ภาพนี้แบ ่งออกเป็น ๓ ฉากเหตุการณ ์เช ่นเดียวกับห ้องภาพที่แล ้ว ประกอบด้วย ตอนบนของภาพ เขียนเรื่องการสร ้างเมืองนครเขื่อนขัณฑ ์ หรือเมืองพระประแดง เป็นเมืองป ้อมริมทะเล ตอนกลางของภาพ เขียนเรื่องราชทูตจากโลกตะวันตก มาเข ้าเฝ ้าเพื่อเจริญสัมพันธไมตรี ณ ท้องพระโรง พระที่นั่ง อมรินทรวินิจฉัย ส่วนตอนล่างของภาพ เป็นภาพที่โปรดให ้สมเด็จพระเจ ้าลูกยาเธอเจ ้าฟ ้ามงกุฎ เสด็จไปรับครัวมอญที่เข ้ามาพึ่ง พระบรมโพธิสมภาร ที่เมืองกาญจนบุรี 149
ภาพนี้แบ ่งออกเป็น ๓ เหตุการณ ์ โดยเริ่มเล ่าเรื่องจากตอนล ่างของภาพเขียนรูปการส ่งเสด็จสมเด็จพระเจ ้า ลูกยาเธอเจ ้าฟ ้ามงกุฎด ้วยกระบวนแห ่ มายังเขาไกรลาสจำลอง เพื่อประกอบพระราชพิธีโสกันต ์ จากนั้นมาที่ตอนกลางของภาพ พระราชพิธีทรงผนวชของสมเด็จพระเจ ้าลูกยาเธอเจ ้าฟ ้ามงกุฎ ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และท ้ายสุดที่ตอนบนของภาพเป็นเรื่องการประกอบพระราชพิธีวิสาขบูชา ซึ่งพระองค ์โปรดให ้ฟ ื้นฟูขึ้น เมื่อป ี พ.ศ. ๒๓๖๐ 150
ภาพนี้เล่าถึงเหตุการณ์เป็นฉาก ๓ ตอน ได้แก่ ตอนบนของภาพ เขียนภาพการสร้างเมืองสมุทรปราการ ที่ปากนำ้เจ้าพระยา ตอนกลางของภาพ เล่าเรื่องการโปรดให้สถาปนาพระปรางค์ขึ้นที่วัดอรุณราชวราราม ตอนล่างของภาพ เขียนเรื่องการสร้างพระวิหารวัดสุทัศน์เทพวราราม ต่อจากพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช 151
ผนังหุ ้มกลองด ้านหน ้า หรือผนังสกัดหน ้าพระประธาน ซึ่งเป็นผนังที่มีขนาดพื้นที่ใหญ ่นั้น แบ ่งเรื่องที่เล ่าออกเป็น ๓ เหตุการณ ์เช ่นกัน แต ่มีวิธีวางโครงสร ้างการเล ่าเรื่องที่แตกต ่างออกไปจากผนังด ้านอื่น กล ่าวคือ ที่ส ่วนกลางของภาพ เล ่าเรื่องการบูรณะมณฑปพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ที่ทำค ้างไว ้ตั้งแต ่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ ้าจุฬาโลก มหาราช ส่วนตอนล่างของภาพ แสดงเรื่องพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล ้านภาลัย ในขณะที่ ปีกทางด้านซ้าย และขวาของภาพ เล ่าเรื่องการส ่งสมณทูตไปลังกาโดยเริ่มเล ่าจากภาพพระสงฆ ์เข ้าเฝ ้าถวายบังคมทูลลา ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล ้วเดินทางไปจนถึงเมืองอนุราธปุระ บนเกาะลังกา 152
ส่วนผนังสกัด (ด้านกว้าง) หลังพระประธาน ได้เขียนรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงซอสามสาย ประทับนั่งอยู่ภายในปราสาท ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ซอดังกล่าวก็คือ ซอคู่พระหัตถ์ของพระองค์ที่ชื่อ ซอสายฟ้าฟาด ที่ว่ากันว่า กะโหลกของซอนั้นทำมาจากกะลามะพร ้าวจากสวนที่อัมพวา นับเป็นภาพที่แสดงให ้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพทางด ้านดนตรี ของพระองค์ได้เป็นอย่างดี 153
นอกจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล ้านภาลัยแล ้ว บางช้าง หรืออัมพวา ยังเป็นเมืองที่มีนักดนตรีฝ ีมือเยี่ยม อีกหลายท ่าน ที่สำคัญคือ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) และครูเอื้อ สุนทรสนาน ศร ศิลปบรรเลง เกิดเมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๒๔ เป็นบุตรคนสุดท ้องของนายสิน และนางยิ้ม โดยนายสิน เป็นครูดนตรีชาวบางช ้าง ท ่านจึงเติบโตมากับวงป ี ่พาทย ์ โดยมีบิดาเป็นผู ้สอนดนตรีให ้จนเติบใหญ ่ ต ่อมาเมื่อป ี พ.ศ. ๒๔๔๓ ท่านได้มีโอกาสไปเล่นระนาดเอกถวาย สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุขเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ที่เขางู จังหวัดราชบุรี จึงถูกขอให้ตามเสด็จกลับไปอยู่ที่วังบูรพาภิรมย์ในกรุงเทพฯ และต่อมาได้ประทานยศให้เป็นจางวางมหาดเล็ก ข ้าราชบริพารกรม ฯ ในสมเด็จเจ ้าฟ ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ ์วรเดช พ.ศ. ๒๔๖๘ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายศรฯ เข้าไปบรรเลงปี่พาทย์ ร่วมกับการแสดงโขนบรรดาศักดิ์ต่อมาจึงได้รับพระราชทานยศเป็นหุ้มแพร และได้รับบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงประดิษฐไพเราะ” หลังเหตุการณ ์เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ หลวงประดิษฐไพเราะได ้ถูกโอนมารับราชการในแผนก ดุริยางคศิลป์ กรมศิลปากร และได้เกษียณอายุราชการในตำแหน่ง หัวหน้าแผนกดุริยางค์ไทย กรมศิลปากร เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๔ หลวงประดิษฐไพเราะ ถึงแก่กรรม เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ สิริรวมอายุได้ ๗๓ ปี หลวงประดิษฐไพเราะ 154
หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (ที่มาภาพ : คลังจดหมาย อาจารย ์ประสิทธิ์ศิลปบรรเลง) 155
หลวงประดิษฐไพเราะกับวงป ี ่พาทย ์ (ที่มาภาพ : คลังจดหมาย อาจารย ์ประสิทธิ์ศิลปบรรเลง) 156
หลวงประดิษฐไพเราะ (ที่มาภาพ : นิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม) หลวงประดิษฐไพเราะ ท ่ามกลางลูกศิษย ์มิตรสหาย ที่วัดพวงมาลัย ตำบลแม่กลอง อำเภอเมืองสมุทรสงคราม (ที่มาภาพ : อัษฎาวุธ สาคริก) 157
หลวงประดิษฐไพเราะ กับภรรยา (โชติ ศิลปบรรเลง) (ที่มาภาพ : คลังจดหมาย อาจารย ์ประสิทธิ์ศิลปบรรเลง) 158
หลวงประดิษฐไพเราะ กับภรรยา ถ ่ายรูปกับลูกหลาน เนื่องในวันครบรอบแต ่งงาน ๕๐ ป ี (ที่มาภาพ : คลังจดหมาย อาจารย ์ประสิทธิ์ศิลปบรรเลง) 159
เอื้อ สุนทรสนาน เอื้อ สุนทรสนาน เกิดเมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๓ ณ ตำบลโรงหีบ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีพี่น ้องร ่วมบิดามารดาเดียวกัน ๓ คน พี่คนสำคัญคือ หมื่นไพเราะพจมาน (อาบ สุนทรสนาน) เพราะเมื่อครั้งพาท ่านเดินทาง เข ้ากรุงเทพมหานคร เมื่อป ี พ.ศ. ๒๔๖๐ ก็ได ้ให ้พักอยู ่กับพี่ชายผู ้รับราชการเป็นคนพากย ์โขน ในกรมมหรสพท ่านนี้ ต ่อมาหลังเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาป ีที่ ๑ เมื่อป ี พ.ศ. ๒๔๖๕ พระเจนดุริยางค ์เห็นว ่า ท ่านมีความสามารถพิเศษ ทางดนตรี จึงให ้หัดไวโอลินและแซกโซโฟน จนได ้เข ้ารับราชการประจำในกองเครื่องสายฝรั่งหลวง กรมมหรสพ กระทรวงวัง ตั้งแต ่อายุเพียง ๑๒ ขวบ หลังเหตุการณ ์เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ท ่านถูกโอนเข ้ามาสังกัดอยู ่ในกองมหรสพ กรมศิลปากร จนกระทั่งเมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ ก็ได ้ถูกโอนเข ้าไปสังกัดอยู ่ที่กรมโฆษณาการ เพื่อรับตำแหน ่งหัวหน ้า วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ ์ ซึ่งเมื่อไปเล ่นในงานของเอกชนจะใช ้ชื่อว ่า “วงสุนทราภรณ ์” นั่นเอง ครูเอื้อ สุนทรสนาน เสียชีวิตเมื่อวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๔ สิริรวมอายุ๗๑ ป ี พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงวัฒนธรรมได ้เสนอต ่อองค ์การยูเนสโก ในวาระครบรอบ ๑๐๐ ป ี ชาตกาลให ้ครูเอื้อ เป็นบุคคลสำคัญของโลก จนกระทั่งและได ้รับการยกย ่องเป็น บุคคลสำคัญสาขาดนตรีไทยสากล เมื่อป ี พ.ศ. ๒๕๕๒ 160
ครูเอื้อ สุนทรสนาน (ที่มาภาพ : นิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม) 161
ครูเอื้อ สุนทรสนาน ในวัยหนุ ่ม (ที่มาภาพ : นิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม) 162
ครูเอื้อ และคุณอาภรณ ์ สุนทรสนาน คู ่ชีวิต ผู ้ทำให ้เกิดชื่อวงสุนทราภรณ ์ กับคุณอติพร ลูกสาว คนเดียวของครูเอื้อ เมื่อครูเอื้อได้ก่อตั้งวงดนตรีส่วนตัว เพื่อบรรเลงเพลงไทยสากลตามอย่างที่ตนเองถนัดในช่วงนอกเวลา ราชการ และได ้ตั้งชื่อวงว ่า “สุนทราภรณ ์” โดยการนำเอานามสกุล “สุนทรสนาน” ของท่านเอง มารวมเข้า กับชื่อของคนรักคือ “อาภรณ์” เข ้ามาผูกเข ้าด ้วยกัน คุณอาภรณ ์ เป็นธิดาของพระยาสุนทรบุรี กับคุณหญิงสะอิ้ง กรรณสูต 163
เพลง “สาธุการ” เป็นหนึ่งในเพลงหน ้าพาทย ์ชั้นสูง โดยทั่วไปใช ้บรรเลงเพื่อการน ้อมไหว ้ และแสดงความเคารพ บูชา ทั้งในงานพระราชพิธี และงานของประชาชนทั่วไป ตำนานของเพลงสาธุการเป็นเรื่องพระพุทธเจ ้าทรงเล ่นซ ่อนหากับ พระอิศวร ตำนานกล่าวว่า พระอิศวรไม ่พอพระทัยที่เทพยดาทั้งหลายไม ่เข ้าเฝ ้าพระองค ์ แต ่พากันไปเฝ ้าพระพุทธเจ ้า แสดงธรรมเทศนา จึงเสด็จไปท ้าประลองกับพระพุทธเจ ้าโดยการแข ่งซ ่อนหากัน ผลปรากฏว่าเมื่อพระอิศวรซ่อนพระวรกายแล้ว พระพุทธเจ้าก็สามารถหาพบได้ในทันที แต่เมื่อถึงคราวพระพุทธเจ้า ซ ่อนพระวรกายบ ้างพระอิศวรกลับหาไม ่พบ จนต้องยอมจำนนในที่สุด และที่แท ้แล ้วพระพุทธองค ์ก็ไม ่ได ้ไปแอบซ ่อน ที่ไหนไกล อยู ่ข ้างบนพระเศียรของพระอิศวรเอง แต ่จนแล ้วจนเล ่าพระอิศวรก็ไม ่ยอมละมิจฉาทิฐิลง พระพุทธเจ ้าจึงไม ่ยอมเสด็จลงมา ท ้ายที่สุดพระอิศวรอดรน ทนไม่ได้ ต้องอ้อนวอนพระพุทธเจ้าจนพระพุทธองค์มีพระดำรัสว่า หากพระอิศวรละมิจฉาทิฐิได้จริงแล้ว ให้นำดุริยางคดนตรี มาประโคมเพลง “สาธุการ” จึงจะเสด็จลงมา พระอิศวรยอมทำตาม นับแต ่นั้นจึงถือว ่าเพลงสาธุการเป็นเพลงที่เหมาะสำหรับ บรรเลงในมงคลฤกษ ์นั่นเอง เป็นที่รู ้กันดีว ่า “อัมพวา” เป็นเมืองที่มีปราชญ ์ดนตรี นับตั้งแต ่ดนตรีไทยแบบประเพณี หลวงประดิษฐ ์ไพเราะ หรือดนตรีไทยสากล ครูเอื้อ สุนทรสนาน ต ่างก็มีถิ่นฐานบ ้านเกิดอยู ่ที่อัมพวา แน่นอนว่า เมื่อผู ้รู ้ในดนตรีอย ่างทั้งสองได ้เห็นภาพจิตรกรรมในหอไตร วัดบางแคใหญ ่ ก็ย ่อมดูออกว ่าเป็น รูปตำนานเพลงสาธุการ ภาพจิตรกรรมที่ดังกล ่าวจึงยิ่งมีคุณค ่าเพิ่มขึ้นเมื่ออยู ่ในเมืองแห ่งดนตรีอย ่างอัมพวา เพลง “สาธุการ” 164
ภายในหอไตร วัดบางแคใหญ ่ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่อง ตำนานเพลงสาธุการ 165
ปัจจุบัน จังหวัดสมุทรสงคราม ยังคงสืบสานมรดกภูมิปัญญาอันมาจากรากฐานทางประวัติศาสตร ์ และ สังคมวัฒนธรรมดั้งเดิมในจังหวัด โดยใช ้สิ่งต ่าง ๆ เหล ่านี้เป็นทุนทางวัฒนธรรม สำหรับพัฒนาเป็นแหล ่งท ่องเที่ยว ทั้งแหล ่งท ่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและแหล ่งท ่องเที่ยวทางธรรมชาติให ้ต ่อยอดทางเศรษฐกิจและอยู ่ร ่วมกับชุมชนในปัจจุบัน ได ้อย ่างมีความสงบร ่มเย็น เช่น ตลาดน้ำอัมพวา ตลาดร ่มหุบ คลองโคน ดอนหอยหลอด ฯลฯ สมดังคำขวัญของจังหวัดที่ว ่า “เมืองหอยหลอด ยอดลิ้นจี่ มีอุทยาน ร. ๒ แม่กลองไหลผ่าน นมัสการหลวงพ ่อบ ้านแหลม” คลองอัมพวา เรือนไทยในอัมพวา ภาพถ ่ายเมื่อราว พ.ศ. ๒๕๒๐ (ที่มาภาพ : หนังสือ เมืองแม ่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม) 166
คลองอัมพวา (ที่มาภาพ : สาวิตรี ถิดตานุรักษ์) 167
คลองอัมพวา (ที่มาภาพ : หนังสือ เมืองแม ่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม) ตลาดน�้ำอัมพวาในปัจจุบัน จาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม 168
คลองอัมพวา (ที่มาภาพ : หนังสือ เมืองแม ่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม) 169
คลองอัมพวา (ที่มาภาพ : หนังสือ เมืองแม ่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม) 170
ตลาดน�้ำท่าคาในปัจจุบัน จาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม คลองท่าคา (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) 171
คลองท่าคา (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) 172
คลองท่าคา (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) 173
คลองท่าคา (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) 174
คลองท่าคา (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) 175
วิถีชีวิตที่ป ่าชายเลน คลองโคน (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) ป่าชายเลนคลองโคน 176
ภูมิทัศน ์ที่คลองโคน (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) 177
ฝูงลิงที่คลองโคน (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) 178
ภูมิทัศน ์ที่ดอนหอยหลอด (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) เรือท ่องเที่ยวที่ดอนหอยหลอด (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) ดอนหอยหลอด 179
สถานีรถไฟแม ่กลอง ภาพถ่าย เมื่อราวป ี พ.ศ. ๒๕๒๐ (ที่มาภาพ : หนังสือ เมืองแม ่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม) สถานีรถไฟแม่กลอง 180
ภาพถ ่ายเก ่าสถานีรถไฟแม ่กลอง ไม ่ทราบป ีที่ถ ่าย (ที่มาภาพ : สุธา คาเฟ่ อนุเคราะห ์ภาพถ ่าย) 181
ตั๋วรถไฟแบบดั้งเดิม (ที่มาภาพ : สุธา คาเฟ่ อนุเคราะห ์ภาพถ ่าย) 182
ตลาดร ่มหุบ เมื่อมีรถไฟวิ่งผ ่านกลางตลาด พ ่อค ้าแม ่ค ้าจะหุบร ่ม พอรถไฟผ ่านไปก็กางร ่มเหมือนเดิม (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) ตลาดร่มหุบ บริเวณสถานีรถไฟแม่กลอง ตลาดชื่อดังของจังหวัดสมุทรสงคราม ที่ตั้งของตลาดที่อยู่แนบชิดกับรางรถไฟ (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) 183
รถไฟเข้าสู่ชานชาลา (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) ตลาดร ่มหุบ (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) 184
รถไฟเข ้าเทียบจอดที่ชานชาลาสถานีแม ่กลอง (ที่มาภาพ : การท ่องเที่ยวแห ่งประเทศไทย สำนักงานสมุทรสงคราม) 185
๔. ภาพถ่ายเก่าเล่าเรื่อง เมืองสมุทรสงคราม The Tale of Samut Songkhram City : illustrate with goldie oldie images
(ที่มาภาพ : สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรสงคราม) ภาพชุด ชุมชนดอนมะโนรา เขินงานอุปสมบททางเรือ 188
ชุมชนดอนมะโนรา เขินงานอุปสมบททางเรือ ที่มาภาพ : สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสมุทรสงคราม) 189
ภาพชุด การป้องเคยที่คลองโคน 190
การใช ้เครื่องมือคล ้ายสวิง “ละวะป้องเคย” สำหรับหยั่งลงไปในน้ำทะเล แล ้วตักตัวเคยที่มากับน้ำ (ที่มาภาพ : ไม่ทราบปีที่ถ่ายภาพ) “การป้องเคย” คือ การใช ้เครื่องมือที่เรียกว ่า “สวิง” ไปช ้อนหรือเอากระวักไปป ้อง เรียกการช ้อนตัวเคยด ้วยสวิง (“ตัวเคย” จะมีลักษณะคล้ายกุ้งแต่ตัวเล็กกว่า มีตาสีดำ ตัวใส ๆ) นำมาทำกะปิ ซึ่งในการป้องเคย ต้องใช้เครื่องมือ ๔ อย่าง คือ ๑. หลักปักละวะ (คือ ไม ้หลักไปปักไว ้เป็นแนวยาว) ๒. ละวะ (คือ ตาข ่ายตาถี่ ๆ หน ้าตาคล ้ายสวิงดักลูกปลามีขนาดใหญ ่ ปากกว้างประมาณ ๓ - ๔ วา บริเวณ ปากเป ิดกว ้างเหมือนสวิง) ๓. ชะเนาะตักเคย (คือ ชะเนาะตักเคย หน ้าตาคล ้ายสวิงขนาดเล็ก ๆ) ๔. เรือ 191
ภาพถ่ายการป้องเคยที่คลองโคน (ที่มาภาพ : ไม่ทราบปีที่ถ่ายภาพ) 192
ภาพถ่ายการป้องเคยที่คลองโคน (ที่มาภาพ : ไม่ทราบปีที่ถ่ายภาพ) 193
ภาพชุด พิธีเปิดพิพิธภัณฑ์สงฆ์ วัดเพชรสมุทรวรวิหาร เมื่อวันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๗ ภายในวัดเพชรสมุทรวรวิหารนั้น มีพิพิธภัณฑ ์สงฆ ์ที่จัดแสดงพระพุทธรูป พระเครื่อง และข้าวของโบราณต่าง ๆ โดยพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ได้มีพิธีเปิด เมื่อวันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๗ ในภาพเป็นรูปพระครูสมุทรเวที เจ้าอาวาสวัดเพชรสมุทร วรวิหาร ในขณะนั้น และคณะกรรมการ ในวันเปิดพิพิธภัณฑ์สงฆ์ วัดเพชรสมุทรวรวิหาร (ที่มาภาพ : วารสาร สมุทรสงคราม ปีที่ ๔ เล่มที่ ๓ ประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗) 194
หน้าบันเก่าแก่ ฝีมือช่างวิจิตร ถูกนำมาจัดแสดงในวันเปิดพิพิธภัณฑ์สงฆ์ วัดเพชรสมุทรวรวิหาร (ที่มาภาพ : วารสาร สมุทรสงคราม ปีที่ ๔ เล่มที่ ๓ ประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗) เครื่องลายคราม จากวัดต่าง ๆ ถูกนำจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สงฆ์ วัดเพชรสมุทรวรวิหาร (ที่มาภาพ : วารสาร สมุทรสงคราม ปีที่ ๔ เล่มที่ ๓ ประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๗) 195
นอกจากข้าวของโบราณต่างๆแล้ว ภายในพิพิธภัณฑ ์สงฆ ์ วัดเพชรสมุทรวรวิหาร ยังได ้มีการจัดแสดงภาพถ ่ายเก ่า ที่เกี่ยวกับวัดเพชรสมุทรวรวิหารมากมายหลายภาพ ดังนี้ ภาพชุด ภาพถ่ายเก่าในพิพิธภัณฑ์สงฆ์ วัดเพชรสมุทรวรวิหาร 196
ภาพถ ่ายเก ่าภายในพิพิธภัณฑ ์สงฆ ์ วัดเพชรสมุทรวรวิหาร 197
ภาพถ ่ายเก ่าภายในพิพิธภัณฑ ์สงฆ ์ วัดเพชรสมุทรวรวิหาร 198