The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการฯ ปีงบ 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phakchuda0440, 2021-03-19 01:06:40

แผนปฏิบัติราชการฯ ปีงบ 64

แผนปฏิบัติราชการฯ ปีงบ 64

95

กิจกรรม หว งระยะเวลาการดําเนนิ งานและงบประมาณ ผูร บั ผิดชอบ

1.จัดทําโครงการเสนอขออนุมัติ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 นางณชิ าภา
งบประมาณ (งบประมาณ) (งบประมาณ) (งบประมาณ) (งบประมาณ) สุวรรณชาติ
2. แตงตงั้ คณะทาํ งาน/คณะกรรมการ
ประเมินฯ ประชุมช้แี จงการดําเนินการ ---- คณะทํางาน ศธภ.5
โครงการ
3. ประสานหนว ยงานและผูเก่ยี วขอ ง ---- คณะทํางาน ศธภ.5
4.วางแผนกาํ หนดปฏทิ ินการ คณะทาํ งาน ศธภ.5
ดําเนินการประเมนิ ----
5. ดําเนินการประเมินศนู ยก ารเรยี นรู ---- คณะกรรมการ
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประเมิน
6. สรุปและรายงานผลการประเมิน - 195,000.- -
สง สป. คณะทํางาน
7. สรปุ และรายงานผลการ ---- นางณชิ าภา
ดาํ เนินงานโครงการ
รวมทั้งสิ้น ---- สุวรรณชาติ

- 195,000.- -

หมายเหตุ ขอถัวจา ยทุกรายการ

7. การวิเคราะหความเส่ยี งของโครงการ
7.1 ความเสี่ยง
- สถานศึกษาไมม คี วามพรอมในวันทคี่ ณะกรรมการจะเขา ประเมิน
- สถานการณการแพรระบาดระลอกใหมของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม (โควิด-19)

ทําใหก ารดาํ เนินงานโครงการไมสามารถเปน ไปไดตามท่ีกาํ หนด
7.2 การบริหารความเส่ยี ง
- ฝา ยเลขาฯ ตองประสานคณะกรรมการ และสถานศึกษาเปน ระยะ ๆ เพอื่ ใหเกดิ ความพรอม

ในการเขา รบั การประเมิน
- ใชกลไก กศจ. ในการบริหารจัดการ

8. ผูรับผดิ ชอบโครงการ
กลมุ ทีร่ ับผดิ ชอบ : กลมุ พฒั นาการศกึ ษา
ผูร ับผิดชอบ : นางณชิ าภา สวุ รรณชาติ

96

9. ตวั ช้ีวัดความสําเร็จ และคา เปาหมาย

เชิงปริมาณ ตวั ช้ีวดั คา เปา หมาย
เชงิ คณุ ภาพ จาํ นวน 39 แหง
สถานศึกษาทข่ี อรับการประเมินเปน ศูนยก ารเรียนรูตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ดานการศึกษา ไดรับการประเมนิ ทุกแหง จาํ นวน 39 แหง
ในพ้นื ที่รบั ผดิ ชอบของสาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5 มีสถานศกึ ษาที่
เปนศูนยก ารเรียนรตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา การศึกษา

10. ผลที่คาดวาจะไดรบั

ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสาํ นกั งานศึกษาธิการภาค 5 มีสถานศกึ ษาท่ีเปนศนู ยการเรียนรตู ามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศกึ ษา เพอ่ื ใหส ถานศึกษาตาง ๆ มาศึกษาดูงาน

สวนท่ี 5
การติดตามประเมินผล

การติดตามประเมินผลตามแผนปฏิบัติราชการ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการกําหนดให
หนวยงาน ในสังกดั ดาํ เนนิ การใน 2 ลักษณะ คอื

1. การติดตามและรายงาน เปนการติดตามและรายงานผลความกาวหนาของแผน/งาน/โครงการ
โดยพิจารณาจากผลการดําเนินงานเปรียบเทียบกับเปาหมายที่กําหนดในแผน/งาน/โครงการของแตละ
หนวยงาน ซง่ึ กําหนดใหม ีการรายงาน 2 รปู แบบ ไดแก

1.1 การรายงานตามเอกสารงบประมาณรายจา ยประจําป โดยใชแบบรายงาน สงป.301, 302
ซ่งึ จะเนนการรายงานผลการดําเนินงานตามตวั ชวี้ ัดและการใชจา ยงบประมาณตามเอกสารงบประมาณรายจาย
ประจําป ของสาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

1.2 การรายงานตามแบบรายงานผลการดําเนินงานของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ประจําป ที่จดั ทําขึน้ เปนการรายงานผลการดาํ เนินงานของแตละโครงการเปรยี บเทียบกับเปา หมายที่กาํ หนดไว
ในแตละยุทธศาสตรข องแผนฯ พรอมทง้ั ปญ หาอุปสรรคในการดําเนินงาน

การรายงานทง้ั 2 รปู แบบกาํ หนดใหร ายงานเปนรายไตรมาส รวม 4 ไตรมาส/ป ดังน้ี
ไตรมาสท่ี 1 ผลการดาํ เนนิ งานเดอื นตุลาคม – ธนั วาคม
รายงานภายในวันที่ 15 มกราคม 2564
ไตรมาสที่ 2 ผลการดาํ เนนิ งานเดือนมกราคม – มนี าคม
รายงานภายในวนั ท่ี 15 เมษายน 2564
ไตรมาสที่ 3 ผลการดาํ เนินงานเดอื นเมษายน – มิถนุ ายน
รายงานภายในวนั ที่ 15 กรกฎาคม 2564
ไตรมาสท่ี 4 ผลการดาํ เนนิ งานเดอื นกรกฎาคม – กันยายน
รายงานภายในวันท่ี 15 ตุลาคม 2564

2. การประเมินผลเม่ือส้ินสุดแผน เปนการประเมินผลลัพธตามตัวชี้วัดท่ีกําหนดในแผนปฏิบัติ
ราชการประจําป เมอ่ื สน้ิ ปง บประมาณ โดยมีข้นั ตอนการดาํ เนนิ งาน ดงั นี้

2.1 การเกบ็ รวบรวมขอมลู ประกอบดว ย
- เก็บรวบรวมขอมูลจากแบบประเมินที่จัดทําขึ้นเพ่ือเก็บขอมูลจากหนวยงานเม่ือส้ิน

ปงบประมาณ
- รวบรวมขอมลู จากการรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามไตรมาสของหนว ยงาน

2.2 จัดทํารายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสาํ นักงานศึกษาธิการภาค 5

ภาคผนวก

- ผังความเชื่อมโยงแผน 3 ระดับ
- บัญชีงบประมาณทไ่ี ดรับจัดสรร
- คําสั่งแตงต้ังคณะทํางาน

ผงั ความเชอ่ื มโยงแผน 3 ระดับของประเทศ สูแผนปฏิบัตริ

แผนระดับ1 ยทุ ธศาสตรชาติ 1. ดานความมนั่ คง 2. ดานการสรา งความสามารถในการแขง ขนั 3. ดาน
ท่เี กีย่ วของ มนุษย
1) ความมน่ั คง 11) การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชวงชีวติ
แผนแมบทภายใต 10) การปรบั เปลี่ยนคานยิ มและวัฒนธรรม 20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั 10) การ
ยุทธศาสตรชาติ 20) การบริการประชาชนและประสิทธภิ าพภาครฐั 11) การ
21) การตอ ตานการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ 12) การ
ท่เี ก่ียวของ แผนแม
ยกระดับ
แผนปฏริ ูปประเทศ
ดา นการศึกษา 2. การ
ทีเ่ กี่ยวของ ปฏริ ูป
การเร
ในศตว
ปฏริ ปู
อ่นื ๆ ท
จางงา

แผนระดบั 2

แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 12 5. ยุทธศาสตรการเสริมสรางความม่ันคงแหง ชาตเิ พ่ือการ 1. การเสริมสรา งและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนุษย 1. การ
(พ.ศ.2560 – 2564) พฒั นาประเทศสูค วามมัง่ คงั่ และยั่งยนื 9. การพฒั นาภาค เมือง และพ้นื ทเ่ี ศรษฐกิจ 9. การ
1. เสรมิ สรางความมัน่ คงของสถาบันหลักของชาตแิ ละ
ท่ีเกี่ยวขอ ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท รง 5. การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแขง ขันของไทย นโยบา
เปน ประมขุ 2 : การผลิตและพฒั นากาํ ลังคน การวจิ ัย และนวตั กรรรม เพอื่ ภยั คกุ
นโยบายและแผน 2. สรางความเปนธรรม ความปรองดอง และความสมานฉนั ทใน สรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ นโยบ
ระดับชาตวิ า ดวย ชาติ 2. การผลติ และพัฒนากําลังคน การวิจยั และนวัตกรรมเพื่อ ความม
ความมนั่ คงแหง ชาติ 1. การปกปองและเชดิ ชูสถาบันพระมหากษัตรยิ  สรางขีดความสามารถในการแขง ขันของประเทศ
(พ.ศ. 2562-2565) 2. พฒั นากําลังคน การวจิ ัย เพอื่ สรางความสามารถในการ 8. การ
1 : การจัดการศึกษาเพอ่ื ความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาติ แขงขันของประเทศ คนไทย
ทเี่ กย่ี วขอ ง 3. การ
1. การจัดการศกึ ษาเพื่อความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาติ 3 : การ
แผนระดบั 3 นโยบายรัฐบาล 1. พฒั นาการจัดการศกึ ษาเพอื่ ความมั่งคง การเรีย
(พลเอก ประยทุ ธ 5 : การ
ส่งิ แวด
จนั ทรโ อชา 3. การพ
นายกรฐั มนตรี) การเรีย
แผนการศึกษา
3. พฒั
แหงชาติ
พ.ศ.2560-2579

แผนปฏิบัตริ าชการ
รายป (พ.ศ.2564)
ของ ศธ. ทีเ่ กี่ยวขอ ง

แผนปฏบิ ัติราชการ
รายป (พ.ศ.2564)
ของ สป.ที่เก่ยี วของ

ราชการรายป (พ.ศ.2564) ของสํานักงานศกึ ษาธิการภาค 5

านการพัฒนาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรัพยากร 4. ดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 6. ดานการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ าร
ย จัดการภาครฐั
10) การปรบั เปล่ียนคานยิ มและวฒั นธรรม
รปรับเปล่ยี นคา นยิ มและวัฒนธรรม 11) การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว งชวี ติ 10) การปรับเปลี่ยนคานยิ มและวัฒนธรรม
รพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว งชีวิต 20) การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธิภาพภาครัฐ 20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั
รพฒั นาการเรยี นรู 21) การตอ ตา นการทุจรติ และประพฤติมิชอบ
มบ ทเฉพาะกิจ ฯ โควิด-19 ประเดน็ ท่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพและ 3. การปฏิรูปเพ่อื ลดความเหล่อื มลํ้าทางการศกึ ษา
บคณุ ภาพชีวิตของคน ปฏิรปู ท่ี 1 การสรา งโอกาสและความเสมอภาคทาง
การศกึ ษาต้งั แตระดบั ปฐมวยั (Big Rock)
รปฏิรปู การพฒั นาเดก็ เลก็ และเดก็ กอนวัยเรียน
ปท่ี 2 การพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนสู
รยี นรูฐานสมรรถนะเพือ่ ตอบสนองการเปล่ยี นแปลง
วรรษที่ 21 (Big Rock)
ปท่ี 4 การจัดอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคีและระบบ
ทเี่ นนการฝกปฏบิ ัตอิ ยางเต็มรปู แบบ นําไปสูการ
านและการสรา งงาน (Big Rock)

รเสรมิ สรางและพฒั นาศักยภาพทุนมนุษย 2. ยทุ ธศาสตรก ารสรางความเปน ธรรมและลดความเหลื่อมล้ํา 6. ยุทธศาสตรการบริหารจัดการในภาครัฐ การปอ งกนั
รพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ในสังคม การทจุ รติ ประพฤติมชิ อบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย

ายที่ ๕ : สรางเสริมศักยภาพการปองกันและแกไขปญหา 9. เสรมิ สรา งความมน่ั คงของชาติจากภัยการทุจริต
กคามขามชาติ
บายที่ ๘ : เสริมสรางความเขมแข็งและภูมิคุมกัน
มน่ั คงภายใน

รปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรแู ละการพฒั นาศักยภาพของ 11. การปฏริ ปู การบริหารจัดการภาครัฐ
ยทุกชวงวัย 12. การปองกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
รทาํ นบุ าํ รุงศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม และกระบวนการยตุ ิธรรม
6 : การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศึกษา
รพฒั นาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหง 4 : การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทยี มทาง
ยนรู การศึกษา 5. การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจดั การศึกษา
รจัดการศกึ ษาเพือ่ สรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปน มิตรกับ 4. การสรา งโอกาสความเสมอภาคและความเทาเทียมทาง
ดลอ ม การศึกษา
รพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว งวยั และการสรางสงั คมแหง
ยนรู

ฒนาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย 4. สรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 5. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การใหม ีประสทิ ธภิ าพ

































คณะผจู ัดทํา

ท่ีปรกึ ษา ศึกษาธิการภาค สาํ นกั งานศกึ ษาธิการภาค 5
ผเู ชยี่ วชาญเฉพาะดานการศึกษา
นายธฤติ ประสานสอน
นายเจน แผลงเดชา

คณะทาํ งาน นกั จัดการงานท่วั ไปชาํ นาญการพิเศษ
นักวชิ าการศึกษาชาํ นาญการพิเศษ
นางสุพตั รา ลยุ ภมู ิประสิทธ์ิ นักวิชาการศึกษาชาํ นาญการ
นางภัคชดุ า เสรีรตั น นกั วชิ าการศกึ ษาชํานาญการ
นางสาวปย ะมาศ บุญเลศิ นกั วชิ าการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร
นางสาวพรรณธิภา ยอดแกว นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร
นางสาวซลั มา นิยมเดชา นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั ิการ
นายพุฒิพฒั น ชัยเกตุธนพัฒน นักจัดการงานท่วั ไปปฏิบัติการ
นายกติ ติคุณ พันธุเสง่ยี ม
นายวธิ วนิ ทวิชญ เนาวนนท

วเิ คราะหค วามเชื่อมโยงของแผน 3 ระดับ และสนับสนุนขอมูล

บุคลากรกลมุ ยุทธศาสตรการศกึ ษา
บุคลากรกลุมตรวจราชการและตดิ ตามประเมินผล
บคุ ลากรกลุมพัฒนาการศกึ ษา
บุคลากรกลุมบริหารงานบุคคล
บุคลากรกลุมอํานวยการ

รวบรวม/เรียบเรียง/เขียนรายงาน นักจัดการงานทว่ั ไปชาํ นาญการพิเศษ
นกั วชิ าการศกึ ษาปฏิบตั ิการ
นางสุพัตรา ลยุ ภูมปิ ระสทิ ธิ์ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบตั ิการ
นายพุฒิพัฒน ชยั เกตุธนพัฒน
นายวิธวินทวชิ ญ เนาวนนท

ออกแบบปก
นายพฒุ ิพัฒน ชยั เกตธุ นพฒั น นักวชิ าการศกึ ษาปฏิบัติการ


Click to View FlipBook Version