The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการฯ ปีงบ 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phakchuda0440, 2021-03-19 01:06:40

แผนปฏิบัติราชการฯ ปีงบ 64

แผนปฏิบัติราชการฯ ปีงบ 64

47

ท่ี กจิ กรรมหลัก ระยะเวลา หมายเหตุ
ธันวาคม
6 ประมวลผล วิเคราะห สงั เคราะห และสรปุ ผลการประเมินผล 2563
การปฏบิ ัติราชการตามคาํ รับรองการปฏิบตั ิราชการของ
สํานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ธนั วาคม
2563
7 จดั ทํารายงานผลการปฏบิ ตั ิราชการตามคํารับรองการปฏิบตั ิ
ราชการของสาํ นักงานศกึ ษาธิการจังหวัด ประจําปงบประมาณ
พ.ศ. 2563 สงรายงานผลการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการ
ตามคาํ รับรอง การปฏิบตั ิราชการของสํานกั งานศึกษาธิการ
จงั หวัด ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 กพร.สป.

5. ระยะเวลาและสถานทด่ี าํ เนินการ
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2563 ณ สํานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 5 และสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด

ในพ้ืนทรี่ บั ผิดชอบของสํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 จังหวดั ชุมพร จังหวัดสรุ าษฎรธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช
จงั หวัดพัทลงุ และจังหวัดสงขลา

6. งบประมาณ
จากงบประมาณประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 งบดําเนินงาน สํานักงานศึกษาธิการภาค 5

จํานวน 25,580 บาท (สองหมน่ื หา พันหา รอยแปดสิบบาทถวน) รายละเอียดดงั นี้
คาใชจ ายสําหรบั การประเมินผลการปฏิบัติงานตามคาํ รับรอง ฯ ของสํานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัด

กิจกรรม ลงพ้ืนท่ีตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการตามคํารับรองการปฏบิ ัติราชการของสํานักงาน
ศกึ ษาธิการจังหวัดในเขตพ้นื ที่รบั ผิดชอบ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2563

ที่ รายละเอยี ด จํานวนเงิน หมายเหตุ
(บาท)
1 จังหวัดสรุ าษฎรธานี
คา เบยี้ เล้ยี ง 1 วัน (270 x 1 ) + ( 240 x 5) 1,470
คาทพี่ ัก 1 คนื เหมาจาย (1,200 x 1 ) + ( 800 x 5) 5,200
รวมเงิน 6,670

2 จังหวดั ชุมพร 1,470
5,200
คา เบ้ยี เล้ียง 1 วัน (270 x 1 ) + ( 240 x 5) 1,400
คาทีพ่ ัก 1 คืนเหมาจาย (1,200 x 1 ) + ( 800 x 5) 8,070
คาน้ํามันเช้อี เพลิงและหลอ ลนื่
รวมเงนิ 1,710
3 จงั หวดั พทั ลุง 1,420
คา เบีย้ เลย้ี ง 1 วัน (270 x 1 ) + ( 240 x 6) 3,130
คา น้ํามนั เชอี้ เพลิงและหลอล่นื
รวมเงิน

48

ที่ รายละเอียด จํานวนเงิน หมายเหตุ
(บาท)
4 จงั หวดั สงขลา
คา เบีย้ เลี้ยง 1 วัน (270 x 1 ) + ( 240 x 6) 1,710
คาที่พัก 1 คืนเหมาจา ย (1,200 x 1 ) + ( 800 x 6) 6,000
รวมเงิน 7,710
-
5 จงั หวัดนครศรีธรรมราช 25,580

รวมเปนเงิน

7. การวิเคราะหความเส่ยี งของโครงการ
ความเส่ียง การจัดทําตัวช้ีวัดประกอบกับสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด อยูระหวางการเรียนรู

และยังใหมใ นเรอื่ งของคํารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการ และไมม ีงบประมาณจัดสรรใหดําเนินการ
การบรหิ ารความเส่ียง ในสว นของสาํ นักงานศึกษาธกิ ารภาค 5 กลุม ที่รับผิดชอบประเมนิ ผลการ

ปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดตองประสานกับ กพร. และ
เรียนรูจากสํานักงานศึกษาธิการภาคอ่ืน และในปตอไป กระทรวงศึกษาธิการควรจัดสรรงบประมาณให
ดาํ เนนิ การ

8. หนว ยงานรบั ผดิ ชอบ
กลุมตรวจราชการและตดิ ตามประเมินผล สํานกั งานศึกษาธิการภาค 5

9. ตวั ช้ีวัดความสําเร็จ และคาเปา หมาย

เชิงปริมาณ : ลงพ้ืนท่ีตรวจประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ
ของสํานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดในพ้ืนที่รับผดิ ชอบ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ สํานักงานศึกษาธิการ
จังหวดั ชมุ พร จังหวดั สรุ าษฎรธานี จงั หวัดนครศรีธรรมราช จงั หวดั พทั ลงุ และจังหวดั สงขลา

เชิงคุณภาพ : รายงานผลการประเมินการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของ
สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 สามารถนําไปใชเปนขอมูล/แนวทางการ
ปรับแผนในปตอ ไปได

10. ผลท่ีคาดวาจะไดร ับ
1. ขอมูลผลการประเมินใชเปนขอมูลในการประมวลผลความสําเร็จในการดําเนินการพัฒนา

ระบบราชการตามคํารบั รองการปฏิบตั ิราชการ
2. ขาราชการและผูบริหารในสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด มีความรู ความเขาใจเรื่องระบบการ

ประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ สามารถนําความรู ท่ีไดรับไปปรับปรุง
กระบวนการทาํ งานในปตอ ไปใหเปนไปตามหลักเกณฑก ารประเมนิ ไดถูกตอง

3. ผลการประเมินทําใหผูรับการประเมินและผูบริหารระดับสูงทราบปญหา อุปสรรค ในการ
ปฏบิ ัตงิ านและสามารถหาแนวทางกาปรับปรงุ และพัฒนาการปฏิบัติงานใหมปี ระสทิ ธิภาพยิ่งขน้ึ

49

รายละเอยี ดโครงการที่ 4

โครงการตรวจราชการและติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร
ในพ้ืนที่รับผดิ ชอบของสํานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 5
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ : ดา นยุทธศาสตรที่ 6 ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารการจดั การภาครฐั
สอดคลอ งกับแผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติฯ : ขอ 20 การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
สอดคลอ งกับแผนยอยของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติฯ : 3.2 แผนยอยการบริหารจดั การการเงินการคลัง
สอดคลอ งตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอย : 5 กาํ หนดใหมกี ารติดตามประเมนิ ผลสัมฤทธิ์การดาํ เนนิ งาน

ตามยุทธศาสตรช าติและแผนสมั ฤทธ์ิของแผนงาน/โครงการ
สอดคลองกบั แผนปฏิรูปประเทศ : ดา นการศึกษา
สอดคลองกบั ยุทธศาสตรกระทรวงศกึ ษาธกิ าร : ยุทธศาสตรท่ี 5 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหาร

จัดการศกึ ษา
สอดคลอ งยทุ ธศาสตรแผนปฏบิ ัติราชการฯ ศธ.ป 2564 : ยุทธศาสตรท ่ี 5 การพัฒนาประสิทธิภาพของ

ระบบบริหารจัดการศกึ ษา
สอดคลองยุทธศาสตร สป. : ยทุ ธศาสตรท่ี 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการใหมีประสิทธภิ าพ

1. หลกั การและเหตผุ ล
การศึกษาเปนเครื่องมือสําคัญในการสรางคน สรางสังคม และสรางชาติ เปนกลไกหลักในการพัฒนา

กาํ ลังคนใหม ีคณุ ภาพ สามารถดํารงชีวิตอยูรวมกบั บุคคลอื่นในสังคมไดอ ยางเปนสุข ในกระแสการเปลี่ยนแปลง
อยางรวดเร็วของโลกศตวรรษท่ี 21 การศึกษาจึงมีบทบาทสําคัญในการสรางความไดเปรียบของประเทศ
เพื่อการแขงขันและยืนหยัดในเวทีโลก เศรษฐกิจและสังคม ประเทศตางๆ ท่ัวโลกจึงใหความสําคัญและทุมเท
กับการพัฒนาการศึกษา เพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนุษยของตนใหสามารถกาวทัน การเปล่ียนแปลงของระบบ
เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ ภูมิภาค และของโลก ในสวนของประเทศไทยไดใหความสําคัญกับการจัด
การศกึ ษา การพัฒนาศกั ยภาพและขีดความสามารถของคนไทยใหม ีทกั ษะ ความรูความสามารถ และสมรรถนะ
ที่สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ เพื่อใหคนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดี
กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดนโยบายการตรวจราชการ เพื่อใหผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เรงรัด
ติดตาม การดําเนินงานตามนโยบายของหนว ยงาน ซงึ่ การตรวจราชการเปนมาตรการสําคัญประการหนง่ึ ในการ
บรหิ ารราชการแผนดินทจ่ี ะทําใหการปฏิบัตริ าชการหรือการปฏิบัตภิ ารกิจของหนวยงานของรัฐบรรลุเปา หมาย
สอดคลองกับแผนการบริหารราชการแผนดินและนโยบายของรัฐบาล สามารถแกไขปญหาอุปสรรค และ
กอใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชนได ซ่ึงตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการ
บานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 บัญญัติวาการบริหารราชการตองเปนไปเพื่อประโยชนสุขแกประชาชน
เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐโดยประชาชนไดรับการ
อํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการ โดยคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี
19/2560 ลงวันท่ี 3 เมษายน 2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ กําหนดให
จัดต้ังสํานักงานศึกษาธิการภาค เพื่อทําหนาที่ขับเคล่ือนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดยอํานวยการ
สงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือและบูรณาการกับหนวยงานในสังกัดและหนวยงานอื่นท่ี

50

เกี่ยวของ และจดั ตั้งสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด เพื่อทาํ หนาท่ีปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศกึ ษาธิการเก่ียวกับ
การบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาตามท่กี ฎหมายกําหนด

ดงั น้ัน เพื่อใหการขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัดดําเนินไปอยางมีประสิทธภิ าพ และเกิด
ประสิทธิผล จึงจัดทําโครงการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและ
ยุทธศาสตรใ นพ้ืนที่รับผดิ ชอบของสํานกั งานศึกษาธิการภาค 5 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพ่ือตดิ ตาม
และประเมินผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด และเพื่อสนับสนุนภารกิจตรวจราชการของ
ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ในการตรวจและติดตามการดําเนินงานของหนวยงานการศึกษาและ
สถานศึกษาที่นํานโยบายของกระทรวงศึกษาธิการไปสูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุเปาหมาย
สอดคลองกบั นโยบายของรัฐบาลและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2. วัตถปุ ระสงค
1. เพ่ือสนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมนิ ผลการดําเนินงานตามนโยบายและยทุ ธศาสตร

กระทรวงศกึ ษาธิการ ของหนวยงานและสถานศกึ ษา ในเขตตรวจราชการท่ี 5
2. เพื่อทราบปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะของหนวยงานการศึกษาและสถานศึกษาตอการ

ดาํ เนนิ งานตามนโยบายและยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธกิ าร

3. กลมุ เปาหมาย

เชิงปริมาณ
กิจกรรมท่ี 1 จัดประชุมปฏิบัติการประสานแผนการตรวจราชการของผูตรวจราชการ กระทรวงศึกษาธิการ

เขตตรวจราชการท่ี 5 ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
กิจกรรมท่ี 2 สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและ

ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ ของหนวยงานและสถานศึกษา ในเขตตรวจราชการที่ 5 รอบท่ี 1 และรอบที่ 2
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จํานวน 5 จังหวัด คือ ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา
ท้ังน้ี กําหนดการตรวจราชการในทุกประเภท คือ 1) การตรวจราชการกรณีปกติ 2) การตรวจราชการแบบ
บรู ณาการ และ 3) การตรวจราชการกรณีพิเศษ

เชิงคณุ ภาพ
ผูบริหารระดับกระทรวง ผูบริหารระดับพื้นท่ี และผูที่เกี่ยวของไดทราบขอมูลการดําเนินงาน ปญหา

อุปสรรค และขอเสนอแนะของหนวยงานและสถานศึกษา ในเขตตรวจราชการที่ 5 จากการนํานโยบายและ
ยุทธศาสตรกระทรวงศกึ ษาธิการไปสูการปฏิบตั ิ
4. วิธดี ําเนินการ/ขั้นตอนการดําเนินงาน

วธิ ดี ําเนนิ การ/ข้ันตอนการดําเนินงาน ระยะเวลา

กิจกรรมท่ี 1 จัดประชุมปฏบิ ัติการประสานแผนการตรวจราชการของผูตรวจราชการ ม.ค. - มี.ค. 2564

กระทรวงศึกษาธิการ เขตตรวจราชการที่ 5 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564

กิจกรรมที่ 2 สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดําเนินงาน ม.ค. - ก.ย. 2564

ตามนโยบายและยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ ของหนวยงานและสถานศึกษา

ในเขตตรวจราชการที่ รอบท่ี 1 และรอบที่ 2 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564

จาํ นวน 5 จังหวัด คอื ชมุ พร สุราษฎรธ านี นครศรธี รรมราช พัทลงุ และสงขลา ท้ัง 3

ประเภทการตรวจราชการ คือ 1) การตรวจราชการกรณีปกติ 2) การตรวจราชการ

แบบบูรณาการ และ 3) การตรวจราชการกรณีพิเศษ

51

5. ระยะเวลาและสถานทด่ี าํ เนินการ
มกราคม - กันยายน 2564 ณ สํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 และหนวยงานการศึกษาและสถานศกึ ษา

ในจงั หวัดซึ่งเปน พ้นื ท่ีรบั ผิดชอบของสํานกั งานศึกษาธิการภาค 5

6. งบประมาณ ดําเนินงานสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 จํานวน 83,800 บาท (คาใชจายในการกํากับ
ติดตาม ประเมินผล การจัดการเรียนการสอนและมาตรการปองกันในสถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัส 2019 (COVID-19))

กิจกรรมที่ 1 จัดประชมุ ปฏิบัติการประสานแผนการตรวจราชการ จัดทําแผนปฏิบัติการ/ปฏิทินการตรวจ
ราชการ ของผูตรวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ ศึกษาธิการภาค เขตตรวจราชการท่ี 5 ประจําปงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ใหหนวยรับตรวจราชการในสังกัด ซ่ึงประกอบดวย ศึกษาธิการจังหวัด ผูบริหารหนวยงานทาง
การศึกษา และเจาหนาทที่ ีเ่ ก่ยี วของ ในพ้นื ทีเ่ ขตตรวจราชการที่ 5 จํานวน 55 คน

ที่ รายละเอียด จํานวนเงิน
(บาท)
1 คาอาหารวา งและเคร่ืองดื่มผูเขาประชุม จํานวน 55 คน 5,500
จาํ นวน 2 ม้ือ ๆ ละ 50 บาท
6,600
2 คาอาหารกลางวันผูเ ขา ประชุม จํานวน 55 คน ๆ ละ 120 บาท 1,500
3 คา วสั ดุเช้ือเพลงิ 1,200
4 คาจัดทําเอกสารประกอบการประชมุ 1,400
5 คา จัดทําแผนการตรวจ 1,500
6 คา จัดทําไวนลิ 2,500
7 คาหอ งประชุม 20,200

รวมเปนเงิน

หมายเหตุ ขอถัวจา ยทุกรายการ

กิจกรรมท่ี 2 สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและ
ยุทธศาสตร กระทรวงศึกษาธกิ ารของหนวยงานและสถานศึกษา ในเขตตรวจราชการที่ 5 และรอบท่ี 2 ประจําป
งบประมาณ พ.ศ. 2564 จํานวน 5 จังหวดั คือ ชุมพร สรุ าษฎรธานี นครศรีธรรมราช พทั ลุง และสงขลา

ที่ รายละเอยี ด จํานวนเงิน
(บาท)
1 จังหวดั ชุมพร จํานวน 2 วัน
1.1 คา เบ้ยี เลี้ยง จาํ นวน 3 คน จาํ นวน 2 วัน ๆ ละ 240 บาท 1,440
1.2 คา เบยี้ เล้ียง จํานวน 1 คน จํานวน 2 วัน ๆ ละ 270 บาท 540
1.3 คา ที่พกั เหมาจาย จํานวน 3 คน จาํ นวน 1 คนื ๆ ละ 800 บาท
1.4 คา ทีพ่ กั เหมาจาย จํานวน 1 คน จํานวน 1 คนื ๆ ละ 1,200 บาท 2,400
1.5 คานํ้ามนั เชอื้ เพลิง 1,200
รวมเปน เงิน 1,500
7,080

52

ที่ รายละเอยี ด จํานวนเงิน
(บาท)
2 จงั หวดั สรุ าษฎรธานี จํานวน 2 วนั
2.1 คา เบีย้ เลยี้ ง จาํ นวน 3 คน จาํ นวน 2 วัน ๆ ละ 240 บาท 1,440
2.2 คาเบี้ยเลย้ี ง จาํ นวน 1 คน จาํ นวน 2 วนั ๆ ละ 270 บาท 540
2.3 คาท่พี กั เหมาจาย จํานวน 3 คน จาํ นวน 1 คนื ๆ ละ 800 บาท
2.4 คา ที่พกั เหมาจาย จํานวน 1 คน จาํ นวน 1 คนื ๆ ละ 1,200 บาท 2,400
2.5 คา น้ํามันเช้อื เพลงิ 1,200
รวมเปนเงิน 1,000
6,580
3 จงั หวัดพทั ลุง จาํ นวน 2 วนั
3.1 คาเบี้ยเล้ียง จาํ นวน 3 คน จํานวน 2 วนั ๆ ละ 240 บาท 1,440
3.2 คา เบย้ี เล้ียง จํานวน 1 คน จํานวน 2 วนั ๆ ละ 270 บาท 540
3.3 คา พกั เหมาจาย จํานวน 3 คน จาํ นวน 1 คนื ๆ ละ 800 บาท
3.4 คาที่พกั เหมาจาย จาํ นวน 1 คน จาํ นวน 1 คืน ๆ ละ 1,200 บาท 2,400
3.5 คา นํ้ามนั เชื้อเพลิง 1,200
รวมเปน เงิน 1,000
6,580
4 จังหวดั สงขลา จํานวน 2 วนั
4.1 คา เบี้ยเลี้ยง จํานวน 3 คน จํานวน 2 วนั ๆ ละ 240 บาท 1,440
4.2 คาเบ้ยี เลี้ยง จาํ นวน 1 คน จํานวน 2 วนั ๆ ละ 270 บาท 540
4.3 คา พกั เหมาจา ย จํานวน 3 คน จาํ นวน 1 คนื ๆ ละ 800 บาท
4.4 คาทพ่ี กั เหมาจาย จํานวน 1 คน จาํ นวน 1 คืน ๆ ละ 1,200 บาท 2,400
4.5 คา น้ํามนั เชือ้ เพลิง 1,200
รวมเปนเงิน 1,000
6,580
5 จังหวดั นครศรีธรรมราช จํานวน 2 วนั
5.1 คา เบ้ียเล้ียง จํานวน 3 คน จํานวน 2 วนั ๆ ละ 240 บาท 1,440
5.2 คาเบี้ยเลยี้ ง จาํ นวน 1 คน จํานวน 2 วัน ๆ ละ 270 บาท 540
5.3 คาน้ํามันเชอ้ื เพลิง
รวมเปนเงิน 1,000
2,980
6 คา จดั ทําเอกสารรายงานผล จาํ นวน 10 เลม ๆ ละ 200 บาท 2,000
รวมเปน เงินทัง้ สิน้ ตรวจติดตาม 2 รอบ = 31,800 x 2 63,600
***หมายเหตุ ขอถัวจายทกุ รายการ

7. การวิเคราะหความเส่ยี งของโครงการ
7.1 ความเส่ียง
1) การดาํ เนินงานอาจไมเปน ไปตามระยะเวลาที่กําหนดไว เน่ืองจากมภี ารกิจเรง ดวนอ่นื ๆ ของทาง

ราชการท่ีจะตองเรง ดําเนนิ การ
2) การจัดทาํ กรอบและประเด็นการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดําเนินงานไมช ดั เจนและไมครอบคลมุ

53

7.2 การบริหารความเส่ียง
1) การจัดทาํ แผน/กําหนดการดาํ เนินงานใหมีความชดั เจน
2) ชองทางการประสานแผนการดําเนินงานควรมีความหลากหลาย เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และ

เกิดประสิทธิภาพ

8. ผูรับผิดชอบโครงการ
กลุมตรวจราชการและตดิ ตามประเมินผล สาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5

9. ตัวช้ีวดั ความสําเรจ็ และคาเปาหมาย

ตัวชี้วัด เปาหมาย

เชงิ ปริมาณ

รอยละของการสนับสนุนการตรวจราชการ ติดตามและประเมินผล ไมนอ ยกวา รอ ยละ 80

การดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ

ของหนวยงานและสถานศึกษาในเขตตรวจราชที่ 5 ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2564 รอบที่ 1 และรอบที่ 2 ในจังหวัดซง่ึ เปนพ้ืนท่ี

รับผิดชอบของสาํ นักงานศกึ ษาธิการภาค 5

เชิงคุณภาพ

ผูบริหารระดับกระทรวง ผูบริหารระดับพ้ืนที่ และผูท่ีเกี่ยวของได รายงานผลการตรวจราชการ ตดิ ตาม

ทราบผลการดําเนินงาน ปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะของ และประเมนิ ผลการดําเนินงานตาม

หนวยงานและสถานศึกษา ในเขตตรวจราชการที่ 5 จากการนํา นโยบายและยทุ ธศาสตร

นโยบายและยทุ ธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการไปสกู ารปฏิบัติ กระทรวงศึกษาธิการ ประจําป

งบประมาณ พ.ศ. 2564

10. ผลที่คาดวา จะไดรบั
กระทรวงศกึ ษาธิการ ไดทราบผลการดําเนินงาน ปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะของหนวยงานและ

สถานศึกษา ในเขตตรวจราชการท่ี 5 จากการนํานโยบายและยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการไปสูการปฏิบัติ
นอกจากนี้ ยังทราบถึงสภาพการปฏิบัติงานของสํานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั รวมดวย เพ่ือเปนประโยชนใ นการ
พัฒนาแนวทางการดําเนินงานตามนโยบายและยทุ ธศาสตรก ระทรวงศึกษาธิการตอ ไป

54

รายละเอยี ดโครงการที่ 5

โ ค ร ง ก า ร ส นั บ ส นุ น ก า ร ดํ า เนิ น ง า น ส ว น พ ฤ ก ษ ศ า ส ต ร โร ง เรี ย น ใ น โค ร ง ก า ร อ นุ รั ก ษ พั น ธุ ก ร ร ม พื ช
อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในสวนของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตรชาติ : ดา นยุทธศาสตรท่ี 1 ความมนั่ คง
สอดคลองกับแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าตฯิ : ประเด็นความม่นั คง
สอดคลอ งกบั แผนยอยของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติฯ : แผนยอ ยท่ี 3.2 การปองกันและ

แกไขปญหาท่ีมผี ลกระทบตอ ความมน่ั คง
สอดคลองตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอย : 14) พทิ กั ษและฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม
สอดคลองกบั แผนปฏิรูปประเทศ : 12 ดานการศกึ ษา
สอดคลองกับยทุ ธศาสตรก ระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตรที่ ๑ การจดั การศึกษาเพ่ือความมน่ั คงของสงั คม

และประเทศชาติ
สอดคลองกับยุทธศาสตรแผนปฏิบตั ิราชการฯ ศธ. ป 2564 : ยุทธศาสตรท่ี ๑ การจัดการศกึ ษาเพอื่ ความ

มนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ
สอดคลองยทุ ธศาสตร สป. : ประเด็นยทุ ธศาสตรที่ ๑ พัฒนาการจดั การศกึ ษาเพ่ือความมน่ั คง

1.หลักการเหตุผล
ตามท่ีโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยาม บรมราชกุมารี ไดดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของโครงการฯ ในกิจกรรมปกปกพันธุกรรมพืช สํารวจเก็บ
รวบรวมพันธุกรรมพืชปลูกรักษาพันธุกรรมพืช อนุรักษและใชประโยชนพันธุกรรมพืช ศูนยขอมูลพันธุกรรม
พืช วางแผน พัฒนาพันธุพืช สรางจิตสํานึกในการอนุรักษพันธุกรรมพืช และกิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ
พันธุกรรมพืช โดยที่กิจกรรมสรางจิตสํานึกในการอนุรักษพันธุกรรมพืช มีงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน
ซ่ึงสอดคลองกับงานที่ ปฏิบัติโดยตรงในการใหความรู การศึกษา และยังสามารถนําไปใชเปนสื่อการเรยี นการ
สอน ดังน้นั จงึ เห็นควรที่จะสง เสริม สนบั สนนุ การดาํ เนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น

สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 จึงไดกําหนดใหมีโครงการสนับสนุนการดําเนินงานสวนพฤกษศาสตร
โรงเรียนในโครงการอนุรกั ษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพ่ือใชเปนการสนับสนุนการขับเคล่ือน
การดําเนินงานอนั เนื่องมาจากพระราชดําริฯ ใหม ีประสทิ ธภิ าพตอไป

2. วตั ถปุ ระสงค
1. เพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานโครงการสนับสนุนการดําเนินงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนใน

โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ในสว นของกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ.2564

2. เพ่ือรายงานผลการดําเนินงานโครงการสนับสนุนการดําเนินงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน
ในโครงการอนรุ ักษพันธุกรรมพืชอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 ในพนื้ ท่รี ับผิดชอบ

55

3. กลมุ เปาหมาย

สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 5 จังหวัด ไดแก จังหวดั สงขลา พัทลุง นครศรีธรรมราช
สรุ าษฎรธ านี และจงั หวัดชมุ พร

4. วิธีดาํ เนินการ/ข้ันตอนดําเนินการ

1) จัดทาํ โครงการสนับสนุนการดาํ เนินงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี นในโครงการอนุรกั ษพันธุกรรมพืช
อนั เนอื่ งมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการ
ปง บประมาณ พ.ศ.2564 เพือ่ โปรดพิจารณาใหค วามเหน็ ชอบหรืออนุมตั โิ ครงการฯ

2) แตงต้ังคณะทํางานฯ โครงการสนับสนุนการดําเนินงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนในโครงการ
อนุรักษพันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในสวน
ของกระทรวงศึกษาธิการ ปง บประมาณ พ.ศ.2564 ในพื้นที่รบั ผิดชอบ

3) ตดิ ตามผลการดําเนินงานโครงการสนับสนุนการดาํ เนินงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนในโครงการ
อนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในสวน
ของกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 ในพืน้ ท่รี บั ผิดชอบ

4) วิเคราะห สังเคราะห สรุปผลการดําเนินงานโครงการสนับสนุนการดําเนินงานสวนพฤกษศาสตร
โรงเรยี นในโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 ติดตามฯและรายงานผูบังคับบัญชา
ตามลําดับ

5) จัดทําเอกสารรายงานผลการดําเนินงานโครงการสนับสนุนการดําเนินงานสวนพฤกษศาสตร
โร ง เรีย น ใน โค ร ง ก า ร อ นุ รั ก ษ พั น ธุ ก ร ร ม พื ช อั น เน่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ ส ม เด็ จ พ ร ะ เท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ฯ
สยามบรมราชกุมารี ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 ในพื้นที่รับผิดชอบรายงานให
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารทราบ

5. ระยะเวลาและสถานทดี่ าํ เนินการ
ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564 จงั หวดั ในพ้นื ทรี่ ับผดิ ชอบ

6. งบประมาณ

งบประมาณรายจายประจําป พ.ศ.2564 จํานวน 10,000 บาท จากแผนงานพื้นฐาน ดานการ
พัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนุษยผลผลิตนโยบายและแผนดานการศึกษา กิจกรรมดําเนินงาน
นโยบายและยุทธศาสตร งบรายจายอื่น คาใชจายโครงการสนับสนุนการดําเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน
ในโครงการอนุรักษพันธกุ รรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ รสิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

หมวดงบรายจายอื่น งบประมาณ
(บาท)
การสนับสนนุ การดําเนินงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนในโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืช
อันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในสวน 10,000
ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงบประมาณ พ.ศ.2564

56

หมวดงบรายจายอนื่ งบประมาณ
(บาท)
คาใชจายในการเดินทางไปราชการ เพื่อเขารวมประชุมรับทราบแนวนโยบาย
การขบั เคลอ่ื นงานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น ฯ ประกอบดวยรายละเอยี ด ดังน้ี 480
800
- คาเบีย้ เล้ียง (2 วัน X 240 บาท) = 480 บาท 1,200
- คา ท่ีพักเหมาจา ย (800 บาท) 4,000
- คาพาหนะรับจาง (ไป-กลบั 600 บาท X 2 วัน) = 1,200 บาท
- คา โดยสารเคร่ืองบิน (ไป-กลบั 4,000 บาท) 1,000
การประชุมคณะทาํ งาน ฯ 1,200
- คาอาหารวางและเครื่องด่มื (50 บาท X 2 ม้ือ X 10 คน) = 1,000 บาท 1,320
- คาอาหารกลางวัน (120 บาท X 1 มอื้ X 10 คน) = 1,200 บาท
- คา วัสดุ-อุปกรณ และคา จดั ทาํ เอกสารรายงาน

7. การวเิ คราะหความเส่ียงของโครงการ
7.1 ความเสี่ยง
การรายงานผลโครงการสนับสนุนการดําเนินงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนในโครงการอนุรักษ

พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในสวนของ
กระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 อาจจะมคี วามลาชา เนอื่ งจากสถานการณโควดิ

7.2 การบริหารความเสี่ยง
มีการป ระสาน คณ ะทํ างานฯ เพื่อวางแผน การดําเนินงาน โดยให ทุกภาคสวน มีสวนรวม

ในการดําเนนิ งานตามโครงการเพ่ือกําหนดแผนการดาํ เนินงานรว มกัน/การรายงานผลผา นชอ งทางออนไลน

8. ผูรับผดิ ชอบโครงการ
นายธวัชชยั เยาวนนุ ผูอํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษา

9. ตวั ช้ีวดั ความสาํ เร็จ และคา เปา หมาย

ตวั ชวี้ ดั เปาหมาย
1 เลม
เชงิ ปริมาณ
เอกสารรายงานผลโครงการสนบั สนุนการดําเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น ขอ มูลถกู ตอง
ครบถวน
ในโครงการอนุรักษพนั ธกุ รรมพืชอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในสวนของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปง บประมาณ
พ.ศ.2564 ในพน้ื ท่ีรับผิดชอบ

เชิงคุณภาพ
ขอ มูลรายงานผลโครงการสนบั สนนุ การดําเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน

ในโครงการอนุรักษพันธกุ รรมพืชอนั เน่ืองมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการ ปง บประมาณ
พ.ศ. 2564 มีความถกู ตองและครบถวนทุกจังหวัดในจงั หวัดพื้นที่รบั ผิดชอบ

57

10. ผลทีค่ าดวาจะไดร บั
โร งเรี ย น ที่ เข า รว ม โค รงก า รอ นุ รั ก ษ พั น ธุ ก รรม พื ชอั น เน่ื อ ง ม า จา ก พ ระ ร า ช ดํ า ริส ม เด็ จ พ ระ เท พ

รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 สามารถบรู ณาการ
การจดั การเรียนการสอนกับ 8 กลุมสาระการเรยี นรไู ดอ ยา งมีคณุ ภาพ

58

รายละเอียดโครงการท่ี 6

โครงการสรางและสงเสริมความเปนพลเมอื งดีตามรอยพระยุคลบาทดานการศกึ ษาสูก ารปฏบิ ัติ
สํานกั งานศกึ ษาธิการภาค 5 ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2564
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตรชาติ : ดานยทุ ธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย
สอดคลอ งกบั แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรช าติฯ : 10 การปรับเปลี่ยนคานยิ มและวฒั นธรรม
สอดคลองกับแผนยอยของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติฯ : 3.1 ปลกู ฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม คานิยม

และการเสรมิ สรา งจิตสาธารณะและการเปน พลเมืองทดี่ ี
สอดคลองตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอย : การบูรณาการเรื่องความซอ่ื สัตย วินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

ในการจดั การเรยี นการสอนในสถานศึกษา
สอดคลองกับแผนปฏิรปู ประเทศ : 12 ดา นการศึกษา
สอดคลองกบั ยุทธศาสตรก ระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตรท ี่ 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ชว งวยั และการ

สรา งสังคมแหงการเรยี นรู
สอดคลองกับยุทธศาสตรแผนปฏบิ ัติราชการฯ ศธ. ป 2564 : ยุทธศาสตรท ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคน

ทกุ ชวงวัยและการสรา งสงั คมแหง การเรียนรู
สอดคลองกับยทุ ธศาสตร สป. : ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย

ใหมีคณุ ภาพ

๑. หลกั การและเหตุผล
สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงตอบรับเปนพระมหากษัตริย

เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2559 ความวา “เพ่ือสืบสานพระราชปณิธาน และเพ่ือประโยชนข องประชาชนชาวไทย
ท้ังปวง” กอปรกับพระราชปณิธานดานการศกึ ษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรม
นาถบพิตร คือ การสรางคนดี สมเด็จพระเจาอยูหัวฯ จึงทรงมีพระบรมราโชบาย เพ่ือสืบสานพระราชปณิธาน
แหงองคพระบรมชนกนาถในการสรางคนดีใหแกบานเมือง โดยทรงมุงใหการศึกษาตองสรางพื้นฐาน
แกนักเรียน 4 ดาน ประกอบดวย (1) การมีทัศนคติที่ถูกตองตอบานเมือง (2) การมีพ้ืนฐานชีวิตท่ีม่ันคง
มีคุณธรรม (3) การมีงานทํา–มีอาชีพ และ (4) การเปนพลเมืองดี ดังนั้น เน่ืองในวโรกาสท่ีสมเด็จ
พระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร เสด็จเถลิงถวัลยสิริราชสมบัติเปนพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 10 แหงพระบรมราชจักรีวงศ กระทรวงศึกษาธิการ จึงข อ พ ร ะ รา ช ท า น
พระบรมราชานุญาตนอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษา มาเปนหลักชัยในการสรางนักเรียนเปนคนดี
และพัฒนาใหเปน คนเกง สกู ารปฏบิ ัตติ ามรอยพระยุคลบาทอยางเปนรปู ธรรม

กระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริม และกําหนดหนาท่ีดูแลการจัดการศึกษา
ทุกระดับทุกประเภท รวมถึงการกําหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากร
เพ่ือการศึกษา การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ถือวาเปนกระทรวงที่มีความสําคัญมาก
เนือ่ งจากเปนองคก รท่ีมีหนาทีโ่ ดยตรงในการขับเคล่ือนระบบการศึกษาของประเทศ ซ่ึงเก่ียวของกบั การพัฒนา
คน ประชากร ทรัพยากรบุคคลของประเทศใหม ีคุณภาพ สอดคลองกับความมุงหมายและหลักการของการจัด
การศึกษาที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
วาการจัดการศึกษาตองเปนไปเพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณทั้งรางกายและจิตใจ สติปญญา

59

ความรแู ละคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดาํ รงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนอยางมีความสุข ท้ังนี้
ไดกําหนดนโยบายใหหนวยงานทางการศึกษาในสังกัดไดนําไปเปนหลักในการขับเคล่ือนสูการปฏิบัติใหประสบ
ผลสาํ เร็จ

สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดต้ังขึ้นตามคําสั่งหัวหนาคณะ
รักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ขอ 5
เพ่ือปฏิบัติ ภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการในระดับพ้ืนท่ี ทําหนาที่ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและ
จังหวดั โดยการอํานวยการ สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบรว มมือและบรู ณาการกับหนวยงานใน
สังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร และหนวยงานอน่ื หรอื ภาคสวนที่เกี่ยวของในพื้นท่ีน้ัน ๆ ตงั้ อยเู ลขท่ี 4 หมู 6 ตําบล
นาพรุ อําเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง สถานท่ีจัดต้ัง
สํานักงานศึกษาธิการภาค สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศ ณ วันท่ี 7 มีนาคม พ.ศ.2562
รับผิดชอบดําเนินงานในพื้นท่ีจังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง จังหวัดสุราษฎรธานี และ
จังหวัดสงขลา ท้ังนี้ เพ่ือเปนการสืบสานพระราชปณิธานแหงองคพระบรมชนกนาถ และเปนการนอมนําพระ
บรมราโชบายดานการศึกษา ในหลวงรัชกาลท่ี 10 สกู ารปฏิบัติ สํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5 จงึ จัดทําโครงการ
สรางและสงเสริมความเปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทดานการศึกษาสูการปฏิบัติ สํานักงานศึกษาธิการภาค 5
ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 ข้ึน

2. วัตถุประสงค
2.1. เพื่อปลุกจิตสํานึกความรักตอ สถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ใหแกบ ุคลากรสํานักงาน

ศึกษาธิการภาค 5 บุคลากรสํานกั งานศึกษาธิการจังหวดั ในพ้นื ท่ีรับผิดชอบ คร/ู นักเรียน/นักศึกษา ใหมีเจตคติ
ท่ดี ีตอ บา นเมอื ง

2.2. เพื่อสง เสรมิ สนบั สนนุ การเรยี นรตู ามศาสตรพระราชาโดยการนอ มนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงสูการปฏบิ ัติ

2.3. เพอื่ รายงานผลการดําเนินงานตามพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏบิ ตั ิในพนื้ ที่รบั ผดิ ชอบ

3. กลมุ เปา หมาย
บุคลากรสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 บุคลากรสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นท่ีรับผิดชอบ ครู/

ผเู รยี น/นักศกึ ษา ในพืน้ ท่ีรบั ผิดชอบของสาํ นกั งานศกึ ษาธิการภาค 5 นครศรธี รรมราช จาํ นวน 300 คน

4. วธิ ีดําเนินการ/ขนั้ ตอนดําเนินการ
4.1 จัดทําโครงการสรางและสงเสริมความเปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทดานการศึกษาสูการ

ปฏบิ ัตินําเสนอศกึ ษาธกิ ารภาค เพอ่ื โปรดพิจารณาใหความเห็นชอบหรืออนุมัตโิ ครงการฯ
4.2 แตงต้งั คณะทาํ งานฯ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2564
4.3 ประชุมปฏิบัติการคณะทํางานฯ เพื่อกําหนดกรอบและประเด็นในการสงเสริมสนับสนุนการ

ดําเนนิ งานตามพระบรมราโชบายดานการศึกษาสกู ารปฏิบตั ิในพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบ
4.4 จัดกิจกรรมสง เสรมิ ความเปน พลเมืองดดี วยหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู ารปฏบิ ตั ิ
4.5 ประสานงานกับหนวยงานสถานศึกษากลุมเปาหมายในพื้นท่ี และดําเนินการสงเสริม สนับสนุน

การดําเนินงานตามพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบตั ิในพนื้ ที่รับผดิ ชอบตามแผนและชวงเวลาท่กี ําหนด
4.6 ประชุมเชิงปฏิบัติการนําเสนอผลการดําเนนิ งานและแลกเปลี่ยนเรยี นรูผลการสงเสริม สนับสนุน

การดาํ เนินงานตามพระบรมราโชบายดานการศกึ ษาสูการปฏิบัติ

60

4.7 วิเคราะห สังเคราะห สรุปผลการดําเนินงานโครงการติดตามฯและรายงานผูบังคับบัญชา
ตามลาํ ดับ

4.8 จดั ทาํ เอกสารรายงานผลการดําเนนิ งานโครงการฯ เผยแพรใ หหนวยงานที่เกย่ี วของทราบ

5. ระยะเวลาและสถานทดี่ ําเนนิ การ
ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564 จังหวดั นครศรธี รรมราชหรอื จังหวัดในพืน้ ที่รบั ผิดชอบของสํานักงาน

ศึกษาธิการภาค 5

6. งบประมาณ

จํานวน 250,000 บาท จากแผนงานยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุนดานการพัฒนาและเสริมสราง
ศกั ยภาพ ทรพั ยากรมนุษยโครงการขบั เคล่ือนการพัฒนาการศกึ ษาอยางยั่งยนื กิจกรรมการขับเคล่ือนการปฏิรูป
การศึกษาในสวนภูมิภาค งบรายจายอื่น คาใชจายโครงการสรางและสงเสริมความเปนพลเมืองดีตามรอย
พระยุคลบาท ดานการศกึ ษาสกู ารปฏบิ ตั ิ สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค

หมวดงบรายจายอ่นื งบประมาณ
(บาท)

การปลกุ จิตสํานึกบคุ ลากรสํานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 5 250,000

สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ในพ้ืนที่รบั ผดิ ชอบ ครู/นกั เรียน/นกั ศกึ ษา ใหมีเจตคติทด่ี ี

ตอบานเมอื ง การแลกเปลยี่ นเรียนรูและสง เสริมสนบั สนุนการดําเนินงานตาม

พระบรมราโชบายดา นการศึกษาสกู ารปฏิบัตใิ นพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

- คาตอบแทนวิทยากร (บุคคลภายนอก) (1,200 บาท X 6 ชม. X 2 คน) = 14,400 14,400

บาท

- คา พาหนะวิทยากร 2 คน (10,000 บาท X 2 คน) = 20,000 บาท 20,000

- คา ทพ่ี กั วทิ ยากร 2 คน (1,500 บาท X 2 หอ ง 1 คืน) = 3,000 บาท 3,000

- คา อาหารวา งและเคร่ืองด่มื (50 บาท X 2 มอ้ื X 300 คน) = 30,000 บาท 30,000

- คา อาหารกลางวนั ( 300 บาท X 1 ม้ือ X 300 คน) = 90,000 บาท 90,000

- คากระเปาใสเอกสาร ( 150 บาท X 300 ใบ) = 45,000 บาท 45,000

- จัดทาํ ปายไวนิล ขนาด 2 เมตร X 3 เมตร 1,500

- คาจัดทําเอกสารประกอบการประชมุ (50 บาท X 300 ชุด ) = 15,000 บาท 15,000

- คา วัสดุ-อปุ กรณ สําหรบั การดาํ เนินงานโครงการ 15,600

- จดั ทาํ เลมเอกสารรายงาน เลม ละ 250 บาท จํานวน 50 เลม 12,500

- คา นํ้ามันเช้อื เพลิงรถยนตร าชการ (3 คัน X 1,000 บาท) 3,000

หมายเหตุ ขอถัวจายทกุ รายการ

7. การวิเคราะหความเสยี่ งของโครงการ
7.1 ความเส่ยี ง
บุคลากรสํานักงานศึกษาธิการภาค สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ครู/นักเรียน/นักศึกษา ในพ้ืนท่ี

สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 5 เขา รว มกจิ กรรมไมครบตามเปาหมาย เนอื่ งจากสถานการณของโรคโควิด 19

61

7.2 การบรหิ ารความเส่ยี ง
มีการจัดประชมุ คณะทํางานฯ เตรียมความพรอม เพื่อวางแผนการดําเนินงานโดยใหทุกภาคสวนมีสวน

รวมในการดําเนนิ งานตามโครงการเพ่ือกําหนดแผนการดาํ เนินงานรว มกัน

8. ผูร ับผดิ ชอบโครงการ
นายธวชั ชยั เยาวนนุ กลมุ พัฒนาการศึกษา

9. ตวั ชว้ี ดั ความสําเรจ็ และคาเปา หมาย

ตัวชว้ี ัด เปาหมาย
300 คน
เชิงปริมาณ รอยละ 80
1. จํานวนบุคลากรสาํ นกั งานศึกษาธิการภาค 5 สาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวดั ในพน้ื ท่ี
รบั ผิดชอบ คร/ู นักเรยี น/นกั ศกึ ษา เขา รวมกิจกรรมปลุกจติ สํานึกความรกั ตอสถาบัน 1 แหลงเรยี นรู
ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ 
2. ผูเขา รว มโครงการฯ มคี วามพงึ พอใจตอการดาํ เนนิ งานโครงการสรา งและสงเสรมิ
ความเปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทดา นการศกึ ษาสกู ารปฏิบตั ิของสํานักงาน
ศึกษาธิการภาค 5 ไมนอยกวา รอยละ 80
เชิงคุณภาพ
1. ผูเขา รบั การอบรมมีความซาบซง้ึ ในพระมหากรณุ าธคิ ุณ และสามารถการนอมนาํ
พระบรมราโชบายดา นการศกึ ษา มาเปน หลักชยั ในการเปน พลเมืองดี
2. การนอมนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู ารปฏิบตั อิ ยา งเปนรปู ธรรม
“เศรษฐกิจพอเพยี ง ปนสขุ สํานักงานศกึ ษาศกึ ษาธิการภาค 5”

10. ผลทคี่ าดวา จะไดร ับ
10.1 ผูเขารวมโครงการฯ มีความตระหนักและมีเจตคติที่ดีตอบานเมือง มีโอกาสทําหนาที่เปน

พลเมืองดี และมีพื้นฐานชีวิตท่ีมั่นคงและมีคุณธรรม สามารถนําความรูไปตอยอดขยายผลในหนวยงาน/
ครอบครวั ตอ ไป

10.2 บุคลากรสํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 มีความรัก ความสามัคคี และมีความผกู พันภายในองคกร
มากยิ่งขนึ้

62

รายละเอียดโครงการที่ 7

โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษา เพ่อื พัฒนาการศึกษา
สํานกั งานศกึ ษาธิการภาค 5 ปงบประมาณ พ.ศ. 2564

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สอดคลองกับยทุ ธศาสตรชาติ : ยุทธศาสตรท ี่ 3 ดา นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย
สอดคลอ งกับแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาตฯิ : ประเด็นท่ี 12 การพัฒนาการเรียนรู
สอดคลอ งกบั แผนยอยของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติฯ : แผนยอยท่ี 3.1การปฏิรปู กระบวนการเรียนรู

ท่ีตอบสนองตอ การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21
สอดคลอ งตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอ ย : (1) ปรับเปล่ียนระบบการเรียนรสู าํ หรบั ศตวรรษที่ 21
สอดคลอ งกบั แผนปฏริ ูปประเทศ : ดานการศึกษา
สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตรท ี่ 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ชว งวัย

และการสรา งสังคมแหงการเรียนรู
สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตรแผนปฏิบัติราชการฯ ศธ. ป 2564 : ยุทธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคน

ทกุ ชวงวัยและการสรางสังคมแหงการเรยี นรู
สอดคลองกบั ยุทธศาสตร สป. : ยุทธศาสตรท ่ี 3 พัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษยใหม ี

คณุ ภาพ
1. หลักการและเหตผุ ล

ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ไดกําหนดเปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง
ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยางตอเนื่อง สังคมเปนธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน”
พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคณุ ภาพ สรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
สรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และมีภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชน
และประโยชนสวนรวม และแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ได
มีการกําหนดยุทธศาสตรและวางเปาหมายท่ีสามารถตอบสนองการพัฒนาท่ีสําคัญในดานตาง ๆ
คอื ยุทธศาสตรท่ี 1 ยุทธศาสตรพ ัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผล ทมี่ ุงหวังให
คน ไท ยมีคุณ ธรรมจริยธรรม มีภูมิคุมกันตอการเปล่ียนแป ลงและการพัฒ นาประเทศในอน าคต
ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในดานคุณภาพและดานการตอบโจทยบริบทที่เปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตรที่ 2
ยุทธศาสตรผลิต พัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา ที่มุงหวังใหมีการผลิตครูไดสอดคลอง
กับความตองการในการจัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถ
ใชศักยภาพในการสอนไดอยางเต็มท่ี ซ่ึงตอบสนองการพัฒนาในดานคุณภาพ ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรผลิต
และพัฒนากําลังคน รวมทั้งงานวิจัยท่ีสอดคลองกับความตองการของการพัฒนาประเทศ ที่มุงหวัง
ใหกําลังคนไดรับการผลิตและพัฒนาเพ่ือเสริมสรางศักยภาพการแขงขันของประเทศ และมีองคความรู
เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืนซึ่งตอบสนองการพัฒนาในดานคุณภาพ
และดานการตอบโจทยบริบทที่เปลี่ยนแปลง ยุทธศาสตรท่ี 4 ยุทธศาสตรขยายโอกาสการเขาถึงบริการ
ทางการศึกษาและการเรียนรูอยางตอเนอ่ื งตลอดชีวติ ท่ีมุงหวังใหการบรกิ ารการศกึ ษาแกผเู รียนทกุ กลมุ ทุกวัยใน
ระดับที่เหมาะสมกับสภาพบริบทและสภาพพ้ืนท่ี ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในดานการเขาถึงการใหบริการและ
ดานความเทาเทียม ยุทธศาสตร 5 ยุทธศาสตรสงเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศึกษา

63

ท่ี มุ ง ห วั ง ให ค น ไ ท ย ได รั บ โ อ ก า ส ใน ก า ร เรี ย น รู อ ย า ง ต อ เน่ื อ ง ต ล อ ด ชี วิ ต โ ด ย ใช เท ค โ น โล ยี ส า ร ส น เท ศ
ซ่ึงตอบสนองการพัฒนาในดานการเขาถึงการใหบริการ ดานความเทาเทียม และดานประสิทธิภาพ
และยุทธศาสตร 6 ยุทธศาสตรพัฒนาระบบบริหารจัดการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการ
จัดการศึกษา ทม่ี ุงหวังใหมีการใชทรัพยากรท้ังดานงบประมาณและบุคลากรไดอยางคุมคา ไมเกิดการสูญเปลา
และมีความคลองตัว ซ่ึงตอบสนองการพัฒนาในดานประสิทธิภาพ ซึ่งจากรายงานสรุปผลการดําเนินการตาม
ยุทธศาสตรชาติ ประจําป 2562 พบวา ในแผนแมบทดานการพัฒนาการเรียนรู ซึ่งมีเปาหมายใหวัยเรียน
วัยรุน มีความรูและทักษะในศตวรรษท่ี 21 ครบถวน รูจักคิดวิเคราะห รกั การเรียนรู มีสาํ นึกพลเมือง มีความ
กลาหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแกปญหา ปรับตัว ส่ือสารและทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางมี
ประสิทธิผลตลอดชีวิตดีข้ึน ผลการประเมินดานทักษะ อยูท่ี 62.30 คะแนน ต่ํากวาป 2561 ซึ่งผลการ
ประเมินอยูท่ี 63.00 และจากรายงานวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอารไอ) พบวา ปญหาคุณภาพ
การศึกษาไทยสาเหตุหลักสวนหนึ่ง เกิดจากระบบการศึกษาไทยไมเอื้อตอการสรางความรับผิดชอบ
(Accountability) หลักสูตรและตําราเรียนของไทยไมสอดคลองกับการพัฒนาทักษะแหงศตวรรษท่ี 21
การทดสอบยังคงเนนการจดจําเนื้อหามากกวาการเรียนเพื่อใหมีความรูความเขาใจอยางแทจริง ซ่ึงกระบวนการ
บริหารจัดการศึกษาเปนสวนหน่ึงท่ีมีความสําคัญตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยตองอาศัยความรวมมือ
ของทุกภาคสวนท่ีเกี่ยวของเพ่ือสรางเครือขายการทํางานตามบริบทของพ้ืนท่ีในการรวมคิด รวมทํา
และประเมินผลอยางตอเน่ือง ตลอดจนการพัฒนากระบวนการทํางานและสรางนวัตกรรม ใหเหมาะสมสอดคลองกับ
สภาพบริบทและความตองการของพ้ืนที่เพ่ือรองรับการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูและทักษะในศตวรรษที่ 21
ผานกระบวนการบริหารจัดการศึกษา 3 กระบวนการ คือ กระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการ
จัดการเรยี นการสอน และกระบวนการนิเทศการศกึ ษา

ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดทาํ โครงการ IFTE (Innovation
For Thai Education) ซ่งึ เปนโครงการตอเนอ่ื ง โดยการนําผลการวิเคราะหแ ละการวิจยั การพัฒนารูปแบบและ
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและผลการวิเคราะหและการวิจัยแนวทาง
การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบรหิ ารการจัดการศึกษา จากโครงการ TFE (Teams For Education)
และโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา จากปงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563
มาสรุปหลอมรวมและใชในการวางแผนในการพัฒนาการศกึ ษาและหนวยงานทางการศึกษา เพ่ือสรางและพัฒนา
เครือขายความรวมมือของบุคลากรในทุกภาคสวนสรางนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในดาน
กระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศึกษาเพื่อ
ยกระดับคณุ ภาพของผูเรยี นในดานทักษะการเรยี นรู ทักษะอาชพี และทกั ษะชีวิตในศตวรรษ ท่ี 21

สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ในฐานะหนวยงานทางการศึกษาที่ปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ
ในระดับพื้นที่ทําหนาท่ีขับเคล่ือนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัดโดยอํานวยการ สงเสริม สนับสนุน
และพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือและบูรณาการกับหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานอ่ืน
หรือภาคสวนท่ีเกี่ยวของในพื้นที่ จึงไดจัดทําโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา
เพ่ือพัฒนาการศึกษา สํานกั งานศึกษาธิการภาค 5 ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพ่ือสรางเครือขายความ
รวมมือการพัฒนาคุณภาพการศึกษารวมกับสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบในการสงเสริม สนับสนุน
และพัฒนาการบริหารจัดการศกึ ษา การจดั การเรียนการสอน และการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการบริหาร
การจัดการศึกษาสูการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและการเตรียมผูเรียนใหสอดคลองกับทักษะแหง
ศตวรรษที่ 21 ตอไป

64

2. วตั ถปุ ระสงค
1. เพอ่ื ใหม ีศนู ยกลางขอมลู สารสนเทศ นวตั กรรม และการวิจัยทางการศกึ ษาระดับจังหวัด
2. เพื่อสงเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู และถายทอดองคความรูเก่ียวกับ รูปแบบ/แนวทาง

การพฒั นาการจัดการเรยี นรู
3. เพื่อวิเคราะห/วิจัยแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล การบริหารการจัดการศึกษา

ในระดบั จงั หวดั ในพืน้ ที่ของสาํ นกั งานศึกษาธิการภาค 5
4. เพ่ือสงเสริม สนับสนุน พัฒนาใหสถานศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ

ขั้นพนื้ ฐานผานเกณฑเ พิ่มขน้ึ

3. กลุมเปา หมาย
หนว ยงานทางการศกึ ษาและสถานศกึ ษาในพ้ืนที่รับผิดชอบของสาํ นักงานศกึ ษาธิการภาค ๕

4. วธิ ีดําเนนิ การ /ขัน้ ตอนดาํ เนินการ

ท่ี กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1. ประชุมชแ้ี จงการดําเนินงานโครงการ/รบั นโยบาย

2. จัดทาํ โครงการเสนอขออนมุ ตั ิงบประมาณ

3. แตงต้งั คณะทาํ งาน/ประชุมชีแ้ จงการดําเนินการโครงการ

จดั ทําศนู ยกลางขอมูลสารสนเทศ นวตั กรรม
4. และงานวิจัยทางการศึกษาระดบั ภาค

5. กาํ กับติดตามการดําเนินงาน IFTE ระดบั จังหวดั ใน

พ้ืนที่

6. จัดกจิ กรรมนําเสนอเพื่อคดั เลือกนวตั กรรม

การปฏบิ ัติท่ีดี (Best Practice) ระดบั ภาค

7. เขารว มแลกเปลี่ยนเรียนรรู ะดบั ประเทศ

8. สรปุ ผล/รายงานผลการดาํ เนนิ งานโครงการและเผยแพร

5. ระยะเวลาและสถานที่ดาํ เนินการ :
ธันวาคม 2563 - กนั ยายน 2564

6. งบประมาณ
งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 แผนงานยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุนดาน

การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
กิจกรรมขับเคลื่อนนโยบายดานการศกึ ษา งบรายจายอื่น รายการคาใชจายโครงการ Innovation For Thai
Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษา เพอื่ พัฒนาการศกึ ษา จํานวน 15,000 บาท (หนง่ึ หม่ืนหา พันบาทถว น)

65

กิจกรรม หว งระยะเวลาการดําเนนิ งานและงบประมาณ ผรู บั ผิดชอบ

1. ประชุมชแี้ จงการ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 น.ส.กฤตพร เกื้อเพชร
ดาํ เนนิ งานโครงการ/ รบั
นโยบาย (งบประมาณ) (งบประมาณ) (งบประมาณ) (งบประมาณ) ผรู ับผดิ ชอบ

กจิ กรรม 5,000 - - - น.ส.กฤตพร เก้อื เพชร
คณะทาํ งาน ศธภ.5และ
2.จัดทาํ โครงการเสนอขอ หวงระยะเวลาการดาํ เนินงานและงบประมาณ
อนุมตั งิ บประมาณ ศธจ. ในพื้นท่ี
3. แตง ตง้ั คณะทาํ งาน/ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
ประชมุ ชีแ้ จงการ (งบประมาณ) (งบประมาณ) (งบประมาณ) (งบประมาณ) น.ส.กฤตพร เกือ้ เพชร
ดาํ เนินการโครงการ และคณะทาํ งานขอมูล
4. จดั ทําศนู ยกลางขอมลู - --- สารสนเทศ ศธภ. 5
สารสนเทศ นวตั กรรม
และงานวิจยั ทางการศึกษา - 2,000 - - น.ส.กฤตพร เก้ือเพชร
ระดบั ภาค และ
5. กํากับตดิ ตามการ - 3,000 - -
ดําเนินงาน IFTE ระดับ กลุมพฒั นาการศึกษา
จงั หวดั ในพน้ื ท่ี - 5,000 - - และคณะทาํ งาน
6. จดั กิจกรรมนําเสนอ/
คดั เลอื กนวัตกรรมการปฏิบัติ รอการจดั สรรงบประมาณเพ่ิมเติม (งวดที่ 2)
ทด่ี ี (Best Practice) ระดับ
ภาค รอการจดั สรรงบประมาณเพิ่มเติม (งวดท่ี 2)
7. เขารวมกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรยี นรู รอการจดั สรรงบประมาณเพ่ิมเติม (งวดท่ี 2)
ระดบั ประเทศ
8. สรุปผล/รายงานผล 5,000 10,000 - -
การดาํ เนนิ งานโครงการ
และเผยแพร
รวมท้ังส้ิน

หมายเหตุ ถวั จา ยทกุ รายการ

66

7. การวเิ คราะหความเสีย่ งของโครงการ
7.1 ความเสย่ี ง
1. สถานศึกษาในกลุมเปาหมายสวนใหญไมไดอยูภายใตการกํากับ ดูแลของสํานักงาน

ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เปนปญ หาในการขบั เคล่อื นสูเปา หมายที่กําหนด
2. สถานการณการแพรระบาดระลอกใหมของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนาสายพันธุใหม (โควิด-19) ทํา

ใหการดาํ เนินงานโครงการไมส ามารถเปน ไปไดต ามท่ีกาํ หนด
7.2 การบริหารความเส่ยี ง
ใชก ลไก กศจ. ในการบรหิ ารจดั การ

8. ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ

กลมุ ทีร่ บั ผิดชอบ : กลมุ พัฒนาการศกึ ษา
ผรู บั ผิดชอบ: นางสาวกฤตพร เก้อื เพชร นกั วชิ าการศกึ ษา

9. ตัวช้วี ัดความสาํ เรจ็ และคา เปา หมาย

เชิงปริมาณ ตัวชวี้ ดั คา เปาหมาย
-
1. มศี นู ยกลางขอมลู สารสนเทศทางการศึกษาในระดับภาค
ดานขอ มูล O-NET นวัตกรรมการศกึ ษา และวิจยั ทางการศกึ ษา อยางนอย 1 รปู แบบ
2. มีรูปแบบ/แนวทางการพฒั นานักเรียนหรอื แนวทางการพัฒนา
การจัดการเรียนรูระดับภาค อยา งนอย 1 รปู แบบ
3. มรี ปู แบบ/แนวทางการการบริหารการจัดการศึกษา

3. มรี ปู แบบ/แนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหาร อยางนอย 1 รปู แบบ

การจัดการศกึ ษา /นวตั กรรมการนเิ ทศระดบั ภาค

4. รายงานผลการดาํ เนินงานโครงการ 1 เลม

เชงิ คณุ ภาพ 1. มขี อมลู สารสนเทศทางการศึกษามคี วามครอบคลมุ ชัดเจน เปนปจจุบัน สามารถนาไปใช
ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ

2. จังหวัดในพ้นื ที่รบั ผดิ ชอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 สามารถนาํ รูปแบบ/แนว
ทางการนิเทศ / นวตั กรรมการนิเทศ ทส่ี อดคลองกับสภาพบรบิ ท และความตองการ
ของแตละจังหวดั ไปใชในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

3. รอยละของผูเรียน มีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐานแตล ะวิชา
ผา นเกณฑเพิ่มขึน้

10. ผลที่คาดวา จะไดรับ
1. มีศูนยกลางขอมลู สารสนเทศ นวัตกรรม และการวจิ ัยทางการศกึ ษาระดับภาคใตฝงอา วไทย
2. มีนวัตกรรมดานการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู การนิเทศ ติดตามและประเมินผล เพื่อพัฒนา

คุณภาพการศึกษาที่หลากหลายในระดับจงั หวดั และระดบั ภาค
3. ผลการวิเคราะห สังเคราะห วิจัยจากการพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู

การนิเทศ ติดตามและประเมินผล เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในระดบั จังหวัดและระดับภาค

67

4. มเี ครอื ขายความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในระดบั จังหวดั และระดับภาค
5. มีการสงเสริม สนับสนุน พัฒนาใหสถานศึกษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ข้ันพนื้ ฐานผา นเกณฑเ พิม่ ขึน้

68

รายละเอียดโครงการที่ 8

โครงการสง เสริม สนบั สนุนแนวทางการพฒั นาการดําเนินการทางวินยั การอทุ ธรณ และการรองทกุ ข
ของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในพ้นื ท่ีรับผิดชอบของสํานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 5
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ : ดานยทุ ธศาสตรท ี่ 3 ดานการพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพ
ทรพั ยากรมนุษย

สอดคลองกบั แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ : ดา นการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชวงชีวติ
สอดคลองกับแผนยอยของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ : 3.1 แผนยอยการสรางสภาพแวดลอมท่ีเอื้อ

ตอการพฒั นาและเสริมสรางศกั ยภาพมนษุ ย
สอดคลองกบั แนวทางการพัฒนาของแผนยอย : 3.1.1 (2) สง เสรมิ บทบาทการมสี ว นรวมของภาครัฐ

ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถน่ิ ครอบครัว และชมุ ชนในการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย ฯ
สอดคลอ งกบั แผนปฏริ ปู ประเทศ : ดา นการศึกษา
สอดคลอ งกับยุทธศาสตรก ระทรวงศึกษาธกิ าร : ยุทธศาสตรท่ี 2 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
สอดคลอ งกับยุทธศาสตรแผนปฏิบตั ิราชการ ฯ ศธ.ป 2564 : ยุทธศาสตรท่ี 5 การพัฒนาประสทิ ธิภาพของ

ระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา
สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตร สป. : ยุทธศาสตรท ่ี 2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

1. หลักการและเหตุผลความจําเปน
ตามคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติที่ 19/2560 เร่ือง การปฏิรูปการศึกษา

ในภูมิภาคของกระทรวงศกึ ษาธิการ ลงวันท่ี 3 เมษายน 2560 ขอท่ี 5 ใหมีสํานักงานศกึ ษาธิการภาคจํานวน
18 ภาค สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการในระดับพ้ืนท่ี
ทําหนาท่ขี ับเคลอ่ื นการศึกษาในระดับภาคและระดับจังหวัดโดยการ อํานวยการ สง เสริม สนับสนนุ และพัฒนา
การศึกษาแบบรวมมือและบูรณาการกับหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และ ประกาศสํานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบงหนวยงานภายในสํานักงานศึกษาธิการภาคและสํานักงานศึกษาธิการ
จังหวัด สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศ ณ วันท่ี 11 เมษายน พ.ศ. 2560 กําหนดให
สํานักงานศกึ ษาธิการภาคมีหนาท่ีสนับสนุน ประสาน และพิจารณาใหความเห็นเก่ียวกับการบริหารงานบุคคล
ของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาของ กศจ. และ อกศจ. ในพื้นท่ีรับผดิ ชอบ โดยเฉพาะในสวนของ
การดําเนินการทางวินัย อุทธรณ และรองทุกข ของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซ่ึงมีการแกไข
เปลยี่ นแปลงระเบียบกฎหมายทเี่ ก่ียวของ สํานกั งานศกึ ษาธิการภาค 5 เห็นความสําคัญของการสง เสรมิ ความรู
เขาใจแนวปฏิบัติการดําเนินการทางวินัย การอุทธรณและการรองทุกขของขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาจึงจัดทําโครงการสงเสริม สนับสนุนแนวทางการพฒั นาการดําเนินการทางวินัย การอทุ ธรณและการรอง
ทุกขของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือใหเปนการสรางการรับรู ความเขาใจ ข้ันตอนและ
มาตรฐานในการดําเนินการทางวินัย การอุทธรณและการรองทุกขของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดและ
สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาในพื้นท่ีรับ ผิด ช อ บ ข อ งสํา นัก งาน ศึกษาธิการภาค 5 เพ่ือใหดําเนินการ
ไปในทิศทางเดียวกัน และสอดคลองกับมาตรฐานท่ีสํานกั งานคณะกรรมการขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษากาํ หนด

69

2. วัตถปุ ระสงค
2.1 เพ่ือใหสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สํานักงานศึกษาธิการภาค และสํานักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษาในพ้ืนท่ีมีความรูความเขาใจแนวปฏิบัติการดําเนินการทางวินัย การอุทธรณและการรองทุกขของ
ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

2.2 ผูเขารว มประชุมมีความชัดเจนในขั้นตอน รูปแบบและแนวทางในการดําเนินการทางวินัย
การอุทธรณและการรองทุกขของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสํานักงาน
ศึกษาธิการภาค 5

3. กลมุ เปา หมาย
3.1 เปา หมายเชงิ ปริมาณ รวม 70 คน
(1) บุคลากรของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาในพื้นท่ี

รับผิดชอบของสาํ นักงานศกึ ษาธิการภาค 5 จํานวน 50 คน
(2) บุคลากรในสาํ นักงานศึกษาธกิ ารภาค จาํ นวน 20 คน

3.2 เปาหมายเชิงคุณภาพ
บุคลากรของสํานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดและสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีความรูความ

เขาใจแนวปฏิบัตกิ ารดําเนินการทางวินัย การอุทธรณและการรองทุกขของขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาในทิศทางเดียวกัน และมีความชัดเจนในข้ันตอน และแนวทางในการดําเนินการทางวินัย การอุทธรณ
และการรอ งทกุ ขของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

4. วิธีดําเนนิ การ /ขั้นตอนดาํ เนินการ

ที่ วิธีดําเนินการ/ขัน้ ตอนการดําเนินการ ระยะเวลา ผูรบั ผดิ ชอบ
กลุม บริหารงานบุคคล
1 กําหนดแผนงานและรายละเอยี ดโครงการ พ.ย. – ธ.ค. 2563
เสนอขออนมุ ตั โิ ครงการ กลมุ บริหารงานบุคคล
กลมุ บริหารงานบุคคล
2 ประสานวทิ ยากรและสถานท่ีในการจดั ประชมุ พ.ย. – ธ.ค. 2563 กลุมบรหิ ารงานบุคคล

3 ดําเนนิ การตามโครงการ ธ.ค. 2563 – ม.ค. 2564

4 รายงานผลการดาํ เนนิ โครงการ ม.ค. – มี.ค. 2564

5. ระยะเวลาและสถานที่ดาํ เนินการ

- ระยะเวลาดําเนินการ
พ.ย. 2563 – มี.ค. 2564
- สถานท่ดี ําเนนิ การ

พื้นท่ีในความรับผดิ ชอบของสํานกั งานศกึ ษาธิการภาค 5

70

6. งบประมาณ (งบรายจายอน่ื ) เปน เงนิ จาํ นวน 50,000 บาท พรอมระบุรายละเอียดงบประมาณ

รายการ งบประมาณ (บาท)
กิจกรรม จัดประชุมโครงการสงเสรมิ สนบั สนุนแนวทางการพฒั นาการดาํ เนินการทาง
วินัย การอุทธรณแ ละการรองทกุ ขของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 7,000
21,000
- คาอาหารวา งและเครื่องดื่ม ( 50 บาท X 2 มือ้ X 70 คน ) 1,400
- คา อาหาร กลางวนั ( 300 บาท X 1 ม้ือ X 70 คน ) 3,000
- คาทพ่ี ักวิทยากร ( 1,400 บาท X 1 วัน X 1 คน ) 5,400
- คา พาหนะของวิทยากร ( ไป – กลบั )
- คาตอบแทนวิทยากร (บุคคลภายใน) ( 600 บาท X 3 ชม. X 1 คน) 4,200
- คา ตอบแทนวิทยากร (บคุ คลภายนอก) ( 1,200 บาท X 3 ชม. X 1 คน) 8,000
- คา วัสดโุ ครงการ 50,000
- คาจดั ทาํ เอกสารประกอบการประชุม และจัดทําเลมรายงานโครงการ

รวมท้ังสนิ้
หมายเหตุ ถัวจายทกุ รายการ

7. การวิเคราะหความเส่ยี งของโครงการ
7.1 ความเสี่ยง : ผเู ขารวมโครงการติดภารกิจในวันทด่ี าํ เนินโครงการ
7.2 การบริหารความเส่ยี ง : แจงผเู ขา รวมโครงการทราบลวงหนาอยา งนอย 2 สัปดาห

8. หนว ยงานรับผิดชอบ กลมุ บริหารงานบุคคล สํานกั งานศกึ ษาธิการภาค 5
9. ตัวช้ีวัดความสําเร็จและคา เปาหมาย

ตวั ช้ีวัด เปาหมาย

เชงิ ปรมิ าณ

ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาในพื้นที่ มีผูรวมประชุมไมน อยกวา รอยละ 90

รบั ผดิ ชอบสาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5 ไดแ ก

สาํ นกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดและสาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ี

การศกึ ษาในพ้ืนท่รี ับผิดชอบ และบุคลากรใน

สํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5 มี จาํ นวน 70 คน

เชิงคณุ ภาพ

(1) ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ (1) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดและสํานักงานเขต

มีความรูในการดําเนินการทางวินัยการอุทธรณและ พื้นที่การศึกษามีความรูความเขาใจแนวปฏิบัติการ

การรอ งทกุ ข ดําเนินการทางวินัย การอุทธรณและการรองทุกข

(2) การดําเนินการทางวินัย การอุทธรณ และการ ของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
รองทกุ ขใ นพนื้ ทไี่ ดรับการแกไขปญ หา (2) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดและสํานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษามีความชัดเจนในขั้นตอน รูปแบบ

และแนวทางในการดําเนินการทางวินัย การอุทธรณ

และการรองทุกขของขาราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา

71

10. ผลที่คาดวาจะไดรบั
10.1 บุคลากรของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สํานักงานศึกษาธิการภาค และสํานักงาน

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาในพืน้ ท่มี ีความรูความเขาใจแนวปฏิบัติการดําเนินการทางวินยั การอทุ ธรณแ ละการรอ งทกุ ข
ของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

10.2 การดําเนินการทางวินัย การอุทธรณและการรองทุกขของขาราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษาในพน้ื ท่ีรับผดิ ชอบมีข้ันตอนและแนวทางชดั เจนขึน้

72

รายละเอยี ดโครงการที่ 9

โครงการพฒั นาบุคลากรของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตรชาติ : ยทุ ธศาสตรท ี่ 6 การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
สอดคลองกบั แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ : ประเด็นที่ 20 การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธิภาพ

ภาครฐั
สอดคลอ งกบั แผนยอยของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติ : การสรา งและพฒั นาบคุ ลากร
สอดคลองตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอย : 3. พัฒนาบคุ ลากรภาครฐั ทุกประเภทใหม ีความรคู วามสามารถสูง

มที ักษะการคิดวิเคราะห และการปรับตวั ใหทนั ตอการเปล่ียนแปลงหลักฐานเชิงประจกั ษ
สอดคลองกบั แผนปฏิรปู ประเทศ : ดา นการศึกษา
สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตรกระทรวงศึกษาธกิ าร : ยทุ ธศาสตรที่ 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหาร

จัดการศกึ ษา
สอดคลองกับยทุ ธศาสตรแผนปฏบิ ัติราชการฯ ศธ. ป 2564 : ยุทธศาสตรท่ี 6 การพัฒนาประสทิ ธิภาพของ

ระบบบรหิ ารจัดการศึกษา
สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร สป. : พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการใหมปี ระสิทธิภาพ

1. หลกั การและเหตุผล
ตามคําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 19/2560 เร่ืองการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค

ของกระทรวงศึกษาธกิ าร สั่ง ณ วันที่ 3 เมษายน 2560ขอ 5 ใหมีสํานักงานศึกษาธิการภาค สังกัดสาํ นักงาน
ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาในพื้นท่ี ทาํ หนาท่ีขับเคล่ือนการศึกษาในระดับ
ภาคและจังหวัดโดยการอํานวยการ สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือและบูรณาการ
กับหนวยงาน ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานอื่นหรือภาคสวนที่เกี่ยวของในพ้ืนท่ีนั้น ๆ มีอํานาจ
หนาที่ ดังน้ี 1) กําหนดยุทธศาสตรและบทบาทการพัฒนาภาคใหเชื่อมโยงและสอดคลองกับทิศทางการพัฒนา
ประเทศ นโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการ และยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด
2) สนับสนุนการพัฒนาจังหวัดเกี่ยวกับงานดานวิชาการ การวิจัยและพัฒนา3) กํากับดูแล ติดตาม และ
ประเมินผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด 4) สนับสนุนการตรวจราชการและติดตาม
ประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการในพื้นท่ีและ 5) ประสานการ
บริหารงานระหวางราชการสวนกลางและสวนภูมิภาคใหเกิดการพัฒนาอยางบูรณาการในระดับพื้นท่ีของ
จังหวัดซ่งึ ความสําเรจ็ ของภารกิจ ตามหนาที่ดังกลาวขางตน จะสําเร็จลลุ วงไดมากนอยพียงใดจะขึ้นอยูกับบุคลากร
ของสํานักงานศึกษาธิการภาคเปน ส่ิงสาํ คญั

นอกจากอํานาจหนาที่ของสํานักงานศึกษาธิการภาค ตามคําสั่งของหัวหนาคณะรักษาความสงบ
แหงชาติดังกลาวขางตนแลว สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ยังไดกําหนดแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
ขาราชการของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ.2562-2565) โดยมีประเด็นยุทธศาสตร จํานวน
3 ยุทธศาสตร คือ 1) พัฒนาระบบสมรรถนะขาราชการ ขาราชการครู และบุคลากรการศกึ ษา 2) พัฒนาภาวะ
ผูนํารองรับการเปล่ียนแปลงสูรัฐบาลดิจิทัล และการทํางานในศตวรรษท่ี 21 3) พัฒนาคุณภาพชีวิต
ความสมดลุ ระหวา งชวี ติ กับการทํางาน และสรางการเรียนรูอยางยง่ั ยืน

73

สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 เล็งเห็นถึงความสําคัญของบุคลากร ซ่ึงเปนฟนเฟองที่สําคัญ ในการ
ดําเนินงาน ตามภารกิจ และหนา ของหนวยงานใหสําเร็จไดบุคลากรจําเปนตองไดรับการพัฒนาดานสมรรถนะ
ความรู รางกายและจิตใจเพ่ือรองรับภารกิจในปจจุบันและการเปลี่ยนแปลงในอนาคตโดยมุงเนนใหมี
คุณลักษณะตามสมรรถนะหลัก ทักษะที่จําเปน รวมไปถึงคุณลักษณะการเปนผูนําการเปล่ียนแปลงมีความเปนมืออาชีพ
ความเปนนานาชาติ และความเปนผูสนับสนุนภาคสวนตาง ๆ ตอไปสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 จึงไดจัดทํา
โครงการพัฒนาบุคลากรของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 นี้ข้ึน

2. วตั ถุประสงค

2.1 เพื่อใหบุคลากรในหนวยงานไดรับการพัฒนาทักษะท่ีเกี่ยวของและเปนประโยชนสําหรับการ
ปฏิบตั งิ านตามภารกิจ บทบาท หนา ท่ี ไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

2.2 เพ่ือใหบุคลากรในหนวยงานเกิดความรัก ความสามัคคี ระหวา งเพื่อนรวมงานและสามารถบูรณาการการ
ทาํ งานรว มกบั หนว ยงานอ่ืน ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ

2.3 เพ่ือศกึ ษาดูงานในแหลง เรยี นรูต าง ๆ เพอื่ นาํ มาปรับใชในบรบิ ทงานของสาํ นกั งานศกึ ษาธิการภาค 5

3. เปาหมาย
เชงิ ปรมิ าณ :
บคุ ลากรสงั กดั สํานกั งานศกึ ษาธิการภาค 5 จาํ นวน 26 คน
เชงิ คณุ ภาพ :

บุคลากรสาํ นกั งานศึกษาธิการภาค 5 ท่เี ขา รว มโครงการมีความพึงพอใจ ไมน อยกวา รอยละ 80

4. วิธดี ําเนินการ /ขนั้ ตอนการดาํ เนินงาน
4.1 จัดทําโครงการเพื่อเสนอขออนมุ ัติ
4.2 แตง ตั้งคณะกรรมการดาํ เนินงาน
4.3 ประชมุ คณะกรรมการเพ่ือวางแผนการดําเนินงาน
4.4 ประชุมชแ้ี จงใหบุคลากรรบั ทราบ
4.5 ประสานงานกับหนว ยงานและบุคลากรท่ีเกย่ี วขอ ง
4.6 ดาํ เนนิ การกจิ กรรมโครงการ
4.7 ประเมนิ ผลโครงการ
4.8 รายงานผลการดําเนินงานโครงการ

5. ระยะเวลาดําเนนิ การ :

มกราคม – เมษายน 2564

6. งบประมาณ
คาใชจายในการอบรม และศึกษาดูงาน จํานวน 2 วัน โดยมีผูเขารวมโครงการ จํานวน 26 คน

เปนเงนิ ท้งั ส้นิ 68,000.-บาท (หกหมืน่ แปดพันบาทถวน)
แผนงานพ้ืนฐานดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน ผลผลิตนโยบายและแผนดานการศึกษา

กิจกรรมการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในสวนภูมิภาค งบรายจายอ่ืน คาใชจายโครงการพัฒนาศักยภาพ
บุคลากรของสํานักงานศึกษาธิการภาค จํานวนเงิน 68,000.- บาท (หกหมื่นแปดพันบาทถวน) รายละเอียด
ดงั นี้

74

1. คา เบ้ียเลี้ยง 26 คน x 240 บาท x 1 วัน เปนเงนิ 6,240 บาท

2. คา อาหารวางและเคร่ืองดม่ื 26 คน x 50 บาท x 4 ม้ือ เปน เงนิ 5,200 บาท

3. คา อาหารกลางวัน 26 คน x 300 บาท x 2 วัน เปนเงิน 15,600 บาท

4. คา อาหารเยน็ 26 คน x 350 บาท x 1 วัน เปน เงนิ 9,100 บาท

5. คา น้ํามนั รถ 3 คนั x 1,500 บาท x 2 วัน เปน เงนิ 9,000 บาท

6. คา ท่พี ัก 13 หอง x 1,600 บาท 1 คืน เปน เงิน 20,800 บาท

7. คาจางทําปายไวนลิ โครงการ 1 ปา ย x 1,000 บาท เปนเงนิ 1,000 บาท

8. คา วัสดสุ าํ นกั งาน เปนเงนิ 1,060 บาท

หมายเหตุ ถัวจายทกุ รายการ

7. การวิเคราะหความเส่ยี งของโครงการ

ประเดน็ ความเสย่ี ง บคุ ลากรมีภารกิจอื่นเรง ดวน อาจไมส ามารถเขารว มไดต ามเปา หมายที่กําหนดไว

แนวทางการบรหิ ารความเส่ียง กําหนดระยะเวลาการดําเนินกิจกรรม ไวลว งหนาใหชดั เจน

8. ผูรบั ผิดชอบโครงการ
1. กลมุ อาํ นวยการ
2. นายวิธวนิ ทว ิชญ เนาวนนท
3. นางสาววรณนั เนาวศิริกลุ

9. ตัวชว้ี ดั ความสาํ เรจ็ และคา เปา หมาย

ตัวชวี้ ดั เปาหมาย

เชงิ ปริมาณ 26 คน
จาํ นวนบคุ ลากรสาํ นักงานศกึ ษาธิการภาค 5 ที่เขา รวมโครงการ ไมน อ ยกวารอยละ 80

เชิงคุณภาพ
รอ ยละความพงึ พอใจของบุคลากรสํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5

10. ผลที่คาดวาจะไดรบั
บุคลากรสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ไดรับการพัฒนาในการเสริมสรางความรู ทักษะที่เก่ียวของ

และเปนประโยชน สามารถนําไปสูการปฏิบัติงานตามภารกิจ บทบาท และหนาที่ใหกับสํานักงานศึกษาธิการ
ภาค 5 ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพตลอดจนบุคลากรมคี วามรกั ความสามคั คี ระหวา งเพ่ือนรวมงานและองคกร

75

รายละเอยี ดโครงการท่ี 10

โครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอดุ มศกึ ษาในพ้ืนทสี่ ํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5 ประจําปงบประมาณ
พ.ศ. 2564
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตรชาติ : ยุทธศาสตรที่ 3 ดา นการพัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย
สอดคลองกับแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติฯ : ประเด็นที่ 12 การพฒั นาการเรียนรู
สอดคลองกับแผนยอยของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติฯ : แผนยอยท่ี 3.1 การปฏิรูปกระบวนการ

เรยี นรูทตี่ อบสนองตอ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
สอดคลองตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอย : 1) ปรับเปล่ยี นระบบการเรียนรสู ําหรับศตวรรษที่ 21 และ

4) พัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวติ
สอดคลองกับแผนปฏิรูปประเทศ : ดา นการศึกษา
สอดคลองกับยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตรท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และ

การสรา งสงั คมแหง การเรยี นรู
ยุทธศาสตรแผนปฏิบัติราชการฯ ศธ. ป 2564 : ยุทธศาสตรที่ 3 ผลิต พัฒนา และสรางเสริมศักยภาพ

กําลังคนใหมีความพรอ มรองรบั การพฒั นาประเทศ
ยุทธศาสตร สป. : ยุทธศาสตรท ่ี 3 การพฒั นาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ยใหม ีคณุ ภาพ

1. หลักการและเหตผุ ล

กระทรวงศึกษาธิการ เห็นความสําคัญของการเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาใหกับผูเรียนมีทางเลือก
เขาสูการศกึ ษาที่หลากหลาย โดยเฉพาะอยางย่ิงการใหผูเรียนในสายอาชีพท้ังผูเรียนในระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนยี บัตรวิชาชีพชนั้ สูง (ปวส.) สามารถเขาสูเสน ทางการศกึ ษาในระดบั อุดมศึกษาได
และเพ่ือใหการพัฒนาดานการศึกษา มีความตอเนื่องและเกิดความยั่งยืนในระยะยาวตอไป รวมทั้งมีความ
สอดคลองกับยุทธศาสตรก ารพฒั นาประเทศและอตุ สาหกรรมไทยแลนด 4.0

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดทําโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทํา
รู ป แ บ บ แ ล ะ ก ารพั ฒ น าห ลั ก สู ต รต อ เนื่ อ งเชื่ อ ม โย งก า รศึ ก ษ า ขั้ น พ้ื น ฐา น กั บ อ าชี วศึ ก ษ า แ ล ะอุ ด ม ศึ ก ษ า
เพื่อสงเสริมใหสถานศึกษาหรือหนวยงานการศึกษาในระดับภูมิภาคและจังหวัดมีนวัตกรรมที่จะสนับสนุน
การศกึ ษาที่ตอเนื่องเช่อื มระหวางการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่สอดคลองกับบริบทของ
พื้นที่ สามารถพัฒนาทักษะผูเรียนใหสอดคลอ งกับความตอ งการและบรบิ ททางการศกึ ษาในแตล ะสาขาวิชาชีพ
มีทักษะตอยอดในสถาบันอุดมศึกษาไดอยางมีประสทิ ธิภาพ โดยอาศัยกระบวนการการมีสว นรวมผา นเวทีและ
ประชาคม

สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ซึ่งหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจ
ในการกํากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นท่ีรับผิดชอบ
และสนับสนุนการพัฒนาจังหวัดในพื้นท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับงานดานวิชาการ การวิจัยและพัฒนา จึงเห็น
ความสําคัญในการพัฒนาหลักสูตรตอเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ซงึ่ เปน
แนวทางหนึ่งในการเพ่ิมสดั สว นผูเรียนสายอาชีวศึกษา จึงไดจัดทําโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการ

76

จัดทํารปู แบบและการพัฒนาหลักสูตรตอเน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาใน
พ้นื ทส่ี าํ นกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 5 ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ขน้ึ

2. วัตถุประสงค
2.1 เพื่อกํากับ ติดตาม และประเมินผลการพฒั นาหลักสูตรตอ เน่อื งเช่อื มโยงการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานกับ

อาชวี ศกึ ษากับอุดมศกึ ษาระดับจังหวัดในพ้ืนท่สี ํานักงานศึกษาธิการภาค 5
2.2 เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณและสรางความรวมมือในการพัฒนาหลักสูตรตอเน่ืองเช่ือมโยง

การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานกับอาชวี ศกึ ษากบั อดุ มศกึ ษาในพน้ื ทส่ี ํานักงานศึกษาธิการภาค 5

3. กลมุ เปาหมาย
สํานักงานศึกษาธิการจงั หวัดในพน้ื ที่สาํ นกั งานศึกษาธกิ ารภาค 5

4. วธิ ดี ําเนินการ/ขัน้ ตอนดําเนินการ

รายละเอียดการดําเนนิ กจิ กรรม ป พ.ศ. 2563 ป พ.ศ. 2564

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1. ศึกษา วเิ คราะหผ ลการดาํ เนนิ งาน

โครงการฯ ประจาํ ปงบประมาณ

พ.ศ. 2563

2. จดั ทาํ และเสนอโครงการเพ่ือขออนมุ ัติ

3. แตงตั้งคณะทํางานดําเนินโครงการฯ

4. ประชุมคณะทาํ งานเพื่อวางแผนการ

ดาํ เนนิ งาน

5. กาํ กับ ติดตาม และประเมนิ ผลการ

ดําเนินงานโครงการ ฯ ของสํานักงาน

ศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนท่ี

6. ประชมุ นําเสนอแลกเปล่ยี นเรียนรู

ระดับภาค

7. สรุปผลและจัดทํารายงานผลการดําเนิน

โครงการฯ ระดับภาค

8. รายงานผลการดาํ เนินงานโครงการเสนอ

ผูบริหารหนว ยงานทราบ รวมท้ังเผยแพร

ประชาสมั พันธใหหนวยงานทเี่ กี่ยวของ

5. ระยะเวลาและสถานทด่ี าํ เนินการ
- พฤศจิกายน 2563 - กันยายน 2564
- ณ สํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 และ สํานักงานศึกษาธิการจงั หวัดชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช

พัทลงุ และ สงขลา

6. งบประมาณ

งบประมาณจากแผนงานยุทธศาสตรเพ่ือสนับสนุนดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากร
มนุษย โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ย่ังยืน กิจกรรมการขับเคล่ือนนโยบายดานการศึกษา
งบรายจายอ่ืน รายการคาใชจายโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทํารูปแบบและการพัฒนา
หลักสูตรตอ เนื่องเช่ือมโยงการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศกึ ษา ไตรมาส 1 - 2 จาํ นวน 15,200 บาท

77

รายการ จํานวนเงิน (บาท)
2,200
กิจกรรมท่ี 1 ประชมุ คณะทํางานเพื่อวางแผนการดาํ เนินงาน กําหนดขอบขาย
กรอบแนวทาง แผนการดาํ เนินงาน และสรางความเขาใจรวมกัน โดยจัดประชมุ ปฏบิ ัติการ
จํานวน 1 วัน โดยมผี ูเขา รวมประชุม จํานวน 20 คน (ผานทางออนไลนบางสวน)

1. คา อาหารวา งและเคร่ืองดม่ื (10 คน x 50 บาท x 2 มอื้ ) = 1,000 บาท
2. คา อาหารกลางวัน (10 คน x 120 บาท x 1 มื้อ) = 1,200 บาท

กิจกรรมที่ 2 กาํ กับ ติดตาม และประเมนิ ผลการดาํ เนินงานโครงการ ฯ ของสาํ นักงาน 1,500

ศึกษาธิการจงั หวัดในพื้นท่ี
1. คา ถา ยเอกสารแบบตดิ ตามผลการดําเนนิ งานโครงการ ฯ
2. คา จดั สง เอกสาร

กิจกรรมท่ี 3 ประชุมนําเสนอแลกเปล่ยี นเรียนรรู ะดับภาค โดยมีผเู ขารวมประชมุ 3,700
จาํ นวน 40 คน (ผา นทางออนไลนบางสวน) 2,000

1. คา จดั ซื้อเกียรติบัตร จาํ นวน 500 บาท
2. คา จดั ซื้อกรอบเกียรตบิ ัตร (5 อัน) จาํ นวน 1,000 บาท
3. คา อาหารกลางวัน (10 คน x 1 มอื้ x 120 บาท) จํานวน 1,200 บาท
4. คา อาหารวางและเคร่ืองดม่ื (10 คน x 2 มื้อ x 50 บาท) จํานวน 1,000 บาท

กจิ กรรมที่ 4 จดั ทาํ เอกสารรายงานสรุปผลและเผยแพรหนวยงานทเ่ี ก่ียวของ

กิจกรรมท่ี 5 คาใชจายในการเดินทางไปราชการเพือ่ รวมการประชุมรายงานผลการดาํ เนินงาน 5,800
โครงการกับสว นกลาง

รวมทั้งสิ้น (หน่งึ หมื่นหาพันสองรอยบาทถวน) 15,200

หมายเหตุ ถัวจา ยทกุ รายการ

7. การวิเคราะหความเสยี่ งของโครงการ

7.1 ความเสี่ยง
สถานการณแพรร ะบาดโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทําใหการจัดประชมุ /อบรม

สัมมนา ดําเนินการไมไ ด/ ดําเนนิ การไดล าชา และ ผูเขา รว มการประชุมไมเปนไปตามเปาหมายทีก่ ําหนด
7.2 การบริหารความเสี่ยง
- ดาํ เนินงานในรูปแบบคณะทํางาน
- ใชสอ่ื เทคโนโลยี/Application มาใชในการประชมุ และการประสานงาน

8. ผรู บั ผิดชอบโครงการ
กลุมยทุ ธศาสตรก ารศกึ ษา สํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5

78

9. ตัวชว้ี ัดความสําเรจ็ และคา เปา หมาย เปาหมาย
5 หลักสตู ร
ตัวชี้วัด
1 เลม
เชงิ ปรมิ าณ
1. มีหลกั สูตรตอ เนอื่ งเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพืน้ ฐานกบั อาชีวศกึ ษาและอุดมศกึ ษาใน
ระดับจังหวัด
2. มรี ายงานผลการดําเนนิ งานโครงการสง เสริมเวทีและประชาคมเพอ่ื การจดั ทํารูปแบบ
และการพฒั นาหลักสูตรตอ เน่ืองเชือ่ มโยงการศึกษาขั้นพน้ื ฐานกับอาชีวศึกษาและ
อุดมศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในพื้นทสี่ ํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5
เชิงคุณภาพ
มีหลักสตู รตอ เน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพืน้ ฐานกบั อาชีวศึกษาและอดุ มศึกษาในระดับ
จงั หวดั ท่สี อดคลองกับบริบทของพน้ื ท่แี ละบรบิ ททางการศึกษาในแตละสาขาวชิ าชีพ

10. ผลทค่ี าดวา จะไดรบั
มีการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเช่ือมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาในระดับ

จังหวัดท่ีสอดคลองกับบริบทของพื้นท่ี สามารถพัฒนาทักษะผูเรียนใหสอดคลองกับความตองการและบริบท
ทางการศกึ ษาในแตล ะสาขาวิชาชีพ

79

รายละเอยี ดโครงการท่ี 11

โครงการการขับเคล่ือนยุทธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาสูการปฏบิ ัติระดับภาค (ภาค 5)
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สอดคลองกบั ยุทธศาสตรชาติ : ดา นยทุ ธศาสตรที่ 6 ดา นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
สอดคลองกับแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติฯ : ดานการบริการประชาชนและประสิทธภิ าพภาครัฐ
สอดคลองกบั แผนยอยของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติฯ : การบรหิ ารจดั การการเงินการคลงั
สอดคลองตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอ ย : จดั ทํางบประมาณตอบสนองตอเปา หมายตามยุทธศาสตรช าติ
สอดคลอ งกับแผนปฏิรปู ประเทศ : ดา นการศกึ ษา
สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตรก ระทรวงศึกษาธกิ าร : พัฒนาระบบบริหารจัดการและสง เสริมใหท กุ ภาคสว น

มีสวนรวมในการจดั การศกึ ษา
สอดคลองกับยุทธศาสตรแผนปฏบิ ตั ิราชการฯ ศธ. ป 2564 : ยุทธศาสตรก ารพฒั นาระบบบริหารจัดการให

มีประสิทธิภาพ
สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตร สป. : ยุทธศาสตรพัฒนาระบบบริหารจดั การใหมีประสิทธภิ าพ

๑. หลักการและเหตุผล
นายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา) มีแนวนโยบายและกําหนดวิสัยทัศน ใหกระทรวงศึกษาธิการ

นําไปกําหนดยุทธศาสตรเ พื่อการปฏริ ูปการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการไวว า “ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาท่ี
ดีขนึ้ มีประสทิ ธิภาพ ประสิทธิผล และลดความเหล่ือมลํ้าอยางท่วั ถึง ผลิตและพัฒนากําลังคนใหสอดคลองกับ
ความตอ งการและรองรับการพัฒนาประเทศ”จุดเนนของนโยบายกระทรวงศึกษาธิการจะดําเนินการตามแผน
ยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) เปนจุดเนนดานการศึกษาท่ีจะดําเนินการ 6 ดาน คือ
1) ความมั่นคง 2) การสรางความสามารถในการแขงขัน 3) การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากร
มนุษย 4) การสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) การสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรตอ
ส่ิงแวดลอม และ 6) การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตรการพัฒนา
การศึกษาระดับภาค จึงเปนแนวทางในการบรรลุจุดหมายของการพัฒนาการศกึ ษาในพื้นท่ี และสง่ิ ท่ีสําคัญย่ิง
ในการจัดทํายทุ ธศาสตร ท่ีจะตองกําหนดจุดหมายของการพัฒนาใหชัดเจน เพ่ือใหยุทธศาสตรท่ีไดออกมานั้น
ตรงตามความตองการ และดําเนินไปในทิศทางท่ีถูกตอง น่ันคือตองประกอบดวย การกําหนดพันธกิจ
(mission) วิสัยทศั น (vision) ประเด็นยุทธศาสตร (strategy issue) เปาประสงค (goal) ของแผนยุทธศาสตร
การสรางตัวช้วี ัด (Key Performance Identification) คาเปาหมาย (target) และกลยทุ ธ (strategy)

ตามคําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 19/2560 เร่ือง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค
ของกระทรวงศึกษาธิการ ใหจัดต้ังสํานักงานศึกษาธิการภาค มีอํานาจหนาที่ในการกําหนดยุทธศาสตรและ
บทบาทการพัฒนาภาคตาง ๆ ใหเช่ือมโยงและสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ทิศทางการดําเนินงาน
ของคณะกรรมการขับเคลอื่ นการปฏิรูปการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค นโยบาย ยุทธศาสตรของ
กระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด รวมท้ังการพัฒนาดานอื่น ๆ ในพื้นที่รับผิดชอบ
ตามศักยภาพและโอกาสของบุคคลและชุมชนในแตละพ้ืนที่ ดังน้ัน สํานักงานศึกษาธิการภาค 5
เห็นความสําคัญของการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการ ไปสูการปฏิบัติ ในระดับ
จังหวัดและกลุมจังหวัด ที่จําเปนตองวิเคราะหและประสานความเชื่อมโยงใหสอดคลองในการขับเคลื่อน
4 ระดับ ไดแก แผนการบริหารราช การแผนดิน /นโยบายของรัฐบาลและยุทธศาสตรชาติ (Agenda Based)
ยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการและองคกรหลัก (Function Based) ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด

80

(Cluster Based) และยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด (Area Based) รวมทั้ง นําสภาพปญหา ความตอ งการและ
ความเรงดวนของกลมุ จังหวัดมาเปนจุดเนนของการพัฒนาการศกึ ษา โดยมีเปาหมายสําคญั ท่ีจะตองขับเคล่ือน
นโยบายการปฏิรูปการศกึ ษาใหสําเร็จตามวัตถุประสงค จึงจําเปนตองมี การทบทวนหรือจัดทําแผนยุทธศาสตร
การพัฒนาการศึกษาของภาค รวมท้งั แผนปฏิบัตกิ ารประจําป เพ่ือใชเปนกรอบแนวทางในการพัฒนาการศึกษา
ของภาค

๒. วัตถุประสงค
1. เพื่อสรางกลไกการขับเคล่ือนยุทธศาสตรชาติ ยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาสูการปฏิบัติ

ในระดับภมู ภิ าคไดอยางเปน รปู ธรรม
2. เพอ่ื สอื่ สารนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศกึ ษาธิการสูการปฏิบัติในภมู ิภาค
3. เพ่ือกําหนดยุทธศาสตรแ ละบทบาทการพัฒนาภาคใหเชื่อมโยงและสอดคลองกับทิศทางการพัฒนา

ประเทศ นโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการ และยทุ ธศาสตรก ารพัฒนากลมุ จงั หวัด
4. เพื่อพัฒนาการศึกษาแบบรว มมือและบูรณการกับหนวยงานในกระทรวงศกึ ษาธิการ และหนวยงาน

อ่ืนหรอื ภาคสว นที่เกีย่ วของในพน้ื ที่

3. กลุมเปาหมาย
หนว ยงานทางการศกึ ษาในพ้ืนทร่ี บั ผิดชอบ

4. วธิ ดี าํ เนินการ/ข้ันตอนดําเนินการ
กจิ กรรมที่ 1 การส่ือสารยุทธศาสตรช าติ นโยบายและยทุ ธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการสกู าร

ปฏิบัติในภมู ิภาคดวยเศรษฐกิจพอเพยี งปน สขุ และพนื้ ทนี่ วัตกรรมทางการศกึ ษา
กจิ กรรมที่ 2 ขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรก ารพฒั นาการศึกษาสกู ารปฏบิ ตั ิ
กิจกรรมที่ 3 การสนบั สนุนการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรท เี่ กี่ยวขอ งของกระทรวงศกึ ษาธิการและ

หนวยงานที่เก่ียวของ

5. ระยะเวลาและสถานทดี่ ําเนินการ
ตุลาคม 2563 - กนั ยายน 2564 / สาํ นักงานศึกษาธกิ ารภาค 5

6. งบประมาณ

งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงานยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุน
ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาท่ีย่ังยืน
กิจกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในสวนภูมิภาค งบรายจายอ่ืน คาใชจายโครงการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาสูการปฏบิ ัติระดบั ภาค จํานวน 350,000 บาท โดยมกี ิจกรรม ดังน้ี

หมวดงบรายจาย งบประมาณ(บาท)
กิจกรรมที่ 1 การสือ่ สารยุทธศาสตรช าติ นโยบายและยทุ ธศาสตรของ 154,000

กระทรวงศึกษาธกิ ารสูก ารปฏบิ ัติในภูมิภาคดวยเศรษฐกิจพอเพียงปน สุข 146,000
และพ้นื ทีน่ วัตกรรมทางการศกึ ษา 50,000
กจิ กรรมท่ี 2 ขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาสูก ารปฏิบตั ิ
กจิ กรรมที่ 3 การสนับสนุนการขบั เคล่อื นยุทธศาสตรท ี่เกยี่ วขอ ง 350,000
ของกระทรวงศึกษาธกิ ารและหนวยงานท่ีเก่ียวของ

รวมท้ังสนิ้

หมายเหตุ ถัวจายทกุ รายการ

81

7. การวิเคราะหความเสีย่ งของโครงการ
7.๑ ความเส่ียง
ภาคเี ครอื ขา ยไมเ ห็นความสําคญั กับการมีสว นรวมในจัดทาํ แผนการจดั การศึกษาในพืน้ ที่อยางแทจรงิ
7.๒ การบรหิ ารความเสี่ยง
จดั ใหมเี วทีในการแลกเปลย่ี น แสดงความคิดเหน็ ตอการจดั ทํายุทธศาสตรก ารพฒั นาการศกึ ษาในพน้ื ท่ี

8. ผูรบั ผดิ ชอบโครงการ
กลมุ ยทุ ธศาสตรก ารศึกษา สํานกั งานศึกษาธิการภาค 5

9. ตวั ช้ีวดั ความสําเรจ็ และคา เปาหมาย

ตวั ช้วี ัด เปา หมาย

เชิงปรมิ าณ 1 ฉบับ
1. แผนยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค 5 1 ฉบบั
2. รายงานการขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตรการพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค 5 ไมน อ ยกวา รอยละ 80
3. บุคลากรที่เก่ยี วของในพน้ื ท่ีเขารวมกิจกรรมไมนอยกวา รอ ยละ 80
ของเปา หมายทัง้ หมด

เชงิ คุณภาพ
1. มีการส่ือสารยุทธศาสตรช าติ ยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาสูการ

ปฏิบัติในระดับภูมิภาคไดอยางเปนรูปธรรมมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน
สูงสดุ

2. กรอบทิศทางในการพัฒนาการศึกษาในพื้นที่ ใหเช่ือมโยงและ
สอดคลองกับทิศทางการพัฒ นาประเทศ นโยบายและยุทธศาสตรของ
กระทรวงศึกษาธิการ และยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัดแบบรวมมือ
และบูรณาการกับหนวยงานใน ศธ. และหนวยงานอ่ืนหรือภาคสวนที่เก่ียวของ
ในพื้นที่

๑0. ผลที่คาดวา จะไดรับ
ยุทธศาสตรและบทบาทการพัฒนาภาคใหเชื่อมโยงและสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศ

นโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการ และยทุ ธศาสตรก ารพัฒนากลมุ จังหวัด

82

รายละเอยี ดโครงการท่ี 12

โครงการขบั เคลือ่ นการบริหารจัดการการศกึ ษาในระดับภาคใตแ ละกลุมจังหวดั ในพ้ืนท่ี
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตรชาติ : ยุทธศาสตรท ี่ 6 ดา นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
สอดคลอ งกบั แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรช าตฯิ : ดานการบริการประชาชนและประสิทธภิ าพภาครฐั
สอดคลอ งกบั แผนยอยของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติฯ : การบรหิ ารจดั การการเงินการคลัง
สอดคลอ งตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอย : จดั ทํางบประมาณตอบสนองตอ เปา หมายตามยุทธศาสตรชาติ
สอดคลอ งกบั แผนปฏิรปู ประเทศ : ดา นการศกึ ษา
สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตรก ระทรวงศกึ ษาธกิ าร : ยุทธศาสตรพฒั นาระบบบริหารจัดการและสงเสริมใหทุกภาค

สวนมสี วนรว มในการจัดการศึกษา
สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตรแผนปฏบิ ตั ิราชการฯ ศธ. ป 2564 : พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการใหม ปี ระสิทธิภาพ
สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตร สป. : ยุทธศาสตรพ ฒั นาระบบบรหิ ารจดั การใหมปี ระสิทธิภาพ

1. หลกั การและเหตุผล

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กําหนดใหรัฐพึงจัดใหมียุทธศาสตรชาติเปน
เปาหมายการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือใชเปนกรอบในการจัดทําแผนตาง ๆ
ใหสอดคลองและบูรณาการกันเพื่อใหเกิดเปนพลังผลักดันรวมกันไปสูเปาหมายดังกลาว ตอมาเพื่อใหเปนไป
ตามมาตรา 10 แหงพระราชบัญญัติการจัดทํายุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2560 คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตร
แตละดานไดจัดทําแผนแมบทเพ่ือบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนดไวในยุทธศาสตรชาติ จํานวน 23 แผนแมบท
ซ่ึงมีผลผูกพันตอหนวยงานของรัฐที่เก่ียวของท่ีจะตองนําไปปฏิบัติใหเห็นผลเปนรูปธรรม รวมทั้งการจัดทํา
งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณตองสอดคลองกับแผนแมบทซึ่งจะนําไปสูการปฏิบัติ เพื่อให
ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนา
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ตอมาเม่ือวันท่ี 4 ธันวาคม 2560 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ
การจําแนกแผนออกเปน 3 ระดับ ประกอบดวย (1) แผนระดับที่ 1 ไดแ ก ยุทธศาสตรชาติ (2) แผนระดบั ท่ี 2
ไดแก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และ
นโยบายและแผนวาดวยความมั่นคงแหงชาติ และ (3) แผนระดับท่ี 3 ไดแก แผนท่ีจัดทําขึ้นเพื่อสนับสนุน
การดําเนินงานของแผนระดับที่ 1 และแผนระดับที่ 2 ใหบรรลุเปา หมายท่ีกาํ หนดไว และเมื่อวันท่ี 3 ธันวาคม
2562 คณะรัฐมนตรีมีมติใหกําหนดหนวยงานเจาภาพขับเคลื่อนแผนแมบทฯ ใน 3 ระดับ ไดแก
(1) ประเด็นแผนแมบทฯ (2) เปาหมายระดับประเด็นของแผนแมบทฯ และ (3) เปาหมายระดับแผนยอย
ของแผนแมบทฯ โดยมีภารกิจหลักในการประสานและบูรณาการการดําเนินงานระหวางหนวยงานที่เก่ียวของ
โดยเฉพาะการใหขอเสนอแนะในการจัดทําแผนระดับท่ี 3 และการดําเนินงานท่ีสอดคลองกันตามหลักการ
ความสัมพันธเชิงเหตุและผล (Causal Relationship : XYZ) โดยแผนระดับที่ 3 ประกอบดวย 2 แผนหลัก
ไดแ ก (1) แผนปฏบิ ัตกิ ารดา น... และ (2) แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ป และรายป

การดําเนินงานระดับภาค รัฐบาลโดยคณะรัฐมนตรีไดเห็นชอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย
การบริหารงานเชิงพ้ืนที่แบบบูรณาการ พ.ศ. 2560 ที่ไดมีการกําหนด “ภาค” เปนพ้ืนท่ีสําคัญเพื่อใชประโยชน
ในการบูรณาการงบประมาณ หรือปฏิบัติภารกิจที่เชื่อมโยงกัน ครอบคลุมกลุมจังหวัดและจังหวัด รวมทั้ง

83

ไดกําหนดให “แผนพัฒนาภาค” เปนแผนท่ีกําหนดทิศทางการพัฒนาภาค ท่ีสอดคลองเช่ือมโยงกับแผนระดับชาติ
และนโยบายรัฐบาล เปนเคร่ืองมือสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม
ใน 6 ภาค ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก ภาคใต และภาคใตชายแดน
ประกอบกับเม่อื วันท่ี 12 ตลุ าคม 2563 คณะรฐั มนตรีไดม ีมติเห็นชอบแนวทางการจัดทํางบประมาณรายจาย
ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยคํานงึ ถึงความตอ งการในพื้นทแ่ี ละแผนพัฒนาพืน้ ท่ี

กระทรวงศึกษาธิการ ไดพิจารณาถึงความสําคัญของแผนระดับท่ี 1 แผนระดับท่ี 2 นโยบายรัฐบาล
และระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีดังกลาว ประกอบกับคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ
ท่ี 19/2560 เร่ืองการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ที่กําหนดใหมีสํานักงาน
ศึกษาธิการภาค 18 ภาค และสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดทุกจังหวัด เพ่ือปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ
ในระดับพื้นที่ และทําหนาท่ีขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและระดับจังหวัด โดยอํานวยการสงเสริม
สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบรวมมือและบูรณาการกับหนวยงานตาง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
รวมท้ังสวนราชการกระทรวงอืน่ ๆ หรือภาคสว นที่เกยี่ วขอ งในพ้นื ที่นนั้ ๆ และเพ่ือใหการดาํ เนินงานเปนไปอยาง
มีประสิทธิภาพ กระทรวงศึกษาธิการจึงมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง จัดตั้งสํานักงานศึกษาธิการภาค
ซึง่ กําหนดใหมสี ํานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค จํานวน 6 ภาคภูมิศาสตร ประกอบดวย สํานกั งานศกึ ษาธิการภาคเหนือ
สํานักงานศึกษาธิการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สํานักงานศึกษาธิการภาคกลาง สํานักงานศึกษาธิการภาค
ตะวันออก สํานักงานศึกษาธิการภาคใต และสํานักงานศึกษาธิการภาคใตช ายแดน ทําหนาที่กาํ หนดยุทธศาสตร
การพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาคแบบรวมมือและบูรณาการท่ีเชื่อมโยงทิศทางการพัฒนาประเทศลงสูการปฏิบัติ
ในพื้นทอี่ ยางเปนรูปธรรม ดังนนั้ เพ่ือใหการขับเคลือ่ นงานดานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในระดับภาค
และกลุมจังหวัด เปนไปตามทิศทางการพัฒนาประเทศ บริบทความตองการของพื้นท่ี และสอดคลองกับแผน
แมบทภายใตยทุ ธศาสตรช าติ (20) ประเด็น การบรกิ ารประชาชน และประสิทธภิ าพภาครฐั แผนยอ ยการบริหาร
จัดการการเงนิ การคลัง แนวทางการพัฒนาท่ี 3 จัดทาํ งบประมาณตอบสนองตอเปา หมายตามยุทธศาสตรชาติ
กระทรวงศึกษาธิการจึงจัดทําโครงการขับเคลื่อนการบริหารจัดการการศึกษาในระดับภาคและกลุม จังหวัดขึ้น
เพื่อสรา งยุทธศาสตร แผนงาน และโครงการ รวมทง้ั กลไกการดําเนินงานดา นการศกึ ษาในพ้ืนท่ีที่ตอบสนองตอ
เปาหมายของชาติ และแผนพัฒนาพื้นท่ีอยางแทจริง และ สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ซึ่งปฏิบัติหนาที่
สํานักงานศึกษาศึกษาธิการภาคใต ไดรบั มอบหมายใหดําเนินงานภายใตโครงการขับเคล่อื นการบรหิ ารจัดการ
การศึกษาในระดับภาคและกลุมจังหวัดตามขอบเขตและแนวปฏิบัตกิ ารดําเนินโครงการฯ ในพื้นที่ 11 จังหวัด
ภาคใต (จังหวดั ชุมพร สรุ าษฎรธานี นครศรธี รรมราช พทั ลุง สงขลา ระนอง ภูเกต็ พังงา กระบี่ ตรัง และ สตลู )

2. วตั ถปุ ระสงค
1. เพื่อสรางการรับรูทิศทางการพัฒนาการศึกษาในระดับภาคและกลุมจังหวัดที่สอดคลองเชื่อมโยง

กบั แผน 3 ระดับ และนโยบายรฐั บาลท่เี กย่ี วของ
2. เพื่อจัดทําแผนพัฒนา/แผนปฏิบัติการดานการศึกษาในระดับภาคและกลุมจังหวัด ท่ีสอดคลอง

เชื่อมโยงกบั แผน 3 ระดับ และนโยบายรฐั บาลท่ีเกย่ี วของ
3. เพ่ือสงเสริม สนับสนุนการขับเคล่ือนแผนพัฒนา/แผนปฏิบัติการดานการศึกษาในระดับภาค

และกลุม จังหวัดสกู ารปฏิบัติ
4. เพือ่ ศึกษา วจิ ยั การบริหารจดั การการศึกษาที่สงผลตอคุณภาพการศึกษาในพื้นที่

84

3. กลุมเปาหมาย
1 สํานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด 11 จังหวัด
2. สํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 และ สาํ นักงานศึกษาธิการภาค 6
3. หนวยงานทางการศึกษาท่ีเกีย่ วขอ ง
4. ผูมสี วนเกี่ยวขอ งดา นการศึกษาในพื้นทภ่ี าคใต

4. วธิ ดี าํ เนินการ/ขัน้ ตอนดําเนินการ ดาํ เนินการ
ในไตรมาส ()
กิจกรรม/วิธดี ําเนินการ
1234
กจิ กรรมท่ี 1 รวมประชุมปฏิบตั กิ ารสรางการรับรูทศิ ทางการ
พฒั นาการศึกษาระดับภาคและกลุมจงั หวัดท่ีสอดคลองเชอ่ื มโยง 
กับแผน 3 ระดบั และชแี้ จงแนวทางการดาํ เนินโครงการ
(หนวยงานท่ีรับผิดชอบ : สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สป. 
กิจกรรมท่ี 2 สรา งการรับรทู ิศทางการพัฒนาการศึกษาระดับ
ภาคและกลมุ จังหวดั และจดั ทําแผนพฒั นาการศกึ ษาภาคใต
(พ.ศ. 2566 – 2570) ที่สอดคลองเช่อื มโยงกับแผน 3 ระดับ
และนโยบายรัฐบาลที่เก่ียวของ
(หนว ยงานรับผิดชอบ : สํานักงานศึกษาธิการภาคใต)

กิจกรรมท่ี 3 จัดทําแผนพฒั นาการศึกษากลมุ จงั หวัด 
(พ.ศ.2566-2570) และ แผนปฏิบตั กิ ารดา นการศึกษาระดบั 
กลุมจังหวดั ภาคใตฝง อาวไทย พ.ศ. 2566 ทสี่ อดคลอง
เชือ่ มโยงกับแผน 3 ระดบั และนโยบายรัฐบาลที่เกย่ี วของ และ
ทบทวนแผนพัฒนาดานการศึกษาระดบั กลุม จงั หวดั ภาคใตฝงอาว
ไทย (พ.ศ. 2563-2565)
(หนวยงานรบั ผิดชอบ : สํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5)

กิจกรรมท่ี 4 จัดทําแผนปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ
พ.ศ. 2564
(หนวยงานรับผดิ ชอบ : สํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5)

กลมุ เปาหมาย งบประมาณ ผลผลิต
(บาท)
ผูอํานวยการกลมุ ยุทธศาสตร
การศกึ ษาและผูรบั ผิดชอบที่ - ขอบเขตการดาํ เนินโครงการฯ
เกีย่ วของ

1. สํานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั 163,000 1. บุคลากรที่เกีย่ วของรับรทู ิศทางการพฒั นา
11 จังหวดั 137,000 การศกึ ษาระดบั ภาคและกลุม จังหวัดท่ี
2. สํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5 61,490 สอดคลองเช่อื มโยงกบั แผน 3 ระดับ และ
และ 6 นโยบายรฐั บาลท่เี ก่ยี วของ
3. หนวยงานทางการศกึ ษาที่ 2. แผนพัฒนาการศึกษาภาคใต
เก่ียวขอ ง (พ.ศ. 2566 – 2570)

1. สํานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด 1. แผนพัฒนาการศกึ ษากลุม จังหวดั ภาคใต
5 จังหวัด ฝง อา วไทย (พ.ศ. 2566 – 2570)
2. สํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5 2. แผนปฏิบตั ิการดา นการศึกษากลุมจงั หวัด
3. หนวยงานทางการศกึ ษาท่ี ภาคใตฝงอาวไทย พ.ศ. 2566
เกี่ยวขอ ง 3. แผนพฒั นาดา นการศกึ ษาระดบั กลุม
จงั หวดั ภาคใตฝ ง อา วไทย (พ.ศ. 2563-
2565) ฉบบั ทบทวน

แผนปฏบิ ัติราชการ ประจาํ ปงบประมาณ
พ.ศ. 2564

854

กิจกรรม/วิธดี ําเนินการ ดําเนินการ

ในไตรมาส ()

1234

กิจกรรม 5 ศึกษา วิจัยการบริหารจัดการการศึกษาที่สงผลตอ   

คุณภาพการศึกษาในพื้นท่ใี น 3 ประเด็น

1. โรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน

2. โรงเรียนดสี ี่มุมเมือง

3.โรงเรยี น Stand Alone

(หนว ยงานรบั ผดิ ชอบ : สํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5)

กิจกรรมที่ 6 รวมสนับสนุน กํากับ ติดตาม สรุปและรายงานผล   

การดําเนนิ งานของโครงการฯ รวมทง้ั การดาํ เนนิ การท่ีเก่ยี วของ

กับการขับเคล่อื นการบริหารจดั การการศกึ ษา

(หนว ยงานรับผิดชอบ : สาํ นักงานศกึ ษาธิการภาค 5)

รวมงบประมาณของโครงการ (ส่ีแสนแปดหม่ืนบาทถว

หมายเหตุ : ขอถวั เฉล่ียทุกกิจกรรม

กลุมเปาหมาย งบประมาณ ผลผลติ
(บาท)
1. สาํ นักงานศกึ ษาธิการจังหวดั
5 จังหวัด 80,000 รายงานการวิจัย/การศกึ ษาการบรหิ ารจดั การ
2. สํานักงานศึกษาธกิ ารภาค 5 38,510 การศกึ ษาทส่ี ง ผลตอคณุ ภาพการศึกษาใน
3. หนวยงานทางการศกึ ษาท่ี พ้นื ท่ีใน 3 ประเด็น
เกย่ี วของ 1. โรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน
2. โรงเรยี นดสี ่ีมมุ เมือง
สํานกั งานศึกษาธิการภาค 5 3.โรงเรยี น Stand Alone

1. รายงานผลการดาํ เนินงานภาพรวมของ
โครงการฯ
2. ขอ เสนอแนะ ขอ เสนอเชงิ นโยบาย

วน) 480,000

865

87

5. ระยะเวลาและสถานทดี่ าํ เนนิ การ
ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เดอื นตลุ าคม 2563 – กนั ยายน 2564)

6. งบประมาณ
480,000 บาท (ส่ีแสนแปดหมื่นบาทถวน) งบประมาณภายใตแผนงานยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุน

ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาท่ีย่ังยืน
กิจกรรมการขับเคลื่อนนโยบายดานการศึกษา งบรายจายอื่น คาใชจายโครงการขับเคลื่อนการบริหาร
จัดการศกึ ษาในระดับภาคและกลุม จังหวดั

7. การวิเคราะหความเสย่ี งของโครงการ
7.1 ความเส่ียง
สถานการณแพรระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทําใหการจัดประชุม/

อบรมสมั มนา ดําเนินการไมไ ด/ดาํ เนินการไดล าชา และ ผเู ขารว มการประชมุ ไมเปนไปตามเปา หมายทก่ี าํ หนด
7.2 การบริหารความเสีย่ ง
- ดาํ เนนิ งานในรูปแบบคณะทํางาน และมอบหมายงานใหแ ตละคณะทาํ งานแตละฝา ยดําเนนิ การ
- ใชส่ือเทคโนโลยี/Application มาใชในการประชุมและการประสานงาน

8. ผูรบั ผิดชอบโครงการ
กลมุ ยทุ ธศาสตรการศกึ ษา สาํ นักงานศึกษาธกิ ารภาค 5

9. ตวั ชว้ี ัดความสาํ เร็จ และคาเปาหมาย
9.1 เชิงคณุ ภาพ
บุคลากรท่ีปฏิบัติงานดานแผนของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดและสํานักงานศึกษาธิการภาค

มีความเขาใจการเช่ือมโยงแผน 3 ระดับ นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับบริบทความตองการ
ของพน้ื ท่ี

9.2 เชงิ ปรมิ าณ

1) แผนพัฒนาการศกึ ษาภาคใต (พ.ศ. 2566 – 2570) จํานวน 1 เลม
2) แผนพัฒนาการศึกษากลุมจังหวดั ภาคใตฝ ง อาวไทย (พ.ศ. 2566 – 2570) จํานวน 1 เลม
3) แผนปฏิบัติการดา นการศึกษากลมุ จังหวดั ภาคใตฝ ง อาวไทย พ.ศ. 2566 จํานวน 1 เลม
4) แผนพัฒนาดานการศึกษาระดับกลุมจังหวัดภาคใตฝงอาวไทย (พ.ศ. 2563-2565)
ฉบับทบทวน จาํ นวน 1 เลม
5) รายงานการวิจัย/การศกึ ษาการบริหารจัดการการศึกษาที่สงผลตอ คณุ ภาพการศึกษาในพ้ืนท่ี
จาํ นวน 1 เลม

10. ผลท่คี าดวา จะไดรบั
1. แผนพัฒนาการศึกษาภาคใต พ.ศ. 2566 – 2570, แผนพัฒนาการศึกษากลุมจังหวัดภาคใต

ฝงอาวไทย พ.ศ. 2566 – 2570 ท่ีเกิดจากความรว มมือแ ละบูรณาการของหนวยงานทางการศึกษา
และหนวยงานอื่นที่เกย่ี วของ ซง่ึ สอดคลอ งเช่ือมโยงกับแผน 3 ระดับ นโยบายรัฐบาลทเ่ี กีย่ วขอ ง และสอดคลอง
กับบริบทความตองการของพื้นที่ สามารถใชเปนกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนงานดานการศึกษา
ใหแกหนวยงานท่ีเกยี่ วของดานการศกึ ษาในพื้นท่ไี ดอยางมีประสิทธิภาพ สงผลใหก ารดําเนินงานดานการศึกษา
ในพื้นท่ีเปนไปในทิศทางเดียวกันสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศ และบริบทความตองการของพื้นท่ี
อยางแทจริง

88

2. แผนปฏิบัติการดานการศึกษากลุมจังหวัดภาคใตฝงอาวไทย พ.ศ. 2566 ประกอบดวยโครงการ
ท่ีตอบสนองตอเปาหมายทิศทางการพัฒนาของประเทศ เปาหมายการพัฒนาของกลุมจังหวัด เปาหมายของ
กระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทความตองการของพ้ืนที่ สามารถใชเปนขอเสนอโครงการเพื่อ
ขอรบั การจดั สรรงบประมาณ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไดห ลากหลายชอ งทาง

3. ผลการศกึ ษา/วจิ ัย สามารถนาํ ไปพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในพ้นื ทไี่ ดอยางมปี ระสิทธิภาพ

89

รายละเอยี ดโครงการที่ 13

โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดบั พ้ืนทีร่ ับผิดชอบ สาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สอดคลองกบั ยุทธศาสตรชาติ : ดา นยทุ ธศาสตรที่ 3 ดานการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษย
สอดคลองกับแผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ : ประเด็นที่ 11 ศกั ยภาพคนตลอดชวงชวี ิต (แผนยอ ยท่ี 3.2)

การพฒั นาเด็กตั้งแตช วงการตัง้ ครรภจนถึงปฐมวยั
สอดคลอ งกบั แผนยอยของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติฯ :
สอดคลอ งตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอย :
สอดคลองกับแผนปฏิรูปประเทศ : ดานการศึกษา ประเด็นการปฏิรูปท่ี 2 การปฏิรูปการพัฒนาเด็กเล็ก

และเดก็ กอนวัยเรยี น
สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตรก ระทรวงศกึ ษาธิการ : ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว งวัย และการ

สรา งสังคมแหงการเรยี นรู
สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตรแผนปฏิบตั ิราชการฯ ศธ. ป 2564 : ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 พัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพ

ทรัพยากรมนษุ ยใหมีคุณภาพ
สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตร สป. :

1. หลักการและเหตุผล

ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 54 รัฐตองดําเนนิ การ
ใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปนเวลาสิบสองป ตั้งแตกอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยางมีคุณภาพ
โดยไมเกบ็ คาใชจาย รัฐตองดําเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและพัฒนากอนเขารับการศกึ ษาตามวรรคหน่ึง
เพื่อพัฒนารางกาย จิตใจ วนิ ัย อารมณ สังคม และสติปญญาใหสมกับวัย โดยสงเสริมและสนับสนุนใหองคกร
ปกครองสวนทองถ่ินและภาคเอกชนเขามีสวนรวมในการดําเนินการดวย ทั้งน้ีตามกฎหมายวาดวยการศึกษา
แหงชาติซึ่งอยางนอยตองมีบทบัญญัติเก่ียวกับกับจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ และการดําเนินการและ
ตรวจสอบการดําเนินการใหเปนไปตามแผนการศึกษาแหงชาติดวย ในการดําเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแล
และพัฒนา รัฐตองดาํ เนินการใหผูขาดแคลนทุนทรพั ยไดรับการสนับสนุนคาใชจายในการศึกษาตามความถนัด
ของตน กอปรกับราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2562 มีการประกาศใชพระราชบัญญัตกิ าร
พัฒนาเด็กปฐมวยั พ.ศ. 2562 กําหนดใหมีคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย เปนคณะกรรมการ
ระดับชาติมีนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายเปนประธาน มีอํานาจในการ
จัดทํานโยบาย ยุทธศาสตรและแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย เสนอตอคณะรัฐมนตรีเพ่ือใหความเห็นชอบ
ประสานงาน กํากับ ติดตาม และประเมนิ ผลการดาํ เนินงานใหเปนไปตามแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย บูรณาการการ
ทํางานรวมกันระหวางหนวยงานของรัฐหรือองคกรอ่ืนใดที่เกี่ยวของในระดับชาติถึงระดับชุมชน เสนอหรือ
แกไขกฎหมายทเ่ี ก่ียวของ จดั ใหมีและพัฒนาฐานขอมูลเด็กปฐมวัยเสนอความเห็นตอ คณะรัฐมนตรเี กี่ยวกับการ
จัดทํางบประมาณแบบบูรณาการของหนว ยงานรฐั ท่ีเกี่ยวขอ งกบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวัยทส่ี อดคลองกับเปาหมาย
การดําเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติ (ก.พ.ป.) คือ การมีแผนปฏิบัตกิ ารดานการพัฒนา
เดก็ ปฐมวัย มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แหง ชาตดิ และการพฒั นาระบบสารสนเทศ

ประกอบกับกระทรวงศึกษาธิการไดตระหนักถึงความสําคัญในการจัดการศึกษาและการเรียนรู
สําหรับเด็กปฐมวัย ซ่ึงถือเปนหนาท่ีของรัฐท่ีจะตองจัดใหมีการดูแล การพัฒนา และการจัดการเรียนรูใหเด็ก

90

ทุกคนมีพัฒนาการที่ดี รอบดาน ทั้งทางรางกาย อามณ-จิตใจ สังคมและสติปญญา เหมาะสมกับวัย มีทักษะ
พ้ืนฐานในการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต สอดคลองกับหลักการพัฒนาศักยภาพของแตละบุคคล อีกท้ัง
สรางคุณลักษณะใหเด็กมีอุปนิสัยใฝดี มีคุณธรรม มีสินัย ใฝรู มีความคิดสรางสรรค และสามารถซึมซับ
สุนทรียะและวัฒนาธรรมที่หลากหลายได ตามบทบัญญัติที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญัติการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย พ.ศ. 2562 ยุทธศาตรชาติและแผนปฏิรูปประเทศ
ดานการศึกษาตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายและแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษาและการ
เรียนรูสําหรบั เด็กปฐมวัย ประกาศเม่ือวันท่ี 7 สิงหาคม 2563 กอปรกับสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการไดจดั ทํามาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ. 2561 กําหนดมาตรฐานการศกึ ษาของชาติข้ัน
ตํ่าที่เหมาะสมตามชวงวัย และมีความตอเนื่องเชื่อมโยงต้ังแตระดับปฐมวัยไปสูระดับการศึกษาที่สูงขึ้น
โดยกําหนดจุดมงุ หมายระดับปฐมวัย คอื มีพฒั นาการรอบดานและสมดุล สนใจเรียนรูและกํากับตัวเองใหทาํ สิ่ง
ตางๆ ที่เหมาะสมตามชวงวัยไดสําเร็จ และใหสถานศึกษาทุกแหงใชเปนแนวทางสําหรับการพัฒนาผูเรียนไปสู
ผลลัพธท่พี ึงประสงคใน 3 ดาน ไดแ ก ผเู รียนรู ผรู วม สรางสรรคน วัตกรรมและพลเมืองที่เขมแขง็ มีคณุ ลักษณะ
ของคนไทย 4.0 ธํารงความเปนไทยและแบงปนไดในเวทีโลก ปจจุบันการดําเนินงานเกี่ยวกับการจัดการศึกษา
ปฐมวัยมีความคืบหนาของการดําเนินงานตามภารกิจ ท่ีเก่ียวของ มาเปนลําดับ สํานักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ไดจัดสรรงบประมาณเพ่ือการดําเนินงานเก่ียวกับการสงเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาเด็ก
ปฐมวัยในระดับพ้ืนทม่ี าตงั้ แตปงบประมาณ พ.ศ. 2561 และป พ.ศ. 2562 ซ่งึ สํานักงานศึกษาธิการภาคและ
สาํ นักงานศึกษาธิการจังหวดั ไดข บั เคล่อื นในระดับพนื้ ที่ นั้น

สาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5 ซึ่งมีอํานาจหนาที่ในการสงเสริม สนับสนุน และขับเคล่ือนนโยบาย
ของกระทรวงศึกษาธิการในสวนของภูมิภาคใหสามารถดําเนินการตามแนวทางท่ีรัฐบาลกําหนด จึงเห็นสมควร
จัดทําโครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นท่ีสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ประจํา
ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพอ่ื ขับเคลื่อน สงเสรมิ สนับสนุน การพัฒนาเด็กปฐมวัยในสวนของพ้ืนทร่ี ะดับภาค
และจงั หวัดเปน ไปอยางตอเนือ่ ง มีประสทิ ธภิ าพ สอดคลองกับขอ กําหนดของกฎหมาย

2. วัตถุประสงค
2.1 เพื่อสงเสริม สนับสนุนใหเด็กปฐมวัยทุกคนไดรับการดูแลและพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย

อยางทว่ั ถงึ และมีพฒั นาการสมวัย
2.2 เพ่ือสง เสริม สนบั สนุน และประสานงานกับหนว ยงานทางการศึกษาในการพฒั นาสถานศึกษา/

สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยใหมคี ุณภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหง ชาติ
2.3 สรางการรับรูผานชองทรางตางๆ เพื่อใหผูบริหาร ครู ผูดูแลเด็ก พอแมผูปกครอง และผูมีสวน

เกี่ยวของ มีความรูความเขาใจเกดิ ความตระหนกั เลง็ เหน็ ความสําคัญของการพฒั นาเด็กปฐมวัย

3. กลุมเปาหมาย
ผบู รหิ าร ครู ผดู ูแลเด็ก และผูมีสว นเกีย่ วของ ในการจดั การศึกษาสําหรับเด็กปฐมวยั ในพื้นท่ีรับผิดชอบ

สํานกั งานศึกษาธิการภาค 5

91

4. วิธกี ารดําเนินการ/ขั้นตอนการดําเนินงาน

ที่ วธิ ีการดําเนินการ/ขั้นตอนการดําเนินงาน ระยะเวลา ผรู บั ผิดชอบ

1 ศกึ ษาแนวทางการดาํ เนนิ งานจาก สป.ศธ.จากเอกสารการดําเนินงาน ม.ค. 2564 กลุมตรวจราชการฯ

2 เสนอขออนุมัติโครงการ/กําหนดกิจกรรมตามกรอบและแนวทาง ม.ค. 2564 กลุมตรวจราชการฯ

การดําเนนิ งานที่ สป. กําหนด

3 กําหนดแผนการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการภาคและ ก.พ. 2564 กลุมตรวจราชการฯ
สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดรวมกัน ในการสรางการรบั รูทางระบบ
ออนไลน

4 คัดเลอื กรปู แบบ/แนวทางปฏิบตั ทิ ่เี ปนเลิศ (Best Practices) ดา นการ ก.ค. 2564 กลุมตรวจราชการฯ

บรหิ ารจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย 1 ชน้ิ /ผลงาน และดานการจัด
ประสบการณการเรียนรูระดบั ปฐมวยั 1 ชนิ้ /ผลงาน

5 รายงานผลการดําเนนิ งาน และเผยแพรผ ลการดาํ เนนิ โครงการ ส.ค. 2564 กลมุ ตรวจราชการฯ

5. ระยะเวลา และสถานทีด่ ําเนินการ
- มกราคม 2564 – กนั ยายน 2564
- สํานักงานศกึ ษาธิการจังหวัด และหนวยงานทางการศึกษาในระดับพ้ืนที่รับผิดชอบสํานักงานศึกษาธกิ ารภาค5

6. งบประมาณ

โครงการไดรับ แผนการใชจ า ย แผนการใชจาย แผนการใชจาย แผนการใชจาย
งบประมาณท้งั สนิ้ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ
ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสท่ี 4
13,600
- - - -

แหลงงบประมาณ : สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเพอ่ื สนบั สนนุ ดานการพฒั นาและเสริมสรางศกั ยภาพมนษุ ย
หมวดรายจา ย : งบรายจายอื่น / คา ใชจ ายโครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวยั

ในระดบั พ้ืนท่ี
โดยจําแนกเปน คาใชจายจากการไดรับจดั สรร 13,600 บาท ดําเนนิ กิจกรรมดังนี้

ไตรมาส ท่ี 1
กิจกรรม : ศึกษา คิดวิเคราะห วางแผนงานการดําเนนิ โครงการ

ไตรมาสที่ 2
กิจกรรม : กํากับ ติดตาม สรางการรับรู การดาํ เนนิ งานของสํานกั งานศึกษาธิการจังหวัดท้ัง 5 จังหวัด

ผานระบบออนไลนทางส่อื สงั คม ในชวงสถานการณโ รคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ไตรมาสที่ 3
กิจกรรม : คัดเลือกรูปแบบ/แนวทางปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices) จํานวน 2 ชิ้น/ผลงาน

(ดานการบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัย 1 ช้ิน/ผลงาน และดานการจัดประสบการณการเรียนรูระดับ

92

ปฐมวัย 1 ช้ิน/ผลงาน) โดยการสงเอกสารเก่ียวกับรูปแบบ/แนวทางปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices ) ไปให

คณะกรรมการตัดสิน จํานวน 6 คน รายละเอยี ดดงั น้ี

1. คา ตอบแทนวิทยากร

คาตอบแทนคณะกรรมการ (6 คน x 600 บาท) เปนเงิน 3,600 บาท

2. คา โลรางวัล (10 x 1,000 บาท) เปน เงนิ 10,000 บาท

รวมเปน เงินท้งั ส้นิ 13,600 บาท (หนึ่งหมืน่ สามพันหกรอยบาทถวน)

หมายเหตุ ขอถัวจายทกุ รายการ

7. การวเิ คราะหความเสยี่ งของโครงการ
ปจจัยความเส่ียง : การพัฒนาเด็กปฐมวัยเปนงานท่ีมีความเช่ือมโยงกับหลายหนวยงาน จึงจําเปน

ตองอาศยั ความรว มมือจากทกุ กระทรวง/หนว ยงานท่ีเกย่ี วขอ งในการบูรณาการการดาํ เนินงานรวมกนั
แนวทางการบริหารความเส่ียง : ใหหนวยงานท่ีเก่ียวของบูรณาการการดําเนินงานรวมกันของ

ทุกภาคสวนใหเปนไปในทิศทางเดียวกันอยางเปนรูปธรรม ใหเดก็ ปฐมวัยทุกคนไดรับการพัฒนาอยางรอบดาน
ตามวยั ตามศักยภาพและตอเน่ือง

8. ผรู ับผดิ ชอบโครงการ
กลุมตรวจราชการและติดตามประเมินผล สาํ นักงานศกึ ษาธิการภาค 5

9. ตัวชี้วัดและคาเปาหมายของโครงการ

ตัวช้วี ดั คาเปา หมาย

เชิงปริมาณ รอยละ 100
1. เด็กปฐมวัย (3-6 ป)ทุกคน ทั้งในและนอกระบบท่ีไดรับบริการทางการศึกษา
เทยี บกบั จํานวนเดก็ ปฐมวยั ของประเทศ ศธจ.ละ 100 คน
รวม 500 คน
2. กลุมเปาหมาย (ผูบริหาร ครู ผูปกครอง ผูดูแลเด็ก ผูรับบริการ และผูมีสวน
เก่ียวของทุกภาคสวน) มีความรูความเขาใจเกิดความตระหนกั เลง็ เห็นความสําคัญ 2 ชิน้ /ผลงาน
ของการพฒั นาเด็กปฐมวัย (ผบู ริหาร 1 /ครู 1)

3. จํานวนรูปแบบ/แนวปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices) ในการพัฒนาเด็ก รอยละ 80
ปฐมวยั

เชิงคุณภาพ
เด็กปฐมวัยท่ีจบการศึกษาระดับปฐมวยั มพี ฒั นาการอยูในระดบั ดที ุกดาน

10. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ
10.1 เดก็ ปฐมวัย(อายุ 3-6 ป) ทกุ คน ไดร ับการสง เสริม สนบั สนนุ และพฒั นาใหมพี ฒั นาการสมวัย
10.2 การคัดเลือกรูปแบบ/แนวทางการปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices) ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ระดับภาค 2 ชน้ิ /ผลงาน (ผูบรหิ าร 1 /ครู 1)
10.3 มกี ารบูรณาการการทํางานรวมกันในระดบั พื้นท่ี ในการสงเสรมิ สนับสนุน และประสานงานกับ

หนวยงานทางการศึกษาในการพัฒนาสถานศึกษา/สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสถาน
พัฒนาเด็กปฐมวยั แหงชาติ

93

รายละเอียดโครงการที่ 14

โครงการประเมินศูนยก ารเรียนรูตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศกึ ษา
ปก ารศกึ ษา 2563
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ : ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการพฒั นาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย
สอดคลองกบั แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรช าตฯิ : ดาน 10 การปรบั เปล่ยี นคา นิยมและวฒั นธรรม
สอดคลอ งกบั แผนยอยของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติฯ : ที่ 3.1 ปลูกผังคุณธรรม จริยธรรม คา นยิ ม

และการเสรมิ สรางจิตสาธารณะและการเปนพลเมืองที่ดี
สอดคลอ งตามแนวทางการพัฒนาของแผนยอย : -
สอดคลองกับแผนปฏิรปู ประเทศ : ดา นการศึกษา ดา น 12 (5) การปฏิรูปการจดั การเรียนการสอนเพอ่ื ตอง

สนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตรกระทรวงศกึ ษาธกิ าร : ยุทธศาสตรท ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชวงวัยและการ

สรางสังคมแหงการเรยี นรู
สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตรแผนปฏิบตั ิราชการฯ ศธ. ป 2564 : ยุทธศาสตรที่ 3
สอดคลองกับยุทธศาสตร สป. : ยุทธศาสตรท ่ี 3 พัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย

1. หลักการและเหตผุ ล

ดว ยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีนโยบายมุง พัฒนาสถานศึกษาทุกแหง ใหสามารถจัดกระบวนการเรยี นการ
สอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อใหการพัฒนาเปนไปอยางมีคุณภาพดว ยความย่ังยืน จึงมี
การพัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” ใหเปน “ศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดาน
การศึกษา” เพื่อเปนเคร่ืองมือสําคัญในการขยายผลการขับเคลื่อน “สถานศึกษาพอเพียง” ท้ังนี้ ไดมี
สถานศึกษาจากทั่วประเทศสงเอกสารขอมูลเพื่อขอรับการประเมินเปนศูนยการเรียนรูฯ และสํานักงานปลัก
กระทรวงศึกษาธิการ ไดมีการจัดประชุมคัดกรองขอมูลประกอบการประเมินศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงดา นการศึกษา ประจําปการศึกษา 2563 เมื่อวันที่ 22 - 25 ธนั วาคม พ.ศ. 2563
ณ โรงแรมรอยลั ซิตี้ กรงุ เทพมหานคร

สํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ในฐานะเปนหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
มีภารกิจหนา ท่ีในการขับเคล่ือน เช่ือมโยงและบูรณาการนโยบายและยุทธศาสตรของกระทรวงศึกษาธิการสูการ
ปฏิบัติรวมท้ังติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ และสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหนวยงานในสังกัดสํานักงานปลดั กระทรวง
ศึกษาธิการ เพื่อใหการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตรดังกลาวบรรลุวัตถุประสงคทุกประการ
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานักบูรณาการกิจการการศึกษาไดกําหนดใหมีการประเมิน
สถานศึกษาพอเพียงเปนศูนยการเรียนรูตามปลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา ตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ และไดมอบหมายใหสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ดําเนินการขับเคล่ือนงานดาน
สถานศึกษาพอเพียงและศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา ในพื้นท่ี
รับผิดชอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ไดแก จังหวัดชุมพร สุราษฎรธานี นครศรธี รรมราช พัทลุง และ
สงขลา พรอ มจดั ทาํ รายงานผลการประเมินใหศ นู ยขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ พอเพยี งกระทรวงศึกษาธิการทราบตอ ไป

94

2. วัตถปุ ระสงค
เพื่อสงเสริม สนับสนนุ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปนไปอยางมีคุณภาพและเกิดความยั่งยืนสู

สถานศกึ ษา

3. กลุมเปาหมาย

สถานศึกษาท่ีผานการคัดกรองเพื่อเขารับการประเมินเปนศูนยการเรียนรูตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา ในพ้ืนที่รับผิดชอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ไดรับการประเมินศูนย
การเรียนรตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดา นการศกึ ษา

4. วิธีดาํ เนินการ /ขั้นตอนดําเนินการ

ที่ กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1. จัดทาํ โครงการเสนอขออนุมัตงิ บประมาณ

2. แตง ต้งั คณะทาํ งาน/คณะกรรมการประเมินฯ

ประชุมช้ีแจงการดําเนนิ การโครงการ

3. ประสานหนวยงานและผูเกย่ี วขอ ง

4. วางแผนกาํ หนดปฏิทินการดําเนินการประเมนิ

5. ดาํ เนินการประเมินศนู ยการเรียนรูตามหลักปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

6. สรปุ และรายงานผลการประเมิน สง สป.

7. สรปุ และรายงานผลการดําเนนิ งานโครงการ

5. ระยะเวลาและสถานท่ีดําเนินการ :

ธนั วาคม 2563 - กันยายน 2564

6. งบประมาณ
งบรายจายอ่ืน ๆ คาใชจายโครงการขับเคล่ือนงานดานสถานศึกษาพอเพียงและศูนยการเรียนรูตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา ปงบประมาณ 2564 จากสํานกั บูรณาการกิจการการศึกษา
จํานวน 195,000 บาท (หนง่ึ แสนเกา หมน่ื หาพันบาทถว น)

1 คา เบ้ยี เลีย้ ง (7 คน X 240 บาท X 39 วัน) 65,520.- บาท
2 คาท่พี ัก (4 หอง X 800 บาท X 39 คนื ) 121,600.- บาท
3 คา นา้ํ มันเชอื้ เพลิง
4,680.- บาท
รวม 195,000.- บาท

หมายเหตุ ขอถัวจา ยทุกรายการ


Click to View FlipBook Version