The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการฯ ปีงบ 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phakchuda0440, 2021-03-19 01:06:40

แผนปฏิบัติราชการฯ ปีงบ 64

แผนปฏิบัติราชการฯ ปีงบ 64



คาํ นํา

ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
หมวด 3 มาตรา 9 (1),(2) ไดกําหนดใหสวนราชการตองจัดทําแผนปฏิบัติราชการไวเปนการลวงหนา และ
แผนปฏิบัติราชการดังกลาวตองมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณท่ีจะตองใชในการ
ดําเนินการของแตละข้ันตอน เปาหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิและตัวช้ีวัดความสําเร็จของภารกิจหนวยงาน
และพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารบานเมืองท่ีดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 7
กําหนดใหสวนราชการจัดใหมีการทบทวนภารกิจของตน โดยคํานึงถึงยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561 -2580
(แผนระดับ 1) แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ แผนการปฏิรปู ประเทศดานตา ง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564 นโยบายและแผนระดับชาติวาดวยความมั่นคงแหงชาติ
(แผนระดับ 2) นโยบายของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลงตอรัฐสภา และแผนอ่ืนที่เกี่ยวของ กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบใหหนวยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3 ใหสอดคลองกับยุทธศาสตร
ชาตแิ ละแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรช าตแิ ละแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ นั้น

ดังนั้น เพ่ือใหเปนไปตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี
พ.ศ. 2546 และ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเปาหมายในแผนระดบั 1 และแผนระดบั 2
รวมทั้งสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 นโยบาย
และจุดเนนกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งเช่ือมโยงขอมูลสูระบบติดตามและประเมินผลแหงชาติ
(Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR)
ตามระเบียบวาดวยการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินการตามยุทธศาสตรชาติและแผนปฏิรูป
ประเทศ พ.ศ. 2562 สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 จึงไดจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ขึ้น เพ่ือใชเ ปนเคร่อื งมือในการบริหารงานของผูบริหารและหนวยงานใชเปนกรอบแนวทางในการ
ปฏิบัติงานไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ

สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ขอขอบคุณทุกทานที่ใหความรวมมือในการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบบั น้ีเปนไปตามวตั ถุประสงค สาํ เรจ็ ลลุ วงดว ยดี

สาํ นกั งานศึกษาธิการภาค 5
สาํ นกั งานปลัดกระทรงศกึ ษาธิการ

กระทรวงศึกษาธิการ

สารบัญ ข

คาํ นาํ หนา

สารบญั ก

สวนท่ี 1 บทสรปุ ผูบริหาร 1

สวนที่ 2 ความสอดคลองกับแผน 3 ระดบั 5
ยุทธศาสตรชาติ (แผนระดับที่ 1) 7
แผนระดบั ที่ 2 (ท่ีเกย่ี วขอ ง) 17
แผนระดบั ที่ 3 (ทเ่ี กี่ยวของ)
30
สวนที่ 3 สาระสําคญั ของแผนปฏบิ ัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 30
ของสํานกั งานศกึ ษาธิการภาค 5 30
วสิ ัยทศั น 30
พันธกิจ 31
คานยิ ม 32
ยทุ ธศาสตร 33
กลยุทธภายใตยทุ ธศาสตร 34
เปาประสงค 36
ตวั ชี้วัด
งบประมาณทไ่ี ดรบั จดั สรร 38
สรุปโครงการ 41

สว นที่ 4 รายละเอียดโครงการ 44
โครงการสนับสนนุ การบรหิ ารงานของสาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5
โครงการดาํ เนินงานตามตัวชีว้ ัดตามคํารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการ 49
ของสํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5
โครงการการประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการตามคํารบั รองการปฏบิ ัติราชการ 54
ของสํานักงานศึกษาธิการจงั หวัด ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2563
โครงการตรวจตดิ ตามประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานตามนโยบาย
และยทุ ธศาสตรใ นพื้นที่รบั ผดิ ชอบ ของสาํ นกั งานศึกษาธิการภาค 5
โครงการสนับสนนุ การดําเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี นในโครงการ
อนุรกั ษพนั ธุกรรมพืชอันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ สมเด็จพระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการ
ปง บประมาณ พ.ศ. 2564

สารบัญ (ตอ ) ค

โครงการสรา งและสงเสรมิ ความเปนพลเมืองดตี ามรอยพระยุคลบาท หนา
ดานการศกึ ษาสูก ารปฏิบัติ สํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 58
62
โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา
เพอ่ื พฒั นาการศกึ ษา ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 68
สาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5
72
โครงการสงเสรมิ สนบั สนนุ แนวทางการพฒั นาการดาํ เนนิ การ 75
ทางวนิ ยั การอุทธรณ และการรองทุกขของขาราชการครูและบุคลากร 79
ทางการศกึ ษา ในพืน้ ท่ีรบั ผิดชอบของสาํ นักงานศึกษาธกิ ารภาค 5 82
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 89
93
โครงการพฒั นาบคุ ลากรของสํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 ประจําป
งบประมาณ พ.ศ.2564 97
97
โครงการสง เสรมิ เวทีและประชาคมเพื่อจดั ทํารูปแบบและการพัฒนาหลักสูตร 98
ตอ เน่ืองเชือ่ มโยงการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานกับอาชีวศึกษาและอดุ มศึกษา 116

โครงการการขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาสูการปฏิบัติ
ระดบั ภาค (ภาคใต)

โครงการขับเคล่อื นการบริหารจดั การศึกษาในระดับภาคและกลุมจงั หวดั
โครงการขบั เคล่อื นการพฒั นาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดบั พ้นื ที่รับผดิ ชอบ

ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564
โครงการประเมินศนู ยการเรยี นรตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ดา นการศึกษา ปการศึกษา 2563

สวนท่ี 5 การติดตามประเมนิ ผล
การตดิ ตามและรายงาน
การประเมนิ ผลเมื่อสนิ้ สดุ แผน

ภาคผนวก

คณะผูจดั ทํา

สวนท่ี ๑

บทสรุปผบู ริหาร

ตามที่พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบรหิ ารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ.2546
หมวด 3 มาตรา 9 (1), (2) ไดกําหนดใหสวนราชการตองจัดทําแผนปฏิบัติราชการไวเปนการลวงหนา และ
แผนปฏิบัติราชการดังกลาวตองมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณที่จะตองใชในการ
ดําเนินการของแตละข้ันตอน เปาหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์และตัวช้ีวัดความสําเร็จของภารกิจหนวยงาน
และพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2562 มาตรา 7
กําหนดใหสวนราชการจัดใหมีการทบทวนภารกิจของตน โดยคํานึงยุทธศาสตรชาติ พ.ศ.2561-2580
(แผนระดบั 1) แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ แผนการปฏิรปู ประเทศดา นตา ง ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ.2560-2564 นโยบายและแผนระดับชาติวาดวยความมั่นคงแหงชาติ
(แผนระดับ 2) นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงตอรัฐสภา และแผนอ่ืนท่ีเก่ียวของ รวมถึงกําลังเงิน
งบประมาณของประเทศ ความคุมคาของภารกิจและสถานการณอื่นประกอบกัน กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบใหหนวยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3 ใหสอดคลองกับยุทธศาสตร
ชาตแิ ละแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ น้ัน

ดังนั้น เพื่อใหเปนไปตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการ
บานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2562 และสนับสนุนการบรรลุเปาหมายในแผนระดับ 1 และ
แผนระดับ 2 รวมท้ังสอดรบั กับมตคิ ณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2560-2579
นโยบายและจุดเนนกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 แผนปฏิบัตริ าชการประจําปงบประมาณ
พ.ศ.2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสํานักงาน
ปลัดกระศึกษาธิการ (ฉบับปรบั ปรุงตามงบประมาณที่ไดรบั จัดสรร) และเช่ือมโยงขอมูลสูระบบติดตาม และ
ประเมิน ผลแห งช าติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and
country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบวาดวยการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินการ
ตามยุทธศาสตรชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ.2562 สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 จึงไดจัดทํา
แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 ข้ึน เพื่อใชเปนเคร่ืองมือในการบริหารงานของผูบริหาร
และหนวยงานในสงั กดั ใชเ ปน กรอบแนวทางในการปฏบิ ัตงิ านไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ โดยมสี าระสาํ คญั ดงั น้ี

วิสัยทศั น
สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 เปนหนวยงานขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคแบบ
บูรณาการทสี่ อดคลองกับการพัฒนาการศกึ ษาในกลมุ จังหวดั ภาคใตฝ ง อาวไทย

พันธกจิ
1. กําหนดยทุ ธศาสตร บทบาทการพฒั นาภาค และบูรณาการการศึกษาในพืน้ ท่ี
2. สง เสรมิ สนบั สนุน การยกระดบั คุณภาพการศึกษา วจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาในพื้นท่ี
3. สง เสรมิ กาํ กับ ตดิ ตาม การบรหิ ารงานบคุ คลของขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในพืน้ ที่

2

4. กํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวง
ศึกษาธิการในพืน้ ที่

5. สง เสรมิ สนับสนุน การดําเนนิ งานตามภารกิจขององคก รโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล
เปาประสงค
1. หนวยงานมีแผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศึกษาระดับภาคใตและกลุมจังหวดั ท่ีสอดคลอง
กบั บรบิ ทของพืน้ ท่ี
2. ผูรับบริการมีและใชฐานขอมูล ดัชนีทางการศึกษา นวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทลั และระบบ
สารสนเทศและการสอ่ื สารใหเ ปนกลไกในการสงเสรมิ สนับสนนุ เครือขา ยทางการศกึ ษาในพ้ืนท่ีรับผดิ ชอบ
3. ศกึ ษา วเิ คราะห วจิ ัย การพฒั นางานวชิ าการ ในการจัดการศึกษาในพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบ
4. สงเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการศึกษาและการดําเนินงานกิจกรรม
ทางการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ
5. กาํ กับ ดูแล เรง รดั ติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบัติงานเกีย่ วกับการบริหารงานบุคคล
6. พัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน
ดา นบรหิ ารงานบุคคล
7. กํากับ ดูแล เรง รัดและติดตาม การดาํ เนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ
และการรองทกุ ข ใหเปน ไปโดยสุจรติ โปรงใส ยตุ ธิ รรม และสามารถตรวจสอบได
8. มกี ารติดตามและประเมินผลแผนพฒั นาการศึกษาของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนท่ี
รับผดิ ชอบ
9. พฒั นาการตรวจราชการและติดตามประเมินผลการดําเนนิ งานตามนโยบายและยุทธศาสตร
กระทรวงศกึ ษาธิการ
10. สงเสรมิ และติดตามประเมนิ ผล การบรหิ ารจดั การศกึ ษาของสาํ นกั งานศกึ ษาธิการจังหวัด
11. หนวยงานมมี าตรการในการพัฒนาองคก รใหมีประสทิ ธิภาพสูง

ยทุ ธศาสตร
1. กําหนดยุทธศาสตรการจัดการศึกษาท่ีสามารถบูรณาการการบริหารจัดการการศึกษา
ในภาพรวมในระดับพน้ื ทไ่ี ปสูการปฏิบัติ
2. สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร มีฐานขอมูล
ท่ีสามารถตอบสนองความตองการของบคุ ลากรและหนว ยงานในพนื้ ที่รบั ผิดชอบ
3. สง เสริมและสนับสนนุ งานวิชาการ การวจิ ัยและพัฒนาการจัดการศกึ ษาในพ้ืนที่รบั ผดิ ชอบ
4. สงเสริม สนับสนุน การพัฒนาการศึกษากับหนว ยงานและสถานศึกษาทั้งในและนอกสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ
5. สนับสนุนและติดตามการบริหารงานบุคคลใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการที่กฎหมาย
กําหนด
6. สนับสนุนการดําเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณและการรองทุกข
ในพืน้ ทร่ี บั ผิดชอบใหเปนไปโดยชอบตามกฎ ระเบยี บ และหลักเกณฑ วิธกี าร
7. กํากับ ดแู ล ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานของสาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวัด
8. สนับสนุนการตรวจติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรการศึกษา
ในพน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบ
9. บริหารจัดการองคก รโดยยึดหลักธรรมาภบิ าล

3

กลยทุ ธภายใตย ุทธศาสตร
ยุทธศาสตรที่ 1 กําหนดยุทธศาสตรการจัดการศึกษาท่ีสามารถบูรณาการการบริหาร
จดั การการศกึ ษาในภาพรวมในระดบั พ้นื ทีไ่ ปสูการปฏบิ ัติ
กลยทุ ธ
1) จดั ทาํ แผนยุทธศาสตรพัฒนาการศกึ ษาระดับภาคใตแ ละกลุมจังหวดั ภาคใตฝงอา วไทย
2) บูรณาการการจัดการศกึ ษาทสี่ อดคลอ งกับบริบทและความตองการของพนื้ ท่ี
3) ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาการศึกษาของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนที่
รบั ผิดชอบ
ยุทธศาสตรท ่ี 2 สงเสรมิ สนับสนุน และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
มฐี านขอมูลท่ีสามารถตอบสนองความตองการของบุคลากรและหนวยงานในพืน้ ที่รบั ผิดชอบ
กลยทุ ธ
1) จัดทาํ ขอมูล สารสนเทศและดัชนีทางการศึกษาระดบั ภาคและกลุมจังหวัดภาคใตฝ งอาวไทย
2) สรางความรวมมือและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลใหสามารถใชประโยชน
รว มกนั ในการบริหารและจัดการศกึ ษาในพ้นื ที่รบั ผิดชอบ
ยุทธศาสตรท่ี 3 สงเสริมและสนับสนุนงานวิชาการ การวิจัยและพัฒนาการจัดการศกึ ษา
ในพนื้ ที่รับผดิ ชอบ
กลยทุ ธ
1) สรางความรวมมือการพัฒนางานวิชาการและงานวิจัยรวมกับหนวยงานการศึกษาในพื้นที่
รับผิดชอบ
2) วจิ ยั และพัฒนาการจดั การศึกษาในพืน้ ที่รบั ผิดชอบ
ยุทธศาสตรท ี่ 4 สงเสริม สนับสนุน การพัฒนาการศึกษากับหนวยงานและสถานศึกษา
ทงั้ ในและนอกสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
กลยุทธ
1) จัดกิจกรรมเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาและสงเสริมการนอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษา
สกู ารปฏบิ ตั ิในพืน้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ
2) จัดกิจกรรมสงเสริมผลการปฏิบัติงานท่ีเปนเลิศของสถานศึกษาและหนวยงานทางการศึกษา
ในพืน้ ที่รับผดิ ชอบ
3) จัดกิจกรรมสง เสริมการเรยี นรตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ยุทธศาสตรท่ี 5 สนับสนุนและติดตามการบริหารงานบุคคลใหเปนไปตามหลักเกณฑ
วิธกี ารทกี่ ฎหมายกําหนด
กลยุทธ
1) ติดตามและประเมินผลเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาในพน้ื ท่ีรับผดิ ชอบ
2) ประสานงานและสนับสนุนเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาของ กศจ. ในพื้นที่รบั ผดิ ชอบ

4

ยุทธศาสตรที่ 6 สนับสนุนการดําเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณและ
การรอ งทกุ ขในระดับพ้ืนที่ใหเปนไปโดยชอบตามกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ วิธกี าร

กลยทุ ธ
1) จัดกิจกรรมสงเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดําเนินการทางวินัย การออกจาก
ราชการ การอทุ ธรณแ ละการรอ งทุกข
2) เผยแพรความรูเก่ียวกับกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ วิธีการ การดําเนินการทางวินัยของ
ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ยุทธศาสตรท่ี 7 กํากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการ
จงั หวัด
กลยุทธ
1) กาํ กบั ตดิ ตามการบริหารจดั การศกึ ษาของสาํ นกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั ในพน้ื ที่รับผิดชอบ
2) ติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการตามคาํ รับรองการปฏิบัตริ าชการของสํานักงานศึกษาธิการ
จงั หวดั ในพน้ื ท่รี บั ผดิ ชอบ
ยุทธศาสตรที่ 8 สนับสนุนการตรวจติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและ
ยุทธศาสตรการศึกษาในพ้ืนที่รับผดิ ชอบ
กลยทุ ธ
1) จดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการตรวจราชการประจําปงบประมาณ
2) ตรวจราชการและจัดทํารายงานผลการตรวจราชการกรณีปกติ แบบบรู ณาการ และแบบกรณพี เิ ศษ
3) ตดิ ตามและประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรก ระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ยุทธศาสตรที่ 9 บริหารจัดการองคกรโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล
กลยทุ ธ
1) จดั ทาํ และรายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ป
2) ดําเนนิ การใชจายงบประมาณใหเปนไปตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชจา ยงบประมาณ
ของสํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
3) บรหิ ารจัดการองคก รใหมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผล

สวนท่ี ๒
ความสอดคลอ งกับแผน ๓ ระดับ ตามนยั ยะของมติคณะรัฐมนตรี เมอ่ื วันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๖๐

๒.๑ ยุทธศาสตรช าติ (แผนระดบั ที่ ๑)

1. ยุทธศาสตรชาติ “ดา นการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย” (หลัก)
(1) เปาหมายยุทธศาสตรชาติ ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากร

มนษุ ย 1) คนไทยเปน คนดี คนเกง มคี ุณภาพ พรอ มสําหรบั วถิ ีชีวติ ในศตวรรษท่ี 21
(2) ประเด็นยุทธศาสตรชาติ ดานการพัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย

1) การปรับเปล่ียนคานิยมและวัฒนธรรม 1.2) การบูรณาการเร่ืองความซื่อสัตยวินัย คุณธรรม จริยธรรมในการจัด
การเรยี นการสอนในสถานศึกษา 1.4) การปลกู ฝงคานิยมและวัฒนธรรมโดยใชชมุ ชนเปนฐาน 2) การพัฒนาศักยภาพ
คนตลอดชวงชีวิต 2.1) ชวงการตั้งครรภ/ปฐมวัย 2.2) ชวงวัยเรียน/วัยรุน 2.3) ชวงวัยแรงงาน 2.4) ชวงวัย
ผูสงู อายุ 3) ปฏิรูปกระบวนการเรียนรูท่ีตอบสนองตอการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 3.1) การปรับเปล่ียนระบบ
การเรียนรูใหเอื้อตอการพัฒนาทักษะสําหรับศตวรรษที่ 21 3.2) การเปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ใหเปนครูยุคใหม
3.3) การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท 3.4) การพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิต
3.6) การวางพนื้ ฐานระบบรองรบั การเรยี นรูโดยใชด ิจทิ ัลแพลตฟอรม

(3) การบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติ ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย
ดวย 3 กลยุทธ ไดแก 1) จัดกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาและสงเสริมการนอมนําพระบรมราโชบาย
ดานการศึกษาสกู ารปฏิบัติในระดับพื้นที่ 2) จัดกิจกรรมสงเสริมผลการปฏิบัติงานที่เปนเลิศของสถานศึกษาและ
หนวยงานทางการศึกษาในระดับพ้ืนที่ และ 3) จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

2. ยทุ ธศาสตรช าติ “ดานความมั่นคง”
(1) เปาหมายยุทธศาสตรชาติ ดานความม่ันคง 1) ประชาชนอยูดี กินดี และมีความสุข

2) บา นเมืองมีความม่นั คงในทกุ มติ แิ ละทกุ ระดับ
(2) ประเดน็ ยุทธศาสตรชาติ ดานความมน่ั คง 1) การรักษาความสงบภายในประเทศ

1.3) การพัฒนาและเสริมสรางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขท่ีมี
เสถียรภาพและมีธรรมาภิบาล เห็นแกประโยชนของประเทศชาติมากกวาประโยชนสวนตน 2) ปองกันและ
แกไขปญ หาที่มผี ลกระทบตอความม่นั คง

(3) การบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติ ดานความมั่นคง ดวย 2 กลยุทธ ไดแก
1) จัดกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาและสงเสริมการนอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบัติ
ในระดบั พืน้ ที่ และ 2) จดั กจิ กรรมสงเสริมการเรียนรตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

3. ยุทธศาสตรชาติ “ดา นการสรางความสามารถในการแขงขัน”
(1) เปาหมายยุทธศาสตรชาติ ดา นการสรางความสามารถในการแขงขัน 2) ประเทศ

มขี ีดความสามารถในการแขง ขันสูงขน้ึ
(2) ประเด็นยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน 5) พัฒนา

เศรษฐกจิ บนพื้นฐานผูประกอบการยคุ ใหม 5.1) สรา งผปู ระกอบการอัจฉรยิ ะ วางรากฐานการศึกษาทั้งในระบบ
และนอกระบบใหกับเยาวชนรุนใหมใหมีทักษะและจิตวิญญาณในการประกอบการ รวมทั้งสรางทักษะพื้นฐาน
ท่จี ําเปน และความถนดั ทแ่ี ตกตา งและหลากหลายของแรงงาน

6

(3) การบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน
ดวย 3 กลยุทธ ไดแก 1) สรางความรวมมือการพัฒนางานวิชาการและงานวิจัยรวมกับหนวยงานการศึกษา
ในระดบั พืน้ ที่ 2) วิจัยและพัฒนาการจดั การศึกษาในระดับพ้ืนที่ และ 3) จัดกิจกรรมสงเสริมผลการปฏิบัติงาน
ท่ีเปน เลิศของสถานศึกษาและหนว ยงานทางการศึกษาในระดับพนื้ ที่

4. ยทุ ธศาสตรช าติ “ดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม”
(1) เปาหมายยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

1) สรางความเปนธรรมและลดความเหล่ือมล้ําในทุกมิติ 2) กระจายศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจและ
สังคม เพิ่มโอกาสใหทุกภาคสวนเขามาเปนกําลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ 4) เพิ่มขีดความสามารถ
ของชุมชนทอ งถน่ิ ในการพฒั นา การพง่ึ พาตนเองและการจดั การตนเองเพ่ือสรางสงั คมคณุ ภาพ

(2) ประเด็นยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
1) การลดความเหล่ือมลํ้า สรางความเปนธรรมในทุกมิติ 1.7) สรางความเปนธรรมในการเขาถึงการศึกษา
2) การกระจายศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี 2.5) สนับสนุนการพัฒนาพ้ืนท่ี
บนฐานขอมูลความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรม ขยายเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศใหชุมชนสามารถเขาถึง
ขอมูล ความรตู าง ๆ และบทบาทสถานศึกษาและภูมิปญญาทองถิ่นเพ่ือรวมพัฒนาพื้นที่และชุมชนทองถิ่น
4) การเพ่ิมขีดความสามารถของชุมชนทองถ่ินในการพัฒนา การพึ่งพาตนเองและการจัดการตนเอง
4.1) สงเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือนใหมีขีดความสามารถในการจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ
ครอบครัว การเงินและอาชพี โดยใชขอมลู ความรูและการยกระดบั การเรียนรูของครวั เรอื น

(3) การบรรลเุ ปาหมายยุทธศาสตรชาติดานการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ดวย 4 กลยุทธ ไดแก 1) จัดทําขอมูล สารสนเทศและดัชนีทางการศึกษาระดับภาคและกลุมจังหวัดภาคใตฝง
อาวไทย 2) สรา งความรวมมือและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลใหสามารถใชประโยชนรว มกันในการ
บริหารและจัดการศึกษาในระดับพ้ืนที่ 3) จัดกิจกรรมสงเสริมผลการปฏิบัตงิ านท่ีเปนเลิศของสถานศึกษาและ
หนวยงานทางการศึกษาในระดับพื้นที่ และ 4) บูรณาการการจัดการศึก ษ าที่สอดคลองกับบริบทและ
ความตอ งการของพื้นท่ี

5. ยทุ ธศาสตรชาติ “ดา นการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทเ่ี ปนมิตรตอสิ่งแวดลอ ม
(1) เปาหมายยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรตอ

สิ่งแวดลอม 4) ยกระดับกระบวนทัศนเพ่ือกําหนดอนาคตประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอมและ
วฒั นธรรมบนหลกั ของการมสี ว นรวมและธรรมาภบิ าล

(2) ประเด็นยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรตอ
สงิ่ แวดลอม 6) ยกระดับกระบวนทศั นเพ่ือกําหนดอนาคตประเทศ 6.1) สงเสรมิ คุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมที่พึง
ประสงคด า นสง่ิ แวดลอ มและคุณภาพชวี ิตที่ดขี องคนไทย

(3) การบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปน
มิตรตอส่ิงแวดลอม ดวย 2 กลยุทธ ไดแก 1) จัดกิจกรรมเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาและสงเสรมิ การนอมนํา
พระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบัติในระดับพ้ืนท่ี และ 2) จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

6. ยทุ ธศาสตรชาติ “ดานการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั ”
(1) เปาหมายยทุ ธศาสตรชาติ ดานการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ

ภาครฐั 1) ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทํางานที่มุงผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชนสวนรวม ตอบสนองความตองการ

7

ของประชาชนไดอยางสะดวก รวดเร็ว โปรงใส 2) ภาครัฐมีขนาดท่ีเล็กลง พรอมปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลง
3) ภาครฐั มีความโปรง ใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ

(2) ประเด็นยุทธศาสตรชาติ ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภาครัฐ 1) ภาครัฐที่ยึดประชาชนเปนศูนยกลาง ตอบสนองความตอ งการ และใหบริการอยางสะดวก รวดเร็ว
โปรงใส 1.2) ภาครฐั มีความเช่ือมโยงในการใหบริการสาธารณะตาง ๆ ผานการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใช
2) ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายและเช่ือมโยงการพัฒนาในทุกระดับ
ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพ้ืนที่ 2.1) ใชยุทธศาสตรชาติเปนกลไกขับเคลื่อนพัฒนาประเทศ 3) ภาครัฐ
มีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ สงเสริมใหประชาชนและทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ
3.1) ภาครัฐมีขนาดเหมาะสม 4) ภาครัฐมีความทันสมัย 4.2) พัฒนาปรับระบบวิธีป ฏิบัติรา ช ก ารให
ทัน สมัย 5) บุคลากรภาครัฐเปนคนดีและเกง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึก มีความสามารถสูง มุงมั่น
และเปนมืออาชีพ 5.1) ภาครัฐมีการบริหารกําลังคนที่มีความคลองตัว ยึดระบบคณุ ธรรม 5.2) บุคลากรภาครัฐ
ยึดคานิยมในการทํางานเพ่ือประชาชน มีคุณธรรม และมีการพัฒนาตามเสนทางความกาวหนาในอาชีพ
6) ภาครัฐมีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ 6.2) บคุ ลากรภาครัฐยึดมน่ั ในหลักคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม และความซอ่ื สตั ยสจุ รติ

(3) การบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติ ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภาครัฐ ดวย 15 กลยุทธ ไดแ ก 1) จัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาการศึกษาระดับภาคใตและกลุมจังหวัด
ภาคใตฝงอาวไทย 2) บูรณาการการจัดการศึกษาที่สอดคลองกับบริบทและความตองการของพ้ืนที่ 3) ติดตาม
และประเมินผลแผนพัฒนาการศึกษาของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ 4) ติดตามและ
ประเมินผลเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ
5) ประสานงานและสนับสนุนเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของ
กศจ. ในพ้ืนท่ีรบั ผดิ ชอบ 6) จัดกิจกรรมสง เสริม สนับสนนุ แนวทางการพฒั นาการดําเนินการทางวินยั การออกจาก
ราชการ การอุท ธรณและการรองทุกข 7) เผยแพรความรูเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ วิธีการ
การดําเนินการทางวินัยของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 8) กํากับ ตดิ ตามการบริหารจัดการศกึ ษา
ของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนที่รบั ผิดชอบ 9) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารบั รองการ
ปฏิบัติราชการของสํานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 10) จัดทําแผนปฏิบัตกิ ารตรวจราชการประจําป
งบประมาณ 11) ตรวจราชการและจัดทํารายงานผลการตรวจราชการกรณปี กติ แบบบรู ณาการ และแบบกรณี
พิเศษ 12) ติดตาม และ ป ระเมินผล การดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ
13) จัดทําและรายงานผลการดําเนนิ งานตามแผนปฏิบัติราชการประจําป 14) ดําเนินการใชจายงบประมาณให
เปนไปตามมาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณของสาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ และ
15) บริหารจัดการองคกรใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธผิ ล

๒.๒ แผนระดบั ที่ ๒ (เฉพาะท่ีเกย่ี วของ)

๒.๒.๑ แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ
(1) แผนแมบ ทที่ 12 ประเดน็ “การพฒั นาการเรยี นรู” (หลกั )
(1.1) เปาหมายระดับประเดน็ “การพัฒนาการเรียนรู”
- เปาหมายที่ 1 คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล

เพ่ิมขนึ้ มีทักษะท่ีจําเปนของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป ญหา ปรับตัว สื่อสาร และทํางานรวมกับ
ผูอน่ื ไดอ ยา งมีประสทิ ธิผลเพิ่มขน้ึ มีนสิ ัยใฝเรียนรอู ยา งตอเน่ืองตลอดชีวิต

8

- การบรรลุเปาหมาย สงเสริม สนับสนุน การพัฒนาการศึกษากับ
หนวยงานและสถานศึกษาทั้งในและนอกสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือใหผูเรยี นมีคุณภาพ ทักษะ และสมรรถนะ
การเรยี นรูที่จาํ เปนในศตวรรษที่ 21

(1.2) แผนยอยท่ี 3.1 “การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูท่ีตอบสนองตอการ
เปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21”

- แนวทางการพัฒนา 1) ปรับเปล่ียนระบ บก ารเรีย น รูสําหรับ
ศตวรรษที่ 21 1.1) พัฒนากระบวนการเรียนรูทุกระดับช้ันท่ีใชฐา น ค ว าม รูแ ล ะระ บบคิดในลักษณะ
สหวิทยาการ 1.2) พัฒนากระบวนการเรยี นรูของผูเรียนทุกระดับการศึกษา รวมถึงจัดกิจกรรมเสรมิ ทักษะเพื่อ
พัฒนาทักษะสําหรับศตวรรษที่ 21 1.3) พัฒนาระบบการเรียนรูเชิงบูรณาการที่เนนการลงมือปฏิบัติ รวมถึงมี
ทักษะดานวิชาชีพและทักษะชีวติ 1.4) พัฒนาระบบการเรียนรูที่ใหผูเรียนสามารถกํากับการเรยี นรูของตนได
2) เปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ใหเปนครูยุคใหม 2.1) วางแผนพัฒนาและปรับบทบาท “ครูยุคใหม” ใหเปน
“ผูอํานวยการการเรียนรู” 2.2) ปรับระบบการพัฒนาครู ต้ังแตการดึงดูด คัดสรร ผูมีความสามารถสูงเขามา
เปนครู 2.3) สงเสริมระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอยางตอเน่ือง ครอบคลุมท้ังเงินเดือน
สายอาชีพ และระบบสนับสนุนอื่น ๆ 3) เพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ ศึกษาในทุกระดับทุกประเภท
3.1) ปฏิรูปโครงสรางองคกรดานการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ 3.2) จัดใหมีมาตรฐานขั้นตํ่าของโรงเรียนใน
ทุกระดับ 3.3) ปรับปรุงโครงสราง การจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพและเพ่ิมคุณภาพการศึกษา 3.4) เพ่ิมการมี
สวนรวมจากภาคเอกชนในการจัดการศึกษา 4) พัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิต 4.1) จัดใหมีระบบการศึกษา
และระบบฝกอบรมบนฐานสมรรถนะที่มีคณุ ภาพสูงและยืดหยุน 4.4) พัฒนาระบบเครือขายเทคโนโลยีดิจิทัล
และดิจิทัลแพลตฟอรม สื่อดิจิทัลเพ่ือการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภทการศึกษาอยางท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ
4.5) พัฒนาโปรแกรมประยุกตหรือสื่อการเรียนรูดิจิทัลที่มีคุณภาพที่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนสามารถ
เขาถงึ และใชประโยชนในการเรียนรแู ละพัฒนาตนเอง

- เปาหมาย คนไทยไดรับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะ
การเรยี นรู และทักษะทจี่ ําเปน ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเขาถึงการเรยี นรูอยา งตอ เนอื่ งตลอดชีวิตดีขน้ึ

- การบรรลุเปา หมาย 1) จัดกิจกรรมเพื่อยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและ
สงเสรมิ การนอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบัติในระดับพ้ืนท่ี 2) จัดกิจกรรมสงเสริมผลการ
ปฏิบัติงานท่ีเปนเลิศของสถานศึกษาและหนวยงานทางการศึกษาในระดับพ้ืนท่ี และ 3) จัดกิจกรรมสงเสริม
การเรยี นรตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

(2) แผนแมบทที่ 11 ประเด็น “การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชวงชีวิต”

(2.1) เปาหมายระดบั ประเดน็ “การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชวงชีวิต”

- เปาหมาย คนไทยทุกชวงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ไดรับการพัฒนา
อยางสมดุล ทั้งดานรางกายสติปญญาและคุณธรรม จริยธรรม เปนผูที่มีความรู และทักษะในศตวรรษที่ 21
รักการเรียนรอู ยางตอเนอื่ งตลอดชีวิต

- การบรรลุเปาหมาย สงเสริม สนับสนุน การพัฒนาการศึกษากับ
หนวยงานและสถานศึกษาทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือใหคนไทยทุกชวงวัยไดร ับการพัฒนา
อยางสมดุล โดยสรางเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรูที่สมวัย ทักษะอาชีพและทักษะชีวิตที่เทาทันและ
สามารถอยูร ว ม ในสงั คมศตวรรษที่ 21

9

(2.2) แผนยอยท่ี 3.2 “การพฒั นาเด็กต้ังแตช ว งการตง้ั ครรภจ นถงึ ปฐมวยั ”
- แนวทางพัฒนา 3) จัดใหมีการพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีพัฒนาการ

สมรรถนะ และคณุ ลกั ษณะท่ีดที ี่สมวยั ทกุ ดาน
- เปาหมาย เด็กเกิดอยางมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถ

เขา ถงึ บรกิ ารทม่ี ีคณุ ภาพมากขน้ึ
- การบรรลุเปาหมาย 1) สงเสริม สนับสนุนใหเด็กปฐมวัยทุกคน

ไดรับการดูแลและพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย อยางท่ัวถึง และมพี ัฒนาการสมวัย 2) สงเสริม สนับสนุน
และประสานงานหนวยงานทางการศึกษาในการพัฒนาสถานศึกษา/สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยใหมีคุณภาพตาม
มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง ชาติ และ 3) สรา งการรับรูผานชอ งทางตาง ๆ เพื่อใหผูบริหาร ครู ผูดูแล
เด็ก พอแมผูปกครอง และผูมีสวนเกี่ยวของ มีความรคู วามเขาใจเกิดความตระหนักเล็งเห็นความสาํ คัญของการ
พฒั นาเด็กปฐมวัย

(2.3) แผนยอยที่ 3.3 “การพฒั นาชวงวัยเรยี น/วยั รุน”
- แนวทางพัฒนา 1) พัฒนาทักษะท่ีสอดรับกับทักษะในศตวรรษท่ี

21 โดยเฉพาะทักษะดานการคิด วิเคราะห สังเคราะห ความสามารถในการแกปญหาที่ซับซอน ความคิด
สรา งสรรค การทาํ งานรว มกบั ผอู นื่

- เปาหมาย วัยเรียน/วัยรุน มีความรู และทักษะในศตวรรษท่ี 21
ครบถวน รูจักคิด วิเคราะห รักการเรียนรู มีสํานึกพลเมือง มีความกลาหาญทางจริยธรรม มีความสามารถใน
การแกป ญหา ปรับตวั สื่อสาร และทํางานรว มกบั ผูอ ่ืนไดอ ยางมปี ระสิทธิผลตลอดชีวติ ดีขึน้

- การบรรลุเปาหมาย 1) จัดกจิ กรรมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาและ
สงเสริมการนอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบัติในระดับพื้นท่ี 2) จัดกิจกรรมสงเสริมผลการ
ปฏิบัติงานที่เปนเลิศของสถานศึกษาและหนวยงานทางการศึกษาในระดับพ้ืนที่ และ 3) จัดกิจกรรมสงเสริม
การเรยี นรูตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

(3) แผนแมบทที่ 10 ประเดน็ “การปรบั เปล่ยี นคา นยิ มและวัฒนธรรม”
(3.1) เปาหมายระดับประเด็น “การปรบั เปลยี่ นคานยิ มและวัฒนธรรม”
- เปาหมาย คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมท่ีดีงาม และมีความรัก

และภูมิใจ ในความเปนไทยมากข้ึน นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใน การดํารงชีวิต สังคมไทย
มีความสขุ และเปนที่ยอมรบั ของนานาประเทศมากข้ึน

- การบรรลุเปาหมาย 1) จัดกิจกรรมเพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและ
สงเสริมการนอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบัติในระดับพ้ืนท่ีและ 2) จัดกิจกรรมสงเสริม
การเรยี นรูตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

(3.2) แผนยอยท่ี 3.1 “การปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และการ
เสรมิ สรางจิตสาธารณะ และการเปนพลเมืองท่ดี ี”

- แนวทางพัฒนา 2) บูรณาการเร่ืองความซื่อสัตย วินัย คุณธรรม
จริยธรรมและดานสิ่งแวดลอม ในการจัดการเรียนการสอนในและนอกสถานศึกษา จัดใหมีการเรียนการสอน
ตามพระราชดําริและปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สงเสริมกิจกรรมสรางความตระหนักรู และ
การมีสวนรวมดานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม ใหรองรับการเปล่ียนแปลงท้ังในประเทศและตางประเทศ
4) ปลกู ฝง คานยิ มและวัฒนธรรมโดยใชชมุ ชนเปน ฐาน สงเสริมชมุ ชนใหเปนฐานการสรางวถิ ชี ีวิตพอเพียง

10

- เปาหมาย คนไทยเปนมนษุ ยที่สมบูรณ มีความพรอมในทุกมติ ิตาม
มาตรฐานและสมดุลทั้งดานสติปญญา คุณธรรมจริยธรรม มีจิตวิญญาณท่ีดี เขาใจในการปฏิบัติตนปรบั ตัวเขา
กับสภาพแวดลอ มดีขึน้

- การบรรลุเปาหมาย 1) ปลุกจิตสํานึกความรักตอสถาบันชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริยใหแกบุคลากรสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 บุคลากรสํานักงานศึกษาธิการจงั หวัด
ในพ้ืนที่รับผิดชอบ ครู/นักเรียน/นักศึกษา ใหมีเจตคติที่ดีตอบานเมือง และ 2) สงเสริมสนับสนุนการเรียนรู
ตามศาสตรพระราชาโดยการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู ารปฏบิ ตั ิ

(4) แผนแมบทที่ 1 ประเด็น “ความม่ันคง”
(4.1) เปาหมายระดับประเดน็ “ความม่นั คง”
- เปา หมายท่ี 2 ประชาชนอยูด ี กินดีและมีความสุขดขี ึ้น
- การบรรลุเปาหมาย 1) จัดกิจกรรมเพ่ือยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและ

สงเสรมิ การนอมนาํ พระบรมราโชบายดานการศกึ ษาสูการปฏิบัติในระดบั พ้นื ที่ และ 2) จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

(4.2) แผนยอย 3.1 รกั ษาความสงบภายในประเทศ
- แนวทางพัฒนา 2) เสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ

ภายใตการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข โดยปลกู ฝงและสรา งความตระหนักรูถึง
ความสําคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเสริมสรางความรักและภาคภูมิใจในความเปนคนไทยและชาติไทย
ผานทางกลไกตาง ๆ รวมถึงการศึกษาประวัติศาสตรในเชิงสรางสรรค นอมนําและเผยแพรศาสตรพระราชา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาํ ริตาง ๆ ใหเ กิดความเขาใจอยางถอ งแทและนําไป
ประยุกตปฏิบตั ใิ ชอยา งกวา งขวาง จัดกิจกรรมเฉลมิ พระเกียรติและพระราชกรณยี กิจอยางสมํา่ เสมอ

- เปาหมายที่ 2) คนไทยมีความจงรักภักดี ซ่ือสัตย พรอมธํารง
รกั ษาไวซ ง่ึ สถาบนั หลกั ของชาติ สถาบันศาสนาเปน ทเี่ คารพ ยดึ เหนย่ี วจติ ใจของคนไทยสงู ข้ึน

- การบรรลเุ ปาหมาย 1) จัดกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
และสงเสริมการนอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบัติในระดับพื้นที่ และ 2) จัดกิจกรรมสงเสริม
การเรยี นรูตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

(4.3) แผนยอย 3.2 การปองกันและแกไขปญ หาทีม่ ผี ลกระทบตอความม่ันคง

- แนวทางพัฒนา 14) พิทักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดลอม มุงบูรณาการการดาเนินการ ตลอดถึงทรัพยากรตาง ๆ ในการพิทักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม กับทุกภาคสวน โดยเฉพาะทรัพยากรดิน ปาไม สัตวปา และแรธาตุ ใหเปนไปตามนโยบาย
ที่กําหนด และสอดคลองกับเปาหมายในภาพรวมตามที่กาหนดอยูในยุทธศาสตรชาติดานท่ี ๕ การสรางการเติบโต
บนคณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ปนมติ รตอ ส่งิ แวดลอม

- เปาหมายท่ี 1) ปญหาความม่ันคงที่มอี ยูในปจจุบัน เชน ปญหา
ยาเสพตดิ ความมั่นคงทางไซเบอร การคามนุษย ฯลฯ ไดรับการแกไขดีขึ้นจนไมสง ผลกระทบตอ การบริหารและ
พัฒนาประเทศ

- การบรรลุเปาหมาย 1) พิทักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ มในพนื้ ท่รี ับผดิ ชอบ

11

(5) แผนแมบ ทท่ี 20 ประเดน็ “การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธิภาพภาครฐั ”
(5.1) เปาหมายระดับประเด็น “การบริการประชาชนและประสิทธิภาพ

ภาครฐั ”
- เปาหมายท่ี 1) บริการของรัฐมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพเปนท่ี

ยอมรับของผูใชบริการ
- การบรรลุเปาหมาย หนวยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มี

ประสิทธิภาพ ตอบสนองความตองการของผูรับบริการไดอยางสะดวก รวดเร็ว โปรงใส ตามหลักธรรมาภิบาล
(5.2) แผนยอ ย 3.1 การพฒั นาบริการประชาชน
- แนวทางพัฒนา 1) พัฒนารูปแบบบรกิ ารภาครฐั เพ่ืออํานวยความ

สะดวกในการใหบ ริการประชาชน 2) พัฒนาการใหบริการภาครัฐผานการนําเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาประยุกตใช
3) ปรบั วิธกี ารทาํ งาน เพอื่ สนับสนุนการพัฒนาบรกิ ารภาครัฐท่ีมคี ณุ คาและไดม าตรฐานสากล

- เปา หมาย งานบริการภาครัฐท่ีปรบั เปล่ยี นเปนดิจิทัลเพม่ิ ขน้ึ
- การบรรลุเปาหมาย 1) สรางความรวมมือและพัฒนานวัตกรรม
และเทคโนโลยีดิจิทัลใหสามารถใชประโยชนรวมกันในการบริหารและจัดการศึกษาในระดับพื้นที่ และ 2) บรหิ ารจัดการ
องคกรใหม ีประสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล
(5.3) แผนยอย 3.2 การบรหิ ารจดั การการเงินการคลงั
- แนวทางพัฒนา 3) จัดทํางบประมาณตอบสนองตอเปาหมายตาม
ยุทธศาสตรชาติ 5) กําหนดใหมีการติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ิการดําเนินการตามยุทธศาสตรชาติและ
ผลสัมฤทธ์ขิ องแผนงาน/โครงการ
- เปา หมายหนวยงานภาครฐั บรรลผุ ลสัมฤทธติ์ ามเปาหมายยทุ ธศาสตรช าติ
- การบรรลุเปาหมาย 1) จัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาการศึกษา
ระดับภาคใตและกลุมจังหวัดภาคใตฝงอาวไทย 2) บรู ณาการการจัดการศกึ ษาท่ีสอดคลองกับบริบทและความ
ตองการของพ้ืนที่ 3) ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาการศึกษาของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนท่ี
รับผิดชอบ 4) จัดทําและรายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจําป 5) ดําเนินการใชจาย
งบประมาณใหเปนไปตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใชจายงบประมาณของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
และ 6) บริหารจดั การองคกรใหม ปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ล
(5.4) แผนยอ ย 3.4 การพฒั นาระบบบริหารงานภาครฐั
- แนวทางพัฒนา 1) พัฒนาหนวยงานภาครัฐใหเปน “ภาครฐั ทันสมัย
เปดกวาง เปนองคกรขีดสมรรถนะสงู ” 2) กําหนดนโยบายและการบริหารจัดการที่ต้งั อยูบนขอมลู และหลักฐาน
เชิงประจักษ 3) ปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดโครงสรางองคการและออกแบบระบบการบริหารงานใหมใหมีความ
ยืดหยนุ คลองตัว กระชบั ทนั สมยั
- เปาหมาย ภาครัฐมีขีดสมรรถนะสูงเทียบเทามาตรฐานสากลและ
มคี วามคลอ งตวั
- การบรรลุเปาหมาย 1) จัดทําขอมูล สารสนเทศและดัชนีทางการ
ศึกษาระดับภาคและกลุมจังหวัดภาคใตฝงอาวไทย 2) สรางความรว มมอื และพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี
ดิจิทัลใหสามารถใชประโยชนรวมกันในการบริหารและจัดการศึกษาในระดับพ้ืนที่ และ 3) บริหารจัดการ
องคก รใหมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผล

12

(5.5) แผนยอย 3.5 การสรา งและพัฒนาบคุ ลากรภาครัฐ
- แนวทางพัฒนา 1) ปรับปรุงกลไกในการกําหนดเปาหมายและ

นโยบายกําลังคนในภาครัฐใหมีมาตรฐานและเกิดผลในทางปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ 2) เสรมิ สรางความ
เขมแข็งในการบริหารงานบุคคลในภาครัฐใหเปนไปตามระบบคณุ ธรรมอยางแทจริง 3) พัฒนาบุคลากรภาครัฐ
ทกุ ประเภทใหม ีความรูความสามารถสูง มที ักษะการคดิ วิเคราะหและการปรบั ตัวใหท ันตอการเปลย่ี นแปลง

- เปาหมาย บุคลากรภาครัฐยึดคานิยมในการทํางานเพ่ือประชาชน
ยดึ หลักคณุ ธรรม จริยธรรม มจี ติ สานกึ มีความสามารถสูง มงุ มั่น และเปน มอื อาชีพ

- การบรรลุเปาหมาย 1) ติดตามและประเมินผลเก่ียวกับการบริหาร
งานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพ้ืนที่รับผิดชอบ 2) ประสานงานและสนับสนุน
เก่ียวกับ การบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของ กศจ. ในพื้นท่ีรับผิดชอบ
3) จัดกจิ กรรมสงเสรมิ สนับสนนุ แนวทางการพัฒนาการดาํ เนินการทางวินยั การออกจากราชการ การอุทธรณและ
การรอ งทุกข และ 4) เผยแพรความรูเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ วธิ ีการ การดําเนินการทางวินยั ของ
ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

(6) แผนแมบทที่ 21 ประเดน็ “การตอ ตา นการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ”
(6.1) เปา หมายระดบั ประเดน็ การตอ ตานการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ”
- เปา หมาย ประเทศไทยปลอดการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ
- การบรรลุเปาหมาย 1) บริหารจัดการองคกรโดยยึดหลักธรรมาภิบาล

และ 2) สนับสนุนการดําเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณและการรองทุกขในระดับพื้นท่ีให
เปนไปโดยชอบตามกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ วธิ ีการ

(6.2) แผนยอย 3.1 การปอ งกนั การทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
- แนวทางพัฒนา 1) ปลูกและปลุกจิตสํานึกการเปนพลเมืองท่ีดี

มีวัฒนธรรมสุจริต และการปลูกฝง และหลอหลอมวัฒนธรรมในกลุมเด็กและเยาวชนทุกชวงวัย ทุกระดับ
2) สงเสริมการปฏิบัติหนาที่ของขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐใหมีความใสสะอาด ปราศจากพฤติกรรมท่ีสอไป
ในทางทจุ ริต 5) ปรบั ระบบงานและโครงสรา งองคก รท่ีเออ้ื ตอการลดการใชด ลุ พนิ ิจในการปฏบิ ัตงิ านของเจาหนาที่

- เปาหมายท่ี 1) ประชาชนมีวัฒนธรรมและพฤติกรรมซื่อสัตยสุจริต
- การบรรลุเปาหมาย 1) จัดกิจกรรมเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาและ
สงเสริมการนอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบัติในระดับพ้ืนที่ 2) จัดกิจกรรมสงเสรมิ การเรียนรูตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) จัดกิจกรรมสงเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดําเนินการทางวินัย
การออกจากราชการ การอุทธรณและการรองทุกข 4) เผยแพรความรูเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ
วิธีการ การดําเนินการทางวินัยของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และ 5)บริหารจัดการองคก รใหมี
ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล
2.2.2 แผนปฏิรูปประเทศ
(1) แผนปฏริ ปู ประเทศดานการศกึ ษา
เรือ่ งที่ 2 การปฏริ ูปการพัฒนาเด็กเลก็ และเดก็ วัยเรยี น
ประเด็นที่ 2.1) การพัฒนาระบบการดูแล พัฒนา และจัดการเรียนรู
เพ่ือใหเดก็ ปฐมวัยไดรับการพัฒนา รา งกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม และสติปญ ญาให สมกับวัย

13

กิจกรรม - 2. จัดทําแนวทางการคัดเลือกเด็กเขาเรียนระดับช้ัน
ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 ดวยวธิ ีการทเ่ี หมาะสมกบั ชวงวยั

เปาหมายกิจกรรม รวมจัดขอเสนอแนวทางการคัดเลือกเด็ก
เขาเรยี นระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 1 ทเ่ี หมาะสมกับชวงวยั

กิจกรรม - 3. จัดทําระบบคัดกรอง และกลไกการติดตามและ
ประเมินผลสาํ หรับเดก็ ท่ีมคี วามตอ งการจาํ เปน พเิ ศษ

เปาหมายกิจกรรม รวมจัดทําขอเสนอวาดวยระบบการคัดกรอง
และรว มสงเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั และเด็กท่มี ีความตองการจําเปนพิเศษในหนวยใหบ รกิ าร

กิจกรรม - 4. จัดทําแนวทางการพัฒนาในชวงรอยเชื่อมตอ
(transition period) ระหวา งวัย 2 - 6 ป

เปา หมายกิจกรรม จัดทําขอเสนอแนวทางการพัฒนาในชว งรอย
เชอื่ มตอ (transition period) ระหวา งวยั 2 - 6 ป

กิจกรรม - 5. จัดทําแผนปฏิบัติการรวมกันระหวางกระทรวง
หลัก 4 กระทรวงท่เี กีย่ วของเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย

เปาหมายกิจกรรม รวมจัดทําแผนปฏิบัติการรวมกันระหวาง
กระทรวงหลัก 4 กระทรวงที่เกี่ยวของเพ่ือเตรียมความพรอมพอแมผูปกครอง และพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีความ
พรอ มรอบดาน

กิจกรรม - 6. จัดทําขอเสนอแผนปฏิบัติการวาดวยการยกระดับ
คุณภาพของศนู ยพัฒนาเดก็ เลก็ และศนู ยเล้ยี งเด็ก

เปาหมายกิจกรรม รวมยกรางขอเสนอแผนปฏิบัติการวาดวย
การยกระดับคุณภาพของศูนยพัฒนาเด็กเล็กและศูนยเล้ียงเด็ก รวมทั้งสงเสริมครู พ่ีเล้ียงเด็ก และบุคลากร
ทเี่ กี่ยวของเขา รบั การอบรมพฒั นาใหมีทักษะความเชย่ี วชาญในศาสตรการดูแลและพฒั นาเด็กเล็ก

ประเด็นที่ 2.2) การส่ือสารสังคมเพื่อสรางความเขาใจในการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย

กจิ กรรม - 1. สรา งความรูค วามเขาใจในการพัฒนาเด็กปฐมวยั
เปาหมายกิจกรรม รวมจัดทําแนวทางการสรางความรูความ
เขาใจ ผลิตส่ือประชาสัมพันธ และรางคูมือการเตรียมความพรอมพอแม กอนการตั้งครรภ การเลี้ยงดู ดูแล
และพัฒนาเดก็ ปฐมวัยอยางตอ เนื่อง
เร่อื งที่ 3 การปฏิรปู เพ่อื ลดความเหลอ่ื มลาํ้ ทางการศึกษา
ประเดน็ ท่ี 3.1) การดาํ เนินการเพ่ือลดความเหลือ่ มลา้ํ ทางการศกึ ษา
กิจกรรม - 1. สงเสริมโอกาสและพัฒนาคุณภาพนักเรียน
เพ่ื อ บ ร ร เท า อุ ป ส ร ร ค ก า ร ม าเรี ย น ข อ ง นั ก เรี ย น ย า ก จ น พิ เศ ษ แ ล ะ ย า ก จ น ให มี ค ว า ม เส ม อ ภ า ค ใน โอ ก า ส
ทางการศึกษาจนสําเรจ็ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและตามศกั ยภาพ
เปาหมายกิจกรรม นักเรียนยากจนพิเศษและยากจน ไดรับเงิน
อุดหนุนปจจัยพ้ืนฐานนักเรยี นยากจนแบบมเี ง่ือนไข (Conditional Cash Transfer) เพื่อบรรเทาอุปสรรคการมาเรยี น
ในปก ารศกึ ษา 2/2563 และ 2/2564
กิจกรรม - 4. สนับสนุนใหเด็ก เยาวชนนอกระบบการศึกษา
กลบั เขา สรู ะบบการศกึ ษาและพฒั นาทักษะอาชีพ

14

เปา หมายกิจกรรม สนบั สนุนใหเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษา
ใหกลบั เขา ศึกษาตอ หรือไดรับการพัฒนาทกั ษะอาชีพ

กจิ กรรม - 5. สงเสริมการพัฒนาคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพครู
เปา หมายกิจกรรม ครนู อกระบบ ไดร บั การเสริมสรางและพฒั นา
คุณภาพและประสิทธิภาพ
กิจกรรม - 6. พัฒนาองคความรูเพ่ือการจัดการเชิงระบบเพ่ือ
ความเสมอภาคทางการศกึ ษาทม่ี ปี ระสิทธิภาพย่ิงขน้ึ
เปาหมายกิจกรรม พัฒนาฐานขอมูลขนาดใหญ (Big Data) ของ
กลุมเปาหมายเด็กและเยาวชนผูขาดแคลนทุนทรัพยและดอยโอกาสท้ังในและนอกระบบการศึกษา จากเลข
ประจําตัวประชาชน 13 หลัก ท่ีเชื่อมโยงและบูรณาการ 6 กระทรวง เพื่อตรวจสอบความถูกตองแมนยํา และ
สนบั สนนุ การวเิ คราะหเพื่อใชประโยชนในการสรา งความเสมอภาคทางการศึกษา
กิจกรรม - 7. สง เสริมการมีสวนรว มของทุกภาคสวน เพื่อสรางสังคม
แหงโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาทั้งในและตา งประเทศ
เปาหมายกิจกรรม สํารวจสถานะความเหลื่อมล้ําและคุณภาพ
ทรัพยากรมนุษยระดับจังหวัด (School Readiness, Career Readiness, Workforce Competencies,
SDGS)
(2) แผนการปฏริ ปู ประเทศดานการบริหารราชการแผนดนิ
เรื่องที่ 3/ประเด็นท่ี 3 โครงสรางภาครัฐ กะทัดรัด ปรับตัวไดเร็ว และ
ระบบงานมีผลสัมฤทธ์ิสูง
กจิ กรรมท่ี 3/กลยุทธท่ี 3 พฒั นาทกั ษะและสมรรถนะใหมเพ่ือสรางความ
พรอ มเชงิ กลยทุ ธใ หกับกําลงั คนภาครฐั (New Mindsets and Skillsets)
เปาหมายกจิ กรรม 1) ภาครัฐมีกาํ ลังคนมีทกั ษะและสมรรถนะที่ทนั ตอ
การเปล่ียนแปลงทันสมัย และเปนสากล 2) ภาครัฐมีแผนและแนวทางในการใชประโยชนกําลังคนสูงอายุท่ีมี
ศักยภาพ 3) ขาราชการและเจาหนาท่ีของรฐั มีคานิยมและอุดมการณที่กลายืนหยัดกระทําในสง่ิ ที่ถูกตองแยก
ผลประโยชนสวนตนออกจากประโยชนสาธารณะ และดํารงตนตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เจาหนาที่
ของรัฐมีกระบวนทัศนใหม (New Paradigm) และมีจิตวิญ ญ าณ การเปนผูประกอบการสาธารณ ะ
(Public Entrepreneurial Spirit) มีกลไกและมาตรการคุมครองเจาหนาทจี่ ากการใชอํานาจท่ีไมเปนธรรมโดย
ผบู ังคบั บัญชา
เร่ืองท่ี 5/ประเด็นท่ี 5 ระบบบริหารงานบุคคลท่ีสามารถดึงดูด สรางและ
รกั ษาคนดีคนเกงไวในภาครัฐ
กิจกรรมที่ 6/กลยุทธท่ี 6 พัฒนาทางกาวหนาในสายอาชีพและสราง
ความตอเน่อื งในการดาํ รงตาํ แหนง
เปาหมายกิจกรรม ทุกสายอาชีพมีเสนทางความกาวหนาท่ีเปดกวาง
มีโอกาส และประสบการณทํางานที่หลากหลาย ทําใหภาครัฐสามารถระดมสรรพกําลังความเชี่ยวชาญมาใช
ประโยชนไ ดอ ยา งสูงสุด
เร่ืองที่ 6/ประเด็นท่ี 6 การจัดซื้อจัดจางภาครัฐ คลองตัว โปรงใส และมี
กลไกปองกนั การทจุ ริตทุกขนั้ ตอน

15

กิจกรรมท่ี 1/กลยุทธท่ี 1 นําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชปรับปรุงระบบ
การจัดซอื้ จดั จางภาครฐั ใหมคี วามคลอ งตัว และมีประสทิ ธิภาพมากข้นึ

เปาหมายกิจกรรม หนวยงานของรัฐสามารถเชื่อมโยงระบบขอมูล
การจดั ซื้อจดั จางของตนกับระบบของกรมบัญชีกลางไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

๒.๒.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๒
1) วัตถปุ ระสงค (ทสี่ อดคลอง)
1.1 เพ่ือวางรากฐานใหคนไทยเปนคนที่สมบูรณ มีคุณธรรมจริยธรรม

มีระเบียบวินัย คานิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครัวอบอุน
ตลอดจนเปน คนเกงท่ีมีทักษะความรคู วามสามารถและพฒั นาตนเองไดตอเน่ืองตลอดชีวติ

1.2 เพ่ือใหคนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ไดร บั ความเปนธรรม
ในการเขาถึงทรัพยากรและบรกิ ารทางสังคมที่มีคุณภาพ ผูดอยโอกาสไดรับการพัฒนาศักยภาพ รวมท้ังชมุ ชน
มคี วามเขมแขง็ พง่ึ พาตนเองได

1.3 เพ่ือรักษาและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดลอมให
สามารถสนบั สนนุ การเตบิ โตท่เี ปนมติ รกับสง่ิ แวดลอมและการมคี ณุ ภาพชีวติ ท่ีดขี องประชาชน

1.4 เพื่อใหการบริหารราชการแผนดินมีประสิทธิภาพ โปรงใส ทันสมัย และ
มีการทํางานเชิงบรู ณาการของภาคกี ารพัฒนา

1.5 เพ่ือใหมีการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและ
เมืองเพ่อื รองรับการพฒั นายกระดับฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานการผลติ และบริการใหม

2) เปา หมายรวม (ที่สอดคลอง)
2.1 คนไทยมคี ณุ ลักษณะเปนคนไทยท่สี มบรู ณ
2.2 ความเหล่ือมลํา้ ทางดา นรายไดแ ละความยากจนลดลง
2.3 ระบบเศรษฐกิจมีความเขม แขง็ และแขงขนั ได
2.4 ทุนทางธรรมชาตแิ ละคณุ ภาพสิ่งแวดลอมสามารถสนบั สนุนการเตบิ โตท่เี ปน

มติ รกบั สิ่งแวดลอ ม มีความม่ันคงทางอาหาร พลังงาน และน้ํา
2.5 มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทนั สมัย โปรงใส ตรวจสอบได

กระจายอาํ นาจและมสี วนรวมจากประชาชน
3) ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ (ที่สอดคลอ ง)
ยุทธศาสตรที่ 1 การเสรมิ สรางและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย (หลัก)
เปาหมายระดับยุทธศาสตร 1) คนไทยสวนใหญมีทัศนคติและพฤติกรรม

ตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคมเพ่ิมข้ึน 2) คนในสังคมไทยทุกชวงวัยมีทักษะ ความรู และความสามารถเพิ่มข้ึน
3) คนไทยไดร บั การศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพสูงตามมาตรฐานสากล และสามารถเรียนรดู วยตนเองอยางตอ เน่ือง

แนวทางการพัฒนา 1) ปรับเปลี่ยนคานิยมคนไทยใหมีคุณธรรม จริยธรรม
มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค โดย 1.2) สงเสริมใหมีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและ
นอกหองเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย จิตสาธารณะ 2) พัฒนาศักยภาพคนใหมีทักษะ
ความรู และความสามารถในการดํารงชีวิตอยางมีคุณคา โดย 2.1) สงเสริมใหเด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะ
ทางสมองและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม 2.2) พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุนใหมีทักษะการคิดวิเคราะห
อยางเปนระบบ มีความคิดสรางสรรค มีทักษะการทํางาน และการใชชีวิตท่ีพรอมเขาสูตลาดแรงงาน 2.3) สงเสริม
แรงงานใหม ีความรูและทกั ษะในการประกอบอาชีพท่ีเปนไปตามความตอ งการของตลาดแรงงาน

16

ยทุ ธศาสตรท่ี 2 การสรา งความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํา้ ในสังคม (รอง)
เปาหมายระดับยุทธศาสตร 2) เพ่ิมโอกาสการเขาถึงบริการพื้นฐาน
ทางสังคมของภาครัฐ
แนวทางการพัฒนา 1) เพ่ิมโอกาสใหกับกลุมเปาหมายประชากรรอยละ 40
ท่ีมีรายไดต่ําสุดใหสามารถเขาถึงบริการท่ีมีคุณภาพของรัฐ และมีอาชีพ โดย 1.1) ขยายโอกาสการเขาถึง
การศึกษาท่ีมีคุณภาพใหแกเด็กและเยาวชนที่ดอยโอกาสทางการศึกษาอยางตอ เน่ือง โดยไมถูกจํากัดศักยภาพ
จากสภาพครอบครัว พื้นท่ี และสภาพรางกาย 2) กระจายการใหบริการภาครัฐทั้งดานการศึกษา สาธารณสุข
และสวัสดิการที่มีคุณภาพใหครอบคลุมและท่ัวถึง โดย 2.1) สงเสริมใหมีการกระจายการบริการดานการศึกษา
ทม่ี คี ณุ ภาพใหมีความเทาเทยี มกันมากข้ึนระหวา งพ้ืนที่
ยุทธศาสตรที่ 5 การเสริมสรางความมั่นคงแหงชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสู
ความมง่ั ค่ังและยั่งยืน
เปาหมายระดับยุทธศาสตร 1) ปกปองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย
ใหเปนสถาบันหลักของประเทศ 2) สังคมมีความสมานฉันท ผูเห็นตางทางความคดิ ของคนในชาติสามารถอยูรวมกันได
อยางสันติ ประชาชนมีสวนรวมปองกันแกไขปญหาความมั่นคง 3) ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใตมีความ
ปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยสนิ มีโอกาสในการศึกษาและการประกอบอาชพี ท่สี รางรายไดเพ่มิ ขึ้น
แนวทางการพัฒนา 1) การรักษาความมั่นคงภายในเพ่ือใหเกิดความสงบ
ในสังคมและธํารงไวซึ่งสถาบันหลักของชาติ 1.1) สรางจิตสํานึกของคนในชาติใหมีความหวงแหน และธํารง
รักษาสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  1.2) เสรมิ สรางความปรองดองของคนในชาติ ปลูกฝงคานิยมและ
เสริมสรางความรูความเขาใจของการอยูรวมกันบนพื้นฐานความแตกตางทางความคิด ภายใตสิทธิและหนาที่
ตามระบอบประชาธิปไตย 1.3) ปองกันและแกไขปญหาความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใต โดยกระบวนการ
สันติสขุ แนวทางสันตวิ ธิ ี ลดความรุนแรงตามยุทธศาสตรพ ระราชทาน “เขา ใจ เขาถึง พฒั นา”
ยุทธศาสตรท่ี 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบ
และธรรมาภิบาลในสังคมไทย (รอง)
เปาหมายระดบั ยุทธศาสตร 3) เพม่ิ คะแนนดัชนกี ารรบั รกู ารทุจริตใหส ูงขึ้น
แนวทางการพัฒนา 5) ปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
โดยปองกันการทจุ ริต
ยุทธศาสตรที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพน้ื ที่เศรษฐกิจ (รอง)

เปาหมายระดับยุทธศาสตร 2) เพิ่มจํานวนเมืองศูนยกลางของจังหวัดเปน
เมืองนาอยสู ําหรบั คนทกุ กลมุ ในสงั คม 4) เพ่มิ มูลคา การลงทนุ ในพน้ื ทเ่ี ศรษฐกิจใหมบริเวณชายแดน

แนวทางการพั ฒ นา 2) การพัฒนาเมือง 2.1) การพัฒ น าเมืองหลั ก
2.1.4) รักษาอัตลักษณของเมืองและสรางคุณคาของทรัพยากรเพ่ือกระจายรายไดใหคนในทอ งถิ่น ตลอดจนใช
เศรษฐกิจดจิ ิทัลตอยอดการพัฒนาเมือง ควบคูกับการสงเสรมิ การเรยี นรูของชมุ ชน 2.2) การพัฒนาเมืองสําคัญ
2.2.5) พัฒนาเมอื งภูเก็ตและเมืองหาดใหญใหเปนเมอื งนาอยูและเอ้ือตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ รวมท้ังการ
เปล่ียนแปลงของสังคมและสิ่งแวดลอม 3) การพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ 3.2) พ้ืนท่ีเศรษฐกิจพิเศษชายแดน
3.2.3) สงเสริมใหภาคประชาชนและภาคีการพัฒนาที่เก่ียวของเขามามีสวนรวม และไดรับประโยชนจากการ
พัฒนาเสริมสรางขีดความสามารถของวิสาหกิจชุมชนและผูประกอบการในพื้นท่ี พัฒนาทรัพยากรมนุษยและ
ชุมชนใหสามารถใชป ระโยชนจากการพฒั นา

17

๒.๓ แผนระดบั ที่ ๓ ที่เกี่ยวของ

2.3.1 แผนการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ.2560-2579
แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 เปนแผนท่ีวางกรอบเปาหมายและ

ทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุงจัดการศึกษาใหค นไทยทุกคนสามารถเขาถงึ โอกาสและความเสมอ
ภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนาคนใหมีสมรรถนะ
ในการทํางานท่ีสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษา
ตามแผนการศึกษาแหงชาติ ยึดหลักสําคญั ในการจัดการศึกษาประกอบดวย หลกั การจัดการศกึ ษาเพ่ือปวงชน
(Education for All) หลั กการจัดการศึกษ าเพื่ อความเทาเที ยม และท่ั วถึง (Inclusive Education)
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีสวนรว มของสังคม (All For Education)
อีกท้ังยึดตามเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็น
ภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนชว งวัย การเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรของประเทศ
ความเหลื่อมล้ําของการกระจายรายได และวิกฤตดิ า นสิ่งแวดลอม โดยนํายุทธศาสตรช าติมาเปนกรอบความคิด
สาํ คญั ในการจดั ทาํ แผนการศกึ ษาแหง ชาติ โดยมีสาระสําคัญ ดังน้ี

วสิ ัยทัศน : คนไทยทุกคนไดร บั การศึกษาและเรยี นรตู ลอดชีวติ อยางมีคุณภาพ
ดํารงชีวิตอยางเปนสุข สอดคลองกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษ
ท่ี 21

วตั ถปุ ระสงค
1. เพ่ือพฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ และมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. เพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะท่ี
สอดคลองกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ และ
ยุทธศาสตรช าติ
3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรู และคุณธรรม จริยธรรม
รรู ักสามัคคี และรว มมอื ผนึกกําลงั มงุ สกู ารพฒั นาประเทศอยางยั่งยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. เพ่ือนําประเทศไทยกาวขามกับดักประเทศที่มีรายไดป านกลาง และความ
เหลือ่ มล้าํ ภายในประเทศลดลง
ยุทธศาสตรแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 ประกอบดวย
6 ยุทธศาสตร ซง่ึ เก่ยี วของกบั ภารกิจของสํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการทั้ง 6 ยุทธศาสตร ดังนี้
ยุทธศาสตรท ่ี 1 การจดั การศกึ ษาเพ่ือความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ
เปาหมาย 1) คนทุกชวงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 2) คนทุกชวงวัยในเขตพัฒนาพิเศษ
เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพื้นที่พิเศษไดรับการศึกษาและเรียนรูอยางมีคุณภาพ 3) คนทุกชวงวัยไดรับ
การศึกษา การดแู ลและปองกันจากภัยคุกคามในชวี ติ รปู แบบใหม
แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางความมั่นคง
ของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
2) ยกระดับคุณภาพและสงเสริมโอกาสในการเขาถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน
ภาคใต 3) ยกระดับคุณภาพและสงเสริมโอกาสในการเขาถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูงพื้นท่ีตามแนว
ตะเข็บชายแดน และพ้ืนที่เกาะแกง ชายฝงทะเล ทั้งกลุมชนตางเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมชน-ชายขอบ
และแรงงานตางดาว) 4) พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและปองกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม

18

อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบตาง ๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติใหม
ภัยจากไซเบอร เปนตน

ยุทธศาสตรที่ 2 การผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือ
สรา งขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ

เปาหมาย 1) กําลังคนมีทักษะท่ีสําคัญจําเปนและมีสมรรถนะตรงตามความ
ตองการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) สถาบันการศึกษาและหนวยงานท่ีจัด
การศึกษาผลิตบัณฑิต ที่มคี วามเชี่ยวชาญและเปนเลิศเฉพาะดาน 3) การวิจัยและพัฒนาเพอื่ สรางองคความรแู ละ
นวตั กรรมทสี่ รางผลผลิตและมูลคาเพิม่ ทางเศรษฐกิจ

แนวทางการพัฒนา 1) ผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตาม
ความตองการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) สงเสริมการผลิตและพัฒนา
กําลังคนที่มีความเช่ียวชาญและเปนเลิศเฉพาะดาน 3) สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือสรางองคความรูและ
นวตั กรรมที่สรา งผลผลติ และมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ

ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหง
การเรียนรู

เปาหมาย 1) ผูเรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและ
ทักษะและคุณลักษณะที่จําเปนในศตวรรษท่ี 21 2) คนทุกชวงวยั มที ักษะความรูความสามารถและสมรรถนะ
ตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตไดตามศักยภาพ 3) สถานศึกษาทุก
ระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรไดอยางมีคุณภาพและมาตรฐาน
4) แหลงเรียนรู ส่ือตําราเรียน นวัตกรรมและส่ือการเรียนรูมีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถ
เขาถึงไดโดยไมจํากัดเวลาและสถานที่ 5) ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ
6) ระบบการผลิตครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาไดมาตรฐานระดับสากล 7) ครู อาจารย และ
บคุ ลากรทางการศกึ ษาไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน

แนวทางการพัฒนา 1) สงเสริม สนับสนุนใหคนทุกชวงวัยมีทักษะ ความรู
ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแตละชวงวัย 2) สงเสริมและ
พัฒนาแหลงเรียนรู ส่ือตําราเรียน และสื่อการเรียนรูตาง ๆ ใหมีคุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถ
เขา ถึงแหลงเรียนรูไดโดยไมจํากัดเวลาและสถานที่ 3) สรางเสรมิ และปรับเปล่ียนคานิยมของคนไทยใหมีวินัย
จติ สาธารณะ และพฤติกรรมท่พี ึงประสงค 4) พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมนิ ผลผูเรียน
ใหมีประสิทธิภาพ 5) พัฒนาคลังขอมูล สื่อ และนวัตกรรมการเรียนรู ท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน 6) พัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา 7) พัฒนาคุณภาพครู อาจารย และ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา

ยุทธศาสตรที่ 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาคและความเทาเทียม
ทางการศกึ ษา

เปาหมาย 1) ผูเรียนทุกคนไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึง
การศึกษาที่มีคณุ ภาพ 2) การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผานเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศกึ ษาสําหรับคนทุกชว งวัย
3) ระบบขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศกึ ษาที่ครอบคลุม ถูกตอ ง เปนปจจุบัน เพ่ือการวางแผนการ
บริหารจัดการศกึ ษา การตดิ ตามประเมินและรายงานผล

19

แนวทางการพัฒนา 1) เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษา
ท่ีมีคุณภาพ 2) พัฒ น า ระบ บ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสําหรับคนทุกชวงวัย 3) พัฒนาฐานขอมูล
ดานการศกึ ษาทีม่ มี าตรฐาน เชื่อมโยงและเขา ถงึ ได

ยุทธศาสตรท่ี 5 การจัดการศึกษาเพื่อสรางเสริมคณุ ภาพชีวิตที่เปนมิตรกับ
สง่ิ แวดลอ ม

เปาหมาย 1) คนทุกชว งวัย มีจิตสํานึกรกั ษส่ิงแวดลอม มคี ุณธรรม จริยธรรม
และนําแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ 2) หลักสูตร แหลงเรียนรู และสอื่ การเรยี นรู
ท่ีสงเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม คุณธรรม จริยธรรม และการนําแนวคิดตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสกู ารปฏบิ ตั ิ 3) การวจิ ัยเพื่อพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดา นการสรางเสริมคุณภาพชีวิต
ท่ีเปนมิตรกับสิง่ แวดลอ ม

แนวทางการพัฒนา 1) สงเสริม สนบั สนุนการสรางจิตสํานึกรกั ษส ่ิงแวดลอม
มีคุณธรรม จริยธรรม และนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติในการดําเนินชีวิต
2) สงเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู แหลงเรียนรู และสื่อการเรียนรูตา ง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการ
สรางเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม 3) พัฒนาองคความรู งานวิจัย และนวัตกรรม ดา นการสราง
เสริมคณุ ภาพชีวิตท่ีเปนมติ รกับสิง่ แวดลอม

ยทุ ธศาสตรท ี่ 6 การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา
เปาหมาย 1) โครงสราง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษา
มีความคลองตัว ชัดเจนและสามารถตรวจสอบได 2) ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลสงผลตอคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3) ทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา
ที่ตอบสนองความตองการของประชาชนและพื้นท่ี 4) กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากร
ทางการศึกษารองรบั ลกั ษณะที่แตกตางกันของผเู รียน สถานศึกษา และความตอ งการกําลังแรงงานของประเทศ
5) ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษามีความเปนธรรม สรางขวัญกําลังใจ
และสงเสริมใหป ฏิบัติงานไดอยา งเตม็ ตามศักยภาพ
แนวทางการพัฒนา 1) ปรับปรุงโครงสรางการบริหารจัดการศึกษา
2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา 3) สงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการจัด
การศึกษา 4) ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงนิ เพื่อการศึกษาที่สงผลตอ คณุ ภาพและประสิทธิภาพการ
จดั การศกึ ษา 5) พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศกึ ษา

2.3.2 นโยบายและจุดเนนกระทรวงศึกษาธิการ ป 2564
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบายและจุดเนนของ

กระทรวงศึกษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพ่ือใหสวนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ยึดเปนกรอบการดําเนินงานในการจัดทําแผนและงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
พรอ มทั้งขับเคลื่อนการดําเนินงานดานการศึกษา ใหมีคุณภาพ ประสิทธิภาพในทกุ มิติ โดยใชจายงบประมาณอยาง
คุมคา เพื่อมุงเปาหมาย คอื ผูเรียนทุกชว งวัย ดังน้ี

หลักการตามนโยบาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมุงมั่นดาํ เนินการภารกิจหลักตามแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตร
ชาติ 20 ป (พ.ศ.2561-2580) ในฐานะหนว ยงานเจา ภาพขับเคลอ่ื นทุกแผนยอยในประเด็น 12 การพัฒนา
การเรียนรู และแผนยอยที่ 3 ในประเดน็ 11 ศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต รวมท้ังแผนการปฏิรูปประเทศ
ดา นการศึกษา และนโยบายรฐั บาลท้ังในสวนนโยบายหลักดานการปฏิรปู กระบวนการเรียนรู และการพฒั นา

20

ศักยภาพของคนไทยทุกชว งวัย และนโยบายเรงดวน เรื่อง การเตรียมคนไทยสศู ตวรรษที่ 21 นอกจากนีย้ ัง
สนับสนุนการขับเคลื่อนแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าตปิ ระเดน็ อนื่ ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) นโยบายและแผนระดับชาติวาดวยความม่ันคงแหงชาติ (พ.ศ.2562-
2565) รวมทงั้ นโยบายและแผนตา ง ๆ ท่เี กย่ี วของ โดยคาดหวงั วาผเู รยี นทุกชวงวยั จะไดรับการพฒั นาในทกุ มติ ิ
เปนคนดี คนเกง มีคณุ ภาพ และมีความพรอมรว มขับเคลือ่ นการพฒั นาประเทศสคู วามมนั่ คง มงั่ คง่ั และย่ังยืน
ดงั นน้ั ในการ เรงรัดการทาํ งานภาพรวมกระทรวงใหเกิดผลสัมฤทธ์ิเพื่อสรางความเช่ือมนั่ ใหกับสงั คม และ
ผลกั ดันใหการจัดการศึกษามคี ณุ ภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงกําหนดนโยบาย
ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังน้ี

1. ปรับร้ือและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุงปฏิรูปองคการ
เพื่อหล อม รวม ภารกิจและบุคลากร เชน ดานการประชาสัมพันธ ดานการตางประเทศ ดานเทคโนโลยี
ดา นกฎหมาย ฯลฯ ท่ีสามารถลดการใชทรัพยากรทบั ซอน เพิ่มประสิทธิภาพและความเปนเอกภาพ รวมทง้ั การ
นาํ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเขามาชวยทง้ั การบริหารงานและการจัดการศึกษารองรับความเปนรัฐบาลดจิ ิทลั

2. ปรับรื้อและเปล่ียนแปลงระบบการบริหารทรพั ยากร โดยมงุ ปฏิรูปกระบวนการ
วางแผนงาน/โครงการแบบรวมมือและบูรณาการ ที่สามารถตอบโจทยของสังคมและเปนการพัฒนาที่ย่ังยืน
รวมทั้งกระบวนการจัดทํางบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพและใชจายอยางคุมคา สงผลใหภาคสวนตาง ๆ
ทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และนานาชาติ เชือ่ มนั่ และรว มสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษามากยิ่งขน้ึ

3. ปรับรื้อและเปล่ียนแปลงระบบการบริหารจัดการและพัฒนากําลังคนของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมุงบริหารจัดการอัตรากําลังใหสอดคลองกับการปฏิรูปองคการ รวมท้ังพัฒนาสมรรถนะ
และความรคู วามสามารถของบคุ ลากรภาครฐั ใหม คี วามพรอ มในการปฏบิ ัตงิ านรองรับความเปน รัฐบาลดิจทิ ลั

4. ปรับร้ือและเปล่ียนแปลงระบบการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู โดยมุงให
ครอบคลุมถึงการจัดการศึกษาเพื่อคุณวุฒิ และการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลง
ในศตวรรษท่ี 21

จุดเนนประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564
1. การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย

1.1 การจัดการศึกษาเพ่ือคณุ วฒุ ิ
- จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ

รวมท้ังแนวทางการจัดการเรียนรูเชิงรุกและการวัดประเมินผลเพ่ือพัฒนาผูเรียน ท่ีสอดคลองกับมาตรฐาน
การศกึ ษาแหง ชาติ

- สงเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับทองถ่ินและหลักสูตร
สถานศึกษาตามความตอ งการจาํ เปน ของกลุมเปาหมายและแตกตา งหลากหลายตามบริบทของพน้ื ท่ี

- พัฒนาผูเรียนใหมีทักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไขสถานการณ
เฉพาะหนาไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณจริงหรือจาก
สถานการณจําลองผานการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพ่ือเปดโลกทัศน
มมุ มองรวมกันของผูเรียนและครูใหมากข้นึ

- พัฒนาผูเรียนใหมีความรอบรูและทักษะชีวิต เพ่ือเปนเคร่ืองมือ
ในการดํารงชีวิตและสรา งอาชพี อาทิ การใชเทคโนโลยีดิจิทัล สขุ ภาวะและทัศนคตทิ ่ดี ตี อการดูแลสุขภาพ

21

1.2 การเรยี นรูตลอดชีวติ
- จัดการเรียนรูตลอดชีวิตสําหรับประชาชนทุกชวงวยั เนนสง เสริม

และยกระดับทกั ษะภาษาองั กฤษ (English for All)
- สงเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับผูที่เขาสูสังคมสูงวัย

อาทิ อาชีพที่เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผูสูงวัย
หลักสูตร BUDDY โดยเนนการมสี ว นรวมในการพัฒนาชุมชน โรงเรียน และผเู รยี น หลักสตู รการเรยี นรูออนไลน
เพ่ือสง เสรมิ ประชาสมั พันธสินคา ออนไลนระดับตําบล

- สงเสริมโอกาสการเขาถึงการศึกษาเพ่ือทักษะอาชีพและการมีงาน
ทํา ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต และเขตพื้นท่ีพิเศษ (พื้นท่ีสูง พื้นที่ตามแนวตะเข็บ
ชายแดน และพ้ืนท่ีเกาะแกง ชายฝงทะเล ท้ังกลุมชนตางเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมชนชายขอบ
และแรงงานตางดา ว)

- พัฒนาครูใหมีทักษะ ความรู และความชํานาญในการใชเทคโนโลยี
ดิจิทัล ปญญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝกทักษะการคดิ วิเคราะหอยางเปน
ระบบและมีเหตุผลเปน ขั้นตอน

- พัฒนาครูอาชีวศึกษาท่ีมีความรูและความสามารถในทางปฏิบัติ
(Hands – on Experience) เพื่อใหมีทักษะและความเชย่ี วชาญทางวิชาการ โดยรวมมือกับสถาบันอุดมศึกษา
ช้นั นําของประเทศจัดหลักสตู รการพฒั นาแบบเขมขน ระยะเวลาอยา งนอย 1 ป

- พัฒ นาสมรรถนะและความรูความสามารถของบุคลากร
กระทรวงศึกษาธิการ ใหมีความพรอมในการปฏิบัติงานรองรับความเปนรัฐบาลดิจิทัลอยางมีประสิทธิภาพ
โดยจัดใหม ศี ูนยพ ฒั นาสมรรถนะบุคลากรระดับจงั หวัดทั่วประเทศ

2. การพฒั นาการศกึ ษาเพือ่ ความมน่ั คง
- พัฒนาคุณภาพการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต โดยนอมนํา

ยุทธศาสตรพระราชทาน “เขาใจ เขาถงึ พัฒนา” เปน หลกั ในการดาํ เนินการ
- เฝาระวังภัยทุกรูปแบบท่ีเกิดข้ึนกับผูเรียน ครู และสถานศึกษา

โดยเฉพาะภยั จากยาเสพติด อาชญากรรมทางไซเบอร การคามนุษย
- สงเสริมใหใชภาษาทองถ่ินรวมกับภาษาไทยเปนสื่อจัดการเรียนการสอน

ในพ้ืนทท่ี ี่ใชภาษาอยางหลากหลาย เพื่อวางรากฐานใหผูเรียนมีพัฒนาการดานการคดิ วิเคราะห รวมทั้งมีทักษะ
การสื่อสารและใชภาษาท่ีสามในการตอยอดการเรยี นรูไดอยางมีประสิทธิภาพ

- ปลูกฝงผูเรียนใหมหี ลักคิดท่ีถูกตอ งดานคุณธรรม จริยธรรม และเปนผูมี
ความพอเพยี ง วินยั สจุ รติ จติ อาสา โดยใชกระบวนการลกู เสือ และยุวกาชาด

3. การสรา งความสามารถในการแขงขัน
- สนับสนุนใหสถานศึกษาอาชีวศึกษาผลิตกําลังแรงงานท่ีมีคุณภาพ

ตามความเปนเลิศของแตละสถานศึกษาและตามบริบทของพ้ืนท่ี รวมทั้งสอดคลองกับความตองการของ
ประเทศทัง้ ในปจจบุ นั และอนาคต

- สนับสนุนใหสถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอยางมีคุณภาพ
และจดั การเรียนการสอนดวยเคร่ืองมือปฏิบัติที่ทนั สมัยและสอดคลองกับเทคโนโลยี โดยเนนใหผูเรียนมีทักษะ
การวิเคราะหขอมลู (Data Analysis) และทกั ษะการส่ือสารภาษาตางประเทศ

22

4. การสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
- พฒั นาแพลตฟอรมดจิ ทิ ลั เพือ่ การเรียนรู และใชด จิ ทิ ลั เปนเคร่อื งมอื การเรยี นรู
- ศึกษาและปรับปรุงอัตราเงนิ อุดหนุนคาใชจายตอหัวในการจัดการศึกษา

ขนั้ พื้นฐานใหสอดคลอ งกับสภาพเศรษฐกิจและบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนญู
- ระดมสรรพกําลังเพ่ือสงเสริมสนับสนุนโรงเรียนนํารองพ้ืนท่ีนวัตกรรม

การศกึ ษาเพอ่ื ลดความเหล่อื มล้าํ ทางการศกึ ษาใหส อดคลอ งพระราชบัญญัติพืน้ ทีน่ วัตกรรมการศกึ ษา พ.ศ. 2562
5. การจัดการศกึ ษาเพ่ือสรางเสริมคณุ ภาพชีวิตที่เปนมติ รกับสิ่งแวดลอม
- เสริมสรางการรับรู ความเขาใจ ความตระหนัก และสงเสริมคณุ ลักษณะ

และพฤตกิ รรมท่ีพึงประสงคด า นส่งิ แวดลอม
- สงเสริมการพัฒนาส่ิงประดิษฐและนวัตกรรมท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

ใหส ามารถเปน อาชพี และสรา งรายได
6. การปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการ
- ปฏิรูปองคการเพื่อลดความทับซอน เพิ่มประสิทธิภาพและความเปน

เอกภาพของหนวยงานทม่ี ภี ารกจิ ใกลเ คยี งกนั เชน ดานประชาสมั พันธ ดา นตางประเทศ ดานดานกฎหมาย เปนตน
- ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เปนอุปสรรคและขอจํากัดในการ

ดาํ เนนิ งานโดยคํานงึ ถึงประโยชนของผูเรยี นและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศกึ ษาธิการโดยรวม
- สนบั สนนุ กจิ กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
- พฒั นาระบบฐานขอ มลู ดานการศึกษา (Big Data)
- พัฒนาระบบการบริหารจัดการและพัฒนากําลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ

ใหส อดคลองกับการปฏิรปู องคการ
- สนับสนุนใหสถานศึกษาเปนนิติบุคคล เพ่ือใหสามารถบริหารจัด

การศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพไดอยางอิสระและมีประสทิ ธภิ าพ ภายใตก รอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ
- จัดตั้งหนวยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจังหวัด

เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชีวิตบคุ ลากรของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
- สงเสริมโครงการ 1 ตําบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเนนปรับสภาพแวดลอม

ท้งั ภายในและภายนอกบริเวณโรงเรยี นใหเออื้ ตอ การเสริมสรา งคุณธรรม จรยิ ธรรม และจติ สาธารณะ
การขับเคลอื่ นนโยบายและจุดเนนสูการปฏิบตั ิ
1. ใหสวนราชการ หนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นํานโยบายและ

จุดเนน เปนกรอบแนวทางมาใชในการวางแผนและจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
โดยคํานึงถึงมาตรการ 4 ขอ ตามท่รี ัฐมนตรีวา การกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดใหแนวทางในการบริหารงบประมาณ
ไว ดังน้ี (1) งดดูงานตางประเทศ 1 ป ยกเวนกรณีท่ีมีความจําเปนและเปนประโยชนตอกระทรวงศึกษาธิการ (2)
ลดการจัดอบรมสัมมนาที่มีขนาดใหญและใชงบประมาณมาก (3) ยกเลิกการจัดงาน Event และ (4) ทบทวน
งบประมาณท่มี ีความซ้ําซอน

2. ใหมีคณะกรรมการติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานการขับเคล่ือนนโยบาย
และจุดเนนสูการปฏิบัติระดับพื้นท่ี โดยใหผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการเปนประธาน สํานักงาน
ศึกษาธิการภาค และสํานักตรวจราชการและตดิ ตามประเมินผล สป. เปนฝายเลขานุการและผูชวยเลขานุการ
ตามลําดับ โดยมีบทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทํารายงานเสนอ

23

ตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลาํ ดับ

3. กรณีมีปญหาในเชิงพ้ืนท่ีหรือขอขัดของในการปฏิบัติงาน ใหศึกษา
วิเคราะหขอมูล และดําเนินการแกไขปญหาในระดับพื้นที่กอน โดยใชภาคีเครือขายในการแกไขขอขัดของ
พรอมท้ังรายงานตอคณะกรรมการติดตามฯ ขางตน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธิการตามลําดับ

อนึ่ง สําหรับภารกิจของสวนราชการหลักและหนวยงานที่ปฏิบัติในลักษณะ
งานในเชิงหนาที่ (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร (Agenda) และงานในเชิงพื้นท่ี (Area) ซึ่งไดดําเนินการอยูกอน
เม่ือรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสําคัญเพ่ิมเติมในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 นอกเหนือจากท่ีกําหนด
หากมีความสอดคลองกับหลักการนโยบายและจุดเนนขางตน ใหถือเปนหนาที่ของสวนราชการหลัก และ
หนวยงาน ท่ีเกี่ยวของตอ งเรงรัด กํากับ ติดตาม ตรวจสอบใหการดําเนินการเกิดผลสําเรจ็ และมีประสิทธิภาพ
อยางเปนรูปธรรมดวยเชน กัน

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) ไดมอบ
นโยบาย “การศกึ ษายกกําลังสอง : Thailand Education Eco-System” (TE2 S: การศึกษาท่ีเขาใจ Supply
และตอบโจทย Demand) แกห นว ยงานในสังกดั เมอ่ื วนั ท่ี 17 สงิ หาคม 2563 ดังน้ี

 การศึกษายกกําลังสอง (Thailand Education Eco-System: TE2 S) คือ
การศกึ ษาทมี่ ีความยืดหยุน สามารถตอบโจทยความตอ งการของสังคมและตลาด โดยมุงเนนพฒั นาศกั ยภาพคน
สูความเปนเลิศตามบริบทในแบบ ฉบับของตนเอง (เขา ใจ Supply และตอบโจทย Demand)

 ศูนยพั ฒ น าศักยภาพบุคคลเพ่ื อความ เปน เลิศ (Human Capital
Excellence Center : HCEC) เปนศูนยฝกอบรมพัฒนาวิชาชีพครูที่กระจายทั่วประเทศและมีมาตรฐาน
เดียวกัน เนนอบรมครูในโรงเรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานใหมีทักษะ ความรูทีจ่ าํ เปน เนน อบรมครอู าชีวศึกษาตาม
วชิ าชพี ท่ตี ลาดตอ งการ เพื่อทาํ หนาทีเ่ ปน Train the Trainer ขยายผลพัฒนาตอ ไปยังครอู ื่น ๆ

 แพลตฟอรมดานการศึกษาเพ่ือความเปนเลิศ (Digital Education
Excellence Platform : DEEP) เปนแพลตฟอรมหลักในการเรียนรอู อนไลนของประเทศ เพื่อตอบโจทยการเรียนรู
ตลอดชีวิตผาน www.deep.go.th โดยปลดล็อกใหภาคเอกชนสามารถเขามาพัฒนาเน้ือหา เพื่อใหมีทางเลือก
ในการเรยี นรทู ่ีหลากหลาย นักเรยี น ครู และผูบริหารทางการศึกษาไดพัฒนาตนเองอยูเสมอ เปนชองทางแหง
การเรยี นรูแบบ Digital Platform ทส่ี ามารถแสดงพัฒนาการในการเรยี นรขู องนกั เรียน ครู ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา

 แผนพัฒ นารายบุคคลเพ่ือความเปนเลิศ (Excellence Individual
Development Plan : EIDP) เพ่ือตอบโจทยเสนทางความสําเร็จของชีวิตในรปู แบบของตนเอง โดยนักเรียนมี
แผนพัฒนาตนเองซ่ึงจะชวยใหคน พบตัวเองไดเร็ว ครูมีแผนพัฒนาทกั ษะ ความรูที่ชว ยพัฒนาเรื่องการสอนและ
ลดงานเอกสาร ผูบริหารทางการศึกษา สรางสภาพแวดลอมของโรงเรียนท่ีเหมาะสมและมีคุณภาพ และเตรียมความ
พรอ มไปสผู บู ริหารช้ันนํา

 ระบบนิเวศทางการศึกษา ประกอบไปดวย HCEC ,DEEP และ EIDP ทํางาน
ประสานเช่อื มโยงกัน “ปลดลอ็ ก ปรบั เปลย่ี น เปดกวา ง” ทางการศึกษาไทยสรู ปู โฉมใหม ดังน้ี

 นักเรยี นยกกาํ ลงั สอง : เรยี นเพ่อื รู พฒั นาทักษะเพ่อื ลงปฏิบตั ิ

 ครยู กกาํ ลังสอง : เพ่ิมคนเกงมาเปนครู พัฒนาครใู นระบบ

24

 หอ งเรยี นยกกาํ ลงั สอง : เรียนทบี่ า น ถามท่ีโรงเรยี น

 หลักสูตรยกกําลงั สอง : ลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู (Enabler)

 สอ่ื การเรียนรูยกกําลังสอง : เรียนผา นส่อื ผสมผสาน ผา นชองทางที่หลากหลาย
ไดแ ก On-Site : เรียนที่โรงเรียน ผานตํารา/ Presentation/ อปุ กรณท ดลอง/ ธรรมชาติในชมุ ชน

Online : เรียนออนไลนผาน DEEP ที่มีเนื้อหาหลักสูตรแกนกลางและ
เน้ือหาจากผผู ลติ อิสระ และผสู นใจดานการศกึ ษา

On-Air : เรียนผานโทรทัศน DLTV มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม
เน้อื หามาตรฐาน และจากผผู ลิตเนอื้ หาเปนเอกชน

On-Demand : เรยี นไดท กุ ท่ที ่ีมอี นิ เทอรเน็ตและอุปกรณเชอ่ื มตอ

 โรงเรียนยกกําลังสอง: เนนคุณภาพ และโรงเรียนศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อความ
เปนเลิศทางวิชาการ เพื่อความเปนเลิศทางภูมิปญญาทองถิ่นและวิสาหกิจชุมชน เนนคุณภาพของวิทยาลัย
อาชีวศึกษาเพื่อความเปนเลิศและความเชี่ยวชาญท่ีสามารถตอบโจทยทักษะและความรูที่เพ่ิมความเชี่ยวชาญในการ
ปฏบิ ตั งิ าน

2.3.3 แผนปฏิบัติราชการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 ของกระทรวง ศึกษาธิการ

1. วิสัยทัศน
ผูเรียนทุกชวงวัยไดรับการพัฒนาในทุกมิติใหเปนคนดี คนเกง มีคุณภาพ

พรอมขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศสูความมั่นคง ม่งั คง่ั ยงั่ ยืน
2. พนั ธกิจ
1) ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทตามมาตรฐาน

การศกึ ษาของชาติ และเทยี บเทาระดบั สากล
2) สรางความเสมอภาคและลดความเหลอ่ื มลาํ้ ทางการศกึ ษา
3) ผลติ พัฒนา และสรา งเสริมศักยภาพกําลังคนใหมีความพรอมรองรบั การ

พัฒนาประเทศ
4) วจิ ัยและพัฒนาเพือ่ สรา งองคความรู นวตั กรรม และสงิ่ ประดษิ ฐ
5) พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศึกษาใหมีประสทิ ธภิ าพตามหลกั ธรรมาภิบาล

3. เปา ประสงครวม
1) ผูเรยี นไดรับการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษาของชาตแิ ละสงเสรมิ ทักษะที่จาํ เปน ในศตวรรษท่ี 21
2) ประชาชนทุกชวงวัยและกลุมเปาหมายมีโอกาสเขาถึงบริการทาง

การศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพอยางท่ัวถึงเสมอภาค
3) กําลังคนไดรับการพัฒนาใหมีศักยภาพตอบสนองตอความตองการ

ของประเทศ
4) ผลงานวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี องคความรู และสิ่งประดิษฐ สามารถ

นําไปใชประโยชนห รือตอยอดเชิงพาณชิ ย
5) ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาลโดยการมีสวน

รวมจากทุกภาคสวน

25

2.3.4 คําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 19/2560 เรื่อง การ
ปฏิรูปการศึกษา ในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ (ราชกิจจานุเบกษา เลม 134 ตอนพิเศษ 96 ง
หนา 16 และหนา 134 วนั ที่ 3 เมษายน 2560)

ขอ 5 ใหมีสํานักงานศึกษาธิการภาค จํานวนสิบแปดภาค สังกัดสํานักงาน
ปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ตามบัญชีท่รี ัฐมนตรีวาการกระทรวงศกึ ษาธิการประกาศกําหนดเพื่อปฏิบัติ
ภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการในระดับพ้ืนที่ ทําหนาท่ีขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดยการ
อํานวยการ สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือและบูรณาการกับหนวยงานในสังกัด
กระทรวงศกึ ษาธิการและหนวยงานอืน่ หรือภาคสว นที่เก่ยี วของในพน้ื ทีน่ ้นั ๆ และใหมีอํานาจหนาทีด่ ังตอไปนี้

1) กําหนดยุทธศาสตรและบทบาทการพัฒนาภาคตางๆ ใหเชื่อมโยง
และสอดคลองกับทศิ ทางการพัฒนาประเทศ ทศิ ทางการดําเนินงานตามขอ 3 (1) นโยบายและยทุ ธศาสตรของ
กระทรวง ศึกษาธิการ และยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด รวมท้ังการพัฒนาดานอื่นๆ ในพื้นที่รับผิดชอบ
ตามศกั ยภาพและโอกาสของบุคคลและชมุ ชนในแตละพื้นที่

2) สนับสนุนการพัฒนาจังหวัดในพ้ืนที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงาน
ดา นวิชาการ การวิจยั และพฒั นา

3) กํากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของสํานักงาน
ศกึ ษาธิการจงั หวัดในพนื้ ท่ีรับผดิ ชอบ

4) สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดําเนินงาน
ตามนโยบายและยทุ ธศาสตรข องกระทรวงศกึ ษาธิการในพ้ืนท่รี ับผิดชอบ

5) ประสานการบริหารงานระหวางราชการสวนกลางและสวนภูมิภาค
ใหเกิดการพัฒนายางบูรณาการในระดับพ้ืนท่ีของหลายจังหวัด โดยยึดการมีสวนรวมและประโยชนและ
ประโยชนสขุ ของประชาชนเปน หลัก

6) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหนวยงานอื่นท่ี
เกย่ี วขอ งหรือท่ีไดรบั มอบหมาย”

2.3.5 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง จัดตั้งสํานักงานศึกษาธิการภาค
จํานวนหกภาค เปนหนวยงานภายในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และมีอํานาจหนาที่
(ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวนั ท่ี 22 มนี าคม 2562) ดงั น้ี

ขอ 1 ใหจัดต้ังสํานักงานศึกษาธิการภาค จํานวนหกภาค เปนหนวยงาน
ภายในสังกดั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ดังน้ี

1) สาํ นักงานศึกษาธกิ ารภาคกลาง ตั้งอยูที่จังหวัดปทุมธานี รับผิดชอบ
ดําเนินการในพื้นท่ีสํานักงานศึกษาธิการภาค 1 ภาค 2 ภาค 3 และภาค 4 โดยสํานักงานศึกษาธิการภาค 2
ปฏิบตั ิหนา ท่ีสาํ นกั งานศกึ ษาธิการภาคกลาง และศึกษาธกิ ารภาค 2 ทําหนาท่ีศึกษาธิการภาคกลาง อีกหนา ทห่ี นง่ึ

2) สํานักงานศึกษาธิการภาคใต ต้ังอยูท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช
รบั ผิดชอบดําเนินการในพื้นท่ีสํานกั งานศกึ ษาธิการภาค 5 และภาค 6 โดยสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ปฏิบัติ
หนา ท่สี าํ นกั งานศกึ ษาธกิ ารภาคใต และศกึ ษาธิการภาค 5 ทําหนาท่ศี ึกษาธกิ ารภาคใต อีกหนา ทีห่ น่ึง

3) สํานักงานศึกษาธิการภาคใตชายแดน ต้ังอยูท่ีจังหวัดยะลา
รับผิดชอบดําเนินการในพื้นที่สํานักงานศึกษาธิการภาค 7 โดยสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 ปฏิบัติหนาท่ี
สํานักงานศกึ ษาธิการภาคใตชายแดน และศึกษาธิการภาค 7 ทาํ หนาที่ศึกษาธกิ ารภาคใตชายแดน อกี หนา ท่ีหน่งึ

26

4) สํานักงานศึกษาธิการภาคตะวันออก ต้ังอยูที่จังหวัดชลบุรี
รับผิดชอบดําเนินการในพื้นท่ีสํานักงานศึกษาธิการภาค 8 และภาค 9 โดยสํานักงานศึกษาธิการภาค 8 ปฏิบัติ
หนา ทีส่ ํานกั งานศึกษาธกิ ารภาคตะวันออก และศึกษาธิการภาค 8 ทําหนา ท่ีศึกษาธกิ ารภาคตะวนั ออก อกี หนาที่หนง่ึ

5) สํานักงานศึกษาธิการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต้ังอยูท่ีจังหวัด
อุดรธานีรับผิดชอบดําเนินการ ในพ้ืนที่สํานักงานศึกษาธิการภาค 10 ภาค 11 ภาค 12 ภาค 13 และภาค
14 โดยสํานักงานศึกษาธิการภาค 10 ปฏิบัติหนาท่ีสํานักงานศึกษาธิการภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ
ศึกษาธิการภาค 10 ทาํ หนาทศ่ี กึ ษาธกิ ารภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ อกี หนา ท่หี น่งึ

6) สํานักงานศึกษาธิการภาคเหนือ ต้ังอยูที่จงั หวัดเชียงใหม รับผิดชอบ
ดําเนินการในพ้ืนท่ีสํานักงานศึกษาธิการภาค 15 ภาค 16 ภาค 17 และภาค 18 โดยสํานักงานศึกษาธิการ
ภาค 15 ปฏิบัติหนา ท่สี ํานักงานศึกษาธิการภาคเหนอื และศกึ ษาธกิ ารภาค 15 ทาํ หนาที่ศึกษาธิการภาคเหนือ
อีกหนา ที่หนึ่ง

ขอ 2 ใหสํานักงานศึกษาธิการภาค หกภาค ตามขอ 1 มีอํานาจหนาท่ี
ดงั ตอไปน้ี

1) กําหนดกรอบนโยบายและวางระบบในการบริหารงานภาค กลุมจังหวัด
และจังหวัดในระดับภาคแบบบูรณาการเพ่ือใหสามารถบริหารงาน แกไขปญหาและพัฒนาไดอยางมี
ประสิทธิภาพ

2) กําหนดยุทธศาสตรและบทบาทการพัฒนาภาคใหเช่ือมโยงและ
สอดคลองกบั นโยบายและยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ และยุทธศาสตรการพฒั นากลุมจังหวัดในระดบั ภาค

3) จัดทําแผนพัฒนาการศึกษาภาค และดําเนินการตามแผนพัฒนา
การศกึ ษาระดับภาคใหเกดิ ผลสัมฤทธ์ิ

4) กําหนดนโยบาย หลักเกณฑ และวิธีการในการจัดทําแผนพัฒนา
การศึกษากลุมจังหวัด แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการดานการศึกษาประจําปของกลุม
จังหวดั และจงั หวดั ในพืน้ ที่

5) บูรณาการแผนของสวนราชการและแผนพัฒนาการศึกษาในระดับ
ภาค เพ่ือใหการขับเคล่ือนแผนดานการศึกษาสอดคลองกับศักยภาพหรือประเด็นปญหาในระดับภาคและ
เช่ือมโยงสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และนโยบายรัฐบาล

6) ส่ังการ เรงรัด กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดําเนินงาน
ของหนวยงานทางการศึกษาและสถานศกึ ษาในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการในภาค ใหเ ปนไปตามยทุ ธศาสตรการ
พัฒนาภาค แผนพฒั นาการศึกษาระดับภาค นโยบายและยุทธศาสตรข องกระทรวงศึกษาธิการ

7) สนบั สนุนการตรวจราชการของผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
การตรวจราชการแบบบูรณาการของผตู รวจราชการ สาํ นักนายกรัฐมนตรี การตรวจราชการตามขอส่ังการของ
นายกรัฐมนตรี และขอ สง่ั การของรัฐมนตรีวา การกระทรวงศกึ ษาธิการ

8) กําหนดแนวทางการตรวจสอบ กํากับ ติดตามการบริหารงานบุคคล
ของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในระดับภาค

9) บรหิ ารงานบคุ คลของกระทรวงศึกษาธิการในภมู ิภาคและจงั หวดั
10) กําหนดทิศทางรวมท้ังสงเสริม สนับสนุน และดําเนินการพัฒนา
บคุ ลากรในระดบั ภาค

27

11) สงเสริม สนับสนุน และดําเนินการพัฒนาขาราชการครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษา รวมกับสถาบันพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา หรือสวนราชการหรือ
หนว ยงานทีเ่ ก่ยี วของมอบหมาย

12) กําหนดกรอบนโยบาย แนวทางการดําเนินการสงเสริม สนับสนุน
กิจการลูกเสอื ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี นระดับภาค ใหสอดคลอ งกับแนวทางการดําเนินการตามที่สํานักงาน
ลกู เสือแหง ชาติ หรือสาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการมอบหมาย

13) ประเมินผลและจัดทํารายงานการดําเนินการตามยุทธศาสตร
การพฒั นาภาค และแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค

14) ดําเนินงานตามอํานาจหนาที่ในฐานะผูประสานงานการจัด
การศกึ ษาระดับกลมุ จงั หวัด อีกหนาท่หี นึง่ ยกเวน สาํ นักงานศกึ ษาธิการภาคใตชายแดน (ศนู ยป ระสานงานและ
บริหารการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต (ศปบ.จชต.) เปน ผดู ําเนินงาน)

15) ปฏิบัติงานรว มกับหรือสนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหนวยงานอื่นท่ี
เกี่ยวของหรือที่ไดรบั มอบหมาย

2.3.6 แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 ของสํานักงาน
ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณท่ไี ดรบั จัดสรร)

1) วสิ ัยทศั น
การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการมีประสิทธิภาพ ผูเรียนไดรับ

การเรยี นรูตลอดชีวิตอยา งมคี ณุ ภาพและมีทักษะท่ีจาํ เปนในศตวรรษท่ี 21
2) พนั ธกิจ
1. สงเสริม สนับสนุน การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ทุกระดับ

ทุกพน้ื ทีอ่ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ สงผลตอ การพฒั นาคณุ ภาพของผูเรยี น
2. สงเสริม สนับสนุน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระบบ การศึกษา

นอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหส อดคลองกับทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษท่ี 21
3. สงเสริม สนับสนุนการสรางโอกาส และความเสมอภาคในการเขาถึง

การศกึ ษาอยางท่ัวถึง ตามศักยภาพของผูเรยี น เพื่อลดความเหล่อื มลํ้าทางการศกึ ษา
4. สงเสริม สนับสนุน การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนา

สมรรถนะของขาราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีสงผลตอการพัฒนาทักษะท่ีจําเปนของผูเรียนใน
ศตวรรษที่ 21

คา นยิ ม TEAMWINS

T = Teamwork การทาํ งานเปน ทีม
E = Equality of Work ความเสมอภาคในการทาํ งาน
A = Accountability ความรับผิดชอบ
M = Morality and Integrity การมศี ลี ธรรมและมีความซ่ือสตั ย
W = Willful ความมุง มนั่ ตง้ั ใจทาํ งานอยา งเต็มศกั ยภาพ
I = Improvement การพฒั นาตนเองอยางตอเน่อื งสมํ่าเสมอ
N = Network and Communication การเปนเครอื ขา ยที่มีปฏสิ ัมพนั ธท่ดี ตี อ กนั
S = Service Mind การมีจิตมงุ บริการ

28

เปาประสงครวม
1. สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีการบริหารและการจดั การศกึ ษาแบบ
บูรณาการตามหลักธรรมาภบิ าล
2. ผูเรียนมีการศึกษาและเรียนรตู ลอดชีวิตที่มีคุณภาพ และมีทักษะท่ีจําเปน

ในศตวรรษท่ี 21

3. ผูเรยี นไดร ับโอกาสเขาถึงการศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพอยางทั่วถงึ และเสมอภาค
4. ขาราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะการปฏิบัติงานและ

สมรรถนะวชิ าชพี ในศตวรรษท่ี 21
2.3.7 ผลการวเิ คราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอกของสํานักงาน

ศกึ ษาธิการภาค 5

สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ไดดําเนินการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและ
ภายนอกโดยมผี ลการวิเคราะหด งั น้ี

จดุ แขง็ (Strengths)
1. เปนผแู ทนกระทรวงศึกษาธิการในระดับกลุมจงั หวดั ทําหนาท่ีขบั เคลื่อน
นโยบาย ยทุ ธศาสตรพัฒนาและบูรณาการการจดั การศึกษาสูการปฏบิ ตั ิในพน้ื ที่
2. มีการบริหารจัดการภายในองคกรเปนระบบและมีการส่งั การ การมอบหมาย
อาํ นาจทช่ี ัดเจนจากสว นกลาง ลดข้ันตอนในการปฏิบตั งิ าน
3. มีที่ตั้งอาคารสํานักงานอยูในเขตอาํ เภอเมือง ซง่ึ ทาํ ใหส ะดวกในการประสาน
ราชการกบั หนวยงานตาง ๆ
4. มีทรัพยากรท่ใี ชในการปฏบิ ตั ิงานอยา งเพยี งพอ ประหยัด คุมคา
5. บุคลากรสว นใหญเปน คนในพ้ืนทท่ี าํ ใหเขา ใจบรบิ ทการทาํ งานในพ้ืนท่ี
6. บคุ ลากร สว นใหญสาํ เร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาโท สามารถนําความรู
ทกั ษะ ประสบการณไปใชในการปฏิบตั งิ านไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
7. มคี านยิ มรวม “ONE TEAM”
8. เปน หนวยงานทม่ี ีผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสในการ
ดาํ เนนิ งานอยูในระดบั สูงตามเกณฑ (ITA)
9. หนว ยงานมผี ลการประเมินคํารบั รองปฏิบตั ิราชการ (กพร.) อยูในระดบั ดี

จุดออ น (Weaknesses)
1. อาคาร สถานท่ี และสภาพแวดลอมภายในสํานักงานไมเ ออ้ื ตอการปฏบิ ัตงิ าน
2. บุคลากรสว นใหญไ มไดเขา รบั การอบรม/พัฒนาในหลักสตู รตา งๆ อยางท่วั ถงึ
3. บุคลากรขาดการพฒั นาทักษะดา นเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย

โอกาส (Opportunities)
1. มียุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561-2580) และนโยบายท่ีเอ้ือตอการบริหาร
จัดการศกึ ษา
2. มีชองทางในการขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการจัดทําแผนงาน/
โครงการ งานวิจัย ท่ีตอบสนองความตองการและเปนประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของพ้ืนที่จาก
หนวยงานอ่นื

29

ศึกษาในพื้นที่ 3. มีการบูรณาการและความรวมมือในการปฏิบัติงานกับหนวยงานทางการ
มากย่ิงขึ้น 4. เทคโนโลยีมีความกาวหนา ทันสมัย ชวยสนับ สนุน การทํางานมีประสิทธิภาพ

อุปสรรค (Threats)
1. สาํ นกั งานศกึ ษาธกิ ารภาคไมไ ดรบั การบัญญตั ิไวในกฎกระทรวง
2. งบประมาณทีไ่ ดร บั จัดสรรไมต อ เนื่องและไมเพยี งพอ
3. มีการจัดสรรงบประมาณในชวงปลายปงบประมาณทําใหมีระยะเวลา
ในการดาํ เนนิ การที่กระชนั้ ชดิ
4. จํานวนบคุ ลากรไมครบตามกรอบอัตรากาํ ลงั
5. ขาดความเปนเอกภาพในการบริหารจัดการขอมูลของกระทรวงศึกษาธิการ
และโอกาสในการเขาถึงขอ มลู
6. สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 สง ผลให
การดาํ เนนิ งานและการใชจ า ยงบประมาณมคี วามลาชา
7. ผูบริหารระดับสูงมีการเปลี่ยนแปลงบอยสงผลใหนโยบายในการทํางาน
ไมตอเน่ือง
8. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการไมสามารถเชือ่ มโยงกับ
เครอื ขา ยในพนื้ ทไ่ี ดครอบคลุมกลุมเปาหมาย

30

สวนที่ ๓
สาระสําคัญของแผนปฏบิ ัติราชการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564

ของสํานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 5
๓.๑ ภาพรวม

3.1.1 วสิ ัยทศั น
สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 เปนหนวยงานขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษา

ในภูมิภาคแบบบรู ณาการทส่ี อดคลองกบั การพฒั นาการศึกษาในกลุมจังหวัดภาคใตฝ ง อาวไทย

3.1.2 พันธกจิ
1. กําหนดยุทธศาสตร บทบาทการพัฒนาภาค และบูรณาการการศึกษา ในพ้ืนที่

รบั ผิดชอบ
2. สงเสริม สนับสนุน การยกระดับคุณภาพการศึกษา วิจัยและพัฒนานวัตกรรม

ทางการศกึ ษาในพนื้ ทร่ี บั ผิดชอบ
3. สงเสริม กํากับ ติดตาม การบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษาในพื้นทรี่ ับผดิ ชอบ
4. กํากับ ติดตาม และประเมินผลการดาํ เนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร

ของกระทรวงศกึ ษาธิการในพนื้ ท่ีรับผิดชอบ
5. สงเสรมิ สนบั สนนุ การดาํ เนนิ งานตามภารกิจขององคก รโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล

3.1.3 คา นยิ ม ONE TEAM
O = Organizing การกําหนดความสัมพันธระหวางบุคลากรและกิจกรรม

ตาง ๆ ขององคกรเพือ่ ใหเกดิ ประโยชนสูงสุด
N = Network and Communication การเปนเครอื ขา ยท่มี ปี ฏิสมั พนั ธที่ดีตอกัน
E = Efficiency การปฏิบัติงานท่ีตองใชทรัพยากรอยางประหยัดคุมคา และ

เกิดประสิทธิภาพสูงสดุ
T = Teamwork การทํางานเปน ทีม
E = Equality of Work ความเสมอภาคในการทํางาน
A = Accountability ความรบั ผดิ ชอบ
M = Morality and Integrity การมีศีลธรรมและมีความซ่ือสตั ย

3.1.4 ยทุ ธศาสตร
1. กําหนดยุทธศาสตรการจัดการศกึ ษาที่สามารถบูรณาการการบริหารจัดการ

การศึกษาในภาพรวมในระดับพนื้ ที่ไปสูการปฏบิ ัติ
2. สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

มฐี านขอมูลท่ีสามารถตอบสนองความ ตองการของบุคลากรและหนวยงานในพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบ
3. สงเสริมและสนับสนุนงานวิชาการ การวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษา

ในพื้นทรี่ ับผดิ ชอบ
4. สง เสรมิ สนับสนุน การพฒั นาการศกึ ษากับหนวยงานและสถานศกึ ษาท้งั ใน

และนอกสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

31

5. สนับสนุนและติดตามการบรหิ ารงานบุคคลใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ
ที่กฎหมายกาํ หนด

6. สนับสนุนการดําเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณและ
การรองทุกขในพืน้ ที่รบั ผิดชอบใหเปน ไปโดยชอบตามกฎ ระเบียบ และหลกั เกณฑ วิธีการ

7. กํากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการ
จงั หวัด

8. สนับสนุนการตรวจติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและ
ยทุ ธศาสตรการศึกษาในพ้นื ที่รับผิดชอบ

9. บรหิ ารจดั การองคกรโดยยึดหลักธรรมาภบิ าล

3.1.5 กลยทุ ธภ ายใตย ทุ ธศาสตร
ยุทธศาสตรท่ี 1 กําหนดยุทธศาสตรการจัดการศึกษาท่ีสามารถบูรณาการ

การบรหิ ารจัดการการศกึ ษาในภาพรวมในระดบั พื้นทีไ่ ปสกู ารปฏิบัติ
1) จัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาการศึกษาระดับภาคใตและกลุมจังหวัด

ภาคใตฝ ง อาวไทย
2) บูรณาการการจัดการศึกษาที่สอดคลองกับบริบทและความตองการ

ของพน้ื ท่ี
3) ตดิ ตามและประเมนิ ผลแผนพฒั นาการศกึ ษาของสํานักงานศกึ ษาธิการ

จงั หวดั ในพ้ืนที่รับผดิ ชอบ
ยุทธศาสตรท่ี 2 สงเสรมิ สนบั สนุน และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร มีฐานขอมูลท่ีสามารถตอบสนองความ ตอ งการของบุคลากรและหนวยงานในพ้ืนที่
รบั ผดิ ชอบ

1) จัดทําขอมูล สารสนเทศและดัชนีทางการศึกษาระดับภาคและกลุม
จงั หวดั ภาคใตฝง อา วไทย

2) สรางความรวมมือและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล
ใหส ามารถใชป ระโยชนรว มกันในการบริหารและจัดการศกึ ษาในพนื้ ทร่ี ับผิดชอบ

ยุทธศาสตรท ี่ 3 สงเสรมิ และสนับสนุนงานวิชาการ การวจิ ัยและพัฒนาการ
จดั การศึกษาในพื้นท่ีรบั ผิดชอบ

1) สรางความรวมมือการพัฒนางานวิชาการและงานวิจัยรวมกับหนวยงาน
การศึกษาในพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบ

2) วิจยั และพัฒนาการจดั การศึกษาในพนื้ ที่รับผิดชอบ
ยุทธศาสตรที่ 4 สงเสริม สนับสนุน การพัฒนาการศึกษากับหนวยงานและ
สถานศกึ ษาทง้ั ในและนอกสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

1) จัดกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาและสงเสริมการนอมนําพระบรม
ราโชบายดา นการศกึ ษาสูการปฏิบัติในพื้นที่รบั ผดิ ชอบ

2) จัดกิจกรรมสงเสริมผลการปฏิบัติงานที่เปนเลิศของสถานศึกษาและ
หนว ยงานทางการศกึ ษาในพนื้ ท่ีรับผิดชอบ

3) จดั กจิ กรรมสง เสรมิ การเรยี นรตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

32

ยุทธศาสตรที่ 5 สนับสนุนและติดตามการบริหารงานบุคคลใหเปนไปตาม
หลักเกณฑ วธิ กี ารที่กฎหมายกาํ หนด

1) ติดตามและประเมินผลเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลของขาราชการ
ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาในพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบ

2) ประสานงานและสนับสนุนเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของ
ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาของ กศจ. ในพืน้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ

ยุทธศาสตรที่ 6 สนับสนุนการดําเนินการทางวินัย การออกจากราชการ
การอทุ ธรณและการรองทุกขในระดบั พ้นื ที่ใหเปนไปโดยชอบตามกฎ ระเบยี บ และหลกั เกณฑ วิธีการ

1) จัดกิจกรรมสงเสรมิ สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดําเนินการทางวินัย
การออกจากราชการ การอทุ ธรณและการรองทุกข

2) เผยแพรความรูเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ วิธีการ การดําเนินการ
ทางวนิ ัยของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

ยุทธศาสตรที่ 7 กํากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของ
สาํ นกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั

1) กํากับ ติดตามการบริหารจัดการศึกษาของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด
ในพื้นที่รบั ผดิ ชอบ

2) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ
ของสาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวัด ในพ้ืนท่รี บั ผิดชอบ

ยุทธศาสตรที่ 8 สนับสนุนการตรวจติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตาม
นโยบายและยทุ ธศาสตรการศึกษาในพ้ืนที่รบั ผิดชอบ

1) จัดทาํ แผนปฏิบตั ิการตรวจราชการประจําปงบประมาณ
2) ตรวจราชการและจัดทํารายงานผลการตรวจราชการกรณีปกติ
แบบบูรณาการ และแบบกรณพี ิเศษ
3) ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร
กระทรวงศกึ ษาธิการ
ยทุ ธศาสตรท่ี 9 บรหิ ารจดั การองคกรโดยยึดหลักธรรมาภบิ าล
1) จดั ทาํ และรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตริ าชการประจําป
2) ดําเนินการใชจายงบประมาณใหเปนไปตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ
การใชจายงบประมาณของสํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
3) บรหิ ารจัดการองคก รใหมีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ล

3.2 แผนปฏิบตั ิราชการ

3.2.1 เปาประสงค
1. หนวยงานมีแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาระดับภาคใตและกลุม

จงั หวดั ท่ีสอดคลอ งกับบริบทของพ้ืนท่ี
2. ผูรับบริการมีและใชฐานขอมูล ดัชนีทางการศึกษา นวัตกรรม เทคโนโลยี

ดิจิทัลและระบบสารสนเทศและการส่อื สารใหเ ปนกลไกในการสงเสริม สนับสนุน เครือขา ยทางการศึกษาในพ้ืนที่
รับผดิ ชอบ

33

3. ศกึ ษา วิเคราะห วจิ ัย การพัฒนางานวิชาการในการจดั การศกึ ษาในพืน้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ
4. สง เสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการศึกษา และการดําเนินงาน
กจิ กรรมทางการศกึ ษาในพื้นท่ีรบั ผิดชอบ
5. กํากับ ดูแล เรงรัด ติดตามและประเมินผล การปฏิบัติงานเกี่ยวกับ
การบรหิ ารงานบุคคล
6. พัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีศักยภาพ ในการ
ปฏิบัติงานดา นบริหารงานบุคคล
7. กํากับ ดูแล เรงรัดและติดตาม การดําเนินการทางวินัย การออก
จากราชการการอทุ ธรณและการรองทกุ ข ใหเปน ไปโดยสุจริต โปรง ใส ยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได
8. มีการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาการศึกษาของสํานักงาน
ศึกษาธิการจังหวดั ในพ้นื ท่ีรับผิดชอบ
9. พัฒนาการตรวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผลการดําเนนิ งานตามนโยบาย
และยุทธศาสตรก ระทรวงศึกษาธิการ
10. สงเสริมและติดตามประเมินผล การบริหารจัดการศึกษาของสํานักงาน
ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั
11. หนวยงานมีมาตรการในการพฒั นาองคกรใหมีประสิทธิภาพสูง

3.2.2 ตัวชว้ี ัด
1. ระดับความสําเร็จในการขับเคล่ือนแผนงาน/โครงการที่สงผลตอระดับ

คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O- NET)
2. ระดับความสําเร็จในการสงเสริมผูเรียนใหมีคุณลักษณะและทักษะการ

เรียนรู ในศตวรรษท่ี 21
3. รอยละของเด็กปฐมวยั ท่ีไดรบั การศกึ ษาระดับปฐมวัย
4. ระดับความสําเร็จของการเปดเผยขอมูลสาธารณะ (Open Data Integrity

and Transparency : OIT) ตามคูมือการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงาน
ภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA)

5. ความสําเรจ็ ระบบการนําองคการทีส่ รา งความยัง่ ยืน
6. ความสําเร็จในการปอ งกันการทุจรติ และสรางความโปรง ใส
7. ความสําเรจ็ ในกระบวนการวางแผนกลยุทธอยา งเปน ระบบ
8. ความสาํ เร็จในการขบั เคลื่อนและแผนปฏบิ ตั ิการของหนวยงาน
9. ความสําเร็จในการประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของกลุม
ผูรบั บรกิ ารและผมู สี ว นไดสวนเสยี
10. ความสาํ เร็จในการแกไขขอรองเรยี นที่รวดเร็วและสรางสรรคเพ่ือตอบสนองได
ทันความตองการ
11. ความสาํ เรจ็ ในการสรางบรรยากาศและสภาพแวดลอมในการทาํ งาน
12. ความสาํ เรจ็ ในการพฒั นาบคุ ลากร

34

รายการงบประมาณทไี่ ดรับจัดสรร

สาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5 ไดรับการจัดสรรงบประมาณ 13,494,480 บาท
(สิบสามลานส่ีแสนเกาหม่ืนสี่พันส่ีรอยแปดสิบบาทถวน) ดังนี้

1. งบดําเนนิ งาน จํานวน 1,445,880 บาท
1.1 คาตอบแทนใชส อยและวัสดุ จํานวน 791,550 บาท
1.2 คา สาธารณูปโภค จํานวน 366,000 บาท
1.3 คาอนิ เตอรเน็ต จํานวน 154,080 บาท

1.4 โครงการกลุมอาํ นวยการ จาํ นวน 24,870 บาท
1.5 โครงการกลุมตรวจราชการและติดตามประเมินผล จํานวน 109,380 บาท

2. งบลงทุน จํานวน 10,601,800 บาท
2.1 ครุภัณฑง านบา นงานครวั
1) เคร่ืองตดั หญา แบบขอออ น จาํ นวน 10,900 บาท
2.2 ครุภณั ฑโ ฆษณาและเผยแพร
1) กลองถายภาพน่ิงระบบดิจิตอล จาํ นวน 25,900 บาท
2) โทรทัศนระบบสัมผัส ขนาด 65 น้ิว จาํ นวน 165,000 บาท
พรอ มกลองวิดีโอคอนเฟอเรนซ
2.3 คาท่ดี ินและส่ิงกอสราง จาํ นวน 10,400,000 บาท
1) ปรับปรุงอาคารสาํ นกั งานศึกษาธกิ ารภาค

3. งบรายจายอืน่ จํานวน 1,446,800 บาท
3.1 คา ใชจ ายโครงการสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งานสวน จาํ นวน 10,000 บาท
พฤกษศาสตรโรงเรียนในโครงการอนุรักษ
พันธุกรรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดําริ จํานวน 250,000 บาท
สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี จํานวน 15,000 บาท
ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการ ปง บประมาณ
พ.ศ.2564 จาํ นวน 50,000 บาท
3.2 คา ใชจายโครงการสรางและสงเสริมความเปน จาํ นวน 68,000 บาท
พลเมืองดตี ามรอยพระยคุ ลบาท
3.3 คาใชจ ายโครงการ Innovation For Thai
Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษา เพือ่ พฒั นา
การศึกษา ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สํานักงาน
ศกึ ษาธิการภาค 5
3.4 คา ใชจายโครงการสงเสรมิ สนับสนนุ แนวทางการ
พัฒนาการดําเนินการวนิ ยั การอทุ ธรณแ ละรองทกุ ข
3.5 คาใชจายโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ
ศธภ.5

3.6 คาใชจายโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพื่อ จาํ นวน 35
จัดทํารูปแบบและการพัฒ นาหลักสูตรตอเน่ือง 15,200 บาท
เช่ือมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและ
อดุ มศึกษา 350,000 บาท
480,000 บาท
3.7 คาใชจ ายโครงการขบั เคล่อื นยุทธศาสตรก ารพฒั นา จาํ นวน 13,600 บาท
การศกึ ษาสูการปฏบิ ัติระดบั ภาค
195,000 บาท
3.8 คา ใชจายโครงการขบั เคลื่อนการบริหารจดั การ จาํ นวน
ศึกษาในระดบั ภาคและกลุม จังหวดั

3.9 คา ใชจ ายโครงการขับเคล่ือนการพฒั นาการจดั จาํ นวน
การศึกษาปฐมวยั ในระดับพ้ืนทรี่ บั ผดิ ชอบ ประจําป
งบประมาณ พ.ศ. 2564

3.10 โครงการประเมินศนู ยการเรยี นรตู ามหลักปรัชญา จํานวน
ของเศรษฐกิจพอเพยี งดานการศกึ ษา ปการศึกษา
2563

36

สรุปโครงการ/กจิ กรรม ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 5

การจัดทําแผนงาน/โครงการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไดบูรณาการงบประมาณที่ไดรับจัดสรรจาก
สํานักงานปลัดกระท รวงศึกษาธิการ ในการดําเนินโครงการรวม 14 โครงการ จํานวน 2,892,680 บาท
(งบดาํ เนินงาน จํานวน 4 โครงการ จํานวนเงนิ 1,445,880 บาท งบรายจายอ่ืน จํานวน 10 โครงการ จํานวนเงิน
1,446,800 บาท) รายละเอยี ดดังนี้

ลําดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ หมายเหตุ
ที่

1 โครงการสนบั สนนุ การบริหารงานของสํานกั งานศกึ ษาธิการภาค 5 1,311,630 งบดาํ เนินงาน
(กลุมอาํ นวยการ)

2 โครงการดาํ เนินงานตามตัวชวี้ ัดตามคาํ รบั รองการปฏบิ ัตริ าชการของ 24,870 งบดําเนนิ งาน
(กลมุ อาํ นวยการ)
สํานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 5

3 โครงการการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติ 25,580 งบดําเนนิ งาน

ราชการของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ประจําปงบประมาณ (กลมุ ตรวจราชการฯ)

พ.ศ. 2563

4 โครงการตรวจติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและ 83,800 งบดาํ เนินงาน

ยทุ ธศาสตรในพ้ืนที่รบั ผดิ ชอบ ของสาํ นักงานศกึ ษาธิการภาค 5 (กลมุ ตรวจราชการฯ)

5 โครงการสนับสนุนการดําเนินงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนใน 10,000 งบรายจา ยอ่ืน

โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดําริสมเด็จ (กลมุ พฒั นาการศึกษา)

พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในสวนของ

กระทรวงศกึ ษาธิการ ปง บประมาณ พ.ศ.2564

6 โครงการสรางและสง เสริมความเปนพลเมอื งดีตามรอยพระยุคลบาท 250,000 งบรายจายอื่น

ดา นการศึกษาสูการปฏิบัติ สํานกั งานศึกษาธิการภาค 5 (กลมุ พฒั นาการศึกษา)

7 โครงการ Innovation For Thai Education ( IFTE ) นวตั กรรม 15,000 งบรายจายอน่ื

การศกึ ษาเพื่อพฒั นาการศึกษา ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 สํานกั งาน (กลุมพฒั นาการศึกษา)

ศึกษาธิการภาค 5

8 โครงการสงเสริม สนับสนุนแนวทางการพัฒนาการดําเนินการทางวนิ ัย 50,000 งบรายจายอื่น
(กลมุ บรหิ ารงานบคุ คล)
การอุทธรณ และการรองทุกขของขาราชการครูและบุคลากรทางการ

ศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2564

9 โครงการพัฒนาบุคลากรของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ประจําป 68,000 งบรายจา ยอื่น
(กลมุ อาํ นวยการ)
งบประมาณ พ.ศ.2564

10 โครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือจัดทํารูปแบบและการพัฒนา 15,200 งบรายจายอื่น

หลักสูตรตอเนื่องเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและ (กลมุ ยุทธศาสตรฯ )

อุดมศกึ ษา

11 โครงการการขับเคล่ือนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาสูการปฏิบัติ 350,000 งบรายจายอืน่

ระดบั ภาค (ภาคใต) (กลมุ ยุทธศาสตรฯ )

37

ลําดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ หมายเหตุ
ที่

12 โครงการขบั เคล่อื นการบรหิ ารจัดการศกึ ษาในระดบั ภาคและกลมุ จงั หวัด 480,000 งบรายจา ยอืน่

(กลมุ ยุทธศาสตรฯ)

13 โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่ 13,600 งบรายจายอน่ื

รบั ผดิ ชอบ ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 (กลมุ ตรวจราชการฯ)

14 โครงการประเมินศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 195,000 งบรายจา ยอ่นื

พอเพยี งดา นการศกึ ษา ปการศกึ ษา 2563 (กลุมพัฒนาการศึกษา)

38

สวนที่ 4
รายละเอียดโครงการ

รายละเอยี ดโครงการที่ 1

โครงการสนับสนนุ การบริหารงานของสํานกั งานศึกษาธิการภาค 5

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ : ยุทธศาสตรท่ี 6 ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ภาครฐั

ความสอดคลองกับแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ : ประเดน็ ท่ี 20 การบริการประชาชนและ
ประสทิ ธิภาพภาครัฐ

สอดคลอ งกบั แผนยอยของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติฯ : 3.4 การพฒั นาระบบบริหารงานภาครัฐ
สอดคลอ งตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอย : กาํ หนดนโยบายและบริหารจดั การท่ตี ้ังอยูบนขอ มูลและ

หลักฐานเชิงประจักษ
สอดคลองกับแผนปฏริ ปู ประเทศ : ดานการศึกษา
สอดคลองกบั ยุทธศาสตรก ระทรวงศึกษาธกิ าร : ยุทธศาสตรท ่ี 6 ดา นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบบริหาร

จัดการภาครัฐ
สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตรแผนปฏบิ ัติราชการฯ ศธ. ป 2564 : เร่อื งที่ 5 การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบ

บริหารจดั การศึกษา
สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตร สป. : ขอ 5 พฒั นาระบบบริหารจดั การใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ

1. หลักการและเหตุผล
สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 เปนหนวยงานทม่ี ีบทบาทหนาที่เก่ียวกับการขับเคล่ือนเชื่อมโยงนโยบาย

และยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการไปสูการปฏิบัติ จัดทําประสานแผนและบูรณาการแผน
ยุทธศาสตรกลุมจังหวัด ใหเกิดการเสริมพลังและการใชทรพั ยากรรว มกัน ศึกษา วิเคราะห วิจัยและประเมนิ ผล
เพ่ือจัดทําขอเสนอแนะในการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการ และเปนผูแทน
กระทรวงศึกษาธิการในระดับกลุมจังหวัดและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอ่ืน ที่เก่ียวของตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ กลุมอํานวยการจึงมีภารกิจที่สําคญั คือ การขับเคล่ือนและการนําองคก รใหเกิด
ประโยชนใ นการปฏิบัติงานรวมท้ังการสนับสนุนดานงบประมาณ วสั ดุ ครุภัณฑ ปจ จัยตาง ๆ ในการปฏิบัติงาน
โดยเฉพาะการสรางภาพลักษณองคกร การบรหิ ารจัดการตามแนวทางการบริหารงานภาครัฐแนวใหม (PMQA)
จึงไดจัดทําโครงการสนบั สนนุ การบริหารงานของสํานกั งานศกึ ษาธิการภาค 5 ขน้ึ

2. วัตถุประสงค
2.1 เพื่อควบคุมการใชจา ยเงนิ งบประมาณใหม ปี ระสิทธิภาพและเกิดประโยชนสงู สุดแกทางราชการ
2.2 เพ่ือพัฒนาอาคารสถานท่ีและบริเวณสํานักงานใหเ กิดความรมรื่น สะอาด สวยงาม เปนระเบียบและมี

บรรยากาศท่ีเอ้ือตอการปฏบิ ัติงาน
2.3 เพ่ือจดั หาวสั ดุอปุ กรณ เคร่ืองมือ เคร่อื งใชท ่ีทันสมัยเพ่อื สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงาน

39

2.4 เพื่อสนับสนุนการบริหารงานและการปฏิบัติงานทางวิชาการของสํานักงานใหเปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพ

3. กลุมเปาหมาย
บุคลากรสํานักงานศึกษาธิการภาค 5
เชงิ ปริมาณ : สํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5 จํานวน 1 แหง
เชิงคุณภาพ : ระบบการเงนิ การบญั ชี พสั ดุ และแผนงานของสํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 ถูกตอง

ตามระเบียบเปนปจจุบนั และสามารถตรวจสอบได

4. วิธีดําเนนิ การ/ขั้นตอนดําเนินการ
4.1 จัดทําโครงการเสนอผูบริหาร
4.2 ดาํ เนินงานตามโครงการ
4.3 รายงานผลการดาํ เนินการเบิกจายเงินงบประมาณเปนรายไตรมาส

5. ระยะเวลาดําเนนิ การ
ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ระหวางเดอื น ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

6. งบประมาณ
ไดรับจัดสรรจากสาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จาํ นวน 1,311,630 บาท

(หน่ึงลานสามแสนหน่ึงหมื่นหนง่ึ พนั หกรอยสามสิบบาทถวน) ประกอบดวย 1) คาตอบแทนใชส อยวัสดุ จํานวน
791,550 บาท รายละเอียด ดังน้ี คาใชจายไปราชการ คาวัสดุคอมพิวเตอร คาวัสดุงานบานงานครัว คาวัสดุ
เช้ือเพลิง คาวัสดุอ่ืน ๆ คาประชาสัมพันธ คาจัดประชุม คาซอมแซมตาง ๆ คาจางเหมาบรกิ าร คาเชาเครื่อง
ถายเอกสาร และคานํ้าด่ืม 2) คาสาธารณูปโภค จํานวนเงิน 520,080 บาท รายละเอียด ดังนี้ คาไฟฟา
คา ประปา คา โทรศพั ท คาไปรษณยี  และคา อินเตอรเน็ต

7. การวิเคราะหความเส่ยี ง
7.1 ความเสีย่ ง : การบริหารงบประมาณไมเปนไปตามแผน/งบประมาณไมเพียงพอ อนั เนอื่ งมาจาก
สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ -19)
7.2 การบริหารความเส่ยี ง : การบริหารจัดการใหเกิดประสทิ ธิภาพสูงสดุ และมีมาตรการปองกนั โรค
ติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19)

8. ผูรบั ผดิ ชอบโครงการ
กลมุ อํานวยการ

9. ตวั ชีว้ ัดและการประเมินผล

ตัวช้ีวัด เปาหมาย

เชิงปรมิ าณ ไมน อยกวา
รอยละของการเบกิ จายเงนิ งบประมาณ / เบิกจายเงินงบประมาณ รอยละ 90

เชิงคุณภาพ ไมนอยกวา
จํานวนครัง้ ของการจดั หาวสั ดุครภุ ัณฑ 5 คร้ัง

40

10. ผลที่คาดวา จะไดร บั
10.1 การบริหารงบประมาณดําเนนิ งานเปน ไปอยา งถูกตองตามระเบียบของทางราชการ
10.2 การดําเนินการจัดซื้อจัดจา งเปนไปตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ

พ.ศ. 2560
10.3 การเบิกจายเงนิ เปนไปอยา งรวดเร็วและถูกตอง
10.4 บุคลากรในสํานักงานไดร ับการบริการและสนับสนุนการปฏบิ ัติงานไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ

41

รายละเอียดโครงการที่ 2

โครงการดําเนินงานตามตัวชี้วัดตามคาํ รับรองการปฏิบตั ิราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564
ของสํานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 5
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความสอดคลองกับยุทธศาสตรช าติ : ยทุ ธศาสตรท่ี 6 ดา นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบบริหารจดั การ

ภาครัฐ
ความสอดคลองกับแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ : ประเด็นท่ี 20 การบริหารประชาชนและ

ประสิทธภิ าพภาครัฐ
สอดคลอ งกับแผนยอยของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติฯ : การพัฒนาระบบบรหิ ารงานภาครฐั
สอดคลองตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอ ย : กําหนดนโยบายและบริหารจดั การที่ตั้งอยูบ นขอมูลและ

หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ
สอดคลอ งกับแผนปฏิรูปประเทศ : ดานการศกึ ษา
สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตรก ระทรวงศกึ ษาธกิ าร : ยุทธศาสตรท ี่ 6 ดา นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบ

บริหารจัดการภาครัฐ
สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตรแผนปฏิบตั ิราชการฯ ศธ. ป 2564 : เร่ืองท่ี 5 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบ

บริหารจัดการศกึ ษา

สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตร สป. : เร่ืองท่ี 5 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการใหมปี ระสิทธิภาพ

1. หลักการและเหตผุ ล
ตามท่ีสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการกําหนดใหสํานักในสังกัดจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการ

ประจาํ ป ซึ่งเปนการแสดงถึงความมุงมั่นของผบู ริหารหนว ยงานในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลงานท่ีดี รวมถึงมี
การติดตามและประเมนิ ผลการดาํ เนินงานตามตัวชี้วัดและคาเปาหมาย เพือ่ ใหผ ลการดําเนินงานบรรลุเปาหมาย
ตามประเด็นยุทธศาสตรขององคกร ซ่ึงหนว ยงานในสังกัดสํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ไดเร่ิมจัดทําคาํ รับรอง
ฯ ระหวางผูบริหารของหนวยงานกับปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการมาต้ังแตปงบประมาณ พ.ศ. 2560 จนถึงปจจบุ ัน
ดังน้ันเพ่ือใหการดําเนินงานการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ประจําป
งบประมาณ พ.ศ. 2564 เปนไปตามวัตถุประสงค สามารถดําเนินการไดบ รรลุผลสําเร็จตามกรอบการประเมนิ ผลท่ี
สํานักงาน ก.พ.ร.กําหนด และเพ่ือเปนการสรางความรูค วามเขาใจใหกับขาราชการในสงั กัดเก่ียวกับการดําเนนิ การ
ในแตละตัวช้ีวัดใหเปนไปตามหลักเกณฑ หรือเงื่อนไขที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด จึงจัดทําโครงการ
ดําเนินงานตามตวั ชี้วัดตามคํารับรองการปฏบิ ัติราชการของสํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 ขึ้น

2. วตั ถุประสงค
2.1 เพื่อใหดําเนินการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2564 บรรลผุ ลสาํ เร็จตามเปา หมายอยางมีประสทิ ธิภาพ
2.2 เพ่ือใหบุคลากรของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 มีความรูความเขาใจในแนวทางหรือกรอบการ

ประเมินผลการปฏิบัติราชการตามทสี่ ํานกั งาน ก.พ.ร. กําหนด และสามารถนําความรูท ี่ไดรับไปใชในการปฏิบัติ
ราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์

2.3 เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาระบบราชการอยางมีประสิทธิภาพ โดยการมีสวนรวมของ
บุคลากรทกุ คน

42

3. เปาหมาย

เชิงปริมาณ : รวมการประชุม/จัดการประชุม เพื่อสนับสนนุ การจัดทําคํารบั รองการปฏิบัติราชการ ประจําป
งบประมาณ พ.ศ.2564 ของสาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5 จาํ นวนไมนอยกวา 3 คร้ัง

เชิงคุณภาพ : สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 มีผลการประเมินตามคํารับรองการปฏิบัติราชการในระดับ
ดีมาก

4. วิธีดําเนินการ /ขนั้ ตอนการดาํ เนินงาน
4.1 รวมประชุมรับฟงชี้แจงแนวทางการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2564 โดยสํานัก กพร.สป. ดาํ เนนิ การ
4.2 ประชุมช้ีแจงบุคลากร สาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5 เพ่ือกําหนดและจัดทาํ คํารบั รองการ

ปฏบิ ัติราชการ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564
4.3 แตง ตง้ั คณะทํางานตัวชี้วัดตามคาํ รบั รองการปฏบิ ัตริ าชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
4.4 ประชุมเตรียมความพรอมเพื่อรับการประเมินตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5

5. ระยะเวลาดําเนนิ การ : ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระหวา งเดอื น ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

6. งบประมาณ

งบประมาณจากงบดําเนินงานของสํานกั งานศึกษาธิการภาค 5 จํานวน 24,870 บาท รายละเอียด

ดังน้ี

6.1 กิจกรรมรวมประชุมรับฟงชี้แจงแนวทางการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยสํานัก กพร.สป. ดาํ เนินการ เปน เงนิ 9,720 บาท

-คา เบ้ยี เลย้ี ง วันละ 240 บาท จํานวน 2 คน ๆ ละ 4 วนั เปน เงิน 1,920 บาท

-คาพาหนะเดินทางเพอ่ื เขารว มประชมุ เปน เงนิ 6,200 บาท

-คาทพี่ ัก คนละ 800 บาท จํานวน 2 หอง เปน เงนิ 1,600 บาท

6.2 คา ประชุมชี้แจงบุคลากร สาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5 เพ่ือกาํ หนดและจัดทาํ คาํ รับรองการ

ปฏบิ ัติราชการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5 เปน เงิน 6,250 บาท

-คา อาหารกลางวนั 1 มื้อ ๆ ละ 120 บาท/คน จาํ นวน 25 คน เปนเงนิ 3,000 บาท

-คา อาหารวา งและเครอื่ งด่มื 2 ม้ือๆ ละ 50 บาท จาํ นวน 25 คน เปนเงนิ 2,500 บาท

-คาเอกสารประกอบการประชมุ จาํ นวน 25 ชดุ ๆ ละ 30 บาท เปน เงิน 750 บาท

6.3 คาเตรียมความพรอมเพ่ือรับการประเมินตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2564 ของสาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 5 เปนเงนิ 7,400 บาท

-คาอาหารกลางวนั 1 ม้ือๆ ละ 120 บาท/คน จํานวน 25 คน เปนเงิน 3,000 บาท

-คา อาหารวางและเครื่องด่ืม 2 ม้ือๆ ละ 50 บาท จาํ นวน 25 คน เปน เงนิ 2,500 บาท

-คา เอกสารประกอบการประชุมจํานวน 30 ชดุ ๆ ละ 30 บาท เปน เงิน 900 บาท

-คาถา ยเอกสารและเขาเลม คมู อื ตัวช้ีวดั ตามคํารบั รองการปฏบิ ัติราชการ ประจาํ ปงบประมาณ

พ.ศ. 2564 จํานวน 10 เลม เปน เงิน 2,500 บาท

หมายเหตุ ขอถัวจา ยทกุ รายการ

43

7. การวิเคราะหความเส่ียงของโครงการ
ความเสยี่ ง : การดาํ เนินงานอาจไมเปน ไปตามแผนอันเนื่องมาจากสถานการณก ารแพรระบาดของโรค

ตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19)
การบรหิ ารความเสย่ี ง : การบรหิ ารจดั การใหเกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สดุ และมีมาตรการปอ งกันโรคตดิ เชื้อ

ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19)

8. ผูรบั ผดิ ชอบโครงการ
กลมุ อาํ นวยการ

9. ตัวช้ีวดั ความสําเร็จ และคา เปาหมาย
9.1 รวมประชมุ รับฟงช้แี จงแนวทางการจดั ทําคํารับรองการปฏิบัตริ าชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564

จํานวน 1 ครัง้
9.2 ประชุมเตรียมความพรอมเพื่อรับการประเมินตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2564 ของสํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5 จํานวน 1 คร้ัง

10. ผลท่ีคาดวาจะไดร บั
สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ดําเนินงานภายใตวิสัยทัศนของหนวยงานและปฏิบัติงานตามภาระหนาท่ี

ไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

44

รายละเอยี ดโครงการท่ี 3

โครงการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการของสาํ นักงานศึกษาธิการจังหวดั
ในพื้นท่รี ับผิดชอบของสํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2563

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สอดคลองกบั ยุทธศาสตรชาติ : ดา นยุทธศาสตรท่ี 6 ดานการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบบรหิ าร
การจัดการภาครัฐ

สอดคลองกบั แผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติฯ : 20 การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั
สอดคลอ งกบั แผนยอยของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติฯ : 3.2 แผนยอยการบริหารจดั การการเงนิ

การคลัง
สอดคลองตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอ ย : 5 กาํ หนดใหมีการติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ิการ

ดําเนนิ งานตามยุทธศาสตรช าตแิ ละแผนสัมฤทธิ์ของแผนงาน/โครงการ
สอดคลอ งกบั แผนปฏิรปู ประเทศ : ดานการศกึ ษา
สอดคลอ งกับยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธกิ าร : ยุทธศาสตรที่ 5 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหาร

จัดการศกึ ษา
สอดคลอ งยทุ ธศาสตรแผนปฏบิ ัติราชการฯ ศธ.ป 2564 : ยุทธศาสตรท ่ี 5 การพฒั นาประสิทธิภาพของ

ระบบบริหารจัดการศึกษา
สอดคลอ งยทุ ธศาสตร สป. : ยทุ ธศาสตรที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจดั การใหมปี ระสิทธิภาพ

1. หลักการและเหตผุ ล
ตามที่สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดดําเนินการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการระดับ

สํานัก มาตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2550 เพ่ือเปนกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการท่ีสะทอนผลการ
ดําเนินงานของสํานักในสังกัดไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความสอดคลองและขับเคล่ือนภารกิจของ
กระทรวงศึกษาธิการและสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการใหบรรลุผลสําเร็จ และสืบเน่ืองจากคําสั่งหัวหนา
คณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 ลงวันที่ 3 เมษายน พุทธศักราช 2560 เรื่อง การปฏิรูป
การศึกษา ในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีวัตถุประสงคเพื่อแกไขปญหาในการจัดการศึกษาของ
ประเทศในสวนภูมิภาคทั้งในดานโครงสรางขององคการ ดา นระบบบริหารจัดการ และดานบุคลากรทีเ่ กี่ยวของ
โดยกําหนดใหมีสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือปฏิบัติภารกิจของ
กระทรวงศึกษาธิการเก่ียวกับการบริหารและการจัดการศึกษาตามท่ีกฎหมายกําหนด สํานักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ จึงไดดําเนินการจัดทําตัวช้ีวัดเพ่ือประเมินผลการปฏิบัติราชการของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด
และใชเปนกรอบในการประเมินผลการปฏิบัติราชการที่สามารถสะทอนผลการ ดําเนินงานไดอยางมี
ประสิทธิภาพ มีความสอดคลองและสนับสนุนการขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการและสํานักงาน
ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ใหบรรลุเปาหมายอยางเปนรูปธรรม และในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ศึกษาธิการ
จังหวัดไดลงนามในคํารับรองการปฏิบัตริ าชการกับปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือเปนการแสดงถึงความมุงม่ัน
ในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลงานที่ดี โดยกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติ
ราชการของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 ประกอบดวย ๓ ประเด็น
การประเมนิ คือ การประเมินประสิทธผิ ล การประเมินประสิทธภิ าพ และการพัฒนาองคกร ท้ังน้ี เพ่ือใหทราบ

45

ถึงผลสัมฤทธิ์ ปญหา อุปสรรค ในการปฏิบัติราชการของสํานักงานศกึ ษาธิการจังหวัด จึงตองมีการประเมินผล
การปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด และนําขอมูลที่ไดไปใช
ประโยชนใ นการปรบั ปรุงการดาํ เนนิ งาน ในดา นตาง ๆ ของสาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดตอไป

สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 จึงไดจัดทําโครงการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรอง
การปฏิบัติราชการของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นท่ีรับผิดชอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ขนึ้

2. วัตถุประสงค
1. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานและรายงานผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัดของสวนราชการหรือ

หนว ยงานและสถานศกึ ษาในสงั กดั กระทรวงศึกษาธิการระดบั ภาคและจังหวดั
2. เพ่ือสรางความรูความเขาใจระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติ

ราชการ
3. เพ่ือตรวจสอบรองรอยกระบวนการปฏิบัติงาน อันจะนําไปสูการพัฒนาสํานักงานศึกษาธิการ

จงั หวัดเพื่อใหสาํ นักไดข อ เสนอแนะในการปรับปรงุ และพฒั นาองคการ

3. กลุมเปาหมายของโครงการ
ติดตามประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคํารบั รองการปฏิบัติราชการของสํานักงานศึกษาธกิ าร

จงั หวดั ในพ้ืนทร่ี บั ผดิ ชอบของสํานกั งานศึกษาธิการภาค 5 ประกอบดวย จังหวัดชุมพร จงั หวดั สุราษฎรธานี
จงั หวัดนครศรธี รรมราช จังหวดั พัทลงุ และจงั หวัดสงขลา

4. วธิ ดี าํ เนนิ การ/ข้ันตอนการดําเนินงาน
ประเด็นการประเมินผล
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของสํานักงานศึกษาธิการ

จงั หวัด เปนการตรวจประเมินตัวชว้ี ัดตามคาํ รับรองการปฏิบัติราชการที่มีการลงนามระหวางศึกษาธิการจังหวัด
กับปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยการตรวจประเมินจะอยูภายใตกรอบการประเมิน 3 ประเด็น ไดแก การประเมิน
ประสิทธิผล การประเมินประสิทธิภาพ และการพัฒนาองคการ ซ่ึงประกอบดวยตัวช้ีวัด 5 ตัวช้ีวัด ดังนี้
การประเมนิ ประสิทธิผล (น้าํ หนกั รอยละ 50)
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคาํ รับรองการปฏิบัติราชการของสาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัด
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประเดน็ การประเมิน ตัวช้ีวัดนํ้าหนัก(รอ ยละ)
การประเมนิ ประสิทธิผล 50

ตัวช้ีวัดที่ ๑ ความสําเร็จในการบรรลุเปาหมายตามนโยบายสําคัญ/แผนปฏิบัติราชการ/
ตัวชว้ี ัดตามคาํ รับรองการปฏบิ ัติราชการของกระทรวง/สาํ นกั งานปลัดกระทรวงและแผนปฏิบัติราชการของ
หนว ยงาน

ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ รอ ยละความสําเร็จของโครงการที่มผี ลสัมฤทธ์ติ ามเปาหมายของโครงการ ตาม
แผนปฏิบัติราชการของหนวยงาน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4

ตัวชวี้ ดั ที่ ๑.๒ ระดบั คะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET)
ตัวช้ีวดั ท่ี ๑.๓ ระดับคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดานอาชีวศึกษา (V-NET)
ตวั ช้ีวดั ท่ี ๑.๔ ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา นการศกึ ษา
นอกระบบ (N-NET)

46

ตวั ช้ีวัดที่ ๑.๕ ระดับความสาํ เร็จในการดําเนนิ การวิจยั ทางการศกึ ษา
ตัวช้ีวัดท่ี ๑.๖ ระดับความสําเร็จในการจัดการขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาจังหวัด
๕ จงั หวดั
ตัวชี้วัดท่ี ๑.๗ ระดับความสําเร็จของการติดตามและรายงานผลการดําเนินงานตามแผน
พฒั นาการศึกษาจังหวัด
ตัวชี้วัดที่ ๑.๘ ระดับความสําเร็จในการสงเสริมและสนับสนุนการศึกษาเพ่ือคนพิการ
ผูด อยโอกาส และ ผมู คี วามสามารถพิเศษ
ตัวช้ีวัดที่ ๑.๙ ระดบั ความสาํ เร็จการนิเทศการศกึ ษาหนว ยงานทางการศึกษาภายในจังหวัด

การประเมนิ ประสิทธิภาพ 20

ตัวช้ีวัดท่ี ๒ ความสําเร็จในการสนับสนุนการพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ
สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ตัวชวี้ ดั ท่ี ๒.๑ ระดบั ความสําเร็จในการประหยัดงบประมาณ ๑๐
ตัวช้ีวดั ท่ี ๒.๒ ระดับความสาํ เร็จในการลดและคัดแยกขยะมลู ฝอยในหนวยงานภาครัฐ ๑๐
การพฒั นาองคก าร 30
ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๓ ระดับความสําเร็จในการจัดทําสารสนเทศผูรบั บรกิ าร ๑๐
ตัวช้วี ัดท่ี ๔ รอ ยละความพงึ พอใจของผูรับบรกิ าร ๑๐
ตัวช้วี ดั ท่ี ๕ ระดับความสาํ เร็จในการสราง/พฒั นานวตั กรรม ๑๐

ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งาน

ท่ี กิจกรรมหลกั ระยะเวลา หมายเหตุ

1 ขออนุมัติโครงการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการตามคาํ รบั รองการ พฤศจิกายน

ปฏิบัติราชการของสาํ นักงานสาํ นกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั ประจําป 2563

งบประมาณ พ.ศ. 2563

2 แตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคํารับรอง พฤศจิกายน
การปฏิบตั ิราชการของสํานักงานสํานกั งานศึกษาธิการจังหวัด 2563
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2563
พฤศจิกายน
3 ประชมุ คณะกรรมการ และความเขาใจเก่ยี วกบั การ 2563
จดั ทําคาํ รบั รองการปฏบิ ัติราชการประจาํ ปงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖3 พฤศจิกายน
2563
4 ตรวจเช็ครายงานผลการปฏิบตั ิราชการตามคํารับรองการปฏิบัติ
ราชการของสาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัด ประจาํ ปงบประมาณ
2563 รอบ 12 เดอื น มคี วามถกู ตอ งครบถวนทุกจังหวดั หรือไม

5 ลงพนื้ ท่ตี ดิ ตามประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการตามคํารบั รองการ ธนั วาคม
ปฏิบัติราชการของสาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวัดในเขตพื้นท่ี 2563
รบั ผิดชอบ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2563


Click to View FlipBook Version