38
3.6.7 สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ มีเนื้อที่รวม 2,073 ไร่ หรือร้อยละ 0.09 ของเนื้อที่จังหวัด
์
้
3.6.8 พื้นที่ป่าไม ประกอบด้วย ป่าไม่ผลัดใบและป่าผลัดใบ ยกตัวอย่างเช่น ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่า
เต็งรัง และป่าเบญจพรรณ เป็นต้น มีเนื้อที่รวม 416,413 ไร่ หรือร้อยละ 17.26 ของเนื้อที่จังหวัด
3.6.9 พื้นที่น้ำ มีเนื้อที่รวม 118,926 ไร่ หรือร้อยละ 4.94 ของเนื้อที่จังหวัด
3.6.10 พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่รวม 62,439 ไร่ หรือร้อยละ 2.60 ของเนื้อที่จังหวัด
3.6.11 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื้อที่รวม 119,412 ไร่ หรือร้อยละ 4.96 ของเนื้อที่จังหวัด
39
ี่
ตารางท 3-2 การใช้ประโยชน์ที่ดินในการวิเคราะห์ข้อมูลของจังหวัดหนองบัวลำภู ปี 2560
เนื้อที่
สัญลักษณ์ ประเภทการใช้ที่ดิน ไร่ ร้อยละ
U พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 119,412 4.96
A พื้นที่เกษตรกรรม 1,694,739 70.24
A1 พื้นที่นา 760,159 31.52
A100 นาร้าง 825 0.03
A101 นาข้าว 756,793 31.38
A101+A202 นาข้าว+ข้าวโพด 806 0.03
A101+A209 นาข้าว+ถั่วเหลือง 1,606 0.07
M201+A101 พื้นที่ลุ่ม+นาข้าว 129 0.01
A2 พืชไร่ 669,703 27.75
A200 ไร่ร้าง 2,503 0.10
A201 พืชไร่ผสม 815 03
A202 ข้าวโพด 25,100 1.04
A203 อ้อย 521,669 21.63
A204 มันสำปะหลัง 112,848 4.68
A209 ถั่วเหลือง 6,599 0.27
A210 ถั่วลิสง 72 -
A216 ข้าวไร่ 24 -
A220 แตงโม 73 -
A3 ไม้ยืนต้น 244,335 10.12
A300 ไม้ยืนต้นร้าง 17 -
A301 ไม้ยืนต้นผสม 5,313 0.22
A302 ยางพารา 156,603 6.49
A303 ปาล์มน้ำมัน 5,131 0.21
A304 ยูคาลิปตัส 72,513 3.01
A305 สัก 3,865 0.16
40
ี่
ตารางท 3-2 การใช้ประโยชน์ที่ดินในการวิเคราะห์ข้อมูลของจังหวัดหนองบัวลำภู ปี 2560 (ต่อ)
เนื้อที่
สัญลักษณ์ ประเภทการใช้ที่ดิน ไร่ ร้อยละ
A308 กระถิน 25 -
A309 ประดู่ 59 -
A312 กาแฟ 32 -
A314 หม่อน 87 -
A315 ไผ่ปลูกเพื่อการค้า 293 0.01
A318 จามจุรี 253 0.01
A323 ตะกู 144 0.01
A4 ไม้ผล 17,448 0.72
A400 ไม้ผลร้าง/เสื่อมโทรม 22 -
A401 ไม้ผลผสม 3,917 0.16
A402 ส้ม 5 -
A404 เงาะ 17 -
A405 มะพร้าว 36 -
A407 มะม่วง 4,940 0.21
A409 พุทรา 34 -
A411 กล้วย 55 -
A412 มะขาม 4,025 0.17
A413 ลำไย 4,317 0.18
A415 มะละกอ 25 -
A416 ขนุน 28 -
A426 แก้วมังกร 27 -
A5 พืชสวน 433 0.02
A502 พืชผัก 433 0.02
A7 ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ 588 0.02
A701 ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ 94 -
A702 โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และม้า 76 -
41
ี่
ตารางท 3-2 การใช้ประโยชน์ที่ดินในการวิเคราะห์ข้อมูลของจังหวัดหนองบัวลำภู ปี 2560 (ต่อ)
เนื้อที่
สัญลักษณ์ ประเภทการใช้ที่ดิน ไร่ ร้อยละ
A703 โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ปีก 168 0.01
A704 โรงเรือนเลี้ยงสุกร 250 0.01
A9 สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2,073 0.09
A900 สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำร้าง 2,043 0.09
A902 สถานที่เพาะเลี้ยงปลา 30 -
F พื้นที่ป่าไม้ 416,413 17.26
W พื้นที่น้ำ 118,926 4.94
M พื้นที่เบ็ดเตล็ด 62,439 2.60
รวมทั้งหมด 2,411,929 100.00
ที่มา: กองนโบบายและแผนการใช้ที่ดิน, 2561
หมายเหตุ 1. การใช้ที่ดินเป็นการใช้ที่ดินทั้งในและนอกพื้นที่เขตป่าตามกฎหมาย
2. เนื้อที่ได้จากการคำนวนโดยระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) และทำการถ่วงน้ำหนักกับเนื้อที่จาก
กรมการปกครอง 3,859.086 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,411,929 ไร่
3. x + y หมายถึงพื้นที่ที่มีการใช้ที่ดิน 2 ครั้งต่อปี การใช้ที่ดินในฤดูฝน+การใช้ที่ดินในฤดูแล้ง
ภาพที่ 3-4 แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน จังหวัดหนองบัวลำภู 42
43
3.7 ทรัพยากรดิน
จากข้อมูลแผนที่ดินระดับชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000 (ภาพที่ 3-4) พบว่า ดินในจังหวัด
ื้
หนองบัวลำภู ประกอบด้วย 21 ชุดดิน 29 ดินคล้าย 2 หน่วยเชิงซ้อน และหน่วยเบ็ดเตล็ด (พนที่ลาดชัน
เชิงซ้อน และพื้นที่น้ำ) โดยมีลักษณะและคุณสมบัติทั่วไป (สถิระ และคณะ, 2558) รายละเอียดดังต่อไปนี้
3.7.1 ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบายเลวและเป็นดินร่วนหยาบ (AC-pd,col)
การจำแนกดิน (USDA) : Coarse-loamy, mixed, superactive, isohyperthermic Typic
Endoaquepts เป็นดินลึกถึงลึกมาก มีลักษณะการสลับชั้นของเนื้อดิน ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือ
ดินทรายปนดินร่วน สีเทาเข้มหรือสีเทา ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่าง
เป็นดินร่วนปนทราย อาจพบกรวดท้องน้ำปะปนในชั้นดินล่าง สีเทา สีเทาปนน้ำตาล พบจุดประสีแดง สี
แดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงเป็นกลาง (pH 6.5-7.0)
3.7.2 ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบายเลวและเป็นดินร่วนละเอียด (AC-pd,fl)
การจำแนกดิน (USDA) : Fine-loamy, mixed, superactive, isohyperthermic Typic
Endoaquepts เป็นดินลึกถึงลึกมาก มีลักษณะการสลับชั้นของเนื้อดิน ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือ
ดินทรายปนดินร่วน สีเทาเข้มหรือสีเทา ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่าง
เป็นดินร่วนเหนียวปนทราย อาจพบกรวดท้องน้ำปะปนในชั้นดินล่าง สีเทา สีเทาปนน้ำตาล พบจุดประสี
แดง สีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงเป็นกลาง (pH 6.5-7.0)
3.7.3 ดินบ้านจ้องที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Bg-mw)
การจำแนกดิน (USDA) Fine, kaolinitic, isohyperthermic Oxyaquic Haplustalfs เกิด
จากการผุพงของหินตะกอนเนื้อละเอยดและหินที่แปรสภาพ เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนดิน
ั
ี
เหนียว สีน้ำตาลเข้มถึงน้ำตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดินล่างเป็นดิน
เหนียว สีแดงปนเหลือง พบจุดประสีเหลืองปนแดง น้ำตาลปนแดง ภายใน 100 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยา
ดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.5)
3.7.4 ชุดดินเชียงของ (Chiang Khong series: Cg)
การจำแนกดิน (USDA) Very-fine, kaolinitic, hyperthermic Typic (Kandic) Paleustults
ั
เกิดจากการผุพงสลายตัวอยู่กับที่หรือเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของหินอัคนีที่เป็นกลางหรือเป็น
ด่าง พวกแอนดีไซท์ เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนเหนียว สีน้ำตาลปนแดงเข้มถึงสีน้ำตาลปน
แดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 6.0-6.5) ดินล่างเป็นดินเหนียว สีแดง ปฏิกิริยา
ดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.5) การระบายน้ำดี การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
44
3.7.5 ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปานกลาง (Cg-md)
การจำแนกดิน (USDA) Very-fine, kaolinitic, hyperthermic Kanhaplic Haplustults เป็น
ดินเหนียว ร่วนซุย ลึกปานกลาง ดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีน้ำตาล
ปนแดงเข้มถึงสีน้ำตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5 6.5) ดินล่างเป็นดิน
ั
เหนียว สีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) พบชั้นหินผุของ หินอคนีพวก
แอนดีไซต์ บะซอลต์ หรือแกบโบร ในช่วงความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน
3.7.6 ชุดดินเชียงคาน (Chiang Khan series: Ch)
การจำแนกดิน (USDA) Clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiustults
เกิดจากการผุพงสลายตัวอยู่กับที่หรือเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของของหินตะกอนเนื้อละเอยด
ี
ั
และหินที่แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง หินโคลน หินชนวน หินฟิลไลท์ เป็นดินตื้นหรือตื้นมาก
ถึงชั้นลูกรังหนาแน่น ภายใน 50 ซม. จากผิวดิน ดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนเหนียวปนลูกรังเล็กน้อย
สีน้ำตาลเข้มหรือสีน้ำตาลปนแดงเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างเป็น
ดินเหนียวปนลูกรังหนาแน่นมาก สีแดงหรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH
4.5-5.5) ลูกรังส่วนใหญ่เป็นเศษหินที่ถูกเคลือบด้วยสารประกอบออกไซด์ของเหล็ก (pseudo-laterite)
การระบายน้ำดี การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.7 ชุดดินชุมพลบุรี (Chumphon Buri series: Chp)
)
การจำแนกดิน (USDA Coarse-loamy, mixed, active, isohyperthermic Typic
(Oxyaquic) Dystrustepts เกิดจากตะกอนน้ำพามาทับถมอยู่บนสันดินริมน้ำ เป็นดินลึกมาก เนื้อดินเป็น
พวกดินร่วน ดินทรายปนดินร่วน ดินร่วนปนทราย หรือดินร่วนปนทรายแป้ง ขึ้นอยู่กับชนิดของตะกอนที่
น้ำจะพามาทับถมในแต่ละปี โดยแต่ละชั้นเนื้อดินและสีจะแตกต่างกนเห็นได้ชัดเจน มีสีน้ำตาล น้ำตาลเข้ม
ั
หรือน้ำตาลซีด จะพบจุดประสีน้ำตาลแก่ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 5.0-5.5) ในดิน
บนและเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 4.5-6.5) ในดินล่าง การระบายน้ำดีปานกลางถึงดี การ
ซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.8 ดินชุมพลบุรีที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด (Chp-fsi)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-silty, mixed, active, isohyperthermic Typic (Oxyaquic)
Dystrustepts เป็นดินลึกมาก เนื้อดินบนเป็นดินร่วน แล้วแต่ตะกอนที่น้ำพามาทับถมในแต่ละปี โดยแต่ละ
ชั้นเนื้อดินและสีจะแตกต่างกันเห็นได้ชัดเจน เป็นสีน้ำตาล น้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลซีด จะพบจุดประสีน้ำตาล
45
แก่ น้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด (pH 5.0-5.5) ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกลาง (pH 5.0-7.0)
3.7.9 ชุดดินชุมแพ (Chum Pae series: Cpa)
การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Aeric (Plinthic)
Epiaqualfs เกิดจากตะกอนน้ำพาทับอยู่บนหินตะกอน เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียว
่
ปนทราย หรือดินร่วนเหนียว สีน้ำตาล น้ำตาลออน มีจุดประสีน้ำตาลแก่หรือน้ำตาลปนเหลือง ส่วนดิน
ล่างเป็นดินร่วนเหนียว ร่วนเหนียวปนทรายแป้งหรือดินเหนียว สีเทาอ่อน น้ำตาลปนเทาจางหรือเทา มีจุด
ประสีแดง และพบศิลาแลงออนปริมาณ 2-20 % โดยปริมาตรภายในความลึก 150 ซม. อาจพบก้อน
่
เหล็กและแมงกานีสสะสมในดินล่าง อาจพบชั้นหินตะกอนพวกหินทรายแป้งที่มีปูนปนในชั้นดินตอนล่าง
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ในดินบนและเป็นกรดเล็กน้อยถึงด่างปานกลาง
(pH 6.5-8.5) ในดินล่าง การระบายน้ำค่อนข้างเลว การซึมผ่านได้ของน้ำช้า
ี
3.7.10 ดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอยด (Cpa-fl)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-loamy, mixed, active, isohyperthermic Aeric (Plinthic)
Epiaqualfs เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วน หรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลปนเทาหรือน้ำตาล ปฏิกิริยา
ดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง (pH 5.5-7.0) ดินล่างเป็นดินร่วนปนดินเหนียว หรือดินร่วนเหนียวปนทราย สีเทา
ปนน้ำตาลอ่อนหรือเทาปนชมพ พบจุดประสี น้ำตาลปนเหลืองหรือสีน้ำตาลปนแดงตลอด ปฏิกิริยาดินเป็น
ู
กรดจัดถึงเป็นกรด เล็กน้อย (pH 5.5-6.5) พบชั้นวัตถุต้นกำเนิดดินพวกหินทรายแป้งในช่วงความลึก 100-
150 ซม.
3.7.11 ดินชุมแพที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด (Cpa-fsi)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-silty, mixed, active, isohyperthermic Aeric (Plinthic)
Epiaqualfs เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง สีน้ำตาลปนเทาหรือน้ำตาล ปฏิกิริยาดินเป็น
กรดจัดถึงเป็นกลาง (pH 5.5-7.0) ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีเทาปนน้ำตาลอ่อนหรือเทาปน
ู
ชมพ พบจุดประสีน้ำตาลปนเหลืองหรือสีน้ำตาลปนแดงตลอด ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย
(pH 5.5-6.5) พบชั้นวัตถุต้นกำเนิดดินพวกหินทรายแป้งในช่วงความลึก 100-150 ซม.
3.7.12 ชุดดินดงลาน (Dong Lan series: Dl)
การจ ำแน กดิ น (USDA Fine, mixed, active, isohyperthermic Vertic (Aquic)
)
Haplustolls เกิดจากการสลายตัวผุพงอยู่กับที่ของหินปูน เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินร่วนเหนียวหรือดิน
ั
เหนียว สีดำหรือเทาเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างเป็นดินเหนียวปน
46
่
ทรายแป้งหรือดินเหนียว สีเทาหรือเทาปนน้ำตาลออน มีจุดประสีแดง เหลือง หรือน้ำตาล มีรอยถูไถ
เนื่องจากการยืดและหดตัวของแร่ดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงด่างจัด (pH 6.5-8.5) อาจพบ
การสะสมผงปูนออน และชั้นหินปูนที่กำลังสลายตัวในตอนล่าง การระบายน้ำดีปานกลาง การซึมผ่านได้ของ
่
น้ำปานกลาง
3.7.13 ชุดดินแก่งคอย (Kaeng Khoi series: Kak)
)
ก ารจ ำแ น ก ดิ น (USDA Loamy-skeletal, mixed, active, isohyperthermic Ultic
ั
ั
Haplustalfs เกิดจากการผุพงสลายตัวอยู่กับที่หรือเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของวัสดุที่พฒนามา
จากหินอัคนีพวกหินแอนดีไซต์ ไรโอไลท์ ทัฟฟ์ เป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินหนาแน่นของพวกหินอคนี ดินบนเป็น
ั
ดินร่วนหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้งปนเศษหินเล็กน้อย สีน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลปนเทา
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปน
ทรายแป้งปนเศษหินมาก สีน้ำตาล น้ำตาลออน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5)
่
์
ตลอดชั้นดิน และพบชั้นวัตถุต้นกำเนิดดินของหินอัคนีพวกแอนดีไซต์ ไรโอไลท์ ทัฟฟ ภายในความลึก 100
ซม.การระบายน้ำดี การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.14 ชุดดินคำบง (Kham Bong series: Kg)
การจำแนกดิน (USDA) Sandy, siliceous, isohyperthermic Typic Paleustalfs เกิด
จากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบที่ถกชะมาทับถมอยู่บริเวณพนที่ที่เหลือ
ู
ื้
ค้างจากการกัดกร่อน เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินทรายปนดินร่วน สีน้ำตาลเข้ม ดิน
ล่างเป็นดินทรายปนดินร่วนหนามากกว่า 1 เมตร และเปลี่ยนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนเหนียวปน
ทรายในดินล่างลึกลงไป ซึ่งเป็นชั้นสะสมอนุภาคดินเหนียวและอาจพบจุดประสีในดินล่างลึกๆ ปฏิกิริยา
ดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ในดินบนและเป็นกรดจัดถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 5.5-
8.0) ในดินล่าง การระบายน้ำดีถึงค่อนข้างมากเกินไป การซึมผ่านได้ของน้ำดี
3.7.15 ดินคำบงที่เป็นดินลึกปานกลางและเป็นทรายหนา (Kg-md,tks)
การจำแนกดิน (USDA) : Loamy, siliceous, isohyperthermic Arenic Haplustalfs เป็น
ดินลึกปานกลาง ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลเข้ม ดินล่างเป็นทรายปนดินร่วน และเปลี่ยนเป็นดิน
ร่วนปนทรายถึงดินร่วนเหนียวปนทราย ในช่วงความลึก 50-100 ซม.ซึ่งเป็นชั้นสะสมอนุภาคดินเหนียว สี
น้ำตาล และอาจพบจุดประสีต่างๆ ในดินล่าง พบลูกรังหรือเศษหินหนาแน่น ภายในความลึก 50-100 ซม.
จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ในดินบน และเป็นกรดปานกลางถึง
เป็นด่างปานกลาง (pH 6.0-8.0) ในดินล่าง
47
3.7.16 ดินคำบงที่มีการระบายน้ำดีปานกลางและเป็นทรายหนา (Kg-mw,tks)
การจำแนกดิน (USDA) : Loamy, siliceous, isohyperthermic Oxyaquic (Arenic)
Haplustalfs เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลเข้ม ดินล่างเป็นทรายปนดินร่วน และ
เปลี่ยนเป็นดินร่วนปนทรายถึงดินร่วนเหนียวปนทราย ในช่วงความลึก 50-100 ซม.ซึ่งเป็นชั้นสะสม
อนุภาคดินเหนียว สีน้ำตาล และอาจพบจุดประสีต่างๆ ในดินล่าง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็น
กลาง (pH 6.0-7.0) ในดินบน และเป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 6.0-8.0) ในดินล่าง
3.7.17 ดินคาบงที่เป็นทรายหนา (Kg-tks)
การจำแนกดิน (USDA) : Loamy, siliceous, isohyperthermic subactive Arenic
Paleustalfs เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลเข้ม ดินล่างเป็นทรายปนดินร่วน และ
เปลี่ยนเป็นดินร่วนปนทรายถึงดินร่วนเหนียวปนทราย ในช่วงความลึก 50-100 ซม.ซึ่งเป็นชั้นสะสม
อนุภาคดินเหนียว สีน้ำตาล และอาจพบจุดประสีต่างๆ ในดินล่าง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็น
กลาง (pH 6.0-7.0) ในดินบน และเป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 6.0-8.0) ในดินล่าง
3.7.18 ชุดดินกลางดง (Klang Dong series: Kld)
การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Typic Paleustalfs เกิด
ี
จากการผุพงสลายตัวของหินตะกอนเนื้อละเอยดและหินที่แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง หิน
ั
ิ
โคลน หินชนวน หินฟลไลท์ เป็นต้น และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทาง
ใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงบริเวณเชิงเขา เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินร่วน
เหนียวปนทรายแป้ง สีน้ำตาลเข้มถึงสีน้ำตาลปนเทาเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH
6.0-7.0) ดินล่างตอนบนเป็นดินเหนียว สีแดงปนเหลืองถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดปาน
กลาง (pH 5.0-6.0) ดินล่างตอนล่างเป็นดินเหนียว และส่วนใหญ่พบชั้นหินพื้นลึกกว่า 150 ซม. จากผิวดิน
สีน้ำตาลปนแดงหรือสีน้ำตาลปนเหลือง มีจุดประสีน้ำตาลปนเหลือง สีแดง และสีน้ำตาล ปฏิกิริยาดินเป็น
กรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 4.5-6.5) การระบายน้ำดี การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.19 ดินกลางดงที่มีจุดประสีเทา (Kld-gm)
การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic (Anthraquic) Typic
Paleustalfs เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนดินร่วนเหนียว สีน้ำตาลเข้มถึง สีน้ำตาลปนเทาเข้ม
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างเป็น ดินเหนียว สีน้ำตาลปนเหลืองหรือสี
ึ
เหลืองปนแดง มีจุดประสีเทาหรือสีเทาออน ภายในความลึก 75 เซนติเมตร จากผิวดิน และจุดประสี
่
48
น้ำตาลแก่และสีแดงปนเหลือง สีเหลือง อาจพบมวลก้อนกลมของเหล็กและแมงกานีสสะสมในดินล่าง
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0)
3.7.20 ดินกลางดงที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Kld-mw)
การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Oxyaquic Haplustalfs
ึ
เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนดินร่วนเหนียว สีน้ำตาลเข้มถง สีน้ำตาลปนเทาเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็น
กรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างเป็น ดินเหนียว สีน้ำตาลปนเหลืองหรือสีเหลืองปนแดง
พบจุดประสีเหลืองปนแดง น้ำตาลปนแดง ภายใน 100 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็น
กรดจัด (pH 4.5-6.5)
3.7.21 ชุดดินเขมราฐ (Khemarat series: Kmr)
การจำแนกดิน (USDA) fine-loamy over clayey, mixed, semiactive isohyperthermic
ั
Plinthaquic Haplustults เกิดจากการสลายตัวผุพงอยู่กับที่ของหินตะกอนสองยุค (ทราย/เหนียว) หรือ
ตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบที่ถูกชะมาทับถมอยู่บนหินตะกอนเนื้อละเอยด เป็นดินลึก ดินบนเป็นดิน
ี
ทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาลเข้ม ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สี
น้ำตาลหรือน้ำตาลออน และเป็นดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแป้ง สีเทาปนชมพหรือสีเทาในดินล่าง
ู
่
ลึกลงไป ช่วงเปลี่ยนแปลงของเนื้อดินจะพบภายในความลึก 100 ซม. จากผิวดิน ซึ่งอาจพบการสะสม
ื้
ลูกรัง หรือกรวดปริมาณเล็กน้อย พบศิลาแลงออนในชั้นดินล่าง ชั้นหินผุและหินพนพวกหินทรายแป้งจะ
่
พบช่วงความลึก 100-150 ซม. ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.0-6.5) ในดินบน
และเป็นกรดจัดถึงกรดจัดมาก (pH 4.5-5.5) ในดินล่าง บางบริเวณที่มีอิทธิพลของหินทรายแป้งที่มีปูนปน
จะมีค่าปฏิกิริยาดินเป็นด่างปานกลาง การระบายน้ำค่อนข้างเลวในดินบนและดีปานกลางในดินล่าง การ
ซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.22 ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col)
ก าร จ ำแ น ก ดิ น (USDA) Coarse-loamy, mixed, semiactive isohyperthermic
Plinthaquic Haplustults เป็นดินลึก ดินบนเป็นทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือ
น้ำตาลเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล
หรือน้ำตาลออน และเป็นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว สีเทาปนชมพหรือเทาในดินล่างลึกลงไป
ู
่
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.5) ช่วงเปลี่ยนแปลงของเนื้อดินจะพบภายในความลึก
ึ
่
มากกว่า 100 ซม.จากผิวดิน ซึ่งอาจพบการสะสมลูกรัง หรือกรวดปริมาณเล็กน้อย พบศิลาแลงออน
(plinthite) ในชั้นดินล่าง ชั้นหินผุและหินพื้นพวกหินทราย
49
3.7.23 ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนละเอียด (Kmr-fl)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-loamy, mixed, semiactive isohyperthermic Plinthaquic
Haplustults เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาลเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็น
กรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาลอ่อน และเป็นดินร่วน
ปนดินเหนียวหรือดินเหนียว สีเทาปนชมพหรือเทาในดินล่างลึกลงไป ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรด
ู
จัด (pH 4.5-5.5) ช่วงเปลี่ยนแปลงของเนื้อดินจะพบภายในความลึกมากกว่า 100 ซม.จากผิวดิน ซึ่งอาจพบ
่
การสะสมลูกรัง หรือกรวดปริมาณเล็กน้อย พบศิลาแลงออน (plinthite) ในชั้นดินล่าง ชั้นหินผุและหินพื้น
พวกหินทราย
3.7.24 ดินเขมราฐที่อิ่มตัวเบสสูง (Kmr-hb)
การจำแนกดิน (USDA) fine-loamy over clayey, mixed, semiactive isohyperthermic
Aquic (Plinthic) Haplustults เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาลเข้ม ปฏิกิริยา
ดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาล
อ่อน และเป็นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว สีเทาปนชมพูหรือเทาในดินล่างลึกลงไป ปฏิกิริยาดินเป็น
กรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ช่วงเปลี่ยนแปลงของเนื้อดินจะพบภายในความลึกมากกว่า 100
่
ซม.จากผิวดิน ซึ่งอาจพบการสะสมลูกรัง หรือกรวดปริมาณเล็กน้อย พบศิลาแลงออน (plinthite) ในชั้นดิน
ล่าง ชั้นหินผุและหินพื้นพวกหินทรายแป้ง
3.7.25 ดินเขมราฐที่อิ่มตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col)
การจำแนกดิน (USDA) Coarse-loamy, mixed, semiactive isohyperthermic Aquic
(Plinthic) Haplustults เป็นดินลึก ดินบนเป็นทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาล
เข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือ
ู
่
น้ำตาลออน และเป็นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว สีเทาปนชมพหรือเทาในดินล่างลึกลงไป
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ช่วงเปลี่ยนแปลงของเนื้อดินจะพบภายในความ
่
ลึกมากกว่า 100 ซม.จากผิวดิน ซึ่งอาจพบการสะสมลูกรัง หรือกรวดปริมาณเล็กน้อย พบศิลาแลงออน
(plinthite) ในชั้นดินล่าง ชั้นหินผุและหินพื้นพวกหินทราย
3.7.26 ดินเขมราฐที่อิ่มตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนละเอียด (Kmr-hb,fl)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-loamy, mixed, semiactive isohyperthermic Aquic
(Plinthic) Haplustults เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาลเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็น
่
กรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาลออน
50
และเป็นดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว สีเทาปนชมพูหรือเทาในดินล่างลึกลงไป ปฏิกิริยาดินเป็นกรด
ปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ช่วงเปลี่ยนแปลงของเนื้อดินจะพบภายในความลึกมากกว่า 100 ซม.
่
จากผิวดิน ซึ่งอาจพบการสะสมลูกรัง หรือกรวดปริมาณเล็กน้อย พบศิลาแลงออน (plinthite) ในชั้นดิน
ล่าง ชั้นหินผุและหินพื้นพวกหินทราย
3.7.27 ชุดดินละหานทราย (Lahan Sai series: Lah)
การจำแนกดิน (USDA) Coarse-loamy, siliceous, subactive, isohyperthermic Typic
(Aquic) Paleustults เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบที่ถูกชะมาทับถมอยู่บริเวณพนที่ที่เหลือ
ื้
ค้างจากการกัดกร่อน เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทรายหรือดินทรายปนดินร่วน สีดิน
เป็นสีน้ำตาล เทาปนน้ำตาล ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายและดินร่วนเหนียวปนทรายในตอนล่าง
ลึกๆ สีเทา เทาปนชมพ จนถึงสีขาว จะพบจุดประสีแดงปนเหลือง น้ำตาล เหลืองตลอดหน้าตัดดิน
ู
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดจัดมาก (pH 4.5-5.5) ตลอดหน้าตัดดิน การระบายน้ำค่อนข้างเลวถึงดี
ปานกลาง การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.28 ดินละหานทรายที่เป็นดินร่วนละเอียด (Lah-fl)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-loamy, siliceous, subactive, isohyperthermic Typic
(Aquic) Paleustults เป็นดินร่วนละเอยดลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลเทาปน
ี
ู
น้ำตาล ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีเทา เทาปนชมพจนถึงขาว จะพบจุดประสีแดงปนเหลือง
น้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดจัดมาก (pH 4.5-5.5) ตลอดหน้าตัดดิน
3.7.29 ชุดดินลี้ (Li series: Li)
การจำแนกดิน (USDA)Clayey-skeletal, mixed, semiactive, shallow, hyperthermic,
ี
Ultic Haplustalfs เกิดจากการผุพงอยู่กับที่ของหินตะกอนเนื้อละเอยดและหินที่แปรสภาพ เช่น
ั
หินดินดาน หินทรายแป้ง หินโคลน หินชนวน หินฟลไลท์ เป็นดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นเศษหินหนาแน่น
ิ
บางบริเวณอาจพบชั้นหินพนในระดับตื้น ดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทรายแป้งหรือดินร่วนเหนียวปน
ื้
เศษหิน สีน้ำตาลเข้มหรือน้ำตาลปนแดงเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0)
ดินล่างเป็นดินเหนียวปนเศษหินหนาแน่นมาก สีแดงหรือแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็น
กรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) การระบายน้ำดี การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
51
3.7.30 ชุดดินลาดหญ้า (Lat Ya series: Ly)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Kanhaplic Haplustults
ั
เกิดจากการสลายตัวผุพงอยู่กับที่ และ/หรือ เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ ของหินทรายและหินควอร์ต
่
ไซต์โดยแรงโน้มถวงของโลก เป็นดินลึกปานกลาง ดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล น้ำตาล
ปนเทาหรือน้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินบนตอนล่าง
เป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนเหนียวปนทราย สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลืองหรือน้ำตาลปนแดง ส่วนดินล่างมี
สีแดงปนเหลือง เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายปนกรวดปน เศษหินมาก ซึ่งเป็นพวกเศษหินควอร์ตไซต์
หินทราย หินฟิลไลท์ ผสมกบหินดินดานและมวลสารกลมของหินลูกรังกระจายอยู่ทั่วไปในชั้นดิน ปฏิกิริยา
ั
ดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 4.5-5.0) การระบายน้ำดี การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.31 ดินลาดหญ้าที่มีการระบายน้าดีปานกลาง (Ly-mw)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Kanhaplic (Oxyaquic)
Haplustults เป็นดินลึกปานกลางถึงชั้นเศษหิน กรวด ดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล สี
น้ำตาลปนเทาหรือสีน้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดิน
ึ
ล่างตอนบน เป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนเหนียวปนทราย สีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลปนแดง ดินล่าง
ตอนล่างเป็นดินร่วนเหนียว ปนทรายปนกรวดหรือเศษหิน สีน้ำตาล เหลือง หรือแดงปนเหลือง และพบจุด
ประสีน้ำตาลปนแดงหรือน้ำตาลปนเหลือง ภายในช่วงความลึก 100 ซม.จากผิวดิน พบก้อนกรวดเป็นพวก
เศษหินควอร์ตไซต์ หินทราย หินฟลไลท์ และหินดินดาน และมวลสารกลมของหินลูกรังหนาแน่นในช่วง
ิ
ความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 4.5-5.0)
3.7.32 ชุดดินมวกเหล็ก (Muak Lek series: Ml)
การจำแนกดิน (USDA) Clayey-skeletal, mixed, semiactive, shallow, isohyperthermic
ั
Ultic Haplustalfs เกิดจากการสลายตัวผุพงอยู่กับที่ และ/หรือ เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆของหิน
ี
ตะกอนเนื้อละเอยดและหินที่แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง หินโคลน หินชนวน หินฟิลไลท์ เป็น
ดินตื้นถึงชั้นหินต้นกำเนิด ดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายแป้ง สีน้ำตาลปนเทาหรือน้ำตาลเข้ม
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดกลาง (pH 5.5-7.0) ดินบนตอนล่าง เป็นดินร่วนหรือดินร่วนเหนียวที่ปนกรวด
มาก ดินล่างมีสีน้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลหรือน้ำตาลเข้ม เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินเหนียวที่ปนกรวด
มาก ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) และพบหินตะกอนหรือหินที่แปรสภาพที่กำลัง
สลายตัว ภายในความลึกไม่เกิน 50 ซม. จากผิวดิน การระบายน้ำดี การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
52
3.7.33 ชุดดินนาอ้อ (Na O series: Nao)
การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Aeric Endoaqualfs
เกิดจากตะกอนน้ำ เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วน ร่วนเหนียวหรือร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีดินเป็นสี
เทา เทาปนน้ำตาล ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว ร่วนเหนียวปนทรายแป้งหรือดินเหนียว สีเทา เทา
ปนชมพ เทาปนน้ำตาล พบจุดประสีแดง สีน้ำตาล สีเหลือง และปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็น
ู
กลาง (pH 6.0-7.0) ตลอดหน้าตัดดิน การระบายน้ำค่อนข้างเลว การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.34 ดินนาอ้อที่เป็นดินร่วนละเอียด (Nao-fl)
การจำแนกดิน (USDA Fine-loamy, mixed, active, isohyperthermic Aeric
)
Endoaqualfs เป็นดินลึก ดินบนเนื้อดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนดินเหนียว สีเทาเข้มหรือน้ำตาลปน
เทา มีจุดประสีน้ำตาลแก่และสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-
7.0) ดินล่างเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สีเทาเข้มและเทา มีจุดประสีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลืองหรือ
น้ำตาลเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 6.0-8.0)
3.7.35 ดินนาอ้อที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด (Nao-fsi)
ก า ร จ ำ แ น ก ด ิน (USDA) Fine-silty, mixed, active, isohyperthermic Aeric
Endoaqualfs เป็นดินลึก ดินบนเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง สีเทาเข้มหรือน้ำตาลปนเทา มีจุด
ประสีน้ำตาลแก่และสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่าง
เป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีเทาเข้มและเทา มีจุดประสีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลืองหรือน้ำตาลเข้ม
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 6.0-8.0)
3.7.36 ชุดดินหนองบัวแดง (Nong Bua Daeng series: Nbd)
การจำแนกดิน (USDA) Loamy-skeletal over clayey, kaolinitic, isohyperthermic
Typic (Oxyaquic Plinthic) Paleustults เกิดจากการสลายตัวผุพงอยู่กับที่ของหินตะกอนต่างยุค หรือ
ั
ตะกอนเนื้อหยาบที่ถูกชะมาทับถมอยู่บนตะกอนเนื้อละเอียดบริเวณพนที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน ดิน
ื้
บนมีเนื้อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน หรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล น้ำตาลออน มีจุดประสีน้ำตาลปน
่
่
เหลืองหรือน้ำตาลแก ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 4.5-6.0) ดินล่างตอนบนเป็น
ดินร่วนปนทรายปนกรวดลูกรังมากถึงดินร่วนเหนียวปนทรายปนกรวดลูกรังมาก สีน้ำตาล มีจุดประสีแดง
หรือน้ำตาลแก่ ส่วนดินล่างช่วง 50-100 ซม. จากผิวดิน พบชั้นของความไม่ต่อเนื่อง เนื้อดินเป็นดินเหนียว
สีเทา เทาออน หรือน้ำตาลปนเทา มีจุดประสีต่างๆ และพบศิลาแลงออนปริมาณ 5-50 % ปฏิกิริยาดิน
่
่
53
เป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.0) และพบชั้นหินหินตะกอนพวกหินทรายแป้งที่กำลังสลายตัว
ลึกมากกว่า 150 ซม. การระบายน้ำดีปานกลางถึงค่อนข้างเลว การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.37 ดินหนองกุงที่เป็นดินร่วนละเอียด (Nkg-fl)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-loamy, mixed, semiactive, isohyperthermic Aeric
Endoaqualfs เป็นดินร่วนละเอยดลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล เทาหรือน้ำตาลปนเทา ดิน
ี
ล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีเทาปนน้ำตาลอ่อน พบจุดประสีน้ำตาลปนเหลืองหรือน้ำตาลตลอด อาจพบ
ก้อนเหล็กหรือแมงกานีสสะสมในชั้นดินล่าง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.0-6.5)
ในดินบน และกรดปานกลางถึงเป็นด่างเล็กน้อย (pH 6.0-8.5) ในดินล่าง
3.7.38 ชุดดินนาคู (Na Khu series: Nu)
การจำแนกดิน (USDA) Loamy, mixed, semiactive, isohyperthermic Arenic Plinthic
Haplustults เกิดจากการสลายตัวผุพงอยู่กับที่หรือตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบที่ถูกชะมาทับถมอยู่
ั
บริเวณพนที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อนที่รองรับด้วยหินตะกอน เป็นดินลึกมาก เนื้อดินบนเป็นดินทราย
ื้
ปนดินร่วนหรือดินทราย สีน้ำตาลเข้ม หนามากกว่า 50 ซม. ส่วนดินล่าง ระหว่างความลึก 50-100 ซม.
ู
เป็นดินร่วนปนทรายถึงดินร่วนเหนียวปนทราย สีเทาหรือเทาปนชมพ พบจุดประสีต่างๆ อาจพบชั้นลูกรัง
บางๆ ช่วงรอยต่อระหว่างเนื้อดิน พบชั้นดินเหนียวปนทรายแป้ง หรือชั้นหินทรายหรือทรายแป้งที่กำลัง
สลายตัว ภายในความลึก 150 ซม. ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ในดินบน และ
เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดจัดมาก (pH 4.5-5.5) ในดินล่าง การระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง การซึมผ่านได้ของ
น้ำดี
3.7.39 ดินปักธงชัยที่อิ่มตัวเบสสูง (Ptc-hb)
การจำแนกดิน (USDA) Coarse-loamy, siliceous, isohyperthermic Kandic Paleustalfs
เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล น้ำตาลเข้ม ดินล่างเป็นดินร่วนปน
ทราย สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลปนแดง หรือแดงปนเหลือง อาจพบจุดประสีน้ำตาลแก่หรือสีเหลือง
ปนแดงปริมาณเล็กน้อย ภายในความลึก 100 ซม. ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.0-6.5)
ในดินบนและปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ในดินล่าง
3.7.40 ดินปักธงชัยที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Ptc-mw)
การจำแนกดิน (USDA) Coarse-loamy, siliceous, subactive, isohyperthermic Typic
(Oxyaquic) Paleustults เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล
น้ำตาลเข้ม ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง หรือน้ำตาลปนแดง พบจุดประสี
54
น้ำตาลแก่หรือสีเหลืองปนแดง ภายในความลึก 100 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็น กรดจัดถึงเป็นกรด
เล็กน้อย (pH 5.0-6.5) ในดินบนและเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.5) ในดินล่าง
3.7.41 ชุดดินภูพาน (Phu Phan series: Pu)
การจำแนกดิน (USDA) Coarse-loamy, siliceous, isohyperthermic Typic (Kandic)
Paleustults เกิดจากการสลายตัวผุพงอยู่กับที่ และ/หรือ เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้ม
ั
ถ่วงของโลกของหินทราย ดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วนหรือดินทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาลเข้ม ดินล่าง
เป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลปนแดง หรือแดงปนเหลือง อาจพบจุดประสี
น้ำตาลแก่หรือสีเหลืองปนแดงปริมาณเล็กน้อย อาจพบลูกรังปริมาณเล็กน้อยร่วมกับเศษหินทรายในหน้า
ตัดดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.0-6.5) ในดินบนและเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรด
จัด (pH 4.5-5.5) มักพบก้อนหินทรายอยู่บนผิวดิน การระบายน้ำดี การซึมผ่านได้ของน้ำเร็ว
3.7.42 ดินภูพานที่เป็นดินร่วนละเอียด (Pu-fl)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Typic (Kandic)
Paleustults เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาลเข้ม ดินล่างเป็นดินร่วน
เหนียวปนทราย สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลปนแดง หรือแดงปนเหลือง อาจพบจุดประสีน้ำตาลแก่
หรือเหลืองปนแดงปริมาณเล็กน้อย อาจพบลูกรังปริมาณเล็กน้อยร่วมกับเศษหินทรายในหน้าตัดดิน
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย(pH 5.0-6.5) ในดินบน และกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 4.5-5.5)
ในดินล่าง มักพบก้อนหินทรายลอยอยู่บนผิวดิน
3.7.43 ดินภูพานที่เป็นดินลึกปานกลางและเป็นดินร่วนละเอียด (Pu-md,fl)
การจำแนกดิน (USDA) : Fine-loamy, siliceous, subactive, isohyperthermic Typic
(Kandic) Haplustults เป็นดินลึกปานกลาง ดินบนเป็นทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล
หรือน้ำตาลเข้ม ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลปนแดง หรือแดง
ปนเหลือง พบก้อนหินเหลี่ยมของหินทรายระหว่างความลึก 50-100 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรด
จัดถึงกรดเล็กน้อย(pH 5.0-6.5) ในดินบน และกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 4.5-5.5) ในดินล่าง มักพบก้อน
หินทรายลอยอยู่บนผิวดิน
3.7.44 ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Pu-mw)
การจำแนกดิน (USDA) Coarse-loamy, siliceous, subactive, isohyperthermic Typic
(Oxyaquic) Paleustults เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือ
น้ำตาลเข้ม ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลปนแดง หรือแดงปนเหลือง
55
พบจุดประสีน้ำตาลแก่หรือเหลืองปนแดงปริมาณเล็กน้อย อาจพบลูกรังปริมาณเล็กน้อยร่วมกับเศษหิน
ทรายในหน้าตัดดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย (pH 5.0-6.5) ในดินบน และกรดจัดมากถึง
กรดจัด (pH 4.5-5.5) ในดินล่าง มักพบก้อนหินทรายลอยอยู่บนผิวดิน
3.7.45 ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลางและเป็นดินร่วนละเอียด (Pu-mw,fl)
การจำแนกดิน (USDA) Fine-loamy, siliceous, subactive, isohyperthermic Typic
(Oxyaquic) Paleustults เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาลเข้ม ดินล่าง
เป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลปนแดง หรือแดงปนเหลือง พบจุดประสี
น้ำตาลแก่หรือเหลืองปนแดงปริมาณเล็กน้อย อาจพบลูกรังปริมาณเล็กน้อยร่วมกับ เศษหินทรายในหน้า
ตัดดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย(pH 5.0-6.5) ในดินบน และกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH
4.5-5.5) ในดินล่าง มักพบก้อนหินทรายลอยอยู่บนผิวดิน
3.7.46 ชุดดินศรีเมืองใหม่ (Si Mueang Mai series: Smi)
การจำแนกดิน (USDA) Loamy-skeletal over clayey, kaolinitic, isohyperthermic
ี่
Plinthaquic Paleustults เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับทของหินตะกอนต่างยุค หรือตะกอนเนื้อหยาบ
ี
ที่ถูกชะมาทับถมอยู่บนตะกอนเนื้อละเอยดบริเวณพนที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน เป็นดินตื้นถึงชั้น
ื้
กรวดลูกรัง มีเนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วน หรือดินร่วนปนทรายปนกรวดลูกรังเล็กน้อย สีน้ำตาล
น้ำตาลอ่อน มีจุดประสีน้ำตาลปนเหลืองหรือน้ำตาลแก่ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง
(pH 4.5-6.0) ดินล่างตอนบนเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวดลูกรังมาก และค่อยๆ เปลี่ยนเป็นดินร่วน
เหนียวปนทรายปนกรวดมาก สีน้ำตาล มีจุดประสีเทา แดง น้ำตาลแก่ และดินล่างช่วงความลึก 50-100
ซม. พบชั้นดินเหนียวสีเทา เทาออน หรือน้ำตาลปนเทา และศิลาแลงออนปริมาณ 5-50 % ปฏิกิริยาดิน
่
่
เป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.0) ชั้นหินตะกอนเนื้อละเอยดที่กำลังสลายตัว พบลึกมากกว่า
ี
150 ซม.การระบายน้ำค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.47 ชุดดินสีทน (Si Thon series: St)
)
ก ารจ ำแ น ก ดิน (USDA Coarse-loamy, mixed, nonacid, isohyperthermic
Fluvaquentic Endoaquepts เกิดจากตะกอนน้ำ เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ดิน
ทรายปนดินร่วน หรือดินร่วน สีดินเป็นสีน้ำตาล ดินล่างมีลักษณะไม่แน่นอน เป็นพวกดินเหนียวหรือ
พวกดินทรายและจะแสดงลักษณะการเรียงชั้นสลับกันแล้วแต่ชนิดของวัตถุต้นกำเนิดที่น้ำพามาทับถม
ในแต่ละปี มีสีเทา เทาปนชมพูหรือน้ำตาลปนเทา จะพบจุดประสีแดงปนเหลือง น้ำตาลหรือเหลือง
ตลอดหน้าตัดดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ตลอดชั้นดิน การระบาย
น้ำค่อนข้างเลว การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
56
3.7.48 ชุดดินท่ายาง (Tha Yang series: Ty)
การจำแนกดิน (USDA) Loamy-skeletal, siliceous, isohyperthermic Kanhaplic
Haplustults เกิดจากการสลายตัวผุพงอยู่กับที่ และ/หรือ เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้ม
ั
ิ
ื้
ถ่วงของโลกของหินทรายและหินควอร์ตไซต์ โดยมีหินดินดาน หินฟลไลท์เป็นหินพน เป็นดินตื้นถึงชั้น
กรวด เศษหิน ดินบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนปนเศษหิน กรวด เล็กน้อย สีน้ำตาลปนเทาถึง
น้ำตาลเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดินล่างตอนบนเป็นดินร่วนปนทรายถึง
ดินร่วนเหนียวปนทรายปนกรวดและเศษหิน ที่มีปริมาณมากกว่า 35 % โดยปริมาตร และเศษหินมี
ปริมาณเพิ่มขึ้นตามความลึก ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดจัดมาก (pH 4.5-5.5) และดินล่างเป็นชั้นวัตถุ
ต้นกำเนิดดินที่เป็นเศษหินของหินทราย หน้าดินส่วนใหญ่มีกรวดและเศษหินก้อนหินลอยหน้าอยู่ การ
ระบายน้ำดี การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.49 ชุดดินวังสะพุง (Wang Saphung series: Ws)
การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Ultic Haplustalfs เกิด
จากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ และ/หรือ เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆของหินตะกอนเนื้อละเอียดและ
ิ
หินที่แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง หินโคลน หินชนวน หินฟลไลท์ เป็นดินลึกปานกลาง ดิน
บนเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีน้ำตาลเข้มถึงน้ำตาลปนเทาเข้ม ปฏิกิริยา
ดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างตอนบนเป็นดินเหนียว สีแดงปนเหลืองถึงแดง
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินล่างเป็นดินเหนียวมีเศษหินปะปนหนาแน่น
ื้
และพบชั้นหินพนภายใน 100 ซม. จากผิวดิน มีสีน้ำตาลปนแดงหรือน้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็น
กรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) การระบายน้ำดี การซึมผ่านได้ของน้ำปานกลาง
3.7.50 ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึกมาก (Ws-vd)
การจำแนกดิน (USDA) Fine, mixed, active, isohyperthermic Typic Paleustalfs
เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีน้ำตาลเข้มถึง
น้ำตาลปนเทาเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างตอนบนเป็นดินเหนียว
สีแดงปนเหลืองถึงแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ตอนล่างเป็นดินเหนียว
มีเศษหินปะปนหนาแน่น และส่วนใหญ่พบชั้นหินพนภายในความลึกมากกว่า 150 ซม. สีน้ำตาลปนแดง
ื้
หรือน้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง (pH 5.5-7.0)
57
ภาพที่ 3-5 แผนที่ดิน จังหวัดหนองบัวลำภู
58
ิ
ิ
3.8 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางธรณีวทยา ภูมสัณฐาน และชุดดิน
จากหลักการที่ได้นำเอาลักษณะทางธรณีวิทยามาช่วยในการคาดคะเนชนิดของวัตถุต้นกำเนิดดิน จึง
ื้
ได้แบ่งชนิดของสภาพพนที่ของจังหวัดหนองบัวลำภู ออกเป็น 4 ส่วน ตามลักษณะภูมิสัณฐานและสภาพ
พื้นที่ที่พบร่วมกับลักษณะทางธรณีวิทยา (สถิระ และคณะ, 2558) ดังรายละเอียดต่อไปนี้
3.8.1 ที่ราบน้ำท่วมถึง (Flood plain)
พบบริเวณหน่วยทางธรณีวิทยาแบบ Qa (Alluvial deposit Quaternary) เป็นที่ได้รับ
ิ
อทธิพลของแม่น้ำหรือลำน้ำสาขา วัตถุต้นกำเนิดดินเป็นตะกอนน้ำพา (alluvium) สภาพพนที่ค่อนข้าง
ื้
ราบเรียบถึงราบเรียบ ในหน้าฝนหรือหน้าน้ำหลากมักมีน้ำท่วมและมีการทับถมของตะกอนเพมมากขึ้น
ิ่
หลังน้ำท่วม ประกอบด้วยพนที่ คือ สันดินริมน้ำ (levee) โดยทั่วไปจะเป็นพนที่สูง มีการระบายน้ำ
ื้
ื้
ค่อนข้างดีถึงดีตัวอย่างเช่น ชุดดินชุมพลบุรี (Chp)
3.8.2 ตะพักลำน้ำ (Alluvial terrace)
พบบริเวณหน่วยทางธรณีวิทยาแบบ Qa และ Qt (Terrace deposit quaternary) เป็น
ิ
บริเวณที่ได้รับอทธิพลของแม่น้ำหรือลำน้ำสาขา วัตถุต้นกำเนิดดินเป็นตะกอนน้ำพา (alluvium) มีสภาพ
พนที่เป็นที่ราบเป็นขั้นๆ ข้างตลิ่ง เกิดจากทางน้ำที่ตะกอนตกจมทับถมกลายเป็นที่ราบลุ่มน้ำ แล้วต่อมา
ื้
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระดับฐาน กระแสน้ำไหลแรงและสามารถกัดเซาะที่ราบลุ่มน้ำจนต่ำลง จึงทำให้ที่
ราบลุ่มน้ำส่วนที่เหลืออยู่สูงกว่าท้องน้ำใหม่ นานๆ เข้าท้องน้ำก็จะยิ่งกว้างออกไปและอาจเกิดที่ราบลุ่มน้ำ
ี
ตรงท้องน้ำที่กว้างออกไปขึ้นอก วนเวียนกันไปเรื่อยๆ จนเกิดที่ราบเป็นขั้นๆ ในบริเวณนั้น โดยตลิ่งแต่ละ
ั
ั
ข้างอาจมีตะพกได้หลายระดับ ได้แก่ ตะพกลำน้ำระดับต่ำ (low alluvial terrace) ตะพกลำน้ำ
ั
ระดับกลาง (middle alluvial terrace) ตะพักลำน้ำระดับสูง (high alluvial terrace)
ั
ั
ลักษณะดินบริเวณตะพกลำน้ำจะเป็นดินที่มีพฒนาการ และมีความแตกต่างกันออกไป
บริเวณตะพกลำน้ำระดับต่ำมีสภาพพนที่ค่อนข้างราบเรียบ ดินมีการระบายน้ำค่อนข้างเลว สีดินเป็นสี
ื้
ั
น้ำตาลปนเทา สีน้ำตาล มีจุดประสีต่างๆ เนื้อดินอาจเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียว หรือดินร่วนเหนียวปน
้
ทราย ขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุต้นกำเนิดดิน ตัวอย่างเช่น ชุดดินชุมแพ (Cpa) ชุดดินนาออ (Nao) ชุดดิน
ื้
หนองกุง (Nkg) บริเวณตะพกลำน้ำระดับกลางและระดับสูง (middle-high terrace) มีสภาพพนที่
ั
ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นเนินเขาดินมีการระบายน้ำดีดินมีสีน้ำตาล เหลือง ไปจนถึงสีแดง เนื้อดินเป็นดิน
ร่วน ดินร่วนเหนียว และดินเหนียว ที่เกิดจากการเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยอทธิพลของน้ำ
ิ
และแรงโน้มถ่วงของโลกของหินตะกอนเนื้อละเอียดหรือหินภูเขาไฟ ได้แก่ ชุดดินบ้านจ้อง (Bg)
59
3.8.3 พื้นที่เกือบราบ (Peneplain/Planation)
ื้
ั
พนที่เกือบราบหรือที่เกือบราบ เป็นผืนแผ่นดินที่การผุพงทำลายทำให้ภูเขาหรือเนินเขา
ื้
กร่อนลงจนเกือบราบหรือเป็นลูกคลื่นเล็กน้อย แต่ไม่ถึงขนาดเป็นที่ราบลุ่มน้ำท่วมถึง พนราบนี้หากถูกยก
ตัวขึ้นสูงโดยการเคลื่อนไหวของเปลือกโลกจะถกสายน้ำกัดเซาะเป็นโกรกธารน้อยใหญ่ ดูจากเบื้องล่างเห็น
ู
เป็นภูเขาใหญ่แต่เมื่อมองจากอากาศแล้วจะเห็นขอบเขตของพื้นราบในอดีตได้ บริเวณพื้นที่นี้จะครอบคลุม
พื้นที่เกือบทั้งหมดของจังหวัด วัตถุต้นกำเนิดดินเกิดจากการสลายตัวผุพงอยู่กับที่หรือถูกเคลื่อนย้ายมาใน
ั
ระยะทางไม่ไกลนักของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจากหินตะกอน ที่ส่วนใหญ่เป็นพวกหินทราย แต่จะไม่ค่อยพบ
ชิ้นส่วนหรือเศษหินของหินทรายในหน้าตัดดินหรือบริเวณผิวหน้าดิน
ื้
พนที่เกือบราบหรือที่เกือบราบสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ โดยอาศัยลักษณะความสูงต่ำ
(relief) ระดับความรุนแรงของการกัดเซาะ (degree of dissected) และความลาดชันของสภาพพนที่
ื้
ดังนี้
1) พื้นที่เกือบราบมีความสูงต่ำของพื้นที่เป็นแบบราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย
ั
บริเวณนี้มีความรุนแรงของการกดเซาะอยู่เล็กน้อย มีความลาดชันของพื้นที่ตั้งแต่ประมาณ
ร้อยละ 0-5 สมบัติของดินมีลักษณะแตกต่างกันไปตามสภาพพนที่ที่พบ โดยดินมีการระบายน้ำค่อนข้าง
ื้
เลวถึงเลวในบริเวณที่ราบลุ่มหรือที่ราบ หรือตามร่องระหว่างที่ดอนหรือเนิน เนื้อดินส่วนใหญ่มีทรายปน
ดินมีสีเทาหรือน้ำตาลปนเทา เป็นสีพน และพบจุดสีต่างๆ ถัดขนมาบริเวณพื้นที่ที่ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็น
ื้
ึ้
ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินจะมีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง เหลือง และมีจุดประสีเทาค่อนข้างชัดเจน
ั
โดยเฉพาะในช่วงตอนบนอนเนื่องมาจากการขังน้ำ นอกจากนี้จะพบจุดประสีเหลือง น้ำตาล หรือแดงใน
หน้าตัดดินดินมีการระบายน้ำอยู่ระหว่างค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง
ื
ในอดีต พื้นที่บริเวณนี้ใช้ปลูกพชไร่ ไม้ผลหรือไม้ยืนต้น ปัจจุบันส่วนใหญ่ได้มีการดัดแปลง
สภาพพนที่โดยการทำคันนาเพอใช้ประโยชน์ในการปลูกข้าว ซึ่งคันนาจะมีลักษณะค่อนข้างกว้างและสูง
ื้
ื่
เนื่องจากเกษตรกรได้ปาดเอาหน้าดินที่เป็นชั้นดินทรายและหนาออกไปกองไว้เพอทำคันนาสำหรับใช้ปลูก
ื่
ข้าว บางบริเวณหากมีชั้นดินเหนียวอยู่ด้านล่างสามารถเก็บกักน้ำได้ และมักจะพบชั้นลูกรังทั้งที่มีความ
ี
หนามากๆ หรือเป็นชั้นบางๆ ในช่วงที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงเนื้อดินจากเนื้อดินหยาบเป็นเนื้อดินละเอยด
ค่าปฏิกิริยาดินในสนามส่วนใหญ่เป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง แต่หากบริเวณใดที่ได้รับอทธิพลของความเค็ม
ิ
จะมีค่าปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงด่างปานกลางและมีคราบเกลือบริเวณผิวหน้าดินส่วนบริเวณที่ดอนแบบลูก
คลื่นลอนลาด และการระบายน้ำดีปานกลางถึงค่อนข้างดีเกินไปดินมีสีน้ำตาลน้ำตาลปนเหลือง เหลือง
จนถึงแดง และอาจพบจุดสีเล็กน้อยค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย
60
ื้
2) พื้นที่เกือบราบ มีความสูงต่ำของพื้นที่เป็นแบบลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงสภาพพนที่แบบ
เนินเขา
ื้
บริเวณนี้มีความรุนแรงของการกัดเซาะปานกลางถึงรุนแรง มีความลาดชันของพนที่ตั้งแต่
ประมาณร้อยละ 5-20 ดินส่วนใหญ่มีการระบายน้ำค่อนข้างดีถึงดีดินมีสีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง เหลือง
น้ำตาลปนแดง เหลืองปนแดง จนถึงสีแดง เนื้อดินมีทรายปนอย่างชัดเจน บางบริเวณพบลูกรังในหน้าตัด
ดิน ค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลางพื้นที่เกือบราบในบริเวณนี้
ื
บริเวณนี้ส่วนใหญ่ใช้ปลูกพชไร่ชนิดต่างๆ รวมถึงไม้ผล ไม้ยืนต้น บางส่วนยังคงสภาพเป็น
ป่า ทั้งป่าชุมชนหรือป่าเต็งรังแต่ก็มีบางบริเวณที่มีการดัดแปลงสภาพพนที่ทำคันนา เพอใช้ประโยชน์ใน
ื้
ื่
ื้
การปลูกข้าว แต่ไม่ค่อยจะได้ผลผลิตข้าวมาก เนื่องจากสภาพพนที่และลักษณะดินไม่เหมาะสม มีปัญหา
การขาดแคลนน้ำ แต่สามารถปลูกข้าวในบริเวณที่ลุ่มระหว่างเนิน ที่ดินมีการระบายน้ำแบบค่อนข้างเลวถึง
เลว ดินมีสีเทาหรือน้ำตาลปนเทาและมีจุดประสีต่างๆ
ตัวอย่างชุดดินที่พบในบริเวณพนที่เกือบราบ เช่น ชุดดินสีทน (St) ชุดดินละหานทราย (Lah)
ื้
พบบริเวณพนที่ที่มีลักษณะเป็นที่ราบ เช่น ชุดดินคำบง (Kg) ชุดดินปักธงชัย (Ptc) ชุดดินที่เกิดจากการผุ
ื้
พังสลายตัวอยู่กับของหินตะกอนต่างยุค หรือตะกอนเนื้อหยาบที่ถูกชะมาทับถมอยู่บนตะกอนเนื้อละเอียด
บริเวณพื้นที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน ได้แก่ ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd)
ั
นอกจากนี้ การที่วัตถุต้นกำเนิดดินบริเวณภาคนี้พฒนามาจากหินตะกอน มีลักษณะการ
ตกตะกอนทับถมเป็นชั้นๆ ตั้งแต่สมัยอดีต ซึ่งหินตะกอนจะประกอบด้วยอนุภาคทั้งเนื้อหยาบ เนื้อปาน
ี
กลาง เนื้อละเอยด จึงอาจทำให้ดินเกิดความไม่ต่อเนื่องทางธรณีวิทยา (Lithologic discontinuities) ขึ้น
โดยส่วนใหญ่มักเป็นชั้นดินทรายในตอนบน และเปลี่ยนเป็นดินเหนียวหรือชั้นหินพน (weathering
ื้
insitu) ทันทีในตอนล่าง (Abrupt textural change) ตัวอย่างเช่น ชุดดินเขมราฐ (Kmr) ชุดดินนาคู (Nu)
เป็นต้น
3.8.4 หน่วยที่รองรับด้วยหินชนิดต่างๆและโครงสร้างของหิน (Rocks controlled
Landform/structural unit)
ลักษณะภูมิประเทศที่เป็นภูเขาหุบเขาเนินหรือที่ราบเกิดจากการที่หินผุพังสลายตัวในลักษณะ
ที่แตกต่างกันและมีสภาพคงทนต่อการกัดกร่อนของตัวการแบบต่างๆได้ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของ
หินแต่ละชนิดและถูกควบคุมด้วยลักษณะของโครงสร้างทางธรณีวิทยาส่วนใหญ่มักมีหินที่เป็นวัตถุต้น
กำเนิดดินปะปนให้เห็นทั้งในหน้าตัดดินและลอยหน้า อาจแบ่งออกได้ตามลักษณะและชนิดของหินดังนี้
61
1) พัฒนาจากหินทราย
ดินบริเวณนี้เป็นดินมีการระบายน้ำตั้งแต่ดีปานกลางถึงค่อนข้างมากเกินไป ดินมีสีน้ำตาล
น้ำตาลปนเหลือง เหลือง น้ำตาลปนแดง เหลืองปนแดงจนถึงสีแดง เนื้อดินมีทรายปนอย่างชัดเจน บาง
ึ
บริเวณพบเศษหินปะปนในหน้าตัดดินหรือบนผิวดินค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถงเป็นกรดจัด มีการใช้
ื้
ื้
ื
ประโยชน์ในการพชไร่ชนิดต่างๆ รวมถึงไม้ผล ไม้ยืนต้น บริเวณที่ภูเขา เนินเขา หรือพนที่ที่มีหินพนโผล่
หรือมีเศษหินปะปนส่วนใหญ่ยังคงสภาพเป็นป่าสมบูรณ์ ตัวอย่างเช่น ชุดดินภูพาน (Pu) ชุดดินวังน้ำเขียว
(Wk) ชุดดินลาดหญ้า (Ly) ชุดดินท่ายาง (Ty)
2) พัฒนาจากหินดินดาน
ดินมีการระบายน้ำดีปานกลางถึงดีดินมีสีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลปนแดง เหลือง
หรือแดง เป็นดินเหนียวบางแห่งมีเศษหินดินดานปะปนอยู่ในหน้าตัดดิน นอกจากนี้อาจมีหินทรายหรือหิน
ทรายแป้งแทรกอยู่เป็นหย่อมๆ ในบริเวณนี้ด้วย ค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง มีการใช้
ประโยชน์ในการปลูกพชไร่ชนิดต่างๆ รวมถึงไม้ผล ไม้ยืนต้น บางบริเวณเป็นพนที่ปลูกไม้โตเร็ว ป่าปลูก
ื้
ื
หรือป่าตามธรรมชาติ บริเวณที่ภูเขา เนินเขา หรือมีหินพื้นโผล่ ยังคงสภาพเป็นป่าสมบูรณ์ ตัวอย่างเช่นชุด
ดินเชียงคาน (Ch) ชุดดินลี้ (Li) ชุดดินมวกเหล็ก (Ml) ชุดินวังสะพุง (Ws) ชุดดินกลางดง (Kld)
3) พัฒนาจากหินปูน
ดินมีการระบายน้ำดีปานกลางถึงดี ดินสีดำ สีน้ำตาล น้ำตาลปนแดงถึงสีแดง บางบริเวณ
พบชั้นหินปูนเป็นฐานในตอนล่างของหน้าตัดดิน ค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่างปานกลาง
ื
บางพนที่พบชั้นสะสมปูนมาร์ล (marl) มีการใช้ประโยชน์ในการปลูกพชไร่ชนิดต่างๆ รวมถึงไม้ผล ไม้ยืน
ื้
ต้น หรือยังคงสภาพเป็นป่าตามธรรมชาติหรือเป็นป่าปลูก ตัวอย่างเช่น ชุดดินดงลาน (Dl)
4) พัฒนาจากหินไรโอไลต์ แอนดีไซต์ ทัฟฟ์ หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ
พบบริเวณหน่วยทางธรณีวิทยาแบบ PTRv หรือ PTR ดินมีการระบายน้ำดีปานกลางถึงดี
ดินมีสีน้ำตาล น้ำตาลปนแดง ถึงสีแดง เป็นดินร่วนถึงเหนียว บางบริเวณพบชั้นเศษหินดังกล่าวในหน้าตัด
ดิน ค่าปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงเป็นกลาง ใช้ปลูกพืชไร่ชนิดต่างๆ เช่น มันสำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด
รวมถึงไม้ผล ไม้ยืนต้น หรือเป็นป่าปลูก บริเวณที่มีหินโผล่ยังคงสภาพเป็นป่าตามธรรมชาติอาจพบชั้น
ลูกรังสะสมในหน้าตัดดินซึ่งเกิดจากการที่สารละลายเหล็กเคลือบบนเศษหิน ตัวอย่างเช่น ชุดดินเชียงของ
(Cg) ชุดดินแก่งคอย (Kak)
บทที่ 4
อุปกรณ์ และวิธีการศึกษา
ื
การศึกษานี้ได้นำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพอประเมินธาตุอาหารพชในดินสำหรับ
ื่
้
การปลูกพชเศรษฐกิจ (ข้าว ออย และมันสำปะหลัง) ด้วยการวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของดิน ได้แก่
ื
ิ
ปริมาณอนทรียวัตถุในดิน (OM) ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) ความจุแลกเปลี่ยนแคต
ไอออน (CEC) และร้อยละความอิ่มตัวเบส (%BS) ในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลำภู มีวิธีดำเนินการดังต่อไปนี้
4.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ื่
ื้
ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพอใช้ประเมินธาตุอาหารพชในดินเชิงพนที่ มี
ื
ดังต่อไปนี้
1) ข้อมูลดินระดับชุดดินจังหวัดหนองบัวลำภู มาตราส่วน 1:25,000 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
2) ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินจังหวัดหนองบัวลำภู มาตราส่วน 1:25,000 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2560)
3) ข้อมูลธรณีวิทยาจังหวัดหนองบัวลำภู มาตรส่วน 1:50,000 (กรมทรัพยากรธรณี, 2552)
4) ข้อมูลการปกครองจังหวัดหนองบัวลำภู ปี 2558 (กรมการปกครอง, 2558)
5) ข้อมูลผลวิเคราะห์ดินโครงการหนึ่งหมู่บ้านหนึ่งจุดเก็บตัวอย่างดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2552)
6) ข้อมูลภูมิอากาศเฉลี่ยในคาบ 30 ปี พ.ศ. 2531-2560 (กรมอุตุวิทยา, 2560)
ั
7) ข้อมูลค่าวิเคราะห์ดินโครงการบัตรดินดี จังหวัดหนองบัวลำภู ปี 2563-2565 (กรมพฒนาที่ดิน,
2565)
8) ข้อมูลค่าวิเคราะห์ดินโครงการ 84 ตำบล ปุ๋ยลดต้นทุนเฉลิมพระเกียรติฯ (กองสำรวจดินและวิจัย
ทรัพยากรดิน, 2554)
9) รายงาน หนังสือ วารสาร เอกสาร และอื่นๆ
4.2 เครื่องมือและอุปกรณ์
ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ในการวิเคราะห์ประมวลผลเป็นหลัก
ดังนั้น จึงแบ่งเครื่องมือและอปกรณ์ออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และ ซอฟต์แวร์
ุ
(Software) ดังนี้
Hardware
1) อุปกรณ์เก็บดิน เช่น เสียม พลั่ว จอบ ถุงพลาสติก และถังพลาสติก
2) เครื่องมือระบุพิกัดตำแหน่ง (GPS)
3) คอมพิวเตอร์
4) เครื่องพมพ ์
ิ
63
Software
1) โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
2) Microsoft Office
4.3 วิธีดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล
4.3.1 การรวบรวมข้อมล รวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สำหรับใช้วิเคราะห์ข้อมูลปริมาณธาตุ
ู
ื
อาหารพชในดิน ได้แก่ ข้อมูลผลวิเคราะห์ดินของจังหวัดหนองบัวลำภูจากโครงการหนึ่งหมู่บ้านหนึ่งจุด
เก็บตัวอย่างดิน ข้อมูลชุดดิน และข้อมูลขอบเขตการปกครองจังหวัดหนองบัวลำภู เป็นต้น
4.3.2 ศึกษาและจัดกลุ่มลักษณะเด่นของทรัพยากรดิน เป็นการศึกษาทรัพยากรดินในจังหวัด
ื้
ั
่
หนองบัวลำภูถึงคุณสมบัติของดินที่แตกต่างกนของดินที่พบในพนที่ ได้แก ลักษณะเนื้อดิน สภาพพื้นที่ลุ่ม-
ื่
ดอน และความลึกของดิน เป็นต้น เพอจัดการข้อมูลดินระดับชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000 โดยนำมาจัด
ื่
กลุ่มตามคุณสมบัติของดินที่พบและจัดกลุ่มลักษณะดินที่มีลักษณะคล้ายกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เพอง่าย
ต่อการพิจารณาแนวทางการจัดการดินให้เหมาะสมกับการปลูกพืชเศรษฐกิจในแต่ละพื้นที่
4.3.3 ตรวจสอบข้อมลและการนำเข้า ก่อนนำเข้าข้อมูลได้ตรวจสอบข้อมูลเพอหาค่าผิดปกติ
ู
ื่
(Outlier) ซึ่งเป็นข้อมูลที่มีคาแยกออกจากกลุ่มหรือผิดแผกแตกต่างไปจากข้อมูลค่าอื่นๆ ซึ่งอาจมีผลทำให้
่
ค่าปริมาณธาตุอาหารในดินที่ประเมินได้สูงกว่า หรือต่ำกว่าที่ควรจะเป็น ค่าเหล่านี้จะถูกตัดออกไปและไม่
ื
นำมาใช้ในการประเมิน เมื่อได้ค่าที่ตรวจสอบแล้วจึงนำเข้าข้อมูลจุดค่าวิเคราะห์ธาตุอาหารพชในดิน คือ
ิ
ค่าปริมาณอนทรียวัตถุในดิน (OM) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P) และปริมาณ
ิ
โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (Available P) ด้วยตำแหน่งจุดพกัดของแต่ละจุดดินที่เก็บตัวอย่าง (ค่า X,
Y) เข้าในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
4.3.4 การประเมินปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน เมื่อได้ข้อมูลจุดค่าวิเคราะห์ดินและนำเข้าสู่ระบบ
่
ิ
สารสนเทศภูมิศาสตร์แล้ว ทำการประเมินค่าปริมาณธาตุอาหารพืชในดิน ได้แก ค่าปริมาณอนทรียวัตถุใน
ดิน (OM) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P) และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
(Available K) โดยการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดังนี้
1) การประมาณค่าในช่วง (Interpolation) รูปแบบ Kriging วิธีการนี้ใช้ในกรณีที่ต้องการ
ทราบความสัมพันธ์ของการกระจายธาตุอาหารในดินหรือทิศทางที่มผลต่อการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล โดย
ี
ส่วนมากมักจะใช้ในทางปฐพวิทยาและธรณีวิทยาโดยการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ โดยเลือกค่า
ี
วิเคราะห์อนทรียวัตถุในดิน (OM) ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P) และโพแทสเซียมที่เป็น
ิ
64
ประโยชน์ (Available K) นำมาทำการประมาณค่าในช่วง ด้วยวิธี Kriging ซึ่งค่าที่ได้จากการประมาณค่า
ธาตุอาหารในดินด้วยวิธีนี้จะอยู่ในรูปข้อมูลแบบราสเตอร์ (Raster)
2) การคำนวณค่าทางสถิติ (Zonal statistics) เป็นวิธีการคำนวณค่าทางสถิติของไฟล์
ี
ประเภทราสเตอร์ (Raster) โดยใช้ dataset อกชุดหนึ่ง ซึ่งเป็นชุดที่มีการแบ่งขอบเขตออกเป็นโซน วิธีนี้
ื่
นำมาใช้เพอหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลการประมาณค่าธาตุอาหารในดินที่อยู่ในรูปข้อมูลแบบราสเตอร์
(Raster) โดยใช้ข้อมูลดินซึ่งเป็นข้อมูลรูปแบบเวกเตอร์ (Vector) มากำหนดขอบเขตโซนที่ต้องการหา
ค่าเฉลี่ยชุดข้อมูลราสเตอร์ จากนั้นทำการสกัดค่าเฉลี่ยที่ได้ออกมาให้อยู่ในฐานข้อมูลเดียวกันกับข้อมูลดิน
ิ
จึงจะสามารถนำข้อมูลนี้ไปจัดระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน ได้แก่ ปริมาณอนทรียวัตถุในดิน (OM)
ื่
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P) และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (Available K) เพอจัดทำ
แผนที่ระดับปริมาณธาตุอาหารพืชในดินต่อไป
3) การเปรียบเทียบข้อมูลระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน โดยนำข้อมูลจุดค่าวิเคราะห์ดิน
จากโครงการบัตรดินดี (กรมพฒนาที่ดิน, 2565) จำนวน 84 จุด ร่วมกับจุดค่าวิเคราะห์ดินโครงการ 84
ั
ั
ตำบลฯ (กรมพฒนาที่ดิน, 2554) จำนวน 30 จุด รวมทั้งหมด 114 จุด ทำการเปรียบเทียบผลค่าระดับ
ปริมาณธาตุอาหารหลักในดินที่ได้จากการการประมาณค่าเชิงพนที่ด้วยวิธี Kriging เพอทดสอบหาความ
ื้
ื่
เชื่อมั่นหรือความถูกต้องของผลการประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินด้วยวิธี Kriging
ุ
ิ
ิ
4.3.5 การประเมนระดับความอดมสมบูรณ์ของดิน พจารณาให้คะแนนตามค่าที่ประเมินได้ทั้ง 5
ค่า ได้แก่ OM, P, K, CEC และ %BS โดยค่า OM, P และ K ได้จากข้อ 4.3.4 สำหรับค่า CEC และ %BS
นั้นได้มาจากค่ากลางประจำชุดดิน โดยนำค่าทั้ง 5 ค่านี้ มาพจารณาให้คะแนน และจัดระดับความอดม
ุ
ิ
สมบูรณ์ของดิน มีด้วยกัน 3 ระดับ คือ ระดับต่ำ ปานกลาง และสูง ตามเกณฑ์การประเมินระดับความ
อุดมสมบูรณ์ของดิน (ณรงค์, 2544) จะได้ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ระดับต่างๆ และสามารถนำข้อมูลนี้ไป
จัดทำแผนที่ระดับความอุดสมสมบูรณ์ของดินต่อไป
4.3.6 การให้คำแนะนำการจัดการดินและปุ๋ยสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ โดยนำข้อมูลที่ได้จาก
้
ข้อ 4.3.3 มาจัดระดับปริมาณธาตุอาหารพชในดิน สำหรับข้าว ออย และมันสำปะหลัง (กรมวิชาการ
ื
เกษตร, 2553) เพอนำมาคำนวณปริมาณการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน รวมทั้งพจารณาแนวทางการ
ิ
ื่
จัดการดินให้เหมาะสมกับการปลูกพืชเศรษฐกิจตามคุณสมบัติของดินที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่
65
4.4 กรอบแนวคิดรวมในการดำเนินงาน
ื
ื่
กรอบแนวคิดรวมของการประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพอประเมินธาตุอาหารพชในดิน
สำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ (ข้าว อ้อย และมันสำปะหลัง) ดำเนินการ ดังนี้
4.4.1 กรอบแนวคิดตามวัตถุประสงค์ที่ 1
เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ด้วยโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์
ิ
(GIS) โดยนำเอาข้อมูลจากจุดค่าวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน คืออนทรียวัตถุในดิน (OM), ปริมาณ
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (P) และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (K) ควบคู่กับตำแหน่งแต่ละจุด
พิกัดที่เก็บตัวอย่างดิน มาเข้าสู่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์โดยใช้วิธีการประมาณค่าในช่วง Interpolation
ิ
methods รูปแบบ Kriging เนื่องจากข้อมูลที่มีนั้นเป็นจุดพกัดข้อมูลซึ่งมีค่า ณ จุดพกัดเท่านั้น ดังนั้น จึง
ิ
ใช้ตำแหน่งที่มีข้อมูลค่าวิเคราะห์ดินนำมาประมาณค่าการเปลี่ยนแปลงค่าจุดข้อมูลจนถึงพนที่ผิวที่มี
ื้
ั
ลักษณะข้อมูลต่อเนื่องกัน เพอให้ทราบถึงความสัมพนธ์ของการกระจายธาตุอาหารในดินระดับต่างๆ กับ
ื่
ทรัพยากรดินจังหวัดหนองบัวลำภูจนได้แผนที่ระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน ซ้อนทับกัน (Overlay)
กับแผนที่ดิน ตามวัตถุประสงค์ที่ 1
4.4.2 กรอบแนวคิดตามวัตถุประสงค์ที่ 2
ื่
เป็นการประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพอนำแผนที่ธาตุอาหารพชในดิน เข้าสู่
ื
กระบวนการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการประเมินพื้นที่ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ทั้ง 5 ปัจจัย คือ
1) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM)
2) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน (available P)
3) ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน (available K)
4) ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC)
5) ร้อยละความอิ่มตัวเบส (%BS)
โดยให้คะแนนแต่ละปัจจัยดังกล่าวตามค่าคะแนนที่กำหนดไว้ของกองสำรวจดิน (2523) แล้ว
ุ
ื่
นำคะแนนที่ได้มารวมกันได้เป็นคะแนนรวมเพอนำมาจัดระดับความอดมสมบูรณ์ของดินตามที่ได้กำหนด
ไว้
ื้
ุ
การศึกษานี้ได้กำหนดระดับความอดมสมบูรณ์ของดินเป็น 3 ระดับ คือ พนที่ความอดม
ุ
สมบูรณ์ของดินต่ำ พนที่ความอดมสมบูรณ์ของดินปานกลาง และพนที่ความอดมสมบูรณ์ของดินสูง ได้
ื้
ุ
ื้
ุ
แผนที่ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน ซ้อนทับกัน (Overlay) กับแผนที่ดิน ตามวัตถุประสงค์ที่ 2
66
4.4.3 กรอบแนวคิดตามวัตถุประสงค์ที่ 3
ื่
เพอให้ได้พนที่ระดับธาตุอาหารพชในดินสำหรับเกษตรกรนำไปใช้ในการใส่ปุ๋ยเคมีอย่าง
ื
ื้
เหมาะสม โดยนำข้อมูลปริมาณธาตุอาหารพชในดิน OM, P และ K ที่ได้จากการประเมินด้วยโปรแกรม
ื
้
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) มาจัดระดับตามความต้องการธาตุอาหารพชในดินสำหรับข้าว ออย และมัน
ื
สำปะหลัง ด้วยการซ้อนทับกัน (Overlay) กับแผนที่ดิน จะได้แผนที่ระดับปริมาณธาตุอาหารในดินตาม
ื
ความต้องการของแต่ละพชในดินแต่ละชนิด ซึ่งสามารถให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน และ
การจัดการดินตามคุณสมบัติของดินให้แก่เกษตรกรต่อไป ตามวัตถุประสงค์ที่ 3
67
ภาพที่ 4-1 กรอบแนวคิดการประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารและความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่อให้คำแนะนำการจัดการ
ดินและปุ๋ยสำหรับพืชเศรษฐกิจ จังหวัดหนองบัวลำภู
บทที่ 5
ผลและวิจารณ์ผลการศึกษา
5.1 ทรัพยากรดินและการประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน
5.1.1 ทรัพยากรดิน
จากการศึกษาข้อมูลการสำรวจและจำแนกดินในจังหวัดหนองบัวลำภู ระดับชุดดิน
มาตราส่วน 1: 25,000 (กลุ่มสำรวจจำแนกดิน, 2558) สามารถจัดกลุ่มดินตามลักษณะสภาพพนที่ที่
ื้
ื้
เป็นพนที่ลุ่มและพนที่ดอน ลักษณะเนื้อดิน ลักษณะเด่นของดิน ข้อจำกัดต่อการทำการเกษตร และ
ื้
การจัดการดิน พบว่าสามารถแบ่งกลุ่มลักษณะเด่นของทรัพยากรดินในจังหวัดหนองบัวลำภู ออกเป็น
3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
1) กลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L) จำนวน 5 กลุ่ม
2) กลุ่มดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD) จำนวน 9 กลุ่ม
3) หน่วยเบ็ดเตล็ด จำนวน 2 หน่วย
1) กลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L)
กลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง (L) มีเนื้อที่ 369,761 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.34
ื้
ื้
ื้
ของเนื้อที่จังหวัด โดยทั่วไปเป็นกลุ่มดินที่พบในบริเวณส่วนต่ำของพนที่เกือบราบ พนที่เกือบราบ
ื้
ตะพกลำน้ำไปจนถึงบริเวณตามร่องระหว่างที่ดอนหรือเนินเขาของจังหวัดหนองบัวลำภู มีความสูงต่ำ
ั
ของพนที่แบบราบเรียบ ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย เป็นดินลึกถึงลึกมาก เกิดจาก
ื้
ตะกอนลำน้ำ ดินมีการระบายน้ำเลวถึงค่อนข้างเลว เสี่ยงต่อการเสียหายจากน้ำท่วมในบางพื้นที่ แต่ก็
มีโอกาสขาดแคลนน้ำในช่วงเพาะปลูก แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม (ตารางที่ 5-1 และภาพที่ 5-1) ดังนี้
1.1) กลุ่มดินเหนียว (L1) เป็นกลุ่มเนื้อดินที่พบมากรองลงมาจากกลุ่มเนื้อดินร่วน
ื้
ละเอยดในพนที่ดินลุ่ม มีเนื้อที่รวม 139,844 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.80 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ชุดดิน
ี
้
ชุมแพ (Cpa) มีเนื้อที่ 85,070 ไร่ และชุดดินนาออ (Nao) มีเนื้อที่ 54,774 ไร่ กระจายตัวอยู่ทั่วทุก
อำเภอในจังหวัดหนองบัวลำภู ส่วนมากพบบริเวณอำเภอศรีบุญเรือง อำเภอเมืองหนองบัวลำภู และ
อำเภอสุวรรณคูหา ตามลำดับ ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นดินเหนียวหรือเหนียวจัด สีดำ สีเทา
ื้
เข้ม หรือสีเทา เป็นดินลึกถึงลึกมาก เกิดจากตะกอนลำน้ำ พบในสภาพพนที่ราบเรียบถึงค่อนข้าง
ราบเรียบ ดินมีการระบายน้ำเลวถึงค่อนข้างเลว เนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวหรือดินเหนียวจัดที่มีความ
ยืดหดตัวสูงทำให้ในฤดูแล้งผิวหน้าดินจะแตกระแหงเป็นร่องกว้างและลึก บางแห่งเป็นกรดจัดมาก
่
และพบศิลาแลงออนหรือก้อนสารเคมีสะสมของพวกเหล็กหรือแมงกานีสปะปนอยู่ด้วย และมักจะมี
น้ำท่วมขังในฤดูฝนพบในพื้นที่ลุ่ม
ตารางที่ 5-1 ตารางชุดดินตามลักษณะเด่นของทรัพยากรดินรายอำเภอในจังหวัดหนองบัวลำภู
อำเภอ ผลรวมเนื้อท ี่
หน่วยดิน คำอธิบาย
นากลาง นาวัง โนนสัง เมือง ศรีบุญเรือง สุวรรณคูหา ไร ่ ร้อยละ
ี่
กลุ่มเนื้อดินในพื้นทลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L) 54,777 19,200 44,660 98,739 80,826 71,559 369,761 15.34
L1 : กลุ่มดินเหนียว 15,130 17,684 9,210 32,088 36,265 29,467 139,844 5.80
Cpa ชุดดินชุมแพ 1,951 - 9,210 32,088 36,240 5,581 85,070 3.53
Nao ชุดดินนาอ้อ 13,179 17,684 - - 25 23,886 54,774 2.27
L2 : กลุ่มดินทรายแป้ง - - - - 11,553 15,887 27,440 1.13
Cpa-fsi ชุมแพที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด - - - - 11,553 15,554 27,107 1.12
Nao-fsi ดินนาอ้อที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด - - - - - 333 333 0.01
L3 : กลุ่มดินร่วนละเอียด 39,647 1,516 25,845 66,334 30,196 26,205 189,743 7.87
AC-pd,fl ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบายเลวและเป็นดินร่วนละเอียด 5,336 1,278 - 716 1,733 1,080 10,143 0.42
Cpa-fl ดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอียด 34,214 238 25,845 53,826 28,463 24,098 166,684 6.91
Lah-fl ดินละหานทรายที่เป็นดินร่วนละเอียด - - - 11,599 - - 11,599 0.48
Nao-fl ดินนาอ้อที่เป็นดินร่วนละเอียด 97 - - - - 1,027 1,124 0.05
Nkg-fl ดินหนองกุงที่เป็นดินร่วนละเอียด - - - 193 - - 193 0.01
L4 : กลุ่มดินร่วนหยาบ - - 1,698 317 1,883 - 3,898 0.17
AC-pd,col ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบายเลวและเป็นดินร่วนหยาบ - - - - 148 - 148 0.01
Lah ชุดดินละหานทราย - - - 221 832 - 1,053 0.05
St ชุดดินสีทน - - 1,698 96 903 - 2,697 0.11
L11 : กลุ่มดินตื้น - - 7,907 - 929 - 8,836 0.37
Smi ชุดดินศรีเมืองใหม่ - - 7,907 - 929 - 8,836 0.37
กลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแหง (UD) 303,344 104,541 185,664 446,779 425,102 227,873 1,693,303 70.19
้
UD1 : กลุ่มดินเหนียว 6,290 20,460 - - 7,365 23,898 58,013 2.40
Bg-mw ดินบ้านจ้องที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง 1,346 63 - - - 8,742 10,151 0.42
Cg ชุดดินเชียงของ 2,400 835 - - 865 15,052 19,152 0.79
Dl ชุดดินดงลาน - 4,626 - - - - 4,626 0.19
Kld ชุดดินกลางดง 1,272 4,770 - - 6,261 - 12,303 0.51
Kld-mw ดินกลางดงที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง - - - - 239 - 239 0.01
Ws-vd ดินวังสะพุงที่เปนดินลึกมาก 1,272 10,166 - - - 104 11,542 0.48 69
็
ตารางที่ 5-1 ตารางชุดดินตามลักษณะเด่นของทรัพยากรดินรายอำเภอในจังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
อำเภอ ผลรวมเนื้อท ี่
หน่วยดิน คำอธิบาย
นากลาง นาวัง โนนสัง เมือง ศรีบุญเรือง สุวรรณคูหา ไร ่ ร้อยละ
UD2 : กลุ่มดินร่วนละเอียด 8,145 - 14,645 38,135 22,540 5,182 88,647 3.68
Kmr-fl ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนละเอียด - - 10,082 2,489 1,210 - 13,781 0.57
Kmr-hb,fl ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนละเอียด 1,714 - 1,071 32,340 19,047 275 54,447 2.26
Pu-fl ดินภูพานที่เป็นดินร่วนละเอียด 5,879 - 3,492 589 - 4,907 14,867 0.62
Pu-mw,fl ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลางและเป็นดินร่วนละเอียด 552 - - 2,717 2,283 - 5,552 0.23
UD3 : กลุ่มดินร่วนหยาบ 126,417 - 130,207 267,772 130,140 16,937 671,473 27.83
Kmr-col ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ 3,040 - 127,713 87,513 98,657 5,238 322,161 13.36
Kmr-hb,col ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ 122,716 - 285 111,704 29,983 6,797 271,485 11.25
Ptc-hb ดินปักธงชัยที่มีความอิ่มตัวเบสสูง - - - 8,054 - - 8,054 0.33
Ptc-mw ดินปักธงชัยที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง - - - 172 - - 172 0.01
Pu ชุดดินภูพาน 310 - 2,209 26,653 560 3,836 33,568 1.39
Pu-mw ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง 351 - - 27,391 940 1,066 29,748 1.23
Pu-RC หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินภูพานกับที่ดินหินพื้นโผล่ - - - 6,285 - - 6,285 0.26
UD4 : กลุ่มดินทราย 5,991 - - 53,016 89,815 5,443 154,265 6.39
Kg ชุดดินคำบง 5,709 - - 14,445 24,339 - 44,493 1.84
็
็
Kg-md,tks ดินคำบงที่เปนดินลึกปานกลางและเปนทรายหนา - - - 779 5,043 - 5,822 0.24
Kg-mw,tks ดินคำบงที่มีการระบายน้ำดีปานกลางและเป็นทรายหนา 282 - - 10,980 4,727 5,443 21,432 0.89
Kg-tks ดินคำบงที่เปนทรายหนา - - - 26,812 55,706 - 82,518 3.42
็
UD5 : กลุ่มดินทรายแป้ง-กลุ่มดินริมแม่น้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด - - - - 6,649 - 6,649 0.27
Chp ชุดดินชุมพลบุรี - - - - 1,471 - 1,471 0.06
Chp-fsi ดินชุมพลบุรีที่เปนดินทรายแป้งละเอียด - - - - 5,178 - 5,178 0.21
็
UD6 : กลุ่มดินตื้น 111,631 61,521 38,825 27,672 52,330 132,324 424,303 17.60
Ch ชุดดินเชียงคาน 49,421 33,363 - - 2,885 5,724 91,393 3.79
Kak ชุดดินแก่งคอย 27,199 7,068 - - 3,335 101,606 139,208 5.77
Li ชุดดินลี้ 997 2,865 - - - 757 4,619 0.19
Ml ชุดดินมวกเหล็ก 6,779 17,045 - - 2,441 - 26,265 1.09
Nbd ชุดดินหนองบัวแดง 18,009 - 36,096 20,242 43,669 21,543 139,559 5.79
Ty ชุดดินท่ายาง 8,841 1,180 - - - 2,694 12,715 0.53 70
Wk-RC หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินวังน้ำเขียวกับที่ดินหินพื้นโผล่ 385 - 2,729 7,430 - - 10,544 0.44
ตารางที่ 5-1 ตารางชุดดินตามลักษณะเด่นของทรัพยากรดินรายอำเภอในจังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
อำเภอ ผลรวมเนื้อท ี่
หน่วยดิน คำอธิบาย
นากลาง นาวัง โนนสัง เมือง ศรีบุญเรือง สุวรรณคูหา ไร ่ ร้อยละ
UD8 : กลุ่มดินลึกปานกลางที่มีชั้นลูกรัง ก้อนกรวด เศษหิน หรือหินผุในช่วงความลึก 50-100 ซม. 24,128 22,546 1,234 12,666 23,404 22,257 106,235 4.40
จากผิวดิน
Cg-md ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปานกลาง 5,482 - - - - 19,501 24,983 1.03
Ly ชุดดินลาดหญ้า 10,168 - - - - 2,515 12,683 0.53
Ly-mw ดินลาดหญ้าที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง 943 - - - - - 943 0.04
Pu-md,fl ดินภูพานที่เป็นดินลึกปานกลางและเป็นดินร่วนละเอียด - - 1,234 7,797 - - 9,031 0.37
Pu-md,fl-Wk หน่วยเชิงซ้อนของดินคล้ายชุดดินภูพานที่เป็นดินลึกปานกลางและเป็นดิน - - - 4,869 - - 4,869 0.20
ร่วนละเอียดและชุดดินวังน้ำเขียว
Ws ชุดดินวังสะพุง 7,535 22,546 - - 23,404 241 53,726 2.23
UD9 : กลุ่มดินที่มีชั้นดานดินเหนียว 16,576 - 753 10,072 60,586 11,369 99,356 4.12
Kmr ชุดดินเขมราฐ 2,591 - 753 1,870 17,966 989 24,169 1.00
Kmr-hb ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 13,985 - - 8,202 42,620 10,380 75,187 3.12
UD10 : กลุ่มดินที่มีการดัดแปลงพื้นที่ทำนา 4,166 14 - 37,446 32,273 10,463 84,362 3.50
Kld-gm ดินกลางดงที่มีจุดประสีเทา - 14 - - 605 - 619 0.03
Nu ชุดดินนาคู 4,166 - - 37,446 31,668 10,463 83,743 3.47
หน่วยเบ็ดเตล็ด 43,163 34,037 155,198 55,829 26,862 33,776 348,865 14.47
SC พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน 42,456 32,931 101,370 54,231 18,882 30,521 280,391 11.63
W พื้นที่น้ำ 707 1,106 53,828 1,598 7,980 3,255 68,474 2.84
รวมเนื้อที่ทั้งหมด 401,284 157,778 385,522 601,347 532,790 333,208 2,411,929 100.00
หมายเหตุ : เนื้อที่ได้จากการคำนวนโดยระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) และทำการถ่วงน้ำหนักกับเนื้อที่จากกรมการปกครอง 3,859.086 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,411,929 ไร ่ 71
ภาพที่ 5-1 แผนที่กลุ่มลักษณะเด่นประจำชุดดิน จังหวัดหนองบัวลำภู 72
73
2) กลุ่มดินทรายแป้ง (L2) มีเนื้อที่รวม 27,440 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.13 ของเนื้อที่จังหวัด
้
พบในดินชุมแพที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด (Cpa-fsi) และดินนาออที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด (Nao-
fsi) มีเนื้อที่ 27,107 และ 333 ไร่ ตามลำดับ กระจายตัวในบริเวณอำเภอสุวรรณคูหา และอำเภอ
ศรีบุญเรือง (ภาพที่ 5-1) ลักษณะโดยทั่วไปเป็นดินร่วนปนทรายแป้งหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง
ื้
ลึกมาก เกิดจากตะกอนลำน้ำ พบบริเวณที่ราบลุ่มตะกอนน้ำพา มีสภาพพนที่ราบเรียบถึงค่อนข้าง
ราบเรียบ ดินมีการระบายน้ำเลวถึงค่อนข้างเลว ความอดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่ำถึง
ุ
ปานกลาง มักจะมีน้ำท่วมขังในฤดูฝน
ื้
3) กลุ่มดินร่วนละเอยด (L3) เป็นกลุ่มเนื้อดินที่พบมากที่สุดในพนที่ลุ่มของจังหวัด
ี
หนองบัวลำภู มีเนื้อที่รวม 189,743 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 7.87 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ดินชุมแพที่เป็น
ี
ดินร่วนละเอยด (Cpa-fl) ดินละหานทรายที่เป็นดินร่วนละเอียด (Lah-fl) ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มี
ี
้
การระบายเลวและเป็นดินร่วนละเอยด (AC-pd,fl) ดินนาออที่เป็นดินร่วนละเอยด (Nao-fl) และดิน
ี
หนองกุงที่เป็นดินร่วนละเอยด (Nkg-fl) มีเนื้อที่ 166,684 11,599 10,143 1,124 และ193 ไร่
ี
ตามลำดับ กระจายตัวอยู่ทั่วทุกอำเภอ โดยส่วนใหญ่เป็นดินร่วนเหนียวปนทรายลึกมาก เกิดจาก
ตะกอนลำน้ำ พบในสภาพพนที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ดินมีการระบายน้ำเลวถึงค่อนข้างเลว
ื้
่
บางพนที่พบศิลาแลงออน หรือก้อนสะสมของเหล็กและแมงกานีสในชั้นดินล่าง ความอดมสมบูรณ์
ื้
ุ
ของดินตามธรรมชาติต่ำ มักจะมีน้ำท่วมขังในฤดูฝน
4) กลุ่มดินร่วนหยาบ (L4) มีเนื้อที่รวม 3,898 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.17 ของเนื้อที่จังหวัด
ได้แก่ ชุดดินสีทน (St) ชุดดินละหานทราย (Lah) และดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบายเลว
และเป็นดินร่วนหยาบ (AC-pd,col) มีเนื้อที่ 2,697 1,053 และ 148 ไร่ ตามลำดับ พบมากใน
บริเวณอำเภอโนนสัง อำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอเมืองหนองบัวลำภู (ภาพที่ 5-1) เป็นดินร่วนปน
ทรายลึกมาก เกิดจากตะกอนลำน้ำ พบในสภาพพนที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ดินมีการระบาย
ื้
ื้
น้ำเลวถึงค่อนข้างเลว บางพนที่มีชั้นดินที่มีลักษณะเป็นชั้นสลับของเนื้อดินที่ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับ
ตะกอนที่มาทับถม อาจพบศิลาแลงออนหรือก้อนสะสมของเหล็กและแมงกานีสในชั้นดินล่าง ความ
่
อุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่ำ มักจะมีน้ำท่วมขังในฤดูฝน
5) กลุ่มดินตื้น (L11) เป็นกลุ่มเนื้อดินที่พบน้อยที่สุดในกลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำ
ขัง มีเนื้อที่รวม 8,836 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.37 ของเนื้อที่จังหวัด ดินที่พบในกลุ่มนี้ คือ ชุดดินศรีเมือง
ใหม่ (St) กระจายตัวอยู่ในอำเภอโนนสัง และอำเภอศรีบุญเรือง เป็นดินตื้นหรือตื้นมาก เกิดจาก
ตะกอนน้ำพาที่ถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมบนชั้นลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหิน ส่วนใหญ่พบในบริเวณ
่
ลานตะพกลำน้ำระดับต่ำ เนื้อดินเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย ดินล่างมักจะพบศิลาแลงออน เนื้อ
ั
74
ดินเป็นดินเหนียวหรือดินร่วนปนดินเหนียวที่มีลูกรังหรือก้อนกรวดปะปนในปริมาณมาก ภายในช่วง
ความลึก 50 ซม.จากผิว
2) กลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD)
กลุ่มเนื้อดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD) เป็นกลุ่มดินที่พบมากที่สุดในจังหวัด
ื้
ั
หนองบัวลำภู มีเนื้อที่รวม 1,693,303 ไร่ คิดเป็นร้อยละ70.19 ของเนื้อที่จังหวัด เกิดจากการผุพง
สลายตัวอยู่กับของหินตะกอนต่างยุค หรือตะกอนเนื้อหยาบ ตะกอนน้ำพา หรือเกิดจากการสลายตัว
ื้
ของหินภูเขาไฟ และหินปูน ส่วนใหญ่พบในสภาพพนที่ค่อนข้างราบเรียบ ลูกคลื่นลอนลาด ไปจนถึง
เนินเขา มีดินแห้งเป็นส่วนใหญ่ในรอบปี หรือดินแห้งรวมกันแล้วมากกว่า 90 วันในรอบปี ส่วนใหญ่
เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้ำดีถึงค่อนข้างมาก ดินบนมีสีดำหรือน้ำตาล ดินล่างมีสีน้ำตาล สีเหลือง
ุ
หรือสีแดงและอาจพบจุดประสีเหลือง สีน้ำตาลหรือสีเทาในดินล่าง โดยธรรมชาติมีความอดมสมบูรณ์
ของดินต่ำถึงปานกลาง บางบริเวณมีการดัดแปลงสภาพพนที่ทำคันนา ในฤดูแล้งมีปัญหาการขาด
ื้
แคลนน้ำ แบ่งออกเป็น 9 กลุ่ม ดังนี้
2.1) กลุ่มดินเหนียว (UD1) มีเนื้อที่รวม 58,013 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.40 ของเนื้อที่
จังหวัด ได้แก่ ชุดดินเชียงของ (Cg) ชุดดินกลางดง (Kld) ดินวังสะพงที่เป็นดินลึกมาก (Ws-vd) ดิน
ุ
บ้านจ้องที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Bg-mw) ชุดดินดงลาน (Dl) และดินกลางดงที่มีการระบายน้ำดี
ปานกลาง (Kld-mw) มีเนื้อที่ 19,152 12,303 11,542 10,151 4,626 และ 239 ไร่ ตามลำดับ
กระจายตัวอยู่ในบริเวณ 4 อำเภอ คือ อำเภอนากลาง อำเภอนาวัง อำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอ
สุวรรณคูหา เป็นดินเหนียวถึงดินเหนียวจัดลึกมาก เกิดจากการสลายตัวผุพงของหินเนื้อละเอยด
ั
ี
ตะกอนน้ำพา หรือเกิดจากการสลายตัวของหินภูเขาไฟ และหินปูน พบในสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอน
ลาดเล็กน้อยถึงเป็นเนินเขา หรือบริเวณพื้นที่ดอนที่อยู่ใกล้กับภูเขาหินปูน หินภูเขาไฟ ดินมีการระบาย
ื้
น้ำดีถึงดีปานกลาง บางพนที่อาจพบผิวหน้าดินแตกระแหงกว้างและลึกในฤดูแล้ง หรือพบชั้นปูนมาร์ล
ในชั้นดินล่างลึกๆ ดินบนมีสีดำหรือสีน้ำตาล ดินล่างมีสีน้ำตาล สีเหลืองหรือสีแดงอาจพบจุดประสีใน
ดินล่าง
ี
2.2) กลุ่มดินร่วนละเอยด (UD2) มีเนื้อที่รวม 88,647 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.68 ของเนื้อที่
จังหวัด ได้แก่ ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนละเอยด (Kmr-hb,fl) ดินภูพานที่เป็น
ี
ิ่
ี
ดินร่วนละเอยด (Pu-fl) ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนละเอยด (Kmr-fl) และดินภูพานที่มีการระบายน้ำดี
ี
ปานกลางและเป็นดินร่วนละเอยด (Pu-mw,fl) มีเนื้อที่ 54,447 14,867 13,781 และ 5,552 ไร่
ี
ตามลำดับ ดินในกลุ่มนี้มีลักษณะเป็นดินร่วนละเอียดลึกมาก เกดจากวัตถุต้นกำเนิดดินพวกตะกอนน้ำ
ิ
พา หรือเกิดจากการสลายตัวของหินเนื้อหยาบ พบในสภาพพนที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็น
ื้
75
เนินเขา มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย ดินบนมีสีน้ำตาล ดินล่าง
มีสีน้ำตาล สีเหลืองหรือสีแดงและอาจพบจุดประสีเหลือง สีน้ำตาลหรือสีเทาในดินล่าง ปฏิกิริยาดิน
เป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ
2.3) กลุ่มดินร่วนหยาบ (UD3) เป็นกลุ่มเนื้อดินที่พบมากที่สุดในจังหวัดหนองบัวลำภู มี
เนื้อที่รวม 671,473 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 27.83 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ
ิ่
(Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) ชุดดินภูพาน (Pu)
ิ่
ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Pu-mw) ดินปักธงชัยที่มีความอมตัวเบสสูง (Ptc-hb) หน่วย
ื้
เชิงซ้อนของชุดดินภูพานกับที่ดินหินพนโผล่ (Pu-RC) และดินปักธงชัยที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง
(Ptc-mw) มีเนื้อที่ 322,161 271,485 33,568 29,748 8,054 6,285 และ172 ไร่ ตามลำดับ
พบกระจายตัวอยู่ทั่วไปหลายอำเภอในจังหวัดหนองบัวลำภู ยกเว้นอำเภอนาวัง ส่วนใหญ่เป็นดินร่วน
หยาบลึกมาก เกิดจากวัตถุต้นกำเนิดดินพวกตะกอนน้ำพา หรือเกิดจากการสลายตัวของหินเนื้อหยาบ
พบในสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็นเนินเขา มีการระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดิน
เป็นดินร่วนปนทราย ดินบนมีสีน้ำตาล ดินล่างมีสีน้ำตาล สีเหลืองหรือสีแดงและอาจพบจุดประสี
เหลือง สีน้ำตาลหรือสีเทาในดินล่าง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย ความอดม
ุ
สมบูรณ์ของดินต่ำ
2.4) กลุ่มดินทราย (UD4) มีเนื้อที่รวม 154,265 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6.39 ของเนื้อที่
จังหวัด ได้แก่ ดินคำบงที่เป็นทรายหนา (Kg-tks) ชุดดินคำบง (Kg) ดินคำบงที่มีการระบายน้ำดีปาน
กลางและเป็นทรายหนา (Kg-mw,tks) และดินคำบงที่เป็นดินลึกปานกลางและเป็นทรายหนา (Kg-
md,tks) มีเนื้อที่ 82,518 44,493 21,432 และ 5,822 ไร่ ตามลำดับ พบกระจายตัวอยู่ในบริเวณ
อำเภอเมืองหนองบัวลำภู อำเภอนากลาง อำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอสุวรรณคูหา เป็นดินทราย
หนาถึงหนาปานกลาง มีดินทรายหนามากกว่า 50-100 ซม. จากผิวดิน เกิดจากการสลายตัวของหิน
ื้
เนื้อหยาบหรือตะกอนน้ำพา พบในสภาพพนที่ค่อนข้าง ราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาด การระบาย
น้ำดีถึงค่อนข้างมากเนื้อดินเป็นดินทรายหรือดินทรายปนดินร่วน ดินมีสีน้ำตาล หรือน้ำตาลออน
่
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ
ั
2.5) กลุ่มดินทรายแป้ง-กลุ่มดินริมแม่น้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพด (UD5) ดินกลุ่มนี้เป็น
กลุ่มดินที่พบน้อยที่สุดในจังหวัดหนองบัวลำภู มีเนื้อที่รวม 6,649 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.27 ของเนื้อที่
จังหวัด ได้แก่ ดินชุมพลบุรีที่เป็นดินทรายแป้งละเอยด (Chp-fsi) และชุดดินชุมพลบุรี (Chp) มีเนื้อที่
ี
5,178 และ 1,471 ไร่ ตามลำดับ พบดินกลุ่มนี้ได้ในบริเวณอำเภอศรีบุญเรืองเท่านั้น เป็นดินร่วนหรือ
ร่วนหยาบลึกมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ำพาบริเวณสันดินริมน้ำ หรือบริเวณตะกอนน้ำพา
76
ั
รูปพด พบในสภาพพนที่ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินมีการระบายน้ำดีถึงดี
ื้
ปานกลาง เนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนทรายแป้ง ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง หรือดินร่วนปนทราย
ี
ละเอยด ที่มีลักษณะการทับถมของตะกอนลำน้ำในแต่ละช่วงเวลา ดินบนสีน้ำตาล ดินล่างมีสีน้ำตาล
สีน้ำตาลปนเหลือง หรือสีน้ำตาลปนแดง อาจพบจุดประสีเหลือง หรือสีน้ำตาล ในบางแห่งอาจพบแร่
ไมกาหรือก้อนปูนปะปนอยู่ในดินล่าง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลาง ความอดมสมบูรณ์ของดินปาน
ุ
กลาง
2.6) กลุ่มดินตื้น (UD6) เป็นกลุ่มเนื้อดินที่พบมากในจังหวัดหนองบัวลำภูรองจากกลุ่มดิน
ร่วนหยาบในพนที่ดอน (UD3) มีเนื้อที่รวม 424,303 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 17.60 ของเนื้อที่จังหวัด
ื้
ได้แก่ ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) ชุดดินแก่งคอย (Kak) ชุดดินเชียงคาน (Ch) ชุดดินมวกเหล็ก (Ml)
ชุดดินท่ายาง (Ty) หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินวังน้ำเขียวกับที่ดินหินพนโผล่ (Wk-RC) และ ชุดดินลี้ (Li)
ื้
มีเนื้อที่ 139,559 139,208 91,393 26,265 12,715 10,544 และ 4,619 ไร่ ตามลำดับ กระจาย
ื้
อยู่ทั่วทุกอำเภอในจังหวัดหนองบัวลำภู เป็นดินตื้นที่พบชั้นลูกรัง ก้อนกรวด เศษหิน หรือหินพน
ภายในความลึก 50 ซม. จากผิวดิน เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือการเคลื่อนย้ายมาทับถมโดย
ื้
ตะกอนน้ำพา หรือเกิดจากการผุพงสลายตัวของหินเนื้อละเอยด สภาพพนที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด
ั
ี
เล็กน้อยถึงเป็นเนินเขา เนื้อดินเป็นดินร่วนหรือดินเหนียวที่มีลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหินปะปนมาก
โดยมีปริมาณมากกว่าร้อยละ 35 โดยปริมาตร บางพนที่อาจมีก้อนกรวด ลูกรัง หรือก้อนหินกระจัด
ื้
กระจายอยู่บนผิวหน้าดินมาก หรือมีหินพนโผล่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปที่บริเวณผิวหน้าดิน หรือมีชั้น
ื้
ดินบนหนาทับอยู่บนชั้นหินพนภายในความลึก 50 ซม. ดินมีการระบายน้ำดี ดินมีสีน้ำตาล หรือ
ื้
น้ำตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ
2.7) กลุ่มดินลึกปานกลางที่มีชั้นลูกรัง ก้อนกรวด เศษหิน หรือหินผุในช่วงความลึก
50-100 ซม.จากผิวดิน (UD8) มีเนื้อที่ 106,235 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.40 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ชุด
ดินวังสะพง (Ws) ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปานกลาง (Cg-md) ชุดดินลาดหญ้า (Ly) ดินภูพานที่เป็น
ุ
ี
ดินลึกปานกลางและเป็นดินร่วนละเอยด (Pu-md,fl) หน่วยเชิงซ้อนของดินภูพานที่เป็นดินลึกปาน
กลางและเป็นดินร่วนละเอยดและชุดดินวังน้ำเขียว (Pu-md,fl-Wk) และดินลาดหญ้าที่มีการระบาย
ี
น้ำดีปานกลาง (Ly-mw) มีเนื้อที่ 53,726 24,983 12,683 9,031 4,869 และ 943 ไร่ ตามลำดับ
กระจายตัวทั่วทุกอำเภอในจังหวัดหนองบัวลำภู ส่วนมากเป็นดินลึกปานกลางที่มีชั้นลูกรัง ก้อนกรวด
หรือเศษหิน ที่เกิดจากการสลายตัวอยู่กับที่หรือมีการเคลื่อนย้ายมาทับถมบนชั้นหินหรือลูกรังปะปน
อยู่ในดินมากกว่าร้อยละ 35 โดยปริมาตร ในช่วงความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน พบในสภาพพนที่
ื้
ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนชัน ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย หรือทรายปนดินร่วนสีน้ำตาล
ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินเหนียวปนกรวด เศษหิน หรือลูกรัง บางพนที่พบจุดประสีแดง
ื้
77
ุ
่
และมีศิลาแลงออนปะปนอยู่การระบายน้ำดีความอดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่ำ ปฏิกิริยาดิน
เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย
2.8) กลุ่มดินที่มีชั้นดานดินเหนียว (UD9) มีเนื้อที่รวม 99,356 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.12
ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง (Kmr-hb) และชุดดินเขมราฐ (Kmr) มีเนื้อท ี่
75,187 และ 24,169 ไร่ ตามลำดับ พบการกระจายตัวของดินกลุ่มนี้อยู่ทั่วจังหวัดหนองบัวลำภู
ยกเว้นอำเภอนาวัง เป็นกลุ่มดินปนทรายทับอยู่บนชั้นดินเหนียว เป็นดินลึกมาก เกิดจากการสลายตัว
อยู่กับที่ หรือการเคลื่อนย้ายมาทับถมโดยตะกอนน้ำพา มีสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอน
ลาด การระบายน้ำดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเป็นดินทรายหรือดินร่วนปนทรายทับอยู่บนดินเหนียว
ภายในความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน สีดินเป็นสีน้ำตาล หรือสีเหลืองปนน้ำตาล อาจมีจุดประสี
ุ
เหลืองหรือสีเทาในชั้นดินล่าง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง ความอดมสมบูรณ์ของดิน
ต่ำ
2.9) กลุ่มดินที่มีการดัดแปลงพนที่ทำนา (UD10) มีเนื้อที่รวม 84,362 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
ื้
3.50 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ชุดดินนาคู (Nu) และดินกลางดงที่มีจุดประสีเทา (Kld-gm) มีเนื้อที่
83,743 และ 619 ไร่ กระจายตัวบริเวณอำเภอนากลาง อำเภอเมืองหนองบัวลำภู อำเภอศรีบุญเรือง
ื้
และอำเภอสุวรรณคูหา เป็นกลุ่มดินในพนที่ดอนที่มีการดัดแปลงพนที่ทำคันดิน เพอใช้ประโยชน์ใน
ื้
ื่
การปลูกขาว มีการระบายน้ำค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง
้
3) หน่วยเบ็ดเตล็ด ได้แก่ พนที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC) มีเนื้อที่ 280,391 ไร่ และพนที่น้ำ
ื้
ื้
(W) มีเนื้อที่ 68,474 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.63 และ 2.84 ตามลำดับ
78
5.1.2 การประเมินปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน
ิ
การประมินค่าปริมาณธาตุอาหารในดิน ได้แก่ ปริมาณอนทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็น
ประโยชน์ และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ เป็นการนำข้อมูลจุดค่าวิเคราะห์ดินโครงการหนึ่งหมู่บ้าน
ั
หนึ่งจุดเก็บตัวอย่างดินของจังหวัดหนองบัวลำภู (กรมพฒนาที่ดิน, 2552) ข้อมูลค่ากลางคุณสมบัติ
ของชุดดิน ข้อมูลชุดดิน และขอบเขตการปกครอง นำมาวิเคราะห์ร่วมกับการประยุกต์ใช้ระบบ
ื้
สารสนเทศภูมิศาสตร์โดยวิธีการประมาณค่าในช่วงรูปแบบ Kriging มาทำการประเมินค่าเชิงพนที่ ทำ
ื้
ให้สามารถทราบปริมาณธาตุอาหารพชในดินได้ครอบคลุมพนที่ทั้งจังหวัดหนองบัวลำภู และนำข้อมูล
ื
ิ
ที่ได้จากการประมาณค่านี้ไปจัดระดับปริมาณอนทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และ
โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ ตามเกณฑ์การจัดระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน (ณรงค์, 2544) ดังนี้
1) ระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
ิ
จังหวัดหนองบัวลำภูมีปริมาณอนทรียวัตถุในดินตั้งแต่ระดับต่ำถึงระดับปานกลาง พบดิน
ิ
ิ
ที่มีปริมาณอนทรียวัตถุในดินระดับต่ำ หรือปริมาณอนทรียวัตถุในดินน้อยกว่า 1.5 เปอร์เซ็นต์ มากที่สุด
มีเนื้อที่ 1,636,039 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 67.83 ของเนื้อที่จังหวัด แบ่งเป็นกลุ่มดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขต
ดินแห้ง (UD) มีเนื้อที่ 1,336,020 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 55.39 ของเนื้อที่จังหวัด และกลุ่มดินในพนที่ลุ่ม
ื้
หรือพนที่น้ำขัง (L) มีเนื้อที่ 300,019 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 12.44 ของเนื้อที่จังหวัด มีการกระจายตัวของ
ื้
ดินทั่วทุกอำเภอตั้งแต่ตอนกลางไปจนถึงตอนล่างของจังหวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณอำเภอเมือง
หนองบัวลำภู อำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอโนนสัง นอกจากนี้ ทรัพยากรดินที่มีปริมาณอนทรียวัตถุใน
ิ
ื้
ิ
ดินระดับปานกลาง หรือมีปริมาณอนทรียวัตถุในดินระหว่าง 1.5-3.5 เปอร์เซ็นต์ ครอบคลุมพนที่รวม
427,025 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 17.69 ของเนื้อที่จังหวัด สามารถพบได้ทั้งกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดิน
ื้
ื้
ื้
แห้ง (UD) และกลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง (L) มีเนื้อที่ 357,283 และ 69,742 ไร่ หรือคิดเป็นร้อย
ละ 14.80 และ 2.89 ของเนื้อที่จังหวัด ตามลำดับ การกระจายตัวของทรัพยากรดินส่วนใหญ่อยู่บริเวณ
อำเภอสุวรรณคูหา อำเภอนาวัง และตอนบนของอำเภอนากลาง (ตารางที่ 5-2 และภาพที่ 5-2)
จากตารางที่ 5-2 และ ภาพที่ 5-3 ปริมาณอนทรียวัตถุในดินระดับต่ำที่พบในกลุ่มดินใน
ิ
พื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD) มีพนที่มากที่สุดอยู่ในกลุ่มดินพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดิน
ื้
ร่วนหยาบ (UD3) มีเนื้อที่รวม 665,322 ไร่ (ร้อยละ 27.57) ได้แก่ ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ
(Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภูพาน
ิ่
(Pu) มีเนื้อที่ 318,207 270,028 และ 32,828 ไร่ ตามลำดับ รองลงมาคือ กลุ่มดินพนที่ดอนที่อยู่ใน
ื้
เขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มีเนื้อที่รวม 209,229 ไร่ (ร้อยละ 8.69) ได้แก่ ชุดดินหนองบัวแดง
ื้
(Nbd) ชุดดินเชียงคาน (Ch) และหน่วยเชิงซ้อนของชุดดินวังน้ำเขียวกับที่ดินหินพนโผล่ (Wk-RC) มี
เนื้อที่ 130,882 53,296 และ10,544 ไร่ ตามลำดับ สำหรับปริมาณอินทรียวัตถุในดินระดับต่ำที่พบ
ื้
ื้
ในกลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง (L) นั้น ส่วนใหญ่พบในกลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขังที่เป็น
ื้
ื้
ี
ดินร่วนละเอยด (L3) มีเนื้อที่รวม 171,009 ไร่ (ร้อยละ 7.09) ได้แก่ ดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอยด
ี
79
ี
(Cpa-fl) ดินละหานทรายที่เป็นดินร่วนละเอยด (Lah-fl) และดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบาย
เลวและเป็นดินร่วนละเอียด (AC-pd,fl ) มีเนื้อที่ 153,258 11,599 และ 5,959 ไร่ ตามลำดับ
สำหรับทรัพยากรดินที่มีปริมาณอนทรียวัตถุในดินระดับปานกลางนั้น พบมากที่สุดใน
ิ
กลุ่มดินพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มีเนื้อที่รวม 215,074 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 8.91
ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก ชุดดินแก่งคอย (Kak) ชุดดินเชียงคาน (Ch) และ ชุดดินมวกเหล็ก (Ml) มีเนื้อ
่
ที่ 135,649 38,097 และ 24,089 ไร่ ตามลำดับ รองลงมาคือ กลุ่มดินลึกปานกลางที่มีชั้นลูกรัง ก้อน
กรวด เศษหิน หรือหินผุในช่วงความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน (UD8) มีเนื้อที่รวม 69,585 ไร่ (ร้อย
ละ 2.88) ได้แก่ ชุดดินวังสะพง (Ws) ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปานกลาง (Cg-md) และชุดดินลาด
ุ
หญ้า (Ly) มีเนื้อที่ 40,826 24,038 และ 3,778 ไร่ ตามลำดับ และกลุ่มเนื้อดินพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขต
่
ดินแห้งที่เป็นดินเหนียว (UD1) มีเนื้อที่รวม 53,462 ไร่ (ร้อยละ 2.22) ได้แก ชุดดินเชียงของ (Cg) ดิน
วังสะพงที่เป็นดินลึกมาก (Ws-vd) และดินบ้านจ้องที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Bg-mw) มีเนื้อที่
ุ
17,600 10,758 และ 10,151 ไร่ ตามลำดับ
ิ
จะเห็นได้ว่า ปริมาณอนทรียวัตถุในดินระดับต่ำพบมากตั้งแต่ตอนกลางไปจนถึง
ตอนล่างของจังหวัดนั้น ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเนื้อดินร่วนหยาบ พบมากในดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ
ิ่
(Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภูพาน
(Pu) เมื่อพจารณาคุณสมบัติของดินเหล่านี้ โดยทั่วไปเป็นดินร่วนเนื้อหยาบลึกมาก เกิดจากวัตถุต้น
ิ
กำเนิดดินพวกตะกอนน้ำพา หรือเกิดจากการสลายตัวของหินเนื้อหยาบ และมีปริมาณอินทรียวัตถุใน
ิ
ดินต่ำโดยธรรมชาติ ในขณะที่ปริมาณอนทรียวัตถุในดินระดับปานกลางส่วนมากพบบริเวณตอนบน
ของจังหวัด พบมากในชุดดินแก่งคอย (Kak) ชุดดินเชียงคาน (Ch) และชุดดินมวกเหล็ก (Ml)
ั
โดยทั่วไปเกิดจากการสลายตัวผุพงอยู่กับที่หรือการเคลื่อนย้ายมาทับถมโดยตะกอนน้ำพา หรือเกิด
ั
จากการผุพงสลายตัวของหินเนื้อละเอยด เนื้อดินเป็นดินร่วนหรือดินเหนียวที่มีลูกรัง ก้อนกรวด หรือ
ี
ิ
เศษหินปะปน จึงทำให้ดินบริเวณนี้มีปริมาณอนทรียวัตถุในดินมากกว่า ซึ่งสอดคล้องกับ กองสำรวจ
ดินและวิจัยทรัพยากรดิน (2561) ได้อธิบายว่า ทรัพยากรดินโดยทั่วไปในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เกิดจากวัตถุต้นกำเนิดดินจากหินกลุ่มที่ให้ดินทรายหรือตะกอนเนื้อหยาบ วัตถุต้นกำเนิดดินเหล่านี้มี
ื
ธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชต่ำโดยธรรมชาติ เมื่อทำการเพาะปลูกพชมักให้ผลผลิตต่ำเนื่องจากมี
ิ
ปริมาณอนทรียวัตถุในดินต่ำ อกทง ยังส่งผลต่อเนื่องกบโครงสร้างของดิน ความสามารถในการดูดยึด
ี
ั้
ั
ธาตุอาหารในดิน และการสูญเสียธาตุอาหารในดินโดยการชะพาลงไปโดยน้ำอกด้วย นอกจากนี้ เมื่อ
ี
พิจารณาปริมาณอินทรียวัตถุในดินของจังหวัดหนองบัวลำภูมีปริมาณตั้งแต่ระดับต่ำถึงปานกลาง หรือ
ิ
มีปริมาณอนทรียวัตถุในดินไม่เกิน 3.5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ จีราภรณ์ อินทสาร
(2563) ได้อธิบายว่า ดินสำหรับใช้ในการเกษตรทั่วไปจะมีปริมาณอนทรียวัตถุในดินระหว่าง 1-3
ิ
ี
ิ
ิ
เปอร์เซ็นต์ มีดินเพยงไม่กี่ชนิดที่มีปริมาณอนทรียวัตถุสูง เมื่ออนทรียวัตถุสลายตัวจะให้สารประกอบ
80
ิ
ไนโตรเจน ประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นอนทรียวัตถุ 1-3 เปอร์เซ็นต์ จึงให้ธาตุไนโตรเจนน้อยมาก
ซึ่งไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช
ิ
ดังนั้น ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณอนทรียวัตถุในดินนอกจากวัตถุต้นกำเนิดดินที่เป็น
ตัวกำหนดลักษณะเนื้อดิน โครงสร้างดิน และคุณสมบัติอนๆของดินแล้ว ส่วนหนึ่งยังเกิดจาก
ื่
ิ
ภูมิอากาศของประเทศที่อยู่ในเขตร้อนและอทธิพลลมมรสุม ซึ่งส่งผลให้อตราการย่อยสลาย
ั
ื
อินทรียวัตถุในดินเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ตลอดจนการปลูกพชติดต่อกันเป็นระยะเวลานานโดยขาดการ
ิ
ปรับปรุง บำรุงดิน และการอนุรักษ์ดินที่ถูกต้อง รวมถึงไม่มีการเพมอนทรียวัตถุให้กับดินทดแทน
ิ่
อนทรียวัตถุที่สูญเสียไปนั้น อาจเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่ปัญหาดินเสื่อมโทรม ดินขาดธาตุอาหาร
ิ
และให้ผลผลิตลดลงในที่สุด ถึงแม้ว่าดินนั้นจะเป็นดินที่มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินมากอยู่แล้วก็ตาม
81
ตารางที่ 5-2 แสดงระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดินจังหวัดหนองบัวลำภู
ระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ผลรวมเนื้อที่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ ไร่ ร้อยละ
กลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L) 300,019 12.44 69,742 2.89 369,761 15.34
L1 : กลุ่มดินเหนียว 93,039 3.86 46,805 1.94 139,844 5.80
Cpa ชุดดินชุมแพ 80,058 3.32 5,012 0.21 85,070 3.53
Nao ชุดดินนาอ้อ 12,981 0.54 41,793 1.73 54,774 2.27
L2 : กลุ่มดินทรายแป้ง 23,237 0.96 4,203 0.17 27,440 1.13
Cpa-fsi ดินชุมแพที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด 23,237 0.96 3,870 0.16 27,107 1.12
Nao-fsi ดินนาอ้อที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด - - 333 0.01 333 0.01
L3 : กลุ่มดินร่วนละเอียด 171,009 7.09 18,734 0.78 189,743 7.87
AC-pd,fl ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการ 5,959 0.25 4,184 0.17 10,143 0.42
ระบายเลวและเป็นดินร่วนละเอียด
Cpa-fl ดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอียด 153,258 6.35 13,426 0.56 166,684 6.91
Lah-fl ดินละหานทรายที่เป็นดินร่วนละเอียด 11,599 0.48 - - 11,599 0.48
Nao-fl ดินนาอ้อที่เป็นดินร่วนละเอียด - 1,124 0.05 1,124 0.05
Nkg-fl ดินหนองกุงที่เป็นดินร่วนละเอียด 193 0.01 - - 193 0.01
L4 : กลุ่มดินร่วนหยาบ 3,898 0.17 - - 3,898 0.17
AC-pd,col ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการ 148 0.01 - - 148 0.01
ระบายเลวและเป็นดินร่วนหยาบ
Lah ชุดดินละหานทราย 1,053 0.05 - - 1,053 0.05
St ชุดดินสีทน 2,697 0.11 - - 2,697 0.11
L11 : กลุ่มดินตื้น 8,836 0.37 - - 8,836 0.37
Smi ชุดดินศรีเมืองใหม่ 8,836 0.37 - - 8,836 0.37
กลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD) 1,336,020 55.39 357,283 14.80 1,693,303 70.19
UD1 : กลุ่มดินเหนียว 4,551 0.18 53,462 2.22 58,013 2.40
Bg-mw ดินบ้านจ้องที่มีการระบายน้ำดีปาน - - 10,151 0.42 10,151 0.42
กลาง
Cg ชุดดินเชียงของ 1,552 0.06 17,600 0.73 19,152 0.79
Dl ชุดดินดงลาน - - 4,626 0.19 4,626 0.19
Kld ชุดดินกลางดง 2,215 0.09 10,088 0.42 12,303 0.51
Kld-mw ดินกลางดงที่มีการระบายน้ำดีปาน - - 239 0.01 239 0.01
กลาง
Ws-vd ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึกมาก 784 0.03 10,758 0.45 11,542 0.48
UD2 : กลุ่มดินร่วนละเอียด 85,472 3.55 3,175 0.13 88,647 3.68
Kmr-fl ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนละเอียด 13,237 0.55 544 0.02 13,781 0.57
Kmr-hb,fl ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูงและ 54,447 2.26 - - 54,447 2.26
เป็นดินร่วนละเอียด
Pu-fl ดินภูพานที่เป็นดินร่วนละเอียด 12,236 0.51 2,631 0.11 14,867 0.62
Pu-mw,fl ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง 5,552 0.23 - - 5,552 0.23
และเป็นดินร่วนละเอียด
82
ตารางที่ 5-2 แสดงระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดินจังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ผลรวมเนื้อที่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ ไร่ ร้อยละ
UD3 : กลุ่มดินร่วนหยาบ 665,322 27.57 6,151 0.26 671,473 27.83
Kmr-col ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ 318,207 13.19 3,954 0.17 322,161 13.36
Kmr-hb,col ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 270,028 11.19 1,457 0.06 271,485 11.25
และเป็นดินร่วนหยาบ
Ptc-hb ดินปักธงชัยที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 8,054 0.33 - - 8,054 0.33
Ptc-mw ดินปักธงชัยที่มีการระบายน้ำดี 172 0.01 - - 172 0.01
ปานกลาง
Pu ชุดดินภูพาน 32,828 1.36 740 0.03 33,568 1.39
Pu-mw ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปาน 29,748 1.23 - - 29,748 1.23
กลาง
Pu-RC หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินภูพาน 6,285 0.26 - - 6,285 0.26
กับที่ดินหินพื้นโผล่
UD4 : กลุ่มดินทราย 153,521 6.36 744 0.03 154,265 6.39
Kg ชุดดินคำบง 44,493 1.84 - - 44,493 1.84
Kg-md,tks ดินคำบงที่เป็นดินลึกปานกลาง 5,822 0.24 - - 5,822 0.24
และเป็นทรายหนา
Kg-mw,tks ดินคำบงที่มีการระบายน้ำดีปาน 20,688 0.86 744 0.03 21,432 0.89
กลางและเป็นทรายหนา
Kg-tks ดินคำบงที่เป็นทรายหนา 82,518 3.42 - - 82,518 3.42
UD5 : กลุ่มดินทรายแป้ง-กลุ่มดินริมแม่น้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัด 6,649 0.27 - - 6,649 0.27
Chp ชุดดินชุมพลบุรี 1,471 0.06 - - 1,471 0.06
Chp-fsi ดินชุมพลบุรีที่เป็นดินทรายแป้ง 5,178 0.21 - - 5,178 0.21
ละเอียด
UD6 : กลุ่มดินตื้น 209,229 8.69 215,074 8.91 424,303 17.60
Ch ชุดดินเชียงคาน 53,296 2.21 38,097 1.58 91,393 3.79
Kak ชุดดินแก่งคอย 3,559 0.15 135,649 5.62 139,208 5.77
Li ชุดดินล ี้ - - 4,619 0.19 4,619 0.19
Ml ชุดดินมวกเหล็ก 2,176 0.09 24,089 1.00 26,265 1.09
Nbd ชุดดินหนองบัวแดง 130,882 5.43 8,677 0.36 139,559 5.79
Ty ชุดดินท่ายาง 8,772 0.37 3,943 0.16 12,715 0.53
Wk-RC หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินวังน้ำ 10,544 0.44 - - 10,544 0.44
เขียวกับที่ดินหินพื้นโผล่
ั
UD8 : กลุ่มดินลึกปานกลางมีชั้นลูกรง ก้อนกรวด เศษหน หรือ 36,650 1.52 69,585 2.88 106,235 4.40
ิ
ุ
่
หินผในชวงความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน
Cg-md ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปาน 945 0.04 24,038 0.99 24,983 1.03
กลาง
Ly ชุดดินลาดหญ้า 8,905 0.37 3,778 0.16 12,683 0.53
Ly-mw ดินลาดหญ้าที่มีการระบายน้ำดี - - 943 0.04 943 0.04
ปานกลาง
83
ตารางที่ 5-2 แสดงระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดินจังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ผลรวมเนื้อที่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ ไร่ ร้อยละ
Pu-md,fl ดินภูพานที่เป็นดินลึกปานกลาง 9,031 0.37 - - 9,031 0.37
และเป็นดินร่วนละเอียด
Pu-md,fl-Wk หน่วยเชิงซ้อนของดินคล้ายชุดดิน 4,869 0.20 - - 4,869 0.20
ภูพานที่เป็นดินลึกปานกลางและ
เป็นดินร่วนละเอียดและชุดดินวัง
น้ำเขียว
Ws ชุดดินวังสะพุง 12,900 0.54 40,826 1.69 53,726 2.23
UD9 : กลุ่มดินซ้อน (กลุ่มดินที่มีชั้นดานดินเหนียว) 95,325 3.96 4,031 0.16 99,356 4.12
Kmr ชุดดินเขมราฐ 23,180 0.96 989 0.04 24,169 1.00
Kmr-hb ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 72,145 3.00 3,042 0.12 75,187 3.12
UD10 : กลุ่มดินที่มีการดัดแปลงพื้นที่ทำนา 79,301 3.29 5,061 0.21 84,362 3.50
Kld-gm ดินกลางดงที่มีจุดประสีเทา 167 0.01 452 0.02 619 0.03
Nu ชุดดินนาคู 79,134 3.28 4,609 0.19 83,743 3.47
หน่วยเบ็ดเตล็ด 1,636,039 67.83 427,025 17.70 348,865 14.47
SC พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน 280,391 11.63
W พื้นที่น้ำ 68,474 2.84
รวมเนื้อที่ทั้งหมด 2,411,929 100.00
หมายเหตุ : เนื้อที่ได้จากการคำนวนโดยระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) และทำการถ่วงน้ำหนักกับเนื้อที่จากกรมการปกครอง 3,859.086
ตารางกิโลเมตร หรือ 2,411,929 ไร ่
84
ภาพที่ 5-2 แผนที่ระดับปริมาณอินทรียวัตถุ จังหวัดหนองบัวลำภู
85
ภาพที่ 5-3 แผนที่ระดับปริมาณอนทรียวัตถุในดินและทรัพยากรดิน จังหวัดหนองบัวลำภู
ิ
86
2) ระดับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน
การประเมินปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน โดยใช้วิธีการประมาณค่าในช่วง
รูปแบบ Kriging มาทำการประเมินค่าเชิงพื้นที่ซึ่งได้จากการนำค่าวิเคราะห์ดินมาใช้ในการประมาณคา
่
ร่วมกับการจัดระดับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินตามเกณฑ์การจัดระดับความอดม
ุ
สมบูรณ์ของดิน (ณรงค์, 2544) พบว่า จังหวัดหนองบัวลำภูมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน
อยู่ในระดับต่ำถึงระดับปานกลาง โดยพบปริมาณฟอสฟอรัสอยู่ในระดับต่ำมากที่สุด มีเนื้อที่รวม
ื้
2,013,367 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 83.47 ของเนื้อที่จังหวัด โดยพบในกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดิน
แห้ง (UD) มีเนื้อที่ 1,650,580 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 68.42 ของเนื้อที่จังหวัด และกลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือ
พนที่น้ำขัง (L) มีเนื้อที่ 362,787 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.05 ของเนื้อที่จังหวัด สำหรับปริมาณ
ื้
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินระดับปานกลาง มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินระหว่าง
10-25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม พบได้น้อยมากมีเนื้อที่เพยง 49,697 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.06 ของเนื้อที่
ี
ื้
จังหวัด ส่วนใหญ่พบในกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD) มีเนื้อที่ 42,723 ไร่ คิดเป็นร้อย
ื้
ละ 1.77 ของเนื้อที่จังหวัด และกลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง (L) มีเนื้อที่ 6,974 ไร่ คิดเป็นร้อย
ื้
ละ 0.29 ของเนื้อที่จังหวัด มีการกระจายตัวของทรัพยากรดินในบริเวณตอนกลางของอำเภอศรีบุญ
เรือง และพบเล็กน้อยบริเวณรอยต่อระหว่างอำเภอศรีบุญเรืองกับอำเภอนาวัง (ตารางที่ 5-3 และภาพ
ที่ 5-4)
จากตารางที่ 5-3 และภาพที่ 5-5 แสดงให้เห็นว่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ใน
ดินระดับต่ำ หรือมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินน้อยกว่า 10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม พบใน
จังหวัดหนองบัวลำภูครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่มากทสุด กระจายตัวอยู่ทั่วทุกอำเภอของจังหวัด ยกเว้น
ี่
บริเวณตอนกลางของอำเภอศรีบุญเรือง พบมากที่สุดในกลุ่มดินพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดิน
ื้
ร่วนหยาบ (UD3) มีเนื้อที่รวม 671,473 ไร่ (ร้อยละ 27.83) ส่วนใหญ่พบในดินเขมราฐที่เป็นดินร่วน
ิ่
หยาบ (Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภู
พาน (Pu) มีเนื้อที่ 322,161 271,485 และ 33,568 ไร่ ตามลำดับ รองลงมาคือ กลุ่มดินในพนที่ดอน
ื้
ที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มีเนื้อที่รวม 424,303 ไร่ (ร้อยละ 17.60) ส่วนใหญ่พบในชุด
ดินหนองบัวแดง (Nbd) ชุดดินแก่งคอย (Kak) และชุดดินเชียงคาน (Ch) มีเนื้อที่ 139,559 139,208
และ 91,393 ไร่ ตามลำดับ และกลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขังที่เป็นดินร่วนละเอยด (L3) มีเนื้อที่
ื้
ื้
ี
ี
รวม 182,769 ไร่ (ร้อยละ 7.58) พบมากในดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอยด (Cpa-fl) ดินละหานทราย
ที่เป็นดินร่วนละเอยด (Lah-fl) และดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ำเลวและเป็นดินร่วน
ี
ละเอียด (AC-pd,fl) มีเนื้อที่ 159,710 11,599 และ 10,143 ไร่ ตามลำดับ
87
ตารางที่ 5-3 แสดงระดับปริมาณฟอสฟอรัสในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน จังหวัดหนองบัวลำภู
ระดับปริมาณฟอสฟอรัสในดิน ผลรวมเนื้อที่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ ไร่ ร้อยละ
กลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L) 362,787 15.05 6,974 0.29 369,761 15.34
L1 : กลุ่มดินเหนยว 139,844 5.80 - - 139,844 5.80
ี
Cpa ชุดดินชุมแพ 85,070 3.53 - - 85,070 3.53
Nao ชุดดินนาอ้อ 54,774 2.27 - - 54,774 2.27
L2 : กลุ่มดินทรายแป้ง 27,440 1.13 - - 27,440 1.13
Cpa-fsi ดินชุมแพที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด 27,107 1.12 - - 27,107 1.12
Nao-fsi ดินนาอ้อที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด 333 0.01 - - 333 0.01
L3 : กลุ่มดินร่วนละเอียด 182,769 7.58 6,974 0.29 189,743 7.87
AC-pd,fl ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบาย 10,143 0.42 - - 10,143 0.42
เลวและเป็นดินร่วนละเอียด
Cpa-fl ดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอียด 159,710 6.62 6,974 0.29 166,684 6.91
Lah-fl ดินละหานทรายที่เป็นดินร่วนละเอียด 11,599 0.48 - - 11,599 0.48
Nao-fl ดินนาอ้อที่เป็นดินร่วนละเอียด 1,124 0.05 - - 1,124 0.05
Nkg-fl ดินหนองกุงที่เป็นดินร่วนละเอียด 193 0.01 - - 193 0.01
L4 : กลุ่มดินร่วนหยาบ 3,898 0.17 - - 3,898 0.17
AC-pd,col ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบาย 148 0.01 - - 148 0.01
เลวและเป็นดินร่วนหยาบ
Lah ชุดดินละหานทราย 1,053 0.05 - - 1,053 0.05
St ชุดดินสีทน 2,697 0.11 - - 2,697 0.11
L11 : กลุ่มดินตื้น 8,836 0.37 - - 8,836 0.37
Smi ชุดดินศรีเมืองใหม่ 8,836 0.37 - - 8,836 0.37
กลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD) 1,650,580 68.42 42,723 1.77 1,693,303 70.19
UD1 : กลุ่มดินเหนียว 58,013 2.40 - 58,013 2.40
Bg-mw ดินบ้านจ้องที่มีการระบายน้ำดีปาน 10,151 0.42 - - 10,151 0.42
กลาง
Cg ชุดดินเชียงของ 19,152 0.79 - - 19,152 0.79
Dl ชุดดินดงลาน 4,626 0.19 - - 4,626 0.19
Kld ชุดดินกลางดง 12,303 0.51 - - 12,303 0.51
Kld-mw ดินกลางดงที่มีการระบายน้ำดีปาน 239 0.01 - - 239 0.01
กลาง
Ws-vd ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึกมาก 11,542 0.48 - - 11,542 0.48
UD2 : กลุ่มดินร่วนละเอียด 88,647 3.68 - 88,647 3.68
Kmr-fl ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนละเอียด 13,781 0.57 - - 13,781 0.57
Kmr-hb,fl ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูงและ 54,447 2.26 - - 54,447 2.26
เป็นดินร่วนละเอียด
Pu-fl ดินภูพานที่เป็นดินร่วนละเอียด 14,867 0.62 - - 14,867 0.62
Pu-mw,fl ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง 5,552 0.23 - - 5,552 0.23
และเป็นดินร่วนละเอียด