The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชา นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลเพื่อการศึกษา หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต รหัสวิชา 1032101 จัดทำเพื่อประกอบการการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by n.natwasa, 2021-09-23 11:09:59

E-book นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ และดิจิทัลเพื่อการศึกษา

รายวิชา นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลเพื่อการศึกษา หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต รหัสวิชา 1032101 จัดทำเพื่อประกอบการการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

E-Book

นวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และดจิ ิทัลเพ่ือการศึกษา

คำแนะนำในกำรใช้สื่อ

รายวิชา นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลเพื่อ
การศึกษา หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต รหัสวิชา 1032101
จัดทาเพื่อประกอบการการเรียนการสอน สาหรับนักศึกษาช้ันปีที่
สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บุรรี ัมย์

โดยนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับนวัตกรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลเพื่อการส่ือสารและการเรียนรู้
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล มี
ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การสร้างประยุกต์ใช้
ประเมินสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัลเพ่ือการ
เรียนรู้ การส่งเสริมผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิดและมีความเป็น
นวัตกร การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล ในการ
จดั การเรียนรู้ตามธรรมชาติของสาขาวิชาเอก เพื่อพัฒนาผู้เรียน
ใหท้ ันต่อการเปลยี่ นแปลงในโลกแห่งอนาคต

สำรบัญ

หน้า

กรณุ าแสกน Qr Code เพื่อทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

บทท่ี 5
การออกแบบ เข้าถงึ และประยุกตใ์ ช้ส่อื ดิจทิ ลั

การออกแบบ เข้าถงึ และประยกุ ตใ์ ชส้ ่ือดิจิทลั

การผลิตสื่อในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็ นสื่อประเภทใดก็ตาม
การนาความรู้เรื่องการออกแบบและพฒั นา นับว่าเป็ นส่วนสาคญั
ท่ีมีบทบาทโดยเฉพาะการผลิต "สื่อการสอน" หรือ "Instructional
Media" ซ่ึงหมายรวมถึงส่ือดั้งเดิม (Traditional Media) ได้แก่ กระ
ดานชอรค์ เทปบันทึกเสียง วิดีทัศน์ สไลด์ ของจริง เป็ นต้น ส่ือ
ใหม่และวิธีการใหม่ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ อินเทอรเ์ น็ต สมารท์
โฟน สื่อประสม สื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น

มีความสาคญั ในการนามาใช้ในเป็ นตัวกลางในการสื่อสาร
ระหว่างผู้ส่งสาร และผู้รับสาร สามารถดึงดูดและช่วยให้เกิดการ
รับรู้ได้ถูกต้อง และรวดเร็ว ส่งผลต่อการจาระยะยาว รวมทั้งทา
ให้เกิดการยอมรับ และเกิดเจตคติทด่ี ีต่อ การเรียนอีกด้วย สื่อท่ี
นามาใช้โดยนาเอาความสามารถในการรับรู้ทางทัศนะ (Visual
Literacy) มาใช้เป็ นแนวคดิ พนื้ ฐาน ก็คือส่ือประเภทกราฟิ ก และ
สื่อส่ิงพิมพ์ ในบทนี้จะกล่าวถึง หลักการแนวคิดการออกแบบ
และพัฒนาส่ือ กราฟิ ก : ความหมายและประเภทหลักการ
ออกแบบกราฟิ ก กราฟิ กกับสื่อสิ่งพิมพ์ และการออกแบบสื่อ
มัลตมิ ีเดยี

2

ส่อื การสอน

3

1. ความหมายของสอ่ื การสอน

เกอรล์ าช และอลี ี (Gerlach and Ely 1971 : 282 )
สื่อการสอนเป็ นกุญแจสาคัญในการวางแผนและการสอนเชิงระบบ

ส่ือเป็ นคาที่มีความหมายกว้างขวางมาก ไม่ว่าจะเป็ นบุคคล วัสดุ อุปกรณ์
หรือเหตุการณ์ท่ีสร้างเง่ือนไขซ่ึงสามารถทาให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ
ตลอดจนทัศนคติ โดยนัยนี้ ครู ตาราและส่ิงแวดล้อมรอบๆ โรงเรียนต่าง
เป็ นสอื่ การเรียนการสอนทัง้ สนิ้

2. ประเภทของสอ่ื การสอน

ในการแบ่งประเภทของสื่อการเรียนการสอนนั้น มีการแบ่งได้หลาย
แบบตามทศั นะของผู้แบ่ง ซึ่งสามารถจาแนกได้เป็ น 8 ทศั นะ ไดแ้ ก่

4

2.1
การแบง่ ประเภทของสอ่ื การเรียนการสอนตามระดับ

ประสบการณข์ องผู้เรียน การเรียนรู้ของมนุษยย์ อ่ มเกดิ
จากประสบการณท์ ผี่ ู้เรียนไดร้ ับรู้จากประสาทสัมผัสต่างๆ
โดยผ่านสื่อกลางเอด็ การ์ เดลย์ (EdgarData)

5

2.2
การแบ่งประเภทของสื่อการสอนตาม

รูปร่างลักษณะของสื่อ ในการแบ่งประเภท
ข อ ง ส่ื อ ต า ม ทั ศ น ะ นี้ ไ ด้ มี นั ก เ ท ค โ น โ ล ยี
การศึกษา ในปัจจุบันได้จาแนกส่ือการเรียน
การสอน ออกเป็ น 3 ประเภท

1 ประเภทเครื่องมือหรืออุปกรณ์ ซึง่ ถอื เป็ นสอื่ ใหญ่ (Hardware)

2 ประเภทวัสดุ หรือสอ่ื เลก็ (Software)

3 ประเภทเทคนิควธิ ีการ (Techniques and Methods)

6

2.3
ยัง (Wilbure Young) ได้แบ่งประเภท

ส่ือการสอน (สันทัด ภิบาลสุข และพิมพใ์ จ
ภบิ าลสุข. 2524 : 39-40) ไว้ดงั นี้

1 ทศั นวสั ดุ ได้แก่ กระดานชอลก์ แผนภมู ิ รูปภาพ สไลด์ ฟิ ลม์
สตริป ฯลฯ

2 โสตวสั ดุ ได้แก่ เทปบันทกึ เสยี ง วทิ ยุ ห้องปฏิบัตกิ ารทางภาษา
ฯลฯ

3 โสตทัศนวสั ดุ ได้แก่ ภาพยนตร์ โทรทัศน์

4 เคร่ืองมือต่างๆ ได้แก่ เครื่องฉาย เครื่องเสยี ง ฯลฯ

5 กิจกรรม ไดแ้ ก่ นิทรรศการ การสาธิต นาฏการ การศึกษานอก
สถานท่ี

7

2.4 2.4 เกอรล์ าช และ อีลี (Gerlach and Ely 1979 : 247-250)
ได้แบง่ สอ่ื การเรียนการสอนออกเป็ น 6 ประเภทไดแ้ ก่

1 ภาพน่ิง

2 การบนั ทกึ เสียง ได้แก่สือ่ ทบ่ี นั ทกึ เสยี งไว้

3 ภาพเคล่ือนไหว ได้แก่ ฟิ ลม์ ภาพยนตร์ และเทปโทรทศั น์

4 โทรทัศน์

5 ของจริง สถานการณจ์ าลอง และหุ่นจาลอง
(Real Things, Simulation and Models)

6 การสอนแบบโปรแกรมและคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน
(Programmed and Compute Assised Instruction)

8

2.5

เปร่ือง กุมุท ได้จัดแบ่งสื่อการเรียนการสอนไว้
เป็ น 5 ประเภท (จรี ารัตน์ ชริ เวทย.์ 2526 : 24) ดงั นี้

1 บุคลากร ได้แก่ ครู วทิ ยากร ฯลฯ

2 วสั ดุ ไดแ้ ก่ กระดาษ สี ของจริง สงิ่ จาลอง หนังสือ ฟิ ลม์ ฯลฯ
3 เครื่องมืออุปกรณ์ ได้แก่ เคร่ืองฉาย เครื่องปฏบิ ตั งิ าน ฯลฯ
4 สถานท่ี ไดแ้ ก่ หอ้ งปฏบิ ัตงิ าน ฟารม์ โรงงาน พพิ ธิ ภณั ฑ์ ฯลฯ

5 กิจกรรม ๆ ได้แก่ การสาธิต การจดั นิทรรศการ การแสดง
บทบาทสมมุติ

9

2.6
เปร่ือง กุมุท ได้จัดแบ่งส่ือการเรียนการสอนไว้

เป็ น 5 ประเภท (จรี ารัตน์ ชริ เวทย.์ 2526 : 24) ดงั นี้

1 บุคลากร ไดแ้ ก่ ครู วทิ ยากร ฯลฯ

2 สือ่ ทต่ี ้องฉายและสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ ภาพยนตร์

โทรทศั น์ ภาพน่ิง สไลด์ คอมพวิ เตอร์

10

2.7 เดอ คฟี เฟอร์ (Robert E. De Kieffer) ได้แบ่งสื่อการ
เรียนการสอนออกเป็ น 3 ประเภท โดยยดึ ถอื ลักษณะการใช้
งาน (สันทัด ภิบาลสุข และพิมพใ์ จ ภิบาลสุข. 2526 : 40)
ดงั นี้

1 สื่อทไ่ี ม่ตอ้ งใชก้ ับเคร่ืองฉาย ไดแ้ ก่ กระดานชอลก์
รูปภาพ แผนภมู ิ แผนสถติ ิ ป้ายนิเทศ แผ่นป้าย สาลีลูกโลก

แผนที่ การสาธิต การจักนิทรรศการ และนาฏการ เป็ นต้น

2 สือ่ ทใ่ี ชก้ ับเครื่องฉาย ได้แก่ สไลด์ ฟิ ลม์ สตริป

ภาพยนตร์ เคร่ืองฉายทบึ แสง เครื่องฉายภาพขา้ ม
ศีรษะ เป็ นตน้

3 สอื่ ประเภทเคร่ืองเสียง ได้แก่ วทิ ยุ เครื่องขยาย

เสียง เครื่องบันทกึ เสียง เป็ นต้น

11

2.6
เปรื่อง กุมุท ได้จัดแบ่งส่ือการเรียนการสอนไว้

เป็ น 5 ประเภท (จรี ารัตน์ ชริ เวทย.์ 2526 : 24) ดงั นี้

1 บุคลากร ไดแ้ ก่ ครู วทิ ยากร ฯลฯ

2 สอื่ ทตี่ ้องฉายและสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ ภาพยนตร์

โทรทัศน์ ภาพน่ิง สไลด์ คอมพวิ เตอร์

12

2.8 การแบ่งส่ือการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 จาแนกเป็ น ประเภทใหญ่ ๆ ได้
3 ประเภท ดงั นี้ (กรมวชิ าการ 2546 : 7-9)

1 สื่อสง่ิ พมิ พ์
2 ส่ือเทคโนโลยี
3 สอื่ อน่ื ๆ

13

3. บทบาทและคณุ คา่ ของส่ือการเรยี นการสอน

3.1 ได้มีนักเทคโนโลยีการศึกษา ได้ประมวลบทบาทและคุณค่าของส่ือการ
เรียนการสอนต่อประสิทธิภาพของการเรียนการสอน พอสรุปได้ดงั นี้

ศิริพงศ์ พะยอมแย้ม 2533 : 74-76,ริคสัน (Erickson 1968 : 112) ได้
กล่าวถงึ ความสาคญั ของส่อื การเรียนการสอนไวด้ ังนี้

1.ส่ือการเรียนการสอนจะช่วยเพ่ิมพูนประสบการณ์ให้แก่ผู้เรยี นได้
เป็ นอยา่ งดี
2.ส่ือการเรียนการสอนจะช่วยให้ผู้สอนสามารถจัดประสบการณใ์ หแ้ ก่
ผู้เรียนได้หลายรูปแบบ
3.ส่ือการเรียนการสอนจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการตอบสนองตามที่
คาดหวังจะให้เกดิ ขนึ้ ในตัวผู้เรียน
4.สื่อการเรียนการสอนจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทากิจกรรมหลายๆ
รูปแบบ
5.ส่อื การเรียนการสอนจะชว่ ยสอนส่งิ ทอ่ี ย่ใู นทล่ี ีล้ ับไมส่ ามารถนามาใ ห้
ดูโดยตรงได้
6.สื่อการเรียนการสอนจะช่วยในการสื่อความหมายระหว่างผู้เรียนกับ
ผู้สอนใหช้ ดั เจนเป็ นรูปธรรมมากยง่ิ ขนึ้
7.สื่อการเรียนการสอนจะชว่ ยในการวนิ ิจฉัย หรือ การซ่อมเสริมผู้เรียน
ได้

14

การวเิ คราะห์ส่อื ดจิ ทิ ลั การศกึ ษา

การวเิ คราะหป์ ัจจยั ป้อนเขา้ ของระบบด้วย
การวิเคราะ"กหปา์ ัรจจวยัาปงแอ้ นผเนขา้กขาอรงใรชะบ้สบ่ือดกว้ ายร"เกราียรวนากงแาผรนสกอานรใ"ช(Iส้ N่ือPกาUรTเร)ยี นการสอน"(INPUT)
การวเิ คราะหกป์ าัจรจวยั เิปคอ้ รนาเขะา้หขป์อังจรจะัยบบปห้อรนอื กเขารา้ วขาองแงผรนะกบาบรใหชรส้ อื่ กกาารรเรวยี านงกแาผรสนอกนาใรหใม้ ชีป้สระื่อสิทธิภาพ

การเรียนกานรนั้ สขอน้ั นตใอหนม้สาปี ครญั ะทส่ีคิทวธรพภิ จิ าาพรณนัา้นปขระนั้ กตอบอดนว้ สยาคัญทค่ี วร
พจิ ารณาประกอบดว้ ย

15

ขนั้ ท่ี 1 : การวิเคราะห์ปญั หา/ความจาเป็นในการจัดการเรียนการสอน
(Instructional Problem)

การวเิ คราะหป์ ัญหา/ความจาเป็ นในการจัดการเรียนการสอน เป็ น
ขัน้ แรกในการออกแบบการเรียนการสอนซงึ่ จะชว่ ยใหผ้ สู้ อนสามารถระบุ
สภาพปัญหาที่แท้จริงและตัดปัญหาที่ไม่เกี่ยวข้องออกไปได้ นาไปสู่การ
วางแผนการใช้ส่ือฯ ในการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ การ
วเิ คราะหป์ ัญหา/ความจาเป็ นในการจัดการเรียนการสอนมี

ขั้นท่ี 2 : การวิเคราะห์ลกั ษณะของผเู้ รียน (Learner Characteristics)

โดย ส าม ารถพิจ ารณ าจ าก ลั ก ษ ณ ะ ท่ัว ไ ป ขอ ง ผู้ เ รี ย น ไ ด้แก่
บุคลิกลักษณะท่ัวไป คือ ความสามารถจาเพาะพืน้ ฐานในการใช้ส่ือพืน้ ฐาน
สื่ออิเล็กทรอนิกสต์ ่าง ๆ ตลอดจนรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน รวมถึงการ
พิจารณาเก่ียวกับข้อมูลการศึกษา ลักษณะเฉพาะ และสุดท้ายคือการ
วิเคราะหบ์ ริบทท่สี ัมพันธก์ ับผู้เรียน ซ่ึงเป็ นการนาข้อมูลสภาพความเป็ นจริง
ของสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวผู้เรียนว่ามีผลกระทบอย่างไรบ้างเก่ียวกับการ
ออกแบบและการสื่อสารระหว่างการเรียนการสอน โดยอาจจาแนกออกเป็ น
บริบทท่วั ไปและบริบทการเรียนการสอนเป็ นตน้

16

ข้ันท่ี 3 : การวิเคราะหเ์ นือ้ หาบทเรยี นที่สัมพันธก์ บั เป้าหมายในการเรียนรู้ที่
กาหนดไว้ (Task Analysis)

การวเิ คราะหเ์ นือ้ หาและงานทีส่ ัมพันธก์ ับเป้าหมายในการเรียนการสอน
ท่ีกาหนดไว้ทาได้โดยพิจารณาจากความรู้และทักษะท่ีจาเป็ นต้องมีใน
บทเรียนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงคท์ ี่ตั้งไว้ และความรู้พืน้ ฐานที่ผู้เรียน
จาเป็ นต้องมีมาก่อน จากนั้นควรจัดเรียงเนือ้ หาอย่างเป็ นระบบโดยระบุ
ส่วนประกอบทสี่ าคัญในเนือ้ หาและรายละเอยี ดเกีย่ วกับการลงมือปฏิบัติ

ขั้นที่ 4 : การวเิ คราะหว์ ตั ถปุ ระสงค์ (Instructional objectives)

การวิเคราะหว์ ัตถุประสงค์ จะช่วยให้เกิดกระบวนการเรียนการ
สอนและการวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการสอนได้อย่างชัดเจนและ
ถกู ต้อง ตรงตามเป้าหมายทไี่ ด้ตงั้ ไว้ อกี ทัง้ ยังส่งผลต่อการผลิตและใช้สื่อ
อย่างเป็ นระบบ ตลอดจนคุณภาพการเรียนการสอนในระยะยาวต่อไป
โดยวัตถุประสงคท์ างการเรียนการสอนนั้นสามารถจาแนกได้เป็ น 3 ด้าน
คอื ด้านพุทธิพสิ ัย (Cognitive Domain) ด้านจติ พิสัย (Affective Domain)
และด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ด้านพุทธิพสิ ัยได้แก่ความรู้
ความจาและความเข้าใจ

17

ขนั้ ที่ 5 : การวเิ คราะหร์ ูปแบบการนาเสนอเน้อื หาและกิจกรรมท่ีเหมาะสม (Appropriate
settings of contents and activities)
และการออกแบบกลยทุ ธก์ ารเรยี นการสอน (Instructional Strategies)

การวิเคราะหร์ ูปแบบการนาเสนอเนื้อหาและกิจกรรมท่ีเหมาะสม
(Appropriate settings of contents and activities) สามารถทาได้โดย
พิ จ า ร ณ า จ า ก คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ผู้ เ รี ย น แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ผู้ เ รี ย น
ประกอบดว้ ยการระบุความรู้และทักษะทผี่ ู้เรียนจาเป็ นตอ้ งมีมาก่อน การ
จัดรูปแบบการนาเสนอเนื้อหาโดยเร่ิมจากสิ่งท่ีผู้เรียนคุ้นเคยและจาก
ความสนใจของผู้เรียนพัฒนาไปสู่เนื้อหาท่ียากและซับซ้อนย่ิงขึ้น
นอกจากนี้การนาเสนอเนือ้ หาสามารถพจิ ารณาจากบริบทและภาพรวม
โดยการนาเสนอเนือ้ หาให้มีความสอดคล้องกับสถานการณท์ ่ีผู้เรียนอาจ
ตอ้ งเผชญิ ในชวี ติ จริง

18

การออกแบบกลยุทธ์การเรียนการสอนก็มีความสาคัญ โดยมี
วัตถุประสงคส์ ูงสุดคือเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามวัตถุประสงค์
ได้รับความรู้และมีความพอใจ ใช้กลยุทธ์ท่ีสอดคล้องกับรูปแบบการ
จัดการเรียนการสอนและวธิ ีการสอนทเี่ หมาะสมกับการเรียนรู้ในศตวรรษ
ท่ี 21 เป้าหมายหลักคอื เพอื่ ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดกับผู้เรียน

12ก3...ลกกกยาาาุทรรรธใใใ3กชชช์ .าส้้้สสก1รอือื่อ่ื่.า2ใกร.เเเชใพพพากช้สราอออืื่ื่่ส้ใรื่อช่ือชชชใใสช้เ่่วว่วพกน่ือส้ ยยยล่อืเ่ือกพยใใใชเาพนนน่อืทุ่วรยช่อืธกกกเ่วใชก์ ราาานยว่าียรรรกใยรนเเเนใาใรรรชนกรกีีียยยสเ้ากรา่ือนนนรยาี รเใรนรกกกนสเยีกราาากอนยีารรรานกรนรสสสสากเมรออออรายีสนดีรนนนนอสเังเเเนกนอนนนนือา้นเนืืืีอออร้้้้หเสนือ้าหหหอหือท้ าาานหา่ีเทททปมทา็นท่เเเีีดเี่่ี่ี ปปปปก่ีเงั ็ปน็็็นฎนนน็นขีแ้ กขมอ้มลอ้ฎเโโะทนนหเแจ็ ทททลจลศัจ็กัรศั ะงกิจหารรลิงักการ
4. การใช4ส้ .อ่ื กเาพรใอ่ื ชชส้ ่ือ่วเยพใ่อื นชว่กยาใรนเกราียรนเรยีกนากราสรอสอนนเนเนือ้ือ้ หหาาทท่ีเปเี่ ป็น็ กนรกะรบะวบนกวานรการ
55. .กกาารรใชชส้ ส้ ่ือ่ือเพเพ่อื ชอ่ื ่วชยว่ในยกใานรเกรยีานรเกราียรสนอกนาเนรือ้สหอานท่ีเนนน้ ือ้ กหาราพทฒั เี่ นน้นาทกกั าษระพระฒั หนวา่ างทบกัคุ คษละ
ระหว่างบ6ุค.คกลารใชส้ ่ือเพ่อื ชว่ ยในการเรยี นการสอนเนือ้ หาท่ีเก่ียวกบั ทศั นคติ
6. การใช้ส่ือเพอ่ื ช่วยในการเรียนการสอนเนือ้ หาทเี่ กย่ี วกับทัศนคติ

19

การออกแบบ การประยุกตใ์ ช้ส่อื ดิจทิ ลั การศกึ ษา

20

1. การออกแบบสอ่ื ดจิ ทิ ัลการศกึ ษา

การออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) เป้าหมายหลัก
ของการจัดการเรียนการสอน คือ การทาสาเร็จบรรลุตามเป้าหมายและ
จุดประสงคท์ ่ีกาหนดไว้ในกิจกรรมการเรียนการสอน กระบวนการออกแบบ
การเรียนการสอนจึงเป็ นกุญแจสาคัญที่จะทาให้การจัดการเรียนการสอน
บรรลุเป้าหมายได้ ทั้งนี้การออกแบบสื่อการสอนจาเป็ นต้องกาหนดลาดับ
ขัน้ ตอนไวใ้ ห้ชดั เจน เพอ่ื ไม่ใหผ้ ู้สอนเกดิ ความสับสนในขณะพัฒนา

ซึ่งขั้นตอนท่ีมักนามาใช้ในการออกแบบและพัฒนามาจากแนวคิด
ทฤษฎีพนื้ ฐาน 3 ทฤษฎี คอื The Events of Instruction ของ Gagne (1992)
ทฤษฎรี ะบบทนี่ าเอารูปแบบการเรียนการสอนทเี่ ป็ นแบบจาลองการออกแบบ
ADDIE ซ่ึงเป็ นรากฐานท่ีนาไปสู่แบบจาลองอ่ืนๆ มาใช้ และ ทฤษฎีการรับรู้
ทางทัศนะ

21

1.1 แนวคดิ การออกแบบของ Gagne

แนวคดิ ในการออกแบบขนั้ ตอนการสอนทเี่ รียกว่า The Event of Instruction
ประกอบดว้ ยขนั้ ตอนกระบวนการเรียนการสอน 9 ขัน้ ตอนดังนี้

1) การกระตุ้นความสนใจ (Gaining Attention)
2) การแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ใหผ้ ู้เรียนทราบ (Informing Learner of
Lesson Objective)
3) การกระตุน้ ใหร้ ะลึกถงึ ความรู้เดมิ (Stimnulating Recall of
Prerequisite Learning)
4) การนาเสนอส่งิ เร้าหรือเนือ้ หาใหม่ (Presenting the Stimulus
Materials)
5) การแนะแนวทางการเรียนรู้ (Providing Learning Guide)
6) การกระตุน้ ใหแ้ สดงความสามารถ (Eliciting the Performance)
7)การใหข้ อ้ มูลป้อนกลับ (Providing Feedback about Performance
Correctness)
8) การประเมนิ ผลการแสดงออก (Assessing the Performance)
9) การส่งเสริมความคงทนและการถา่ ยโอนการเรียนรู้ (Enhancing
Retention and Transfer

22

1.2 ADDIE Model กับการออกแบบและพฒั นาส่อื

เป็ นรูปแบบระบบการเรียนการสอนท่ีนิยมนามาใช้ในการออกแบบ

และพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เนื่องจากเป็ นรูปแบบที่ง่ายและมขี ั้นตอน

ชัดเจ น ส า มา ร ถน า ไ ปใช้ไ ด้กั บก า รออก แบบและ พั ฒ น า สื่ อหล า ย รู ปแบบ

โดยเฉพาะการพฒั นาสอื่ มัลติมีเดยี ลักษณะต่าง ๆ โดยมีขัน้ ตอนของ ADDIE

Model ประกอบด้วย

A : Analysis (การวเิ คราะห)์

D : Design (การออกแบบ)

D : Development (การพัฒนา)

I : Implementation (การนาไปใช)้

E : Evaluation (การประเมนิ ผล)

23

1.3 แนวคิด ทฤษฎกี ารรับร้ทู างทศั นะ

เน่ืองจากในปัจจุบัน การเรียนรู้ไม่ได้เกิดขึน้ จากการใช้ภาษาท่ีเป็ น
ภาษาเขียน หรือข้อความต่างๆ เท่านั้น รูปแบบการเรียนรู้จากสัญลักษณ์
อืน่ ๆ ก็เกิดขนึ้ ได้ โดยเฉพาะ การนาเสนอในรูปของทัศนสาร (Visual Aids)
ซ่ึงปัจจุบัน เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ๆ เกิดขึน้ มากมาย โดยเฉพาะการนา
ภาพ สัญลักษณ์ มาใช้แทนตัวอักษร ภาษา คาพูด ท่ีมีความเป็ นนามธรรม
มาก เพราะสามารถลดปัญหาในการรับรู้ และแปลความหมายให้กับผู้ที่มี
ปัญหาในการเรียนรู้จากตารา ข้อความ หรือผู้ท่ีเรียกว่า อ่านไม่ออกได้เป็ น
อย่างดี โดยนาทศั นสารผ่านตวั กลางทส่ี ามารถนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆเช่น
สอ่ื ส่งิ พมิ พ์ สอื่ ดจิ ทิ ลั เป็ นต้น

24

2. หลกั การออกแบบกราฟกิ

ในการออกแบบกราฟิ ก เพื่อให้ตรงกับประเภทและเกิดประโยชน์ต่อการ
นาไปใชน้ ั้น ผู้ผลิตงาน ควรคานึงหลักการในการออกแบบดังตอ่ ไปนี้

2.1 หลักการทางศิลปะ

1) รูปแบบ/ขนาดตัวอักษร
2) ระยะห่างและพนื้ ทวี่ า่ ง
3) การกาหนดโครงสร้างสี
4) การจดั วางตาแหน่ง

25

2.2 องค์ประกอบในการออกแบบ

1) ความง่าย (Simplicity) 2) ความเป็ นเอกภาพ (Unity)

3) การเน้น (Emphasis) 4) ความสมดุล (Balance)

5) รูปร่าง (Shapes) 6) ชอ่ งว่าง (Space)

7) เส้น (Lines) 8) พนื้ ผวิ (Texture)

9) สี (Color) 10) สัดส่วน (Proportion)

11) การรวบรวมจดั วาง (Organize) 12) การอ่านได้ง่าย (Legibility)

26

2.2 องค์ประกอบในการออกแบบ

1) ความง่าย (Simplicity) 2) ความเป็ นเอกภาพ (Unity)

3) การเน้น (Emphasis) 4) ความสมดุล (Balance)

5) รูปร่าง (Shapes) 6) ชอ่ งวา่ ง (Space)

7) เส้น (Lines) 8) พนื้ ผิว (Texture)

9) สี (Color) 10) สัดส่วน (Proportion)

11) การรวบรวมจดั วาง (Organize) 12) การอ่านได้ง่าย (Legibility)

27

2.3 การออกแบบหนา้ จอ

สาหรับการสร้างชิน้ งานเพื่อนาเสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น
การทาบทเรียนคอมพิวเตอร์ บทเรียนมัลติมีเดีย โปรแกรมการนาเสนอ ซ่ึง
ต้องมีการนาเสนอบนจอคอมพิวเตอร์นั้น หลักพื้นฐานของการออกแบบ
กราฟิ กสาหรับการนาเสนอบนหน้าจอ ควรประกอบด้วย ความเรียบง่าย
ความสม่าเสมอ ความชัดเจนในประเดน็ การนาเสนอ และความสวยงามน่าดู

1 ความเรียบงา่ ย (Simplicity)
2 ความสม่าเสมอ (Consistency)
3 ความชดั เจน (Clarity)
4 ความสวยงามน่าดู (Aesthetic Consideration)

28

3 หลักการออกกราฟิกกบั สือ่ ส่งิ พมิ พ์

3.1 ความหมายและความสาคัญ
ส่อื สิง่ พมิ พ์ (Printed Materials)

เป็ นส่ือทเี่ กิดขนึ้ โดยผ่านระบบการทาสาเนาภาพและข้อความ โดยมีการ
พฒั นาระบบการพมิ พม์ าตงั้ แตป่ ี ค.ศ.1476 ในประเทศอังกฤษ และแพร่หลาย
พัฒนามาสู่ประเทศทางยุโรป ระบบการพิมพ์มีการพัฒนามาจากการใช้
แม่พิมพ์ การทาสาเนาด้วยระบบล้อหมุน ต่อมามีการพัฒนาเคร่ือง
คอมพิวเตอรแ์ ทนพิมพด์ ีด ซึ่งเป็ นผลต่อนวัตกรรมทางการพิมพจ์ ากการทา
แม่แบบการใช้แม่พิมพ์ มาจนถึงการใช้ระบบคอมพวิ เตอรค์ วบคุมการทางาน
ของการผลิตส่งพมิ พ์ โดยใช้ปริน้ เตอรใ์ นแบบต่างๆ ส่งผลให้สื่อส่ิงพิมพผ์ ลิต
ได้อย่างมคี ุณภาพ ราคาถูกลง และนาไปใช้ได้อย่างกว้างขวางและใช้ได้กับคน
จานวนมากในเวลาเดยี วกัน

29

3.2 ประเภทของส่ือส่ิงพิมพ์

การนาส่ือส่ิงพิมพม์ าใช้ในการเรียนการสอน เน้นการแพร่กระจายของ
สาระเนื้อหาไปยังผู้รับได้พร้อมๆ กัน จานวนมาก ซึ่งจะเห็นได้ว่าในวงการ
โฆษณาและธุรกิจนิยมใช้ส่อื ส่งิ พมิ พ์ ดังนั้น ถ้าจะแยกประเภทของสื่อสิ่งพมิ พ์
โดยท่ัว ๆ ไปสามารถจาแนกออกได้ดงั นี้

1) ตารา/เอกสารประกอบการสอน/บทเรียนสาเร็จรูป
2) ใบงาน/ใบความรู้/แบบฝึ ก
3) แผ่นพับ
4) ภาพโฆษณา/ป้ายโฆษณา
5) หนังสือพมิ พ์
6) นิตยสาร/วารสาร
7) จดหมายข่าว

30

3.3 การออกแบบสอ่ื สิ่งพมิ พ์ประเภทตา่ ง ๆ

ในการผลิตงานกราฟิ กบนสื่อส่ิงพมิ พน์ ั้นการออกแบบให้สอดคล้องกับ
ลักษณะของสื่อเป็ นสิ่งที่ควรคานึง เพื่อให้การผลิตการผลิตงานได้อย่าง

น่าสนใจ ตึงดูดให้ผู้รับรู้สามารถรับและอ่านความหมายของสัญลักษณ์ใน
รูปแบบต่างๆ บนสื่อแหล่านั้นได้อย่างถูกต้อง และมีความหมายต่อการรับรู้
รูปแบบของกราฟิ กกับส่ือสิ่งพิมพ์ ท่ีนามาใช้ในการศึกษา แยกออกตาม
ประเภทไดด้ ังนี้

1 การออกแบบโปสเตอร์ (Poster) 2 การออกแบบแผน่ พับ (Brochure)

3 การออกแบบปกหนังสือ 4 การออกแบบภาพประกอบ

(Cover Design) (Iustration)

31

4.การออกแบบสื่อมลั ตมิ เี ดีย

“มัลตมิ ีเดยี สามารถสร้างขนึ้ จากโปรแกรมประยุกตห์ ลายๆ โปรแกรม
แตอ่ ยา่ งไรก็ตามจะต้องประกอบด้วย 2 สอ่ื หรือมากกว่าตามองคป์ ระกอบดังนี้

คอื ข้อความ ภาพน่ิง เสียง ภาพเคล่อื นไหว การเชอ่ื มโยงแบบปฏิสัมพันธ์
ภาพยนตร์ หรือวดี ทิ ัศน”์

32

1. ขั้นการวางแผน (Planning)

ในกระบวนการพฒั นาบทเรียนมัลตมิ เี ดยี เพอื่ การ
เรียนรู้ ขัน้ ตอนการวางแผน นับวา่ เป็ น ขัน้ ตอนทสี่ าคญั อยา่ ง
ยง่ิ เน่ืองจากเกยี่ วข้องกับการวเิ คราะหแ์ ละกาหนดแผนการ
ปฏิบัตงิ าน ขนั้ ตอนการวางแผนประกอบดว้ ย

1 กำหนดเปำ้ หมำย
2 วเิ ครำะห์ปจั จัยที่เก่ยี วขอ้ ง

2.1 กลุ่มเป้าหมายและความต้องการในการเรียน
2.2 เนือ้ หาวชิ า
2.3 ทรัพยากรตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งเป็ นการวเิ คราะห์

3 กำหนดแผนกำรปฏิบตั ิงำน

33

2. ขนั้ การออกแบบ (design)

ขั้นตอนการออกแบบประกอบดว้ ย

1. การเขยี นวัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
2. การเขยี นเนือ้ หา
3. การกาหนดรูปแบบ กลวธิ ีในการสอน
และวิธกี ารประเมนิ ผล
4. การวางโครงสร้างของบทเรียนและ
เส้นทางการควบคุมบทเรียน
5. การเขยี นผังการทางาน (Flow Chart)
6 การร่างส่วนประกอบตา่ งๆ ในหน้าจอ
(Interface Layout)
7 การเขยี นแผนโครงเรื่อง (Storyboard)

34

3. ขั้นการพฒั นา (Development)

ขั้นตอนการพฒั นาประกอบดว้ ย

1 กำรเตรยี มสอื่ ในกำรนำเสนอเนื้อหำ
2 กำรเตรยี มกรำฟกิ ที่ใชต้ กแตง่ หนำ้ จอ
3 กำรเขียนโปรแกรม
4 กำรทดสอบกำรใชง้ ำนเบื้องต้น
5 กำรสร้ำงคู่มอื กำรใช้งำนและบรรจุภณั ฑ์

35

4.ขน้ั การประเมินและปรับปรงุ (Evaluation and Revise)

ขั้นตอนประกอบด้วย

1
ข้ันตอนกำรประเมินคณุ ภำพโดยผู้เช่ยี วชำญ
(Expert Evaluation)

2 ขัน้ ตอนกำรประเมนิ ดำ้ นเน้อื หำ

2.1 ดำ้ นกำรออกแบบกำรเรยี นกำร
สอน

2.2 ดำ้ นกำรออกแบบหนำ้ จอ
2.3 ด้ำนกำรใช้งำน

36

3

ขั้นตอนกำรทดลองใช้กบั ผเู้ รียน (Learner Try-out)
3.1 ข้นั ตอนท่ี 1 ทดสอบนำรอ่ ง (Pilot Testing)
3.2 ขนั้ ตอนที่ 2 กำรทดสอบภำคสนำม (Field Tesing)

4 ขนั้ กำรหำประสิทธภิ ำพของบทเรยี น
5

ขนั้ กำรวัดผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียน

6 ขั้นกำรวัดควำมพึงพอใจในกำรใช้งำน
7

ข้ันกำรปรบั ปรงุ แกไ้ ข (revise)

37

บทท่ี 6
ปญั หาและการแก้ปัญหา การสร้างสรรคด์ ว้ ยการใชง้ าน
เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล

ปญั หาที่พบในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

1. ปญั หาด้านบุคลากร

บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในการผลิตส่ือประกอบการจัดกิจกรรม
บุคลากรขาดประสบการณใ์ นการใช้สื่อนวัตกรรมทางการศึกษา ไม่เข้าใจและ
รู้จักการใช้นวัตกรรมที่ทางโรงเรียนจัดทาขึ้นขาดความชานาญในการใช้
นวตั กรรม ขาดส่อื ประกอบการเรียน บุคลากรส่วนใหญ่ให้ความร่วมมอื ในการ
ใช้นวัตกรรม แต่ขาดความต่อเน่ืองแนวทางแก้ไข คือ สร้างความตระหนัก
ความรับผิดชอบในส่วนที่ยังบกพร่องทางนวัตกรรมของบุคลากร ส่งเสริมให้
เข้าร่วมการอบรมสัมมนา ส่งเสริมให้เกิดการศึกษาด้วยตนเอง เพ่อื ให้ความรู้
และประสบการณใ์ นการใชส้ อื่ นวัตกรรมทางการศึกษาทม่ี ากขนึ้

39

2. ปญั หาด้านวัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ เก่ียวกบั นวตั กรรม

คือ ขาดงบประมาณในการพัฒนานวัตกรรม ขาดวัสดุ - อุปกรณแ์ ละ
งบประมาณท่ีจะพัฒนาส่ือนวัตกรรม การจัดหา การใช้ การดูแลรักษาและ
ขาดงบจัดหาสื่อท่ีทันสมัย แนวทางการแก้ไข เพ่ิมงบประมาณให้เพยี งพอ ให้
หน่วยงานท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องจัดหางบประมาณสนับสนุน สานักงานเขตพืน้ ท่ี
ต้องช่วยดูแลและให้ความช่วยเหลือจัดสรรงบประมาณได้ เพ่ือใช้ในการ
พัฒนานวัตกรรมให้มีคุณภาพดีย่ิงขึน้ และระดมทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น มา
ชว่ ยสนับสนุน

3. ปญั หาด้านสภาพแวดล้อม
และสถานที่การใชน้ วตั กรรม

สภาพแวดล้อมโดยท่ัวไปยังไม่เหมาะกับการใช้สื่อ เนื่องจากความ
ยุ่งยากและไม่คล่องตัว มสี ถานทไ่ี ม่เป็ นสัดส่วน ไม่มีห้องทใ่ี ช้เก็บเพื่อรักษาสื่อ
นวัตกรรมเป็ นการเฉพาะ ทาให้การดูแลทาได้ยากและขาดการพัฒนาท่ี
ต่อเนื่อง แนวทางการแก้ไข คือ การใช้สื่อนวัตกรรมตามความเหมาะสมของ
เนื้อหาวิชาตามความยากง่ายของเนื้อหา จัดทาห้องส่ือเคลื่อนที่ บางซ่ือไป
ตามห้องให้ครูรับผดิ ชอบ ควรจดั หาห้องเพอ่ื การนีเ้ ป็ นการเฉพาะ

40

4. ปัญหาดา้ นสภาพการเรยี นการสอน

เด็กมีความแตกต่างกันด้านสติปั ญญา และด้านร่างกาย ปั ญหา
ครอบครัวแตกแยก เด็กอาศัยอยู่กับญาติ มีเนื้อหาวิชาที่มากและสาระ การ
เรียนการสอนแต่ละครั้งไม่ต่อเนื่องนักเรียนบางคนไม่สบายใจในกิจกรรม
และทาไม่จริงจังจึงมีผลต่อการจัดกิจกรรม นักเรียนต้องเข้าคิวรอนานกับ
นวัตกรรมบางชนิด และสภาพการเรียนการสอน ครูยงั ยดึ วธิ ีการสอนแบบเดมิ
คือ บรรยายหน้าชั้นเรียน ครูยังไม่มีการนาส่ือนวัตกรรมมาใช้ในการจัดการ
เรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง แนวทางแก้ไข คือ จัดกลุ่มให้เพ่ือนช่วยเพื่อน
คอยกากับแนะนาชว่ ยเหลอื จดั ครูเขา้ สอนตามประสบการณค์ วามถนัด

5. ปญั หาด้านการวดั ผลและประเมินผล

บุคลากรขาดความรู้ในการที่จะนาส่ือนวัตกรรมมาใช้ในการวัดผลและ
ประเมินผล นักเรียนทไ่ี ม่ค่อยสนใจหรือไม่ชอบกิจกรรมก็จะมีผลต่อการจดั ผล
ประเมินผล ขาดนวัตกรรม ส่ือคอมพวิ เตอร์ อินเตอรเ์ น็ต การวัดประเมินผล
ครูส่วนใหญ่ยังใช้วธิ ีการทาแบบทดสอบ แบบปรนัย แนวทางการแก้ไข จัดทา
แบบสอบถามส่งเป็ นรายบุคคล เพศชาย หญิง เน้นนักเรียนได้ฝึ กปฏิบัติจริง
และสร้างองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง จัดแบบทดสอบทีห่ ลากหลาย ทั้งแบบปรนัย
และอัตนัย และประเมนิ ผลตามสภาพจริง ประเมินผลงานจากแฟ้มสะสมงาน

41

แนวทางการแก้ปัญหาการใชน้ วตั กรรมและ
เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. กรณีศกึ ษาการแก้ไขปัญหาทเ่ี กดิ จากการใช้นวตั กรรมเทคโนโลยีและ
สารสนเทศ การนาเอานวตั กรรม เทคโนโลยี หรือ สารสนเทศมาใช้ในประเทศ
ไทย มีผลกระทบต่อประเทศชาติและสังคม มีหลายประการซึ่งจะทาให้เกดิ
การเปลย่ี นแปลงในสังคม ผลกระทบทางนวตั กรรม และการจัดการเทคโนโลยี
ในทางบวกและทางลบนั้น มีดงั นี้

1.1 ผลกระทบในทางบวก ++

1.1.1 ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์ นวัตกรรมเทคโนโลยี
ช่วยทาให้มนุษยม์ ีชีวิตความเป็ นอยู่ที่ดีขึน้ ช่วยส่งเสริมให้มีประสิทธิภาพใน
การทางาน

1.1.2 ช่วยทาให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น ระบบการผลิตสินค้าใน
ปัจจบุ ันเป็ นระบบทต่ี ้องการผลิตสนิ ค้าจานวนมาก มีคุณภาพมาตรฐาน การผลิตใน
สมัยปั จจุบันใช้เคร่ืองจักรทางานอย่างอัตโนมัติสามารถทางานได้ตลอดยี่สิบสี่
ช่ัวโมง สินค้าทไี่ ด้มีคุณภาพดแี ละปรมิ าณเพยี งพอกบั ความตอ้ งการของผู้บริโภค

42

1.1 ผลกระทบในทางบวก ++

1.1.3 ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยให้มีความสะดวกและมี
ประสิทธิภาพมากขึน้ ทาให้ประเทศชาติได้มีนักวิจัยและองคค์ วามรู้ใหม่ๆ
เกิดขึน้ อย่างรวดเร็วขึน้ กว่าสมัยก่อน ด้วยการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
และระบบสื่อสาร

1.1.4 ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็ นอยู่ให้ดีขึน้ นวัตกรรมและการ
จัดการเทคโนโลยี มาช่วยงานทางด้านการแพทยใ์ ห้เจริญก้าวหน้าขึน้ อีกมาก
พยาบาลเครื่องมือเคร่ืองใช้ทางการแพทยล์ ้วนแล้วแต่ใช้คอมพิวเตอรแ์ ละ
นวัตกรรมใหม่ๆ มาช่วยในการดาเนินการ ช่วยในการแปลผล มีเคร่ืองมือ
ตรวจหัวใจที่ทันสมัย มีเครื่องเอกซเรย์ ภาพตัดขวางที่สามารถตรวจดูอวัยวะ
ตา่ งๆ ของร่างกายไดอ้ ย่างผู้ชานาญการ

1.1.5 ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษยค์ อมพิวเตอรม์ ีจุดเด่นท่ีทาให้การ
ทางานต่างๆรวดเรว็ มคี วามแม่นยาและสามารถเก็บข้อมูลต่างๆไว้ได้มากการแก้ไข
ปัญหาที่ซับซ้อนบางอย่างจะทาได้ดีและรวดเร็วงานบางอย่างถ้าให้มนุษยท์ าอาจ
ต้องเสียเวลาในการคิดคานวณตลอดชีวิตแต่คอมพิวเตอรส์ ามารถทางานเสร็จใน
เวลาไม่ก่ีวินาทีดังนั้นจึงมีการนาคอมพิวเตอร์มาจาลองเหตุการณ์ต่างๆเพ่ือให้
มนุษยห์ าทางศึกษาหรอื แก้ไขปัญหา

43

1.1 ผลกระทบในทางบวก ++

1.1.3 ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยให้มีความสะดวกและมี
ประสิทธิภาพมากขึน้ ทาให้ประเทศชาติได้มีนักวิจัยและองคค์ วามรู้ใหม่ๆ
เกิดขึน้ อย่างรวดเร็วขึน้ กว่าสมัยก่อน ด้วยการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
และระบบส่อื สาร

1.1.4 ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็ นอยู่ให้ดีขึน้ นวัตกรรมและการ
จัดการเทคโนโลยี มาช่วยงานทางด้านการแพทยใ์ ห้เจริญก้าวหน้าขึน้ อีกมาก
พยาบาลเคร่ืองมือเครื่องใช้ทางการแพทยล์ ้วนแล้วแต่ใช้คอมพิวเตอร์และ
นวัตกรรมใหม่ๆ มาช่วยในการดาเนินการ ช่วยในการแปลผล มีเคร่ืองมือ
ตรวจหัวใจท่ีทันสมัย มีเครื่องเอกซเรย์ ภาพตัดขวางทส่ี ามารถตรวจดูอวัยวะ
ต่างๆ ของร่างกายไดอ้ ยา่ งผู้ชานาญการ

1.1.5 ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษยค์ อมพิวเตอรม์ ีจุดเด่นท่ีทาให้การ
ทางานตา่ งๆรวดเร็วมีความแม่นยาและสามารถเก็บข้อมูลต่างๆไว้ได้มากการแก้ไข
ปัญหาที่ซับซ้อนบางอย่างจะทาได้ดีและรวดเร็วงานบางอย่างถ้าให้มนุษยท์ าอาจ
ต้องเสียเวลาในการคิดคานวณตลอดชีวิตแต่คอมพิวเตอรส์ ามารถทางานเสร็จใน
เวลาไม่ก่ีวินาทีดังนั้นจึงมีการนาคอมพิวเตอร์มาจาลองเหตุการณ์ต่างๆเพ่ือให้
มนุษยห์ าทางศกึ ษาหรือแกไ้ ขปัญหา

44

1.1 ผลกระทบในทางบวก ++

1.1.6 นวัตกรรมทางการจัดการเทคโนโลยีมีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจ
เจริญรุ่งเรือง ซ่ึงเป็ นเรื่องทจ่ี าเป็ นต่ออุตสาหกรรม กิจการค้าขาย ธุรกิจต่างๆ
กิจการทางด้านธนาคาร ช่วยส่งเสริมงานทางด้านเศรษฐกิจ ทาให้กระแสเงิน
หมุนเวยี นได้อย่างกว้างขวาง ผู้ผลิตในสายอุตสาหกรรมจะผลิตสินค้าได้มาก
ลดต้นทุน ธุรกิจอาศัยการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกสร์ ะหว่างกัน
เกิดระบบการแลกเปล่ียนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียกว่า อีดีไอ
(Electronic Data Interchange : EDI)

1.1.7 ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน การสื่อสารโทรคมนาคม
สมัยใหม่ช่วยย่อให้โลกเล็กลง สังคมโลกมีสภาพไร้พรมแดน มีการเรียนรู้
วัฒนธรรมซ่ึงกันและกันมากขึน้ เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกันได้ดี ทาให้ลด
ปัญหาในเรื่องความขัดแยง้

1.1.8 ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตย ในการเลือกตัง้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทกุ
ครั้ง มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการกระจายข่าวสาร เพื่อให้ประชาชนได้
เหน็ ความสาคัญของประชาธิปไตย แม้แต่การเลือกตั้งก็มีการใช้คอมพิวเตอรร์ วม
ผลคะแนน ใช้สื่อโทรทัศน์ วิทยุแจ้งผลการนับคะแนนที่ทาให้ทราบผลได้อย่าง
รวดเรว็

45

1.2 ผลกระทบในทางลบ --

1.2.1 นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทาให้เกิดอาชญากรรม เช่นเทคโนโลยี
สารสนเทศเป็ นหนทางในการก่ออาชญากรรมได้ โจรผู้ร้ายอาจใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการวางแผนปล้น วางแผนโจรกรรม มีการลักลอบใช้ข้อมูล
ข่าวสาร มีการโจรกรรมหรือแก้ไขตัวเลขบัญชีด้วยคอมพิวเตอรก์ ารลักลอบ
เข้าไปแก้ไขข้อมูลอาจทาให้เกิดปั ญหาหลายอย่าง เช่น การแก้ไขระดับ
คะแนนของนั กศึกษา การแก้ ไขข้อมู ลในโรงพยาบาลเพ่ือให้การ
รักษาพยาบาลคนไข้ผิด ซ่ึงเป็ นการทาร้ายหรือฆาตกรรมดังท่ีเห็นใน
ภาพยนตร์

1.1.2 ชว่ ยทาใหก้ ารผลิตในอุตสาหกรรมดขี นึ้ ระบบการผลิตสินคา้ ใน
ปัจจุบันเป็ นระบบที่ต้องการผลิตสินค้าจานวนมาก มีคุณภาพมาตรฐาน
การผลิตในสมัยปั จจุบันใช้เครื่องจักรทางานอย่างอัตโนมัติสามารถทางาน
ได้ตลอดยี่สิบส่ีช่ัวโมง สินค้าท่ีได้มีคุณภาพดีและปริมาณเพยี งพอกับความ
ตอ้ งการของผู้บริโภค

1.2.3 ทาให้เกิดความวิตกกังวล ผลกระทบนี้เป็ นผลกระทบทางด้าน
จติ ใจของกลุ่มคนบางกลุ่มทม่ี คี วามวติ กกังวลว่า คอมพวิ เตอรจ์ ะทาให้เกิดการ
ว่าจา้ งงานน้อยลง มกี ารนาเอาหุ่นยนตม์ าใช้ในงานมากขนึ้ มีระบบการผลิตที่
อัตโนมัตมิ ากขนึ้ ทาใหผ้ ู้ใช้แรงงานตกงาน หรือหน่วยงานอาจเลิกวา่ จ้างได้

46


Click to View FlipBook Version