ สมบตั ิ มผี ลไพบลู ย เย ตัตถะ อะนโุ มทันติ เวยยาวจั จัง กะโรนติ
วา ชนทง้ั หลายเหลาใดอนุโมทนา หรอื ชวยกระทำการขวนขวายในทานน้ัน
นะ เตนะ ทักขิณา โอนา ทกั ษิณาทานของเขามไิ ดบกพรอ งไป ดวยเหตนุ ั้น
เตป ปุญญัสสะ ภาคิโน ชนทัง้ หลายแมเ หลานนั้ ยอ มเปนผมู ีสว นแหง บญุ นน้ั
ดว ย ตัสมา ทะเท อัปปะฏิวานะจติ โต ยัตถะ ทนิ นัง มะหัปผะลัง
เหตนุ ั้น ทายกควรเปนผมู ีจติ ไมท อถอย, ใหใ นทีใ่ ดมีผลมากควรใหในทีน่ ัน้
ปุญญานิ ปะระโลกสั มิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณนิ นั ติ บุญยอ มเปน ทพ่ี ง่ึ
อาศยั ของสตั วท้งั หลายในโลกหนา ฉะน้ี

มนตพ ธิ ี - หนา ที่ 142
ตโิ รกุฑฑะกณั ฑะปจฉิมภาคแปล
อะทาสิ เม อะกาสิ เม ญาติมติ ตา สะขา จะ เม บคุ คลมา
ระลึกอปุ การะอนั ทา นไดทำแกตนในกาลกอนวา, ผูน ไ้ี ดใ หส ิง่ นี้แกเรา ผูน้ี
ไดทำกิจน้ขี องเรา ผูน้เี ปน ญาติ เปนมติ ร เปนเพ่อื นของเรา ดังนี้ เปตานัง
ทกั ขณิ งั ทชั ชา ปพุ เพ กะตะมะนสุ สะรัง กค็ วรใหทกั ษิณาทาน เพอื่ ผทู ่ี
ละโลกนไ้ี ปแลว นะ หิ รุณณัง วา โสโก วา ยาวญั ญา ปะรเิ ทวะนา
การรอ งไหก ด็ ี การเศรา โศกก็ดี หรอื การร่ำไรรำพนั อยางอน่ื กด็ ,ี บคุ คลไม
ควรทำทเี ดียว นะตัง เปตานะมตั ถายะ เพราะวาการรองไหเปน ตนนั้น,
ไมเ ปน ประโยชนแกญาตทิ ัง้ หลายผูละโลกนี้ไปแลว เอวัง ตฏิ ฐนั ติ ญาตะโย
ญาตทิ ้ังหลายยอมตัง้ อยอู ยางน้ัน อะยญั จะ โข ทักขิณา ทนิ นา กท็ ักษณิ า
นปุ ทานนี้แล อันทา นใหแลว สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา ประดิษฐานไวด แี ลวใน
สงฆ ทฆี ะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อปุ ะกปั ปะติ ยอมสำเรจ็ ประโยชน
เก้ือกูลแกผ ูละโลกนไี้ ปแลวน้นั , ตลอดกาลนาน ตามฐานะ โส ญาติธมั โม
จะ อะยงั นทิ สั สโิ ต ญาติธรรมนน้ี น้ั ทานไดแ สดงใหปรากฏแลว เปตานะ
ปูชา จะ กะตา อุฬารา แลบูชาอนั ยง่ิ ทานกไ็ ดท ำแลว แกญาตทิ ัง้ หลายผู
ละโลกนีไ้ ปแลว พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทนิ นงั กำลังแหงภกิ ษทุ ้ังหลาย
ชอื่ วาทานไดเพมิ่ ใหแลว ดวย ตมุ เหหิ ปุญญัง ปะสุตงั อะนปั ปะกนั ติ
บุญไมน อ ย ทา นไดขวนขวายแลว ดงั นีแ้ ล.

อัคคัปปะสาทะสุตตะคาถาแปล
อคั คะโต เว ปะสนั นานัง อคั คงั ธัมมัง วชิ านะตัง เมื่อ
บคุ คลรูจักธรรมอันเลิศ เลอื่ มใสแลว โดยความเปน ของเลศิ อคั เค พทุ เธ
ปะสันนานงั เลอื่ มใสแลวในพระพทุ ธเจา ผเู ลิศ ทักขิเณยเย อะนตุ ตะเร

มนตพธิ ี - หนา ท่ี 143
ซึ่งเปน ทักษิไณยบคุ คลอนั เย่ียมยอด อัคเค ธมั เม ปะสนั นานัง เล่อื มใสแลว
ในพระธรรมอนั เลิศ วริ าคปู ะสะเม สเุ ข ซึ่งเปน ธรรมปราศจากราคะแลสงบ
รำงบั เปน สุข อัคเค สังเฆ ปะสนั นานัง เลอ่ื มใสแลวในพระสงฆผเู ลศิ ปญุ -
ญักเขตเต อะนุตตะเร ซง่ึ เปนบญุ เขตอยา งยอด อคั คัสมงิ ทานัง ทะทะตัง
ถวายทานในทา นผูเลศิ นั้น อคั คัง ปุญญัง ปะวฑั ฒะติ บญุ ทเี่ ลิศก็ยอมเจรญิ
อัคคัง อายุ จะ วณั โณ จะ อายุ วรรณะ ท่ีเลศิ ยะโส กติ ติ สุขงั พะลัง
แลยศเกียรติคณุ สขุ ะ พละ ทเ่ี ลิศยอ มเจริญ อัคคสั สะ ทาตา เมธาวี
อคั คะธมั มะสะมาหิโต ผูม ปี ญ ญาตั้งมน่ั ในธรรมอนั เลศิ แลว , ใหทานแก
ทา นผูเ ปน บุญเขตอนั เลิศ เทวะภูโต มะนุสโส วา จะไปเกิดเปนเทพดาหรือ
ไปเกิดเปน มนุษยก็ตาม อคั คปั ปตโต ปะโมทะตตี ิ ยอ มถึงความเปน ผเู ลศิ
บันเทิงอยู ดงั น้ีแล

โภชนทานานโุ มทนาคาถาแปล
อายโุ ท พะละโท ธีโร ผูม ีปญญา ใหอายุ ใหก ำลัง วัณณะโท
ปะฏิภาณะโท ใหวรรณะ ใหป ฏภิ าณ สุขัสสะ ทาตา เมธาวี ผูม ปี ญญา
ใหความสขุ สุขัง โส อะธคิ ัจฉะติ ยอ มไดประสพสขุ อายงุ ทัตวา
พะลงั วัณณงั สขุ ัญจะ ปะฏภิ าณะโท บคุ คลผใู หอ ายุ พละ วรรณะ สขุ ะ
แลปฏภิ าณ ทฆี ายุ ยะสะวา โหติ ยตั ถะ ยัตถูปะปชชะตีติ บงั เกดิ ในที่
ใด ๆ ยอมเปนผูม ีอายุยืน มียศในท่ีนั้น ๆ ดงั น้ี

เทวะตาทิสสะทกั ขิณานุโมทนาคาถาแปล
ยสั มงิ ปะเทเส กัปเปติ วาสงั ปณฑติ ะชาติโย บัณฑติ ชาติ
สำเร็จการอยูใ นประเทศสถานทใี่ ด สลี ะวันเตตถะ โภเชตวา สญั ญะเต

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 144
พรัหมะจารโิ น พงึ เชญิ เหลาทานท่ีมศี ีลสำรวมระวังประพฤติพรจรรยเ ลยี้ ง
ดูกนั ในทน่ี นั้ ยา ตัตถะ เทวะตา อาสุง เทพดาเหลา ใด มใี นทนี่ ั้น ตาสัง
ทกั ขิณะมาทิเส ควรอุทศิ ทักษิณาทานเพ่ือเทพดาเหลา นน้ั ดวย ตา ปูชิตา
ปชู ะยนั ติ เทพดาท่ไี ดบ ชู าแลว ทา นยอมบชู าบา ง มานติ า มานะยนั ติ นัง
ท่ีไดนับถอื แลว ยอมนับถอื บาง ตะโต นงั อะนกุ มั ปนติ แตน้ัน ทา นยอ ม
อนุเคราะหเ ขา มาตา ปุตตังวะ โอระสัง ประหน่ึงมารดาอนุเคราะหบตุ ร
อนั เปน โอรส เทวะตานุกมั ปโ ต โปโส บรุ ุษไดอาศยั เทพดาอนุเคระหแลว
สะทา ภัทรานิ ปสสะติ ยอ มเปนกจิ การอันเจรญิ ทกุ เม่ือ.

เทวะตาภิสัมมันตนคาถาแปล
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภมุ มานิ วา ยานวิ ะ อันตะลกิ เข
หมูภูตเหลาใดเปน ภุมเทวดาก็ด,ี เหลา ใดสถิตแลวในอากาศกด็ ,ี ซง่ึ มาประชมุ
กันแลว ในท่นี ้ี สพั เพวะ ภตู า สุมะนา ภะวันตุ ขอหมูภตู เหลา นัน้ ท้งั หมด
เทยี วจงเปน ผู มจี ติ โสมนสั อะโถป สกั กัจจะ สุณนั ตุ ภาสิตงั อนึง่ จงฟง
ภาษติ โดยเคารพ สุภาสิตงั กญิ จิป โว ภะเณมุ เราจะกลา วสภุ าษติ แม
บางประการแกทา นท้งั หลาย ปญุ เญ สะตุปปาทะกะรัง อะปาปง ไมเปน
บาป เปนเครื่องทำความเตอื นสตใิ นบญุ ธมั มูปะเทสงั อะนุการะกานัง
เปน อบุ ายเครื่องแนะนำอันชอบธรรมของบคุ คลผูกระทำตามทัง้ หลาย ตสั มา
หิ ภูตานิ สะเมนตุ สพั เพ เพราะเหตนุ นั้ แลหมแู ลหมภู ตู ท้ังปวงจงฟงเถดิ เมตตัง
กะโรถะ มานสุ ยิ า ปะชายะ ทา นทงั้ หลายจงกระทำไมตรจี ิตในหมูส ัตว

มนตพ ิธี - หนา ท่ี 145
มนษุ ยชาติ ภูเตสุ พาฬหงั กะตะภัตติกายะ ผูม ภี กั ดอี ันทำแลว ม่นั ในหมูภตู
ทวิ า จะ รตั โต จะ หะรนั ติ เย พะลิง มนษุ ยท ้งั หลายเหลาใด ยอ มนำ
กระทำพลีกรรม ในกลางวนั หรอื กลางคืน ปจ โจปะการัง อะภกิ ังขะมานา
มุงหวังอยูซ ง่ึ ความอุดหนุนตอบแทน เต โข มะนสุ สา ตะนุกานภุ าวา
มนุษยทั้งหลายเหลาน้นั แล เปนผมู อี านภุ าพนอ ย ภูตา วเิ สเสนะ มะหทิ ธิกา
จะ สวนภูตท้ังหลายเปน ผูม ีฤทธมิ์ ากโดยแปลกกนั อะทิสสะมานา มะน-ุ
เชหิ ญาตา เปน พวกอทิสสมานกาย ที่มนุษยท ั้งหลายรจู ัก ตัสมา หิ เน
รักขะถะ อปั ปะมัตตา เพราะเหตุนัน้ แล ทานทงั้ หลายจงเปน ผูไ มป ระมาท
รักษามนษุ ยเ หลา นัน้ เถิด.

อาทยิ ะสตุ ตะคาถาแปล
ภตุ ตา โภคา ภะตา ภัจจา โภคะทงั้ หลายเราไดบ ริโภคแลว
บคุ คลทง้ั หลายท่คี วรเลี้ยง เราไดเ ล้ยี งแลว วิตณิ ณา อาปะทาสุ เม อันตราย
ทัง้ หลาย เราไดขา มพน ไปแลว อุทธัคคา ทกั ขณิ า ทนิ นา ทกั ษิณาทเ่ี จริญ
ผล เราไดใหแ ลว อะโถ ปญ จะ พะลี กะตา อน่งึ พลีหา เราไดทำแลว
อุปฏ ฐติ า สลี ะวันโต สญั ญะตา พรัหมะจาริโน ทานผูมีศีลสำรวมแลว
ประพฤตพิ รหมจรรย เราไดบ ำรงุ แลว ยะทัตถัง โภคะมจิ เฉยยะ ปณ ฑโิ ต
ฆะระมาวะสัง บัณฑิตผคู รองเรอื น ปรารถนาโภคะเพ่ือประโยชนอนั ใด-
โส เม อัตโถ อะนุปปตโต ประโยชนน ั้น เราไดบรรลแุ ลว กะตงั อะนะ
นุตาปย งั กรรมไมเปนท่ตี ้งั แหงความเดือดรอนภายหลงั เราไดท ำแลว
เอตัง อะนสุ สะรงั มจั โจ อะริยะธัมเม ฐโิ ต นะโร นรชนผจู ะตอ งตาย

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 146
เมือ่ ตามระลึกถึงคุณขอ น้อี ยู ยอมเปน ผูต ้งั อยูในอรยิ ธรรม อเิ ธวะ นงั ปะสงั -
สันติ เทวดาและมนษุ ยท ้งั หลายยอ มสรรเสรญิ นรชนนน้ั ในโลกน้ี เปจจะ
สัคเค ปะโมทะตีติ นรชนน้นั ละโลกนีไ้ ปแลว ยอ มบันเทิงในสรรคด ังนี้

วหิ าระทานะคาถาแปล
สตี ัง อุณหัง ปะฏหิ ันติ เสนาสนะยอมปองกันเยน็ แลรอ น
ตะโต วาฬะมคิ ามิ จะ แลสัตวร าย สิรงิ สะเป จะมะกะเส งู ยงุ สิสเิ ร
จาป วฏุ ฐโิ ย ฝนที่ต้งั ข้นึ ในสสิ ิระฤดู ตะโต วาตาตะโป โฆโร ลมแลแดด
อันกลา สัญชาโต ปะฏหิ ญั ญะติ เกิดขน้ึ แลว ยอ มบันเทาไป เลณัต-
ถัญจะ สขุ ตั ถัญจะ ฌายิตงุ จะ วิปสสติ ุง วิหาระทานงั สงั ฆัสสะ
อคั คัง พทุ เธหิ วณั ณติ งั การถวายวิหารแกส งฆ เพ่ือเรน อยู เพือ่ ความสขุ
เพ่ือเพง พจิ ารณา แลเพอื่ เหน็ แจง พระพุทธเจา ทรงสรรเสรญิ วาเปนทานเลศิ
ตสั มา หิ ปณฑิโต โปโส เพราะเหตนุ ั้นแลบุรุษบณั ฑติ สมั ปสสงั
อัตถะมัตตะโน เม่อื เล็งเห็นประโยชนตน วิหาเร การะเย รัมเม พึงสราง
วิหารอนั รืน่ รมย วาสะเยตถะ พะหุสสเุ ต ใหภ ิกษุทง้ั หลายผูเปน พหุสตู ร
อยูเถดิ เตสงั อันนญั จะ ปานัญจะ วตั ถะเสนาสะนานิ จะ ทะเทยยะ
อุชุภเู ตสุ วปิ ปะสันเนนะ เจตะสา อนง่ึ พึงถวายขา วนำ้ ผาเสนาสนะแก
ทานเหลา นน้ั ดวยนำ้ ใจอนั เล่ือมใสในทานผซู ื่อตรง เต ตัสสะ ธัมมัง
เทเสติ สัพพะทุกขาปะนทู ะนงั ยงั โส ธัมมะมธิ ัญญายะ ปะรินพิ -
พาตยะนาสะโวติ. เขารธู รรมอนั ใดในโลกนแี้ ลว จะเปน ผไู มม อี าสวะปร-ิ
นิพพาน ทา นยอ มแสดงธรรมนนั้ อนั เปนเครื่องบนั เทาทกุ ขทั้งปวงแกเ ขา
ดงั น.้ี

มนตพิธี - หนาที่ 147
ภะวะตุ สัพพะมงั คะลัง ขอสรรพมงคล จงมแี กท าน รกั ขันตุ
สัพพะเทวะตา ขอเหลาเทวดาทงั้ ปวงจงรกั ษาทา น สพั พะพทุ ธานภุ าเวนะ
ดว ยอานภุ าพ แหง พระพทุ ธเจา ทั้งปวง สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ขอความสวัสดีท้ังหลาย จงมแี กทา นทกุ เมอ่ื
ภะวะตุ สัพพะมงั คะลงั ขอสรรพมงคล จงมแี กท า น รกั ขนั ตุ
สพั พะเทวะตา ขอเหลา เทวดาท้ังปวงจงรักษาทาน สพั พะธมั มานภุ าเวนะ
ดวยอานุภาพแหง พระธรรมทั้งปวง สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เต ขอความ
สวัสดที ้ังหลาย จงมีแกทา นทุกเมื่อ
ภะวะตุ สัพพะ มังคะลงั ขอสรรพมงคล จงมแี กท า น รักขนั ตุ
สพั พะ เทวะ ตา ขอเหลาเทวดาท้งั ปวงจงรักษาทา น สัพพะ สังฆานภุ า-
เวนะ ดว ยอานภุ าพแหง พระสงฆทัง้ ปวง สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ขอ
ความสวสั ดีท้งั หลาย จงมีแกท า นทุกเมอื่ ,

คาถาปองกนั ภัย
ฆะเฏสิ ฆะเฏสิ กิงการะณา ฆะเฏสิ

อะหงั ป ตัง ชานามิ ชานามิ
คาถานี้ ใชภ าวนาเวลาจะไปไหน คุม ภยั ไดด ี
เวลาจะนอนใชเสกหมอนหนุนหวั จะไมมีภัยมา
ถึงตวั และคมุ ครองทรัพยส มบัติ ไดช งดั นักแล.

มนตพธิ ี - หนา ที่ 148
คาถาศราทธพรต
สำหรับสวดรับเทศนใ นงานพระราชพิธีเผาศพ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธัสสะ ฯ

ภาสติ า โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา อะระหะตา

สมั มาสมั พุทเธนะ อะยัง ปจฉมิ า วาจา หนั ทะทานิ ภิกขะเว อามันตะ-

ยามิ โว วะยะธมั มา สงั ขารา อปั ปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ ฯ

สพั เพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปญญายะ ปส สะติ

อะถะ นพิ พินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วสิ ุทธยิ า ฯ

สัพเพ สงั ขารา ทุกขาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ

อะถะ นพิ พินทะติ ทกุ เข เอสะ มัคโค วิสทุ ธยิ า ฯ

สัพเพ ธัมมา อะนตั ตาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ

อะถะ นพิ พินทะติ ทกุ เข เอสะ มัคโค วิสทุ ธยิ า ฯ

วิสทุ ธิ สพั พักเลเสหิ โหติ ทุกเขหิ นพิ พตุ ิ

เจตะโส โหติ สา สันติ นิพพานะมีติ วจุ จะติ ฯ

เย จะ โข สัมมะทักขาเต ธมั เม ธมั มานวุ ตั ตโิ น

เต ชะนา ปาระเมสสันติ มจั จเุ ธยยงั สุทตุ ตะรัง ฯ

อัปปะมาโท อะมะตงั ปะทงั ปะมาโท มัจจุโน ปะทงั

อัปปะมัตตา นะ มยี ันติ เย ปะมตั ตา ยะถา มะตา ฯ

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 149

อปั ปะมตั โต อโุ ภ อัตเถ อะธิคัณหาติ ปณฑิโต

ทิฏเฐ ธัมเม จะ โย อตั โถ โย จัตโถ สมั ปะรายโิ ก

อัตถาภสิ ะมะยา ธีโร ปณฑโิ ตติ ปะวุจจะติ ฯ

เอตตะกานัมป ปาฐานงั อตั ถัง อญั ญายะ สาธุกัง

ปะฏิปชเชถะ เมธาวี อะโมฆัง ชีวิตัง ยะถาติ

คาถาสวดมาฆะบชู า

มาฆะนกั ขตั ตถยตุ ตายะ ปุณณายะปุณณะมายังโย

อะระหงั สมั มาสมั พุทโธ ภะคะวา โคตะโมหะโย

สุทธานันตะทะยาญาโณ สัตถา โลเก อะนตุ ตะโร

วหิ ะรันโต ราชะคะเห มาฆะทานงั คิริพภะเย

วิหาเร เวฬุวันนมั หิ กะลันทะกะนวิ าปเย

สังฆัสสะสันนิปาตัมหิ อุตตะเม จะตุรงั คเิ ก

อฑั ฒะเตระสะหัสเสหิ ภกิ ขูหิ ปะรวิ าริโต

ตหี ิ คาถาหิ สงั ขปิ ปง สัพพัง พทุ ธานะสาสะนงั

สะโมสาเรหิ โอวาทัง ปาฏโิ มกขัง อะนตุ ตะรัง

ตะเมวมั ภตู ะสมั พทุ ธัง สกั ขีณาสะวะสาวะกงั

จริ ะการะมะตี ตัมป ปะสาเทนะ อะนุตตะรัง

อะยมั ป ปะริสา สัพพา ปะสันนา ธมั มะคามนิ ี

สมั ปต ตาตาทิสักการัง สนุ กั ขัตตัง สมุ ังคะลัง

ทีปะธปู าทสิ กั กาเร อะภสิ ัชชิ ยะถาผะลงั

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 150

เตหิ ปูเชตะเวหัตถะ ตุฏฐา อธิ ะ สะมาคะตา

อะภวิ ันทะติ ปูเชติ ภะคะวนั ตัง สะสาวะกงั

กาเลนะ สมั มขุ ภี ตู ัง อะตีตารมั มะนตั ตะนา

โอสาเรนตงั ปาฏิโมกขงั วิสทุ ธกั ขะมุโปสะเถ

อิโตชะเน สปุ ญุ เญนะ โสตถี โหนตุ สะทาปโน

สาสะนัง สัตถุ อมั หากงั จริ ัง ตฏิ ฐะตุตาทโิ น....ติ

บทขดั โอวาทปาฏโิ มกข

สตั ตันนงั ภะคะวนั ตานงั สมั พุทธานงั มะเหสนิ งั

โอวาทะปาฏโิ มกขสั สะ อทุ เทสตั เตนะ ทสั สิตา

มะหาปะทานะสตุ ตันเต ติสโส คาถาติ โน สุตัง

ตีหิ สกิ ขาหิ สังขิตตัง ยาสุ พุทธานะ สาสะนัง

ตาสัมปะกาสะกัง ธมั มะ- ปะริยายัง ภะณามะ เส.

โอวาทะปาฏโิ มกขาทปิ าโฐ
อุททิฏฐงั โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา
อะระหะตา สมั มาสมั พทุ เธนะ โอวาทะปาฏโิ มกขงั ตหี ิ คาถาหิ

ขันตี ปะระมงั ตะโป ตีตกิ ขา
นิพพานงั ปะระนัง วะทนั ติ พุทธา
นะ หิ ปพ พะชโิ ต ปะรปู ะฆาตี
สะมะโณ โหติ ปะรัง วเิ หฐะยนั โต

มนตพ ิธี - หนา ท่ี 151

สัพพะปาปสสะ อะกะระณงั กสุ ะลัสสูปะสัมปะทา

สะจติ ตะปะริโยทะปะนัง เอตงั พทุ ธานะ สาสะนงั

อะนปู ะวาโท อะนปู ะฆาโต ปาฏโิ มกเข จะ สงั วะโร

มตั ตัญญตา จะ ภตั ตสั มงิ ปน ตัญจะ สะยะนาสะนงั

อะธจิ ติ เต จะ อาโยโค เอตัง พทุ ธานะ สาสะนันติ

อะเนกะปะรยิ เยนะ โข ปะนะ เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา

ปสสะตา อะระหะตา สัมมาสมั พทุ เธนะ สีลงั สมั มะทักขาตัง

สะมาธิ สัมมะทักขาโต ปญ ญา สมั มะทกั ขาตา

กะถัญจะ สีลัง สัมมะทกั ขาตัง ภะคะวะตา. เหฏฐเิ มนะป

ปะรยิ าเยนะ สีลงั สมั มะทกั ขาตัง ภะคะวะตา. อุปะรเิ มนะป

ปะริยาเยนะ สลี งั สัมมะทักขาตงั ภะคะวะตา. กะถัญจะ เหฏฐิเมนะ

ปะรยิ าเยนะ สลี งั สัมมะทกั ขาตัง ภะคะวะตา อธิ ะ อะริยะสาวะโก

ปาณาตปิ าตา ปะฏวิ ริ ะโต โหติ อะทินนาทานา ปะฏิวิระโต โหติ

กาเมสุ มจิ ฉาจารา ปะฏวิ ิระโต โหติ มุสาวาทา ปะฏวิ ิระโต โหติ

สุราเมระยะมัชชัปปะมาทัฏฐานา ปะฏิวิระโต โหตีติ. เอวงั โข

เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ สลี งั สมั มะทักขาตัง ภะคะตา กะถัญจะ

อุปะริเมนะ ปะรยิ าเยนะ สลี ัง สัมมะทกั ขาตัง ภะคะวะตา. อิธะ

ภิกขุ สีละวา โหติ ปาฏโิ มกขะสังวะระสงั วุโต วิหะระติ

อาจาระโคจะระสัมปน โน อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี

สะมาทายะ สิกขะติ สกิ ขาปะเทสตู ิ เอวงั โข อปุ ะรเิ มนะ

ปะริยาเยนะ สีลัง สัมะทักขาตงั ภะคะวะตา.

มนตพธิ ี - หนาท่ี 152
กะถัญจะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. เหฏฐเิ มนะป
ปะริยาเยนะ สมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. อปุ ะริเมนะป
ปะริยาเยนะ สะมาธิ สัมมะทกั ขาโต ภะคะวะตา. กะถัญจะ
เหฏฐเิ มนะ ปะริยาเยนะ สะมาธิ สมั มะทักขาโต ภะคะวะตา. อิธะ
อะรยิ ะสาวะโก โวสสัคคารมั มะณงั กะริตวา ละภะติ สะมาธงิ
ละภะติ จิตตัสเสกคั คะตันติ. เอวัง โข เหฏฐเิ มนะ ปะริยาเยนะ
สะมาธิ สมั มะทกั ขาโต ภะคะวะตา. กะถัญจะ อปุ ะรเิ มนะ
ปะรยิ าเยนะ สะมาธิ สมั มะทักขาโต ภะคะวะตา. อิธะ ภกิ ขุ
วิวิจเจวะ กาเมหิ ววิ ิจจะ อะกุสะเลหิ ธมั เมหิ สะวติ ักกัง สะวิจารงั
วเิ วกะชัมปติสุขัง ปะฐะมัง ฌานงั อปุ ะสัมปช ชะ วิหะระติ วิตักกะ-
วจิ ารานัง วูปะสะมา อัชฌตั ตัง สัมปะสาทะนัง เจตะโส เอโกทิภาวงั
อะวิตกั กงั อะวจิ ารงั สะมาธชิ ัมปต สิ ขุ ัง ทตุ ิยงั ฌานงั อุปะสมั ปช ชะ
วิหะระติ ปต ิยา จะ วริ าคา อเุ ปกขะโก จะ วิหะระติ สะโต จะ
สัมปะชาโน สุขัญจะ กาเยนะ ปะฏิสงั เวเทติ ยันตัง อะริยา
อาจิกขันติ อุเปกขะโก สะติมา สขุ ะวหิ ารีติ ตะตยิ งั ฌานัง
อปุ ะสมั ปชชะ วหิ ะระติ. สุขสั สะ จะ ปะหานา ทุกขัสสะ จะ
ปะหานา ปพุ เพ วะ โสมะนัสสะโทมะนสั สานงั อัตถงั คะมา
อะทกุ ขะมะสขุ ัง อุเปกขาสะติปารสิ ุทธงิ จะตตุ ถงั ฌานงั อปุ ะสมั ปชชะ
วหิ ะระตีต.ิ เอวงั โข อุปะริะเมนะ ปะรยิ าเยนะ สะมาธิ สมั มะทักขาโต
ภะคะวะตา.
กะถญั จะ ปญญา สมั มะทักขาตา ภะคะวะตา. เหฏฐิเมนะป
ปะรยิ าเยนะ ปญ ญา สมั มะทกั ขาตา ภะคะวะตา. อปุ ะริเมนะป

มนตพ ิธี - หนาท่ี 153
ปะริยาเยนะ ปญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. กะถัญจะ
เหฏฐเิ มนะ ปะรยิ าเยนะ ปญ ญา สมั มะทกั ขาตา ภะคะวะตา. อิธะ
อะรยิ ะสาวะโก ปญ ญะวา โหติ อุทะยตั ถะคามนิ ยิ า ปญ ญายะ
สะมันนาคะโค อะรยิ ายะ นพิ เพธกิ ายะ สัมมา ทุกขกั ขะยะคามินยิ าติ.
เอวงั โข เหฏฐิเมนะ ปะรยิ าเยนะ ปญ ญา สัมมะทักขาตา
ภะคะวะตา. กะถัญจะ อปุ ะริเมนะ ปะรยิ าเยนะ ปญญา สมั มะทักขาตา
ภะคะวะตา. อธิ ะ ภกิ ขุ อทิ ัง ทกุ ขันติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ. อะยงั
ทุกขะสะมุทะโยติ ยะถาภูตัง ปะชานาต.ิ อะยงั ทุกขะนโิ รโธติ
ยะถาภูตงั ปะชานาต.ิ อะยงั ทกุ ขะนิโรธะคามินี ปะฏปิ ะทาติ
ยะถาภตู ัง ปะชานาต.ิ เอวงั โข อปุ ะริเมนะ ปะริยาเยนะ ปญ ญา
สมั มะทกั ขาตา ภะคะวะตา.

สลี ะปะรภิ าวิโต สะมาธิ มะหปั ผะโล โหติ มะหานิสงั โส
สะมาธปิ ะรภิ าวติ า ปญญา มะหปั ผะลา โหติ มะหานิสงั สา
ปญญาปะริภาวติ งั จติ ตัง สัมมะเทวะ อาสะเวหิ วิมจุ จะต.ิ เสยยะถที งั .
กามาสะวา ภะวาสะวา อะวชิ ชาสะวา. ภาสติ า โข ปะนะ ภะคะวะตา
ปะรนิ ิพพานะสะมะเย อะยัง ปจฉมิ ะวาจา หนั ทะทานิ ภกิ ขะเว
อามันตะยามิ โว วะยะธัมมา สงั ขารา อปั ปะมาเทนะ
สมั ปาเทถาติ. ภาสิตัญจทิ งั ภะคะวะตา เสยยะถาป ภกิ ขะเว
ยานิ กานิจิ ชังคะลานงั ปาณานงั ปะทะชาตานิ สัพพานิ ตานิ
หตั ถิปะเท สะโมธานงั คจั ฉันติ หตั ถิปะทัง เตสงั อัคคะมักขายะติ
ยะททิ ัง มะหนั ตัตเตนะ. เอวะเมวะ โข ภิกขะเว เย เกจิ กสุ ะลา

มนตพ ิธี - หนาท่ี 154
ธัมมา สัพเพ เต อปั ปะมาทะมลู ะกา อัปปะมาทะสะโมสะระณา
อปั ปะมาโท เตสัง อคั คะมคั ขายะตีติ. ตสั มาติหมั เหหิ สิกขิตัพพงั
ตพิ พาเปกขา ภะวิสสามะ อะธิสลี ะสิกขาสะมาทาเน อะธจิ ติ ตะสิก-
ขาสะมาทาเน อะธิปญญาสิกขาสะมาทาน อัปปะมาเทนะ สมั ปาเทส-
สามาติ. เอวัญหิ โน สกิ ขิตพั พงั

คาถาสวดวสิ าขะบชู า

วิสาขะปุณณะมายัง โย ชาโต อันตมิ ะชาตยิ า

ปตโต จะ อะภิสัมโพธงิ อะโถป ปะรนิ ิพพุโต

โลเก อะนตุ ตะโร สตั ถา ทะยาญาณัณณะวาสะโย

นายะโก โมกขะมัคคสั มิ ตวิ ธิ ัตถูปะเทสะโก

มะหาการณุ กิ งั พทุ ธัง มะยนั ตัง สะระณัง คะตา

อามิเสหิ จะ ปเู ชนตา ธมั เม จะ ปะฏปิ ต ตยิ า

อิมันทานิ สุนกั ขตั ตัง อะภิมังคะละสมั มะตงั

วิสาโขฬุกะยุตเตนะ ปณุ ณะจันเทนะ ลักขิตัง

สมั ปตตา อะนุกาเลนะ พุทธานุสสะระณาระหัง

ชาติ สมั โพธิ นพิ พานะ- กาละภูตัง สะยัมภโุ น

ตัง สมั มานุสสะระมานา สุจิรัง นิพพตุ ามะป

ปะสนั นาการัง กะโรนตา สักกาเร อะภิสัชชยิ ะ

ทณั ฑะทีเป ทีปะฆะเร มาลาวกิ ะตอิ าทะโย

ตัสเสวะ ปูชะนัตถายะ ยะถาสะติ ยะถาพะลัง

มนตพ ิธี - หนา ที่ 155

สะมาหะรติ วา เอกตั ตะ ฐะปะยิมหา ยะถาระหงั

นะรานะราหงั สัพเพสงั สัทธัมเม สัมปะสที ะตงั

ธัมมสั สะวะนงั กะริสสามะ สมั พุทธะคุณะทปี นงั

พุทธัสสุโพธติ าทีนงั ทปี ะนตั ถัง นะเหสโิ น...ติ

คาถาขอฝน

(สวดตามกำลงั วัน)

สุภูโต จะ มะหาเถโร มะหากาโย มะโหทะโร

นลี ะวัณโณ มะหาเตโช ปะวัสสนั ตุ วะลาหะกา

อะภติ ถะนะยัง ปะชนุ นะ นิธงิ กากสั สะ นาสะยะ

กากงั โสกายะ รนั เธหิ มัจเฉ โสกา ปะโมจะยะ ฯ

คาถาขอฝน

(อกี แบบหนง่ึ )

สภุ ูโต จะ มะหาเถโร มะหากาโย มะโหทะโร

นลี ะวณั โณ มะหาเตโช ปะวัสสันตุ วะลาหะกา

ฉนั นา เม กฏุ ิกา สขุ า นิวาตา

วสั สะ เทวะ ยะถาสุขงั

จิตตัง เม สสุ ะมาหติ ัง วมิ ตุ ตัง

อาตาป วหิ ะรามิ วสั สะ เทวาติ ฯ

มนตพธิ ี - หนา ที่ 156

คาถาสวดเมอ่ื จุดเทียนชัย

ในพระราชพิธีสมั พจั ฉรฉนิ ทแ ละพระราชพธิ ีอื่น ๆ

พทุ โธ สัพพญั ตุ ะญาโณ ธัมโม โลกุตตะโร วะโร

สังโฆ มัคคะผะลัฏโฐ จะ อิจเจตัง ระตะนัตตะยงั

เอตัสสะ อานุภาเวนะ สพั พะทุกขา อุปท ทะวา

อนั ตะรายา จะ นัสสันตุ สัพพะโสตถี ภะวันตุ เต

คาถาสวดเม่ือจดุ เทยี นชยั

พระราชพิธีพิรุณศาสตร

พุทโธ สัพพัญุตะญาโณ ธมั โม โลกุตตะโร วะโร

สงั โฆ มัคคะผะลฏั โฐ จะ อิจเจตัง ระตะนตั ตะยงั

เอตสั สะ อานุภาเวนะ เทโว วัสสะตุ กาละโต

วสั สนั ตะรายา มาเหสุง สพั พะโสตถี ภะวนั ตุ โน

คาถาสวดเมือ่ ดับเทียนชัย

ทุกพระราชพิธี

นตั ถิ เม สะระณัง อญั ญัง พุทโธ เม สะระณงั วะรงั

เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลงั

นตั ถิ เม สะระณัง อัญญงั ธมั โม เม สะระณัง วะรัง

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลงั

นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญงั สงั โฆ เม สะระณงั วะรัง

เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลัง

มนตพิธี - หนา ที่ 157
ยังกญิ จิ วติ ตัง อธิ ะ วา หรุ งั วา
สัคเคสุ วา ยงั ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมงั อตั ถิ ตะถาคะเตนะ
อิทัมป พทุ เธ ระตะนัง ปะณตี งั
เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ
ขะยงั วริ าคงั อะมะตงั ปะณตี งั
ยะทัชฌะคา สกั ยะมนุ ี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธมั เมนะ สะมตั ถิ กิญจิ
อิทัมป ธมั เม ระตะนัง ปะณตี ัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
ยมั พุทธเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจงิ
สะมาธมิ านนั ตะรกิ ญั ญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อิทมั ป ธมั เม ระตะนัง ปะณีตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ
เย ปคุ คะลา อฏั ฐะ สะตัง ปะสตั ถา
จตั ตาริ เอตานิ ยคุ านิ โหนติ
เต ทกั ขเิ ณยยา สคุ ะตัสสะ สาวะกา
เอเตสุ ทินนานิ มะหปั ผะลานิ
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง

มนตพิธี - หนา ที่ 158

เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ

เย สุปปะยตุ ตา มะนะสา ทัฬเหนะ

นิกกามโิ น โคตะมะสาสะนมั หิ

เต ปต ติปต ตา อะมะตงั วิคัยหะ

ลทั ธา มุธา นิพพตุ งิ ภุญชะมานา

อิทมั ป สังเฆ ระตะนงั ปะณีตัง

เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ัตถิ โหตุ

ขีณัง ปรุ าณงั นะวัง นตั ถิ สมั ภะวงั

วริ ตั ตะจิตตายะตเิ ก ภะวัสมิง

เต ขีณะพชี า อะวริ ฬุ หฉิ นั ทา

นพิ พนั ติ ชีรา ยะถายัมปะทีโป

อิทมั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณตี งั

เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ

สัพพะโรคะวนิ มิ ตุ โต สพั พะสันตาปะวชั ชโิ ต

สัพพะเวระมะติกกันโต ยะถาทโี ป จะ นิพพโต

คำนำถวายดอกไมธ ปู เทียน
วนั วิสาขบูชา

ยะมมั หะ โข มะยงั ภะคะวนั ตัง สะระณัง คะตา, โย โน
ภะคะวา สตั ถา, ยัสสะ จะ มะยงั ภะคะวะโต ธมั มงั โรเจมะ, อะโหสิ

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 159

โข โส ภะคะวา มัชฌิเมสุ ชะนะปะเทสุ อะรยิ ะเกสุ มะนสุ เสสุ

อปุ ปนโน, ขัตติโย ชาตยิ า โคตะโม โคตเตนะ, สกั ยะปุตโต สกั ยะกุลา

ปพพะชโิ ต สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะ-

พราหมะณยิ า ปะชายะ สะเทวะมะนสุ สายะ อะนตุ ตะรัง สมั มาสมั โพธิ

อะภิสัมพทุ โธ, นสิ สังสะยงั โข โส ภะคะวา อะระหัง สมั มาสมั พุทโธ

วิชชาจะระณะสมั ปนโน สุคะโต โลกะวทิ ู อะนตุ ตะโร ปรุ สิ ะทมั มะ-

สาระถิ สัตถาเทวะมะนสุ สานงั พุทโธ ภะคะวา, สวากขาโต โข ปะนะ

เตนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สนั ทิฏฐโิ ก อะกาลโิ ก เอหิปส สิโก โอปะนะ-

ยโิ ก, ปจจตั ตัง เวทติ ัพโพ วญิ หู ,ิ สปุ ะฏิปนโน โข ปะนัสสะ

ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, อุชุปะฏปิ น โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,

ญายะปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สามีจปิ ะฏปิ น โน

ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, ยะททิ งั จตั ตาริ ปรุ สิ ะยคุ านิ อฏั ฐะ ปุรสิ ะ-

ปคุ คะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหเุ นยโย

ทักขิเณยโย อญั ชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปญุ ญกั เขตตงั โลกสั สะ,

อะยัง โข ปะนะ ถโู ป

ปะฏิมา ตัง

ภะคะวันตงั อทุ ทิสสะ กะโต
วนั ตงั อุททิสสะ กะโต ยาวะเทวะ ทัสสะเนนะ ตงั ภะคะ

อะนุสสะรติ วา ปะสาทะ สังเวคะปะฏลิ าภายะ, มะยงั โข เอตะระหิ อิมงั

มนตพิธี - หนา ท่ี 160
วิสาขะปุณณะมกี ำลงั ตสั สะ ภะคะวะโต ชาตสิ ัมโพธนิ ิพพานะกาละ
สมั มะตัง (ถา วนั อฏั ฐมี เปลี่ยนขอ ความทข่ี ดี เสน ใตเ ปน เอตะระหิ อมิ ัง
วสิ าขะปณุ ณะมโิ ตปะรัง อัฏฐะมีกำลงั ตสั สะ ภะคะวะโต สะรีรชั ฌา-
ปะนะกาละ สัมมะตัง) ปตวา อมิ ัง ฐานัง สัมปต ตา, อเิ ม ทณั ฑะท-ี
ปะธูปาทิ สกั กาเร คะเหตวา อตั ตะโน กายัง สกั การปุ ะธานัง
กะรติ วา ตสั สะ ภะคะวะโต ยะถาภจุ เจ คุเณ อะนุสสะรนั ตา,
อมิ ัง ถปู ง

ปะฏมิ ัง ตกิ ขัตตุง ปะทักขณิ ัง กะริสสามะ
อิมัง ยะถา คะหเิ ตหิ สกั กาเรหิ ปชู ัง กุรุมานา, สาธุ โน ภนั เต
ภะคะวา สจุ ริ ะปะรินพิ พุโตป ญาตัพเพหิ คุเณหิ อะตีตารัมมะณะตายะ
ปญญายะ มาโน, อิเม อัมเหหิ คะหิเต สักกเร ปะฏคิ คณั หาตุ อมั หากัง
ทฆี ะรตั ตงั หติ ายะ สขุ ายะ.

(คำแปล)
เราทง้ั หลายถึงซ่ึงพระผูมีพระภาคพระองคใดวา เปน ทพี่ ่ึง, พระผมู ี
พระภาคพระองคใดเปนศาสดาของเราทง้ั หลาย แลเราทั้งหลายชอบซงึ่ ธรรม
ของพระผมู พี ระภาคพระองคใด, พระผมู พี ระภาคพระองคนนั้ แล ไดอบุ ตั ิ
แลว ในหมมู นษุ ย ชาวอริยกะในมชั ฌิมชนบท, พระองคเปน กษตั รยิ โดย
พระชาติ เปนโคดมโดยพระโคตร, เปนศากยบุตรเสดจ็ ออกบรรพชาแลว แต

มนตพ ิธี - หนาท่ี 161
ศากยสกุล เปน ผูต รสั รพู รอ มเฉพาะแลวซึง่ พระอนุตตรสมั มาสัมโพธญิ าณ
ในโลกท้งั เทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมูส ัตวทั้งสมณพราหมณเทวดาแล
มนุษย พระผูม ีพระภาคเจานน้ั เปน พระอรหนั ต เปน ผตู รัสรูช อบเอง เปนผู
ถึงพรอมดวยวชิ ชาและจรณะ เปน ผเู สด็จไปดีแลว เปน ผรู แู จง โลก เปนสารถี
แหงบุรุษควรฝก ได ไมมีผูอ่ืนย่งิ ไปกวา เปนศาสดาของเทวดาและมนุษยทั้ง
หลาย เปน ผูต ืน่ แลว เปนผเู บกิ บานแลว เปน ผูมโี ชค โดยไมต อ งสงสัยแล
อนง่ึ พระธรรมอันพระผูมพี ระภาคเจา นัน้ ตรัสดีแลว อันผูบรรลจุ ะพงึ เห็นเอง
ไมป ระกอบดว ยกาล ควรเรียกใหม าดู ควรนอ มเขา มา อนั วิญูชนพงึ รูเ ฉพาะ
ตน และพระสงฆสาวกของพระผูมพี ระภาคเจานั้น เปน ผูป ฏิบตั ดิ ีแลวแล เปน
ผูปฏบิ ตั ิตรงแลว เปน ผูปฏิบัตเิ ปนธรรม, เปน ผปู ฏิบัติสมควร, นี้คอื คแู หง
บรุ ุษสี่ บุรุษบุคคลแปด, น่พี ระสงฆสาวกของพระผูมพี ระภาค, เปนผคู วร
ของคำนบั เปน ผูควรของตอนรบั เปนผคู วรของทำบุญ เปนผูควรทำอญั ชลี
(ประนมมอื ไหว) เปนนาบุญของโลก ไมม นี าบญุ อนื่ ย่ิงกวา พระสถูป

พระ
ปฏมิ า น้แี ล

นกั ปราชญ ไดอทุ ศิ เฉพาะตอ พระผมู ีพระภาคเจาน้นั สรา งไวแ ลว เพียงเพอ่ื
ระลกึ ถึงพระผมู พี ระภาคเจา น้ันดวยทรรศนะแลว ไดค วามเลอ่ื มใสแลสงั เวช
บัดนี้เราทัง้ หลายมาถงึ กาลวสิ าขปุรณมี เปน ทร่ี ูก นั วา กาลเปน ทป่ี ระสตู ิ
ตรัสรู แลเสดจ็ ปรินพิ พานแหงพระผมู ีพระภาคเจา น้นั (ถาวนั อัฏฐมี เปลี่ยน
ขอความทข่ี ีดเสนใต เปน กาลท่ีครบ ๘ เบ้ืองหนา แตว นั วสิ าขปุรณมี เปนทรี่ ู

มนตพธิ ี - หนา ที่ 162
กนั วา กาลเปน ที่ถวายพระเพลิงพระสรรี ะ แหง พระผูมพี ระภาคเจานนั้ ) จึง
มาประชุมกันแลว ณ ทนี่ ้ี ถอื สกั การะมีประทปี ดา มแลธูปเปน ตนเหลา นี้ ทำ
กายของตนใหเปน ดงั ภาชนะรับเครอ่ื งสักการะ ระลกึ ถงึ พระคณุ ตามเปนจรงิ
ท้ังหลายของพระผูม พี ระภาคเจานนั้ บชู าดวยสักการะอันถอื ไวแ ลว อยา งไร

จกั ทำประทักษิณสน้ิ วาระสามรอบ ซง่ึ พระสถูป
พระปฏมิ ากร น้ี ขา แต

พระองคผ เู จริญ

ขอเชิญพระผูมพี ระภาคเจา แมเ สดจ็ ปรินิพพานนานมาแลว ยังปรากฏอยดู วย
พระคุณสมบัติอันขาพระพทุ ธเจา ท้งั หลาย จะพึงรโู ดยความเปน อตตี ารมณ
จงทรงรบั ซึง่ เคร่ืองสกั การะอันขาพระพทุ ธเจาท้ังหลายถือไวแลวน้ี เพื่อประ-
โยชน เพือ่ ความสขุ แกข าพระพทุ ธเจาทง้ั หลายสน้ิ กาลนาน เทอญ.

คำนำถวายดอกไมธ ูปเทยี น
วันมาฆบชู า

อัชชายัง มาฆะปณุ ณะมี สมั ปต ตา มาฆะนักขัตเตนะ ปณุ ณะ
จันโท ยุตโต ยัตถะ ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสมั พทุ โธ จาตุรังคิเก
สาวะกะสันนปิ าเต โอวาทะปาติโมกขัง อทุ ทสิ ิ ตะทา หิ อฑั ฒะเตระสานิ
สัพเพสงั เยวะ ขณี าสะวานัง สพั เพ เต เอหิภกิ ขกุ า สัพเพป เต อะนา-
มนั ติตาวะ ภะคะวะโต สันติกัง อาคะเต เวฬวุ ะเน กะลนั ทะกะนิวาเป
มาฆะปณุ ณะมิยงั วัฑฒะมานะภจั ฉายายะ ตัสมญิ จะสันนปิ าเต ภะคะวา

มนตพธิ ี - หนาที่ 163
วสิ ทุ ธโุ ปสะถงั อะกาสิ อะยงั อมั หากัง ภะคะวะโต เอโกเยวะ สาวะกะ-
สันนปิ าโต อะโหสิ จาตรุ งั คิโก อัฑฒะเตระสานิ ภกิ ขสุ ะตานิ สพั เพ-
สังเยวะ ขีณาสะวานัง มะยนั ทานิ อิมัง มาฆะปุณณะมี นักขัตตะสะมะยงั
ตักกาละสะทิสัง สัมปต ตา จิระปะรินพิ พุตัมป ตงั ภะคะวันตงั อะนสุ -
สะระมานา อมิ ัสมงิ ตสั สะ ภะคะวะโต สกั ขิภูเต เจติเย อิเมหิ
ทปี ะธูปะปปุ ผาทิสักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตงั ตานิ จะ อัฑฒะเตระสานิ
ภกิ ขสุ ะตานิ อะภปิ ูชะยามะ สาธุ โน ภนั เต ภะคะวา สะสาวะกะสังโฆ
สจุ ิระปะรนิ ิพพุโต คเุ ณหิ ธะระมาโน อเิ ท สกั กาเร ทคุ คะตะปณ ณา-
การะภูเต ปะฏคิ คณั หาตุ อมั หากงั ทีฆะรตั ตงั หิตายะ สุขายะ

(คำแปล)
วันนีม้ าประจวบวันมาฆปรุ ณมี เพญ็ เดือน ๓ พระจันทรเพ็ญประกอบ
ดวยฤทธิม์ าฆะ ตรงกับวันที่พระตถาคตอรหนั ตสัมมาสัมพทุ ธเจา ไดท รงแสดง
โอวาทปาตโิ มกขข น้ึ ในทปี่ ระชมุ สาวกสงฆพรอ มดวยองค ๔ ประการ ครง้ั นั้น
พระภิกษุ ๑๒๕๐ องค ลว นแตพ ระขณี าสพ อุปสมบทดว ยเอหภิ กิ ขอุ ุปสมั ปทา
ไมมีผใู ดเรียก มาประชุมยังสำนกั พระผูมพี ระภาค ณ เวฬวุ นาราม เวลาตะวัน
บา ยในวนั มาฆปุรณม,ี แลสมเด็จพระผูม ีพระภาคเจา ไดท รงทำวสิ ทุ ธอุโบสถ
ทรงแสดงโอวาทปาตโิ มกขข นึ้ ณ ที่ประชมุ น้นั การประชมุ สาวกสงฆพรอม
ดว ยองค ๔ ของพระผูมีพระภาคเจาแหง เราทง้ั หลายน้ี ไดมีครั้งเดียวเทา น้ัน
พระภิกษุ ๑๒๕๐ องคลวนแตพ ระขีณาสพ บัดนเี้ ราทงั้ หลายมาประจวบ
มาฆปณุ มีนกั ขัตสมยั น้ี ซึง่ คลายกบั วนั จาตุรงคสนั นบิ าตน้ันแลว มาระลกึ ถงึ

มนตพิธี - หนา ท่ี 164
พระผมู ีพระภาคนัน้ แมป รนิ ิพพานนานมาแลว จะเคารพบชู าพระผมู พี ระภาค
แลภิกษุ ๑๒๕๐ องคน ้ัน ดวยสักการะทงั้ หลายมีเทียนธปู แลดอกไมเปนตน
เหลาน้ีในเจดยี ส ถานน้ี ซ่งึ เปน พยานของพระผมู ีพระภาคเจาน้ัน ขา แตพ ระ-
องคผ เู จริญ ขอเชญิ พระผมู ีพระภาคพรอ มดวยสาวกสงฆ แมป รนิ ิพพานนาน
มาแลว ดว ยดี ยงั เหลอื อยูแตพ ระคุณท้งั หลาย จงทรงรบั สักการบรรณการ
คนยากเหลานี้ของขา พระพทุ ธเจา ทัง้ หลาย เพือ่ ประโยชน เพื่อความสุข แก
ขาพระพุทธเจาทั้งหลายสนิ้ กาลนาน เทอญ.

คำนำถวายดอกไมธ ูปเทียน
วันอาสาฬหบชู า

ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวนั ตัง สะระณงั คะตา โย โน
ภะคะวา สัตถา ยสั สะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธัมมัง โรเจมะ อะโหสิ โข
โส ภะคะวา อะระหงั สมั มาสมั พทุ โธ สัตเตสุ การญุ ญงั ปะฏจิ จะ
กะรุณายะโก หิเตสี อะนกุ ัมปง อปุ าทายะ อาสาฬหะปุณณะมิยงั พารา-
ณะสิยัง อสิ ิปะตะเน มิคะทาเย ปญจะวัคคยิ านงั ภิกขนู งั อะนุตตะรงั
ธมั มะจักกัง ปะฐะมัง ปะวัตเตตวา จัตตาริ อะรยิ ะสัจจานิ ปะกาเสสิ ฯ

ตัสมิญจะ โข สะมะเย ปญจะวัคคยานงั ภิกขูนงั ปะมโุ ข
อายัสมา อญั ญาโกณฑัญโญ ภะคะวะโต ธัมมงั สตุ วา วิระชัง วีตะมะลัง
ธัมมะจักขุง ปะฏิละภติ วา ยงั กญิ จิ สะมุทะยะธมั มัง สพั พนั ตัง
นโิ รธะธัมมันติ ภะคะวนั ตัง อุปะสมั ปะทงั ยาจติ วา ภะคะวะโต เยวะ
สันติกา เอหิภกิ ขุ อปุ ะสมั ปะทัง ปะฏิละภิตวา ภะคะวะโต ธมั มะวินะเย

มนตพิธี - หนาที่ 165
อะริยะสาวะกะสังโฆ โลเก ปะฐะมัง อุปปนโน อะโหสิ พทุ ธะระตะนัง
ธัมมะระตะนงั สังฆะระตะนันติ ตริ ะตะนงั สัมปุณณงั อะโหสิ ฯ

มะยัง โข เอตะระหิ อมิ งั อาสาฬหะปุณณะมีกาลงั ตสั สะ
ภะคะวะโต ธมั มะจักกปั ปะวตั ตะนะกาละสัมมะตงั อะรยิ ะสาวะกะสงั -
ฆะอุปปตติกาละสมั มะตญั จะ ระตะนตั ตะยะสมั ปุณณะกาละสมั มะตญั -
จะ ปตวา อมิ ัง ฐานงั สัมปต ตา อเิ ม สกั กาเร คะเหตวา อตั ตะโน
กายัง สกั การุปะธานงั กะรติ วา ตสั สะ ภะคะวะโต ยะถาภจุ เจ
คเุ ณ อะนุสสะรันตา อิมงั ถปู ง (อิมัง พุทธะปะฏิมัง) ติกขตั ตุง
ปะทักขณิ ัง กะริสสสามะ ยะถาคะหเิ ตหิ สักกาเรหิ ปชู งั กรุ มุ านา ฯ

สาธุ โน ภนั เต ภะคะวา สุจริ ะปะรินิพพุโตป ญาตัพเพหิ
คเุ ณหิ อะตีตารมั มะณะตายะ ปญ ญายะมาโน อิเม อมั เหหิ คะหเิ ต
สกั กาเร ปะฏคิ คณั หาตุ อมั หากัง ทีฆะรัตตัง หติ ายะ สขุ ายะ ฯ

(คำแปล)
เราทัง้ หลายถงึ ซง่ึ พระผมู ีพระภาคพระองคใ ดแลว วาเปน ทพ่ี ึง่ พระผู
มพี ระภาคพระองคใ ด เปน พระศาสดาของเราทั้งหลาย อน่งึ เราทั้งหลายชอบ
ใจซง่ึ พระธรรมของพระผูมพี ระภาคพระองคใด พระผูมพี ระภาคเจาพระองคน ั้น
เปน พระอรหันตต รสั รูชอบเอง ทรงอาศยั ความการุณในสัตวทัง้ หลาย ทรง
พระกรุณาแสวงหาประโยชนเ กื้อกูล ทรงอาศยั ความเอ็นดู ไดย ังพระธรรมจกั ร
อันยอดเยีย่ มใหเปนไป ทรงประกาศอรยิ สัจ ๔ เปนคร้ังแรกแกพระภกิ ษุ
ปญจวัคคีย ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน ใกลก รงุ พาราณสีในวันอาสาฬหปณุ ณมี

มนตพ ิธี - หนา ที่ 166
อน่งึ ในสมัยน้นั แล ทา นพระอญั ญาโกณฑญั ญะผเู ปนหวั หนา ของ
พระภกิ ษุปญ จวัคคียฟ งธรรมของพระผูมีพระภาคเจา แลว ไดธ รรมจกั ษุอนั
บริสุทธป์ิ ราศจากมลทิน วา "สิง่ ใดส่ิงหนึ่งมีความเกดิ ขึ้นเปน ธรรมดา สงิ่
ทั้งปวงนนั้ มคี วามดับเปนธรรมดา" จงึ ทลู ขออปุ สมบทกะพระผมู พี ระภาค
เจาเปนองคแรกในโลก
อนงึ่ ในสมัยแมน ้นั แล พระสงั ฆรัตนะไดบังเกิดขึน้ เปนครงั้ แรก
พระรตั นตรยั คือ พระพทุ ธรัตนะ พระธรรมรัตนะ พระสังฆรัตนะ ไดส มบรู ณ
แลว ในโลก
บดั นี้ เราทัง้ หลายแล มาประจวบมงคลสมัยอาสาฬหปณุ ณมี วัน
เพญ็ อาสาฬหมาสทรี่ พู รอมกนั วา เปน วนั ทีพ่ ระผมู ีพระภาคเจาพระองคนน้ั
ทรงประกาศพระธรรมจกั รเปน วนั ท่เี กดิ ข้นึ แหง พระอรยิ สงฆสาวก และเปน
วันทพ่ี ระรัตนตรัยสมบูรณ คอื ครบ ๓ รัตนะ จึงมาประชมุ กนั แลว ณ ที่น้ี
ถือสักการะเหลา น้ี ทำกายของตนใหเปน ดงั ภาชนะรับเคร่อื งสกั การะ ระลึก
ถงึ พระคณุ ตามเปน จรงิ ทั้งหลายของพระผมู พี ระภาคเจานั้น จกั ทำประทักษณิ
สนิ้ วาระสามรอบซง่ึ พระสถปู (พระพุทธปฏิมา) นี้ บูชาอยดู ว ยสกั การะอัน
ถือไวแ ลว อยา งไร
ขา แตพ ระองคผ เู จรญิ ขอเชิญพระผมู พี ระภาคเจาแมเ สด็จปรินิพพาน
นานมาแลว ยังปรากฏอยดู วยพระคณุ สมบตั ิอันขาพระพทุ ธเจา ทงั้ หลายจะพึงรู
โดยความเปน อตตี ารมณ จงทรงรบั เคร่ืองสกั การะ อันขา พระพทุ ธเจา ท้ัง
หลายถอื ไวแลว น้ี เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสขุ แกขาพระพุทธเจาทง้ั หลาย
สิน้ กาลนาน เทอญ.

มนตพ ธิ ี - หนา ที่ 167

คาถาบูชาพระพทุ ธสิหิงค

มะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พุทธัสสะ (๓ จบ)

(นำ) หันทะ มะยงั พุทธะปะสงั สา คาถาโย พุทธะสงิ หิงโค นามะ

ภะณามะ เส.

(รบั ) อติ ิ ปะวะระสหิ ิงโค อตุ ตะมะยะโสป เตโช

ยัตถะ กตั ถะ จิตโตโส สกั กาโร อุปาโท

สะกาละพทุ ธะสาสะนงั โชตะยันโตวะ ทีโป

สรุ ะนะเรหิ มะหโิ ต ธะระมาโนวะ พุทโธต.ิ

คำแปล

พุทธสหิ งิ คา อุบตั มิ า ณ แดนใด

ประเสริฐ ธ เกริกไกร ดุจกายพระศาสดา

เปนท่เี คารพนอม มนษุ ยพรอ มทัง้ เทวา

เปรยี บเชน ชวาลา ศาสนาที่ยืนยง

เหมือนหนง่ึ พระสัมพุทธ สวุ สิ ุทธิพ์ ระชนมคง

แดนใดพระดำรง พระศาสนคงก็จำรูญ

ดว ยเดชสิทธิศกั ดิ์ ธ พทิ ักษอ นกุ ูล

พระศาสนบมีสูญ พระเพม่ิ พูลมหิทธา

ขา ฯ ขอเคารพนอ ม วจีคอมขน้ึ บชู า

พทิ ักษ ธ รกั ษา พระศาสนมาตลอดกาล

ปวงขา ฯ จะประกาศ พทุ ธศาสนใหไ พศาล

ขอพระอภบิ าล ชนิ มารนริ นั ดร เทอญ.

สวดทกุ คำ่ เชา กอ นนอน กอนออกจากบาน จกั เกิดลาภผลอนั สุจรติ เปน ศิริมงคล
คุมครองปองกนั แคลวคลาดจากภยนั ตราย.

มนตพ ิธี - หนาที่ 168

พระคาถาชินบญั ชรสูตร

ของสมเดจ็ พระพุฒาจารย (โต พรหมรังสี) วดั ระฆงั โฆสิตาราม

๑. ชินะสะรากะตา พทุ ธา เชตวา มารัง สะวาหะนงั

จะตสุ จั จาสะภงั ระสัง เย ปว งิ สุ นะราสะภา

๒. ตณั หังกะราทะโญ พทุ ธา อฏั ฐะวสี ะติ นายะกา

สพั เพ ปะติฏฐิโต มัยหัง มตั ถะเก เต มะนุสสะรา

๓. สีเส ปะตฏิ ฐโิ ต มยั หงั พุทโธ ธัมโม ทะวโิ ลจะเน

สงั โฆ ปะตฏิ ฐิโต มัยหงั อเุ ร สพั พะคณุ ากะโร

๔. หะทะเย อะนุรุทโธ จะ สาริปตุ โต จะ ทักขเิ ณ

โกณฑญั โญ ปฏ ฐิภาคสั มงิ โมคคัลลาโน จะ วามะเก

๕. ทักขิเณ สะวะเน มัยหงั อาสงุ อานนั ทะราหลุ า

กัสสะโป จะ มะหานาโม อาภาสุง วามะโสตถะเก

๖. เกสนั เต ปฏ ฐิภาคสั มิง สุรโิ ยวะ ปะภงั กะโร

นสิ ินโน สิรสิ มั ปนโน โสภีโต มนุ ีปุงคะโล

๗. กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก

โส มยั หงั วะทะเน นิจจัง ปะตฏิ ฐาสิ คุณากะโร

๘. ปุณโณ องั คุลิมาโล จะ อุปาลีนันทะสีวะลี

เถรา ปญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ตลิ ะกา มะมะ

๙. เสสาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชโิ นระสา

ชะวันตา สลี ะเตเชนะ องั คะมังเคสุ สัณฐิตา

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 169

๑๐. ระตะนัง ปุเรโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสตุ ตะกัง

ธะชคั คงั ปจ ฉะโต อาสิ วาเม อังคุลมิ าละกัง

๑๑. ขนั ธะโมระปะริตตญั จะ อาฏานาฏยิ ะสตุ ตะกัง

อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะลงั กะตัง

๑๒. ชินา นานาวะระสงั ยุตตา สัตตะปาการะลังกะตา

วาตาปต ตะทสิ ัญชาตา พาหริ ชั ฌัตตุปท ทะวา

๑๓. อะเสสา วญิ ญงั ยันตุ อะนันตะชนิ ะเตชะสา

วะสะโต เม สะกจิ เจนะ สะทา สัมพุทธะปญ ชะเร

๑๔. ชนิ ะปญขะระมชั เฌหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล

สะทา ปาเลนตุ มัง สพั เพ เต มะหาปรุ ิสาสะภา

๑๕. อจิ เจวะมนั โต สุคุตโต สุรกั โข

ชินานุภาเวนะ ชติ ปุ ท ทะโว

ธัมมานุภาเวนะ ชติ ารสิ งั โฆ

สังฆานภุ าเวนะ ชิตนั ตะรีโย

สทั ธัมมานภุ าวะ ปาลีโต จะรามิ ชินะปญ ชะเรตีติ.

พระคาถาชนิ บญั ชรของเจา ประคณุ สมเดจ็ ฯ ถาใครท องจำไดขึ้นใจ

ภาวนาทกุ คนื วนั มีคณุ านุภาพมากมาย มคี วามศักดส์ิ ทิ ธ์ิและทรงอานุภาพทุกบท

จะทำใหเกดิ โชคลาภ เปนสิริมงคลแกต ัวเอง ใชเสกทำน้ำมนตร ดแกสรรพ-

ทกุ ขโศกโรคภัย ไมว า จะถกู กระทำคณุ ไสย คุณผคี ุณคนท้งั ปวง ใชป ลุกเสก

พระเครอื่ งรางของขลงั จะเพม่ิ อิทธิฤทธป์ิ าฏหิ ารยิ ม ากย่ิงข้นึ แตถ าทอ งจำไมไ ด

หมด จะเลือกจำแตล ะบทกไ็ ด สดุ แตเจตนาจะใช ดงั นี้

มนตพิธี - หนา ท่ี 170

๑. อาราธนาพระสมเดจ็ ไปกับตัว ใชบ ทท่ี ๓ ภาวนา

๒. สำหรับนกั พูด นักแสดง กอนพดู กอ นแสดง " ๗ "

๓. สำหรบั เสกนำ้ ลา งหนา เสกแปง เจิม "๘"

๔. ถาตอ งการแคลว คลาดปลอดอันตราย " ๙"

๕. สำหรบั ปอ งกันโรคภัยไขเจบ็ " ๑๓ "

๖. อาราธนาขอใหคณุ พระคุม ครอง " ๑๔ "

(พระคาถาชนิ บญั ชรนเ้ี ปน คาถาที่ถกู ตอ งตรงตามท่ีสมเดจ็ บอกโดยวธิ ี

การเขา ทรง และถกู ตอ งตรงตามเจตนาของเจา ประคุณสมเดจ็ ฯ ซึ่งเปนผูแตง ,

โดยอาศัยเคา คาถาทีม่ ีมาแลวแตเดิม ไดรบั อนุญาตดวยความเออ้ื เฟอ จาก

อาจารยพ ร รตั นสุวรรณ แหงสำนกั วญิ ญาณ บางลำพ)ู

คาถาอาวุธ

สักกสั สะ วะชิราวธุ งั

ยะมสั สะ นยั มาวธัง

อาฬะวะกัสสะ ทสุ าวุธงั

เวสสวุ ณั ณสั สะ คะธาวธุ งั

จัตตาโร วา อาวธุ านงั

เอเตสงั อานภุ าเวนะ

สัพเพ ยักขา ปะลายนั ติ.

คาถานี้ ใชเสกมอื หรอื เสกศสั ตราอาวุธกไ็ ด เมอ่ื เวลาจะประจญั บานกบั ศัตรู
ใชเสกตน ขา ตน ไพลขบั ไล ตีผี ใหห นีกระเจิง ดีนกั แล.

มนตพิธี - หนาท่ี 171
คำพินทุผา
อิมงั พินทุกปั ปง กะโรมิ
คำอธิษฐาน
บาตร, อมิ ัง ปตตงั อะธฏิ ฐามิ
สงั ฆาฏิ, อิมงั สงั ฆาฏงิ อะธฏิ ฐามิ
จวี ร, อมิ งั อตุ ตะราสังคงั อะธิฏฐามิ
สบง, อมิ ัง อันตะระวาสะกงั อะธิฏฐามิ
ผา อาบนำ้ ฝน อิมัง วสั สิกะสาฏิกัง อะธิฏฐามิ
คำเสยี สละ
จวี รเปน นิสัคคียะ เพราะอยูปราศจากเขตลว งราตรี
อทิ งั เม ภนั เต จวี ะรงั รัตติวปิ ปะวุตถัง
อัญญตั ระ ภิกขสุ ัมมะติยา นสิ สัคคยิ งั
อมิ าหัง อายสั มะโต นสิ สชั ชามิ
(ถา ๒ ผืนวา ทวิจวี ะรัง ถาท้ัง ๓ ผืนวา ตจิ วี ะรัง)

คำคืน
อมิ งั จวี ะรัง อายัสมะโต ทมั มิ

คำวิกปั ป
อมิ งั จวี ะรัง ตุยหงั วกิ ปั เปมิ
หลายผืนวา อิมานิ จวี ะรานิ ตยุ หัง วิกัปเปมิ

มนตพิธี - หนา ท่ี 172
คำถอน
อิมงั จีวะมัง มัยหัง สนั ตะกัง ปะรภิ ุญชะ วา
วสิ ชั เชหิ วา ยะถาปจ จะยงั วา กะโรหิ
(ถาผถู อนออ นกวา วา )
อิมัง จวี ะรงั มยั หัง สันตะกงั ปะรภิ ญุ ชะถะ วา
วิสชั เชถะ วา ยะถาปจจะยงั วา กะโรถะ
คำอธษิ ฐานเขา พรรษา
อมิ สั มงิ อาวาเส อิมงั เตมาสัง วัสสงั อเุ ปมิ (วา ๓ จบ)
คำปวารณาออกพรรษา
สงั ฆมั ภนั เต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา
ปะรสิ งั กายะ วา วะทันตุ มัง อายัสมันโต อะนกุ ัมปง อปุ าทายะ
ปสสนั โต ปะฏิกกะริสสามิ ฯ
ทุตยิ มั ป ภนั เต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สเุ ตนะ
วา ปะริสงั กายะ วา วะทนั ตุ มงั อายสั มนั โต อะนกุ ัมปง อุปทายะ
ปสสนั โต ปะฏิกกะรสิ สามิ ฯ
ตะติยมั ป ภันเต สังฆัง ปะวาเรมิ ทฏิ เฐนะ วา สุเตนะ
วา ปะรสิ งั กายะ วา วะทันตุ มัง อายสั มนั โต อะนุกัมปง อปุ าทายะ
ปส สันโต ปะฏกิ กะริสสามิ ฯ

มนตพธิ ี - หนา ท่ี 173
คำขอขมาโทษ
(แบบทว่ั ไปทีแ่ กไ ขใชอยใู นปจจุบนั )
(ผขู อ) เถเร ปะมาเทนะ ทวารตั ตะเยนะ กะตงั สัพพัง อะปะราธงั
ขะมะถะ เม ภนั เต (ถาขอหลายรปู เปล่ียน ขะมะถะ เม เปน
ขะมะตุ โน)
(ผรู ับ) อะหัง ขะมามิ ตะยาป เม ขะมิตัพพงั (ถาผูข อมีหลายรูป
เปลี่ยน ตะยาป เปน ตมุ เหหปิ )
(ผูขอ) ขะมามิ ภนั เต (ถาขอหลายรูปเปลีย่ น มิ เปน มะ)
(แบบพเิ ศษนิยมใชถ วายพระมหาเถระ)
(ผูขอ) อัจจะโย มงั ภนั เต อจั จคั คะมา ยะถาพาลัง ยะถามฬู หัง
ยะถาอะกุสะลงั โยหงั ภนั เต กะทาจิ กะระหะจิ ปะมาทัง
วา อาคัมมะ อะโยนโิ สมะนะสิการัง วา อาคมั มะ มะหาเถเร
อะคาระวงั อะกาสิง กาเยนะ วา วาจายะ วา มะนะสา วา
สัมมขุ าป ปะรมั มุขาป ตัสสะ เม ภันเต มะหาเถโร อจั จะยัง
อัจจะยะโต ปะฏคิ คณั หาตุ อายะติง สังวะรายะ
(ผูรับ) ตัคฆะ ตัง อาวโุ ส อัจจะโย อัจจัคคะมา ยะถาพาลงั
ยะถามูฬหงั ยะถาอะกสุ ะลงั โย ตะวงั กะทาจิ กะระหะจิ
ปะมาทงั วา อาคมั มะ อะโยนิโสมะนะสกิ ารงั วา อาคมั มะ
มะยิ อะคาระวงั อะกาสิ กาเยนะ วา วาจายะ วา มะนะสา
วา สมั มขุ าป ปะรมั มุขาป ยะโต จะ โข ตะวัง
อัจจะยงั อัจจะยะโต ทสิ วา ยะถาธัมมงั ปะฏิกกะโรสิ
อายะตงิ สังวะรัง อาปช ชะสิ ตงั เต ปะฏิคคณั หามิ

มนตพ ิธี - หนา ท่ี 174
วฑุ ติ เหสา อาวโุ ส อะริยสั สะ วินะเย โย อจั จะยัง
อัจจะยะโต ทสิ วา ยะถาธัมมงั ปะฏิกกะโรติ อายะตงิ
สังวะรัง อาปช ชะติ
(คำอวยพรของผูรบั ) ยงั ยัง ปญุ ญัง มะยา กะตงั อปุ ะจติ ัง
กาเยนะ วา วาจายะ วา มะนะสา วา ตัง ตัง อายสั มะโต
อาทิสสามิ สาธายสั มา อัสมงิ อสั มิง ปญุ เญ ปตตโิ ต
หตุ วา อะนโุ มทะตุ เตนะ อะนุโมทะนามะเยนะป ปญุ เญนะ
สุขโิ ต โหตุ อะโรโค นิรุปท ทะโว จิรัง ทีฆะมัทธานัง
อมิ ัสมิง ตะถาคะตปั ปะเวทเิ ต ธมั มะวินะเย วุฑฒิง วริ ุฬหงิ
เวปุลลงั อาปชชะตุ
(ผูข อ) สาธุ ภนั เต

คำอนโุ มทนากฐนิ
อตั ถะตงั ภนั เต สังฆัสสะ กะฐนิ งั
ธัมมโิ ก กะฐนิ ตั ถาโร อะนุโมทามะ (วา ๓ จบ)

คำลาสิกขา
สกิ ขัง ปจ จักขามิ คิหีติ มัง ธาเรถะ
ขา พเจา ลาสกิ ขา ทา นท้งั หลายจงจำขาพเจา ไววา เปนคฤหัสถ

คำแสดงตนเปน อบุ าสก
เอสาหงั ภนั เต สุจิระปะรนิ ิพพุตมั ป ตงั ภะคะวนั ตงั สะระณัง
คัจฉามิ ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ อุปาสะกัตตัง สังโฆ ธาเรต.ุ

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 175

วิธีแสดงอาบัติ

(พรรษาออนวา) สพั พา ตา อาปตตโิ ย อาโรเจมิ (วา ๓ หน)

สพั พา คะรุละหุกา อาปตติโย อาโรเจมิ (วา ๓ หน)

อะหงั ภนั เต สัมพะหุลา นานาวตั ถกุ าโญ อาปต ติโย

อาปช ชงิ ตา ตุมหะ มูเล ปะฏิเทเสมิ

(พรรษาแกรบั วา) ปส สะสิ อาวโุ ส ตา อาปตติโย

(พรรษาออ นวา ) อกุ าสะ อามะ ภนั เต ปสสามิ

(พรรษาแกรับวา) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ

(พรรษาออ นวา) สาธุ สฏุ ุ ภนั เต สงั วะรสิ สามิ

ทุตยิ มั ป สาธุ สุฏุ ภนั เต สงั วะรสิ สามิ

ตะติยัมป สาธุ สฏุ ุ ภนั เต สงั วะริสสามิ

นะ ปุเนวัง กะรสิ สามิ

นะ ปุเนวงั ภาสสิ สามิ

นะ ปุเนวงั จนิ ตะยสิ สามิ

(จบพรรษาออน)

(พรรษาแกว า ) สพั พา ตา อาปตตโิ ย อาโรเจมิ (วา ๓ หน)

สัพพา คะรุละหกุ า อาปต ตโิ ย อาโรเจมิ (วา ๓ หน)

อะหงั อาวโุ ส สมั พะหุลา นานาวตั ถุกาโย อาปตตโิ ย

อาปช ชงิ ตา ตยุ หะ มเู ล ปะฏิเทเสมิ

(พรรษาออนรบั วา) อุกาสะ ปส สะถะ ภนั เต ตา อาปต ติโย

(พรรษาแกว า ) อามะ อาวโุ ส ปสสามิ

มนตพ ิธี - หนาท่ี 176

(พรรษาออนรบั วา ) อายะตงิ ภันเต สังวะเรยยาถะ

(พรรษาแกว า) สาธุ สุฏุ อาวุโส สังวะริสสามิ

ทุตยิ มั ป สาธุ สุฏุ อาวโุ ส สังวะริสสามิ

ตะตยิ ัมป สาธุ สุฏุ อาวุโส สังวะรสิ สามิ

นะ ปเุ นวัง กะรสิ สามิ

นะ ปุเนวงั ภาสิสสามิ

นะ ปุเนวงั จนิ ตะยสิ สามิ

(เสรจ็ พิธ)ี

วิธีแสดงอาบัตแิ บบใหม

ภิกษผุ ตู อ งอาบตั พิ ึงเขา ไปหาภกิ ษุรูปหนง่ึ แลวทำผาหมเฉวียงบา

นัง่ กระหยงประนมมอื กลาววา

อะหงั แกวา อาวุโส อติ ถนั นามัง อาปต ตงิ

ออ นวา ภนั เต

อาปน โน ตงั ปะฏเิ ทเสมิ

ผรู บั แกว า ปส สะสิ อาวโุ ส
ออ นวา ปส สะสิ ภนั เต

ผูแ สดง แกว า อามะ อาวุโส ปส สามิ
ออนวา อามะ ภนั เต ปส สามิ

ผูร ับ แกวา อายะตงิ อาวโุ ส สงั วะเรยยาสิ
ออ นวา อายะตงิ ภนั เต สงั วะเรยยาถะ

ผแู สดง แกวา สาธุ สฏุ ุ อาวโุ ส สงั วะรสิ สามิ
ออ นวา สาธุ สฏุ ุ ภนั เต สังวะรสิ สามิ

มนตพธิ ี - หนา ที่ 177

คำวา อติ ถันนามงั ใหเ ปลย่ี นเปน ชอื่ อาบัติท่ถี ูกตองดงั น้ี ถลุ ลจั -

จะยัง, นิสสัคคิยงั ปาจิตตยิ ัง, ปาจิตตยิ งั , ทกุ กะฏงั , ทุพภาสิตัง ถา

ตอ งอาบัติหลายตวั มีวัตถอุ ยางเดียวกนั เชน ปาจิตตยี เ ปน ตัวอยา งใช

สมั พะหลุ า ตอ เปน อะหัง ภันเต สัมพะหุลา ปาจติ ตยิ าโย

อาปตตโิ ย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ ฯลฯ เหมอื นขางตน ถาอาบตั ิ

หลายตวั มีวัถตตุ า ง ๆ กัน เชน ตอ งอาบัติปาจิตตยี ใ ช นานาวัตถกุ าโย

ตอ เปน อะหัง ภนั เต สัมพะหุลา นานาวตั ถกุ าโย ปาจิตตยิ าโย

อาปต ติโย อาปนโน ตา ปะฏิเทสมิ ฯลฯ เหมอื นขา งตน ถาอาบตั ิ

๒ ตวั ใช เทว ถา ๓ ตวั ข้ึนไปใช สมั พะหุลา

ถาสงสัยพงึ แสดงดงั นี้ อะหงั อาวโุ ส อิตถนั นามายะ อาปตตยิ า

เวมะติโก ยะทา นิพเพมะติโก ภะวสิ สามิ ตะทา ตงั

อาปต ตงิ ปะฏิกกะริสสามิ คำวา อาวโุ ส ถาผแู สดงออนกวา เปล่ียนเปน

ภันเต คำวา อติ ถนั นามายะ พึงเปล่ยี นเปนชือ่ อาบตั ิ ฯ

กจิ วตั ร ๑๐ อยาง

๑. ลงอุโบสถ ๖. อยูปริวาสกรรม

๒. บิณฑบาตเลย้ี งชีพ ๗. โกนผมปลงหนวดตัดเลบ็

๓. สวดมนตไ หวพ ระ ๘. ศกึ ษาสกิ ขาบทและปฏิบัตพิ ระอาจารย

๔. กวาดอาวาสวหิ ารลานพระเจดีย ๙. เทศนาบัติ

๕. รักษาผา ครอง ๑๐. พจิ ารณาปจ จเวกขณะทั้ง ๔ เปนตน

กจิ วัตร ๑๐ เหลา นีเ้ ปน กิจใหญค วรทภี่ ิกษจุ ะตอ งศึกษาใหทราบความชดั

และจำไวเพอ่ื ปฏบิ ัตสิ มควรแกส มณสารปู แหง ตน ฯ

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 178

ภกิ ษุไมควรฉันเนอื้ ๑๐ อยาง

๑. เน้ือมนุษย ๖. เนือ้ ราชสีห

๒. เน้ือชา ง ๗. เน้อื หมี

๓. เนอ้ื มา ๘. เนอื้ เสือโครง

๔. เนือ้ สุนัข ๙. เน้อื เสือดาว

๕. เน้ืองู ๑๐. เน้ือเสอื เหลือง

มงั สะ ๑๐ อยา งนี้ หามฉันและหามรับประเคน

คำใหศีล

เมือ่ คฤหสั ถอาราธนาศีลแลว พระพงึ ใหศ ีลดังน้ี

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธัสสะ (๓ จบ)

พุทธงั สะระณัง คัจฉามิ

ธมั มงั สะระณัง คจั ฉามิ

สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ

ทุตยิ มั ป พทุ ธงั สะระณัง คจั ฉามิ

ทตุ ิยัมป ธัมมงั สะระณัง คัจฉามิ

ทุตยิ มั ป สงั ฆัง สะระณงั คจั ฉามิ

ตะติยัมป พุทธงั สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยมั ป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยมั ป สังฆงั สะระณงั คัจฉามิ

ติสะระณะคะมะมงั นฏิ ฐิตงั

มนตพิธี - หนาท่ี 179

ปาณาติปาตา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ

อะทนิ นาทานา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ

กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ

มสุ าวาทา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ

สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ

(สรุป)

อมิ านิ ปญจะ สิกขาปะทานิ

สีเลนะ สุคะติง ยนั ติ สเี ลนะ โภคะสมั ปะทา

สีเลนะ นิพพุตงิ ยนั ติ ตสั มา สีลงั วโิ สธะเย

ถาใหศ ลี ๘ ก็วา เหมือนกัน เปล่ียนแตข อ กาเม เปนอะพรหั มะจะริยา

เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทยิ ามิ เทา น้ัน แลวตอ จากขอ สุรา ไปดงั นี้

วกิ าละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิ

นจั จะคีตะวาทิตะวสิ กู ะทสั สะนา มาลาคนั ธะวเิ ลปะนะธาระณะ-

มณั ฑะนะวิภสู ะนัฏฐานา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทยิ ามิ

อจุ จาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทิยามิ

(สรุปเหมอื นศลี ๕ เปลย่ี นแต ปญจะ เปน อฏั ฐะ เทานั้น)

ถา ใหอ ุโบสถศีล ใชน ำวา ตอ จากขอสุดทาย ทลี ะตอน ดังน้ี

อิมัง อฏั ฐังคะสะมนั นาคะตงั , พทุ ธะปญ ญตั ตัง อโุ ปสะกงั ,

อมิ ัญจะ รัตตงิ อิมัญจะ ทวิ ะสงั , สัมมะเทวะ อะภริ กั ขิตงุ สะมาทยิ ามิ

(สรุป) อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ อุโปสะถะสลี ะวะเสนะ สาธกุ งั

กัตวา อัปปะมาเทนะ รกั ขติ พั พานิ ฯ

มนตพ ิธี - หนาที่ 180
สีเลนะ สคุ ะตงิ ยนั ติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
สีเลนะ นพิ พตุ ิง ยันติ ตัสมา สีลงั วโิ สธะเย

คำบอกศกั ราชเทศนา
อิทานิ ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธสั สะ
ปะรินพิ พานะโต ปฏฐายะ สตั ตะวีสตุ ตะระปญ จะสะตาธกิ านิ เทวสงั -
วัจฉะระสะหสั สานิ อะติกกนั ตานิ ปจ จุปปน นะกาละวะเสน อาสาฬหะ
มาสสั สะ ทวาทะสะมงั ทินงั วาระวะเสน ปะนะ คะรวุ าโร โหติ เอวงั
ตัสสะ ภะคะวะโต ปะรินิพพานา สาสะนายกุ าละคะณะนา สลั ลักเข
ตพั พาติ ฯ
(คำแปล) ศภุ มัสดุ พระพทุ ธศาสนายุกาล จำเดิมแตปรินิพพาน
แหง องคส มเดจ็ พระผมู ีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา นน้ั บดั นี้ ลว ง
แลว ๒๕๒๗ พรรษา ปจจุบนั สมัย กรกฎาคมมาส สุรทนิ ที่ ๑๒ คะรุวาร
พระพุทธศาสนายกุ าลจำเดิมแตปร นิ ิพพาน แหงองคส มเด็จพระผูมพี ระภาคเจา
นั้น มีนยั อันจะพึงกำหนดนับดว ยประการฉะนี้

คำเปลย่ี น พ.ศ. เดือน วันท่ี วนั
พ.ศ. ๒๕๒๘ เปลย่ี น อัฏฐะวสี ุตตะระปญ จะสะตาธกิ านิ
พ.ศ. ๒๕๒๙ " อูนะติงสุตตะระปญ จะสะตาธิกานิ

มนตพิธี - หนา ที่ 181

พ.ศ. ๒๕๓๐ เปลีย่ นวา ติงสตุ ตะระปญจะสะตาธกิ านิ

" ๒๕๓๑ " เอกะติงสตุ ตะระปญ จะสะตาธกิ านิ

" ๒๕๓๒ " ทวัตติงสุตตะระปญ จะสะตาธิกานิ

" ๒๕๓๓ " เตตติงสุตตะระปญจะสะตาธกิ านิ

" ๒๕๓๔ " จตุตตงิ สตุ ตะระปญจะสะตาธิกานิ

" ๒๕๓๕ " ปญ จะตงิ สตุ ตะระปญ จะสะตาธกิ านิ

เดือน มกราคม เปลี่ยนวา ปสุ สะมาสัสสะ

" กุมภาพนั ธ " มาฆะมาสสั สะ

" มีนาคม " ผัคคณุ ะมาสัสสะ

" เมษายน " จิตตะมาสสั สะ

" พฤษภาคม " วสิ าขะมาสัสสะ

" มิถนุ ายน " เชฏะมาสัสสะ

" กรกฏาคม " อาสาฬหะมาสัสสะ

" สงิ หาคม " สาวะนะมาสัสสะ

" กนั ยายน " โปฏฐะปะทะ หรอื ภัททะปะทะมาสัสสะ

" ตลุ าคม " อัสสะยุชะมาสัสสะ

" พฤศจิกายน " กัตตกิ ะมาสสั สะ

" ธนั วาคม " มิคะสริ ะมาสสั สะ

วนั ท่ี ๑ เปลยี่ นวา มนตพ ิธี - หนา ท่ี 182 ทินงั
"๒ " ปะฐะมัง ทินงั
"๓ " ทุตยิ ัง ทนิ ัง
"๔ " ตะติยัง ทินงั
"๕ " จะตุตถงั ทินัง
"๖ " ปญ จะมงั ทนิ ัง
"๗ " ฉฏั ฐงั ทนิ งั
"๘ " สัตตะมงั ทินงั
"๙ " อฏั ฐะมัง ทินงั
" ๑๐ " นะวะมงั ทนิ งั
" ๑๑ " ทะสะมัง ทนิ ัง
" ๑๒ " เอกาทะสะมัง ทินงั
" ๑๓ " ทวาทะสะมัง ทนิ งั
" ๑๔ " เตระสะมัง ทินงั
" ๑๕ " จะตุททะสะมงั ทนิ งั
" ๑๖ " ปณณะระสะมัง ทินัง
" ๑๗ " โสฬะสะมัง ทินงั
" ๑๘ " สตั ตะระสะนัง ทินงั
" ๑๙ " อัฏฐาระสะมงั ทนิ งั
" ๒๐ " อนู ะวีสะติมัง ทินงั
วีสะติมงั

มนตพ ิธี - หนาท่ี 183

วนั ที่ ๒๑ เปล่ียนวา เอกะวีสะติมัง ทินงั

" ๒๒ " ทวาวีสะตมิ งั ทินัง

" ๒๓ " เตวสี ะตมิ ัง ทนิ งั

" ๒๔ " จะตุวสี ะตมิ ัง ทินัง

" ๒๕ " ปญจะวีสะตมิ งั ทินงั

" ๒๖ " ฉพั พีสะตมิ ัง ทนิ งั

" ๒๗ " สัตตะวสี ะตมิ งิ ทนิ ัง

" ๒๘ " อฏั ฐะวสี ะตมิ งั ทนิ งั

" ๒๙ " อูนะติงสะตมัง ทนิ งั

" ๓๐ " ตงิ สะติมงั ทินัง

" ๓๑ " เอกะตงิ สะตมิ ัง ทินัง

วนั อาทติ ย เปล่ียนวา ระววิ าโร

" จนั ทร " จันทะวาโร

" องั คาร " ภุมมะวาโร

" พธุ " วธุ ะวาโร

" พฤหสั บดี " คะรุวาโร

" ศกุ ร " สกุ กะวาโร

" เสาร " โสระวาโร

มนตพ ิธี - หนาท่ี 184
พธิ บี วช

คำวา บวช มาจากคำวา ป+วช แปลวา เวน ทว่ั คอื เวน จากกาม ใน
ท่ีนีห้ มายเพยี งบวชเปน สามเณรและบวชเปน พระภกิ ษเุ ทา นั้น จดุ มงุ หมายใน
การบวชก็คือการปฏบิ ัตติ นเพอ่ื รอื้ ถอนออกจากความทกุ ข และทำใหแจง ซ่งึ
พระนิพพาน คอื ความดบั ทกุ ข อยางไรก็ตาม การบวชไดแ มเพียงช่วั คราวก็
นับวา ดี เพราะนอกจากเปนการสบื ตอพระพุทธศาสนาแลว อยางนอ ยก็ยังเปน
เหตใุ หร จู กั ฝกหัดความอดทน และความเสยี สละอยา งมาก อาจทำใหเขา ถงึ
พุทธธรรมไดโดยใกลชิด

การบวชเปน สามเณร
สามเณร แปลวา ผเู ปนเชอ้ื สายแหงสมณะ เมอื่ เปน สามเณรแลว
ตองถอื ศลี ๑๐ คอื
๑. เวน จากการฆาสตั วท ง้ั มนุษยแ ละเดรัจฉาน
๒. เวน จากการลกั ทรัพย
๓. เวน จากเสพเมถนุ ธรรม
๔. เวน จากการพูดเทจ็
๕. เวนจากการด่มื สุราและเมรัย
๖. เวนจาการบริโภคอาหารในเวลาวกิ าล
๗. เวน จากการฟอ นรำขับรอ งและการบรรเลง ตลอดถึงการดู

การฟง สงิ่ เหลาน้ัน

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 185
๘. เวนจากการทดั ทรงดอกไมการใชข องหอมเคร่อื งประเทอื งผิว
๙. เวนจาการนอนทส่ี ูงใหญและยัดนุนสำลีอนั มลี ายวิจิตร
๑๐. เวน จากการรับเงนิ ทอง
นอกจากนี้ ยงั ตองมี ปจ จเวกขณะ คือ การพจิ ารณา จีวร บิณฑบาต
เสนาสนะ คิลานเภสชั ตลอดถงึ วตั รท่คี วรศกึ ษา อนั เก่ยี วดว ยมารยาท คอื
เสขิยวตั ร อีก ๗๕ ขอ ดวย
สถานท่ีทำพธิ ี เปนกฎุ ขี องพระอุปช ฌายผ ูใหบวชกไ็ ด เปน โรง
อโุ บสถก็ได มพี ระอันดบั ต้ังแต ๔ รปู ขน้ึ ไปกไ็ ด ไมม ีก็ได

ของใชใ นพธิ คี ือ
๑. ไตรแบง (สบง ๑ ประคตเอง ๑ อังสะ ๑ จีวร ๑ ผา รัด

อก ๑ ผากราบ ๑)
๒. จวี ร สบง องั สะ (อาศยั หรอื สำรอง) ผาอาบ ๒ ผนื
๓. ยา ม ผาเชด็ หนา นากา
๔. บาตร (มเี ชิงรองและฝาพรอ ม)
๕. รองเทา รม
๖. ทน่ี อน เสือ่ หมอน ผาหม มงุ
๗. จานขาว ชอนสอม แกว น้ำ ผา เชด็ มอื ปนโต กระโถน
๘. ขันนำ้ สบู กลอ งสบู แปรง ยาสีฟน ผา เชด็ ตัว
๙. ธูป เทยี น ดอกไม สำหรับบูชาพระรัตนตรัย
๑๐. ธปู เทียน ดอกไม (หรือจะใชเทียนแพมกี รวยดอกไมกใ็ ชไ ด)

สำหรบั ถวายพระอุปช ฌายผ ูใหบวช

มนตพธิ ี - หนา ท่ี 186
และจะมีเครอ่ื งจตุปจ จยั ไทยธรรมสำหรับถวายพระอปุ ชฌายะและพระในพธิ ีนน้ั
อีกองคล ะชดุ ก็ได แลวแตกำลังศรัทธา

ผบู วชตองปลงผม โกนควิ้ โกนหนวด ตดั เลบ็ มือเล็บเทา ใหส ะอาด
หมดจด สว นพธิ กี ารวนั บวช มกี ลา วไวสวนหนึ่งแลว และขอ สำคัญตอ งวา
ไตรสรณคมน ใชชัดถอยชดั คำ เพราะความเปนสามเณรจะสำเรจ็ ไดก ด็ ว ยไตร
สรณคมนเ ทานั้น นอกจากนั้นกม็ ี

หัวขอทผ่ี ูจะบวชจะตองจดจำคือ
๑. ใหบดิ ามารดาหรือผูปกครอง พาไปหาเจา อาวาสและพระ
อุปชฌาย (ถาเจาอาวาสเปน พระอุปชฌายด วยกไ็ มตอ งไป ๒ แหง)
๒. ทอ งคำขอบวช สรณคมน และศีล ๑๐ ใหไดด ว ยตนเอง
๓. หมนั่ ฝกซอ มพิธี เชนการกราบ เปนตน

การบวชเปนพระภกิ ษุ
ภกิ ษุ แปลวา ผูเ ห็นภัยในวัฏฏสงสาร เม่ือเปนพระภกิ ษุแลว ตอง
ถอื ศลี ๒๒๗ และตอ งรกั ษาขอวตั รปฏิบตั ิอ่ืน ๆ อกี มาก
การบวชเปน สามเณรเปนเบ้อื งตน ของการบวชเปนพระภิกษุ กลา ว
คือจะบวชเปนพระภกิ ษุไดก ต็ อ งบวชเปน สามเณรกอน เพราะฉะนัน้ กลุ บตุ ร
ผจู ะบวชเปน พระภกิ ษุ จึงจำตองบวชเปน สามเณรกอน ซ่งึ มวี ิธกี ารดงั ท่ี
กลาวมาแลว แมผูเปน สามเณร ก็จำตอ งขอไตรสรณคมนแ ละศีลใหม เพอื่ ทำ
ใหแ นนแฟน ย่งิ ข้นึ จงึ ดำเนนิ การบวชเปน พระภิกษไุ ดตอ ไป แตท างทด่ี ีที่สดุ
ควรของบรรพชาแตเบอ้ื งตนไปใหม เพราะเมือ่ ตอนขอบรรพชาเปนสามเณร
ไดเ วนคำไว ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง ไว

มนตพธิ ี - หนา ที่ 187
สถานท่ีทำพธิ ี คือ โรงอุโบสถ ประชมุ สงฆ ๒๘ รูป มพี ระอุปช-
ฌาย ๑ พระกรรมวาจาจารย ๑ พระอนุสาวนาจารย ๑ (สองรูปหลังน้เี รยี กวาพระ
คสู วด) อีก ๒๕ รูป เรยี กวาพระอนั ดบั (๑๐ รปู ข้นึ ไป ไมถึง ๒๕ รูปกใ็ ชได)

อัฏฐบรขิ ารและเครอ่ื งใชอืน่ ๆ ทจ่ี ำเปน และควรจดั หา
๑. ไตรครอง (สบง ๑ ประคตเอว ๑ องั สะ ๑ จีวร ๑

สังฆาฏิ ๑ ผารดั อก ๑ ผากราบ ๑ )
๒. บาตร (มเี ชิงรองและฝาพรอ ม) ถลกบาตร สายโยค ถุง

ตะเครียว
๓. มดี โกน พรอ มทัง้ หนิ ลบั มดี โกน
๔. เขม็ เยบ็ ผา พรอ มทั้งกลองเข็มและดาย
๕. เครอื่ งกรองนำ้ (ธมกรก)
๖. เสื่อ หมอน ผา หม มุง
๗. จีวร สบง อังสะ ผา อาบ ๒ ผืน (อาศัย)
๘. ตาลปต ร ยาม ผาเชด็ หนา รม รองเทา
๙. โคมไฟฟา หรือตะเกยี ง ไฟฉาย นาก าปลุก
๑๐. สำหรบั ปน โต คาว หวาน จานขา ว ชอ นสอม ผา เชด็ มือ
๑๑. ท่ีตมนำ้ กาตมน้ำ กาชงน้ำรอน ถวยน้ำรอน เหยือกน้ำ

และแกวน้ำเย็น กระตกิ นำ้ แขง็ กระตกิ น้ำรอน
๑๒. กระโถนบว น และโถนถาย
๑๓. ขันอาบน้ำ สบูและกลอ งสบู แปรงและยาสฟี น ผาขน-

หนู กระดาษชำระ

มนตพธิ ี - หนา ที่ 188
๑๔. สันถัต (อาสนะ)
๑๕. หบี ไมหรอื กระเปาหนังสำหรับเก็บไตรครอง
๑. ถงึ ๕. เปน ส่งิ จำเปน มาก เรียกวา อัฏฐบริขาร แปลวา บริขาร ๘
(มีผา ๕ อยา ง คือ สบง ๑ ประคตเอว ๑ จีวร ๑ สงั ฆาฏิ ๑ ผา กรองผา ๑ เหลก็ ๓
อยาง คือ
บาตร ๑ มีดโกน ๑ เขม็ เยบ็ ผา ๑) ของนอกนั้นมีความจำเปนลดนอยลง แลวแต
กำลงั ของเจา ภาพจะจัดหามาไดอ กี
ไตร วางไวบนพานแวน ฟา บาตร สวมอยูในถงุ ตะเครียว ภายใน
บาตรใสมีดโกนพรอมดว ยหนิ ลับมีดโกนเขม็ พรอ มทั้งกลองเขม็ และดาย และ
เครื่องกรองน้ำ นอกจากนั้นยังนิยมใสพระเครอื่ งรางตาง ๆ ลงในบาตร เพ่ือ
ปลกุ เสกใหขลงั ขึน้ อกี ดว ย

ถา มกี ระบวนแหง ควรจัดกระบวนดงั นี้
๑. การแสดงตา ง ๆ เชน หวั โต สงิ โต ฯ (ถามี)
๒. แตร หรอื เถิดเทิง (ถา มี)
๓. ของถวายพระอุปช ฌาย คสู วด
๔. ไตรครอง ซ่ึงมารดาของผูบ วชมักจะเปน ผูอมุ (มีสปั ทนกน้ั )
๕. ผบู วชพนมมือถือดอกบวั ๓ ดอก ธูป ๓ ดอก เทียน ๒ เลม

(มสี ปั ทนก้นั )
๖. บาตร และ ตาลปตร ซ่ึงบดิ าของผูบ วชเปนผสู ะพายและถือ
๗. ของถวายพระอนั ดับ
๘. บรขิ ารและเครื่องใชอ ยางอ่นื ของผบู วช

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 189
ถา มีไตรถวายพระอุปช ฌายแ ละคสู วด กต็ อ งมีสมั ปทนก้นั อกี ๓ คนั
ของถวายพระอุปฌ ายม ีพิเศษอยูอยางหนึ่งคือกรวยขอนิสยั ซึง่ ภายในกรวยมี
หมากพลูหรอื เมย่ี งและบหุ รี่ นอกนัน้ แลว แตจะเหน็ สมควร ควรจัดของถวาย
สำหรับพระอปุ ช ฌายเ ปน พเิ ศษ รองลงมาคอื คสู วด รองลงมาอีกคือพระอันดับ
เมื่อจัดขบวนเรียบรอ ยแลว ก็เคลอื่ นไปสหู นาพระอโุ บสถ แลว เวยี น
ขวารอบนอกสมี า ๓ รอบ พรอมกนั เสยี ง โห - ฮวิ้ เปน ระยะ ๆ ไป เวยี นครบ
๓ รอบ ก็เขา ไปภายในพระอโุ บสถทง้ั หมด เวนไวแตการแสดงตาง ๆ เชน
แตร หรอื เถิดเทงิ สว นผูจะบวชกอนจะเขาโบสถตองวนั ทาเสมาหนา พระอโุ บสถ
เสียกอน วา วันทามิ อาราเม พทั ธะเสมายงั โพธริ ุกขงั เจติยัง สัพพะ
เม โทสงั ขะมะถะ เม ภันเต ฯ

คำวนั ทาเสมา (อกี แบบหนง่ึ )
อุกาสะ วนั ทามิ ภนั เต สพั พงั อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภนั เต
มะยา กะตงั ปุญญัง สามินา อะนโุ มทติ ัพพงั สามินา กะตัง ปญุ ญัง
มัยหัง ทาตพั พงั สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ฯ
สัพเพ อะปะราธงั ขะมะถะ เม ภนั เต อกุ าสะ ทวารตั ตะเยนะ
กะตัง สพั พัง อะปะราธงั ขะมะถะ เม ภันเต ฯ อกุ าสะ ขะมามิ ภนั เต ฯ
วนั ทามิ ภนั เต สพั พงั อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต มะยา
กะตัง ปญุ ญัง สามนิ า อะนโุ มทติ พั พงั สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหงั
ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนโุ มทามิ ฯ


Click to View FlipBook Version