The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ทีมงานกรุธรรม, 2022-02-26 21:08:03

มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

Keywords: มนต์พิธี สำหรับ พระภิกษุสามเณร และ พุทธศาสนิกชน วัดราษฏร์บำรุง

มนตพ ิธี - หนา ที่ 190
เสร็จแลวโปรยทาน แลวเขาสูพระอโุ บสถได โดยมารดาบิดาหรือ
ญาติผใู หญหรือเจาภาพจงู ประกอบดว ยญาตแิ ละมิตรเปน ผูเ กาะตอ ๆ กัน ครน้ั
แลว ผูบวชจึงไปวนั ทาพระประธานในพระอุโบสถดานขา งพระหตั ถขวา แลว
มารบั ไตรครองจากมารดาบดิ าหรอื ญาติผใู หญห รือเจา ภาพ ตอจากนน้ั จงึ เร่มิ
พิธกี ารบวชตามหลกั พระธรรมวนิ ยั ตอไป
เม่อื บวชเปน สามเณรเสรจ็ แลว บดิ าตองคอยประเคนบาตรแก
สามเณรนน้ั ขณะทพี่ ระคูส วดกำลงั สวดญัตตจิ ตุตถกรรมวาจา หามมิใหอ นุป-
สัมบนั (ผทู มี่ ใิ ชพระภกิ ษ)ุ เขา ใกลอาสนสงฆ ๑ ศอก ทางทด่ี ีควรสงบอยู
กบั ท่ี ภายหลงั จากบวชเปนพระภกิ ษเุ สร็จแลว เจาภาพและญาตมิ ติ รจึงถวาย
อฏั ฐบริขารและเครือ่ งใชอ ืน่ ๆ ทีส่ มควรแกส มณะ แกพระบวชใหมตอ ไป
เสรจ็ แลว พระบวชใหมก รวดนำ้ เปนเสร็จพิธี

ขอ สำคัญทค่ี วรจดจำไวก็คอื
๑. มารดาบิดา หรือญาตผิ ูใ หญห รือเจาภาพ พรอ มผจู ะบวช
ตอ งไปติดตอกับเจาอาวาสที่ตนจะบวชอยู และพระอุปช ฌายแตเ นนิ่ ๆ
(ถาเจาอาวาสเปน อปุ ชฌายดว ยกไ็ มต อ งไปติดตอ ๒ แหง )
๒. ผจู ะบวช เรยี กกันวา อปุ สมั ปทาเปกข หรือ นาค หรอื
นกั บวช ตองทองคำบาลี ซ่ึงเรยี กกนั วา ขานนาค ใหไ ดค ลอ งแคลว
ชัดถอ ยชัดคำ
๓. หม่ันฝก ซอ มกบั พระอุปช ฌายห รืออาจารย ในเรอ่ื งระเบียบ
ตา ง ๆ อันเน่อื งในการน้ใี หคลอ ง มใิ หเคอะเขนิ ในเวลาเขาพธิ ี

มนตพิธี - หนา ท่ี 191
หมายเหตุ ในการบวชนี้ บางคนนยิ มมีพิธที ำขวัญนาคกอนวนั บวช
๑ วัน หรือทำในวนั นน้ั คือทำขวัญเชา บวชบาย การทำขวญั กเ็ พื่อใหเ จานาค
รูจ กั คุณมารดาบดิ า และมีใจศรัทธาซาบซ้งึ ในการบวชข้ึนอีก ในการนี้จะตอง
มขี องอีกหลายอยาง เชน บายศรี แวนเวยี นเทยี น ฆอ ง ธปู เทียนตามแบบของ
หมอทำขวญั การทำขวญั ก็ดี แมก ารแสดงตา ง ๆ ตลอดถงึ แตร เถดิ เทิงกด็ ี
บางคนก็ไมนยิ ม ชอบเงยี บ ๆ ตรงไปเดนิ เวยี นโบสถเ ขาโบสถเฉย ๆ ทง้ั น้ี
แลวแตอ ัธยาศยั สวนการแตง ตวั เจานาค มกั ใชชดุ ขาว นงุ แบบผา ถงุ จบี
องั สะขาว บางทีก็มีเสอื้ ขาวแขนยาว แลว สวมเสือ้ ครุยทับ
เมือ่ บวชแลว มกั มกี ารฉลองพระใหม ถา บวชเชาก็ฉลองเพล ถาบวช
บา ยกฉ็ ลองวนั รุง ขนึ้ หรอื จะเลย่ื นไปฉลองในวนั ตอ ๆ ไปกไ็ ด ตามความ
สะดวกของเจาภาพ.

คาถาคาดปูน
อมิ ัง อังคะพนั ธะนัง อะธิฏฐาม.ิ
คาถานี้ ใชเ สกปนู คาดแกสารพัดพษิ ตา ง ๆ

มิใหแลนไปได แล.

มนตพ ิธี - หนาที่ 192
วธิ ีบรรพชาอปุ สมบทแบบอกุ าสะ
กลุ บุตรผมู ีศรทั ธามุง บรรพชา อุปสมบท พึงรบั ผาไตรอุมประนมมือเขา
ไปในสังฆสนั นิบาต วางผาไตรไวขา งตัวดานซา ย รับเคร่ืองสกั การถวายพระ,
อุปช ฌายะ แลวกราบดว ยเบญจางคประดิษฐ ๓ ครง้ั แลว อุมผาไตรประนม
มอื ยืนขึ้นเปลงวาจาขอบรรพชา หยดุ ตามจดุ จลุ ภาค วา
อกุ าสะ วันทามิ ภนั เต, สพั พัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภนั เต,
มะยา กะตงั ปญุ ญงั สามนิ า อะนุโมทิตพั พงั , สามินา กะตัง ปุญญงั
มัยหงั , ทาตพั พงั สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ฯ
อกุ าสะ การญุ ญงั กัตวา, ปพ พัชชัง เทถะ เม ภันเต,
(น่ังลงคกุ เขา ประนมมอื วา )

อะหัง ภนั เต, ปพ พัชชงั ยาจามิ,
ทุติยมั ป อะหัง ภันเต, ปพ พชั ชัง ยาจาม,ิ
ตะติยมั ป อะหัง ภันเต, ปพพัชชัง ยาจามิ,
สพั พะทกุ ขะ, นิสสะระณะนิพพานะ, สัจฉกิ ะระณัตถายะ, อิมัง
กาสาวงั คะเหตวา, ปพ พาเชถะ มัง ภันเต, อะนกุ มั ปง อุปาทายะ ฯ
(ตงั้ แต สพั พะทุกขะ มา วา ๓ หน พระอปุ ช ฌายะรบั ผา ไตร แลว วาตอ ไป)
สัพพะทุกขะ, นิสสะระณะนิพพานะ, สจั ฉกิ ะระณัตถายะ, เอตงั
กาสาวงั ทัตวา, ปพพาะเชถะ มงั ภนั เต, อะนกุ ัมปง อุปาทายะ ฯ
(ตั้งแต สพั พะทุกขะ มา วา ๓ หน)
ในลำดบั นนั้ พระอปุ ช ฌายะใหโอวาทและบอก ตะจะปญ จะกะกมั -
มัฏฐาน ใหว าตามไปทลี ะบท โดยอนโุ ลมและปฏโิ ลม ดังน้ี
เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ (อนุโลม)
ตะโจ ทันตา นะขา โลมา เกสา ฯ (ปฏโิ ลม)

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 193
พระอุปชฌายะชักองั สะออกจากไตรสวมใหแลว ส่ังใหออกไปครอง
ผาครบไตรจีวรตามระเบยี บ ครน้ั เสรจ็ แลว รบั เคร่อื งไทยทานเขาไปหาพระ
อาจารย ถวายทานแลวกราบลง ๓ หน ยืนประนมมอื เปลงวาจาขอสรณะ
และศีลดังนี้
อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต,
มะยา กะตงั ปญุ ญัง สามนิ า อะนุโมทติ ัพพงั , สามินา กะตัง ปญุ ญงั
มยั หัง, ทาตพั พงั สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ฯ,
อุกาสะ การญุ ญัง กตั วา, ติสะระเณนะ สะหะ, สีลานิ เทถะ
เม ภนั เต,

(นง่ั ลงคกุ เขาขอสรณะและศีลดงั ตอไปนี)้
อะหัง ภันเต, สะระณะสลี งั ยาจาม,ิ

ทตุ ิปยมั ป อะหัง ภนั เต, สะระณะสีลัง ยาจามิ,
ตะตยิ ัมป อะหัง ภนั เต, สะระณะสีลัง ยาจาม,ิ
ลำดบั น้ัน พระอาจารยกลาวคำนมัสการนำใหผูม ุงบรรพชาวาตามไป
ดังนี้
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธธัสสะ ฯ

(วา ๓ หน)
แตน น้ั ทา นจะสงั่ ดว ยคำวา เอวัง วะเทหิ หรือ ยะมะหงั วะทามิ
ตัง วะเทหิ พงึ รับวา อามะ ภนั เต ครน้ั แลว ทานนำใหเ ปลง วาจาวา
สรณคมน พึงวาตามไปทลี ะพากยด งั นี้

พุทธัง สะระณัง คจั ฉามิ
ธมั มัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆงั สะระณัง คัจฉามิ

มนตพธิ ี - หนา ท่ี 194
ทตุ ิยัมป พทุ ธัง สะระณงั คจั ฉามิ
ทุตยิ ัมป ธัมมงั สะระณงั คัจฉามิ
ทตุ ิยัมป สังฆงั สะระณัง คัจฉามิ
ตะตยิ มั ป พทุ ธัง สะระณงั คจั ฉามิ
ตะติยมั ป ธัมมงั สะระณัง คจั ฉามิ
ตะตยิ ัมป สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ
เม่อื จบแลว ทานบอกวา ตสิ ะระณะคะมะนงั นฏิ ฐติ ัง พึงรบั วา
อามะ ภนั เต ลำดับน้นั พระอาจารายจ ะบอกใหร ูว า การบรรพชาเปน
สามเณรสำเรจ็ ดว ยสรณคมนเ พียงเทา นี้ ตอ แตน น้ั พึงสมาทานสิกขาบท ๑๐
ประการ วาตามทานไปดงั นี้
ปาณาตปิ าตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทยิ ามิ
อะทนิ นาทานา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิ
อะพรัหมะจะรยิ า เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สรุ าเมระยะมชั ชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมา-
ทิยามิ
วกิ าละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ
นจั จะคีตะวาทติ ะวสิ กู ะทสั สะนา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมา-
ทยิ ามิ
มาลาคนั ธะวเิ ลปะนะธาระณะมัณฑะนะวิภสู ะนัฏฐานาเวระมะณี
สกิ ขาปะทัง สะมาทยิ ามิ
อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมา-
ทิยามิ

มนตพ ิธี - หนาท่ี 195
ชาตะรปู ะระชะตะปะฏิคคะหะณา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง
สะมาทิยามิ ฯ
อมิ าทิ ทะสะ สิกขาปะทานิ สะมาทยิ ามิ ฯ ขอ อมิ านิ นี้วา ๓ จบ
แลวกราบลง ๑ หน ยนื ขึน้ วา
วันทามิ ภนั เต, สพั พัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภนั เต, มะยา
กะตงั ปญุ ญัง สามนิ า อะนโุ มทติ พั พงั , สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง,
ทาตพั พัง สาธุ สาธุ อะนโุ มทามิ ฯ คุกเขา กราบ ๓ หน
ในลำดับนนั้ สามเณรพึงรับบาตรอมุ เขา ไปหาพระอุปช ฌายะในสงั ฆ-
สันนบิ าต วางไวขางตวั ซา ยรบั เครอ่ื งไทยทานถวายทา นแลวกราบลง
๓ หน ยืนปะนมมอื กลา วคำขอนสิ ัย วาดงั นี้
อกุ าสะ วันทามิ ภันเต, สพั พงั อะปะราธงั ขะมะถะ เม ภันเต,
มะยา กะตัง ปุญญัง สามนิ า อะนโุ มทิตพั พัง, สามินา กะตัง ปุญญงั
มยั หงั , ทาตพั พงั สาธุ สาธุ อะนโุ มทานิ ฯ,
อกุ าสะ การุญญงั กัตวา นิสสะยัง เทถะ เม ภันเต,

(นัง่ คุกเขา )
อะหงั ภนั เต, นสิ สะยงั ยาจามิ,
ทตุ ยิ มั ป อะหงั ภนั เต, นสิ สะยัง ยาจามิ
ตะติยมั ป อะหงั ภันเต, นสิ สะยงั ยาจามิ ฯ
อุปช ฌาโย เม ภนั เต โหหิ ฯ วรรคนีว้ า ๓ หน เมื่อพระ
อปุ ช ฌายว า โอปายกิ ัง, ปะฏิรูปง ปาสาทเิ กนะ สมั ปาเทห,ิ แลวสามเณร
พงึ กลา วรบั วา อกุ าสะ สมั ปะฏิจฉามิ ฯ ในระหวาง ๆ ๓ หน แลววาตอ
อัชชะตคั เคทานิ เถโร มยั หงั ภาโร, อะหมั ป เถรสั สะ ภาโร
วรรคน้ีวา ๓ หน แลว กราบลง ๑ หน ยนื ขน้ึ วา ตอ

มนตพธิ ี - หนาที่ 196

วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปาราธงั ขะมะถะ เม ภนั เต, มะยา

กะตงั ปุญญงั สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามนิ า กะตัง ปุญญงั มัยหัง

ทาตพั พงั สาธุ สาธุ อะนโุ มทามิ ฯ, คุกเขากราบ ๓ หน

ตง้ั แต อุปชฌาโย ฯลฯ เถรัสสะ ภาโร ๓ วรรค นี้ พระ

อุปช ฌายะบางองคใ หวารวดเดียวตามแบบนั้นกม็ ี ใหวาเปนตอน ๆ ดงั นคี้ ือ

เม่อื สามเณรวา อุปชฌาโย เม ภันเต โหหิ ๓ หน แลวพระ

อุปชฌายะกลาวรบั วา โอปายิกงั ปะฏิรปู ง ปาสาทิเกนะ สัมปาเทหิ,

บทใดบทหนึ่งพึงรับวา อุกาสะ สัมปะฏิจฉามิ ทกุ บทไปแลว สามเณร

พงึ กลาวรบั เปนธุระใหท า นวา อัชชะตคั เคทานิ ฯลฯ ภาโร ๓ หน ฯ ก็มี

ลำดบั นนั้ พระอุปช ฌายะหรอื พระกรรมวาจาจารยเ อาบาตรมีสายโยคคลองตวั ผู

มงุ อุปสมบทแลวบอกบาตรและจวี ร ผูม งุ อปุ สมบทพงึ รบั วา อามะ ภันเต,

๔ หน ดังน้ี

ปะฐะมงั อปุ ชฌงั คาหาเปตพั โพ อปุ ชฌัง คาหาเปตวา ปต ตะ

จวี ะรงั อาจิกขิตพั พัง

คำบอกบาตรจีวร คำรับ

๑. อะยันเต ปตโต อามะ ภนั เต

๒. อะยัง สังฆาฏิ อามะ ภันเต

๓. อะยงั อตุ ตะราสังโค อามะ ภนั เต

๔. อะยัง อันตะระวาสะโก อามะ ภันเต

ตอจากน้ัน พระอาจารยทานบอกใหอ อกไปขา งนอก วา คัจฉะ

อะมุมหิ โอกาเส ตฏิ ฐาหิ พงึ ถอยออกลุกข้นึ เดนิ ไปยืนอยใู นท่ีท่ีกำหนดไว

พระอาจารยท า นสวดสมมตติ นเปน ผสู อนซอ ม แลว ออกไปสวดถามอนั ตรา-

ยกิ ธรรม พึงรบั วา นตั ถิ ภนั เต ๕ หน อามะ ภันเต ๘ หน ดังน้ี

มนตพธิ ี - หนา ที่ 197

ถาม ตอบ

๑. กุฏฐัง นตั ถิ ภนั เต

๒. คัณโฑ นัตถิ ภันเต

๓. กิลาโส นัตถิ ภนั เต

๔. โสโส นัตถิ ภันเต

๕. อะปะมาโร นัตถิ ภนั เต

๑. มะนุสโสสิ๊ อามะ ภนั เต

๒. ปรโิ สสิ๊ อามะ ภนั เต

๓. ภชุ ิสโสสิ๊ อามะ ภันเต

๔. อะนะโณสิ๊ อามะ ภนั เต

๕. นะสิ๊ ราชะภะโฏ อามะ ภันเต

๖. อะนุญญาโตสิ๊ มาตาปตูหิ อามะ ภันเต

๗. ปะรปิ ุณณะวสี ะติวัสโสส๊ิ อามะ ภันเต

๘. ปะริปณุ ณันเต ปต ตะจีวะรัง อามะ ภนั เต

๑. กนิ นาโมสิ อะหัง ภนั เต........................

นามะ

๒. โก นามะ เต อุปช ฌาโย อุปชฌาโย เม ภันเต

อายัสมา.............................

นามะ

ชอ งท.่ี .............ไว พระอุปช ฌายะ หรืออาจารยท า นจะต้งั ชือ่ ของ

อปุ สัมปทาเปกขะกรอบลงชอ งใหไวก อ นวันบวช

และชอ งที่ ........ ไวใ นชองชอ่ื ของพระอปุ ช ฌายะก็เชน เดียวกนั ให

กรอกตามชื่อของพระอุปช ฌายะ ซงึ่ ทา นจะบอกและกรอกใหไ วกอนวนั บวช

มนตพ ิธี - หนา ที่ 198
คร้ันสวดสอนซอ มแลว ทานกลบั เขามาสวดขอเรียกอุปสมั ปทาเปกขะ
เขา มา อปุ สัมปทาเปกขะ พงึ เขา มาในสงั ฆสันนบิ าต กราบลงตรงหนา
พระอุปชฌะ ๓ หน แลวนงั่ คกุ เขาประนมมือ เปลงวาจาขออุปสมบท
วาดังนี้
สงั ฆมั ภันเต, อปุ ะสัมปะทงั ยาจาม,ิ อุลลุมปะตุ มงั ภนั เต,
สงั โฆ อะนกุ มั ปง อปุ าทายะ
ทตุ ิยัมป ภนั เต, สังฆงั อุปะสมั ปะทัง ยาจามิ, อุลลมุ ปะตุ
มงั ภนั เต, สงั โฆ อะนกุ มั ปง อปุ าทายะ,
ตะตยิ ัมป ภันเต, สังฆัง อปุ ะสมั ปะทงั ยาจาม,ิ อลุ ลมุ ปะตุ
มัง ภนั เต, สังโฆ อะนุกัมปง อปุ าทายะ,
ในลำดับนนั้ พระอุปชฌายะกลาวเผดียงสงฆแ ลว พระอาจารยส วด
สมมติตนถามอันตรายกิ ธรรม อปุ สมั ปทาเปกขะพงึ รับวา นัตถิ ภันเต
๕ หน อามะ ภันเต ๘ หน บอกช่อื ตนและชอ่ื พระอุปชฌายะรวม
๒ หน เหมอื นทกี่ ลาวแลวในหนหลัง ฯ แตน้นั พึงนั่งฟงทานสวดกรรมวาจา
อุปสมบทไปจนจบ คร้ันจบแลว ทานเอาบาตรออกจากตวั แลวพงึ กราบลง
๓ หน แตนั้นพึงน่งั พบั เพยี บประนมมือฟง พระอปุ ช ฌายะบอกอนุศาสน
ไปจนจบ แลวรับวา อามะ ภันเต เปนเสรจ็ พธิ อี ปุ สมบท แลว กราบ
พระอุปชฌายะ ๓ หน ถามไี ทยทายถวายก็ใหรับไทยทานถวายพระอันดบั
เสรจ็ แลวคอยฟง พระทานอนโุ มทนาตอ ไป เมอื่ พระอนุโมทนา พงึ กรวดน้ำ
ต้ังใจอทุ ศิ บญุ กุศลสวนนีใ้ หแ กท า นผมู ีพระคณุ เมื่อพระวา ยะถา จบ ก็
เทนำ้ โกรกลงใหหมด ตอ น้ันประนมมือฟงอนโุ มทนาไปจนจบเปนอนั เสรจ็ พธิ ี.

จบพธิ อี ปุ สมบทแบบอกุ าสะ

มนตพ ิธี - หนาที่ 199
วธิ บี รรพชาอุปสมบทแบบเอสาหงั
กลุ บุตรผมู ศี รัทธามุงอปุ สมบท พึงรับผา ไตรอมุ ประนมมือเขา ไปใน
สังฆสันนิบาต วางผาไตรไวขา งตัวดา นซาย รบั เครื่องสักการะถวายพระ
อุปชฌายะ แลวกราบลงดว ยเบญจางคประดษิ ฐ ๓ ครง้ั แลวน่งั คกุ เขาอมุ ผาไตร
ประนมมือเปลง วาจา ถงึ สรณะและขอบรรพชาดวยคำมคธ หยดุ ตามจดุ จุลภาค
วา
เอสาหัง ภนั เต, สจุ ริ ะปะรินพิ พตุ มั ป, ตัง ภะคะวันตงั สะระณัง
คจั ฉาม,ิ ธัมมัญจะ ภกิ ขสุ ังฆัญจะ, ละเภยยาหงั ภันเต, ตสั สะ ภะคะ-
วะโต, ธัมมะวนิ ะเย ปพพัชชงั , ละเภยยัง อุปะสมั ปะทงั
ทุตยิ ัมปาหงั ภนั เต, สจุ ริ ะปะรินพิ พุตัมป, ตัง ภะคะวนั ตงั สะระ-
ณงั คัจฉามิ, ธมั มญั จะ ภกิ ขุสังฆัญจะ, ละเภยยาหัง ภนั เต, ตัสสะ
ภะคะวะโต, ธัมมะวนิ ะเย ปพพชั ชงั , ละเภยยงั อปุ ะสัมปะทงั
ตะติยัมปาหงั ภนั เต, สุจริ ะปะรนิ ิพพุตัมป, ตัง ภะคะวนั ตงั
สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมญั จะ ภกิ ขสุ งั ฆัญจะ ละเภยยาหงั ภนั เต, ตัสสะ
ภะคะวะโต,ธัมมะวินะเย ปพ พัชชงั , ละเภยยงั อปุ ะสังปะทงั
อะหัง ภนั เต, ปพพัชชัง ยาจาม,ิ อิมานิ กาสายานิ วตั ถานิ
คะเหตวา, ปพ พาเชถะ มงั ภนั เต, อะนกุ ัมปง อปุ าทายะ
ทุตยิ ัมป อะหัง ภันเต, ภนั เต, ปพ พัชชงั ยาจาม,ิ อิมานิ กาสายามิ
วัตถานิ คะเหตวา, ปพพเชถะ มงั ภันเต, อะนกุ ัมปง อุปาทายะ
ตะติยัมป อะหงั ภนั เต, ปพ พัชชัง ยาจาม,ิ อิมานิ กาสายานิ
วัตถานิ คะเหตวา, ปพพาเชถะ มงั ภันเต, อะนกุ มั ปง อุปาทายะ
ถา บวชเปน สามเณร ยกคำวา ละเภยยัง อปุ ะสมั ปะทงั ออกเสยี

มนตพธิ ี - หนาที่ 200
ในลำดับน้นั พระอุปชฌายะรบั เอาผาไตรจากผมู งุ บรรพชาวางไวต รง
หนา ตัก แลวกลา วสอนถงึ พระรัตนตรยั เปนตน และบอก ตะจะปญ จะกะกมั -
มัฏฐาน ใหว าตามไปทลี ะบท โดยอนุโลมและปฏโิ ลม ดงั นี้
เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ (อนโุ ลม)
ตะโจ ทันตา นะขา โลมา เกสา (ปฏิโลม)
ครัน้ สอนแลวพระอปุ ชฌายะชงั อังสะออกจากไตร สวมใหแลว สั่งให
ออกไปครองไตรจีวรตามระเบียบ ครั้นเสร็จแลวเขา ไปหาพระอาจารย รบั
เคร่อื งสกั การะถวายทา นแลวกราบ ๓ หน นัง่ คุกเขา ประนมมอื เปลงวาจา
ขอสรณะและศลี ดังน้ี

อะหงั ภันเต, สะระณะสลี ัง ยาจามิ
ทุติยมั ป อะหัง ภนั เต, สะระณะสลี งั ยาจามิ
ตะตยิ ัมป อะหัง ภนั เต, สะระณะสีลัง ยาจามิ

ลำดับนนั้ พระอาจารยก ลาวคำนมสั การนำใหผ ูมงุ บรรพชาวา ตามไป
ดงั น้ี

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสสะ
วา ๓ หน

แตน ัน้ ทา นจะสงั่ ดวยคำวา เอวัง วะเทหิ หรือ ยะมะหงั วะทามิ
ตัง วะเทหิ พึงรับวา อามะ ภันเต

ครน้ั แลวทานนำใหเปลง วาจาวา สรณคมนต ามไปทลี ะพากยดงั นี้
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆงั สะระณัง คัจฉามิ

มนตพิธี - หนาที่ 201
ทุตยิ มั ป พุทธัง สะระณัง คจั ฉามิ
ทุติยมั ป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทตุ ยิ ัมป สงั ฆงั สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป พุทธงั สะระณงั คัจฉามิ
ตะตยิ มั ป ธัมมัง สะระณงั คัจฉามิ
ตะตยิ มั ป สังฆงั สะระณงั คจั ฉามิ
เม่ือจบแลว ทา นบอกวา ติสะระณะคะมะนงั นฏิ ฐติ งั พึงรบั วา
อามะ ภันเต ลำดับนัน้ พระอาจารยจ ะบอกใหร ูว า การบรรพชาเปน
สามเณรสำเรจ็ ดวยสรณคมนเพยี งเทานี้ ทีน้นั พงึ สมาทานสิกขาบท ๑๐ ประการ
วา ตามทา นไปดังน้ี
ปาณาติปาตา เวระมะณี
อะทนิ นาทานา เวระมะณี
อะพรัหมะจะริยา เวระมะณี
มสุ าวาทา เวระมะณี
สรุ าเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี
วกิ าละโภชะนา เวระมะณี
นจั จะคีตะวาทิตะวิสกู ะทัสสะนา เวระมะณี
มาลาคนั ธะวเิ ลปะนะธาระณะมณั ฑะนะวิภูสะนฏั ฐานา เวระมะณี
อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี
ชาตะรูปะระชะตะปะฏิคคะหะณา เวระมะณี
อมิ านิ ทะสะ สิกขาปะทานิ สะมาทยิ ามิ ฯ (วา ๓ หน)

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 202

ในลำดับน้ัน สามเณรพงึ รับบาตร อมุ เขา ไปหาพระอปุ ช ฌายะใน

สังฆสันนบิ าตวางไวข า งตัวดา นซาย รบั เครอ่ื งสักการะถวายทา น แลวกราบ

๓ หน นง่ั คกุ เขา ประนมมอื กลาวคำขอนิสัย วาดงั นี้

อะหัง ภันเต, นสิ สะยัง ยาจามิ

ทตุ ิยมั ป อะหัง ภนั เต, นสิ สะยัง ยาจามิ

ตะตยิ ัมป อะหัง ภนั เต, นสิ สะยัง ยาจามิ

อปุ ช ฌาโย เม ภันเต, โหหิ วา ๓ หน

พระอุปช ฌายะกลาววา โอปายิกงั , ปะฏิรูปง, ปาสาทิเกนะ

สมั ปาเทหิ บทใดบทหนง่ึ พงึ รับวา สาธุ ภนั เต ทุกบทไป แตน ั้น

สามเณรพึงกลา วรับเปน ธุระใหทา นวาดงั นี้

อัชชะตคั เคทานิ เถโร, มยั หัง ภาโร, อะหัมป เถรสั สะ

ภาโร วา ๓ หน เสรจ็ แลว กราบลง ๓ หน

ลำดบั นนั้ พระอปุ ช ฌายะแนะนำสามเณรไปตามระเบียบแลว พระ

อาจารยผเู ปนกรรมวาจา เอาบาตรมสี ายคลองตวั ผมู ุง อุปสมบท บอกบาตร

และจีวร ผูมงุ อุปสมบทพึงรบั วา อามะ ภนั เต ๔ หนดงั น้ี

คำบอกบาตรจีวร คำรับ

๑. อะยันเต ปตโต อามะ ภันเต

๒. อะยงั สงั ฆาฏิ อามะ ภนั เต

๓. อะยัง อุตตะราสงั โค อามะ ภันเต

๔. อะยัง อันตะระวาสะโก อามะ ภันเต

มนตพธิ ี - หนาที่ 203

ตอจากน้นั พระอาจารยทา นบอกใหอ อกไปขางนอกวา คจั ฉะ

อะมมุ หิ โอกาเส ตฏิ ฐาหิ พึงถอยออกลกุ ขนึ้ เดินไปยนื อยูในทท่ี ่ีกำหนดไว

พระอาจารยทานแสดงสมมตติ นเปน ผูส อนซอม แลว ออกไปสวดถามอนั ตรา-

ยิกกรรม พึงรบั วา นตั ถิ ภนั เต ๕ หน อามะ ภนั เต ๘ หน ดงั น้ี

ถาม ตอบ

๑. กุฏฐงั นตั ถิ ภันเต

๒. คัณโฑ นตั ถิ ภันเต

๓. กลิ าโส นัตถิ ภนั เต

๔. โสโส นตั ถิ ภันเต

๕. อะปะมาโร นตั ถิ ภนั เต

๑. มะนุสโสสิ๊ อามะ ภันเต

๒. ปริโสสิ๊ อามะ ภนั เต

๓. ภุชสิ โสสิ๊ อามะ ภนั เต

๔. อะนะโณส๊ิ อามะ ภันเต

๕. นะสิ๊ ราชะภะโฏ อามะ ภนั เต

๖. อะนญุ ญาโตส๊ิ มาตาปตหู ิ อามะ ภนั เต

๗. ปะริปุณณะวีสะตวิ สั โสสิ๊ อามะ ภนั เต

๘. ปะรปิ ุณณันเต ปต ตะจีวะรงั อามะ ภนั เต

๑. กนิ นาโมสิ อะหงั ภนั เต........................

นามะ

๒. โก นามะ เต อุปชฌาโย อุปช ฌาโย เม ภนั เต

อายัสมา.............................

นามะ

มนตพิธี - หนา ที่ 204
ถาตอบพรอ มกนั ใหเปลยี่ น เม เปน โน
ชอ งท่ี...ไว พระอปุ ช ฌายะหรอื อาจารยทา นจะตั้งช่ืออง อปุ สัม-
ปทาเปกขะ กรอกลงชองใหไ วก อนวันบวช และชอ งท่ี ... ไวใ นชอ งชื่อของ
พระอปุ ชฌาย กเ็ ชน เดยี วกนั ใหก รอกตามชื่อของพระอุปช ฌายะ ซง่ึ ทานจะ
บอกและกรอกใหไ วกอนวันบวช
ครั้นสวดสอนซอมแลว ทา นกลับเขามาสวดขอเรยี กอปุ สัมปทาเปกขะ
เขามา อปุ สมั ปทาเปกขะ พงึ เขามาในสงั ฆสันนบิ าต กราบลงตรงหนา
พระอุปช ฌายะ ๓ หน แลวนง่ั คกุ เขา ประนมมอื เปลง วาจาขออปุ สมบท
วา ดังนี้
สังฆัมภันเต, อุปะสัมปะทงั ยาจาม,ิ อลุ ลมุ ปะตู มงั ภันเต,
สังโฆ อะนุกมั ปง อปุ ายทายะ
ทตุ ิยัมป ภันเต, สงั ฆงั อปุ ะสมั ปะทงั ยาจามิ, อุลลุปะตุ
มงั ภันเต, สงั โฆ อะนกุ มั ปง อุปทายะ
ตะติยมั ป ภันเต, สังฆงั อุปะสมั ปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ
มัง ภนั เต, สังโฆ อะนุกมั ปง อุปาทายะ
ถาวาพรอมกันใหเ ปล่ยี น ยาจามิ เปน ยาจามะ เปลยี่ น มัง
เปน โน
ในลำดับนั้น พระอปุ ชฌายะกลา วเผดียงสงฆแลว และพระอาจารย
สวดสมมตติ น ถามอนั ตรายิกธรรมอปุ สัมปทาเปกขะ พึงรบั วา นัถติ ภันเต
๕ หน อามะ ภนั เต ๘ หน ตอบชอื่ ตนและอปุ ช ฌายะรวม ๒ หนโดย
นัยหนหลงั แตน น้ั นั่งฟง ทานสวดกรรมวาจาอุปสมบทไปจนจบ คร้นั จบ
แลวทา นเอายาตรออกจากตัง แลวพึงกราบ ๓ หน นงั่ พับเพียบประนมมอื น่งั
พระอปุ ช ฌายะบอกอนศุ าสนไปจนจบแลว รับวา อามะ ภนั เต แลว กราบ
๓ หน ถวายไทยทาน กรวดนำ้ เหมอื นกลา วแลว ในแบบ อุกาสะ

จบวธิ อี ปุ สมบทแบบเอสาหัง

มนตพิธี - หนาท่ี 205
คำขอบรรพชานาคคู (แบบใหม)
(จะกลา วแตเ ฉพาะทีแ่ ปลก สวนทแี่ ปลกและคำอธบิ ายวธิ ีตา ง ๆ ซง่ึ เหมือนกนั
๒ วิธี ทกี่ ลา วมาแลว จะไมกลาวอกี ขอใหพ ลิกกลับไปศกึ ษาใน ๒ วธิ ีนนั้ แมคำขอ
อุปสมบท
พรอ มกัน (สังฆมั ภันเต) กไ็ ดอธบิ ายไวแลวทา ยคำขออปุ สมบทแบบ เอสาหัง)
เอเต มะยงั ภันเต, สจุ ริ ะปะรนิ พิ พุตมั ป, ตัง ภะคะวนั ตงั
สะระณงั คัจฉามะ, ธัมมัญจะ ภิกขสุ งั ฆัญจะ, ละเภยยามะ มะยัง
ภันเต, ตสั สะ ภะคะวะโต, ธมั มะวนิ ะเย ปพ พชั ชงั , ละเภยยามะ
อุปะสมั ปะทงั ,
ทตุ ิยัมป มะยงั ภันเต, สุจริ ะปะรนิ ิพพุตัมป, ตัง ภะคะวนั ตัง
สะระณัง คัจฉามะ, ธมั มญั จะ ภกิ ขุสังฆญั จะ, ละเภยยามะ มะยัง
ภนั เต, ตสั สะ ภะคะวะโต, ธัมมะวนิ ะเย ปพพชั ชัง, ละเภยยามะ
อปุ ะสัมปะทัง,
ตะติยมั ป มะยัง ภันเต, สจุ ริ ะรินพิ พตุ มั ป, ตงั ภะคะวนั ตงั
สะระณงั คจั ฉามะ , ธัมมัญจะ ภิกขุสงั ฆญั จะ, ละเภยยามะ มะยัง
ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต, ธมั มะวนิ ะเย ปพพัชชัง, ละเภยยามะ
อุปะสัมปะทัง,
มะยัง ภนั เต, ปพ พชั ชัง ยาจามะ, อิมานิ กาสายานิ วตั ถานิ
คะเหตวา, ปพพาเชถะ โน ภนั เต, อะนุกัมปง อปุ าทายะ,
ทุติยมั ป มะยงั ภันเต, ปพพัชชัง ยาจามะ, อิมานิ กาสายานิ
วตั ถานิ คะเหตวา, ปพพาเชถะ โน ภันเต, อะนกุ มั ปง อุปาทายะ,
ตะตยิ ัมป มะยงั ภันเต, ปพพัชชัง ยาจามะ, อิมานิ กาสายานิ
วัตถานิ คะเหตวา, ปพพาเชถะ โน ภนั เต, อะนกุ มั ปง อุปาทายะ,

มนตพิธี - หนาที่ 206
คำขอนิสสัยนาคคู
มะยัง ภนั เต, นิสสะยงั ยาจามะ,
ทุตยิ มั ป มะยงั ภนั เต นิสสะยงั ยาจามะ,
ตะติยัมป มะยงั ภันเต, นิสสะยงั ยาจามะ,
อุปช ฌาโย โย ภันเต โหหิ (๓ หน)
อชั ชะตคั เคทานิ เถโร, อมั หากงั ภาโร,
มะยมั ป เถรสั สะ ภารา (๓ หน)

คำขออปุ สมบทพรอมกนั
สงั ฆมั ภนั เต, อุปะสัมปะทงั ยาจามะ, อลุ ลุมปะตุ โน ภนั เต,
สงั โฆ อะนกุ มั ปง อุปาทายะ.
ทุติยัมป ภนั เต, สังฆงั อุปะสัมปะทงั ยาจามะ, อลุ ลุมปะตุ
โน ภนั เต, สงั โฆ อะนกุ มั ปง อุปาทายะ,
ตะตยิ ัมป ภันเต, สงั ฆัง อุปะสัมปะทงั ยาจามะ, อุลลมุ ปะตุ
โน ภนั เต, สงั โฆ อะนกุ ัมปง อุปาทายะ.

คาถาคัดเลอื ด
อะวะสุละตุเต สะรีเรมงั สงั โลหิตัง.

คาถาน้ีคดั เลอื ดหยุดแล
วะโรวะรัญู วะระโท วะราหะโร.
คาถาน้ี ถาเปนบาดแผล ใหเ สกประสานหามเลือด
และถา ลูกออกยากหรอื รกไมออกก็ดี ใชเสกน้ำมนตใหก ิน

สะเดาะออกมา แล.

มนตพ ิธี - หนา ท่ี 207
แบบสวดกรรมวาจากในอุปสมบทกรรม

สำหรับนาคเดี่ยว
เมอ่ื ผมู ุงอุปสมบทออกไปยืน ขา งนอกเรียบรอยแลว พระกรรม-
วาจาอาจารย (คสู วด) จึงน่งั คุกเขา ประนมมือ กราบพระ ๓ ครง้ั แลว เปลง
คำนมสั การพระรัตนตรัย
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธสั สะ
นะโม ตสั สะ, ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พุทธสั สะ,
นะโม ตสั สะ, ภะคะวะโต, อะระหะโต สัมมา, สมั พุทธสั สะ.

คำสมมตติ นเพอ่ื สอนซอ ม
สมมตนิ าคชื่อ โอภาโส สมมตพิ ระอุปช ฌายะช่อื โสภะโณ
สณุ าตุ เม ภนั เต สังโฆ, โอภาโส, อายสั มะโต โสภะณัสสะ
อปุ ะสัมปะทาเปกโข, ยะทิ สงั ฆสั สะ ปต ตะกลั ลัง, อะหัง โอภาสัง
อะนสุ าเสยยัง,

คำสอนซอ ม
สุณะส๊ิ โอภาสะ, อะยันเต สัจจะกาโล ภตู ะกาโล, ยัง ชาตงั ตงั
สังฆะมัชเฌ ปุจฉันเต, สนั ตงั อตั ถตี ิ วัตตพั พงั , อะสันตัง นัตถีติ

มนตพิธี - หนาท่ี 208

วตั ตัพพัง, มา โข วิตถาส,ิ มา โข มงั กุ อะโหสิ, เอวันตัง ปจุ ฉสิ สันต,ิ

สนั ต๊ิ เต เอวะรปู า อาพาธา.

ถาม ตอบ

กฏุ ฐัง นตั ถิ ภนั เต

คัณโฑ นัตถิ ภนั เต

กิลาโส นัตถิ ภันเต

โสโส นตั ถิ ภันเต

อะปะมาโร นัตถิ ภันเต

มะนสุ โสสิ๊ อามะ ภันเต

ปรโิ สสิ๊ อามะ ภนั เต

ภุชิสโสสิ๊ อามะ ภันเต

อะนะโณส๊ิ อามะ ภนั เต

นะสิ๊ ราชะภะโฏ อามะ ภันเต

อะนุญญาโตส๊ิ มาตาปตูหิ อามะ ภันเต

ปะรปิ ณุ ณะวีสะติวัสโสสิ๊ อามะ ภนั เต

ปะรปิ ณุ ณันเต ปต ตะจีวะรัง อามะ ภนั เต

กนิ นาโมสิ อะหงั ภันเต โอภาโส นามะ

โก นามะ เต อปุ ชฌาโย อุปชฌาโย เม ภนั เต อายสั มา

โสภะโณ นามะ

มนตพ ธิ ี - หนา ที่ 209
คำขอเรียกอุปสัมปทาเปกขะเขามา
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, โอภาโส, อายสั มะโต โสภะณสั สะ
อปุ ะสมั ปะทาเปกโข, อะนุสิฏโฐ โส มะยา, ยะทิ สังฆัสสะ ปตตะกลั ลัง,
โอภาโส อาคัจเฉยยะ. (คำเรียก) อาคจั ฉาหิ
คำพระอปุ ช ฌายะกลาวเผดยี งสงฆ
อทิ านิ โข อาวุโส (ภันเต) อะยงั โอภาโส มานะ สามะเณโร
มะมะ อปุ ะสมั ปะทาเปกโข อุปะสมั ปะทงั อากังขะมาโน, สงั ฆัง ยาจะติ,
อะหงั สพั พะมมิ งั สงั ฆงั อัชเฌสามิ, สาธุ อาวโุ ศ (ภันเต) สัพโพยัง
สังโฆ, อมิ ัง โอภาสงั นามะ สามะเณรงั , อันตะราานิเก ธมั เม ปุจฉติ วา,
ตตั ถะ ปตตะกลัลตตัง ญตั วา. ญัตติจะตุตเถนะ กมั เมนะ อะกปุ เปนะ
ฐานาระเหนะ อุปะสมั ปาเทมาติ, กัมมะสนั นฏิ ฐานงั กะโรต,ุ ที่ประชมุ
สงฆร ับพรอ มกนั วา สาธุ
หมายเหตุ บทวา อาวโุ ส นั้น ถา มภี ิกษุแกพ รรษากวา อุปช ฌาย
รว มประชุมอยดู วย พึงใช ภนั เต แทน

คำสมมติตนเพือ่ ถามอันตรายกิ ธรรม
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง โอภาโส, อายสั มะโต
โสภะณัสสะ อุปะสมั ปะทาเปกโข, ยะทิ สงั ฆัสสะ ปต ตะกัลลัง,
อะหงั โอภาสัง อันตะรายเิ ก ธมั เม ปุจเฉยยงั .

มนตพิธี - หนา ท่ี 210
คำถามอนั ตรายิกธรรม
สุณะส๊ิ โอภาสะ, อะยัมเต สจั จะกาโล ภูตะกาโล, ยัง
ชาตัง ตัง ปจุ ฉาม,ิ สันตงั อัตถีติ วัตตัพพัง, อะสันตัง นัตถีติ วตั ตัพพัง,
สันติ เต เอวะรูปา อาพาธา ? (ถาม) กฏุ ฐงั ฯลฯ โก นามะ เต
อุปชฌาโย, (ตอบ) นัตถิ ภันเต ฯลฯ อปุ ช ฌาโย เม ภนั เต อายัสมา
โสภะโณ นามะ.

กรรมวาจาอปุ สมบท
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง โอภาโส, อายัสมะโต
โสภะณสั สะ อุปะสัมปะทาเปกโข, ปะรสิ ทุ โธ อันตะรายเิ กหิ ธมั เมหิ,
ปะรปิ ณุ ณัสสะ ปตตะจีวะรงั , โอภาโส สงั ฆงั อปุ ะสมั ปะทัง ยาจะติ,
อายัสมะตา โสภะเณนะ อปุ ช ฌาเยนะ, ยะทิ สังฆสั สะ ปตตะกัลลงั
สังโฆ โอภาสัง อปุ ะสมั ปทาเทยยะ, อายสั มะตา โสภะเณนะ
อปุ ช ฌาเยนะ, เอสา ญตั ติ.
สุณาตุ เม ภนั เต สงั โฆ, อะยงั โอภาโส, อายสั มะโต
โสภะณสั สะ อปุ ะสมั ปะทาเปกโข, ปะริสทุ โธ อันตะรายิเกหิ ธัมเมห,ิ
ปะรปิ ุณณัสสะ ปตตะจีวะรงั , โอภาโส สังฆงั อุปะสมั ปะทัง ยาจะติ,
อายัสมะตา โสภะเณนะ อุปช ฌาเยนะ, สังโฆ โอภาสัง อปุ ะสัมปาเทต,ิ
อายสั มะตา โสภะเณนะ อุปช ฌาเยนะ, ยัสสายัสมะโต ขะมะติ,
โอภาสัสสะ อปุ ะสัมปะทา, อายัสมะตา โสภะเณนะ อุปช ฌาเยนะ,
โส ตณุ หสั สะ, ยัสสะ นะ ขะมะต,ิ โส ภาเสยยะ.

มนตพ ิธี - หนาที่ 211
ทุติยมั ป เอตะมตั ถัง วะทาม,ิ สณุ าตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง
โอภาโส, อายสั มะโต โสภะณสั สะ อปุ ะสมั ปะทาเปกโข ฯลฯ โส
ภาเสยยะ.
ตะติยัมป เอตะมตั ถงั วะทามิ, สณุ าตุ เม ภนั เต สังโฆ ฯลฯ
โสภาเสยยะ.
อปุ ะสัมปนโน สงั เฆนะ, โอภาโส อายัสมะตา โสภะเณนะ
อุปช ฌาเยนะ ขะมะติ สงั ฆสั สะ, ตัสมา ตณุ ห,ี เอวะเมตัง, ธาระยาม,ิ
หมายเหตุ อนสุ าวนาท่ี ๒ ท่ี ๓ ซง่ึ ฯลฯ ไวนั้นพงึ สวดเต็มความ
เหมือนอนุสาวนาท่ี ๑

สำหรับนาคคู
อปุ สมั ปทาเปกขะมีหลายรปู อุปสมบทพรอมกันไดค ราวละ ๒ รปู
๓ รปู แตใ หมีพระอุปช ฌายะองคเ ดียวกนั ได คำสวดกรรมวาจา จึงตองเปลยี่ น
วภิ ัตติ วจนะ ใหถูกตองตามหลักบาลดี งั นี,้ สมมตินาคช่อื ปุณโณ, สุโภ,
สมมติพระอุปช ฌายะชื่อ มะนุสสะนาโค

คำสวดสมมตแิ ละคำสอนซอ ม
สณุ าตุ เม ภนั เต สงั โฆ, ปณุ โณ จะ สุโก จะ อายัสมะโต
มะนสุ สะนาคัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, ยะทิ สังฆสั สะ ปต ตะกลั ลงั ,
อะหัง ปุณณญั จะ สภุ ัญจะ อะนสุ าเสยยงั
สุณะสิ ปุณณะ อะยนั เต สัจจะกาโล ภตู ะกาโล, ยงั ชาตงั ฯลฯ
อุปช ฌาโย เม ภันเต อายสั มา มะนุสสะนาโค นามะ (ถาถามทลี ะรูป
ขอ ความเหมอื นกนั )

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 212
คำขอเรียกอุปสมั ปทาเปกขะเขามา
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, ปณุ โณ จะ สุโภ จะ อายัสมะโต
มะนุสสะนาคสั สะ อปุ ะสัมปะทาเปกขา, อะนสุ ฏิ ฐา เต มะยา, ยะทิ
สังฆัสสะ ปต ตะกัลลัง, ปณุ โณ จะ สโุ ภ จะ อาคจั เฉยยัง (คำเรียก)
อาคัจฉะถะ
คำสมมติและคำถามอันตรายิกธรรม
สณุ าตุ เม ภนั เต สังโฆ, อะยญั จะ ปุณโณ อะยัญจะ
สุโภ, อายสั มะโต มะนสุ สะนาคสั สะ อปุ ะสมั ปะทาเปกขา, ยะทิ
สงั ฆสั สะ ปต ตะกลั ลงั , อะหงั ปุณณัญจะ สุภญั จะ อนั ตะรายิเก
ธมั เม ปจุ เฉยยัง

(แลว สอบถามทลี ะรปู )
คำอุปช ฌายะพงึ กลาวเผดียงสงฆ
อิทานิ โข อาวุโส (ภนั เต) อะยญั จะ ปณุ โณ นามะ สามะเณโร,
อะยัญจะ สโุ ภ นามะ สามะเณโร, มะมะ อปุ ะสัมปะทาเปขา,
อปุ ะสมั ปะทัง อากังขะมานา, สงั ฆงั ยาจนั ต,ิ อะหัง สพั พะมิมัง
สังฆงั อัชเฌสามิ, อาวโุ ส (ภนั เต) สพั โพยัง สังโฆ, อิมญั จะ
ปุณณัง นามะ สามะเณรัง, อิมัญจะ สุภัง นามะ สามะเณรัง,
อนั ตะรายเิ ก ธัมเม ปจุ ฉติ วา, ตัตถะ ปต ตะกลั ลัตตัง ญตั วา,
ญัตตจิ ะตตุ เถนะ กัมเมนะ อะกปุ เปนะ ฐานาระเหนะ อุปะสัมปาเทมาต,ิ
กมั มะสันนฏิ ฐานัง กะโรต.ุ
หมายเหตุ บทวา อาวุโส น้ัน ถามีพระภกิ ษุแกพ รรษกวา อปุ ชฌายะ
รว มประชุมอยูดว ย พึงใช ภันเต แทน

มนตพ ิธี - หนาที่ 213
คำสวดกรรมวาจาอปุ สมบท
สณุ าตุ เม ภนั เต สงั โฆ, อะยญั จะ ปุณโณ, อะยญั จะ สุโภ,
อายัสมะโต มะนุสสะนาคสั สะ อปุ ะสมั ปะทาเปกขา, ปะริสุทธา
อันตะรายิเกหิ ธมั เมหิ, ปะรปิ ณุ ณะมิเมสัง ปตตะจีวะรัง, ปณุ โณ
จะ สโุ ก จะ สังฆงั อปุ ะสมั ปะทงั ยาจันต,ิ อายสั มะตา มะนุสสะนาเคนะ
อุปชฌาเยนะ, ยะทิ สังฆัสสะ ปตตะกลั ลัง, สงั โฆ ปุณณญั จะ
สภุ ญั จะ อุปะสัมปาเทยยะ, อายัสมะตา มะนสุ สะนาเคนะ อปุ ชฌาเยนะ,
เอสา ญัตต.ิ
สณุ าตุ เม ภนั เต สงั โฆ, อะยญั จะ ปุณโณ อะยัญจะ
สุโภ, อายสั มะโต มะนสุ สะนาคสั สะ อุปะสมั ปะทาเปกขา, ปะรสิ ุทธา
อนั ตะรายเิ กหิ ธมั เมห,ิ ปะรปิ ณุ ณะมิเมสงั ปต ตะจีวะรงั , ปณุ โณ
จะ สโุ ภ จะ สังฆัง อุปะสมั ปะทงั ยาจันต,ิ อายัสมะตา มะนสุ สะนาเคนะ
อปุ ช ฌาเยนะ. สังโฆ ปุณณญั จะ สุภญั จะ อปุ ะสมั ปาเทต,ิ
อายสั มะตา มะนสุ สะนาเคนะ อุปช ฌาเยนะ. ยัสสายัสมะโต ขะมะต,ิ
ปณุ ณสั สะ จะ สภุ สั สะ จะ อุปะสัมปะทา, อายัสมะตา มะนสุ สะนาเคนะ
อปุ ชฌาเยนะ โส ตุณหัสสะ ยสั สะ นะ ขะมะติ โส ภาเสยยะ,
ทตุ ยิ มั ป เอตะมัตถัง วะทามิ, สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ,
อะยัญจะ ปุณโณ, อะยญั จะ สโุ ภ, อายสั มะโต มะนสุ สะนาคสั สะ
อปุ ะสมั ปะทาเปกขา, ฯลฯ โส ภาเสยยะ.
ตะติยัมป เอตะมตั ถงั วะทามิ, สุณาตุ เม ภนั เต สงั โฆ,
ฯลฯ โส ภาเสยยะ.
อุปะสัมปน นา สงั เฆนะ, ปณุ โณ จะ สโุ ภ จะ, อายัสมะตา
มะนสุ สะนาเคนะ อปุ ชฌาเยนะ, ขะมะติ สังฆัสสะ, ตสั มา ตุณหี,
เอวะเมตงั ธาระยามิ. (ในทลี่ งเครอื่ งหมาย ฯลฯ ไวน ้ัน ใหสวดเต็มความ)

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 214
คำบอกอนุศาสน

(นิสัย ๔)
อะนญุ ญาสิ โข ภะคะวา อุปะสมั ปาเทตวา จัตตาโณ นสิ สะเย
จตั ตาริ จะ อะกะระณยี านิ อาจิกขติ งุ
๑. ปณฑิยาโลปะโภชะนัง นสิ สายะ ปพพัชชา, ตัตถะ เต
(ถา หลายรปู เปล่ยี น เต เปน โว) ยาวะซีวงั อุสสาโห กะระณโี ย.
อะตเิ รกะลาโภ, สังฆะภตั ตัง อเุ ทสะภัตตงั นิมนั ตะนงั สะลกะภัตตงั
ปก ขกิ งั อโุ ปสะถิกงั ปาฏปิ ะทกิ ัง.
๒. ปง สุกลู ะจวี ะรัง นิสสายะ ปพพัชชา, ตัตถะ เต (ถาหลายรูป
เปล่ียน เต เปน โว) ยาวะชีวงั อุสสาโห กะระณีโย อะติเรกะลาโภ,
โขมัง กัปปาสกิ งั โกเสยยงั กัมพะลงั สาณงั ภงั คงั ,
๓. รุกขะมูละเสนาสะนัง นิสสายะ ปพ พัชชา, ตตั ถะ เต
(ถาหลายรูปเปล่ยี น เต เปน โว) ยาวะชวี งั อุสสาโห กะระณีโย.
อะตเิ รกะลาโภ, วหิ าโร อัฑฒะโยโค ปาสาโท หมั มยิ ัง คุหา.
๔. ปตู ิมตุ ตะเภสัชชงั นสิ สายะ ปพพัชชา, ตัตถะ เต
(ถา หลายรปู เปลี่ยน เต เปน โว) ยาวะชีวงั อุสสาโห กะระณโี ย.
อะตเิ รกะลาโภ. สปั ป นะวะนีตงั เตลัง มะธุ ผาณติ งั .

(อกรณยี กจิ ๔)
๑. อปุ ะสัมปนเนนะ ภกิ ขุนา เมถนุ โน ธมั โม นะ ปะฏิเสวิตัพโพ
อนั ตะมะโส ติรจั ฉานะคะตายะป.
โย ภิกขุ เมถยุ ัง ธัมมัง ปะฏเิ สวะติ, อสั สะมะโณ
โหติ อะสักยะปตุ ติโย.

มนตพิธี - หนา ที่ 215
เสยยะถาป นามะ ปรุ โิ ส สีสจั ฉินโน อะภพั โพ เตนะ
สะรรี ะพนั ธเนนะ ชีวติ งุ ,
เอวะเมวะ ภกิ ขุ เมถุนัง ธมั มงั ปะฏเิ สวติ วา, อสั สะมะโณ
โหติ อะสักยะปตุ ตโิ ย.
ตนั เต (ถาหลายรูปเปลี่ยน ตันเต เปน ตงั โว) ยาวะชวี ัง อะกะ-
ระณียงั
๒. อุปะสมั ปนเนนะ ภกิ ขนุ า อะทนิ นงั เถยยะสงั ขาตัง นะ
อาทาตพั พัง, อันตะมะโส ติณะสะลากงั อปุ าทายะ.
โย ภิกขุ ปาทงั วา ปาทาระหงั วา อะติเรกะปาทงั วา อะทนิ -
นัง เถยยะสงั ขาตัง อาทิยะติ. อสั สะมะโณ โหติ อะสักยะปตุ ตโิ ย.
เสยยะถาป นามะ ปณ ฑปุ ะลาโส พนั ธะนา ปะมตุ โต อะภพั โพ
หะริตัตตายะ.
เอวะเมวะ ภกิ ขุ ปาทงั วา ปาทาระหัง วา อะตเิ รกะปาทัง วา
อะทินนงั เถยยะสงั ขาตงั อาทิยตวา อสั สะมะโณ โหติ อะสักยะปตุ -
ตโิ ย.
ตันเต (ถาหลายรปู เปลย่ี น ตันเต เปน ตงั โว) ยาวะชวี งั อะกะระ-
ณยี งั .
๓. อุปะสมั ปนเนนะ ภกิ ขนุ า สัญจิจจะ ปาโณ ชวี ติ า นะ
โวโรเปตพั โพ. อันตะมะโส กนุ ถะกปิ ลลกิ ัง อุปาทายะ.
โย ภิกขุ สญั จิจจะ มะนสุ ะวคิ คะหัง ชวี ติ า โวโรเปต.ิ
อันตะมะโส คัพภะปาตะนัง อปุ าทายะ, อสั สะมะโณ โหติ อะสักยะ-
ปตุ ตโิ ย.

มนตพธิ ี - หนา ท่ี 216
เสยยะถาป นามะ ปถุ ุสิลา ทวธิ า ภินนา อัปปะฏิสนั ธิกา โหติ,
เอวะเมะ ภกิ ขุ สญั จจิ จะ มะนสุ สะวคิ คะหงั ชีวิตา โวโร-
เปตวา, อัสสะมะโณ โหติ อะสักยะปุตตโิ ย.
ตนั เต (ถา หลายรปู เปลี่ยน ตันเต เปน ตัง โว) ยาวะชวี ัง อะกะระ-
ณยี งั .
๔. อุปะสัมปนเนนะ ภกิ ขนุ า อตุ ตะริมะนุสสะธมั โม นะ อลุ ละ-
ปตัพโพ อันตะมะโส สญุ ญาคาเร อะภิระมามตี ิ.
โย ภิกขุ ปาปจโฉ อจิ ฉาปะกะโต อะสันตงั อะภูตัง อุตตะ-
รมิ ะนสุ สะธมั มงั อลุ ละปะติ, ฌานัง วา วโิ มกขงั วา สะมาธงิ วา สะมา-
ปตติง วา มคั คัง วา ผะลงั วา, อัสสะมะโณ โหติ อะสักยะปตุ ติโย.
เสยยะถาป นามะ ตาโล มัตถะกัจฉินโน อะภพั โพ ปนุ ะ วิรุฬ-
หยิ า,
เอวะเมวะ ภิกขุ ปาปจโฉ อจิ ฉาปะกะโต อะสนั ตงั อะภูตัง
อตุ ตะรมิ ะนสุ สะธมั มัง อุลละปตวา อัสสะมะโณ โหติ อะสกั ยะปตุ ตโิ ย
ตันเต (ถาหลายรูปเปลย่ี น ตันเต เปน ตัง โว) ยาวะชวี ัง อะกะระ-
ณียนั ติ.
อะเนกะปะรยิ าเยนะ โข ปะนะ เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา
ปสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพทุ เธนะ, สลี ัง สมั มะทักขาตงั สะมาธิ
สมั มะทักขาโต ปญญา สัมมะทักขาตา.

มนตพ ิธี - หนา ที่ 217
ยาวะเทวะ ตสั สะ มะทะนมิ มะทะนัสสะ ปป าสะวนิ ะยัสสะ
อาละยะสะมคุ ฆาตสั สะ วฏั ป จเฉทัสสะ ตัณหกั ขะยสั สะ วริ าคสั สะ
นิโรธัสสะ นพิ พานัสสะ สจั ฉกิ ิริยายะ.
ตตั ถะ สีละปะริภาวโิ ต สะมาธิ มะหปั ผะโล โหติ มะหานสิ ังโส
สะมาธปิ ะริภาวติ า ปญญา มะหัปผะลา โหติ มะหานสิ ังสา
ปญญาปะรภิ าวติ งั จติ ตัง สมั มะเทวะ อาสะเวหิ วมิ ุจจะติ
เสยยะถีทัง. กามาสะวา ภะวาสะวา อะวิชชาสะวา.
ตัสมาติหะ เต (ถาหลายรูปเปลยี่ น เต เปน โว ) อมิ ัสมิง ตะถา-
คะตปั ปะเวทเิ ต ธมั มะวินะเย, สกั กจั จัง อะธิสีละสิกขา สกิ ขติ ัพพา,
อะธิจติ ตะสกิ ขา สกิ ขติ พั พา, อะธิปญ ญาสกิ ขา สิกขิตัพพา.
ตตั ถะ อัปปะมาเทนะ สมั ปาเทตัพพงั .

ยาแกพ ิษคางคก

คางคกขว นกาย พษิ รายนักหนา

ตัดตนบอนมา เอาโคนเผาไฟ

ขา งปลายนำ้ ฉี่ จงจีป้ ากแปล

ถอนแกพษิ หาย

มนตพธิ ี - หนาท่ี 218
คำขอบวชชี
เอสาหัง ภนั เต, สจุ ริ ะปะรินิพพตุ มั ป, ตัง ภะคะวันตัง สะระณงั
คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภกิ ขุสงั ฆัญจะ, ปพ พชั ชงั มงั ภันเต, สังโฆ ธาเรตุ
อัชชะตัคเค ปาณเุ ปตัง, สะระณงั คะตงั .

คำแปล
ขาแตท า นผเู จรญิ ขา พเจา ขอถงึ สมเดจ็ พระผมู พี ระภาคเจา แมเ สด็จ
ดับขนั ธปรนิ ิพพานนานแลว กับทง้ั พระธรรมและพระสงฆว าเปนสรณะทพ่ี งึ่ ที่
ระลึก ขอพระสงฆจงจำขา พเจา ไววาเปนผูบวชในพระธรรมวนิ ยั ผูถึงพระ
รตั นตรยั เปน สรณะตลอดชีวิต ตัง้ แตบ ัดนเี้ ปน ตน ไป

คำอาราธนาศลี
มะยัง ภันเต ตสิ ะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สลี านิ ยาจามะ (๓ ครั้ง)
(ถาคนเดียววา อะหงั แทน มะยงั และ ยาจามิ แทน ยาจามะ)

นะมะการคาถา
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

(๓ ครั้ง)

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 219
ไตรสรณาคมน
พทุ ธัง สะระณัง คจั ฉามิ

ธมั มงั สะระณงั คัจฉามิ
สงั ฆัง สะระณัง คจั ฉามิ
ทตุ ิยมั ป พทุ ธัง สะระณงั คัจฉามิ
ทตุ ิยัมป ธังมัง สะระณงั คัจฉามิ
ทตุ ยิ ัมป สงั ฆงั สะระณงั คัจฉามิ
ตะตยิ มั ป พุทธัง สะระณงั คจั ฉามิ
ตะติยัมป ธัมธัง สะระณงั คัจฉามิ
ตะติยมั ป สังฆงั สะระณัง คัจฉามิ
(พระทา นวา ) ตสิ ะระณะ คะมะนงั นิฏฐิตัง (รบั วา) อามะ ภนั เต.

คำสมาทานศีล
๑. ปาณาตปิ าตา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทิยามิ (ขา พเจา
สมาทานซ่งึ สกิ ขาบท คอื เวนจากฆา สตั วด วยตนเองและไมใ ชใหผอู นื่ ฆา)
๒. อะทนิ นาทานา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ (ขาพเจา
สมาทานซึ่งสกิ ขาบท คือ เวนจากลกั , ฉอ ของผูอน่ื ดวยตนเองและไมใชให
ผอู นื่ ลกั ฉอ)
๓. อะพรหั มะจะรยิ า เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ
(ขาพเจา สมาทานซึง่ สกิ ขาบท คอื เวนจากอสัทธรรม กรรมอนั เปน ขาศกึ แก
พรหมจรรย)

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 220
๔. มสุ าวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ (ขา พเจา
สมาทานซ่งึ สกิ ขาบท คอื เวน จากพูดเทจ็ คำไมเปนจริง และคำลอลวง
อำพรางผูอืน่ )
๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั
สะมาทิยามิ (ขา พเจาสมาทานซึ่งสกิ ขาบท คอื เวน จากการดืม่ กินสุรา และ
เมรยั เครอื่ งดองของทำใจใหค ลง่ั ไคลตา ง ๆ)
๖. วกิ าละโภชะนา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทยิ ามิ (ขาพเจา
สมาทานซง่ึ สกิ ขาบท คอื เวนจากบรโิ ภคอาหารในเวลาวกิ าล)
๗. นจั จะคีตะวาทติ ะวสิ กู ะทสั สะนา มาลาคนั ธะวิเลปะนะธา-
ระณะ มณั ฑะนะวภิ ูสะนัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทยิ ามิ
(ขา พเจา สมาทานซง่ึ สิกขาบท คือ เวน จากดู ฟง ฟอ นรำ ขบั รองและประโคม
เครือ่ งดนตรีตาง ๆ และดกู ารเลน ทีเ่ ปนขา ศึกแกก ุศล และทัดทรงตกแตง รา ง
กายดว ยเคร่อื งประดับและดอกไมข องหอม เครอ่ื งทาเครือ่ งยอม ผัดผดิ ใหง าม
ตา ง ๆ )
๘. อจุ จาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมา-
ทยิ ามิ (ขาพเจาสมาทานซึง่ สกิ ขาบท คอื เวนจากนง่ั นอนเหนือเตยี ง ต่งั มี
เทา สูงเกินประมาณ และทีน่ ่ัง ท่นี อนอนั สูงใหญ ภายในใสนุนและสำสี อาสนะ
อนั วจิ ิตรไปดวยลวดลายงามดว ยเงินทองตา ง ๆ)

อิมานิ อฏั ฐะ สกิ ขาปะทานิ สะมาทิยามิ (๓ ครัง้ )

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 221
กฐนิ
คำถวายผากฐิน
อมิ ัง ภนั เต, สะปะรวิ ารงั , กะฐินะจีวะระทสุ สงั , สังฆัสสะ,
โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, สงั โฆ, อิมัง, สะปะรวิ ารัง, กะฐินะ-
ทสุ สงั , ปะฏิคคัณหาต,ุ ปะฏิคคะเหตวา จะ, อมิ นิ า ทุสเสนะ, กะฐนิ ัง,
อตั ถะระตุ, อมั หากงั , ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ,
คำแปล
ขาแตพ ระสงฆผ ูเจริญ ขาพเจาทัง้ หลาย ขอนอ มถวาย ผากฐินจวี ร
กับท้งั บริวารน้ี แกพ ระสงฆ ของพระสงฆจ งรบั ผา กฐิน กับทัง้ บรวิ ารน้ี ของ
ขาพเจา ทง้ั หลาย รับแลว จงกราบกฐิน ดว ยผา นี้ เพ่ือประโยชนและความสุข
แกขาพเจาท้งั หลาย ส้นิ กาลนาน เทอญ.

คำอปโลกนกฐิน
แบบ ๒ รปู

รปู ท่ี ๑
ผา กฐินทานกับทงั้ ผาอานิสงั สบริวารทัง้ ปวงนี้ เปนของ...............

พรอ มดว ย..............ผูประกอบดว ยศรทั ธา อตุ สาหะพรอ มเพรยี งกนั
นำมาถวาย แดพ ระภิกษุสงฆผ ูอยูจ ำพรรษาถวนไตรมาสในอาวาสนี้

กแ็ ลผากฐินทานนี้ เปนของบรสิ ุทธ์ิ ดุจเล่ือนลอยมาโดยนภากาศ

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 222
แลวแลตกลงในทปี ระชุมสงฆ จะไดจำเพาะเจาจงลงวา เปนของพระ
ภิกษุรปู ใดรูปหน่ึงก็หามิได มพี ระบรมพุทธานุญาตไววา ใหพระสงฆท ง้ั
ปวงยอมอนุญาตใหแกภกิ ษุรปู หน่งึ เพ่อื จะทำซึ่งกฐนิ นัตถารกิจ ตามพระ
บรมพุทธานุญาต และมีคำพระอรรถกถาจารย ผรู ูพระบรมพุทธาธิบาย
สงั วรรณนาไวว า ภกิ ษรุ ปู ใดประกอบดวยศลี สตุ าธคิ ุณ มสี ติปญ ญา
สามารถ รธู รรม ๘ ประการ มีบพุ กิจ เปน ตน ภิกษุรูปน้ันจงึ
สมควร เพ่อื จะกระทำกฐนิ นตั ถารกิจ ตามพระบรมพุทธานุญาตได

บดั น้ี พระสงฆท ง้ั ปวง จะเห็นสมควรแกภกิ ษรูปใด จงพรอม
กันยอมอนญุ าตใหแ กภกิ ษรุ ปู น้นั เทอญ.

(ไมตอ ง สาธ)ุ

รปู ท่ี ๒
ผากฐินทาน กบั ทงั้ ผา อานสิ งั สบรวิ ารทง้ั ปวงนี้ ขา พเจา พิจารณา

เหน็ สมควรแก. ..................เปน ผูมสี ตปิ ญญาสามารถ เพอ่ื กระทำกฐนิ
นัตถารกิจใหถ ูกตองตามพระบรมพุทธานญุ าตได ถาพระภิกษรุ ปู ใดเห็น
ไมสมควรทกั ทว งขึ้นในทา มกลางระหวางสงฆ (หยดุ นดิ หนง่ึ ) ถา เหน็
สมควรแลว ไซรจ งใหสัททสัญญาสาธกุ าระขึน้ ใหพ รอ มกนั เทอญ.

(สาธ)ุ

มนตพธิ ี - หนาที่ 223
คำอุปโลกนก ฐิน

แบบ ๔ รูป
รูปที่ ๑

ผากฐินทาน กับท้ังผา อานิสงั สบริวารทง้ั ปวงน้ี เปนของ.....
ผกู อปรดว ยศรัทธาอตุ สาหะนอ มนำมาถวายแกพระภิกษสุ งฆผูจำพรรษา
กาลถวนไตรมาสในอาวาสวิหารน้ี

กแ็ ลผา กฐนิ ทานนี้ เปนของบรสิ ุทธ์ิดุจเลอ่ื นลอยมาโดยนภากาศ
แลว แลตกลงยังทา มกลางสงฆ จะไดจำเพาะเจาะจงแกพ ระภิกษสุ งฆ
รปู หน่ึงรปู ใดก็หาบม ไิ ด มีพระพุทธานุญาตไวใหใหแ กภ กิ ษุผมู จี ีวร
อันเกา หรือมีจีวรทุพพลภาพ หรือภกิ ษุรูปใดรูปหนึ่งซง่ึ มีสติปญญา
สามารถอาจกระทำกฐนิ นัตถารกิจ มใิ หเพ้ยี นผดิ ตอ งตามวินัยนิยม
บรมพุทธานญุ าต

เมอ่ื ไดก รานกฐนิ แลวไซร อานสิ งั สคณุ จะพงึ บังเกิดมี ๕ ประการ
คอื อยปู ราศจากไตรจีวรไดไ มเ ปน อาบัติดว ยทุตยิ กฐินสกิ ขาบท ๑ เก็บ
อตเิ รกจีวรไวไดเปน อาบัติ ดวยปฐมกฐินสิกขาบท ๑ ฉันคณะโภชน
ปรัมปรโภชนไดไมเ ปนอาบัติ ดวยคณะโภชนะและปรมั ปรโภชนะสกิ ขา
บท ๑ เขาไปในละแวกบานไดไ มอ าบัติ ดวยอนามันตจารกิ สกิ ขา
บท ๑ จวี รลาภทีบ่ งั เกดิ ขนึ้ ในอาวาสจะเปนของภกิ ษุผูไดกรานกฐินแลว
๑ ทงั้ จีวรกาลจะยดื ออกไปอกี ๔ เดอื น ตลอดเหมันตฤดู ดังน้ี

บดั นี้ พระสงฆท ้ังหลายจะมีความยนิ ยอมพรอมกันรบั กฐินนี้
หรอื ไม ถามคี วามยนิ ยอมพรอ มกนั รบั กฐนิ นแ้ี ลวไซร จงใหส ทั ทสญั ญา
สาธุการะข้ึนใหพรอมกัน เทอญ.

สาธุ

มนตพ ิธี - หนา ท่ี 224
รูปท่ี ๒

สมเดจ็ พระผูมพี ระภาคเจา ทรงอนญุ าตกฐนิ นตั ถารกิจนั้น ให
เปน การเฉพาะบุคคล สงฆกด็ ี คณะก็ดีจะกรานกฐินไมได แตเ พราะ
อนโุ มทนาแหง สงฆและคณะและอตั ถารกิจแหง บคุ คล กฐินเปน อันสงฆ
อันคณะอันบุคคลกรานได กแ็ ละผา กฐินทานนี้ ควรแกภิกษุผมู ีจีวรเกา
หรือมจี วี รอันทพุ พลภาพ หรือภิกษุรปู ใดจะมีอุตสาหะและสามารถทำ
จีวรกรรมในวนั เดียวนี้ ใหเบนกฐนิ นัตถารกจิ ตองตามพระบรมพทุ ธา-
นญุ าต มิใหวธิ ีวนิ ัยนิยมทง้ั ปวงเคลื่อนคลาดได.

บัดนี้ พระสงฆทงั้ ปวงจะเหน็ สมควรแกพ ระภิกษรุ ปู ใด จง
พรอ มกันยอมอนญุ าตใหแ กภ กิ ษุรปู น้นั เทอญ.

(ไมตอ ง สาธ)ุ

รปู ที่ ๓
ผากฐนิ ทาน กบั ทงั้ ผา อานิสังสบรวิ ารท้งั ปวงน้ี ขาพเจาพิจารณา

เห็นสมควร แด...................................ผูเปน .......................................
ในวดั น้ี ซ่งึ เปนพหุสูตรทรงธรรม ทรงวนิ ัย เปนผชู ้ีแจงชักนำใหส พรหม-
จารสี งฆบริษทั รน่ื เรงิ เปน ผูใหโอวาทานศุ าสนแ กภกิ ษุสามเณรและ
คฤหสั ถเ ปนผูทรงกฐนิ มาติกาฉลาดรใู นวนิ ัยกรรม จะไมใ หว นิ ยั นิยม
น้ัน ๆ กำเริบได และเปน ผูมีสตปิ ญญาสามารถ อาจกระทำกฐิน-
นัตถารกิจใหตอ งตามพระบรมพทุ ธานุญาตได

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 225
เพราะฉะนั้น ขาพเจาจงึ พจิ ารณาเหน็ วา พระสงฆท ั้งปวงจะ
ยินยอมพรอ มกนั ถวายผา กฐินทาน กับทง้ั ผา อานสิ งั สบรวิ ารทั้งปวงนี้
แด............................ ถา พระภิกษุรปู ใดเหน็ ไมส มควร จงทกั ทว ง
ข้นึ ในทามกลางสงฆ (หยุดนดิ หนงึ่ ) ถา เหน็ สมควรแลว จงสาธกุ าระข้ึน
ใหพ รอมกันเทอญ.

สาธุ
รูปที่ ๔

ผากฐนิ ทานกบั ท้ังผา อานสิ ังสบริวารทัง้ ปวงนี้ ถาและพระสงฆ
บริษัทมีเอกฉนั ทานมุ ัติ พรอ มกันยอมถวายแด. .................แลว ขอ
พระสงฆจงอยา ไดถือเอาผา ไตรจวี ร ซ่ึงเปน บรวิ ารแหง ผา กฐนิ ตามลำดบั
ผา จำพรรษาเลย จงถวายแด. ..................ดว ยอปโลกนวาจานี้ สวนผากฐนิ
ทานนนั้ ถึงพระสงฆท งั้ ปวงจะยนิ ยอมพรอ มกันถวายดวยอปโลกนวาจา
ก็ไมข้ึน ตองถวายดว ยญัตตทิ ตุ ิยกรรมวาจา ตามพระบรมพทุ ธานญุ าต

เพราะฉะน้นั ขอพระสงฆจ งทำกรรมสันนิษฐานวา จะถวาย
ผา กฐนิ ทานนน้ั แด...........................ดว ยญตั ตทิ ตุ ิยกรรมวาจาอันไมก ำเริบ
ตามสมควรแกสถานะ ณ กาลบดั นี้ เทอญ ฯ

สาธุ

มนตพ ิธี - หนา ที่ 226

แบบกรรมวาจาสวดใหผากฐิน

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ,

นะโม ตัสสะ, ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ,

นะโม ตสั สะ, ภะคะวะโต, อะระหะโต สมั ม, สัมพทุ ธัสสะ,

สณุ าตุ เม ภนั เต สงั โฆ, อทิ ัง สงั ฆสั สะ กะฐนิ ะทสุ สงั อปุ ปน นัง,

ยะทิ สังฆสั สะ ปตตะกัลลัง, สังโฆ อมิ งั กะฐินะทุสสัง อายสั มะโต

(อิตถนั นามสั สะ) ทะเทยยะ, กะฐินงั อตั ถะริตุง, เอสา ญัตติ.

สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อิทงั สงั ฆัสสะ กะฐนิ ะทสุ สัง อปุ ปนนงั ,

สังโฆ อิมงั กะฐินะทสุ สงั อายสั มะโต (อิตถนั นามัสสะ), เทติ, กะฐนิ ัง

อัตถะรติ ุง, ยสั สายสั มะโต ขะมะติ, อมิ สั สะ กะฐนิ ะทสุ สัสสะ, อายัส-

มะโต (อติ ถันนามัสสะ). ทานัง, กะฐนิ งั อตั ถะริตงุ , โส ตุณหัสสะ

ยัสสะ นกั ขะมะติ, โส ภาเลยยะ

ทนิ นัง อทิ ัง สังเฆนะ, กะฐนิ ะทสุ สงั อายสั มะโต (อิตถันนา-

มัสสะ). กะฐนิ งั อตั ถะริตุง, ขะมะติ สงั ฆัสสะ ตัสมา ตุณห,ี

เอวะเมตงั ธาระยาม.ิ

หมายเหตุ ในวงเลบ็ อตั ถนั นามสั สะ นนั้ ใหใ สชือ่ ผคู รองกฐินแทน

คำอธิษฐานผา กฐนิ

สงั ฆาฏิ อมิ ายะ สงั ฆาฏิยา กะฐินัง อัตถะรามิ (๓ หน)

อุตตราสงค อมิ นิ า อตุ ตะราสงั เคนะ กะฐนิ ัง อตั ถะรามิ (๓ หน)

อนั ตรวาสก อิมานา อนั ตะระวาสะเกนะ กะฐนิ งั อตถะรามิ (๓ หน)

มนตพิธี - หนาที่ 227
คำอนุโมทนากฐนิ
อัตถะตัง อาวโุ ส สังฆัสสะ กะฐนิ งั ธมั มิโก กะฐนิ ัตถาโร
อะนุโมทะถะ (๓ หน ) น้ีสำหรบั ทานผคู รองกฐนิ มพี รรษาแกกวา ภกิ ษุทั้งปวง
ถามีภิกษอุ ืน่ ท่ีมพี รรษามากกวาทานผูค รองกฐนิ อยู ใน ท่ี น้นั ให เปลย่ี นคำวา
อาวุโส เปน ภนั เต แลวใหพระสงฆทั้งปวงเปลง วาจาอนุโมทนาตอ ไปวา
อตั ถะตงั ภนั เต สงั ฆสั สะ กะฐินงั ธมั มิโก กะฐินัตถาโร
อะนุโมทานะ (๓ หน) น้สี ำหรบั ผูออนพรรษากวาทานผคู รองกฐนิ กลาว ถา
มภี ิกษุที่แกพ รรษากวาทา นผคู รองกฐนิ อยูในท่นี ัน้ กรี่ ปู กต็ ามใหผ แู กเ หลาน้นั
เปลยี่ นคำวา ภันเต เปน อาวโุ ส หรือจะใหวา พรอมกันเฉพาะผแู กเ สียคราว
หน่ึงกอ น ๓ จบ แลว จึงใหผ อู อ นกวา วา อีกคราวหนึ่ง ๓ จบ ก็ได

คำสัตตาหะ
สตั ตาหะกะระณียัง กจิ จงั เม อตั ถิ

ตสั มา มะยา คันตพั พงั
อมิ สั มงิ สัตตาหพั ภนั ตะเร นิวัตติสสาม.ิ

มนตพิธี - หนาที่ 228
ปริวาสกรรม
อยางจลุ สทุ ธนั ตะ
(มีคำขอ คำสมาทาน คำเก็บ และกรรมวาจา ครบ)

คำขอสทุ ธันตปริวาส
อยา งจลุ สุทธนั ตะ

อะหัง ภนั เต สมั พะหลุ า สงั ฆาทเิ สสา อาปต ตโิ ย อาปชชงิ
อาปตตปิ ะริยันตัง เอกจั จงั ชานามิ เอกจั จงั นะ ชานามิ
รตั ตปิ ะรยิ ันตงั เอกจั จัง ชานามิ เอกัจจงั นะ ชานามิ
อาปตติปะริยันตงั เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจงั นะ สะรามิ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจงั ชานามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ
อาปต ตปิ ะรยิ ันเต เอกจั จัง ชานามิ เอกจั จงั นะ นพิ เพมะติโก
รตั ตปิ ะริยนั เต เอกัจจงั ชานามิ เอกัจจัง นะ นิพเพมะติโก
โสหัง ภนั เต สังฆัง ตาสงั อาปตตีนัง สุทธนั ตะปะริวาสงั ยาจามิ.

อะหงั ภันเต สมั พะหุลา สงั ฆาทิเสสา อาปตตโิ ย อาปชชติ
อาปต ติปะริยนั ตัง เอกจั จัง ชานามิ เอกจั จงั นะ ชานามิ
รตั ติปะริยันตงั เอกัจจงั ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ

มนตพิธี - หนา ที่ 229

อาปตติปะริยันตัง เอกจั จัง สะรามิ เอกจั จงั นะ สะรามิ

รัตติปะริยันตัง เอกจั จัง สะรามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ

อาปตตปิ ะริยนั เต เอกจั จัง สะรามิ เอกัจเจ นิพเพมะติโก

รตั ตปิ ะริยนั ตุ เอกจั จงั สะรามิ เอกจั เจ นพิ เพมะตโิ ก

โสหัง ทตุ ิยมั ป ภันเต สงั ฆงั ตาสงั อาปต ตีนัง สุทธันตะปะรวิ าสงั

ยาจาม.ิ

อะหัง ภนั เต สัมพะหลุ า สงั ฆาทเิ สสา อาปตติโย อาปชชิง

อาปตตปะรยิ ันตงั เอกจั จัง ชานามิ เอกัจจงั นะ ชานามิ

รตั ติปะริยันตงั เอกจั จัง ชานามิ เอกจั จงั นะ ชานามิ

อาปต ติปะริยนั ตัง เอกจั จงั สะรามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ

รตั ตปิ ะรยิ ันตัง เอกจั จัง สะรามิ เอกจั จงั นะ สะรามิ

อาปตตปิ ะรยิ นั เต เอกัจจัง เวมะตโิ ก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก

รัตติปะริยนั เต เอกัจจงั เวมะติโก เอกัจเจ นพิ เพมะติโก

โสหัง ตะติยมั ป ภนั เต สังฆัง ตาสัง อาปตตนี งั สทุ ธนั ตะปะรวิ าสัง

ยาจาม.ิ

กรรมวาจาใหส ทุ ธันตะปริวาส
สณุ าตุ เม ภันเต สงั โฆ. อยัง อติ ถนั นาโม
ภิกขุ สัมพะหุลา สังฆาทิเสสา อาปต ตโิ ย อาปชชิ
อาปต ตปิ ะริยันตงั เอกจั จงั ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
รัตตปิ ะรยิ ันตัง เอกัจจงั ชานาติ เอกจจงั นะ ชานราติ

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 230

อาปจ จิปะรยิ นั ตัง เอกจั จัง สะระติ เอกจั จงั นะ สะระติ

รตั ติปะริยนั ตงั เอกจั จงั สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ

อาปตตปิ ะริยนั เต เอกจั จงั เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะตโิ ก

รตั ตปิ ะรยิ ันเต เอกัจจัง เวมะตโิ ก เอกัจเจ นิพเพมะตโิ ก

โส สงั ฆัง ตาสงั อาปตตนี ัง สุทธนั ตะปะรวิ าสงั ยาจะติ

ยะทิ สังฆสั สะ ปตตะกลั ลัง สงั โฆ อิตถันนามัสสะ ภิกขโุ น

ตาสัง อาปต ตนี งั สทุ ธนั ตะปะรวิ าสงั ทะเทยยะ เอสา ญตั ติ.

สณุ าตุ เม ภนั เต สงั โฆ อะยงั อติ ถันนาโม

ภิกขุ สัมพะหุลา สงั ฆาทิเสสา อาปตตโิ ย อาปช ชิ

อาปตตปิ ะรยิ นั ตงั เอกัจจงั ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ

รตั ตปิ ะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ

อาปตตปิ ะรยิ ันตัง เอกจั จัง สะระติ เอกัจจงั นะ สะระติ

รัตตปิ ะริยันตัง เอกัจจงั สะระรติ เอกัจจงั นะ สะระติ

อาปตติปะรยิ นั เต เอกจั จัง เวมะติโก เอกัจเจ นิพเพมะตโิ ก

รตั ตปิ ะรยิ นั เต เอกัจจัง เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะตโิ ก

โส สังฆัง ตาสัง อาปตตนี ัง สทุ ธันตะปะรวิ าสงั ยาจะติ

สงั โฆ อติ ถันนามสั สะ ภกิ ขุโน ตาสัง อาปต ตีนงั

สทุ ธันตะปะริวาสัง เทติ ยสั สายัสมะโต ขะมะติ

อติ ถันนามสั สะ ภิกขโุ น ตาสัง อาปต ตนี งั สทุ ธนั ตะปะรวิ าสัสสะ

ทานัง โส ตณุ หสั สะ ยัสสะ นักขะมะติ โส ภาเสยยะ

มนตพธิ ี - หนาที่ 231
ทตุ ยิ ัมป เอตะมตั ถัง วะทามิ สณุ าตุ เม ภันเต สงั โฆ
อะยัง อติ ถนั นาโม ภิกขุ สมั พะหุลา สงั ฆาทเิ สสา อาปตติโย อาปชชิ
อาปตติปะริยันตัง เอกจั จงั ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ
รตั ตปิ ะริยนั ตงั เอกัจจัง ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ
อาปต ติปะรยิ ันตัง เอกจั จัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
รัตติปะรยิ ันตงั เอกัจจงั สะระติ เอกัจเจ นะ สะระติ
อาปตตปิ ะริยนั เต เอกจั จงั เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะติโก
รัตติปะรยิ ันเต เอกจั จัง เวมะตโิ ก เอกัจเจ นพิ เพมะติโก
โส สังฆัง ตาสงั อาปต ตีนงั สุทธันตะปะรวิ าสงั ยาจะติ
สงั โฆ อิตถันนามสั สะ ภกิ ขโุ น ตาสงั อาปตตนี ัง
สทุ ธันตะปะรวิ าสัง เทติ ยสั สายัสมะโต ขะมะติ
อติ ถันนามสั สะ ภกิ ขุโน ตาสัง อาปต ตนี ัง สุทธนั ตะปะริวาสสั สะ
ทานัง โส ตุณหัสสะ ยัสสะ นักขะมะติ โส ภาเสยยะ
ตะตยิ ัมป เอตะมตั ถัง วะทามิ สุณาตุ เม ภนั เต สงั โฆ
อยัง อิตถนั นาโม ภกิ ขุ สมั พะหุลา สังฆาทิเสสา อาปต ติโย อาปช ชิ
อาปตตปิ ะรยิ ัง เอกจั จัง ชานาติ เอกัจจงั นะ ชานาติ
รัตตปิ ะริยนั ตัง เอกจั จัง ชานาติ เอกจั จัง นะ ชานาติ
อาปต ติปะรยิ นั ตัง เอกัจจงั สะระติ เอกจั จงั นะ สะระติ
รัตตปิ ะริยันตงั เอกัจจงั สะระติ เอกจั จงั นะ สะระติ

มนตพ ิธี - หนา ท่ี 232
อาปตติปะรยิ นั เต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นิพเพมะตโิ ก
รตั ติปะรยิ นั เต เอกจั เจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก
โส สงั ฆัง ตาสงั อาปต ตนี งั สทุ ธนั ตะปะริวาสงั ยาจะติ
สังโฆ อิตถันนามสั สะ ภกิ ขโุ น ตาสัง อาปต ตนี ัง
สุทธนั ตะปะริวาสัง เทติ ยัสสายสั มะโต ขะมะติ
อัตถันนามัสสะ ภิกขโุ น ตาสัง อาปต ตนี ัง สุทธนั ตะปะริวาสัสสะ
ทานงั โส ตุณหสั สะ ยสั สะ นักขะมะติ โส ภาเสยยะ.

ทินโน สงั เฆนะ อิตถันนามสั สะ ภกิ ขุโน ตาสงั
อาปต ตีนัง สุทธันตะปะริวาโส ขะมะติ สังฆัสสะ
ตสั มา ตณุ หี เอวะเมตัง ธาะยามิ.

คำสมาทานปรวิ าส
ปะรวิ าสัง สะมาทิยามิ วตั ตัง สะมาทยิ ามิ
ทุตยิ ัมป ปะริวาสัง สะมาทิยามิ วัตตัง สะมาทยิ ามิ
ตะตยิ มั ป ปะรวิ าสงั สะมาทิยามิ วัตตงั สะมาทิยามิ

มนตพ ิธี - หนาท่ี 233

คำบอกสทุ ธันตปรวิ าส

อะหงั ภันเต สัมพะหุลา สงั ฆาทเิ สสา อาปตตโิ ย อาปช ชงิ

อาปต ตปิ ะริยันตัง เอกจั จงั ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ

รตั ติปะรยิ ันตัง เอกจั จัง ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ

อิ าปตติปะรยิ นั ตงั เอกจั จงั สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ

รตั ตปิ ะริยนั ตัง เอกจั จัง สะรามิ เอกจั จงั นะ สะรามิ

อาปต ติปะรยิ ันโต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะตโิ ก

รตั ตปิ ะรยิ นั เต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก

โสหงั สังฆงั ตาสงั อาปตตนี ัง สทุ ธนั ตะปะริวาสงั ยาจงิ

ตัสสะ เม สงั โฆ ตาสงั อาปตตนี ัง สทุ ธนั ตะปะรวิ าสงั อะทาสิ

โสหัง ปะรวิ ะสามิ เวทะยามะหงั ภันเต เวทะยะตตี ิ มงั สังโฆ ธาเรตุ

คำเก็บปรวิ าส

วตั ตัง นิกขิปามิ ปะริวาสงั นิกขิปามิ

ทุตยิ มั ป วตั ตงั นกิ ขปิ ามิ ปะรวิ าสัง นกิ ขปิ ามิ

ตะติยัมป วตั ตัง นกิ ขปิ ามิ ปะรวิ าสงั นกิ ขปิ ามิ

คำขอมานัตต
อะหงั ภนั เต สมั พะหลุ า สงั ฆาทิเสสา อาปตตโิ ย อาปชชงิ
อาปตตปิ ะริยันตงั เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจงั นะ ชานามิ

มนตพ ธิ ี - หนาที่ 234
รตั ตปิ ะริยนั ตงั เอกจั จัง ชานามิ เอกจั จงั นะ ชานามิ
อาปตตปิ ะรยิ ันตงั เอกจั จงั สะรามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ
รัตติปะรยิ ันตงั เอกัจจงั สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
อาปตติปะรยิ นั เต เอกัจจงั เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะติโก
รัตติปะริยนั เต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นิพเิ พมะตโิ ก
โสหัง สงั ฆงั ตาสัง อาปต ตนี ัง สทุ ธันตะปะริวาสงั ยาจงิ
ตสั สะ เม สังโฆ ตาสัง อาปต ตีนัง สุทธนั ตะปะริวาสงั อะทาสิ
โสหัง ภนั เต ปะริวตุ ถะปะริวาโส สงั ฆงั ตาสงั อาปต ตีนัง ฉารตั ตัง
มานตั ตัง ยาจามิ.

อะหงั ภนั เต สัมพะหุลา สังฆาทิเสสา อาปต ติโย อาปช ชิง
อาปต ตปิ ะรยิ ันตงั เอกจั จัง ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ
รตั ตปิ ะรยิ นั ตัง เอกัจจัง ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ
อาปต ติปะริยนั ตัง เอกจั จัง สะรามิ เอกัจจงั นะ สะรามิ
รตั ตปิ ะริยนั ตัง เอกัจจัง สะรามิ เอกัจจงั นะ สะรามิ
อาปต ตปิ ะริยันเต เอกจั เจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก
รตั ตปิ ะรยิ นั เต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะตโิ ก
โสหัง สงั ฆัง ตาสัง อาปตตีนงั สทุ ธนั ตะปะรวิ าสงั ยาจงิ
ตัสสะ เม สังโฆ ตาสัง อาปตตีนัง สทุ ธนั ตะปะริวาสัง อะทาสิ
โสหงั ปะรวิ ตุ ถะปะรวิ าโส ทุติยมั ป ภันเต สังฆงั
ตาสงั อาปตตีนัง ฉารตั ตงั มานัตตงั ยาจามิ.

มนตพ ธิ ี - หนา ที่ 235
อะหัง ภนั เต สัมพะหุลา สงั ฆาทเิ สสา อาปต ติโย อาปชชิง
อาปตตปิ ะริยนั ตัง เอกจั จงั ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ
รตั ตปิ ะรยิ ันตัง เอกจั จงั ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ
อาปตติปะรยิ นั ตงั เอกัจจัง สะรามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ
รัตติปะริยนั ตงั เอกจั จงั สะรามิ เอกจั จัง นะ สะรามิ
อาปต ติปะริยนั เต เอกัจจัง เวมะตโิ ก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก
รัตตปิ ะริยันเต เอกัจจัง เวมะติโก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก
โสหงั สังฆงั ตาสัง อาปตตีนัง สุทธันตะปะริวาสัง ยาจงิ
ตัสสะ เม สังโฆ ตาสัง อาปตตีนัง สุทธนั ตะปะรวิ าสัง อะทาสิ
โสหงั ปะรวิ ุตถะปะรวิ าโส ตะตยิ ัมป ภนั เต สังฆัง
ตาสงั อาปต ตีนัง ฉารัตตงั มานัตตงั ยาจาม.ิ

กรรมวาจาใหมานตั ต
สุณาตุ เม ภันเต สงั โฆ อะยัง อติ ถันนาโม
ภกิ ขุ สัมพะหลุ า สังฆาทเิ สสา อาปต ตโิ ย อาปช ชิ
อาปต ติปะริยันตงั เอกจั จงั ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ
รัตติปะรยิ ันตงั เอกจั จงั ชานาติ เอกัจจงั นะ ชานาติ
อาปต ตปิ ะริยันตัง เอกัจจัง สะราติ เอกัจจงั นะ สะระติ
รัตติปะริยันตัง เอกัจจัง สะระติ เอกัจจัง นะ สะระติ
อาปตติปะริยนั เต เอกจั จงั เวมะติโก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก

มนตพธิ ี - หนาท่ี 236
รตั ติปะริยันเต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกจั เจ นพิ เพมะตโิ ก
โส สังฆัง ตาสัง อาปตตนี ัง สทุ ธนั ตะปะรวิ าสัง ยาจิ
ตสั สะ สงั โฆ ตาสัง อาปต ตนี ัง สทุ ธนั ตะปะริวาสงั อะทาสิ
โส ปะรวิ ตุ ถะปะรวิ าโส สังฆัง ตาสงั อาปต ตีนงั ฉารตั ตงั
มานตั ตัง ยาจะติ ยะทิ สังฆัสสะ ปตตะกัลลงั สังโฆ
อัตถันนามัสสะ ภิกขโุ น ตาสัง อาปต ตีนงั ฉารัตตัง มานตั ตัง
ทะเทยยะ เอสา ญตั ติ ฯ

สุณาตุ เม ภนั เต สังโฆ อะยัง อิตถนั นาโม
ภกิ ขุ สัมพะหุลา สังฆาทเิ สสา อาปต ตโิ ย อาปช ชิ
อาปตตปิ ะรยิ นั ตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
รตั ตปิ ะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
อาปต ติปะริยนั ตงั เอกจั จงั สะระติ เอกจั จัง นะ สะระติ
รตั ติปะริยนั ตงั เอกจั จงั สะระติ เอกจั จัง นะ สะระติ
อาปตติปะริยันเต เอกจั จัง เวมะตโิ ก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก
รตั ติปะริยนั เต เอกจั จงั เวมะตโิ ก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก
โส สงั ฆัง ตาสัง อาปต ตนี ัง สทุ ธนั ตะปะริวาสงั ยาจิ
ตสั สะ สงั โฆ ตาสงั อาปตตนี งั สุทธันตะปะริวาสัง ยาจิ
โส ปะรวิ ุตถะปะรวิ าโส สังฆงั ตาสงั อาปต ตีนงั ฉารัตตงั

มนตพ ธิ ี - หนาท่ี 237
มานตั ตงั ยาจะติ สังโฆ อติ ถนั นามัสสะ ภกิ ขโุ น ตาสัง
อาปต ตนี ัง ฉารตั ตัง มานัตตงั เทติ ยสั สายัสมะโต ขะมะติ
อิตถันนามสั สะ ภิกขุโน ตาสัง อาปต ตีนัง ฉารัตตัง มานัตตสั สะ
ทานงั โส ตณุ หัสสะ ยสั สะ นักขะมะติ โส ภาเสยยะ ฯ

ทตุ ิยัมป เอตะมตั ถัง วะทามิ สุณาตุ เม ภนั เต สงั โฆ
อะยัง อิตถนั นาโม ภกิ ขุ สัมพะหุลา สังฆาทเิ สสา อาปต ตโิ ย อาปช ชิ
อาปตติปะริยันตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกจั จัง นะ ชานาติ
รตั ตปิ ะรยิ ันตงั เอกจั จงั ชานาติ เอกัจจัง นะ ชานาติ
อาปตติปะรยิ นั ตงั เอกัจจัง สะระติ เอกัจจงั นะ สะระติ
รตั ติปะรยิ ันตัง เอกจั จงั สะระติ เอกจั จัง นะ สะระติ
อิ าปตตปิ ะริยันเต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นพิ เพมะติโก
รัตตปิ ะรยิ ันเต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นพิ เพมะติโก
โส สงั ฆงั ตาสงั อาปตตีนัง สุทธันตะปะรวิ าสงั ยาจิ
ตสั สะ สังโฆ ตาสงั อาปตตีนงั สุทธันตะปะรวิ าสัง อะทาสิ
โส ปะรวิ ตถะปะรวิ าโส สังฆงั ตาสัง อาปตตนี งั ฉารัตตัง
มานตั ตงั ยาจะติ สงั โฆ อติ ถันนามสั สะ ภกิ ขโุ น ตาสัง
อาปตตนี งั ฉารัตตัง มานัตตงั เทติ ยสั สายสั มะโต ขะมะติ
อติ ถนั นามสั สะ ภกิ ขะโน ตาสงั อาปต ตีนงั ฉารัตตัง มานัสตสั สะ
ทานัง โส ตุณหสั สะ ยสั สะ นกั ขะมะติ โส ภาเสยยะ ฯ

มนตพิธี - หนา ที่ 238
ตะตยิ มั ป เอตะมตั ถงั วะทามิ สุณาตุ เภ ภนั เต สงั โฆ
อะยัง อติ ถันนาโม ภิกขุ สัมพะหุลา สังฆาทเิ สสา อาปต ติโย อาปชชิง
อาปตตปิ ะรยิ นั ตัง เอกัจจัง ชานาติ เอกจั จงั นะ ชานาติ
รตั ติปะรยิ นั ตัง เอกจั จงั ชานาติ เอกจั จัง นะ ชานาติ
อาปต ตปิ ะริยนั ตัง เอกจั จงั สะระติ เอกจั จงั นะ สะระติ
รัตตปิ ะริยนั ตงั เอกัจจงั สะระติ เอกจั จงั นะ สะระติ
อาปต ตปิ ะริยนั เต เอกัจเจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นพิ เพมะติโก
รัตติปะรยิ ันเต เอกจั เจ เวมะตโิ ก เอกัจเจ นพิ เพมะติโก
โส สังฆงั ตาสงั อาปตตีนงั สุทธันตะปะริวาสงั ยาจิ
ตัสสะ สังโฆ ตาสัง อาปต ตีนัง สทุ ธันตะปะรวิ าสงั อะทาสิ
โส ปะรวิ ุตถะปะริวาโส สังฆัง ตาสงั อาปตตีนงั ฉารตั ตัง
มานัตตงั ยาจะติ สงั โฆ อติ ถันนามสั สะ ภิกขุโน ตาสงั
อาปตตนี งั ฉารตั ตงั มานตั ตงั เทติ ยัสสายัสมะโต ขะมะติ
อติ ถนั นามัสสะ ภกิ ขุโน ตาสัง อาปตตีนัง ฉารัตตงั มานตั ตสั สะ
ทานัง โส ตุณหัสสะ ยัสสะ นักขะมะติ โส ภาเสยยะ ฯ

ทนิ นัง สงั เฆนะ อิตถันนามัสสะ ภิกขุโน
ตาสงั อาปต ตนี งั ฉารตั ตัง มานตั ตงั ขะมะติ
สงั ฆัสสะ ตัสมา ตณุ หี เอวะเมตงั ธาระยามิ ฯ

มนตพ ธิ ี - หนา ท่ี 239
คำสมาทานมานัตต
มานตั ตงั สะมาทยิ ามิ วัตตงั สะมาทยิ ามิ
ทุตยิ มั ป มานัตตงั สะมาทิยามิ วัตตงั สะมาทยิ ามิ
ตะตยิ มั ป มานัตตงั สะมาทยิ ามิ วัตตัง สะมาทิยามิ

คำบอกมานตั ต
อะหงั ภนั เต สมั พะหุลา สงั ฆาทิเสสา อาปตตโิ ย อาปชชงิ
อาปต ติปะรยิ นั ตัง เอกจั จงั ชานามิ เอกัจจัง นะ ชานามิ
รัตติปะรยิ ันติ เอกจั จัง ชานามิ เอกจั จัง นะ ชานามิ
อาปต ติปะริยันตงั เอกัจจงั สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
รตั ติปะริยันตงั เอกจั จงั สะรามิ เอกัจจัง นะ สะรามิ
อาปต ติปะริยันเต เอกัจเจ เวมะติโก เอกัจเจ นพิ เพมะตโิ ก
รตั ตปิ ะรยิ นั เต เอกัจเจ เวมะติโก เอกจั เจ นิพเพมะตโิ ก
โสหัง สังฆัง ตาสัง อาปต ตนี ัง สทุ ธนั ตะปะรวิ าสัง ยาจิง
ตัสสะ เม สงั โฆ ตาสงั อาปต ตีนงั สุทธนั ตะปะรวิ าสัง อะทาสิ
โสหัง ปะริวตุ ถะปะรวิ าโส สงั ฆงั ตาสงั อาปตตีนัง ฉารตั ตงั
มานตั ตัง ยาจงิ
ตัสสะ เม สังโฆ ตาสงั อาปต ตีนัง ฉารตั ตงั มานตั ตัง อะทาสิ
โสหงั มานตั ตัง จะรามิ เวทะยามะหัง ภนั เต เวทะยะตตี ิ มงั
สงั โฆ ธาเรตุ.


Click to View FlipBook Version