The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by keittapong, 2021-03-12 03:08:09

50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย

50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย

76 รูปวงกลมสามารถแสดงเร่ืองต่าง ๆ ได้อย่าง
3
5 สมบูรณ์ภายในรูปเดียว และเหมาะส�ำหรับ
การแสดงแนวคิดที่ต้องพิจารณารวมกันเป็น
24 องค์รวมโดยไม่จ�ำเป็นต้องระบุทิศทาง

1

รูปวงกลมเปล่าๆ มากกว่าหนึ่งวงสามารถ

น�ำมาใช้แสดงพื้นท่ีท่ีซ้อนทับกันได้

ขนาดของวงกลมสามารถแทนปริมาณหรือ

ระดับความส�ำคัญได้

รูปวงกลมเป็นวัฏจักรแห่งโอกาสท่ีไม่มีวันส้ินสุด

100 50 เคร่ืองมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



21เครื่องมือที่

เป้า, ไข่ดาว
หรือ หัวหอม

THE TARGET,
FRIED EGG
OR ONION

วงกลมและกราฟวงกลม 101



ใจกลางเป้าหมาย

ชั้นผิวของหัวหอม
ไข่แดงของไข่ดาว

ผิวนอกสุด เปลือกไม้
หรือ เปลือกหอย

เพียงการเขียนวงกลมหน่ึงอยู่ภายในอีกวงกลมหนึ่งก็สามารถ
ท�ำให้เรานึกถึงส่ิงต่าง ๆ ได้แล้ว
ตรงกลางของรูปวงกลมอาจถูกมองว่าเป็นรูปไข่แดง หรือใจ
กลางเป้าของลูกดอก หรือแกนของผลแอปเปิ้ล หรือศูนย์กลาง
ของโลก
จุดศูนย์กลางน้ีอาจจะเป็นประเด็นส�ำคัญที่สุดของเร่ือง แก่น
ของเรื่อง กลไกของการท�ำงานภายใน หรืออาจเป็นจุดก�ำเนิด
ของบางสิ่ง

102 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



เราอาจมองแผนภาพน้ีในลักษณะต่อไปน้ีได้ โดยที่พ้ืนที่รอบ
นอกสุดเป็นสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งหมด (ทุก ๆ เรื่องที่
สนใจ) ส่วนที่ให้ความส�ำคัญมากขึ้นก็คือพ้ืนท่ีใกล้ศูนย์กลาง
ส่วนผิวชั้นนอกของรูปภาพยังสามารถเป็นตัวแทนของส่วนที่
หุ้มห่อเร่ืองราวท้ังหมด หรือโลกที่กว้างข้ึน หรือการรวมกัน
ของโอกาส เช่น ลูกค้าหรือขนาดของกลุ่มคนที่คาดว่าจะเป็น
ลูกค้า
ชั้นของวงกลมท่ีเพ่ิมขึ้นสามารถใช้แสดงระดับท่ีต่างกัน เหมือน
กับลักษณะของช้ันผิวของหัวหอม หรือเปลือกผิวของผลไม้
ความกว้างของแต่ละชั้นสามารถปรับเปลี่ยนได้ เพ่ือแสดง
ปริมาณของงาน กลุ่มคน หรือประเด็นค�ำถามท่ีอยู่ในช้ันน้ัน

วงกลมและกราฟวงกลม 103



แบบฝึ กหั ด

STEP จงเลือกเร่ืองที่จ�ำเป็นต้องแสดงปริมาณหรือตัวเลข

1

ขึ้นมาหน่ึงเร่ือง

STEP เขียนวงกลมเพื่อแทนประเด็นหรือตัวเลขให้ครบถ้วน

2

STEP วาดวงกลมเล็ก ๆ ไว้ตรงกลาง แล้วเพ่ิมวงกลมแต่ละช้ัน

3

ข้ึนเรื่อย ๆ ตามความเหมาะสม

STEP ใช้เวลาพิจารณาก�ำหนดสัดส่วนของรูปวงกลมแต่ละช้ัน

4

เพื่อให้สัมพันธ์กับขนาดของเนื้อหาในแต่ละช้ัน

STEP ลองท�ำภาพวงกลมนี้ให้เป็นรูปเหมือนผลไม้ ผัก

5

เป้าของธนู หรือรูปอื่น ๆ ท่ีดูแล้วท�ำให้เกิดการต้ังช่ือ

หรือเห็นภาพในเชิงเปรียบเทียบ เพื่อให้เข้าใจเรื่องท่ี

ก�ำลังน�ำเสนออย่างถูกต้องได้ดีข้ึน

104 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



2 2เคร่ืองมือที่
กราฟวงกลม

THE PIE วงกลมและกราฟวงกลม 105
CHART



ส่วนตลาด X
5%

ส่วนตลาด Y
20%
ส่วนตลาด Z
75%

กราฟวงกลมเป็นวิธีการท่ีใช้กันมาอย่างยาวนานเพ่ือแสดง
ข้อมูลหรือเร่ืองที่แบ่งเป็นส่วนต่าง ๆ
โดยท่ัวไปแต่ละส่วนถูกแบ่งออกโดยใช้ตัวเลขร้อยละ อย่างเช่น
ในตัวอย่างน้ี ตัวเลขดังกล่าวได้แก่ 75%, 20% และ 5%
หากแสดงข้อมูลท่ีมีหลาย ๆ ส่วน แต่ละส่วนก็ควรแสดงไว้
ด้วยตัวเลขแทนอัตราร้อยละเพื่อความชัดเจน
การให้สีที่ต่างกันส�ำหรับแต่ละส่วนช่วยให้มองเห็นความหมาย
ที่แตกต่างกันของแต่ละส่วน ณ ขณะใดขณะหน่ึงได้ในทันที
หากมีส่วนย่อยท่ีต้องแสดงมากกว่าหกส่วน แผนภาพแบบนี้
อาจท�ำให้เกิดความสับสนมากเกินไป ซ่ึงแผนภาพแบบอ่ืนอาจ
จ�ำเป็นต้องน�ำมาใช้แทน เช่น แผนภูมิฮิสโตแกรม

106 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP จงเลือกเรื่องที่สามารถแสดงตัวเลขในเชิงปริมาณ

1

เป็นรูปร้อยละได้ พยายามอย่าให้มีส่วนย่อยที่ต้อง

แสดงเกินกว่าหกส่วน

STEP ให้แปลงตัวเลขร้อยละไปสู่ปริมาณท่ีถูกต้องแล้วแสดงไว้

2

ในแต่ละส่วนของกราฟวงกลม

STEP แบ่งแต่ละส่วนย่อยด้วยสีท่ีต่างกัน

3

แล้วเติมค�ำอธิบายตัวเลขด้วยก็จะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น

STEP ลองใช้แผนภาพน้ีเพื่อจุดประกายความคิดใหม่

4

เก่ียวกับเร่ืองท่ีหยิบยกข้ึนมา

วงกลมและกราฟวงกลม 107



2 3เคร่ืองมือที่

แผนภาพเวนน์

THE VENN
DIAGRAM

108 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



ลักษณะท่ีแบ่งแยก
แตกต่างเฉพาะตัว

ลักษณะท่ีซ้อน ลักษณะท่ีซ้อน
ทับกันสองอย่าง ทับกันมากกว่าสอง

แผนภาพเวนน์ถูกศึกษาอย่างละเอียดโดย John Venn ในปี
1880 เขาเรียกแผนภาพน้ีว่า Euler diagrams เนื่องจาก
Leonhard Euler ได้เคยศึกษาแผนภาพนี้ต้ังแต่ศตวรรษท่ีแล้ว
ภาพวงกลมที่ทับซ้อนกันนี้ มีประโยชน์ในการค้นหาความ
แตกต่างระหว่างคุณสมบัติหรือพื้นท่ีที่มีการซ้อนทับกันของ
คุณสมบัติหรือลักษณะพิเศษเฉพาะตัว

วงกลมและกราฟวงกลม 109



จ�ำนวนวงกลมขั้นต�่ำคือสองวง และขั้นสูงสุดที่น�ำไปใช้กัน
คือสามวง (นักทฤษฎีระดับแนวหน้ากลุ่มหน่ึงได้เขียนวงกลม
แบบนี้ท่ีมีจุดตัดกันถึง 16 จุด แต่ก็มีความซับซ้อนเกินไป
ส�ำหรับการน�ำไปใช้ในเชิงธุรกิจ)
เมื่อรูปวงกลมมาซ้อนทับกัน ก็จะเผยให้เห็นพ้ืนที่ท่ีแยก
ออกไป (ไม่ซ้อนทับกับวงกลมอื่น) ซ่ึงสามารถน�ำไปเทียบ
กับคุณสมบัติที่อยู่ในพ้ืนท่ีซ้อนทับกันได้ต่อไป
ส่วนที่วงกลมท้ังสามมาซ้อนทับกัน คือพื้นท่ีตรงกลางของ
รูปซ่ึงแสดงให้เห็นลักษณะท่ีซ้�ำกันมากกว่าสองวง
ขนาดของพ้ืนท่ีแต่ละส่วนควรมีพอสมควรเพ่ือให้มองเห็น
เน้ือหาภายในส่วนท่ีซ้อนทับกันได้อย่างชัดเจน

110 50 เคร่ืองมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP จงเลือกหัวข้อเรื่องมาสองเรื่องซึ่งมีความสัมพันธ์กัน

1

แต่ไม่ได้มีเน้ือหาเหมือนกันทั้งหมด

STEP จัดวงกลมสองวงให้ซ้อนทับกัน โดยให้ขนาดของพ้ืนที่

2

ท่ีทับกันบอกระดับสิ่งท่ีเหมือนกันได้ตามความเป็นจริง

STEP นอกจากนี้ให้พิจารณาพื้นที่ท่ีไม่ซ้อนทับกับใคร

3

ท�ำการตัดสินใจโดยอาศัยการวิเคราะห์ลักษณะ

ที่เหมือนกันหรือลักษณะที่ต่างคนต่างมี

วงกลมและกราฟวงกลม 111



2 4เครื่องมือที่

ระบบศูนย์กลางไอเดีย

THE CENTRAL
IDEA

SATELLITE
SYSTEM

112 50 เคร่ืองมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



ยไอ่อเยดีย6 ยไอ่อเยดีย1

ยไอ่อเยดีย5 ไอเดีย ยไอ่อเยดีย2
ศูนย์กลาง

ยไอ่อเยดีย4 ยไอ่อเยดีย3

ระบบศูนย์กลางไอเดียใช้วงกลมเพ่ือแทนไอเดียหรือแนวคิด
แล้วเชื่อมโยงเข้าด้วยกันในลักษณะท่ีคล้ายกับดาวบริวารที่
โคจรรอบดาวเคราะห์
ไอเดียหรือความคิดศูนย์กลางโดยทั่วไปจะอยู่ตรงกลางของ
รูป โดยถูกแทนด้วยวงกลมท่ีใหญ่ที่สุดเพ่ือเน้นว่ามีความ
ส�ำคัญที่สุด

วงกลมและกราฟวงกลม 113



วงกลมท่ีเล็กกว่าจะกระจายตัวอยู่รอบ ๆ วงกลมใหญ่ โดย
ปกติจะมีจ�ำนวนอย่างน้อยท่ีสุดสามวง และอย่างมากไม่ควร
เกินหกวง
ไอเดียย่อยเหล่าน้ีควรสัมพันธ์กับความคิดศูนย์กลาง
ไอเดียย่อยอาจมีความหลากหลายในด้านแนวทางหรือตัวกลาง
ที่ใช้ในการส่ือสารหรือมีกลุ่มเป้าหมายผู้รับสารที่ต่างกันก็ได้
แต่ไอเดียย่อยที่โคจรรอบไอเดียหลักเหล่าน้ันยังคงต้องมีความ
สัมพันธ์เชื่อมโยงกันได้ไม่ทางใดก็ทางหน่ึง

114 50 เคร่ืองมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP หาความคิดศูนย์กลางมาหนึ่งอย่างแล้วเขียนไว้

1

ตรงกลางของรูป

STEP จากนั้นเขียนรายการของแนวคิดย่อย ๆ แล้ววาด

2

ออกมาเป็นรูปวงกลมเล็ก ๆ รอบแนวคิดศูนย์กลาง

STEP หากจ�ำเป็น ให้เร่ิมต้นวาดแผนภาพใหม่

3

เพ่ือแตกแนวคิดย่อยออกไปอีก

วงกลมและกราฟวงกลม 115



2 5เคร่ืองมือที่

โครงสร้างโมเลกุล

THE
MOLECULAR
STRUCTURE

116 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



อะตอม อะตอม
7 6

อะตอม
3

อะตอม
5

อะตอม อะตอม
2 4

อะตอม
1

แผนภาพรูปโครงสร้างโมเลกุลมีแรงบันดาลใจมาจากการศึกษา
เร่ืองอะตอมและโมเลกุล
มีประโยชน์มากท่ีสุดส�ำหรับการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
องค์ประกอบส่วนย่อยของโครงสร้างอันซับซ้อนท้ังหมด

วงกลมและกราฟวงกลม 117



มีความยืดหยุ่นมากเนื่องจากรูปร่างที่ออกมาสามารถมีได้
หลายแบบและไม่ต้องเป็นระบบตายตัว ดังนั้นจึงไม่จ�ำกัด
รูปโครงสร้าง โดยท่ีองค์ประกอบอาจถูกเพิ่มเข้าหรือตัด
ออกไปก็ได้
รูปอะตอมแต่ละตัวแสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบของภาพ
รวม
อย่างเช่นในตัวอย่างนี้ คุณสามารถจินตนาการว่าแผนภาพน้ี
เป็นการแสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของกลยุทธ์การสร้าง
แบรนด์หรือหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กร
เส้นท่ีเชื่อมระหว่างอะตอมแสดงให้เห็นรูปแบบบางอย่าง
ของการเช่ือมต่อกัน เช่น การเช่ือมต่อกันระหว่างอะตอม
หนึ่งกับอีกอะตอมหน่ึง ดังตัวอย่าง รูปอะตอม 1 กับ 2 หรือ
ระหว่าง 3 กับ 7 หรืออาจจะมีการเชื่อมโยงจากหน่ึงอะตอม
ไปหลาย ๆ อะตอม อย่างที่แสดงโดยกลุ่มของอะตอม 3,
4, 5 และ 6
แผนภาพแบบน้ีท�ำให้เราแสดงภาพท่ีถูกต้องของการเช่ือม
โยงกันระหว่างบุคคลหรือระหว่างกลุ่ม ซ่ึงสะท้อนความ
สัมพันธ์ระหว่างบุคคลกันเองหรือระหว่างกลุ่มต่อกลุ่ม หรือ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับกลุ่ม

118 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP เลือกเร่ืองหรือโครงสร้างองค์กรขึ้นมาหนึ่งอย่าง

1

STEP เขียนวงกลมต่าง ๆ เพ่ือแทนองค์ประกอบแต่ละส่วน

2

ของเร่ืองหรือองค์กรนั้น

STEP พิจารณาว่าองค์ประกอบแต่ละส่วนมีความสัมพันธ์

3

ต่อกันและกันอย่างไร โดยการวาดเส้นเชื่อมโยงวงกลม

ที่มีความสัมพันธ์กัน

STEP เขียนแผนภาพข้ึนใหม่ถ้าจ�ำเป็น เพ่ือแสดงวิธีการท่ี

4

องค์ประกอบทุกส่วนท�ำงานร่วมกันได้อย่างชัดเจน

วงกลมและกราฟวงกลม 119



26เคร่ืองมือท่ี

แผนภาพความสมดุล
ระหว่างงานกับชีวิต

THE
WORK/LIFE

BALANCE
DIAGRAM

120 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



บุคคลที่ ชีวิตส่วนตัว ชีวิตการงาน
หงุดหงิด

มีการซ้อนทับกัน
เล็กน้อย

บุคคลที่แจ่มใส ชีวิตส่วนตัว
และ
มีการซ้อนทับกัน
อย่างมาก การงาน

วงกลมและกราฟวงกลม 121



แผนภาพซึ่งเหมือนกับแผนภาพเวนน์นี้มีประโยชน์มากใน
การค้นหาค�ำตอบว่าคุณมีความสมดุลระหว่างงานกับชีวิต
อย่างเหมาะสมหรือไม่
วงกลมสองวงเป็นตัวแทนของชีวิตส่วนตัวกับชีวิตในด้าน
การงาน ซ่ึงระดับการซ้อนทับกันของวงกลมทั้งสองสามารถ
บอกว่าบุคลิกลักษณะของคุณในตอนท�ำงานกับในยามว่าง
เหมือนกันแค่ไหน และบอกว่าลักษณะของงานท่ีคุณท�ำมี
ความสัมพันธ์กับส่ิงท่ีท�ำให้คุณสนใจในยามว่างหรือไม่
ใครก็ตามท่ีมีพ้ืนท่ีวงกลมท้ังสองวงซึ่งซ้อนทับกันเพียงเล็ก
น้อยแสดงว่าก�ำลังมีชีวิตที่ค่อนข้างจะแยกจากกันเป็นสอง
ส่วน และมักจะน�ำไปสู่ความหงุดหงิด
ใครก็ตามที่มีพ้ืนท่ีวงกลมท้ังสองวงซึ่งซ้อนทับกันมากน่าจะ
มีความหงุดหงิดน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเปลี่ยนแปลงบุคลิก
ตัวเองในท่ีท�ำงาน และน่าจะท�ำงานที่ตนเองให้ความสนใจ
อยู่แล้ว

122 50 เคร่ืองมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP ใช้วงกลมสองวงเป็นภาพแทนบุคลิกของคุณในงาน

1

และในชีวิตส่วนตัว

STEP แสดงขนาดของการซ้อนทับกันของวงกลมท้ังสอง

2

โดยพยายามให้สัดส่วนของการซ้อนทับแสดงระดับ

ความเกี่ยวข้องกันระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว

ตามความเป็นจริง

STEP หากจ�ำเป็น ให้ท�ำซ้�ำอีกครั้งเพื่อให้แน่ใจว่า

3

ลักษณะงานของคุณสัมพันธ์กับความสนใจของคุณ

โดยทั่วไปแค่ไหน

STEP หากพ้ืนท่ีซ้อนทับกันมีขนาดเล็ก ให้พิจารณาว่าเรื่องใด

4

เป็นเร่ืองหลักที่ท�ำให้เกิดความหงุดหงิด แล้วดูว่า

คุณจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงอะไรบางอย่างในเนื้องาน

หรือในชั่วโมงการท�ำงานของคุณหรือไม่

วงกลมและกราฟวงกลม 123



27เคร่ืองมือท่ี

วงจรการเปล่ียนแปลง
บทบาทผู้น�ำทีม

THE
CHANGING
ROLE OF THE
TEAM LEADER

CIRCLE

124 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



การส่ังการ การช้ีแนะ

12
43

การกระตุ้น การสนับสนุน

วงจรการเปลี่ยนแปลงบทบาทผู้น�ำทีมมีประโยชน์มากส�ำหรับ
การพิจารณาว่าจะด�ำเนินการอย่างไรกับสมาชิกในทีมซึ่งอาจ
มีระดับของประสบการณ์ท่ีแตกต่างกัน
ในรูปส่วนท่ีหน่ึง ผู้น�ำต้องสั่งการผู้ใต้บังคับบัญชาในเรื่องท่ี
ผู้บังคับบัญชามีความรู้ดีหรือก�ำลังท�ำอยู่แล้ว โดยสามารถ
ปล่อยให้พวกเขาท�ำตามท่ีส่ังการน้ันได้

วงกลมและกราฟวงกลม 125



ในรูปส่วนท่ีสอง ผู้น�ำจ�ำเป็นต้องช้ีแนะสมาชิกในทีมเพราะว่า
ลูกน้องยังไม่เคยท�ำงานนั้นมาก่อน และจ�ำเป็นต้องได้รับการ
สอนวิธีการท�ำงานนั้น
ในส่วนที่สามของวงจร คนในทีมมีความรู้ในงานที่ตนก�ำลังท�ำ
ค่อนข้างดีอยู่แล้วแต่อาจจ�ำเป็นต้องการการสนับสนุน ดังน้ัน
ผู้น�ำจึงต้องแสดงบทบาทในการสนับสนุนพวกเขา
ในส่วนท่ีส่ี ลูกน้องอาจท�ำงานของพวกเขามาแล้วหลาย ๆ
คร้ังและต้องการแรงจูงใจ ดังนั้นผู้น�ำจึงจ�ำเป็นต้องกระตุ้นและ
ฟื้นฟูความกระตือรือร้นให้กับลูกน้องในลักษณะนี้
มันเป็นเร่ืองส�ำคัญที่ต้องตระหนักว่าคนคนเดียวกันอาจมี
สถานะที่แตกต่างกันส�ำหรับงานท่ีไม่เหมือนกันก็ได้ แม้ว่าจะ
เป็นวันเดียวกันก็ตาม ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ก่อนหน้านั้นของ
พวกเขา

126 50 เคร่ืองมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP เลือกสมาชิกในทีมของคุณขึ้นมาหนึ่งคน

1

STEP เขียนรายการของงานห้าถึงหกอย่าง

2

ซึ่งคุณต้องการให้สมาชิกในทีมของคุณด�ำเนินการ

STEP พิจารณาว่าควรจะประยุกต์บทบาทของคุณในฐานะ

3

ผู้น�ำทีมแบบไหนในแต่ละงาน หากคุณไม่แน่ใจ

ให้ถามลูกทีมของคุณว่าพวกเขารู้สึกสบายใจแค่ไหน

ท่ีได้ท�ำงานนั้น

STEP ท�ำข้ันตอนแบบน้ีซ�้ำอีกคร้ังส�ำหรับสมาชิกในทีมแต่ละคน

4

แล้วใช้มันเพ่ือเป็นคู่มือในการเลือกบทบาทของคุณ

เมื่อต้องมอบหมายงานช้ินต่อไป

วงกลมและกราฟวงกลม 127



28เครื่องมือท่ี

กรวยหรือโทรโข่ง
เพ่ื อการสื่อสาร

THE CONE
OR LOUD

HAILER

128 50 เคร่ืองมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



โทรโข่งเป็นตัวแทนของข้อความ
ที่เข้มข้นและสอดประสานกัน

กรวยส�ำหรับการขยายและ
พัฒนาข้อความที่แตกต่าง
ไอเดียศูนย์กลาง

แรงส่งต่อเนื่องและความพยายามที่ก�ำลังเพ่ิมข้ึน

กรวยหรือโทรโข่งเพื่อการส่ือสารนี้เป็นวิธีท่ีน่าสนใจในการ
ออกแบบกลยุทธ์ส�ำหรับการส่ือสาร ซึ่งเก่ียวข้องกับข้อความ
หลาย ๆ ข้อความ
ส่วนที่แคบตรงปลายหรือปากของรูปโทรโข่งเป็นส่วนท่ีแทน
ไอเดียศูนย์กลาง

วงกลมและกราฟวงกลม 129



ส่วนล�ำตัวของรูปกรวยจะเป็นพื้นท่ีซึ่งไอเดียน้ันได้ถูกขยายขึ้น
หรือถูกพัฒนาไปสู่รูปแบบของข้อความท่ีแตกต่างออกไปเพ่ือ
ให้เหมาะกับวัตถุประสงค์และผู้รับสารที่แตกต่างกัน
ในขณะที่ข้อความเหล่าน้ีได้รับการพัฒนามากข้ึน จะต้องมีแรง
ส่งที่ต่อเนื่องและความพยายามที่เพ่ิมขึ้นด้วย
ส่วนปลายด้านขวาท่ีใหญ่และเปิดกว้างแสดงให้เห็นพลังของ
การส่ือสารที่สอดประสานกันของข้อความทุก ๆ ข้อความท่ีมา
รวมกันเพ่ือให้ผลลัพธ์ท่ีดีท่ีสุด

130 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP เลือกโครงการเพ่ือการส่ือสารข้ึนมาหน่ึงโครงการ

1

STEP แล้ววางแนวคิดศูนย์กลางไว้ท่ีส่วนซ้ายมือของรูปกรวย

2

แล้วใช้ส่วนล�ำตัวของกรวยเพ่ือแสดงรูปแบบของวิธีการ

ท่ีแตกต่างซึ่งจ�ำเป็นส�ำหรับกลุ่มผู้รับสารหรือการใช้ส่ือ

ที่แตกต่างกัน

STEP จับวิธีการสื่อสารเหล่าน้ันทุกอย่างมารวมกัน

3

แล้วสอดประสานจนเป็นหนึ่งเดียวตรงส่วนขวาสุด

ของรูป

วงกลมและกราฟวงกลม 131



29เคร่ืองมือท่ี

วงจรแห่งค�ำถาม

CYCLE OF
QUESTIONS

132 50 เคร่ืองมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



2. ท�ำไม ?

1. แล้วไง ? 3. อย่างไร ?
4. ใคร ?
10. อะไร ?

9. เรามาถึง 5. เมื่อไหร่ ?
หรือยัง ? 6. ท่ีไหน ?

8. อะไรบางอย่าง
จะผิดพลาดถ้า...

7. เราจ�ำเป็นต้องท�ำ
อย่างนี้จริง ๆ หรือ ?

วงจรแห่งค�ำถาม เป็นกระบวนการซึ่งมีขั้นตอนสิบอย่างท่ีมี
ประโยชน์เพ่ือท�ำให้คุณแน่ใจได้ว่าไอเดียหรือโครงการของ
คุณจะต้องส�ำเร็จเป็นจริงได้
ค�ำถามท่ีว่า แล้วไง ? เป็นจุดเริ่มต้นของการคัดเลือกไอเดีย
หรือโครงการโดยการถามหาประเด็นส�ำคัญของไอเดียหรือ
โครงการนั้น ๆ สมมติว่าค�ำตอบที่ได้เป็นเชิงบวก ขั้นต่อไป
ก็คือการอธิบายเหตุผลท่ีท�ำให้ได้ค�ำตอบเช่นน้ัน

วงกลมและกราฟวงกลม 133



จากนั้นระบบค�ำถามนี้ก็จะเคล่ือนท่ีไปสู่ค�ำถามว่า ท�ำอย่างไร
เมื่อไหร่ และ ที่ไหน ถึงจะท�ำให้ไอเดียหรือโครงการน้ันบรรลุ
ผลส�ำเร็จ รวมทั้งคนท่ีต้องลงมือท�ำจริง ๆ คือใคร
เม่ือองค์ประกอบในทุกด้านได้รับการพิจารณาอย่างถ่ีถ้วนจน
ได้ค�ำตอบเป็นท่ีน่าพอใจทุกข้อแล้ว ต่อจากนั้นก็จะเป็นการ
ใช้ค�ำถามส�ำหรับตรวจสอบความสมเหตุสมผลเพื่อให้แน่ใจว่า
ไม่มีแง่มุมไหนที่ถูกมองข้ามไป
ค�ำถามดังกล่าวก็คือ เราจ�ำเป็นต้องท�ำงานโครงการนี้จริง ๆ
หรือ ? อะไรบางอย่างจะผิดพลาดได้ถ้า... (เติมประโยคต่อ
ท้ายให้สมบูรณ์) และ เราได้มาถึงท่ีน่ันหรือยัง ?
ส่วนค�ำถามว่า อะไร ? จะถูกปล่อยให้เป็นค�ำถามปิดท้าย
หากค�ำถามน้ีไม่ได้รับค�ำตอบอย่างชัดเจนเพียงพอ คุณก็อาจ
จะตัดสินใจยังไม่เร่ิมต้นโครงการเลยก็ได้

134 50 เคร่ืองมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP เลือกโครงการขึ้นมาหน่ึงโครงการ

1

STEP เขียนค�ำถามทั้งสิบค�ำถามน้ีไว้ แล้วตอบแต่ละค�ำถาม

2

ตามล�ำดับด้วยค�ำตอบไม่เกินหนึ่งประโยค

STEP หากคุณไม่สามารถตอบค�ำถามใดค�ำถามหน่ึงได้

3

ในเชิงบวก ก็อย่าเพ่ิงข้ามไปตอบค�ำถามถัดไป

แต่ให้กลับมาพิจารณาอีกคร้ังว่าคุณควรยกเลิก

หรือทบทวนไอเดียน้ันหรือไม่

วงกลมและกราฟวงกลม 135



30เคร่ืองมือที่

วงจรการน�ำเสนอความคิด
‘จากคุณไปสู่โลก’

THE
’FROM YOUR
HEAD TO THE
WORLD’ CIRCLE

136 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



2.
ร่างความคิด
บนกระดาษ

1. ความคิดในหัว 3. ปรับปรุงร่างด้วย
ของคุณ คอมพิวเตอร์

10. ความคิดเห็น 4. คุยกับเพื่อน
ป้อนกลับ ร่วมงาน
9. คนท้ังโลก หรือทีม
มีส่วนร่วม 5. สร้างความรับรู้
ในท่ีท�ำงาน

8. คนท้ังทวีป 6. ให้ชุมชนหรือชาวเมือง
มีส่วนร่วม มีส่วนร่วม

7. ให้คนท้ังประเทศ
รับรู้

(มีหลายศูนย์กลาง)

วงจรการน�ำเสนอความคิด ‘จากคุณไปสู่โลก’ เป็นระบบ
ที่ช่วยให้คุณหาวิธีสื่อความคิดของคุณไปยังคนอ่ืน ๆ ได้
อย่างมีประสิทธิผล
ทุก ๆ ความคิดเริ่มต้นที่หัวของคุณและความท้าทายคือ
จะสามารถสื่อความคิดน้ันไปยังคนอ่ืน ๆ ได้อย่างไรตาม
ที่ต้ังใจ

วงกลมและกราฟวงกลม 137



ขั้นตอนแรกคือการร่างความคิดนั้นไว้บนแผ่นกระดาษ น�ำไป
คิดพิจารณาสักพัก แล้วพิมพ์มันลงในคอมพิวเตอร์
ไอเดียหรือแนวคิดนั้นควรถูกน�ำไปทดสอบกับเพื่อนร่วมงาน
หรือสมาชิกในทีมของคุณก่อนที่จะพิจารณาหาวิธีประกาศให้
คนในที่ท�ำงานทุกคนได้รับรู้
หลังจากนั้น ระดับของการเปิดรับก็ข้ึนอยู่กับขนาดของกิจการ
ของคุณ แต่ก็สามารถขยายการสื่อสารไปถึงระดับเมือง, จังหวัด,
ประเทศ, ทวีป หรือแม้แต่ถึงระดับโลกก็ได้
ในแต่ละระดับ ค�ำถามท่ีต้องพิจารณาก็คือ วิธีการส่ือสารที่
เหมาะสมในแต่ละระดับควรเป็นอย่างไร ซึ่งวิธีการสื่อสารที่
ดีแบบเดิมอาจจะไม่เหมาะกับทุกสถานการณ์เสมอไปก็เป็นได้

138 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP เลือกไอเดียมาหนึ่งอย่างซ่ึงคุณต้องการเปิดเผย

1

หรือแบ่งปันกับคนอื่น ๆ

STEP จากนั้นจึงเขียนร่างของไอเดียนั้นแล้วปรับปรุงให้เรียบร้อย

2

แล้วน�ำไปทดสอบกับเพื่อนร่วมงานบางคนของคุณ

STEP แล้วพิจารณาต่อไปว่าใครอีกท่ีจ�ำเป็นต้องเข้าใจ อนุมัติ

3

หรือต้องรับรองไอเดียนั้น

STEP ตัดสินใจเลือกวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการส่ือสาร

4

ไอเดียนั้นไปในกลุ่มคนแต่ละระดับ น�ำแผนการต่าง ๆ

ในการสื่อสารมารวมกันแล้วน�ำไปปฏิบัติให้เกิดผลต่อไป

วงกลมและกราฟวงกลม 139



เครื่องมือแก้ปัญหา

ไทม์ไลน์

TIMELINES AND
YEARVIEWS



เวลา คือ แนวคิดที่มนุษย์คิดค้นขึ้นเพื่อไม่ให้ทุก ๆ ส่ิงเกิดข้ึน

พร้อมกันทันที

เราสามารถแบ่งเส้นไทม์ไลน์ออกเป็นประเภทต่างได้หลายวิธี

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. การแบ่งเวลาหนึ่งปีออกเป็น
ช่วงเวลาที่แตกต่างกันจะท�ำ
ให้มองเห็นและเข้าใจอะไร ๆ
ได้หลายอย่างมากขึ้น

กลยุทธ์ พลังงาน และแรงจูงใจ ท้ังหมดน้ีจะถูกพิจารณา

ด้วยมุมมองใหม่

ทั้งบุคคลและบริษัทต่าง ๆ อาจพบว่า

การท�ำงานให้เสร็จภายในก�ำหนดเส้นตาย
ท�ำได้ง่ายข้ึน

ไทม์ไลน์ 141



31เครื่องมือท่ี

ช่วงเวลา
ก่อนเส้นตาย

LIVELINE

142 50 เคร่ืองมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



เร่ิมต้น ส�ำเร็จ

ก่อนเส้นตาย เส้นตาย
ให้ความส�ำคัญ
ไม่สนใจ

เส้นตายคือขีดจ�ำกัดของเวลาส�ำหรับการท�ำกิจกรรมใด ๆ
ก็ตาม
ข้อผิดพลาดท่ีใหญ่ที่สุดซึ่งทุก ๆ คนท�ำเมื่อต้องจัดการกับ
ก�ำหนดเส้นตายก็คือการให้ความส�ำคัญกับก�ำหนดเส้นตาย
มากกว่าช่วงเวลาต่าง ๆ ที่อยู่ก่อนหน้าน้ัน
ช่วงเวลาก่อนเส้นตายควรมีความยาวมากกว่าเส้นตาย 99%

ไทม์ไลน์ 143



ช่วงเวลาของเส้นตาย จะข้ึนอยู่กับความยาวของช่วงเวลา
กอ่ นหน้าน้ัน ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงก่อนเส้นตายซึ่งมีความ
ยาวหน่ึงชั่วโมงอาจมีเส้นตายท่ีมีความยาวหนึ่งนาที ในขณะ
ท่ีโครงการท่ีด�ำเนินการมาห้าปีอาจมีเส้นตายหน่ึงวันในการ
น�ำโครงการออกสู่ตลาด
ตัดสินใจก�ำหนดเส้นตายแล้วก็เริ่มลงมือด�ำเนินโครงการเลย
อย่ามัวเสียเวลาอีกต่อไป ให้ใช้เวลาทั้งหมดของคุณเพื่อให้
ความส�ำคัญกับช่วงเวลาก่อนเส้นตายซึ่งมีสัดส่วน 99% ของ
เวลาท้ังหมดในการท�ำงาน

144 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP

1 เลือกโครงการมาหนึ่งโครงการ

STEP

2 ค�ำนวณปริมาณเวลาท้ังหมดที่โครงการต้องใช้
แล้วก�ำหนดช่วงเวลาของเส้นตาย

STEP

3 จากนั้นให้ด�ำเนินการย้อนจากข้างหลังมาข้างหน้า
โดยการให้ความส�ำคัญกับช่วงเวลาก่อนเส้นตาย
มุ่งเน้นไปท่ีความยาวของเส้นน้ีแล้ววางแผนว่า
จ�ำเป็นต้องท�ำอะไรบ้าง ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาที่ยาวนาน
พอสมควรก่อนจะถึงก�ำหนดเส้นตาย

ไทม์ไลน์ 145



32เครื่องมือที่

เส้นตายส่วนตัว

THE
PERSONAL
DEADLINE

146 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเรื่องง่าย



วิกฤตที่จะต้องส่งงาน ตื่นตระหนก
ผัดวันประกันพรุ่ง ส่งงาน

ไตร่ตรองแล้ว ลงมือท�ำ
คิดและตัดสินใจ
เลือกทิศทาง

การก�ำหนดเส้นตายส่วนตัวเป็นปัญหาของคนส่วนใหญ่
เน่ืองจากพวกเขามักปล่อยให้สิ่งต่าง ๆ สายเกินไปก่อน
ท่ีจะเร่ิมลงมือท�ำงาน
ส�ำหรับคนส่วนใหญ่ ปัญหาน้ีเป็นนิสัยท่ีเกิดขึ้นเม่ือพวก
เขาเรียนหนังสือและต้องส่งรายงานหรือวิทยานิพนธ์ให้
ทันภายใต้ก�ำหนดเส้นตาย

ไทม์ไลน์ 147



สามัญส�ำนึกบอกเราว่าการเร่ิมท�ำงานต้ังแต่เนิ่น ๆ จะส่งผล
ให้เกิดความเครียดน้อยกว่าและได้ผลลัพธ์สุดท้ายที่มีคุณภาพ
สูง แต่ธรรมชาติของมนุษย์กลับไม่เป็นเช่นนั้น และหลายคน
ปล่อยงานทุกอย่างเอาไว้จนกระท่ังนาทีสุดท้าย
เส้นก�ำหนดเวลาหรือไทม์ไลน์นี้ช่วยให้คุณมีใจจดจ่ออยู่ที่งาน
ต่าง ๆ เบ้ืองหน้าในขณะที่ยังมีเวลาเหลืออยู่
การตรวจสอบข้อเท็จจริงและประเด็นส�ำคัญต่าง ๆ น้ันเป็น
ส่ิงท่ีควรท�ำตั้งแต่เน่ินๆ เท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อให้เส้นเวลาน้ัน
ได้รับการไตร่ตรองมาเป็นอย่างดี
เมื่อมีการตัดสินใจเลือกทิศทางแล้ว การลงมือท�ำงานต่าง ๆ
ตามล�ำดับก็สามารถเร่ิมได้เลย แล้วการบรรลุผลส�ำเร็จก็จะ
เกิดขึ้นตามมา
แนวคิดน้ีก็คือการหลีกเล่ียงวิกฤตในการส่งงาน ซ่ึงเกิดขึ้นจาก
การปล่อยเวลาไว้จนสายเกินไปและงานท่ีรีบเร่งก�ำลังรออยู่
เต็มไปหมดเม่ือใกล้จะหมดเวลา พร้อมกับมีแรงกดดันอย่างสูง
โดยไม่จ�ำเป็น ค�ำพูดเก่าแก่ท่ีว่า “ฉันท�ำงานได้ดีภายใต้แรง
กดดัน” นั้นไม่จริงเสมอไปและอาจน�ำไปสู่ความเข้าใจผิดได้

148 50 เครื่องมือ แก้ปัญหายาก ๆ ให้เป็นเร่ืองง่าย



แบบฝึ กหั ด

STEP

1 เลือกโครงการมาหนึ่งโครงการที่คุณรู้ก�ำหนดเส้นตาย
อยู่แล้ว

STEP

2 จากน้ันให้เตรียมการแบบย้อนหลังโดยเร่ิมจากวัน
ก�ำหนดส่งงาน เพ่ือค�ำนวณว่าคุณต้องใช้ความพยายาม
แค่ไหนที่จ�ำเป็นในการท�ำโครงการน้ันให้ส�ำเร็จ

STEP

3 ตัดสินใจเลือกทิศทางของโครงการในทันที หรือต้อง
ไม่เกินวันพรุ่งน้ี

STEP

4 เร่ิมต้นลงมือท�ำงานตามล�ำดับตลอดช่วงเวลาท่ีเหลืออยู่

ไทม์ไลน์ 149


Click to View FlipBook Version