The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

04.อาหารตามหลักโภชนาการแผนปัจจุบัน (Current Conventional Conceptsin Food and Nutrition)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศรัณยู พรมใจสา, 2022-04-26 00:36:59

04.อาหารตามหลักโภชนาการแผนปัจจุบัน (Current Conventional Conceptsin Food and Nutrition)

04.อาหารตามหลักโภชนาการแผนปัจจุบัน (Current Conventional Conceptsin Food and Nutrition)

ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานซึ่งเลือกที่จะด่ืมแอลกอฮอล์บ้าง
ควรจากัดการดมื่ แอลกอฮอลใ์ นปรมิ าณปานกลาง คือดื่มไม่เกิน
1 ดริ้งค์ต่อวันในผู้หญิง และไมเ่ กนิ 2 ดริ้งค์ตอ่ วันในผชู้ าย

(E): 1 ดร้ิงค์ = ไวน์ 1 แก้ว (120 ซีซี), เบียร์ 1 ขวด

(360 ซีซี), วสิ กหี้ รอื เหลา้ 1 ออนซ์ (30 ซซี ี)

เพือ่ ลดความเส่ยี งตอ่ การมภี าวะนา้ ตาลตา่ ในผู้ท่ีเป็นโรคเบาหวาน
ท่ฉี ดี อินซลู นิ ควรดื่มแอลกอฮอลพ์ รอ้ มอาหาร (E)

ผูท้ ่เี ป็นโรคเบาหวานท่ดี ่ืมเฉพาะแอลกอฮอล์อย่างเดียวในปริมาณ
ป า น ก ล า ง จ ะ ไ ม่ มี ผ ล ทั น ที ต่ อ ร ะ ดั บ น้ า ต า ล แ ล ะ อิ น ซู ลิ น
แต่การรับประทานอาหารท่ีมีคาร์โบไฮเดรตร่วมกับการด่ืม
แอลกอฮอล์ (ในmixed drink) อาจจะเพิ่มระดับน้าตาล
ในเลอื ดได้ (B)

5. จุลสารอาหาร (Micronutrients)
ในการรักษาโรคเบาหวาน

ในปจั จบุ ันยังไมม่ ีขอ้ มูลทชี่ ดั เจนถงึ ประโยชน์ของการเสริมวิตามินและเกลือแร่
ในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่ไม่ได้มีการขาดสารอาหาร เมื่อเปรียบเทียบ
กบั บคุ คลทวั่ ไป (A)

การรับประทานวิตามินเสริมเป็นประจาในกลุ่มของ antioxidants
เช่น วิตามินอี วิตามินซี และแคโรทีน ยังไม่แนะนาให้รับประทานเสริม
เนื่องจากยังขาดหลักฐานถึงประสิทธิผล และความปลอดภัยของการเสริม
วิตามินเหล่านี้ในระยะยาว (A)

ประโยชน์ของการรับประทานโครเมียมเสริมในผู้ท่ีเป็น
โรคเบาหวานยังไม่ชัดเจน ดังนั้นจึงยังไม่แนะนา
ให้รบั ประทานโครเมียมเสรมิ (E)

6. โภชนบาบัดในผู้ท่เี ปน็ โรคเบาหวานชนิดท่ี 1

ผู้ทเ่ี ป็นโรคเบาหวานชนิดท่ี 1 ควรปรบั อนิ ซูลินให้เหมาะกับแผนการ
รับประทานอาหาร และการออกกาลังกายเฉพาะของแต่ละคน (E)

ผู้ท่ีใช้ rapid acting insulin โดยการฉีดหรือใช้อินซูลินปั้ม
ค ว ร ป รั บ อิ น ซู ลิ น ใ น ม้ื อ อ า ห า ร แ ล ะ อ า ห า ร ว่ า ง ต า ม ป ริ ม า ณ
คารโ์ บไฮเดรตในอาหาร (A)

ผู้ทฉ่ี ดี อินซูลิน fixed dose ทุกวนั ควรรบั ประทานคารโ์ บไฮเดรต
คงที่ในแต่ละวัน โดยปริมาณและเวลาที่รับประทานควรให้ใกล้เคียง
กนั ทกุ วัน (C)

การออกกาลังกายที่มกี ารวางแผนไว้ลว่ งหนา้ ควรปรับปรมิ าณอนิ ซลู ิน
ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ช นิ ด ข อ ง ก า ร อ อ ก ก า ลั ง ก า ย แ ล ะ ร ะ ดั บ น้ า ต า ล
ถ้าออกกาลังกายโดยที่ไม่ได้วางแผนไว้ก่อน อาจต้องรับประทาน
คารโ์ บไฮเดรตเพิม่ ขึ้น (E)

7. โภชนบาบัดในผู้ท่เี ปน็ โรคเบาหวานชนิดท่ี 2

ผทู้ ่เี ป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ควรส่งเสริมให้มีการปรับเปล่ียนวิถี
การดาเนนิ ชีวิต โดยลดพลังงานจากอาหารที่รับประทานให้น้อยลง
ลดอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว ไขมันทราน ซ์ คอเลสเตอรอล
และโซเดียม รวมทั้งเพ่ิมการเคล่ือนไหวร่างกาย/ออกกาลังกาย
ซ่งึ จะช่วยใหร้ ะดับนา้ ตาล ไขมัน และความดนั โลหิตดขี นึ้ (E)

การติดตามประเมินระดับน้าตาลในเลือด
จะเป็นสิ่งที่ใช้พิจารณาในการปรับอาหาร
และม้ืออาหารว่าเหมาะสมกับการควบคุม
ระดับน้าตาลท่ีได้ต้ังเป้าหมายไว้หรือไม่
ห รื อ อ า จ จ ะ ต้ อ ง ใ ช้ ย า ร่ ว ม กั บ ก า ร ใ ช้
โภชนบาบัด (C)

ผู้สูงอายุที่อ้วนและเป็นโรคเบาหวาน การจากัดพลังงานจากอาหาร
บ้างเล็กน้อย และการเพิ่มการเคลื่อนไหวและออกกาลังกาย
อาจไดป้ ระโยชน์ในการควบคมุ นา้ หนักตัว (E)

การเสรมิ วติ ามนิ รวมทกุ วนั อาจจะเหมาะสมในผู้สูงอายุ
โดยเฉพาะผู้สูงอายุทรี่ บั ประทานอาหารน้อยลง (C)

ผู้ ที่ เ ป็ น โ ร ค เ บ า ห ว า น แ ล ะ มี อ า ก า ร ข อ ง โ ร ค หั ว ใ จ ล้ ม เ ห ล ว
การรับประทานโซเดยี ม < 2,000 มลิ ลกิ รัม/วัน อาจช่วยลดอาการได้ (C)

ผทู้ มี่ คี วามดนั โลหิตสูง การลดปริมาณโซเดียมท่ีรับประทานลงเหลือ
เพียง 2,300 มิลลิกรัม/วัน ร่วมกับการรับประทานอาหารประเภท
ผัก ผลไม้มากขึ้น และดื่มนมพร่องไขมัน จะช่วยลดระดับความดัน
โลหติ ได้ (A)

การลดน้าหนกั ตัวเพยี งเล็กน้อยจะช่วยในการลดความดันโลหิต (C)

การวางแผนและการใหโ้ ภชนบาบดั
สาหรบั ผูท้ ี่เปน็ โรคเบาหวาน

กาหนดพลังงานอาหารที่รับประทานให้เหมาะสม เพ่ือให้ผู้ท่ีเป็น
โรคเบาหวาน สามารถรักษาน้าหนักตัวหรือควบคุมน้าหนักตัว
ใ ห้ อ ยู่ ใ น เ ก ณ ฑ์ ท่ี ค ว ร เ ป็ น ผู้ ที่ มี น้ า ห นั ก เ กิ น ห รื อ อ้ ว น
ควรลดน้าหนักตัวให้ได้ประมาณ 5-10% ของน้าหนักที่เป็นอยู่
ในขั้นแรก และรักษาน้าหนักที่ลดให้ได้อย่างต่อเน่ือง รวมท้ังปรับ
วิ ถี ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม จ ะ ช่ ว ย ล ด
ภาวะแทรกซ้อนของโรคอ้วนได้ การให้โภชนบาบัดในการรักษา
โรคอ้วน ใชห้ ลกั การของ National Institute of Health

กาหนดปริมาณโปรตีนประมาณ 10-20% ของพลังงาน โดยเน้นแหล่ง
ของโปรตีนจากเนื้อสัตว์ที่มีไขมันน้อย เช่น ปลา ไก่ ถ่ัวเมล็ดแห้ง
และผลิตภัณฑจ์ ากถัว่ เมล็ดแห้ง

กาหนดปริมาณไขมันชนิดของไขมันและคอเลสเตอรอลให้เหมาะสม
กับแต่ละบุคคล ซึ่งขึ้นอยู่กับระดับไขมันในเลือดของแต่ละคน
ผู้ที่มีความผิดปกติของระดับไขมันในเลือด ควรควบคุมระดับไขมัน
ใ น เ ลื อ ด โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ก า ร ข อ ง TLC Diet (Therapeutic
Lifestyle Changes Diet) รว่ มด้วย

กาห น ด ใ ห้มีก าร ก ร ะจ าย ตั วข อ งอ าหา ร ท่ีเ ป็ น แ หล่ง ขอ ง
คาร์โบไฮเดรตที่คงที่ และ ไล่เล่ียกันตลอดทั้งวัน โดยใช้รายการ
อาหารแลกเปลี่ยน การนับหน่วยคาร์โบไฮเดรตและอาหาร
ท่ีมคี ารโ์ บไฮเดรตเชิงซ้อน รว่ มในการวางแผนอาหาร

ลดปริมาณโซเดียมในอาหารสาหรบั ผทู้ ีม่ ปี ญั หาความดันโลหิตสูง

ติดตามประเมินการบริโภคไขมันในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานท่ีมีระดับ
ไขมนั ในเลือดสงู

กาหนดและดัดแปลงอาหารให้เหมาะสมกับอาหารในท้องถ่ิน
ของผ้ทู ่ีเปน็ โรคเบาหวาน รบั ประทานเป็นประจา

โรคเบาหวานเป็นโรคเร้ือรังท่ีต้องรักษาติดต่อกันเป็นเวลานาน
หรือตลอดชีวิต ดังนั้นเพ่ือรักษาอาการของโรคและป้องกันอันตราย
จากโรคแทรกซ้อนท่ีอาจจะเกิดข้ึนได้ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
จา เป็ นต้ อ ง ปฏิ บัติ ตั ว ใน กา ร รับ ป ระท า นอ า หา รที่ถู กต้ อ ง
การออกกาลังกาย ท่ีเหมาะสม การรับประทานยาหรือฉีดยา
รวมท้ังเพ่ิมทักษะการดูแลตนเอง อาหารเป็นปัจจัยสาคัญ
ท่ชี ว่ ยให้การรกั ษาได้ผลดี

ผู้ท่ีเป็นโรคเบาหวานควรเรียนรู้ถึงการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ
เห็นคุณค่าและความสาคัญของอาหารเพื่อสุขภาพ เรียนรู้การรับประทาน
อาหารท่ีถูกต้อง เลือกอาหารที่ดีมีคุณภาพ สามารถประเมินปริมาณอาหาร
ที่รับประทาน หลีกเล่ียงอาหารท่ีมีผลเสียต่อร่างกาย รวมถึงเรียนรู้
การเลือกซ้ืออาหาร เพ่ือให้สามารถนาสู่การปฏิบัติในชีวิตประจาวัน
ซึ่งจะส่งผลถึงการลดความรุนแรงของโรค ตลอดจนลดปัญหาโรคแทรกซ้อน
ทีอ่ าจเกดิ ข้ึนได้ และทาใหผ้ ทู้ ่ีเป็นโรคเบาหวานมคี ุณภาพชวี ิตที่ดใี นสงั คม



ความดันโลหิตเกิดขึ้นจากแรงดันเลือดจากหัวใจเข้าสู่หลอดเลือดแดง
ปริมาณของของเหลวในระบบหลอดเลือดขึ้นกับความเข้มข้น
ของโซเดียมในเลือดและความต้านทานของกล้ามเน้ือของผนัง
หลอดเลือด ความดันซิสโตลิก (Systolic) เกี่ยวข้องกับปริมาณ
เลือดในหัวใจ ส่วนความดันไดแอสโตลิก (Diastolic) เก่ียวข้องกับ
ความตา้ นทานของหลอดเลือด

ความดันโลหิตสูงเกิดจากการที่หลอดเลือดแดงแคบลงหรือหดตัว
ซึ่งจะทาให้เลือดที่จะไปเล้ียงร่างกายผ่านหลอดเลือดดังกล่าวได้ช้า
และน้อยลง ทาให้หัวใจต้องสูบฉีดเลือดแรงขึ้น เพื่อที่จะได้มีเลือด
ไปเลี้ยงร่างกายได้เพียงพอ แรงดันที่เพ่ิมขึ้นเป็นสาเหตุให้เกิด
ความดันโลหิตสูง ภาวะความดันโลหิตสูงถือเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ที่เป็นสาเหตุการตายสูงเปน็ อนั ดบั 3 ของคนไทย รองจากโรคมะเร็ง
และอบุ ตั ิเหตุ

จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าความดันโลหิตสูงมีแนวโน้ม
เพมิ่ ขึ้นจาก 18.9 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2543 เป็น 34.8
ต่อประชากรแสนคน ในปี 2547 ผลกระทบ
ข อ ง สุ ข ภ า พ ท่ี เ กิ ด จ า ก ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง
คื อ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ สี่ ย ง ต่ อ ก า ร เ กิ ด
ภาวะแทรกซอ้ น ท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่ โรคกลา้ มเนื้อ
หัวใจขาดเลือด

จากการศึกษาพบวา่ ผ้ทู ี่เป็นโรคความดนั โลหติ สูงมีโอกาสเปน็ โรคหลอดเลือดหัวใจ
3-4 เท่า และโรคหลอดเลือดของสมอง 7 เท่า เม่ือเทียบกับผู้ท่ีมีระดับ
ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ ความเส่ียงของโรคหลอดเลือดหัวใจเพิ่มข้ึน
ร้อยละ 30 สาหรับความดันโลหิตท่ีเพิ่มขึ้นทุก ๆ 10 มม. ปรอท โรคไต
โรคหลอดเลอื ดสมอง ทาใหเ้ กดิ อัมพฤกษ์ อัมพาตได้ ความชุกของภาวะความดัน
โลหิตสูง จะพบได้ในเพศชายมากกว่าเพศหญิงและพบเพิ่มขึ้นตามอายุ
โดยพบในเพศชายท่ีอายุ 25 ปีขึ้นไป และในเพศหญิงอายุ 45 ปขี นึ้ ไป

ปจั จยั เสย่ี งตอ่ การเกิดโรค
ความดนั โลหิตสงู

1. ภาวะอ้วนและการขาดการออกกาลังกาย น้าหนักมีความสัมพันธ์กับ
ความดันโลหิต ผู้ท่ีมีน้าหนักเพ่ิมขึ้นจะมีระดับความดันโลหิตสูงข้ึน
คนอว้ นจะมกี ารค่งั ของโซเดียมอยใู่ นรา่ งกายมาก

2. ความเครียด พบวา่ ความเครียดทาให้ระดบั ความดนั โลหติ เพ่ิมข้ึน

3. การบริโภคสารอาหารโซเดียมมากเกินไป มีงานวิจัยจานวนมากที่พบว่า
ปริมาณโซเดียมในอาหารท่ีบริโภคมีความสัมพันธ์กับระดับความดันโลหิต
และการลดการบริโภคโซเดยี ม สามารถชว่ ยลดความดันโลหติ ได้

4. การบรโิ ภคไขมันอิม่ ตัวในปรมิ าณทมี่ าก

5. การด่ืมแอลกอฮอล์ พบว่าร้อยละ 10 ของโรคความดันโลหิตสูงมีสาเหตุ
ม า จ า ก ก า ร ด่ื ม สุ ร า แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ร ะ บ บ
renin-angiotensin และ antidiuretic

เปา้ หมายการควบคุมความดนั โลหิต

ควบคุมความดันโลหิตให้น้อยกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท
และน้อยกวา่ 130/80 ในคนทเ่ี ปน็ เบาหวานและโรคไต
การป้องกนั และลดความเส่ยี งต่อการเกิดโรคความดนั โลหติ สงู

1. ลดน้าหนักลง 10-15% ของน้าหนกั

2. จากัดปริมาณแอลกอฮอล์ (วิสก้ี 45 ซีซี ไวน์ 150 ซีซี หรือเบียร์
2 กระปอ๋ ง)

3. จากัดโซเดียม 1.5 ถึง 2.5 กรัม/วัน (เกลือ 4 ถึง 6 กรัม) เพิ่มปริมาณ
กากใยอาหารใหม้ ปี ริมาณและมคี วามหลากหลายเพม่ิ มากขึ้น โดยแนะนาให้
บริโภคอาหารที่อุดมไปดว้ ยพชื / ผัก/ ผลไม้ ลดปริมาณไขมันจากสัตว์

4. ควบคุมระดับไขมนั ในเลือดให้อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน

5. จัดการกบั ความเครียดที่เหมาะสม

อาหาร ปรมิ าณ โซเดยี ม - มลิ ลกิ รมั

นา้ ปลา 1 ช้อนชา 465-600
ซีอ้วิ ขาว 1 ชอ้ นโต๊ะ 960-1,420
ซอสปรุงรส 1 ช้อนโต๊ะ
ซอสหอยนางรม 1 ชอ้ นโตะ๊ 1,150
420-490

อาหาร ปริมาณ โซเดยี ม - มิลลกิ รมั

น้าจ้มิ ไก่ 1 ช้อนชา 202-227
ซอสพริก 1 ช้อนโตะ๊ 220
ผงชูรส 1 ช้อนชา 492
1 ช้อนชา 339
ผงฟู

ควรใช้เคร่ืองเทศและสมุนไพรเหล่าน้ีในการปรุงรสแทนการใช้
เครื่องปรุงรสที่มีโซเดียมสูง เช่น หอม กระเทียม กระชาย ขิง
ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ใบโหระพา ใบแมงลัก ใบสะระแหน่
รากผักชี พริกไทย ลกู ผกั ชี ย่หี ร่า อบเชย ลกู จันทน์ ดอกจันทน์

ลกู กระวาน ใบกระวาน กานพลู เปน็ ตน้

น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง ด้ า น ร ะ บ า ด วิ ท ย า แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ท ด ล อ ง
หลายการศึกษาที่พบความสัมพันธ์ระหว่างความดันโลหิตและเกลือแร่
แคลเซียม โพแทสเซียมและแมกนีเซียม โดยพบความสัมพันธ์ทางลบ
ระหว่างความดันโลหิตกับแคลเซียม โพแทสเซียมและแมกนีเซียม
การได้รับแคลเซียมสูงขึ้นอาจจะช่วยในการป้องกันภาวะความดันโลหิตสูง
การศึกษาทางด้านระบาดวิทยาพบความสัมพันธ์ทางลบของโพแทสเซียมกับ
ความดันโลหิต แต่พบผลขัดแย้งกัน ในการทดลองทางคลินิก ถ้าได้รับ
โซเดียมจานวนมากควรเพ่ิมโพแทสเซียมด้วย เนื่องจากสัดส่วน
ของโพแทสเซียม : โซเดียม ท่ีทาให้ความดันโลหิตต่าลง แมกนีเซียมยับยั้ง
การหดตัวของกล้ามเน้ือลาย ช่วยขยายหลอดเลือด ซ่ึงทาให้ระดับความดัน
โลหติ เปน็ ไปอย่างปกติ แตค่ วามสมั พันธ์น้ยี งั ไมช่ ดั เจนเพยี งพอทีจ่ ะสรุปได้

สรุปการป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงคือรักษาน้าหนัก

ตัวให้คงท่ี ลดอาหารเค็ม อาหารหมักดอง อาหารกระป๋อง
อาหารที่แปรรูป รับประทานผักและผลไม้เป็นประจา
เพ่ือเพิ่มปริมาณโพแทสเซียมและใยอาหาร ควรบริโภคไขมัน
ชนิดไม่อ่ิมตัวหลายตาแหน่ง ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณ
ทเ่ี หมาะสม

อาหาร ปรมิ าณ นา้ หนัก-กรมั ปรมิ าณโวเดยี ม-
มก.
ปลาสลดิ หมักเกลอื 1 ตวั 40
เนอ้ื ปลาททู อด 1/2 ตวั กลาง 100 1,288
นา้ พริกกะปิ 4 ช้อนโต๊ะ 60
น้าปลาหวาน 1 ชอ้ นโต๊ะ 10 1,081
15
เตา้ หยู้ ี้ 2 อนั 16 1,100
น้าพริกเผา 1 ช้อนโต๊ะ
191

560

894

อาหาร ปรมิ าณ น้าหนัก-กรมั ปริมาณโวเดยี ม-
มก.
ผัดผักบุ้งใส่ 1 จาน
เตา้ เจย้ี ว 150 894
ปอเปี๊ยะสด 1 จาน
นา้ พริกกลางดง 2 ชอ้ นโต๊ะ 150 562
บะหมีส่ าเร็จรปู 15 170
พรอ้ มเคร่ืองปรุง 1 ห่อ 50 977
บะหมนี่ ้าหมูแดง
1 ชาม 350 1,480

อาหาร ปริมาณ น้าหนัก-กรมั ปรมิ าณโวเดยี ม-
มก.
ขา้ วผดั หมู 1 จาน 295
ข้าวต้มหมู 1 ชาม 395 416
ก๋วยเต๋ยี วผดั ซอี ิว้ 1 จาน 390
บะหมี่ผัดซีอ้วิ 1 จาน 390 881
บะหมร่ี าดหน้าไก่ 1 จาน 300
ปอเปีย๊ ะทอด 2 อัน 60 1,352

1,819

235

426

อาหาร ปริมาณ น้าหนกั -กรมั ปรมิ าณโวเดยี ม-
มก.
ผัดผกั บุ้งน้ามันหอย 1 จานเล็ก 110
ปลากะพงขาวน่งึ 1 ชิ้น 50 426
แกงส้มผักรวม 1 ถ้วย 100
1 จาน 100 110
ส้มตาอสี าน 1 อัน 45
ไส้กรอก 1 แผน่ 30 1,130
โบโลน่า
1,006

504

305

อาหาร ปริมาณ นา้ หนัก-กรมั ปรมิ าณโวเดยี ม-
มก.
เบคอน 1 ชนิ้ 6
แฮม 1 ชิ้น 30 101
ก๋วยเตย๋ี วหมูสบั 1 จาน 300
แฮมเบอร์เกอร์ 1 ช้ิน 98 395
ขนมปงั 1 แผน่ 25
ขา้ วโพดแผ่นอบ 15 ช้นิ 30 1,450

463

105

177



โรคหัวใจและหลอดเลือด หมายถึง โรคหัวใจขาดเลือด
( ischemic heart disease-IHD ห รื อ coronary
artery disease) ร ว ม ท้ั ง โ ร ค ห ล อ ด เ ลื อ ด ส ม อ ง
(cerebrovascular disease-CVD) และโรคหลอดเลอื ด
ส่วนปลาย (peripheral vascular disease) ประชากร
ทม่ี คี วามเสย่ี งต่อโรคหัวใจและหลอดเลอื ด คือ ผู้ท่ีเป็นโรคอ้วน
ผ้ทู ม่ี ไี ขมนั ในเลือดผิดปกติ ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดัน
โลหติ สูง ผทู้ ่สี ูบบหุ รี่ ดืม่ สรุ า และไม่ออกกาลงั กาย

ส่วนปัจจัยเส่ียงที่ควบคุมไม่ได้คือ กรรมพันธ์ุ เพศ
เผ่าพันธ์ุ และอายุ ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
( dyslipidemia) คื อ ร ะ ดั บ ไ ข มั น ใ น เ ลื อ ด ท่ี มี
คอเลสเตอรอลมากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
(มก./ดล) ระดับ HDL- cholesterolC (HDL-C)
หรือไขมันดี น้อยกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ร ะ ดั บ LDL-cholesterol-C (LDL-C) ห รื อ
ไขมันเลว มากกว่า 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับ
ไตรกลีเซอไรด์ มากกว่า 150 มลิ ลกิ รมั ต่อเดซิลติ ร

การศึกษาในทางคลนิ กิ และเชงิ ระบาดวิทยา พบว่าภาวะไขมันในเลือดสูง
มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ต่ อ ก า ร เ ป็ น โ ร ค หั ว ใ จ ข า ด เ ลื อ ด โ ด ย เ ฉ พ า ะ
ก า ร มี small dense LDL-Cholesterol สู ง มี ร ะ ดั บ HDL -
Cholesterol ต่าและไตรกลีเซอไรด์สูง นอกจากนี้ผู้ที่มีระดับ
คอเลสเตอรอลในเลือดสูง > 250 mg/dl มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือดมากถึง 2-3 เท่า เม่ือเทียบกับผู้ที่มีระดับ
คอเลสเตอรอลปกติ

ปัจจัยเสย่ี ง

ไดก้ ล่าวถงึ ปจั จยั เสีย่ งในการเกดิ โรคหวั ใจขาดเลือด
ซ่งึ ไดแ้ ก่

1. มีประวัติคนในครอบครัวที่มีการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด
โดยเฉพาะผู้ชายที่มีญาติ เป็นโรคหัวใจขาดเลือดต้ังแต่
อายุนอ้ ยกว่า 55 ปี และในญาติผู้หญิงที่เป็นโรคหัวใจขาด
เลอื ด เม่ืออายนุ ้อยกวา่ 65 ปี

2. เพศ เพศชายมีโอกาสเกิดโรคหัวใจขาดเลือดมากกว่าเพศหญิง
3-5 เท่า

3. อายุ ในเพศชายท่ีมีอายุตั้งแต่ 45 ปีข้ึนไป และในเพศหญิง
ในวยั หมดประจาเดือน ตง้ั แตอ่ ายุ 55 ปี

4. สูบบุหร่ี

5. มไี ขมันในเลอื ดสงู HDL-Cholesterolน้อยกวา่ 40 มก./ดล

6. โรคความดันโลหติ สูง (140/90 มลิ ลเิ มตรปรอท)
7. โรคเบาหวาน
8. โรคอ้วน

9. โรคเครยี ด
10. ขาดการเคลือ่ นไหวและการออกกาลังกาย

ผู้ ท่ี มี ปั จ จั ย เ ส่ี ย ง ห ล า ย ข้ อ ก็ จ ะ มี โ อ ก า ส
เกิดโรคหัวใจขาดเลือดได้ง่ายกว่า และมักจะมี
ความรนุ แรงของโรคมากกว่าผูท้ ่ไี มม่ ีปจั จยั เสย่ี ง

เปา้ หมายการลดภาวะไขมัน
ในเลอื ดที่ผดิ ปกติ

ผลการตรวจทางชีวเคมีคอื ระดบั คอเลสเตอรอลในเลอื ดนอ้ ยกว่า 200
มก./ดล ระดับ HDL-C มากกว่า 40 มก./ดล. ระดับ LDL-C
น้อยกว่า 130 มก./ดล. และระดับไตรกลีเซอไรด์ น้อยกว่า 15 มก./
ดล. ควรมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต (lifestyle modification)
ซึ่งประกอบด้วย การควบคุมอาหารตามหลักการของ Therapeutic
Lifestyle Change Diet (TLC diet) ดังแสดง ในตารางที่ 7
รวมทั้งการควบคุมน้าหนัก มีการออกกาลังกายแบบแอโรบิกสม่าเสมอ
และงดการสบู บุหร่ี

การปอ้ งกนั และลดปจั จัยเสย่ี ง


Click to View FlipBook Version