การประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารและความอุดมสมบูรณ์ของดิน
เพื่อให้คำแนะนำการจัดการปุ๋ยและดินสำหรับพืชเศรษฐกิจ
จังหวัดหนองบัวลำภู
โดย
นางสุธินี ขจรเวหาศน์
กลุ่มพัฒนาและประยุกต์ใช้ระบบฐานข้อมูลดิน เอกสารวิชาการที่
กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน
กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ
ุ
การประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารและความอดมสมบูรณ์ของดินเพอให้คำแนะนำการจัดการปุ๋ย
ื่
ื
และดินสำหรับพชเศรษฐกิจ จังหวัดหนองบัวลำภู มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาทรัพยากรดิน และประเมินระดับ
ื่
ุ
ิ
ปริมาณอนทรียวัตถุ (OM) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) และระดับความอดมสมบูรณ์ของดิน รวมทั้งเสนอ
ื
แนวทางการจัดการปุ๋ยและดินสำหรับการปลูกพชเศรษฐกิจ จังหวัดหนองบัวลำภู โดยการประยุกต์ใช้ระบบ
่
สารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยการประมาณคาในช่วง (Interporation) ด้วยวิธี Kriging ร่วมกับจุดค่าวิเคราะห์ดิน
ื่
ุ
ในพนที่จังหวัดหนองบัวลำภู เพอประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารหลักและความอดมสมบูรณ์ของดิน พร้อม
ื้
ิ
ทั้งจัดทำแผนที่ต่างๆ ตามพกัดทางภูมิศาสตร์ ใช้ในการวางแนวทางการจัดการปุ๋ยตามระดับปริมาณธาตุอาหาร
ในดินและการจัดการดินสำหรับพืชแต่ละชนิดได้อย่างถูกต้อง
จากการศึกษาพบว่า ทรัพยากรดินในจังหวัดหนองบัวลำภูสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) กลุ่ม
ื้
ดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งพบมากที่สุด มีเนื้อที่ 1,693,303 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 70.19 ของเนื้อที่จังหวัด
ี
ได้แก่ กลุ่มดินเหนียว กลุ่มดินทรายแป้ง กลุ่มดินร่วนละเอยด กลุ่มดินร่วนหยาบ และกลุ่มดินตื้น 2) กลุ่มดินใน
่
พนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง มีเนื้อที่ 369,761 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.34 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก กลุ่มดินเหนียว
ื้
ื้
กลุ่มดินร่วนละเอยด กลุ่มดินร่วนหยาบ กลุ่มดินทราย กลุ่มดินทรายแป้ง-กลุ่มดินริมแม่น้ำหรือตะกอนน้ำพา
ี
รูปพัด กลุ่มดินตื้น กลุ่มดินลึกปานกลางที่มีชั้นลูกรัง ก้อนกรวด เศษหิน หรือหินผุในช่วงความลึก 50-100
เซนติเมตร กลุ่มดินที่มีชั้นดานดินเหนียว และกลุ่มดินที่มีการดัดแปลงพนที่ทำนา โดยระดับปริมาณ
ื้
อินทรียวัตถุในดิน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และความอดมสมบูรณ์ของดิน ส่วนใหญ่พบตั้งแต่ระดับต่ำถึงระดับ
ุ
ิ
ปานกลาง โดยระดับปริมาณอนทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และความอดมสมบูรณ์ของดินในระดับต่ำมี
ุ
พนที่ครอบคลุมจังหวัดหนองบัวลำภูมากที่สุด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดิน
ื้
ื้
ิ่
ร่วนหยาบ ได้แก่ ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วน
หยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภูพาน (Pu) โดยทั่วไปเป็นดินร่วนเนื้อหยาบลึกมาก เกิดจากวัตถุต้นกำเนิด
ดินพวกตะกอนน้ำพา หรือเกิดจากการสลายตัวของหินเนื้อหยาบ มีปริมาณธาตุอาหารและความอดม
ุ
สมบูรณ์ของดินต่ำโดยธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังพบว่าจังหวัดหนองบัวลำภูมีพนที่ทำการเกษตรส่วนมากปลูก
ื้
้
ข้าว ออย และมนสำปะหลัง โดยมีระดับปริมาณอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (L-L-L) ซึ่ง
ั
ิ
ื
สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจเลือกใช้ปุ๋ยในปริมาณที่เหมาะสมกับชนิดของพชตามค่าวิเคราะห์
ดิน รวมถงการใช้เทคโนโลยีการจัดการดินให้เหมาะสมในแต่ละพนที่ด้วย เพอให้เกษตรกร หรือบุคลากรที่
ื่
ื้
ึ
ิ่
ิ่
สนใจสามารถเพมศักยภาพการผลิตด้านการเกษตรได้ในอนาคต สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและเพม
ี
ผลผลิตทางการเกษตรให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่ดีอกด้วย
(2)
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ (1)
สารบัญ (2)
สารบัญตาราง (6)
สารบัญภาพ (9)
บทที่ 1 บทน า 1-2
1.1 ความส าคัญและความเป็นมา 1
1.2 วัตถุประสงค์ 2
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
บทที่ 2 การตรวจเอกสาร 3-24
2.1 ความหมายของดิน 3
2.2 ความส าคัญของทรัพยากรดิน 3
2.3 ทรัพยากรดินในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4
2.4 ลักษณะและสมบัติส าคัญของดินทางการเกษตร 5
2.5 ความอุดมสมบูรณ์ของดิน 9
2.6 การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน 10
2.7 ธาตุอาหารพืช 13
2.8 การสูญเสียธาตุอาหารไปจากดิน 16
2.9 ปุ๋ยและหลักการใช้ปุ๋ย 16
2.10 ข้าว 17
2.11 อ้อย 18
2.12 มันส าปะหลัง 19
2.13 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 20
2.14 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 22
(3)
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 3 ข้อมูลทั่วไป 25-63
3.1 ที่ตั้งและอาณาเขต 25
3.2 ลักษณะภูมิอากาศและสมดุลน้ า 27
3.3 ลักษณะภูมิประเทศ 30
3.4 ธรณีวิทยา 30
3.5 แหล่งน้ า 35
3.6 สภาพการใช้ที่ดินและพืชพรรณธรรมชาติ 37
3.7 ทรัพยากรดิน 43
3.8 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางธรณีวิทยา ภูมิสัณฐาน และชุดดิน 58
ึ
บทที่ 4 อุปกรณ์ และวิธีการศกษา 62-67
้
4.1 การเก็บรวบรวมขอมูล 62
4.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ 62
4.3 วิธีด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล 63
4.4 กรอบแนวคิดรวมในการด าเนินงาน 65
บทที่ 5 ผลและวิจารณ์ผลการศึกษา 68-154
5.1 ทรัพยากรดินและการประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน 68
5.1.1 ทรัพยากรดิน 68
5.1.2 การประเมินปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน 78
1) ระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน 78
2) ระดับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน 86
3) ระดับปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน 93
5.1.3 การเปรียบเทียบข้อมูลระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน 100
5.2 ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน 103
(4)
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
5.3 แนวทางการใช้ปุ๋ยตามคาวิเคราะห์ดินและการจัดการดินส าหรับการปลูกพืช 110
่
เศรษฐกิจ
5.3.1 แนวทางการจัดการปุ๋ยส าหรับพืชเศรษฐกิจ 110
1) ข้าว 110
2) อ้อย 118
3) มันส าปะหลัง 125
ื
5.3.2 การจัดการดินส าหรับพชเศรษฐกิจ 132
5.3.3 กรณีศึกษาแปลงทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน 143
1) ลักษณะทั่วไปของแปลงทดสอบ 144
2) การเปรียบเทียบปริมาณการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน 147
บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา 155-160
6.1 ทรัพยากรดินและการประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน 155
6.2 ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน 158
6.3 ระดับธาตุอาหารหลักในดินและค้าแนะน้าการใช้ปุ๋ย ส าหรับพืชเศรษฐกิจ 159
บทที่ 7 ปัญหาและข้อเสนอแนะ 161
7.1 ปัญหา 161
7.2 ข้อเสนอแนะ 161
เอกสารอ้างอิง 162-165
ภาคผนวก 166-196
ุ
ภาคผนวก ก การประเมินระดับความอดมสมบูรณ์ของดินโดยการให้คะแนน 167
ภาคผนวก ข ระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ 168
ภาคผนวก ค การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ 170
ภาคผนวก ง สูตรปุ๋ยและการค านวณปุ๋ย 175
(5)
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
ภาคผนวก จ แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน 176
ส าหรับข้าวรายอ าเภอ จังหวัดหนองบัวลาภู
ภาคผนวก ฉ แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน 183
ส าหรับอ้อยรายอ าเภอ จังหวัดหนองบัวลาภู
ภาคผนวก ช แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน 190
ส าหรับมันส าปะหลังรายอ าเภอ จังหวัดหนองบัวลาภู
(6)
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
2-1 เกณฑ์การจัดระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน 12
่
3-1 ปริมาณน้ าฝน อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และคาศักย์การคายระเหยน้ า 28
ในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2531-2560)
3-2 การใช้ประโยชน์ที่ดินในการวิเคราะห์ข้อมูลของจังหวัดหนองบัวล าภู ปี 2560 39
5-1 แสดงชุดดินตามลักษณะเด่นของทรัพยากรดินรายอ าเภอในจังหวัดหนองบัวล าภู 69
5-2 แสดงระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน 81
จังหวัดหนองบัวล าภู
5-3 แสดงระดับปริมาณฟอสฟอรัสในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน 87
จังหวัดหนองบัวล าภู
5-4 แสดงระดับปริมาณโพแทสเซียมในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน 94
จังหวัดหนองบัวล าภู
5-5 ผลการเปรียบเทียบระดับปริมาณอินทรียวัตถุ (OM) ระหว่างการประมาณค่าเชิง 100
พื้นที่ด้วยวิธี Kriging กับจุดวิเคราะห์โครงการบัตรดินดี/โครงการ 84 ต าบลฯ
5-6 ผลการเปรียบเทียบระดับปริมาณฟอสฟอรัส (P) ระหว่างการประมาณค่าเชิง 101
พื้นที่ด้วยวิธี Kriging กับจุดวิเคราะห์โครงการบัตรดินดี/โครงการ 84 ต าบลฯ
่
5-7 ผลการเปรียบเทียบระดับปริมาณโพแทสเซียม (K) ระหว่างการประมาณคาเชิง 102
พื้นที่ด้วยวิธี Kriging กับจุดวิเคราะห์โครงการบัตรดินดี/โครงการ 84 ต าบลฯ
5-8 แสดงระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน 105
จังหวัดหนองบัวล าภู
5-9 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์ส าหรับ 113
ข้าว จังหวัดหนองบัวล าภู
5-10 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส าหรับข้าวไวต่อช่วงแสงและข้าวไม่ไวต่อ 116
ช่วงแสง จังหวัดหนองบัวล าภู
(7)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
5-11 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์ 120
ส าหรับอ้อย จังหวัดหนองบัวล าภู
้
้
5-12 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส าหรับออยปลูกและออยตอ จังหวัด 123
หนองบัวล าภู
5-13 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์ส าหรับมัน 127
ส าปะหลัง จังหวัดหนองบัวล าภู
5-14 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส าหรับมันส าปะหลัง จังหวัดหนองบัวล าภู 131
5-15 ปริมาณธาตุอาหารพืชในดินด้วยการประมาณค่าด้วยวิธี Kriging กับค่าวิเคราะห์ 147
ดินของแปลงทดสอบ
5-16 เปรียบเทียบต้นทุน ผลผลิต และผลตอบแทนจากการใช้ปุ๋ยของแปลงทดสอบที่ 149
1/UD6 กับแปลงเกษตรกร
5-17 เปรียบเทียบต้นทุน ผลผลิต และผลตอบแทนจากการใช้ปุ๋ยของแปลงทดสอบที่ 150
2/L1กับแปลงเกษตรกร
5-18 เปรียบเทียบต้นทุน ผลผลิต และผลตอบแทนจากการใช้ปุ๋ยของแปลงทดสอบที่ 151
3/L11กับแปลงเกษตรกร
5-19 เปรียบเทียบต้นทุน ผลผลิต และผลตอบแทนจากการใช้ปุ๋ยของแปลงทดสอบที่ 153
4/UD3 กับแปลงเกษตรกร
ภาคผนวก
ก แสดงวิธีคิดระดับความอุดมสมบูรณ์โดยใช้คะแนน 167
่
ข1 อัตราการใช้ปุ๋ยตามคาวิเคราะห์ดินส่าหรับข้าว 168
่
ข2 อัตราการใช้ปุ๋ยตามคาวิเคราะห์ดินส่าหรับอ้อย 169
่
ข3 อัตราการใช้ปุ๋ยตามคาวิเคราะห์ดินส าหรับมันส่าปะหลัง 169
ค1 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส าหรับข้าวไวต่อช่วงแสง 170
ค2 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส าหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง 171
(8)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
ภาคผนวก
้
ค3 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส าหรับออยปลูก 172
ค4 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส าหรับออยตอ 173
้
ค5 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินส่าหรับมันส าปะหลัง 174
(9)
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
2-1 แบบจ าลองแนวคิดของประมาณค่าในช่วง 20
3-1 แผนที่ขอบเขตการปกครองจังหวัดหนองบัวล าภู 26
3-2 กราฟแสดงสมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร จังหวัดหนองบัวล าภู 29
(พ.ศ.2531 - 2560)
3-3 แผนที่ทางธรณีวิทยา จังหวัดหนองบัวล าภู 34
3-4 แผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดิน จังหวัดหนองบัวล าภู 42
3-5 แผนที่แสดงขอบเขตชุดดิน จังหวัดหนองบัวล าภู 57
4-1 กรอบแนวคิดการประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารและความอุดมสมบูรณ์ของ 67
ดินเพื่อให้ค าแนะน าการจัดการดินและปุ๋ยส าหรับพืชเศรษฐกิจ
จังหวัดหนองบัวล าภู
5-1 แผนที่กลุ่มลักษณะเด่นประจ าชุดดิน จังหวัดหนองบัวล าภู 72
5-2 แผนที่ระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน จังหวัดหนองบัวล าภู 84
5-3 แผนที่ระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดินและทรัพยากรดิน จังหวัดหนองบัวล าภู 85
5-4 แผนที่ระดับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน จังหวัดหนองบัวล าภู 91
5-5 แผนที่ระดับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน และทรัพยากรดิน จังหวัด 92
หนองบัวล าภู
5-6 แผนที่ระดับปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน จังหวัดหนองบัวล าภู 98
5-7 แผนที่ระดับปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน และทรัพยากรดิน 99
จังหวัดหนองบัวล าภู
5-8 แผนที่ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน จังหวัดหนองบัวล าภู 108
5-9 แผนที่ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินและทรัพยากรดิน จังหวัดหนองบัวล าภู 109
5-10 แผนที่ระดับธาตุอาหารในดินส าหรับข้าว จังหวัดหนองบัวล าภู 117
5-11 แผนที่ระดับธาตุอาหารในดินส าหรับอ้อย จังหวัดหนองบัวล าภู 124
(10)
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
5-12 แผนที่ระดับธาตุอาหารในดินส าหรับมันส าปะหลัง จังหวัดหนองบัวล าภู 130
5-13 สภาพพื้นที่และลักษณะดินของแปลงทดสอบชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) 144
5-14 สภาพพื้นที่และลักษณะดินของแปลงทดสอบชุดดินชุมแพ (Cpa) 145
5-15 สภาพพื้นที่และลักษณะดินของแปลงทดสอบชุดดินศรีเมืองใหม่ (Smi) 146
5-16 สภาพพื้นที่และลักษณะดินของแปลงทดสอบดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 146
และเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col)
5-17 กราฟเปรียบเทียบต้นทุนปุ๋ย ผลผลิต และผลตอบแทนของแปลงทดสอบ การใช้ 154
ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
ภาคผนวก
จ1 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับข้าว 177
อ าเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล าภู
จ2 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับข้าว 178
อ าเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวล าภู
จ3 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับข้าว 179
อ าเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวล าภู
จ4 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับข้าว 180
อ าเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล าภู
จ5 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับข้าว 181
อ าเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล าภู
จ6 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับข้าว 182
อ าเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวล าภู
ฉ1 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับอ้อย 184
อ าเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล าภู
(11)
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
ภาคผนวก
ฉ2 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับอ้อย 185
อ าเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวล าภู
ฉ3 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับอ้อย 186
อ าเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวล าภู
ฉ4 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับอ้อย 187
อ าเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล าภู
ฉ5 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับอ้อย 188
อ าเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล าภู
ฉ6 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับอ้อย 189
อ าเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวล าภู
ช1 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับมันส าปะหลัง 191
อ าเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล าภู
ช2 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับมันส าปะหลัง 192
อ าเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวล าภู
ช3 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับมันส าปะหลัง 193
อ าเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวล าภู
ช4 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับมันส าปะหลัง 194
อ าเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวล าภู
ช5 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับมันส าปะหลัง 195
อ าเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวล าภู
ช6 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินส าหรับมันส าปะหลัง 196
อ าเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล าภู
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ความสำคัญและความเป็นมา
ปัจจุบันประเทศไทยยังคงเป็นประเทศที่มีการทำเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก ซึ่งมีบทบาทสำคัญ
อย่างมากในการเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรให้กับประเทศ ทั้งการบริโภคภายในประเทศและการ
ส่งออกสินค้าเกษตร แต่อย่างไรก็ตาม ภาคการเกษตรของไทยยังคงประสบปัญหามากมาย เช่น การ
ใช้ปัจจัยการผลิตที่ไม่เหมาะสมหรือเกินความจำเป็น ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน การขาด
ความรู้ในการจัดการทรัพยากรดินอย่างยืน เป็นต้น โดยทรัพยากรดินถือเป็นปัจจัยสำคัญของการทำ
ิ
เกษตรกรรมและมีคุณสมบัติของดินที่แตกต่างกันไปตามปัจจัยการเกิดดิน ดังนั้น การพจารณาถึง
ื
คุณสมบัติของดินที่พบในแต่ละพนที่ย่อมมีลักษณะคุณสมบัติของดินที่เหมาะสมสำหรับปลูกพช
ื้
แตกต่างกันตามความต้องการของพืชชนิดนั้น
การประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินนั้น เป็นการนำฐานข้อมูลแผนที่ดินนำมา
วิเคราะห์ร่วมกับจุดค่าวิเคราะห์ธาตุอาหารหลักในดินด้วยการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
เป็นเครื่องมือช่วยในการประเมินระดับธาตุอาหารพืชเชิงพื้นที่ได้ โดยระดับปริมาณธาตุอาหารหลักใน
ดินจะมีปริมาณธาตุอาหารหลักแตกต่างกันไปตามลักษณะของวัตถุต้นกำเนิดดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน
และสภาพพนที่ที่แตกต่างกัน เป็นต้น อกทั้ง ยังสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางการขับเคลื่อนโครงการ
ี
ื้
ิ่
ต่างๆ เพอเพมประสิทธิภาพการผลิต สามารถลดต้นทุนการผลิต และเพมขีดความสามารถในการ
ิ่
ื่
แข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมและการบริหารจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน
(กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2560)
จังหวัดหนองบัวลำภูเป็นหนึ่งในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน การใช้ประโยชน์
ื้
ที่ดินส่วนใหญ่เป็นพนที่การเกษตร คิดเป็นร้อยละ 69.94 ของพนที่ทั้งหมด ได้แก่ นาข้าว มัน
ื้
้
สำปะหลัง และออย ตามลำดับ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2562) โดยมีสัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์
มวลรวมของจังหวัดมากที่สุดคือ ภาคเกษตร (สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง) มีมูลค่า
6,605 ล้านบาท (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 22) แต่กลับมีรายได้เฉลี่ยต่อประชากรใน ปี 2562 จัดอยู่
ลำดับที่ 75 ของประเทศ และยังเป็นลำดับสุดท้ายของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
ั
อกด้วย (กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพอการพฒนาจังหวัด, 2564) ทั้งนี้ เมื่อวิเคราะห์ปัจจัย
ี
ื่
แวดล้อมจังหวัดหนองบัวลำภู แบบ SWOT พบว่า จุดอ่อน คือ ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ใช้พันธุ์ข้าวเดิม แหล่ง
น้ำไม่เพยงพอ ดินเสื่อมจากการใช้ปุ๋ยเคมีมายาวนาน ขาดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการเกษตร และ
ี
ปัจจัยการผลิตราคาสูง เป็นต้น (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 3, 2559)
2
จะเห็นได้ว่า ทรัพยากรดินและปัจจัยการผลิตถือเป็นปัญหาสำคัญต่อภาคการเกษตรของจังหวัด
หนองบัวลำภู ดังนั้น การประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารพืชในดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินด้วย
การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จึงเป็นการเพมประสิทธิภาพการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์
ิ่
ิ
ื
สูงสุดและยั่งยืน สามารถทราบระดับปริมาณธาตุอาหารพชในดิน (อนทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส และ
โพแทสเซียม) และระดับความอดมสมบูรณ์ของดินเบื้องต้นได้ ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งในการกำหนดแนว
ุ
ทางการใช้ทรัพยากรดินอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน เกษตรกรสามารถวางแผนการจัดการดินได้อย่าง
ื
ื
เหมาะสมกับพชที่ปลูก และการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพตามความต้องการธาตุอาหารในดินของพช
ชนิดนั้นๆ รวมถึงยังสามารถนำมาใช้วางแผนการฟื้นฟูทรัพยากรดินบริเวณที่มีระดับความอดมสมบูรณ์
ุ
ของดินต่ำได้ ทำให้เกษตรกรไม่ต้องแบกรับภาระต้นทุนที่เกินความจำเป็น ช่วยลดต้นทุนและยัง
สามารถเพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2 วัตถุประสงค์
ื่
1.2.1 เพอศึกษาทรัพยากรดินและประเมินระดับปริมาณอนทรียวัตถุ (OM) ฟอสฟอรัส (P)
ิ
โพแทสเซียม (K) ในดิน
1.2.2 เพื่อประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน
1.2.3 เพอเสนอแนวทางการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและการจัดการดินสำหรับการปลูกพช
ื่
ื
เศรษฐกิจ
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การศึกษาและวิเคราะห์ผลจากข้อมูลค่าวิเคราะห์ตัวอย่างดินจำนวนมาก ซึ่งกระจาย
ื่
ครอบคลุมพนที่จังหวัดหนองบัวลำภู นำมาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลอนๆ ที่เกี่ยวข้อง เพอจัดทำแผนที่
ื่
ื้
การประเมินระดับปริมาณอนทรียวัตถุ (OM) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) และแผนที่ระดับความ
ิ
อดมสมบูรณ์ของดินโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จะสามารถทำให้เกษตรกร นักวิชาการเกษตร
ุ
ุ
และผู้บริหารสามารถนำไปใช้วางแผนจัดการเขตพนที่ที่มีระดับความอดมสมบูรณ์ต่ำ ให้มีแผนการ
ื้
จัดการดินและปุ๋ยอย่างเหมาะสมถูกต้องและนำไปถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการฟื้นฟู ปรับปรุงบำรุงดิน
ิ
และการอนุรักษ์ดินอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ แผนที่การประเมินค่าปริมาณอนทรียวัตถุ (OM)
ุ
ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) และแผนที่ระดับความอดมสมบูรณ์ของดินยังสามารถใช้เป็นแนวทาง
ในการขับเคลื่อนการฟนฟทรัพยากรดินและการใช้เทคโนโลยีการปรับปรุงบำรุงดินให้ตรงกับความ
ื้
ู
ต้องการของพนที่นั้นๆ ซึ่งจะสามารถกำหนดกรอบพนที่ดำเนินงานและแผนการดำเนินงานได้อย่าง
ื้
ื้
ื่
ชัดเจน เป็นรูปธรรมเพอให้การพฒนาฟนฟทรัพยากรดินและการปรับปรุงบำรุงดินสำเร็จบรรลุตาม
ั
ู
ื้
เป้าหมาย
บทที่ 2
การตรวจเอกสาร
2.1 ความหมายของดิน
“ดิน” เป็นวัสดุธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากหารผสมคลุกเคล้ากันของวัสดุที่เกิดจากการสลายตัวผุพง
ั
ื้
ื
ของหินและแร่กับซากพชและสัตว์ในสภาพภูมิอากาศสภาพพนที่ และระยะเวลาในการเกิดที่แตกต่าง
กัน ทำให้เกิดดินที่คล้ายคลึงหรือแตกต่างกันหลายชนิด ปกคลุมพนผิวโลกอยู่เป็นชั้นบางๆ เป็นที่ยึด
ื้
ื
เหนี่ยวเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพช รวมถึงเป็นแหล่งน้ำ อาหาร และอากาศแก่สิ่งที่มีชีวิตอนๆ
ื่
ที่อาศัยอยู่ในดินและบนดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553ก)
“ดิน (soil)” ทางปฐพีวิทยา หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติ (natural body) ที่เกิดจากการสลายตัว
ิ
ของหินและแร่ธาตุต่างๆ ผสมคลุกคล้ากับอนทรียวัตถุ ซึ่งปกคลุมผิวโลก อยู่เป็นชั้นบางๆ เป็นวัตถุที่
ื
ค้ำจุนการเจริญเติบโตและการทรงตัวของพช ดินประกอบด้วย แร่ธาตุที่เป็นของแขง อนทรียวัตถุ น้ำ
ิ
็
และอากาศ ที่มีสัดส่วนแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557)
2.2 ความสำคัญของทรัพยากรดิน
ี
คณาจารย์ภาควิชาปฐพวิทยา (2548) ได้อธิบายความสำคัญของดินว่า ดินเป็นระบบนิเวศ
(ecological system) มีพลวัตร (dynamic) ที่มีความสำคัญ โดยดินเป็นแหล่งผลิตปัจจัยทั้ง 4 ของ
มนุษย์ อันได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค ซึ่งอาจได้มาจากดินทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม
1) ดินเป็นเครื่องกรองที่มีชีวิต จึงมีผู้ใช้กำจัดของเสียทั้งของแข็งและของเหลว แล้วกักไม่ให้สาร
มลพิษ (pollutant) ตลอดจนเชื้อโรคลงไปปนเปื้อนน้ำใต้ดิน
ื
ื่
ี
2) ดินทำหน้าที่เป็นที่เกาะยึด (anchorage) ของรากพช เพอยึดลำต้นให้แน่น ไม่ให้ล้มเอยง
ื่
เป็นที่เก็บน้ำแก่พชให้อากาศแก่รากพชในการหายใจ และให้ธาตุอาหารแก่พชเพอการเจริญเติบโต
ื
ื
ื
ทนทานต่อโรค แมลง และภัยธรรมชาติ
นอกจากนี้ กรมพฒนาที่ดิน (2558) ยังได้กล่าวถึง ความสำคัญของทรัพยากรดินว่าทรัพยากรดิน (soil
ั
resource) เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้หรือรักษาไว้ได้ (replaceable and maintainable natural
resources) แต่ดินเกิดทดแทนตามธรรมชาติได้ช้ามากกว่าจะได้ชั้นดินหนา 2-3 เซนติเมตร ธรรมชาติต้องใช้
เวลาสร้างถึง 100-1,000 ปี อย่างไรก็ตามมนุษย์สามารถดูแลรักษาดินให้คงคุณภาพเหมือนเดิมได้โดยการใช้
ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสม มีการปรับปรุงบำรุงดินละอนุรักษ์ดินอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ทั้งนี้เพราะ
ดินในแง่ของทรัพยากรธรรมชาติ จัดเป็นทรัพยากรประเภทที่สามารถรักษาให้คงอยู่ได้ (maintainable)
มากกว่าการเกิดขึ้นทดแทน (replaceable)
4
อย่างไรก็ตาม มนุษย์ใช้ทรัพยากรดินเพื่อการเกษตร เช่น เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ทำประมง และป่า
ไม้ เป็นที่กักเก็บน้ำหรือเป็นแหล่งน้ำ ตลอดจนเป็นรากฐานของเส้นทางคมนาคมและที่อยู่อาศัย
เป็นต้น ดังนั้น “ดิน” จึงเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญทางการเกษตร เนื่องจากเป็นปัจจัยหลักที่
ื
ื
ื
จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพช เป็นแหล่งให้ธาตุอาหารและน้ำแก่พช เป็นที่ยึดเของรากให้พชทรง
ตัวอยู่ได้ และเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ยิ่งไปกว่านั้นดินยังเป็นที่มาของปัจจัยสี่สำหรับ
มนุษย์ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค และที่อยู่อาศัย
2.3 ทรัพยากรดินในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กรมพฒนาที่ดิน (2558) ได้แบ่งดินตามปัจจัยการเกิดดินในพนที่ภาคตะวันออกฉียงเหนือ
ื้
ั
ได้ดังต่อไปนี้
2.3.1 ดินบริเวณพื้นที่ราบลุ่ม
พนที่ราบลุ่มหรือพนที่น้ำขัง ส่วนใหญ่พบบริเวณที่ราบตะกอนน้ำพา ตะพกลำน้ำ ที่ราบ
ื้
ั
ื้
ื้
ระหว่างเนิน สภาพพนที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ช่วงฤดูฝนมีน้ำแช่ขังแฉะมีระดับน้ำใต้ดินอยู่
ใกล้ผิวดิน การระบายน้ำค่อนข้างเลวถึงเลว ดินมีสีเทาหรือสีเทาอ่อน และมีจุดประสีตลอดหน้าตัดดิน
ที่บ่งบอกถึงการมีน้ำแช่ขังในดิน ปฏิกิริยาดินส่วนใหญ่เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง ความอดม
ุ
สมบูรณ์ต่ำ สามารถจำแนกตามกลุ่มเนื้อดินอย่างกว้างๆ ได้ 5 กลุ่ม ได้แก่ เนื้อดินที่เป็นดินเหนียว
กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินทราย กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินตื้น และกลุ่มชุดดินที่เป็น
ดินเค็ม
2.3.2 ดินบริเวณพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง
ดินมีช่วงแห้งนานและดินแห้งติดต่อกันมากกว่า 45 วัน หรือแห้งรวมกันมากกว่า 90 วัน
ื
ในรอบปี หากไม่มีระบบชลประทานการเพาะปลูกพชจะทำได้ในเฉพาะฤดูฝนเท่านั้น มีการทำ
ั
เกษตรกรรมบริเวณสันดินริมน้ำ ตะพกลำน้ำระดับกลาง และระดับสูงและบริเวณพนที่ที่เหลือค้างจาก
ื้
การกัดกร่อนที่เกิดจากกระบวนการปรับระดับของพื้นที่ สภาพพื้นที่มีตั้งแต่ราบเรียบ ลูกคลื่น เนินเขา
มีระดับน้ำใต้ดินอยู่ลึกกว่า 2 เมตร การระบายน้ำดีปานกลาง ดี หรือดีมากเกินไป ดินส่วนใหญ่มีสี
น้ำตาล สีเหลือง หรือสีแดง และอาจพบจุดประสีเล็กน้อย ปฏิกิริยาดินมีตั้งแต่เป็นกรดจัดถึงเป็นกรด
เล็กน้อย ความอดมสมบูรณ์ต่ำ มักพบอทธิพลของชั้นวัตถุต้นกำเนิดดินพวกหินตะกอนในหน้าตัดดิน
ุ
ิ
สามารถจำแนกตามกลุ่มเนื้อดินอย่างกว้างๆ ได้ 4 กลุ่ม คือ กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว กลุ่มเนื้อดิน
ที่เป็นดินร่วน กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินทราย และกลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินตื้น
2.3.3 ดินบริเวณพื้นที่ภูเขาสูง มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์
5
2.4 ลักษณะและสมบัติสำคัญของดินทางการเกษตร
กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน (2561ข) ได้อธิบายถึงลักษณะของดินที่มีความสำคัญกับ
การเกษตรว่า แม้ว่าดินจะมีลักษณะและสมบัติมากมายหลายอย่างแต่ลักษณะและสมบัติสำคัญๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการเพาะปลูกพืชและการจัดการดิน ได้แก่
2.4.1 ความลึกของดิน
ความลึกความตื้นของดินมีผลต่อการเลือกชนิดของพชที่ปลูก การยึดเกาะของรากและการ
ื
ทรงตัวของต้นพืช ปริมาณความชื้น ธาตุอาหารในดินและอุณหภูมิดิน
ในทางการเกษตรได้แบ่งความลึกของดินออกเป็น 5 ชั้น โดยยึดเอาความลึกที่วัดจากผิว
ดินถึงชั้นที่ขัดขวางการเจริญเติบโตหรือการชอนไชของรากพช ได้แก่ ชั้นหินพน ชั้นดานแข็ง ชั้นศิลา
ื้
ื
แลง ชั้นกรวด ชั้นเศษหิน หรือชั้นลูกรังที่หนาแน่นมากๆ
ดินตื้นมาก พบชั้นขัดขวางภายในความลึก 25 เซนติเมตรจากผิวดิน
ดินตื้น พบชั้นขัดขวางภายในความลึก 25-50 เซนติเมตรจากผิวดิน
ดินลึกปานกลาง พบชั้นขัดขวางระหว่างความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน
ดินลึก พบชั้นขัดขวางระหว่างความลึก 100-150 เซนติเมตรจากผิวดิน
ดินลึกมาก พบชั้นขัดขวางลึกมากกว่า 150 เซนติเมตรจากผิวดิน
2.4.2 สีของดิน
สีของดินเป็นสมบัติของดินที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนกว่าสมบัติอื่นๆ ดินแต่ละบริเวณจะ
มีสีที่แตกต่างกันไป เช่น สีดำ สีน้ำตาล สีเหลือง สีแดง หรือสีเทา รวมถึงจุดประสีต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับ
ชนิดของแร่ที่เป็นองค์ประกอบในดิน สภาพแวดล้อมในการเกิดดิน ระยะเวลาการเกิดดิน หรือวัสดุ
ื่
อนๆ ที่มีอยู่ในดิน ดังนั้นจากสีของดินเราสามารถที่จะประเมินสมบัติบางอย่างของดินที่เกี่ยวข้องได้
เช่น การระบายน้ำของดิน อินทรียวัตถุในดิน ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน
1) ดินสีดำ สีน้ำตาลเข้ม หรือสีคล้ำ ส่วนใหญ่มักจะเป็นดินที่มีความอดมสมบูรณ์สูง
ุ
ิ
เนื่องจากมีการคลุกเคล้าด้วยอนทรียวัตถุมากโดยเฉพาะดินชั้นบน แต่บางกรณีสีคล้ำของดินอาจจะ
ื่
ิ
เป็นผลมาจากอทธิพลของปัจจัยที่ควบคุมการเกิดดินอนๆ นอกเหนือไปจากการมีปริมาณอนทรียวัตถุ
ิ
ในดินมากก็ได้ เช่น ดินที่เกิดมาจากวัตถุต้นกำเนิดดินที่ผุพงสลายตัวมาจากหินที่ประกอบด้วยแร่ที่มีสี
ั
เข้ม เช่น หินภูเขาไฟ และมีระยะเวลาการเกิดไม่นานหรือดินมีแร่แมงกานีสสูงก็จะทำให้ดินมีสีคล้ำได้
เช่นกัน
6
2) ดินสีเหลืองหรือสีแดง สีเหลืองหรือสีแดงของดินส่วนใหญ่จะเป็นสีออกไซด์ของเหล็ก
ั
และอลูมิเนียม แสดงถึงดินนั้นเกิดมานานมากแล้ว ผ่านกระบวนการผุพงสลายตัวและซึมชะมานาน
ุ
ดินมีการระบายน้ำดี แต่มักจะมีความอดมสมบูรณ์ต่ำ ดินสีเหลืองแสดงว่าดินมีออกไซด์ของเหล็กที่มี
น้ำเป็นองค์ประกอบ ส่วนดินสีแดงจะเป็นดินที่ออกไซด์ของเหล็กหรืออลูมิเนียมไม่มีน้ำเป็น
องค์ประกอบ
่
3) ดินสีขาวหรือสีเทาออน การที่ดินมีสีออนอาจจะแสดงว่าเป็นดินที่เกิดมาจากวัตถุต้น
่
กำเนิดดินพวกที่สลายตัวมาจากหินที่มีแร่สีจางเป็นองคประกอบอยู่มาก เช่น หินแกรนิต หรือหินทราย
์
ื
บางชนิด หรืออาจจะเป็นดินที่ผ่านกระบวนการชะล้างอย่างรุนแรงจนธาตุอาหารที่มีประโยชน์ต่อพช
ถูกซึมชะออกไปจนหมด หรือมีสีออนเนื่องจากมีการสะสมปูน ยิปซัม หรือเกลือชนิดต่างๆ ในหน้าตัด
่
ดินมาก็ได้ ซึ่งดินเหล่านี้ส่วนใหญ่มักจะเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ
4) ดินสีเทาหรือสีเทาปนน้ำเงิน การที่ดินมีสีเทา สีเทาปนน้ำเงิน หรือสีน้ำเงิน บ่งชี้ว่าดิน
อยู่ในสภาวะที่มีน้ำแช่ขังเป็นเวลานาน เช่น ดินนาในพนที่ลุ่ม หรือดินในพนที่ป่าชายเลนที่มีน้ำทะเล
ื้
ื้
ท่วมถึงอยู่เสมอ มีสภาพการระบายน้ำและการถ่ายเทอากาศไม่ดี ทำให้เกิดสารประกอบของเหล็กสี
เทาหรือสีน้ำเงิน แต่ถ้าดินอยู่ในสภาวะที่มีน้ำแช่ขังสลับกับดินแห้ง ดินจะมีจุดประสี ซึ่งโดยทั่วไปมัก
ื้
ปรากฏเป็นจุดประสีเหลืองหรือสีแดงบนพนสีเทา ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสารประกอบ
ออกไซด์ของเหล็กที่สะสมอยู่ในดิน โดยสารเหล่านี้จะเปลี่ยนแปลงไปอยู่ในรูปที่มีสีเทาเมื่ออยู่ใน
สภาวะที่มีน้ำแช่ขัง ขาดออกซิเจนเป็นเวลานานๆ และเปลี่ยนไปอยู่ในรูปที่ให้สารสีแดงเมื่อได้รับ
ออกซิเจน
2.4.3 เนื้อดิน
เป็นสมบัติที่บอกถึงความหยาบหรือละเอยดของดิน มีผลต่อการดูดซับน้ำ การดูดยึดธาตุ
ี
อาหารและปฏิกิริยาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในดิน เนื้อดินเป็นผลมาจากการรวมตัวกันของชิ้นส่วนเล็กๆ ที่
เรียกว่า “อนุภาคของดิน” อนุภาคเหล่านี้มีขนาดไม่เท่ากันแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ อนุภาคขนาด
ทราย (เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0 - 0.05 มิลลิเมตร) อนุภาคขนาดทรายแป้ง (เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.05-
0.002 มิลลิเมตร) และอนุภาคขนาดดินเหนียว (เส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่า 0.002 มิลลิเมตร) สามารถ
แบ่งเนื้อดินเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
1) กลุ่มดินทราย มีอนุภาคขนาดทรายเป็นองค์ประกอบอยู่มากกว่าร้อยละ 85 โดย
อนุภาคจะเกาะตัวกันหลวมๆ และมองเห็นเป็นเม็ดเดี่ยวๆ เมื่อสัมผัสดินที่แห้งจะรู้สึกสากมือ หากกำ
ดินทรายที่แห้งไว้แล้วคลายมือออกดินจะแตกออกได้ง่าย หากกำดินที่ชื้นจะทำเป็นก้อนหลวมๆ ได้ แต่
ุ้
เมื่อสัมผัสจะแตกออกจากกันทันที ปกติดินทรายเป็นดินที่มีการระบายน้ำและอากาศดีมาก แต่อมน้ำ
ต่ำ น้ำซึมผ่านได้รวดเร็ว มีความอดมสมบูรณ์ต่ำ เพราะความสามารถในการดูดยึดธาตุอาหารพชน้อย
ื
ุ
7
ื
พชที่ขึ้นบนดินทรายจึงมักขาดทั้งธาตุอาหารและน้ำ เนื้อดินที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ ดินทราย และดิน
ทรายปนดินร่วน
2) กลุ่มดินร่วน ประกอบด้วยอนุภาคขนาดทราย ทรายแป้ง และดินเหนียว ในปริมาณ
ใกล้เคียงกัน เนื้อดินค่อนข้างละเอยดนุ่มมือ ในสภาพดินแห้งจะจับกันเป็นก้อนแข็งพอประมาณ ใน
ี
สภาพดินชื้น ดินจะยืดหยุ่นได้บ้างเมื่อสัมผัสหรือคลึงดินจะรู้สึกนุ่มมือ แต่เมื่อกำดินให้แน่นในฝ่ามือ
แล้วคลายออก ดินจะจับกันเป็นก้อนและไม่แตกออกจากกัน ดินร่วนเป็นดินที่มีความเหมาะสมสำหรับ
ุ
การเพาะปลูก เพราะไถพรวนง่าย มีการระบายน้ำและถ่ายเทอากาศได้ดี และมักจะมีความอดม
สมบูรณ์สูง เนื้อดินที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ ดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินทรายแป้ง ดินร่วนปนทรายแป้ง
ดินร่วนปนดินเหนียว ดินร่วนเหนียวปนทราย และดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง
3) กลุ่มดินเหนียว ประกอบด้วยอนุภาคขนาดดินเหนียวตั้งแต่ร้อยละ 40 ขึ้นไป เป็นดินที่
ี
มีเนื้อละเอยด ในสภาพดินแห้งเกาะตัวเป็นก้อนแข็ง เมื่อเปียกน้ำแล้วจะมีความยืดหยุ่น สามารถปั้น
ุ้
เป็นก้อนหรือคลึงเป็นเส้นยาวได้ เหนียวติดมือ มีทั้งที่ระบายน้ำและอากาศดีและไม่ดี สามารถอมน้ำ
ื้
ดูดซับและแลกเปลี่ยนธาตุอาหารพชได้ดี บริเวณพนที่ลุ่มต่ำบางพนที่ที่เป็นดินเหนียวจัดจะไถพรวน
ื
ื้
ลำบากเมื่อแห้งดินจะแข็งมากแต่เมื่อเปียกดินจะเหนียวติดเครื่องมือไถพรวน เนื้อดินที่อยู่ในกลุ่มนี้
่
ได้แก ดินเหนียว ดินเหนียวปนทราย และดินเหนียวปนทรายแป้ง
2.4.4 โครงสร้างของดิน
โครงสร้างของดินเป็นสมบัติทางกายภาพของดินที่เกิดขึ้นจากการเกาะยึดกันของอนุภาคที่
เป็นของแข็ง เกิดเป็นเม็ดดินหรือเป็นก้อนดินที่มีขนาด รูปร่าง และความคงทนแข็งแรงในการยึดตัว
ต่างกัน เช่น เป็นก้อนกลม ก้อนเหลี่ยม เป็นแท่ง หรือเป็นแผ่นบาง
ุ้
โครงสร้างของดินมีความสำคัญต่อการซึมผ่านของน้ำ การอมน้ำ การระบายน้ำ และการ
ื
ถ่ายเทอากาศในดิน รวมถึงการแพร่กระจายของรากพชด้วย ดินที่มีโครงสร้างดี มักจะมีลักษณะร่วน
ซุย อนุภาคดินเกาะกันอย่างหลวมๆ มีปริมาณช่องว่างมากและมีความต่อเนื่องของช่องว่างในดินดี ทำ
ื
ให้มีการระบายและถ่ายเทอากาศได้ดี รากพชชอนไชไปหาอาหารได้ง่าย โครงสร้างดินที่แข็งแรงถูก
ทำลายได้ยากก็จะทำให้ดินถูกชะล้างพังทลายได้ยากเช่นกัน
อย่างไรก็ตามดินในธรรมชาติไม่จำเป็นต้องมีโครงสร้างเสมอไป ดินหลายชนิดได้ชื่อว่าเป็น
ดินไม่มีโครงสร้าง เช่น ดินทรายทที่มีอนุภาคขนาดทรายเดี่ยวๆ ไม่เกาะยึดกัน และดินเหนียวจัดที่
อนุภาคดินเหนียวขนาดเล็กจับตัวกันแน่นทึบ
8
2.4.5 ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน
ี
ความเป็นกรดเป็นด่างของดินหรือที่เรียกกันว่าพเอช (pH) เป็นค่าปฏิกิริยาดินวัดจาก
+
ความเข้มข้นของปริมาณไฮโดรเจนไอออน (H ) ในดิน โดยทั่วไปค่าพเอช (pH) ของดินบอกค่าเป็น
ี
ี
ตัวเลขตั้งแต่ 1 ถึง 14 ถ้าดินมีค่าพเอช (pH) น้อยกว่า 7 แสดงว่าดินนั้นเป็นกรดยิ่งมีค่าน้อยกว่า 7
ี
มาก ก็จะเป็นกรดมาก แต่ถ้าดินมีค่าพเอช (pH) เท่ากับ 7 แสดงว่าดินเป็นกลาง ดินส่วนใหญ่มีค่าพี
เอช (pH) ในช่วง 5 ถึง 8
ี
ื
ค่าพเอช (pH) ของดินมีความสำคัญต่อการปลูกพชมาก เพราะเป็นตัวควบคุมการละลาย
ธาตุอาหารในดินให้ออกมาอยู่ในสารละลายหรือน้ำในดิน ถ้าดินมีค่าพีเอช (pH) ไม่เหมาะสม ธาตุ
อาหารในดินอาจจะละลายออกมาได้น้อย ไม่เพียงพอต่อความต้องการของพช หรือในทางตรงกันข้าม
ื
ธาตุอาหารบางชนิดอาจจะละลายออกมามากเกินไปจนเป็นพิษต่อพืชได้
ี
ื
ื
พชแต่ละชนิดชอบที่จะเจริญเติบโตในดินที่มีช่วงค่าพเอชต่างๆ กัน สำหรับพชทั่วๆ ไป
ี
มักจะเจริญเติบโตในช่วงค่าพเอช 6 ถึง 7 นอกจากนี้ความเป็นกรดเป็นด่างของดินยังควบคุมการ
เจริญเติบโตและการทำหน้าที่ของจุลินทรีย์ดินด้วย
2.4.6 ความสามารถในการดูดยึดและปลดปล่อยธาตุอาหารในดิน
เป็นสมบัติของดินที่มีความสำคัญต่อการสำรองปริมาณธาตุอาหารต่างๆ ไว้ในดิน และ
ปลดปล่อยออกมาให้พชได้ใช้ประโยชน์ อินทรียวัตถุและแร่ดินเหนียวในดินมีบทบาทสำคัญอย่างมาก
ื
ิ
ื้
ต่อสมบัตินี้ของดิน เนื่องจากพนผิวของอนทรียวัตถุ และแร่ดินเหนียวจะมีประจุลบเหลืออยู่จึงสามารถ
ื
ดูดยึดประจุบวกได้ แร่ธาตุอาหารที่พชต้องการส่วนใหญ่จะมีประจุบวก เช่น ธาตุไนโตรเจนในรูปของ
แอมโมเนียม แคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม เหล็ก สังกะสี นอกจากนี้ยังช่วยในการควบคุมหรือ
ี่
ต้านทานการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดเป็นด่างของดินด้วย โดยการดูดยึดประจุบวกทเป็นกรด ได้แก ่
ไฮโดรเจน และอลูมิเนียม ไว้
9
2.5 ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา (2562) ได้ให้ความหมายของความอดมสมบูรณ์ของดิน (soil
ุ
ี
fertility) หมายถึง ความสามารถของดินในการให้สารอาหารที่จำเป็นในปริมาณพยงพอและสมดุลต่อ
ี
ื
การเจริญเติบโตของพช หรือ สาขาหนึ่งของปฐพศาสตร์ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความสามารถของดินในการ
ให้ธาตุอาหารพืชเพื่อการเจริญเติบโตของพืช
คณาจารย์ภาควิชาปฐพวิทยา(2548) ได้กล่าวว่า ความอดมสมบูรณ์ของดิน (soil fertility)
ุ
ี
หมายถึง ความสามารถของดินในการให้ธาตุอาหารที่จำเป็นเพื่อการเจริญเติบโตของพืช กล่าวคือ เมื่อ
ธาตุอาหารในดินที่อยู่ในรูปที่พชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ มีปริมาณที่พอเหมาะและสมดุลจะช่วย
ื
ให้พืชมีการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตที่ดี
ุ
การรักษาความอดมสมบูรณ์ของดินจึงถือเป็นสิ่งที่ควรคำนึงถึง โดยเฉพาะในพนที่ทำการ
ื้
เพาะปลูกทางการเกษตรเพื่อการค้า การใช้ประโยชน์ที่ดินจากในอดีตจนถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง
มากมาย ทั้งเกิดจากทางธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ โดยเฉพาะการเปลี่ยนพนที่ป่าไม้ไปใช้
ื้
ประโยชน์ทางการเกษตร ซึ่งส่งผลทำให้ความอดมสมบูรณ์ของดินลดลง เห็นได้จากการเปลี่ยนแปลง
ุ
สมบัติของดินทั้งสมบัติทางเคมี กายภาพ และชีวภาพ เช่น ปริมาณอนทรียวัตถุลดลงส่งผลให้ดินมี
ิ
ความสามารถในการดูดยึดธาตุอาหารพืชในดินลดลง ความสามารถในการอุ้มน้ำลดลง ความหนาแน่น
รวมของดินสูงขึ้น ความพรุนของดินลดลง นอกจากนี้ การปรับเปลี่ยนสภาพป่าเพื่อนำไปใช้ประโยชน์
ื
ทางการเกษตรส่งผลต่อระบบการหมุนเวียนธาตุอาหารซึ่งสะสมอยู่ในรูปมวลชีวภาพของพช และเมื่อ
มีการนำผลผลิตออกไปจากพื้นที่จึงทำให้สูญเสียธาตุอาหารไปด้วยส่งผลให้ระบบสำรองธาตุอาหารพช
ื
ลดลง ในบางกรณีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินส่งผลให้ดินมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ
ิ่
จัดการดิน ซึ่งอาจส่งผลให้ปฏิกิริยาของดินเป็นกรดเพมมากขึ้น ทำให้มีผลกระทบต่อความเป็น
ื
ประโยชน์ของธาตุอาหารพช โดยเฉพาะฟอสฟอรัสจะอยู่ในรูปที่พชไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ หรือ
ื
ั
ื้
บางพนที่มีการสูญเสียหน้าดินจากการชะล้าง พงทลาย การเกิดชั้นดานไถพรวน นอกจากนี้การปลูก
พชติดต่อกันเป็นเวลายาวนานโดยไม่มีการปรับปรุงบำรุงดิน ทำให้ความอดมสมบูรณ์ของดินมีการ
ื
ุ
เปลี่ยนแปลงได้ทั้งทางบวกและทางลบ ดังนั้น การติดตามและประเมินการเปลี่ยนแปลงความอดม
ุ
สมบูรณ์ของดิน จึงเป็นกระบวนการหนึ่งเพอให้ทราบถึงสถานภาพทรัพยากรดินในปัจจุบันซึ่งนำไปสู่
ื่
การวางแผนการจัดการดินอย่างยั่งยืนและมีทิศทางที่ชัดเจนรองรับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ
สิ่งแวดล้อมในอนาคต (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
10
2.6 การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
ุ
ื
การประเมินความอดมสมบูรณ์ของดิน คือ วิธีการที่จะทำให้ทราบว่าระดับธาตุอาหารพชในดินมี
ี
ปริมาณเท่าใดและเพยงพอกับความต้องการของพชหรือไม่ วิธีการประเมินความอดมสมบูรณ์ของดิน
ุ
ื
ื
โดยทั่วไปมี 3 วิธี คือ การวิเคราะห์ดิน (soil analysis) การสังเกตอาการขาดธาตุอาหารของพช
(nutrient deficiency symptom) และการวิเคราะห์พืช (plant analysis)
ุ
ั
ื่
กรมพฒนาที่ดิน มีวิธีการประเมินความอดมสมบูรณ์ของดิน คือการวิเคราะห์ดิน เพอให้ทราบถึง
ความอดมสมบูรณ์ และปัญหาของดินในแปลงปลูกพช พร้อมกับคำแนะนำในการแก้ไขปรับปรุงบำรุง
ุ
ื
ื่
ดิน เช่น การใช้ปุ๋ย การใช้ปูน ปรับปรุงดินกรด รวมทั้งการใช้วัสดุหรือสารปรับปรุงดินอย่างอน ตาม
ความจำเป็นเพื่อให้การปลูกพืชได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และมีคุณภาพดีขึ้น
หลักเกณฑ์การประเมินความอดมสมบูรณ์ของดินประเทศไทยนั้น กรมพฒนาที่ดินใช้เกณฑ์การ
ั
ุ
ประเมิน จากค่าวิเคราะห์ดิน 5 รายการ คือ (รัตนชาติ และบุศรินทร์, 2562)
1) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (Organic Matter)
อินทรียวัตถุในดินมีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอยู่ธาตุหนึ่ง ดังนั้น การหาปริมาณ
อินทรียวัตถุในดินสามารถทำได้โดยการใช้สารเคมีที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันขึ้นกับธาตุคาร์บอน
ิ
ิ
ในอนทรียวัตถุนั้น แล้วคำนวณปริมาณคาร์บอนในอนทรียวัตถุจากปริมาณสารเคมีที่ใช้ไปและเมื่อ
ทราบปริมาณคาร์บอนแล้วสามารถนำมาคำนวณปริมาณอนทรียวัตถุโดยประมาณได้ โดยอาศัยหลัก
ิ
ว่าอนทรียวัตถุในดินมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบอยู่ร้อยละ 58 โดยน้ำหนัก ปริมาณคาร์บอนที่
ิ
วิเคราะห์ได้คูณด้วยค่า 1.724 ก็จะได้ค่าอินทรียวัตถุที่ต้องการ
2) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P)
ฟอสฟอรัสเป็นธาตุอาหารพืชธาตุหนึ่งที่พชต้องการเป็นปริมาณมากและจะมีอยู่ในดินต่ำมาก
ื
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อพชในดินอยู่ในรูปอนุมูลฟอสเฟต คือ H PO และ HPO โดยที่ H PO จะ
-
2-
-
ื
2
4
4
4
2
้
ี
พบมากในดินกรด ส่วน HPO พบมากในดินที่มีค่าพเอช (pH) สูงกว่า 7.2 (Sims, 2000 อางถึงใน
2-
4
รัตนชาติและบุศรินทร์, 2562) ซึ่งได้จากกระบวนการการแปรสภาพของอินทรียวัตถุและจากการละลายตัว
ของสารประกอบฟอสเฟตต่างๆ ในดินออกมาอยู่ในรูปสารละลายดิน ซึ่งอยู่ในสภาพสมดุลกัน เมื่อพชดูด
ื
ดึงฟอสเฟตในสารละลายดินไปใช้จะทำให้ปริมาณส่วนนี้ลดลง ฟอสเฟตในส่วนของ soil solid จะถูก
ปลดปล่อยออกมาเพอชดเชย ซึ่งอตราการสลายตัวของฟอสเฟตออกมาอยู่ในสารละลายดินจะช้าหรือเร็ว
ั
ื่
ขึ้นอยู่กับชนิดของสารประกอบฟอสเฟตในดิน
11
3) ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (Available K)
โพแทสเซียมในดินมีอยู่ด้วยกัน 3 รูป คือ fixed K, exchangeaable K และ soluble K รูป
ที่พชสามารถนำไปใช้ได้ คือ exchangeable K และ soluble K สำหรับ soluble K นั้น พืชสามารถ
ื
ดูดไปใช้ประโยชน์ได้ง่ายแต่ในดินมีปริมาณน้อยมาก จึงไม่นำมาใช้ในการประเมินปริมาณโพแทสเซียม
ื
ที่เป็นประโยชน์ โพแทสเซียมในดินในรูปต่างๆ จะอยู่ในสภาวะที่สมดุลเสมอ กล่าวคือ เมื่อรากพชดูด
exchangeable K ไปใช้ประโยชน์อยู่เสมอจนมีระดับต่ำมาก โพแทสเซียมในดินที่ถูกตรึงไว้จะถูก
ปลดปล่อยออกมาอยู่ในรูปที่พชดูดกินได้ ซึ่งการปลดปล่อยนี้จะเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น
ื
ชนิดของอนุภาคคอลลอยด์ และความชื้นของดิน เป็นต้น
4) ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน
ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนของดินหมายถึงความสามารถในการดูดซับหรือแลกเปลี่ยน
ื
ธาตุอาหารหรือสารประกอบในดินที่มีไอออนประจุบวก (cation) ซึ่งรากพชและจุลินทรีย์จะนำไปใช้
ประโยชน์โดยจะแสดงในรูปของจำนวนโมเลกุลของไอออนประจุบวกต่อน้ำหนักตัวอย่าง โดยมักใช้
-1
หน่วย cmol kg soil
ุ
CEC มีความสำคัญต่อความอดมสมบูรณ์ของดิน ดินที่มีค่า CEC สูง มักจะเป็นดินที่มีความ
อุดมสมบูรณ์สูง เนื่องจากกนนั้นมีความสามารถในการดูดซับไอออนบวกต่างๆ ที่เป็นธาตุอาหารพชไว้
ิ
ื
ได้มาก และธาตุอาหารพชเหล่านั้นจะสูญหายไปจากดินได้ยากเพราะว่าดินมีอำนาจในการดูดยึดธาตุ
ื
-1
อาหารเหล่านี้ไว้ได้สูง โดยทั่วไปดินที่ใช้ในการเกษตรส่วนใหญ่มีค่า CEC อยู่ในพิสัย 3-20 cmol kg
5) ร้อยละความอิ่มตัวเบส
ความอมตัวเบส (Base Saturation) หมายถึง สัดส่วนปริมาณเบสที่แลกเปลี่ยนได้ต่อความจุ
ิ่
ั
แลกเปลี่ยน แคตไอออน ทั่วไปมักแสดงเป็นอตราร้อยละ คำนวณจากจำนวน miliequivalents ต่อ
ดิน 100 กรัม ของเบสิกแคตไอออนที่แลกทั้งหมดหารด้วยค่าความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนของดิน
แล้วคูณด้วย 100
ิ่
ั
ุ
อตราร้อยละความอมตัวเบสของดิน เป็นค่าที่ใช้ในการจำแนกดินและประเมินความอดม
สมบูรณ์ของดิน ในดินที่เป็นกรดที่มีคุณสมบัติเฉพาะค่าความอมตัวเบส (% BS) จะจำเพาะที่ระดับ
ิ่
ิ่
ของค่าพเอช (pH) ในดินนั้น ดินที่มีอตราร้อยละความอมตัวด้วยเบสต่ำ จะเป็นดินที่มีแร่ดินเหนียว
ี
ั
ชนิดเคโอลิไนท์ (kaolinite) และพวก hydrous oxide ถ้าดินมีอตราร้อยละความอมตัวเบสสูงจะเป็น
ั
ิ่
ดินที่มีแร่ดินเหนียวชนิด 2:1 เช่น มอนต์มอริลโลไนท์ (montmorillonite) เวอร์มิคิวไลท์
(vermiculite) คลอไรท์ (chlorite) และไมกา (mica)
ซึ่งแต่ละผลวิเคราะห์ดินจะมีเกณฑ์ประเมินเป็นค่าสูง ปานกลาง ต่ำ เพอใช้ในการกำหนด
ื่
คะแนนโดยมีคา 3, 2 และ 1 คะแนน ตามลำดับ เมื่อรวมผลคะแนนจากค่าวิเคราะห์ดินทั้ง 5 รายการ
่
แล้ว จึงประเมินเป็นระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน ดังตารางที่ 2-1
12
ตารางท 2-1 เกณฑ์การจัดระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน
ี่
-1
ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน OM (%) P (mg kg ) K (mg kg ) CEC (cmol kg ) BS (%)
-1
-1
ต่ำ <1.5 <10 <60 <10 <35
(คะแนน) (1) (1) (1) (1) (1)
ปานกลาง 1.5-3.5 10-25 60-90 10-20 35-75
(คะแนน) (2) (2) (2) (2) (2)
สูง >3.5 >25 >90 >20 >75
(คะแนน) (3) (3) (3) (3) (3)
หมายเหตุ : วิธีคิดระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินใช้วิธีให้คะแนน
ื
ถ้าผลรวมคะแนนทั้งหมดอยู่ระหว่าง 5-7 ถอว่าดินมีความอุดมสมบูรณ์ระดับต่ำ
ถ้าผลรวมคะแนนทั้งหมดอยู่ระหว่าง 8-12 ถือว่าดินมีความอุดมสมบูรณ์ระดับปานกลาง
ถ้าผลรวมคะแนนทั้งหมดอยู่ระหว่าง 13-15 ถือว่าดินมีความอุดมสมบูรณ์ระดับสูง
ที่มา: ณรงค์ ตรีสุวรรณ (2544)
ุ
ณรงค์ ตรีสุวรรณ (2544) ได้อธิบายวิธีประเมินความอดมสมบูรณ์ของดินด้วยวิธีให้คะแนน
เมื่อจัดระดับและให้คะแนนค่าที่ได้จากตารางผลวิเคราะห์แต่ละอันแล้วนำคะแนนทั้งหมดมารวมกันได้
เป็นคะแนนรวม ถ้ามีคะแนนรวม 7 หรือน้อยกว่า 7 ถือว่ามีระดับความอดมสมบูรณ์ของดินต่ำ ถ้ามี
ุ
ุ
คะแนนรวมระหว่าง 8-12 ถือว่ามีความอดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง และถ้ามีคะแนนรวม 13 หรือ
มกกว่า ถือว่ามีระดับความอุดมสมบูรณ์สูง
13
2.7 ธาตุอาหารพืช
2.7.1 การจำแนกธาตุอาหารของพืช
ื
จากธาตุอาหารที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีพของพชชั้นสูงที่ยอมรับกันนั้น คณาจารย์
ภาควิชาปฐพวิทยา (2548) ได้จำแนกธาตุอาหารออกเป็น 2 กลุ่ม และได้อธิบายถึงความสำคัญของ
ี
ธาตุอาหารพืช ดังนี้
ื
1) มหธาตุ (macronutrients หรือ major elements) หมายถึง ธาตุที่พชต้องการ
ปริมาณมาก และสะสมในเนื้อเยื่อพชในความเข้มข้นสูงกว่า 500 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (พชแห้ง) มี 9
ื
ื
่
ิ
ธาตุ ได้แก ไฮโดรเจน คาร์บอน ออกซเจน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม
และกำมะถัน
นอกจากนี้ ยงยุทธ โอสถสภา (2558) ได้อธิบายว่า มหธาตุ คือ ธาตุอาหารที่พช
ื
ื
ต้องการปริมาณมาก ความเข้มข้นของธาตุโดยน้ำหนักแห้งเมื่อพชเจริญเต็มวัยสูงกว่า 500 มิลลิกรัม
ต่อกิโลกรัม การปลูกพชในสารละลายธาตุอาหารใช้ในความเข้มขนมากกว่า 1 มิลลิกรัม(ธาตุ) ต่อลิตร
ื
้
ี
ื
จึงจะเพยงพอต่อการเจริญเติบโตของพช ได้แก่ ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม
แมกนีเซียม และกำมะถัน ส่วนคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจนนั้น แม้พชจะใช้ในปริมาณมาก แต่
ื
เนื่องจากพชได้รับมาในรูปของน้ำและแก๊ส คือ คาร์บอนไดออกไซด์ และออกซิเจน จึงมิได้รวมไว้ใน
ื
ิ
กลุ่มนี้ โดยพืชชั้นสูงได้รับธาตุคาร์บอน และธาตุออกซเจนที่ต้องการจากอากาศโดยตรง คาร์บอนเข้าสู่
พชในรูปของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทางปากใบ (stomata) ส่วนออกซิเจนเข้าสู่พชในรูปก๊าซ
ื
ื
ออกซิเจนทั้งทางปากใบและทางผิวของราก แม้ว่าแร่ในดินจะมีออกซิเจนเป็นองค์ประกอบสำคัญ แต่
ื
ื
พชก็ไม่ได้ใช้ออกซิเจนส่วนนี้ สำหรับไฮโดรเจนนั้นพชได้จากไฮโดรเจนอะตอมที่เป็นส่วนประกอบ
ิ
โมเลกุลของน้ำเมื่อน้ำเข้าร่วมในการสังเคราะห์แสง และเข้าร่วมเป็นองค์ประกอบของอนทรียสารใน
กระบวนการแยกสลายด้วยน้ำ (hydrolysis) (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2548)
อย่างไรก็ตาม มหธาตุที่พชได้รับจากดิน ยังแบ่งย่อยออกเป็น 2 พวกคือ 1) ธาตุหลัก
ื
(primary elements) หรือธาตุอาหารหลัก เป็นธาตุที่มักขาดแคลนในดินทั่วไปมี 3 ธาตุ คือ
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม และ 2) ธาตุรอง (secondary elements) หรือธาตุอาหาร
รอง เป็นธาตุที่มีปัญหาความขาดแคลนไม่กว้างขวางเหมือนธาตุหลักมี 3 ธาตุ คือ แคลเซียม
แมกนีเซียม และกำมะถัน
2) ธาตุอาหารจุลภาคหรือจุลธาตุอาหารหรือธาตุอาหารเสริม (micronutrients หรือ
trace elements หรือ minor elements) หมายถึง ธาตุที่พชต้องการปริมาณน้อยและสะสมใน
ื
ื
เนื้อเยื่อพชในความเข้มข้นต่ำกว่า 50 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (พชแห้ง) ได้แก่ เหล็ก แมงกานีส ทองแดง
ื
สังกะสี โบรอน โมลิบดินัม คลอรีน และนิกเกิล
14
ื
พชได้รับธาตุอาหารจุลภาคจากดิน แม้ว่าพชต้องการในปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับธาตุ
ื
อาหารมหธาตุ แต่ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่ากลุ่มธาตุทั้งสองประเภทจะมความสำคัญต่อการเจริญเติบโต
ี
ื
ื
ของพชมากน้อยกว่ากัน ความจริงแล้วธาตุที่จำเป็นต่อการเติบโตของพชทุกธาตุมีความสำคัญต่อการ
ดำรงชีพของพืชเท่าๆ กัน จะต่างกันก็แต่ปริมาณที่พืชต้องการเท่านั้น
ื
ื่
นอกจากธาตุอาหารทั้ง 17 ธาตุที่กล่าวแล้ว พชบางชนิดยังต้องการธาตุอนเป็นการ
เฉพาะออกไปอีก จึงถือว่าธาตุนั้นๆ เป็นธาตุอาหารที่จำเป็นเฉพาะพืช เช่น โคบอลต์จำเป็นสำหรับการ
ดำรงชีวิตของแบคทีเรียพวกไรโซเบียม (Rhizobium sp.) เพราะธาตุนี้มีบทบาทสำคัญในการตรึงกาซ
๊
ไนโตรเจนจากอากาศ ในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์บางท่านถือว่าโคบอลต์ เป็นธาตุอาหารที่จำเป็นต่อ
ื
การเจริญเติบโตของพชตระกูลถั่ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปลูกในดินที่มีระดับ ไนโตรเจนต่ำและมีการ
ใช้ปุ๋ยไนโตรเจนน้อยหรือไม่ใช้เลย จากน้ำหนักแห้งของพช ประมาณร้อยละ 96 ประกอบด้วย
ื
คาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจน และร้อยละ 4 เป็นธาตุอนๆ อย่างไรก็ตามธาตุอาหารมหัพภาค
ื่
และธาตุอาหารจุลภาค ที่ได้จากดิน เป็นตัวกำหนดการเจริญเติบโตของพืช ทั้งนี้เพราะถ้ามีการจัดการ
เรื่องน้ำและการระบายอากาศ ของดินอย่างเหมาะสมแล้ว จะไม่ปรากฏว่าพชขาดคาร์บอน ไฮโดรเจน
ื
ื
และออกซิเจนจนกระทบกระเทอนต่อการเจริญเติบโต (ยงยุทธ, 2558)
2.7.2 ไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์ (Available Nitrogen; avail: N)
ส่วนใหญ่ดินในชั้นไถพรวนจะมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบระหว่าง 0.1-0.6%N หรือคิด
เป็น 2,000-12,000 kgN/ha ขึ้นอยู่กับชนิดดินและสภาพแวดล้อม ไนโตรเจนในดินแบ่งได้เป็น 3 รูป
ื
คือ 1) อนทรีย์ไนโตรเจน ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเศษซากพช ฮิวมัสและสิ่งมีชีวิตในดิน 2) แอมโมเนียไน
ิ
+
เตรทที่ถูกตรึงด้วยอนุภาคดินเหนียว และ 3) อนินทรีย์ไนโตรเจนในรูปแอมโมเนีย (NH ) ไนเตรท
4
-
-
(NO ) และไนไตรท์ (NO ) ในสารละลายดิน ไนโตรเจนในดินส่วนใหญ่ มากกว่าร้อยละ 95 จะอยู่ใน
2
3
รูปของอินทรีย์ไนโตรเจนซึ่งไม่เป็นประโยชน์ต่อพืช และยังต้องใช้เวลานานมากในการเปลี่ยนเป็นรูปที่
พชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในรูปแอมโมเนีย (NH ) และไนเตรท (NO ) โดยแต่ละปีจะ
+
-
ื
4
3
ปลดปล่อยออกมาได้เพียง 10-500 kgN/ha เท่านั้น และมักจะสูญเสียไปในรูปก๊าซหรือการชะล้าง ซึ่ง
-
-
ี
มีเพยงร้อยละ 1-2 เท่านั้นที่อยู่ในรูปแอมโมเนีย (NH ) ไนเตรท (NO ) และไนไตรท์ (NO ) ใน
+
4
3
2
ู
สารละลายดินที่พชสามารถใช้ได้ทันที และร้อยละ 1-6 จากแอมโมเนียมที่ถกตรึงในอนุภาคดินเหนียว
ื
โดยเฉพาะดินชั้นบนมากกว่าดินชั้นล่างและผันแปรไปตามชนิดดิน (จีราภรณ์, 2563)
ื่
ี
คณาจารย์ภาควิชาปฐพวิทยา (2548) ได้กล่าวถึง การจัดการเพอควบคุมไนโตรเจนในดิน
ให้เหมาะสมกับการเพาะปลูกพชนั้น ควรพจารณาเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ คือ 1) การรักษาระดับ
ิ
ื
ของไนโตรเจนให้เพยงพออยู่เสมอ และ 2) การควบคุมเกี่ยวกับชนิด ปริมาณ และเวลาในการปรับ
ี
ระดับของไนโตรเจนให้เหมาะสมกับความต้องการตามชนิดของพืชที่จะปลูก
15
2.7.3 ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available Phosphorus; avail: P)
ฟอสฟอรัส เป็นธาตุอาหารที่พชต้องการในปริมาณมาก เป็นส่วนประกอบของกรด
ื
ิ
นิวคลีอก และนิวคลิโอโปรตีน มีความสำคัญต่อการสร้างยีนส์ (Genes) การแบ่งเซลล์และการสร้าง
เซลล์ในพช และเป็นส่วนประกอบของฟอสโฟลิไพด์ (Phospholipide), NADP และ ATP เป็นตัว
ื
ถ่ายทอดพลังงานระหว่างสารต่อสารในระบบต่างๆ เช่น การสังเคราะห์แสง การหายใจ การ
เคลื่อนย้ายสาร และช่วยในการเจริญเติบโตของราก อกทั้งยังเป็นธาตุที่จำเป็นสำหรับการออกดอก
ี
ติดเมล็ด และการพัฒนาของเมล็ดและผล (วิจิตร, 2552)
ฟอสฟอรัสในดินทั่วไปมีประมาณ 0.03 ถึง 0.2 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งน้อยกว่าธาตุไนโตรเจน
และโพแทสเซียม ในประเทศไทยมีปริมาณเฉลี่ยอยู่ที่ 0.21 เปอร์เซ็นต์ ในพนที่ภาคเหนือส่วนใหญ่มี
ื้
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เฉลี่ยอยู่ในช่วง 6-12 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งปริมาณที่มีอยู่ตามธรรมชาติ
ื
จะไม่เพยงพอในการให้ผลผลิตที่สูงที่สุดกับพชได้ พชดูดใช้ฟอสฟอรัสในรูปของอนุมูลฟอสเฟตที่
ี
ื
ละลายอยู่ในน้ำในดิน แต่อนุมูลเหล่านี้มักทำปฏิกิริยากับธาตุประจุบวกและสารประกอบต่างๆ ในดิน
เกิดเป็นสารประกอบที่เป็นของแข็งละลายน้ำยาก
สารประกอบฟอสฟอรัสในดินนั้นมีอยู่หลายรูปแบบ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
ฟอสฟอรัสที่อยู่ในรูปของสารประกอบอนทรีย์ และฟอสฟอรัสที่อยู่ในรูปของสารประกอบอนินทรีย์
ิ
สำหรับปริมาณสัดส่วนว่ากลุ่มไหนจะมีอยู่ในดินมากน้อยกว่ากันเท่าไหร่นั้นจะแตกต่างกันออกไป
ื่
ปริมาณฟอสฟอรัสในรูปของไอออนมีน้อยมากเมื่อเทียบกับธาตุอนๆ ปริมาณฟอสฟอรัสไอออนมี
ค่าเฉลี่ยเพยง 0.06 มิลลิกรัมต่อลิตร จากการสำรวจตัวอย่างดิน 149 ตัวอย่าง ในเขตตอนกลางของ
ี
ประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ว่าดินจะมีเนื้อดินประเภทใดก็มีฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ค่อนข้างต่ำ
-
ฟอสฟอรัสในรูป H PO และ HPO จะแปรผันไปตามค่าความเป็นกรดด่างของดินในช่วงที่เป็น
2-
2
4
4
ประโยชน์จะอยู่ในช่วง 4.00-8.5 (จีราภรณ์, 2563)
2.7.4 โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (Available Potassium; avail: K)
โพแทสเซียม เป็นธาตุอาหารที่พชต้องการปริมาณมาก มีองค์ประกอบสำคัญของเอนไซม์
ื
ที่ช่วยในการสังเคราะห์แสง การสร้างโปรตีน แป้ง ช่วยในการลำเลียงแป้งและน้ำตาล ควบคุมและ
รักษาความเป็นกรดเป็นด่าง ควบคุมการเปิด-ปิดของปากใบ ช่วยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์บาง
ชนิด กระบวนการเมตาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรตและโปรตีน ช่วยให้ทุกส่วนของต้นพืชและระบบราก
็
แขงแรง ทนทานต่อโรคและแมลง ช่วยเพมขนาดของผลิตผล เมล็ด และปรับปรุงคุณภาพของผลิตผล
ิ่
โพแทสเซียมในดินมีอยู่ด้วยกัน 3 รูป คือ Fixed K, Exchangeable K และ Soluble K รูปที่พช
+
ื
+
+
ื
+
สามารถนำไปใช้ได้ คือ Exchangeable K และ Soluble K สำหรับ Soluble K นั้น พชสามารถ
+
ดูดไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย แต่เนื่องจากมีปริมาณน้อยมากจึงไม่ค่อยนำมาใช้ในการประเมินปริมาณ
โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ โพแทสเซียมในดินในรูปต่างๆ จะสมดุลเสมอ กล่าวคือเมื่อรากพชดูด
ื
16
+
Exchangeable K (Readily Available: K) ไปใช้ประโยชน์อยู่เสมอจนมีระดับต่ำมาก โพแทสเซียม
ในดินที่ถูกตรึงไว้จะถูกปลดปล่อยออกมาอยู่ในรูป Readly Available ซึ่งการปลดปล่อยนี้จะเร็วหรือ
ช้าขึ้นกับปัจจัยต่างๆ เช่น ชนิดของ Soil Colloid และความชื้นของดิน เป็นต้น (วิจิตร, 2552)
2.8 การสูญเสียธาตุอาหารไปจากดิน
ธาตุอาหารในดินอาจจะสูญเสียไปได้ 3 ทางด้วยกัน (จีราภรณ์, 2563) คือ
ื้
ื
2.8.1 สูญเสียไปกับผลผลิตพชที่นำออกจากพนที่ปลูก ทั้งนี้เพราะเมล็ด ผล ต้น หรือใบพืชนั้น มี
ื้
ื
ธาตุอาหารพชเป็นองค์ประกอบอยู่ทั้งนั้น การที่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตออกจากพนที่นั้นเป็นการ
สูญเสียธาตุอาหารผ่านปริมาณผลผลิต ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของพชที่ปลูกแต่ละประเภทว่ามีการสะสม
ื
ปริมาณธาตุอาหารมากน้อยเพียงใด
2.8.2 สูญเสียไปกับน้ำที่ไหลลงสู่ดินชั้นล่าง การชะล้าง (Soil Leaching) ด้วยการซึมลงสู่บริเวณ
ื
ที่ลึกเกินกว่าที่รากพชจะดูดกินได้ อาจจะไปสะสมอยู่ในดินชั้นล่าง หรือในน้ำใต้ดิน ground water
ซึ่งมีปัจจัยหลักใหญ่ที่ทำให้เกิดการสูญเสียในรูปแบบนี้ได้ คือปริมาณน้ำฝน หรือปริมาณน้ำในการ
ั
ื
ชลประทาน โครงสร้างของดิน พชคลุมดิน หรือชนิดของพชที่ทำการเพาะปลูก ชนิดและอตราของปุ๋ย
ื
ที่ใส่ลงไปในดินด้วย เช่น ธาตุไนโตรเจนมักจะสูญเสียในรูปของไนเตรทได้ง่าย โดยเฉพาะในดินเนื้อ
ทรายมากกว่าดินเหนียว
2.8.3 สูญเสียติดไปกับน้ำหรือลม (Eroded) โดยกระบวนการกร่อน (Soil Erosion) ไปสู่ที่อน
ื่
ทั้งนี้เพราะธาตุอาหารอยู่ในเม็ดดินสามารถสูญหายไปกับการกร่อนด้วยน้ำ ซึ่งมีปริมาณเฉลี่ย 16.4
ื
ตัน/เฮกตาร์/ปี โดยธาตุอาหารพชที่สูญเสียด้วยวิธีนี้คือไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม
และแมกนีเซียมขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ชนิดของดิน พืชที่คลุมดิน และความลาดชันของพื้นที่
2.9 ปุ๋ยและหลักการใช้ปุ๋ย
2.9.1 ปุ๋ย
ึ้
ปุ๋ยเป็นสารอินทรีย์ หรือสารอนินทรีย์ที่เกิดขนตามธรรมชาติหรือสังเคราะห์ขึ้นที่ใส่ลงไปใน
ดินแล้วเป็นธาตุอาหารพืช (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553ข) ได้แก่
1) ปุ๋ยเคมี หรือปุ๋ยอนินทรีย์ เป็นสารประกอบที่ให้ธาตุอาหารพืชโดยผ่านกระบวนการผลิต
ทางเคมีและมีธาตุอาหารพืชมากกว่าปุ๋ยอินทรีย์
ิ
2) ปุ๋ยอนทรีย์ เป็นสารประกอบที่ได้มาจากสิ่งมีชีวิตที่ผ่านกระบวนการผลิตตามธรรมชาติ
ุ
ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพชสด และวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอตสาหกรรม มีปริมาณธาตุอาหารพช
ื
ื
มากน้อยแตกต่างกันไปตามวัสดุที่ใช้ทำปุ๋ย โดยปกติปุ๋ยอนทรีย์จะมีธาตุอาหารน้อยเมื่อเปรียบเทียบ
ิ
17
ุ
กับปุ๋ยเคม แต่มีคณสมบัติที่ช่วยให้ดินโปร่งและร่วนซุย ทำให้ดินมีการระบายน้ำดี การถ่ายเทอากาศดี
ี
ช่วยในการดูดซับน้ำและธาตุอาหารได้มากขึ้น มีกิจกรรมของจุลินทรีย์และสัตว์ในดินมาก เมื่อ
อินทรียวัตถุย่อยสลายตัวจะให้ธาตุอาหารพืช
ื
3) ปุ๋ยชีวภาพเป็นปุ๋ยจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่สามารถสังเคราะห์ธาตุอาหารพชได้ เช่น ไร
ื
ื
โซเบียม หรือปลดปล่อยธาตุอาหารพชที่อยู่ในรูปไม่เป็นประโยชน์ให้อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ต่อพชที่
ปลูก เช่น ไมคอร์ไรซา
4) ปุ๋ยอินทรียชีวภาพ เป็นปุ๋ยอินทรีย์ที่ผ่านกระบวนการความร้อนเพื่อฆ่าสิ่งมีชีวิตก่อนแล้ว
นำจุลินทรีย์ที่เป็นปุ๋ยชีวภาพมาใส่และทำการหมักต่อไปจนกระทั่งจุลินทรีย์เจริญเติบโตเต็มที่ก่อน
นำไปใช้
ื
5) น้ำหมักชีวภาพ เป็นน้ำหมักที่ได้จากการหมักเศษชิ้นส่วนของพชและสัตว์ กากน้ำตาล
และน้ำ โดยใช้จุลินทรีย์เป็นตัวย่อยสลายน้ำหมักชีวภาพจะมีธาตุอาหารพืชมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับวัสดุ
ที่นำมาใช้ หมักน้ำหมักชีวภาพที่ผลิตจากสัตว์จะมีธาตุอาหารพืชมากกว่าผลิตจากพืช
2.9.2 หลักการใช้ปุ๋ย
หลักการใช้ปุ๋ยเคมีหลักการใส่ปุ๋ยที่ควรยึดถือเป็นแนวปฏิบัติคือเลือกชนิดปุ๋ยเคมีที่ถูกต้อง
ื
ื
ใช้ในปริมาณที่เหมาะสม ใส่ในช่วงระยะเวลาที่พชต้องการและใส่ตรงบริเวณที่พชนำไปใช้ได้ง่ายและ
ื
เร็วที่สุด เนื่องจากพชต้องการธาตุอาหารที่แตกต่างกนตามช่วงเวลาของการเจริญเติบโต การออกดอก
ั
ติดผล และคุณภาพของผลผลิต ซึ่งถ้าให้ปุ๋ยไม่เพยงพอและไม่ถูกต้องตามช่วงเวลา ชนิดธาตุอาหารที่
ี
ื
ั
พชต้องการ ก็จะจำกัดการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต และคุณภาพของผลผลิต (กรมพฒนาที่ดิน,
2553ข)
2.10 ข้าว
ข้าวเป็นพชล้มลุกตระกูลหญ้าที่ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีจึงสามารถปลูกและเติบโตได้
ื
ื้
ในดินทั่วไปที่สามารถขังน้ำไว้ได้ สภาพพนที่ที่เหมาะสมในการปลูกข้าวควรเป็นที่ราบลุ่มควบคุมระดับ
น้ำได้ลักษณะเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินร่วนเหนียว และดินร่วนที่กักเก็บน้ำได้ดี ความเป็นกรดเป็นด่าง
ุ
ประมาณ 5-7 อณหภูมิระหว่าง 22-33 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝน 1,200 ถึง 1,500 มิลลิลิตรต่อปี
ื้
และมีการกระจายตัวของฝนดี อย่างไรก็ตาม พบว่ามีการปลูกข้าวในพนที่ที่มีลักษณะเนื้อดินเป็นดิน
ิ
ทราย ดินร่วนปนทรายซึ่งมีวัตถุต้นกำเนิดดินเป็นหินทรายส่วนใหญ่เป็นดินที่มีปริมาณอนทรียวัตถุต่ำ
ิ
การที่มีปริมาณดินทรายสูงประกอบกับการมีปริมาณอนทรียวัตถุต่ำทำให้ดินมีศักยภาพการจับอาหาร
พชต่ำ ปริมาณธาตุอาหารพชในดินโดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม อาจไม่
ื
ื
เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของข้าว
18
การปลูกข้าวให้ได้ผลผลิตสสูงในดินที่มีการปลูกข้าวมาเป็นเวลานาน จำเป็นต้องมีการปรับปรุง
ื
ดินโดยการใส่ปุ๋ย ซึ่งให้ธาตุอาหารพชที่สำคัญแก่ข้าว เกษตรกรส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจในการใช้
ปุ๋ยเคมียังไม่ถูกต้อง เช่น ใส่ปุ๋ยมากหรือน้อยเกินไป ใส่ปุ๋ยไม่ตรงกับระยะเวลาที่ต้นข้าวต้องการ และ
ใส่ปุ๋ยไม่เหมาะสมกับลักษณะเนื้อดินและพันธุ์ข้าว
ดินนาแต่ละชนิดมีความต้องการปุ๋ยเคมีแตกต่างกัน โดยดินที่มีลักษณะเนื้อดินเป็นดินเหนียวซึ่ง
ุ
เป็นดินที่มีความอดมสมบูรณ์ดีและมีธาตุอาหารในดินอยู่บ้าง โดยเฉพาะโพแทสเซียมส่วนธาตุ
ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส ยังมีไม่เพยงพอสำหรับดินที่มีลักษณะเนื้อดินเป็นดินทราย หรือดินร่วนปน
ี
ทราย มีความอดมสมบูรณ์ต่ำกว่าดินเหนียวมีปริมาณธาตุอาหารพชไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและ
ุ
ื
โพแทสเซียมไม่เพยงพอ ทั้งนี้การวิเคราะห์ดินจะช่วยประเมินระดับความอดมสมบูรณ์ของดินได้ดี
ุ
ี
ยิ่งขึ้น เนื่องจากระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินจะเป็นปัจจัยที่สำคัญในการแนะนำการใส่ปุ๋ย
พันธุ์ข้าวที่ปลูกในประเทศไทยจำแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่
1) ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง เช่น กข7 ชัยนาท1 สุพรรณบุรี 1 เป็นต้น มีอายุการเก็บเกี่ยวค่อนข้าง
แน่นอนประมาณ 120-130 วัน นับจากวันตกกล้าถึงวันเก็บเกี่ยว มีการตอบสนองต่อปุ๋ยสูง
2) ข้าวไวต่อช่วงแสง เช่น ขาวดอกมะลิ 105 กข6 กข15 และปทุมธานี 60 เป็นต้น มีอายุการ
ั
เก็บเกี่ยวเป็นเวลาอยู่ในช่วงฤดูนาปี มีลำต้นสูงและให้ผลผลิตต่ำกว่าข้าวพนธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง มีการ
ตอบสนองต่อปุ๋ยต่ำ การใส่ปุ๋ยมากเกินไปโดยเฉพาะปุ๋ยไนโตรเจนจะทำให้ต้นข้าวล้ม แมลงศัตรูพืชเข้า
ทำลายได้ง่าย
ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการใส่ปุ๋ยให้ต้นข้าว คือระยะปลูก ระยะนี้ข้าวต้องการธาตุอาหารจาก
ดินมากควรใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมทั้งหมดของปริมาณที่แนะนำ ส่วนปุ๋ยไนโตรเจนควรแบ่ง
ใส่ครึ่งหนึ่งของปริมาณที่แนะนำ ทั้งนี้เนื่องจากธาตุไนโตรเจนเป็นธาตุที่สูญเสียไปกับน้ำและดินได้ง่าย
โดยเฉพาะดินทราย โดยที่นาดำควรใส่ปุ๋ยเคมีก่อนปักดำ 1 วัน หรือหลังปักดำข้าวแล้ว 7 วัน ส่วนนา
หว่านควรใส่ปุ๋ยหลังจากหว่านข้าวและข้าวงอกแล้ว 30 วัน ระยะต่อมาคือระยะกำเนิดช่อดอกหรือ
ระยะข้าวสร้างรวงออน แนะนำให้ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนส่วนที่เหลือ เพอส่งเสริมการสร้างรวงที่สมบูรณ์
่
ื่
รวมถึงสร้างจำนวนเมล็ดดีในรวงมากขึ้นด้วย และควรกำจัดวัชพชก่อนใส่ปุ๋ย (กรมวิชาการเกษตร,
ื
2548)
2.11 อ้อย
ออยเป็นพชเศรษฐกิจที่สำคัญของภูมิภาคเขตร้อนชื้นกึ่งร้อนชื้นเนื่องจากมีน้ำตาลซูโครสสูงจึง
ื
้
เป็นวัตถุดิบสำคัญของอตสาหกรรมน้ำตาลมาอย่างยาวนาน นอกจากนี้ อ้อยยังมีศักยภาพสูงในด้าน
ุ
พลังงานชีวภาพด้วย (คณาจารย์ภาควิชาพชไร่นา, 2541 อางถึงใน ยงยุทธ, 2556) อ้อยที่ปลูกในดิน
้
ื
ซึ่งมีความอดมสมบูรณ์สูงและได้รับปัจจัยอนจำเป็นต่อการเจริญเติบโตอย่างครบถ้วน ย่อมให้ผลผลิต
ั
ุ
ุ
สูง ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ดินที่มีความอดมสมบูรณ์สูงสำหรับอ้อย หมายถึง ดินที่มีความสามารถ
19
ี
้
ในการตอบสนองธาตุอาหารแก่ออยได้ครบทุกธาตุ แต่และธาตุเพยงพอและสมดุลกันตามความ
้
้
ต้องการของออยในแต่ละระยะของการเจริญเติบโต ดังนั้นเรื่องของธาตุอาหารออยจึงมีความสำคัญ
มาก และเป็นปัจจัยที่จะนำไปสู่ความสำเร็จของการผลิตให้ได้ผลผลิตลำออยและผลผลิตน้ำตาลสูง
้
(ยงยุทธ และคณะ, 2554 อ้างถึงใน ยงยุทธ, 2556)
ออยเป็นพชที่มีช่วงการเจริญเติบโตยาวและมีอตราการเติบโตสูง จึงต้องการธาตุอาหารต่างๆ
้
ั
ื
ุ
ื
่
ในปริมาณคอนข้างมาก แต่เนื่องจากเป็นพชอตสาหกรรมที่มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจดี เกษตรกรจึง
มักใส่ปุ๋ยเพื่อบำรุงดินกันโดยทั่วไปเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง
การใส่ปุ๋ยสำหรับออยนั้น ควรแบ่งใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 ให้แบ่งครึ่งปุ๋ยไนโตรเจน
้
และใส่ร่วมกับปุ๋ยฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมตามอตราที่แนะนำ เมื่อออยมีอายุ 1 เดือนหลังจากงอก
ั
้
และครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนอกครึ่งหนึ่งที่เหลือ เมื่อออยอายุ 3 เดือนหลังงอก (กรมวิชาการเกษตร,
ี
้
2548)
2.12 มันสำปะหลัง
มันสำปะหลังเป็นพชเศรษฐกิจหนึ่งที่สำคัญของโลก เพราะเป็นแหล่งผลิตคาร์โบไฮเดรตสูงสุด
ื
ุ
เป็นพชที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินแทบทุกชนิด ตั้งแต่ดินที่มีความอดมสมบูรณ์ต่ำจนถึงดินที่มี
ื
ความอุดมสมบูรณ์สูง มันสําปะหลังเจริญเติบโตได้ไม่ดีในดินเค็มและดินน้ำแช่ขังนานๆ เป็นพืชทนแล้ง
และยังเป็นพืชที่มีโรคแมลงทำลายน้อย
แหล่งปลูกมันสําปะหลังของประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นดินทราย ดินร่วนทราย มีความ
อดมสมบูรณ์ต่ำ มีพนที่เพาะปลูกประมาณ 6.74 ล้านไร่ ให้ผลผลิตประมาณ 18-19 ล้านตัน และนำ
ุ
ื้
รายได้เข้าประเทศปีละมากกว่า 30,000 ล้านบาท โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีการเพาะปลูก
มันสําปะหลังมากที่สุดมีพนที่ประมาณ 3.56 ล้านไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 53 ของประเทศ ได้ผลผลิต
ื้
ประมาณ 9.40 ล้านตัน (ปี 2546) และผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ประมาณ 2.55 ตัน
การใส่ปุ๋ยให้ใส่ปุ๋ยเคมีตามอัตราที่แนะนำ โดยใส่บริเวณสองข้างต้นมันสำปะหลังแล้วกลบปุ๋ยครั้ง
เดียวหลังปลูก 1-3 เดือน หรือหลังกำจัดวัชพชครั้งแรก เมื่อดินมีความชื้นพอเหมาะ นอกจากนี้ หาก
ื
ั
ต้องการผลิตมันสำปะหลังได้อย่างยั่งยืน ควรใช้ปุ๋ยผสมผสานระหว่างปุ๋ยเคมีตามอตราที่แนะนำ
ิ
ร่วมกับการใช้ปุ๋ยอนทรีย์ 1-2 ตันต่อไร่ หรือร่วมกับการไถกลบซากต้นใบมันสด 3 ตันต่อไร่ หรือ
ั
ร่วมกบปุ๋ยคอก 500 กิโลกรัมต่อไร่ และป้องกนการชะล้างหน้าดินเมื่อพนที่ดินมีความลาดเอียงร้อยละ
ั
ื้
6-8 และเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยเคมีจึงแนะนำให้ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (กรม
วิชาการเกษตร, 2548)
20
2.13 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information Systems)
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information Systems: GIS) คือ กระบวนการ
ทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพนที่ ด้วยระบบคอมพวเตอร์ ที่ใช้กำหนดข้อมูล และสารสนเทศที่มี
ิ
ื้
ความสัมพนธ์กับตำแหน่งเชิงพนที่ ในแผนที่ GIS ซึ่งเป็นข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของข้อมูลเชิง
ื้
ั
ื้
ั
คุณลักษณะ (Attribute data) หรือตารางข้อมูล และฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพนธ์กับข้อมูลเชิงพนที่
(Spatial data) รูปแบบและความสัมพนธ์ของข้อมูลเชิงคุณลักษณะ และข้อมูลเชิงพื้นที่สามารถนำมา
ั
วิเคราะห์ด้วย GIS ซึ่งสามารถสืบค้น จัดการ แก้ไข/ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน วิเคราะห์ข้อมูล
จัดเก็บข้อมูลในลักษณะข้อมูลเชิงพนที่ (Spatial data) ที่แสดงในรูปของภาพ (graphic) แผนที่
ื้
(map) ที่เชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute data) หรือฐานข้อมูล (database) ที่เป็นการ
เชื่อมโยงข้อมูลทั้งสองประเภทเข้าด้วยกัน จะทำให้ผู้ใช้สามารถที่จะแสดงข้อมูลทั้งสองประเภทได้
พร้อมๆ กัน ซึ่งสามารถนำเสนอในรูปแบบดิจิทัล (digital) เช่น การเสนอผ่านทางเว็บไซต์
์
ิ
ื่
อนเทอร์เน็ต และสามารถจัดพมพในรูปสิ่งพมพ (hard copy) เพอเผยแพร่แล้วนำไปใช้ประโยชน์ใน
ิ
ิ
์
การตัดสินใจต่อไป (สุเพชร, 2556)
2.13.1 การประมาณค่าในช่วง (Interpolation)
การประมาณค่าในช่วง (Interpolation) เป็นการทำนายค่าให้กับเซลล์ใน Raster จาก
ี่
ข้อมูลจุดตัวอย่างที่มีอยู่อย่างจำกัด วิธีการดังกล่าวสามารถใช้ในการทำนายค่าทไม่ทราบได้จากจุดทาง
ภูมิศาสตร์โดยการประมาณค่าของ Z-Value สำหรับทุกตำแหน่งจุดสำรวจภายใต้สมมติฐานว่า ข้อมูล
้
จะต้องเป็นประเภทขอมูลที่ต่อเนื่อง (Continuous Data) ข้อมูลเชิงพื้นที่ที่สามารถประมาณค่าได้จาก
ตำแหน่งที่อยู่ข้างเคียง (สุเพชร, 2552)
ภาพที่ 2-1 แบบจำลองแนวคิดของประมาณค่าในช่วง (ดัดแปลงจาก Geography, 2017)
21
ื้
การประมาณค่าข้อมูลเชิงพนที่ (Spatial Interpolation) จึงเป็นกระบวนการของการ
ใช้ข้อมูลจุดที่ทราบค่าในการประมาณค่าบริเวณตำแหน่งที่ไม่มีข้อมูล โดยใช้ตำแหน่งที่มีข้อมูลจากการ
ื้
ตรวจวัดหรือเก็บตัวอย่างเพื่อประมาณค่าการเปลี่ยนแปลงค่าจุดข้อมูลจนถึงพนที่ผิวที่มีลักษณะข้อมูล
ที่ได้ต่อเนื่องกัน
การประมาณค่าในช่วง แบ่งเป็น 2 วิธี คือ 1) การประมาณค่าในช่วงแบบต่อเนื่อง
(Continuous interpolation) เป็นวิธีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปของการประมาณค่า
ด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ เช่น การคำนวณค่าระยะทางกลับโดยน้ำหนัก (Inverse
Distance Weight) ฟงก์ชันเส้นโค้ง (Spline) การทำคริกิง (Kriging) และวิธีเทียบเคียงธรรมชาติ
ั
(Natural Neighbors) เป็นต้น 2) การประมาณค่าในช่วงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete interpolation)
เป็นวิธีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของการประมาณค่าโดยมีเส้นแบ่งของแต่ละค่าชัดเจน เช่น
วิธีการสร้างรูปหลายเหลี่ยมทิสเสน (Thiessen Polygon) เป็นต้น
2.13.2 ประมาณค่าในช่วงรูปแบบ Kriging
ปฏิวัติ ฤทธิเดช (2559) กล่าวว่า เป็นวิธีการประมาณค่าช่วงขั้นสูง โดยการใช้
กระบวนการทางสถิติและสมการทางคณิตศาสตร์เข้ามาช่วยในการวิเคราะห์ วิธีการนี้จะทำการเลือก
ิ
สมการทางคณตศาสตร์ที่เหมาะสมกับจุดตัวอย่างที่เลือกไว้ ภายในรัศมีที่กำหนดเพอให้ได้ผลลัพธ์ในแต่
ื่
ื้
ี
ื้
ั
ละพนที่ออกมา การใช้ Kriging ควรต้องรู้ระยะทางที่สัมพนธ์ทางพนที่หรือทิศทางเอนเอยงในข้อมูล
Kriging แตกต่างจากการประมาณค่าในช่วงด้วยวิธีอน เช่น IDW หรือ Spline เนื่องจากทั้ง 2 วิธีนี้เป็น
ื่
การประมาณค่าโดยรอบจุดตัวอย่างโดยตรง หรือใช้สมการทางคณตศาสตร์ ผลลัพธ์ที่ได้จึงมีความเรียบ
ิ
แต่วิธีKriging จะทำการประมาณค่าโดยใช้แบบจำลองทางสถิติ เช่น ค่าสหสัมพนธ์ (Correlation)
ั
ดังนั้น เมื่อใช้ Kriging จะได้ผลลัพธ์ที่มาจากการวิเคราะห์ที่แน่นอนและมีความถูกต้องสูง
สุเพชร จิรขจรกุล (2552) ได้อธิบายถึง Kriging ว่าเป็นวิธีการแทรกที่ทำการสันนิษฐาน
จากระยะทาง หรือทิศทางระหว่างจุดตัวอย่างแต่ละชุด ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความสัมพนธ์เชิงพนที่ที่
ื้
ั
สามารถนำมาใช้ในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนพนผิวได้ ด้วยวิธีการ Kriging นี้จะทำการ
ื้
เลือกสมการทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสมกับจุดตัวอย่างที่เลือกไว้ หรือจุดตัวอย่างทั้งหมด ภายในรัศมี
ที่กำหนด เพอให้ค่าผลลัพธ์ในแต่ละพนที่ออกมา Kriging ทำงานหลายขั้นตอน โดยผสมผสานการ
ื่
ื้
สำรวจวิเคราะห์ค่าทางสถิติของข้อมูล การทำแบบจำลองวาริโอแกรม (Variogram) การสร้างพนผิว
ื้
และยังมีส่วนเสริมให้สามารถตรวจดูความแปนปรวนของพื้นผิวได้อกด้วย วิธีการนี้มักนิยมใช้ในกรณีท ี่
ี
คุณต้องการทราบความสัมพนธ์ของระยะทาง หรือทิศทางที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล
ั
โดยมากมักจะใช้ทางปฐพีวิทยาและธรณีวิทยา แต่บางครั้งพบว่าใช้คำนวณปริมาณน้ำฝน
ค่าประมาณจากวาริโอแกรมจะนำมาใช้ในการประมาณค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักตาม
ื้
ระยะทางในการประมาณค่าข้อมูลเชิงพนที่ ค่าที่ได้คือผลรวมของค่าถ่วงน้ำหนักของจุดที่ทราบค่าซึ่ง
ขึ้นอยู่กับระยะทางระหว่างจุดที่ทำการประมาณค่ากับจุดที่ทราบค่า โดยค่าถ่วงน้ำหนักที่เลือกมาทำ
22
ี
การประมาณค่าต้องไม่มีความเอนเอยง และมีความผันแปรน้อยที่สุดรูปแบบของ Kriging สามารถ
แบ่งออกได้ดังนี้
1) Ordinary Kriging วิธีนี้สมมุติให้จุดที่ไม่ทราบค่าถูกประมาณค่าด้วยจุดที่ทราบค่าใน
ื้
ั
แนวเดียวกันในลักษณะของความสัมพนธ์เชิงพนที่ การวัดระดับความสัมพนธ์เชิงพนที่ขึ้นอยู่กับจุดที่
ื้
ั
ทราบค่าว่ามีระดับครึ่งหนึ่งของความผันแปรเฉลี่ย (Average Semi-Variance) นิยมใช้มากและ
กว้างขวาง ซึ่งจะสมมติค่ากลางที่แน่นอนซึ่งไม่รู้ค่า
2) Universal Kriging วิธีนี้มีรูปแบบเป็น Deterministic Interpolation โดยตั้ง
ั
ื้
สมมุติฐานให้ความผันแปรเชิงพนที่ในค่า z มารวมกันและมีความสัมพนธ์เชิงพนที่กับจุดที่ทราบค่า
ื้
นอกจากนี้ยังเป็นวิธีที่มีการปรับความโค้งของพื้นที่ โดยเป็นวิธีของการรวมเข้าไว้ของพื้นผิวระนาบกับ
พนผิวควอดราติก (Quadratic) ซึ่งใช้รูปแบบของสมการโพลิโนเมียล นิยมใช้เมื่อรู้แนวโน้มของข้อมูล
ื้
และให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์เพื่ออธิบายมันได้
2.13.3 ความสำคัญและการประมาณค่าข้อมูลเชิงพื้นที่
การวิเคราะห์ข้อมูลที่ต้องการข้อมูลที่มีความต่อเนื่องกระจายทั่วพนที่ ได้แก่ ปริมาณ
ื้
น้ำฝนอุณหภูมิ สภาพภูมิประเทศ ความสูง การกระจายตัวของสารเคมี ระดับเสียงรบกวน เป็นต้น แต่
ื่
ื้
ื้
ื้
การสำรวจเพอให้ได้ข้อมูลกระจายทั่วทั้งพนที่ศึกษามีข้อจำกัด ทั้งจากสภาพพนที่ไม่เอออำนวย เช่น
สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาสลับซับซ้อน หน้าผาสูงชันหรือป่ารกทึบ เป็นต้น รวมถึงข้อจำกัดด้านวัสดุ
ค่าใช้จ่ายดำเนินการค่อนข้างสูง การเก็บข้อมูลจึงได้ชุดตัวอย่างแสดงถึงค่า ณ ตำแหน่งในแต่ละจุดที่
เก็บมาเท่านั้น ส่งผลให้ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์บางส่วนขาดหายไปหรือมีความไม่ต่อเนื่องของข้อมูล
การประมาณค่าข้อมูลเชิงพนที่จึงเป็นการทำนายค่าให้กับข้อมูลตัวอย่างที่มีอยู่อย่างจำกัด
ื้
ื้
(สุเพชร จิรขจรกุล, 2552) การประมาณค่าข้อมูลเชิงพนที่ จึงนำมาใช้ในการจัดการข้อมูลที่ต้องการ
ื้
ึ
เพอวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง การกระจายตัวทั่วพนที่ศึกษา ประหยัดค่าใช้จ่าย รวมถงได้ข้อมูล
ื่
ื่
ที่มีความถูกต้องแม่นยำเพอสามารถนำข้อมูลไปวิเคราะห์และวางแผนการจัดการได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม (สัญชัย เอี่ยมประเสริฐ, 2554)
2.14 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ปรัชนิดา ขันธ์ชัย และพรทิวา กัญยวงศ์หา (2563) ได้ศึกษาการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์เพอประเมินความอดมสมบูรณ์ของดิน กรณีศึกษาสวนยางพารา อำเภอป่าบอน จังหวัด
ื่
ุ
พัทลุง สุ่มเก็บเก็บตัวอย่างดินและใบยางพาราทั้งหมด 75 ต้น บันทึกข้อมูลตำแหน่งภูมิศาสตร์ (UTM)
ของต้นยางพารา ที่เป็นกรณีศึกษา วิเคราะห์ตัวอย่างดินและพช และประเมินความอดมสมบูรณ์ของ
ุ
ื
ดินและความเข้มข้นของธาตุอาหารในใบยางพารา หลังจากนั้นใช้โปรแกรม Arc Map สร้างแผนที่
ื้
แสดงการแจกกระจายเชิงพนที่ของ ค่าวิเคราะห์ดินและพช โดยใช้เทคนิคการเปลี่ยนจาก Vector ให้
ื
ี
ิ
เป็น Raster ผลการศึกษาพบว่า มีเพยงอนทรียวัตถุ โพแทสเซียม และแมงกานีส ที่สกัดได้เท่านั้น ที่
อยู่ในเกณฑ์เหมาะ ในขณะที่แมกนีเซียมและเหล็กที่สกัดได้สูงกว่า เกณฑ์ที่เหมาะสมแก่การปลูก
23
ี่
ยางพารา ส่วนธาตุอื่นๆ ต่ำกว่าเกณฑ์ทเหมาะสมแก่การปลูกยางพารา รวมทั้ง ปฏิกิริยาดินซึ่งเป็นกรด
รุนแรง ความเข้มข้นของธาตุอาหารหลักทุกธาตุ (N, P, K) ในใบ ยางพาราต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
ี
ี
พอเพยง แคลเซียมอยู่ในช่วงระหว่าง “ขาดแคลนและพอเพยง” (marginal range) ในขณะที่
แมกนีเซียม ทองแดง และสังกะสีอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน “พอเพยง” ส่วนเหล็กและแมงกานีสมีความ
ี
เข้มข้น สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานพอเพียง
ื
ิ
ไชสะหวัน อนทะวง (2559) ศึกษาการประเมินธาตุอาหารพชในดินสำหรับการปลูกข้าว
กรณีศึกษา : อำเภออทุมพร จังหวัดสุวรรณเขต สปป. ลาว โดยการประยุกต์ระบบสารสนเทศ
ุ
ื้
ื่
ิ
ภูมิศาสตร์เพอวิเคราะห์ ประมวลผล และจัดทำแผนที่ตามพกัดทางภูมิศาสตร์ของลักษณะพนที่และ
สมบัติสำคัญของดิน โดยได้แบ่งการเก็บข้อมูลตามความลาดชันและประเภทเนื้อดิน (ดินเหนียว ดิน
ทรายแป้ง และดินทราย) แล้วกระจายการเก็บตัวอย่างดินตามกระบวนการสำรวจดินพร้อมจุดพกัด
ิ
ทั้งหมด 44 จุด นำดินที่สุ่มเก็บจากพนที่มาวิเคราะห์ธาตุอาหารพชและสมบัติในห้องปฏิบัติการ
ื้
ื
จากนั้นได้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยการสร้าง
แผนที่ของทั้ง 7 ปัจจัย ที่ทำการศึกษา พบว่าดินในอุทุมพรส่วนใหญ่เป็นดินทรายมีความเป็นกรดจัดถึง
ิ่
รุนแรงมากทสุด ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอมตัวด้วยประจุบวกทเป็นด่างมีค่า
ี่
ี่
ิ
ุ
ต่ำถึงค่อนข้างต่ำ และอนทรียวัตถุในดินมีค่าต่ำถึงต่ำที่สุดกระจายอยู่ทั่วอำเภออทุมพร ในขณะที่มี
พนที่ปริมาณความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกค่อนข้างสูงถึงสูงกระจายอยู่ทั่วไป ซึ่งจะเออให้พช
ื
ื้
ื้
ตอบสนองต่อการปรับปรุงดินด้วยการเพมธาตุอาหาร นอกจากการปรับปรุงสมบัติดิน โดยการปรับ
ิ่
ื่
ื่
ิ่
ิ่
สภาพดินและเพมธาตุอาหารพชเพอเพมผลผลิตข้าวแล้วนั้น อาจใช้วิธีจัดการอนเพอเพมผลผลิตข้าว
ิ่
ื่
ื
ร่วมด้วย เช่น การเลือกพื้นที่ให้เหมาะสมกับชนิดพช หรือมีการปรับปรุงพนธุ์ข้าวให้มีความทนทานต่อ
ั
ื
สภาพดินในพื้นท ี่
ชันษา อรุณวิจิตร และตุลวิทย์ สถาปนจารุ (2558) ได้ศึกษาถึงความแม่นยำถูกต้องของวิธีการ
ประมาณค่าแบบคริกิง (Kriging) และวิธีค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Inverse Distance Weighted, IDW)
ในการศึกษาการกระจายตัวของเหล็ก แมงกานีส และสังกะสีในน้ำใต้ดิน จังหวัดระยอง จากจุดเก็บ
ตัวอย่างน้ำใต้ดินทั้งหมด 29 จุด ในอำเภอนิคมพฒนาและอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ผล
ั
การศึกษา พบว่าค่าความเข้มข้นของเหล็กมีค่าอยู่ในช่วง 0–77.83 mg/l ค่าความเข้มข้นของ
แมงกานีสอยู่ในช่วง 0-4.89 mg/l และค่าความเข้มข้นของสังกะสีอยู่ในช่วง 0-77.34 mg/l เมื่อทำ
การแปลผลระหว่างวิธีการประมาณค่าแบบคริกิง (Kriging) และวิธีค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Inverse
Distance Weighted, IDW) พบว่า การกระจายตัวของเหล็กแมงกานีส และสังกะสีในน้ำใต้ดินจะอยู่
ื้
ั
ในพนที่ใกล้เคียงกบอุตสาหกรรม ทั้งสองวิธีการประมาณค่าโดยใช้โปรแกรมสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
เมื่อทำการวิเคราะห์ทางสถิติ พบว่าค่าเฉลี่ยของค่าความเข้มข้นของแมงกานีสและสังกะสีที่ได้จากการ
ประมาณค่าด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และค่าที่ได้จาการตรวจวัดในภาคสนาม ไม่มีความ
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนค่าเฉลี่ยของค่าความเข้มข้นของเหล็ก พบว่า ค่าที่ได้จาก
24
ี่
การประมาณค่าด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์กับค่าทได้จากภาคสนาม มีความแตกต่างกันอย่าง
มีนัยสำคัญทางสถิติ
ณัฐพล จันทร์แก้ว และอาภากร ทองวงสา (2559) ศึกษาแบบจำลองทางสถิติเชิงพนที่สำหรับ
ื้
ื่
การคาดคะเนสมบัติพนฐานของดินบ้านโป่งลึกบางกลอย อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี เพอ
ื้
ทดสอบใช้แบบจำลองทางสถิติและเปรียบเทียบแผนที่ด้วยทฤษฎีการประมาณค่าแบบ inverse
distance weighted (IDW) และ radial basis function (RBF) วิเคราะห์แผนที่ธาตุอาหารหลักของ
ื้
พนที่ศึกษาและศึกษาความสัมพนธ์ระหว่างแผนที่สมบัติพนฐานของดินกับภาพถ่ายจากดาวเทียม
ื้
ั
Landsat-8 (operational land imager, OLI) โดยเก็บตัวอย่างดิน 21 จุด มาตรวจวิเคราะห์ธาตุ
ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) และความเป็นกรด-ด่าง (pH) โดยใช้ข้อมูล 14 จุด ใน
การประมาณค่า และใช้ข้อมูล 7 จุด ในการประเมินและตรวจสอบความถูกต้อง ผลการศึกษาพบว่า
ทฤษฎีการประมาณค่าแบบ IDW เหมาะสำหรับใช้ประมาณค่าไนโตรเจน (N) เนื่องจากให้ค่าความ
คลาดเคลื่อนน้อยกว่าทฤษฎีการประมาณค่าแบบ RBF ส่วนทฤษฎีการประมาณค่าแบบ RBF เหมาะ
สำหรับใช้ประมาณค่า P, K และ pH เนื่องจากให้ค่าความคลาดเคลื่อนน้อยกว่าทฤษฎีการประมาณ
ค่าแบบ IDW เมื่อนำผลจากการประมาณค่า N, P และ K ที่ได้จากทฤษฎีการประมาณค่าที่เหมาะสม
มาวิเคราะห์แผนที่ธาตุอาหารหลักของพื้นที่ศึกษา พบว่าแผนที่ธาตุอาหารหลักของพื้นที่ศึกษาสามารถ
ใช้ในการวางแผนปรับปรุงดิน เลือกชนิดพช และการใส่ปุ๋ยได้ ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรใช้ทรัพยากรที่ดิน
ื
อย่างเกิดประโยชน์สูงสุดและช่วยลดต้นทุนในการทำเกษตรกรรมได้เป็นอย่างดี
บทที่ 3
ข้อมลทั่วไป
ู
3.1 ที่ตั้งและอาณาเขต
จังหวัดหนองบัวลำภูมีที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยตั้งอยู่ระหว่างละติจูด
ที่ 16 องศา 45 ลิปดาเหนือ ถึง 17 องศา 40 ลิปดาเหนือ และลองจิจูดที่ 101 องศา 57 ลิปดา
ิ
ตะวันออก ถึง 102 องศา 30 ลิปดาตะวันออก หรือที่พกัด 1854234N ถึง 1955064N และ
ื้
814538E ถึง 234782E มีพนที่ประมาณ 3,859 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,411,929 ไร่ และมีอาณาเขต
ติดต่อ ดังนี้ (ภาพที่ 3-1)
ทิศเหนือ ติดกับ อำเภอน้ำโสม อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี
ทิศตะวันออก ติดกับ อำเภอบ้านผือ อำเภอกุดจับ อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี
ู
ทิศใต้ ติดกับ อำเภอสีชมพ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น
ุ
ทิศตะวันตก ติดกับ อำเภอภูกระดึง อำเภอวังสะพง อำเภอผาขาว และอำเภอเอราวัณ
จังหวัดเลย
26
แผนที่ขอบเขตการปกครอง จังหวัดหนองบัวลำภู
ภาพที่ 3-1 แผนที่ขอบเขตการปกครอง จังหวัดหนองบัวลำภู
27
3.2 ลักษณะภูมิอากาศและสมดุลน้ำ
3.2.1 ลักษณะภูมิอากาศ
ุ
ั
กองพฒนาอตุนิยมวิทยา (2563) ได้อธิบายลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดหนองบัวลำภู
ั
นั้น ขึ้นอยู่กับอิทธิพลของมรสุมที่พดประจำฤดูกาล 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพดพา
ั
มวลอากาศเย็นและแห้งจากประเทศจีนเขาปกคลุมประเทศไทยตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึง
ประมาณเดือนกุมภาพนธ์ ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาวของประเทศไทย ทำให้จังหวัดหนองบัวลำภูมีอากาศ
ั
หนาวเย็นและแห้งทั่วไป และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พดพามวลอากาศชื้นจากทะเลและมหาสมุทร
ั
เข้าปกคลุมประเทศไทยในช่วงฤดูฝน (ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงประมาณกลางเดือนตุลาคม)
ทำใหมีฝนตกชุกทั่วไป
้
ฤดูกาลของจังหวัดหนองบัวลำภู พจารณาตามลักษณะของลมฟาอากาศของประเทศไทย
ิ
สามารถแบ่งออก ได้เป็น 3 ฤดู ดังนี้
ั
ฤดูหนาว เริ่มตนประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงประมาณกลางเดือนกุมภาพนธ์ ซึ่งเป็นช่วง
ที่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทยและบริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนซึ่ง
เป็นมวลอากาศ เย็นจะแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยในช่วงดังกล่าว ทำใหจังหวัดหนองบัวลำภูมี
อากาศหนาวเย็นและแห้งทั่วไป เดือนที่มีอากาศหนาวมากที่สุดจะอยู่ในช่วงเดือนธันวาคมถึงมกราคม
ฤดูร้อน เริ่มต้นประมาณกลางเดือนกุมภาพนธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงที่มี
ั
้
อากาศร้อนอบอาวโดยทั่วไป โดยเฉพาะเดือนเมษายนจะเป็นเดือนที่มีอากาศร้อนอบอ้าวที่สุดของปี
ฤดูฝน เริ่มต้นประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่มรสุม
ั
ตะวันตกเฉียงใต้พดเอาความชื้นจากทะเลและมหาสมุทรมาปกคลุมประเทศไทย ประกอบกับในช่วง
ดังกล่าวร่องความกดอากาศต่ำที่พาดผ่านอยู่บริเวณภาคใต้ของประเทศไทยจะเลื่อนขึ้นมาพาดผ่าน
บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ทำให้อากาศเริ่มชุ่มชื้นและมีฝนตก
ชุกตั้งแต่ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป โดยเฉพาะเดือนสิงหาคมเป็นเดือนที่มีฝนตกชุก
หนาแน่นมากที่สุดในรอบปี แต่อย่างไรก็ตามนอกจากปัจจัยดังกล่าวที่ทำให้มีฝนตกชุกแล้ว ยังขึ้นกับ
อิทธิพลของพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนตัวเข้าใกล้หรือเข้าสู่ประเทศไทยในช่วงดังกล่าวด้วย
28
ั
ตารางที่ 3-1 ปริมาณน้ำฝน อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และค่าศกย์การคายระเหยน้ำ ในคาบ 30 ปี
(พ.ศ. 2531-2560)
ปริมาณ อุณหภูมิ (°ซ) ความชื้น ศักย์การคาย
เดือน น้ำฝน สัมพัทธ์ ระเหยน้ำ : 1/2 PET
(มม.)
(มม.) สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย (%) PET (มม.)
มกราคม 7.5 30.0 16.5 22.5 69 109.3 54.6
กุมภาพันธ์ 18.9 32.5 18.4 24.8 65 120.6 60.3
มีนาคม 45.4 34.9 21.5 27.5 64 153.8 76.9
เมษายน 88.4 36.1 23.9 29.2 67 162.6 81.3
พฤษภาคม 195.3 34.3 24.4 28.4 77 143.4 71.7
มิถุนายน 191.2 33.4 24.7 28.3 79 124.6 62.3
กรกฎาคม 208.7 32.6 24.5 27.8 81 117.5 58.8
สิงหาคม 243.6 32.2 24.2 27.4 83 112.8 56.4
กันยายน 246.1 31.9 23.9 27.1 84 104.7 52.3
ตุลาคม 109.3 31.6 22.6 26.4 79 111.5 55.8
พฤศจิกายน 19.6 31.1 19.8 24.7 73 108.8 54.4
ธันวาคม 7.5 29.4 16.7 22.4 70 106.0 53.0
ผลรวม 1,381.4 - - - - 1,475.6 737.8
เฉลี่ยตลอดปี 115.1 32.5 21.8 26.4 74 123.0 61.5
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา (2560)
สำหรับลักษณะภูมิอากาศเฉลี่ยของสถานีหลักในจังหวัดหนองบัวลำภู (ตารางที่ 3-1)
พบว่า ปริมาณน้ำฝนทั้งหมด อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และศักย์การคายระเหยน้ำเฉลี่ยรายเดือน
ในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2531-2560) (กรมอตุนิยมวิทยา, 2560) มีลักษณะดังนี้ มีอณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี
ุ
ุ
26.4 องศาเซลเซียส โดยมีอณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายนเท่ากับ 36.1 องศาเซลเซียส และอณหภูมิ
ุ
ุ
ต่ำสุดในเดือนมกราคมเท่ากับ 16.5 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนรวมตลอดปี 1,381.4 มิลลิเมตร
ปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ย 115.1 มิลลิเมตรต่อเดือน โดยมีปริมาณน้ำฝนสูงสุดเฉลี่ยในเดือนกันยายน
เท่ากับ 246.1 มิลลิเมตร ปริมาณน้ำฝนต่ำสุดเฉลี่ยในเดือนมกราคมและธันวาคมเท่ากับ 7.5
ั
มิลลิเมตร ส่วนความชื้นสัมพทธ์เฉลี่ยตลอดปี 74 เปอร์เซ็นต์ ความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดในเดือนกันยายน
ั
เท่ากับ 84 เปอร์เซ็นต์ และความชื้นสัมพทธ์ความชื้นสัมพทธ์ต่ำสุดในเดือนมีนาคมเท่ากับ 64
ั
เปอร์เซ็นต์
29
3.2.2 สมดุลน้ำ
จากการวิเคราะห์ความสัมพนธ์ระหว่างปริมาณน้ำฝนทั้งหมดกับค่าศักย์การคายระเหยน้ำ
ั
ในแต่ละเดือนมาเปรียบเทียบกันเพอหาช่วงที่มีการขาดน้ำ ช่วงที่มีความชื้นเพยงพอ และช่วงที่มีน้ำ
ี
ื่
ื้
มากเกินพอ ในพนที่เพาะปลูกที่อาศัยน้ำฝน พบว่า ช่วงที่มีความชื้นเพยงพอเริ่มตั้งแต่ช่วงกลางเดือน
ี
เมษายนจนถึงปลายเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่เหมาะสมในการปลูกพชในฤดูเพาะปลูกมากที่สุด แต่
ื
เนื่องจากในช่วงต้นเดือนพฤษภาคมจนถึงกลางเดือนตุลาคมจะเป็นช่วงที่มีน้ำมากเกินพอ ซึ่งอาจทำ
ความเสียหายแก่พืชที่ปลูกได้ ส่วนช่วงที่มีการขาดน้ำจะเริ่มตั้งแต่ช่วงปลายเดือนตุลาคมจนถึง
ื
กลางเดือนเมษายน ซึ่งหากมีการเพาะปลูกพชในช่วงนี้ ต้องอาศัยน้ำจากชลประทานหรือควรมีแหล่ง
น้ำสำรอง (ภาพที่ 3-2 )
ภาพที่ 3-2 กราฟแสดงสมดุลของน้ำเพอการเกษตร จังหวัดหนองบัวลำภู (พ.ศ.2531 - 2560)
ื่
30
3.3 ลักษณะภูมิประเทศ
่
ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่จะเป็นแองที่ราบมีภูเขาล้อมรอบเทือกเขาที่สำคัญ คือ เทือกเขาภูพาน
อยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดหนองบัวลำภู โดยทอดแนวยาวมาจากริมฝั่งแม่น้ำโขงตอนเหนือของ
ุ
อำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย ผ่านเข้ามาเขตอำเภอน้ำโสม จังหวัดอดรธานี และเข้าสู่เขตอำเภอสุวรรณ
คูหา จังหวัดหนองบัวลำภู และเข้าไปเขตอำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ผ่านไปจังหวัดกาฬสินธุ์,
สกลนคร และนครพนม (กรมทรัพยากรธรณี, 2552) ซึ่งสามารถแบ่งลักษณะภูมิประเทศออกเป็น 3
ลักษณะ ดังนี้
ื้
ื้
1) ลักษณะเป็นพนที่ภูเขาสูง บริเวณภูเขาสูงจะอยู่ทางตอนบนของจังหวัดจะเป็นพนที่ภูเขาสูงแล้ว
ลาดไปทางทิศใต้และทิศตะวันออก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินปนทรายและลูกรัง
ื้
2) ลักษณะเป็นพนที่ราบสูง บางส่วนเป็นพนที่ลูกคลื่นลอนตื้นถึงลอนลึก มีความสูงจาก
ื้
ระดับน้ำทะเลปานกลางประมาณ 200 เมตร ซึ่งพื้นที่จะอยู่ทางตอนบนของจังหวัด
3) พื้นที่ราบลุ่มน้ำ พนที่ราบลุ่มน้ำลำพะเนียง ดินส่วนใหญ่เป็นดินทรายและลูกรัง ไม่สามารถเกบน้ำ
็
ื้
หรืออุ้มน้ำ ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ทางตอนใต้และทางตะวันออกของจังหวัด
3.4 ธรณีวิทยา
จังหวัดหนองบัวลำภูตั้งอยู่ด้านขอบตะวันตกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน พนที่
ื้
ร้อยละ 65-70 ปกคลุมด้วยเนินที่มีดานหินรองรับ และเป็นที่ลุ่มเฉพาะที่ลำพะเนียงเป็นแม่น้ำสายหลัก
พดพาตะกอนมาตกทับถมในแนวลำน้ำและที่ราบสองฝั่งแม่น้ำไหลผ่านจากทางด้านทิศตะวันตกไปทิศ
ั
ตะวันออก ลงอางเก็บน้ำเขื่อนอุบลรัตน์ และห้วยคะนาน ห้วยน้ำโมง ไหลออกตามช่องภูผาแดง “ช่องน้ำ”
่
ื้
พนที่ในเขตภูเขาสูง ปรากฏเป็นแนวทิวเขายาวอยู่ทางด้านทิศตะวันออก และเป็นเทือกเขาขนาดเล็กกับ
ภูเขาลูกโดดอยู่ด้านทิศตะวันตก สภาพธรณีวิทยาของจังหวัดหนองบัวลำภู มีอายุทางธรณีกาลตั้งแต่ยุค
ไซลูเรียน-ดีโวเนียน ถึงยุคควอเทอร์นารี (ประมาณ 438 ล้านปี ถึงปัจจุบัน) โดยจะลำดับถึงอายุของหน่วย
หิน/หมวดหินเป็นหัวข้อหลักและในลำดับถัดมาเป็นหัวข้อชนิดหิน ดังภาพที่ 3-3 (กรมทรัพยากรธรณี,
2552) ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1) หินยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน (SD) (ช่วง 360-438 ล้านปี) เป็นชุดหินที่มีลำดับอยู่ล่างสุด ของ
จังหวัดหนองบัวลำภู พบกระจายตัวอยู่ด้านทิศตะวันตกของอำเภอสุวรรณคูหา ตามแนวภูเขาภูซาง ใหญ่
และด้านทิศเหนือของอำเภอนากลาง ได้แก่ กลุ่มเทือกเขาภูหมากงอน-ภูแปลก-ภูช้าง ประกอบด้วย หิน
ควอร์ตไซต์ หินฟิลไลต์ หินชีสต์ หินเชิร์ต หินชนวน หินดินดาน และหินทราย สัมพนธ์กับหินอายุอ่อนกว่า
ั
31
คือ หินยุคคาร์บอนิเฟอร์รัส (C) และหินภูเขาไฟยุคเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก (PTRv) แบบรอยชั้น ไม่
ต่อเนื่อง
2) หินยุคดีโวเนียน (D) (ช่วง 360-408 ล้านปี) พบกระจายตัวอยู่ตามขอบด้านทิศใต้ ของอำเภอ
นาวัง เป็นภูเขาลูกโดด ที่ภูหมากฮวดและใกล้ภูคราว ประกอบด้วยหินดินดาน หินเชิร์ต และหินปูนเลนส์
3) หินยุคคาร์บอนิเฟอร์รัส (C) (ช่วง 286-360 ล้านปี) มีการกระจายตัวอยู่ในเขตอำเภอนาวัง
และอำเภอนากลาง และด้านทิศเหนือของอำเภอศรีบุญเรือง ประกอบด้วยหินทรายเนื้อกรวด หินทราย
เกรย์แวก หินเชิร์ต หินดินดาน หินดินดานเนื้อถ่าน หินดินดานเนื้อควอตซ์ และหินปูนเลนส์ที่มีซากดึก
ดำบรรพพวกปะการัง แบ่งย่อยได้ จำนวน 2 หมวดหิน ได้แก่ C1 และ C2 มีความสัมพนธ์ไม่ต่อเนื่องกับ
์
ั
หินยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน และแบบต่อเนื่องกับหินยุคเพอร์เมียน
4) หินยุคเพอร์เมียน (P) (ช่วง 245-286 ล้านปี) ปรากฏเป็นกลุ่มภูเขา แนวเทือกเขา/สันเขา
ต่อเนื่องกันเป็นแนวยาว ลักษณะยอดเขาปลายแหลม และเป็นแบบตะปุ่มตะป่ำ มีหน้าผา สูงชัน มีความ
สูงประมาณ 100-200 เมตร จากระดับที่ราบโดยรอบมีการกระจายตัวอยู่ด้านทิศเหนือของอำเภอสุวรรณ
คูหา บริเวณบ้านพทักษ์พฒนาที่ภูผากูบ และด้านทิศตะวันตกสุดของอำเภอนาวัง เป็นกล่มภูเขาภูรัง-ภู
ิ
ั
โคก ภูผาผีถอน ภูเหล็ก และภูสามยอด ประกอบด้วยหินปูน สีเทา สีเทาขาว ชั้นหินบางถึงชั้นหนา เนื้อ
ปนดิน และเนื้อผลึก จัดอยู่ในกลุ่มหินสระบุรี จำนวน 1 หมวดหิน ได้แก่ หมวดหินผานกเค้า มี
ความสัมพันธ์ ต่อเนื่องกับหินยุคคาร์บอนิเฟอร์รัส และไม่ต่อเนื่องกับหินยุคไทรแอสซิก
5) หินยุคไทรแอสซิก (TR) (ช่วง 200-230 ล้านปี) พบอยู่ส่วนตอนกลาง ตั้งแต่ด้านทิศเหนือสุด
ื้
จนถึงด้านทิศใต้สุดของจังหวัดหนองบัวลำภู มีการกระจายตัวมากที่สุด ร้อยละ 40 ของพนที่ทั้งหมด อยู่
ในเขตอำเภอสุวรรณคูหา อำเภอนากลาง อำเภอเมืองหนองบัวลำภู อำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอโนนสัง
ประกอบด้วยหินทรายสีน้ำตาลแกมแดงเป็นสวนใหญ่ หินทรายแป้ง หินเคลย์ และหินกรวดมน จัดอยู่ใน
กลุ่มหินโคราช แบ่งย่อยเป็นหมวดหินได้ เป็น 2 หมวดหิน ได้แก่ หมวดหินห้วยหินลาด และหมวดหินน้ำ
ั
พอง ทั้ง 2 หมวดหิน มีความสัมพนธ์ไม่ต่อเนื่องกับหินที่มีอายุแก่กว่า ได้แก่ ยุคคาร์บอนิเฟอร์รัสและหิน
ยุคเพอร์เมียน
ื้
6) หินยุคจูแรสซิก (J) (ช่วง 144-208 ล้านปี) มีการกระจายตัวร้อยละ 35-40 ของพนที่ทั้งหมด
อยู่ใกล้ขอบด้านทิศตะวันออก ตั้งแต่ทางด้านทิศเหนือไปจนถึงทิศใต้ ในเขตอำเภอสุวรรณคูหา อำเภอนา
กลาง และอำเภอเมืองหนองบัวลำภู และตามขอบด้านทิศใต้ของจังหวัด ซึ่งติดอยู่กับอ่างเก็บน้ำเขื่อน
ุ
อบลรัตน์ ในเขตอำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอโนนสัง หินยุคจูแรสซิกจะพบอยู่ระหว่างหินยุคไทรแอสซิก
(หมวดหินน้ำพอง) กับหินยุคจูแรสซิกถึงยุคครีเทเชียส (หมวดหินพระวิหาร) ตั้งแต่ที่ลาดเชิงเขาจนลด
32
ระดับถึงที่เนิน ประกอบด้วยหินโคลน หินทรายแป้ง สีน้ำตาลแดง สีน้ำตาลแดงปนม่วง หินทรายเนื้อ
ไมกา หินกรวดมนเม็ดปูน ชั้นเม็ดปูน หินทรายสีเขียว และหินทรายที่มีชั้นเฉียงระดับและร่องรอยรูหนอน
7) หินยุคจูแรสซิกถึงยุคครีเทเชียส (J และ K) (ช่วง 140 ล้านปี) ปรากฏอยู่ 2 บริเวณ ได้แก่ 1)
พบเป็นแนวแคบๆ ของสันเขา ที่อยู่ตามขอบด้านทิศตะวันออกสุดของจังหวัด เป็นเส้นแบ่งเขตกับจังหวัด
ุ
อดรธานี อยู่ในเขตของอำเภอสุวรรณคูหา อำเภอเมืองหนองบัวลำภู และอำเภอโนนสัง และ 2) พบอยู่ที่
ภูเขาภูเกา เขตอำเภอโนนสัง ลักษณะเป็นวงปิดโดยรอบ ปรากฏเป็นหน้าผาของภูเขาเควสต้า มีขอบเขต
ตั้งแต่ เชิงเขาด้านล่างสุดจนถึงแนวลาดสันเขาชั้นที่ 1 หินยุคจูแรสซิกถึงยุคครีเทเชียสจัดให้อยู่ในกลุ่มหิน
โคราช จำนวน 1 หมวดหิน ได้แก่ หมวดหินพระวิหาร ประกอบด้วยหินทรายเนื้อควอตซ์ สีขาวแกมเทา
เม็ดละเอียดถึงหยาบ มีชั้นเฉียงระดับอยู่ทั่วไป และรอยริ้วคลื่นขนาดเล็ก และชิ้นถ่านหิน
8) หินยุคครีเทเชียส (K) (ช่วง 97.5-144 ล้านปี) พบอยู่ทางด้านทิศตะวันออกและด้านทิศใต้ของ
จังหวัดหนองบัวลำภู ในเขตอำเภอนากลาง อำเภอเมืองหนองบัวลำภู อำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอ
โนนสัง ประกอบด้วยหินทราย หินทรายแป้ง และหินโคลน สีน้ำตาลแกมแดง สีแดง หินทราย หินกรวด
มน เม็ดปูน และหินทรายเนื้อกรวด สีขาว สีเทาขาว มักพบโครงสร้างชั้นตะกอนเกิดร่วม จัดอยู่ในกลุ่มหิน
ั
โคราช มีความสัมพนธ์ต่อเนื่องกับหินยุคจูแรสซิกถึงยุคครีเทเชียส แบ่งย่อยได้จำนวน 3 หมวดหิน ได้แก่
หมวดหินเสาขัว หมวดหินภูพาน และหมวดหินโคกกรวด
ั
หินอคนีในจังหวัดหนองบัวลำภู มีจำนวน 1 หน่วยหิน มีอายุอยู่ในยุคเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก
ั
(245 ล้านปี) แบ่งได้ 2 ชนิด ได้แก่ หินอคนีชนิดกรด และหินภูเขาไฟ หินอคนีชนิดกรด (PTRv) เป็นหิน
ั
ั
อคนีแทรกซ้อน มีสีอ่อนหรือสีจาง สีขาวขุ่น และสีเขียว พบแทรกดันหินยุคคาร์บอนิเฟอร์รัส ปรากฏเป็น
ภูเขาลูกโดด ได้แก่ ที่ภูตูมและตามที่เนินบริเวณบ้านดงบัง บ้านภูวงษ์ ตำบลสุวรรณคูหา อำเภอสุวรรณ
คูหา ประกอบดด้วยหินแกรนิต หินแกรโนไดออไรต์ หินไดออไรต์ และหินควอร์ตมอนโซไนต หินภูเขาไฟ
์
(PTRv) ประกอบด้วยหินแอนดีไซต์ หินไรโอไลต์ และหินเถ้าภูเขาไฟ ได้แก่ หินทัฟฟ และหินกรวดภูเขาไฟ
พบเป็นภูเขาลูกโดด เทือกเขาขนาดเล็ก อยู่ตามแนวสันเขาที่ภูช้าง และเป็นที่เนินในเขตอำเภอสุวรรณ
คูหา อำเภอนาวัง และอำเภอนากลาง พบแทรกดันหินยุคคาร์บอนิเฟอรรัส และหินยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน
ั
ตะกอนร่วนยุคควอเทอร์นารีของจังหวัดหนองบัวลำภู เกิดจากการผุพง และสะสมตัวโดย
กระบวนการทางน้ำ ได้แก่ ลำพะเนียง และลำน้ำสาขา เช่น ห้วยเดื่อ ห้วยกลาง และห้วยมะนาว เป็นต้น
พบกระจายมากที่สุดอยู่บริเวณตอนกลางของจังหวัด ซึ่งได้จากการพัฒนาของลำพะเนียง ไหลผ่านบริเวณ
ตอนกลางของจังหวัด จากด้านทิศตะวันตกสุดที่อยู่ในเขตภูเขาและเทือกเขา ไปทางด้านทิศตะวันออกสุด
และลงไปทางทิศใต้ ใกล้ภูเก้าลงสู่อางเก็บน้ำเขื่อนอบลรัตน์ ตะกอนร่วนยุคควอเทอร์นารีของจังหวัด
่
ุ
หนองบัวลำภูโดยกำเนิด ประกอบด้วย 1 หน่วยตะกอน ได้แก่ ตะกอนน้ำพา (Qa) เป็นตะกอนทุติยภูมิ
33
ชั้นตะกอนไม่เป็นระบบ พบอยู่ 2 บริเวณ ได้แก่ 1) สะสมตัวอยู่บริเวณที่ราบตอนกลางของจังหวัดตาม
แนวของลำพะเนียง ในเขตอำเภอเมืองหนองบัวลำภู อำเภอนากลาง อำเภอศรีบุญเรือง อำเภอโนนสัง
ื้
และ 2) สะสมตัวอยู่ตามที่ราบในพนที่ภูเขา พบอยู่ด้านทิศตะวันตกของอำเภอนาวัง ด้านทิศเหนือของ
อำเภอสุวรรณคูหา ชั้นตะกอนจะอยู่ไม่ไกลจากหินต้นกำเนิด และมีหินดานรองรับอยู่ด้านล่างในระดับตื้น
ตะกอนน้ำพา ประกอบด้วยตะกอนหลายชนิดปนกัน ได้แก่ ทราย ทรายแป้ง ดินเคลย์ และกรวดเม็ด
ละเอียด บางบริเวณพบปนกับลูกรังและเศษหินขนาดเล็ก
ภาพที่ 3-3 แผนที่ธรณีวิทยา จังหวัดหนองบัวลำภู 34
35
3.5 แหล่งน้ำ
จังหวัดหนองบัวลำภู ขาดแคลนน้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ ซึ่งมีอยู่จะเป็นแหล่งน้ำขนาดเล็ก ลำห้วยสาย
สั้นๆ หนอง และแหล่งน้ำที่สำคัญ ได้แก่ ลำพะเนียง ลำน้ำมอ ลำน้ำพวย ลำน้ำโมง ลำห้วยเดื่อ ลำห้วย
โป่งแค ลำห้วยยาง ลำห้วยส้มป่อย ลำห้วยดาน ลำห้วยโค่โล่ จำแนกตามเขตลุ่มน้ำและลักษณะได้ (กอง
สำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2561ค) ดังนี้
ื้
3.5.1 แหล่งน้ำธรรมชาติ พนที่จังหวัดหนองบัวลำภูทั้งหมดอยู่ในเขตลุ่มน้ำใหญ่ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ 2 ลุ่มน้ำ ด้วยกัน คือ
เขตลุ่มน้ำชี ได้แก่ พื้นที่ในเขตอำเภอโนนสัง อำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอนากลางบางส่วน
เขตลุ่มน้ำโขง ได้แก่ พื้นที่ในเขต อำเภอเมือง อำเภอสุวรรณคูหา และอำเภอนากลางบางส่วน
นอกจากนี้ยังมีบึงและหนองน้ำธรรมชาติ กระจัดกระจายอยู่ในตอนล่างของจังหวัดโดยเฉพาะ
ในเขตอำเภอโนนสัง การพัฒนาลุ่มน้ำจังหวัดหนองบัวลำภู แบ่งออกเป็น 11 ลุ่มน้ำ ดังนี้
ลุ่มน้ำที่ 1 ลุ่มน้ำห้วยพะเนียงมีต้นกำเนิดจากเทือกเขาในเขตอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย ไหล
จากทิศเหนือของจังหวัดไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ไหลผ่านอำเภอนาวัง อำเภอนากลาง อำเภอเมือง
อำเภอโนนสังและอำเภอศรีบุญเรืองแล้วไหลลงสู่เขื่อนอบลรัตน์ มีพนที่ลุ่มน้ำประมาณ 1,847 ตาราง
ุ
ื้
กิโลเมตร ประกอบด้วยลำห้วย 116 ลำห้วย ระยะทาง 879.50 กิโลเมตร
ลุ่มน้ำที่ 2 ลุ่มน้ำพวย มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาในเขตอำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ไหลจากทิศ
ตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ผ่านอำเภอผาขาวในจังหวัดเลย และอำเภอศรีบุญเรืองจังหวัดหนองบัวลำภู
ลงสู่ลำน้ำพอง มีพนที่ลุ่มน้ำประมาณ 875 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยลำห้วย 51 ลำห้วย ระยะทาง
ื้
223.30 กิโลเมตร
ลุ่มน้ำที่ 3 ลุ่มน้ำพอง มีต้นกำเนิดจากเทือกเขารอยต่อระหว่างอำเภอภูกระดึง จังหวัดเลย กับ
ู
อำเภอสีชมพ จังหวัดขอนแก่นไหลผ่านอำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอโนนสังแล้วไหลลงสู่เขื่อนอบลรัตน์มี
ุ
พนที่ลุ่มน้ำประมาณ 370 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยลำห้วย 116 ลำห้วย ระยะทาง 879.50 ตาราง
ื้
กิโลเมตรประกอบด้วยลำห้วย 14 ลำห้วย ระยะทาง 162.3 กิโลเมตร
ลุ่มน้ำที่ 4 ลุ่มน้ำมอมีต้นกำเนิดจากแนวสันเขาบริเวณตอนใต้ของอำเภอนากลาง และแนวสัน
ื้
เขาด้านตะวันตกของอำเภอเมืองไหลผ่านอำเภอศรีบุญเรืองลงสู่ลำน้ำพองมีพนที่ลุ่มน้ำประมาณ 360
ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยลำห้วย 47 ลำห้วย ระยะทาง 628.10 กิโลเมตร
36
ลุ่มน้ำที่ 5 ลุ่มน้ำห้วยโซม มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาบริเวณตอนใต้ของ อำเภอเมือง จังหวัด
ื้
หนองบัวลำภู ไหลผ่านอำเภอโนนสังลงสู่ลำน้ำพอง มีพนที่ลุ่มน้ำประมาณ 312 ตารางกิโลเมตร
ประกอบด้วยลำห้วย 20 ลำห้วย ระยะทาง 179 กิโลเมตร
ลุ่มน้ำที่ 6 ลุ่มน้ำห้วยเดื่อ เป็นลุ่มน้ำย่อยของลุ่มน้ำพะเนียง มีต้นกำเนิดจากแนวสันเขาในเขต
ื้
อำเภอนาวัง และอำเภอนากลาง ของจังหวัดหนองบัวลำภู ไหลผ่านอำเภอนากลางลงสู่ลำพะเนียงมีพนที่
ลุ่มน้ำประมาณ 82 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยลำห้วย 3 ลำห้วย ระยะทาง 46.10 กิโลเมตร
ลุ่มน้ำที่ 7 ลุ่มน้ำห้วยโมง มีต้นกำเนิดจากเทือกเขารอยต่ออำเภอสุวรรณคูหา จังหวัด
หนองบัวลำภูกับ อำเภอนาด้วง จังหวัดเลยไหลผ่านอำเภอสุวรรณคูหาไปทางตะวันออกของจังหวัด
หนองบัวลำภูออกสู่อำเภอบ้านผือ จังหวัดอดรธานี มีพนที่ลุ่มน้ำประมาณ 237 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย
ุ
ื้
ลำห้วย 4 ลำห้วย ระยะทาง 74.35 กิโลเมตร
ลุ่มน้ำที่ 8 ลุ่มน้ำห้วยโค่โล่ มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาในเขตอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย ไหลผ่าน
ตอนบนของอำเภอนากลาง อำเภอสุวรรณคูหา ในจังหวัดหนองบัวลำภู แล้วไหลลงสู่ลำห้วยโมงซึ่งไหล
ื้
ผ่านจังหวัดอดรธานีทางอำเภอบ้านผือ มีพนที่ลุ่มน้ำประมาณ 173 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยลำห้วย
ุ
14 ลำห้วย ระยะทาง 93.30 กิโลเมตร
ลุ่มน้ำที่ 9 ลุ่มน้ำห้วยบน มีต้นกำเนิดจากแนวสันเขาในเขตอำเภอนากลาง และอำเภอเมืองใน
ื้
จังหวัดหนองบัวลำภู ไหลผ่านอำเภอเมือง อำเภอนากลาง และอำเภอสุวรรณคูหา ลงสู่ลำห้วยโมง มีพนที่
ลุ่มน้ำประมาณ 566 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยลำห้วย 46 ลำห้วย ระยะทาง 235.10 กิโลเมตร
ุ
ลุ่มน้ำที่ 10 ลุ่มน้ำห้วยคะนาน มีต้นกำเนิดจากแนวสันเขารอยต่อในจังหวัดอดรธานีกับแนว
สันเขาด้านทิศเหนือของจังหวัดหนองบัวลำภู ไหลผ่านอำเภอสุวรรณคูหาลงสู่ห้วยโมง ณ บริเวณเดียวกับ
ลำห้วยบน มีพนที่ลุ่มน้ำประมาณ 342 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยลำห้วย 8 ลำห้วย ระยะทาง 126.90
ื้
กิโลเมตร
ลุ่มน้ำที่ 11 ลุ่มน้ำห้วยหลวง มีต้นกำเนิดจากแนวสันเขารอยต่อระหว่างอำเภอเมือง จังหวัด
ุ
หนองบัวลำภูกับอำเภอหนองวัวซอจังหวัดอดรธานีไหลผ่านอำเภอเมืองจังหวัดหนองบัวลำภูลงสู่อำเภอ
หนองวัวซอ จังหวัดอดรธานี มีพนที่ลุ่มน้ำประมาณ 109 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยลำห้วย 3
ุ
ื้
ลำห้วย ระยะทาง 16.20 กิโลเมตร
37
ั
3.5.2 แหล่งน้ำชลประทานจังหวดหนองบัวลำภู มีแหล่งน้ำชลประทานที่ดำเนินการก่อสร้างเสร็จ
แล้วจนถึงปี 2543 รวมทั้งสิ้น 3,951 โครงการ ซึ่งในจำนวนนี้มีโครงการชลประทานขนาดกลางเพยง 1
ี
โครงการเท่านั้น คือ อางเก็บน้ำห้วยเหล่ายาง บ้านภูพานทอง ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง ซึ่งมีขนาด
่
ื้
ความจุประมาณ 2.14 ล้านลูกบาศก์เมตร และมีพนที่รับประโยชน์รวมกันประมาณ 2,000 ไร่ และ
ื่
โครงการที่เหลืออนๆ จะเป็นโครงการขนาดเล็ก ซึ่งมีขนาดความจุรวมกันประมาณ 59,399,832 ลูกบาศก์
เมตร มีพื้นที่รับประโยชน์รวมกันประมาณ 63,391 ไร่
ุ
3.5.3 น้ำอปโภคบริโภค ในปี 2542 จังหวัดหนองบัวลำภู มีประชากรในเขตเมือง (เทศบาลเมือง
หนองบัวลำภู) 21,542 คน มีความต้องการน้ำกินและน้ำใช้ในเขตเมืองประมาณ 107,710 ลิตร และ
4,308,400 ลิตร ส่วนประชากรนอกเขตเมือง 473,505 คน มีความต้องการน้ำกินและน้ำใช้นอกเขตเมือง
ประมาณ 2,367,525 ลิตร และ 21,307,725 ลิตร ตามลำดับ
3.6 สภาพการใช้ที่ดินและพืชพรรณธรรมชาติ
ื
จากข้อมูลสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินพ้นที่จังหวัดหนองบัวลำภู ทำการจัดกลุ่มและจำแนก
ื
ื
ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพ่อใช้เป็นแนวทางการกำหนดชนิดพืชเศรษฐกิจในพ้นที่ที่จะศึกษา
สามารถจำแนกได้ทั้งหมด 11 ประเภท (กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน, 2561) ดังตารางที่ 3-2
และภาพที่ 3-4 อธิบายได้ดังนี้
3.6.1 นาข้าว เป็นประเภทการใช้ที่ดินที่พบมากที่สุดของจังหวัด ส่วนใหญ่อยู่บริเวณที่ราบตาม
แนวแม่น้ำบนสภาพภูมิประเทศที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่รวม 760,159 ไร่ หรือร้อยละ
31.52 ของเนื้อที่จังหวัด
3.6.2 พืชไร่ มีการใช้ที่ดินประเภทเกษตรกรรมมากเป็นลำดับสองรองจากนาข้าว มีเนื้อที่รวม
669,703 ไร่ หรือร้อยละ 27.75 ของเนื้อที่จังหวัด พบว่ามีการปลูกออยมากที่สุด มีเนื้อที่ 521,669 ไร่
้
รองลงมาคือ มันสำปะหลัง และข้าวโพด มีเนื้อที่ 112,848 และ25,100 ไร่ ส่วนใหญ่ปลูกบริเวณที่
ดอนกระจายอยู่ตามอำเภอต่างๆ ของจังหวัด
ื
3.6.3 ไม้ยืนต้น พบทั่วไปในพ้นที่ดอนของจังหวัด มีเนื้อที่รวม 244,335 ไร่หรือร้อยละ 10.12
ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนมากพบการปลูกยางพารา และยูคาลิปตัส
3.6.4 ไมผล พบทั่วไปในพนที่ดอนของจังหวัด มีเนื้อที่รวม 17,448 ไร่ หรือร้อยละ 0.72 ของเนื้อ
้
ื้
ที่จังหวัด เช่น มะม่วง ลำไย และมะขาม เป็นต้น
3.6.5 พืชสวน มีเนื้อที่รวม 433 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด
3.6.6 ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว มีเนื้อที่รวม 588 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด
์