The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ldd0822.05, 2022-09-05 02:53:50

เอกสารวิชาการ_สุธินี_1กย65

138



กก./ไร่ เมล็ดถั่วพุ่มอัตรา 6-8 กก./ไร่ หรือปอเทืองอัตรา 4-6 กก./ไร่ ไถกลบระยะออกดอก ปล่อยไว้
1-2 สัปดาห์ ก่อนปลูกพืชไร่ หรือพืชผัก


ื้
ควรจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมตามสภาพพนที่ เช่น ไถพรวนและปลูกพช





ตามแนวระดับ หรือโดยวิธีพช เช่น ปลูกพชปุ๋ยสด วัสดุคลุมดิน ปลูกพชหมุนเวียน ปลูกพชสลับเป็น
แถบ ปลูกแนวรั้ว หญ้าแฝก หรือโดยวิธีกลร่วมกับวิธีพืช จัดระบบการชลประทานและระบบการให้น้ำ
ในพื้นที่ปลูก
7) กลุ่มดินร่วนละเอยดพบในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง (UD2) ได้แก่ ดินเขมราฐที่เป็นดิน



ร่วนละเอยด (Kmr-fl) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนละเอยด (Kmr-hb,fl) ดินภู
ิ่
พานที่เป็นดินร่วนละเอียด (Pu-fl) และดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลางและเป็นดินร่วนละเอียด
(Pu-mw,fl) ส่วนมากเนื้อดินเป็นดินปนทราย มีความพรุนมาก มีความสามารถในการเก็บกักน้ำ และ
ดูดซับธาตุอาหารได้น้อย พืชเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำได้ง่าย ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ ในพื้นที่ที่มี

ความลาดชันดินมีความเสี่ยงต่อการเกิดการชะล้างพังทลาย สูญเสียหน้าดินได้ง่าย

ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับปลูกพชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น และพฒนาเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยง



สัตว์หรือปลูกไม้โตเร็ว มีข้อจำกัดบ้างเล็กน้อย เนื่องจากดินมีความอดมสมบูรณ์ต่ำ ไม่เหมาะสมกับ
การทำนา เนื่องจากเป็นที่ดอน สภาพพนที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อดินเป็นดิน
ื้
ร่วนปนทรายถึงดินร่วนที่ค่อนข้างเป็นทราย มีการระบายนาดีทำให้เก็บกักน้ำได้ยาก


แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง


ควรมีการจัดระบบการปลูกพชให้หมุนเวียนตลอดทั้งปี มีการปลูกพชบำรุงดินร่วมอยู่


ด้วย หรือปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอตรา 2-3 ตัน/ไร่ หรือหว่าน เมล็ดถั่วพร้าอตรา 8-10


กก./ไร่ เมล็ดถั่วพมอตรา 6-8 กก./ไร่ หรือปอเทืองอตรา 4-6 กก./ไร่ ไถกลบระยะออกดอก ปล่อยไว้
ุ่

1-2 สัปดาห์ ก่อนปลูกพืช

ื้
จัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมตามสภาพพนที่ เช่น ไถพรวนและปลูกพชตาม

แนวระดับ ปลูกพชปุ๋ยสด วัสดุคลุมดิน ปลูกพชหมุนเวียน ปลูกพชสลับเป็นแถบ พัฒนาแหล่งน้ำและ


จัดระบบการให้น้ำในพื้นปลูก
8) กลุ่มดินร่วนหยาบพบในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง (UD3) ได้แก่ ดินเขมราฐที่เป็นดิน
ร่วนหยาบ (Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) ดินปัก
ิ่
ิ่
ธงชัยที่มีความอมตัวเบสสูง (Ptc-hb) ดินปักธงชัยที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Ptc-mw) ชุดดินภู
พาน (Pu) ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Pu-mw) และหน่วยเชิงซ้อนของชุดดินภูพานกับ
ที่ดินหินพื้นโผล่ (Pu-RC) โดยมากเนื้อดินเป็นดินปนทราย มีความพรุนมาก มีความสามารถในการเก็บ

139



กักน้ำ และดูดซับธาตุอาหารได้ น้อย พืชเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำได้ง่าย ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ
ในพื้นที่ที่มีความลาดชันดินมีความเสี่ยงต่อการเกิดการชะล้างพังทลาย สูญเสียหน้าดินได้ง่าย




ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับปลูกพชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น และพฒนาเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยง
สัตว์หรือปลูกไม้โตเร็ว มีข้อจำกัดบ้างเล็กน้อย เนื่องจากดินมีความอดมสมบูรณ์ต่ำ ไม่เหมาะสมกับ

ื้
การทำนา เนื่องจากเป็นที่ดอน สภาพพนที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อดินเป็นดิน
ร่วนปนทรายถึงดินร่วนที่ค่อนข้างเป็นทราย มีการระบายนาดีทำให้เก็บกักน้ำได้ยาก


แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง


ควรมีการจัดระบบการปลูกพชให้หมุนเวียนตลอดทั้งปี มีการปลูกพชบำรุงดินร่วมอยู่



ด้วย หรือปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอตรา 2-3 ตัน/ไร่ หรือหว่าน เมล็ดถั่วพร้าอตรา 8-10
กก./ไร่ เมล็ดถั่วพมอตรา 6-8 กก./ไร่ หรือปอเทืองอตรา 4-6 กก./ไร่ ไถกลบระยะออกดอก ปล่อยไว้

ุ่


1-2 สัปดาห์ ก่อนปลูกพช

มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมตามสภาพพนที่ เช่น ไถพรวนและปลูกพชตาม
ื้



แนวระดับ ปลูกพชปุ๋ยสด วัสดุคลุมดิน ปลูกพชหมุนเวียน ปลูกพชสลับเป็นแถบ พัฒนาแหล่งน้ำและ
จัดระบบการให้น้ำในพื้นปลูก

9) กลุ่มดินทรายพบในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง (UD4) ได้แก ชุดดินคำบง (Kg) ดินคำบงที่
เป็นดินลึกปานกลางและเป็นทรายหนา (Kg-md,tks) ดินคำบงที่มีการระบายน้ำดีปานกลางและเป็น
ทรายหนา (Kg-mw,tks) และดินคำบงที่เป็นทรายหนา (Kg-tks) ส่วนใหญ่มีเนื้อดินหยาบ มี


ความสามารถในอมน้ำและดูดซับธาตุอาหารได้น้อย ความอดมสมบูรณ์ของดินต่ำ มักขาดแคลนน้ำ
ุ้
นาน ในระยะที่ฝนตกหนักจะมีน้ำขังทำความเสียหายกับพชที่มีรากหัว บางพนที่จะเกิดการชะล้าง

ื้
พังทลายสูญเสียหน้าดินง่าย เกิดเป็นร่องลึกในพื้นที่ที่มีความลาดชัน


ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับปลูกพชไร่ ไม้ผลและไม้ยืนต้น มีข้อจำกัดปานกลาง
เนื่องจากเนื้อดินเป็นทรายจัด มีความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำในระยะฝนทิ้งช่วง และการชะล้าง

ื้
พงทลายสูญเสียหน้าดินในพนที่ลาดชัน ไม่เหมาะสมสำหรับการทำนา เนื่องจากสภาพพนที่ไม่

ื้
ราบเรียบ มีเนื้อดินเป็นดินทราย มีการระบายน้ำดี ทำให้ยากต่อการกักเก็บน้ำ แต่มีศักยภาพดีในการ
ปลูกหญ้าลี้ยงสัตว์และปลูกไม้โตเร็ว

แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง



พชที่ปลูก เช่น ข้าวโพด ปอแก้ว ฝ้าย มันสําปะหลัง เป็นต้น ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมัก

หรือปุ๋ยคอกอตรา 3-4 ตัน/ไร่ หรือหว่านเมล็ดถั่วพร้า อตรา 10-12 กก./ไร่ เมล็ดถั่วพมอตรา 8-10

ุ่

กก./ไร่ หรือปอเทืองอตรา 6-8 กก./ไร่ ไถกลบระยะออกดอก ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์ ก่อนปลูกพช



และควรมีการจัดระบบการปลูก พืชหมุนเวียนตลอดทั้งปี ให้มีการปลูกพชตระกูลถั่วหรือพืชบำรุงดิน

140






ร่วมอยู่ด้วย ใช้ปุ๋ยเคมีตามชนิดพชที่ปลูก ร่วมกบปุ๋ยอนทรีย์ พด. 2 และผลิตภัณฑ์สารเร่ง พด.3 และ
พด.7
ื้
มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมตามสภาพพนที่ เช่น ไถพรวนและปลูก พชตาม


แนวระดับขวางความลาดชัน ใช้วัสดุคลุมดิน ปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกพชสลับเป็นแถบ พัฒนาแหล่งน้ำ
และจัดระบบการให้น้ำในพื้นปลูก

10) กลุ่มดินทรายแป้ง-กลุ่มดินริมแมน้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพัดพบในพื้นที่ดอนเขต

ดินแห้ง (UD5) ได้แก่ ชุดดินชุมพลบุรี (Chp) และดินชุมพลบุรีที่เป็นดินทรายแป้งละเอยด (Chp-fsi)

ปกติไม่ค่อยมีปัญหา แต่อาจมีน้ำท่วมขังหรือไหลบ่าท่วมขังอย่างฉลับพลัน ในระยะที่มีฝนตกหนัก

หรือบางพื้นที่อาจขาดแคลนน้ำในระยะที่ฝนทิ้งช่วงนาน

ื้

ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการปลูกพชไร่ พชผัก ไม้ผล และไม้ยืนต้น บางพนที่

อาจเสี่ยงต่อการถูกน้ำไหลบ่าท่วมขัง ทำความเสียหายกับพืชที่ปลูก
ไม่เหมาะสมในการทำนา เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่น การระบายน้ำดี จึงยากต่อการกักเก็บน้ำ


แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง


จัดระบบการปลูกพืชหมุนเวียนตลอดทั้งปี โดยให้มีการปลูกพชบำรุงดินอยู่ด้วย ปรับ
สภาพพนที่เพอแก้ปัญหาการบ่าท่วมของน้ำ โดยทำผนังหรือเขื่อนกั้นน้ำ พร้อมทั้งจัดระบบการระบาย
ื้
ื่
น้ำออกจากพนที่เพาะปลูก หรือปรับระยะเวลาการปลูก พืชเพื่อหลีกเลี่ยงช่วงที่มีน้ำไหลบ่า
ื้
ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอตรา 2-3 ตัน/ไร่ หรือหว่านเมล็ดถั่วพร้า อัตรา



ุ่
8-10 กก./ไร่ เมล็ดถั่วพมอตรา 6-8 กก./ไร่ หรือปอเทืองอตรา 4-6 กก./ไร่ ไถกลบระยะออกดอก


ประมาณร้อยละ 50 ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์ ก่อนปลูกพชไร่ ร่วมกับการใช้ปุ๋ยเคมีตามชนิดพชที่ปลูก
เพื่อรักษาความสามารถในการผลิตของดินไว้ไม่ให้เสื่อมโทรมลง
ื้
มีระบบการป้องกันน้ำท่วมและระบบการระบายน้ำออกจากพนที่ และมีระบบ
อนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสม เช่น ไถพรวนและปลูกพชตามแนวระดับ ปลูกพช ปุ๋ยสด วัสดุคลุมดิน


ปลูกพืชหมุนเวียน ทำแนวรั้วหญ้าแฝก หรือโดยวิธีกลร่วมกับวิธีพืช และจัดระบบการชลประทานและ
ระบบการให้น้ำในพื้นที่ปลูก

11) กลุ่มดินตื้นพบในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง (UD6) ได้แก่ ชุดดินเชียงคาน (Ch) ชุดดิน

แก่งคอย (Kak) ชุดดินลี้ (Li) ชุดดินมวกเหล็ก (Ml) ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) ชุดดินท่ายาง (Ty) และ

ื้
หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินวังน้ำเขียวกับที่ดินหินพนโผล่ (Wk-RC) มักเป็นดินตื้น มีชั้นลูกรัง ก้อนกรวด
ื้
ก้อนหิน หรือมีเศษหิน ปะปนอยู่ในดินหรือกระจัดกระจายอยู่บนผิวหน้าดินมาก หรือมีชั้นหินพนอยู่
ื้

ระดับตื้นและมีหินพนโผล่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปที่บริเวณผิวหน้าดิน เป็นอปสรรคต่อการไถพรวน

141




และชอนไชของรากพช ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติและความสามารถในการอุ้มน้ำต่ำ มัก
ขาดแคลนน้ำ ในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงมักเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินได้ง่าย



ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการปลูกพชไร่ ไม้ผลและไม้ยืนต้น มีข้อจำกัดปานกลาง
เนื่องจากมีก้อนกรวด เศษหินปะปนมากที่ผิวดินหรือภายในความลึก 50 ซม. จากผิวดิน และดินมี

ความอุดมสมบูรณ์ต่ำเหมาะสมดีสำหรับการทำทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และปลูกไม้ใช้สอยโตเร็ว ไม่เหมาะสม
ื้
สำหรับการทำนา เนื่องจากสภาพพนที่ไม่ราบเรียบ การระบายน้ำดีทำให้ยากต่อการกักเก็บน้ำ และ

ดินในกลุ่มนี้ไม่เหมาะสมในการปลูกพชทั่วไป หากพบชั้นหินพนในระดับที่ตื้นถึงตื้นมาก และสภาพ
ื้
พนที่มีความลาดชันสูง แต่สามารถพฒนาเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ได้ สำหรับพนที่ที่ส่งผลกระทบต่อ

ื้
ื้
ระบบนิเวศ ควรสงวนและฟื้นฟูสภาพป่า
แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง

ื้
ื้
เลือกพนที่ที่มีหน้าดินหนามากกว่า 25 ซม. และไม่มีเศษหินหรือหินพนโผล่ จัดระบบ
การปลูกพืชหมุนเวียนตลอดทั้งปี โดยให้มีการปลูกพืชบำรุงดินร่วมอยู่ด้วย

ปรับปรุงดินด้วยการไถกลบพชปุ๋ยสด หว่านเมล็ดถั่วพร้าอตรา 10-12 กก./ไร่ เมล็ด



ุ่
ถั่วพมอตรา 8-10 กก./ไร่ หรือปอเทืองอตรา 6-8 กก./ไร่ ไถกลบระยะออกดอกปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์

ก่อนปลูกพืชไร่ หรือพืชผัก ร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา 2-3 ตัน/ไร่ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ พด.2
และสารเร่ง พด.3 และ พด. 7 ร่วมกับปุ๋ยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก

ื้
ในพนที่ที่มีความลาดชัน ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสม เช่น การไถ
พรวนและปลูกพชตามแนวระดับขวางความลาดชัน ในพนที่ที่มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 12 ควร
ื้


ไถพรวนให้น้อยที่สุดหรือไม่มีเลย ทำแนวรั้วหญ้าแฝก ปลูกพชปุ๋ยสด ใช้วัสดุคลุมดิน ปลูกพช

หมุนเวียน หรือปลูกพืชสลับเป็นแถบ เพื่อช่วยชะลอความเร็วของน้ำที่ไหลบ่าบนผิวดิน หรือโดยวิธีกล
ร่วมกับวิธีพืช


12) กลุ่มดินลึกปานกลางที่มชั้นลูกรัง ก้อนกรวด เศษหิน หรือหินผุในช่วงความลึก
50-100 ซม.จากผิวดิน พบในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง (UD8) ได้แก่ ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปาน
กลาง (Cg-md) ชุดดินลาดหญ้า (Ly) ดินลาดหญ้าที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Ly-mw) ดินคล้ายชุด

ดินภูพานที่เป็นดินลึกปานกลางและเป็นดินร่วนละเอยด (Pu-md,fl) หน่วยเชิงซ้อนของดินภูพานที่

เป็นดินลึกปานกลางและเป็นดินร่วนละเอยดและชุดดินวังน้ำเขียว (Pu-md,fl-Wk) และชุดดินวังสะ


พง (Ws) โดยมากพบเป็นดินลึกปานกลาง เนื้อดินเป็นดินปนทราย มีชั้นลูกรัง ก้อนกรวดหรือเศษหิน
ปนมากในช่วงความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน ความสามารถในการอมน้ำและดูดซับธาตุอาหารต่ำ
ุ้

ความอดมสมบูรณ์ต่ำ มักขาดแคลนน้ำ ในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงจะเกิดการชะล้างทลายสูญเสียหน้า
ดินค่อนข้างสูง ทำให้เกิดเป็นดินตื้นและยากต่อการปรับปรุงแก้ไข

142




ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการปลูกพชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น และพชผัก แต่อาจมี


ื้
ข้อจำกัดรุนแรงสำหรับการปลูกพชไร่ และพชผัก ในพนที่ที่มีความลาดชันสูง ปัญหาการใช้ประโยชน์

ที่ดินโดยทั่วไป มีความอดมสมบูรณ์ต่ำ และมีศักยภาพก่อให้เกิดเป็นดินตื้น เหมาะสมดีในการทำทุ่ง

หญ้าเลี้ยงสัตว์ แต่ไม่เหมาะสมในการทำนา เนื่องจากดินเก็บกักน้ำไม่ได้ และสภาพพื้นที่ไม่ราบเรียบ
แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง



ปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอตรา 2-3 ตัน/ไร่ หรือหว่านเมล็ดถั่วพร้าอตรา

ุ่

8-10 กก./ไร่ เมล็ดถั่วพมอตรา 6-8 กก./ไร่ หรือปอเทืองอตรา 4-6 กก./ไร่ ไถกลบระยะออกดอก


ื้
ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์ ก่อนปลูกพชไร่ หรือพชผัก พนที่ที่มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 5 ควรทำการ

ไถพรวนตามแนวระดับขวางความลาดชัน มีการจัดระบบการปลูกพชให้หมุนเวียนตลอดทั้งปี ให้มีการ


ื้
พชตระกูลถั่วหรือพชบำรุงดินร่วมอยู่ด้วย มีระบบการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมกับสภาพพนที่
เช่น ปลูกพชปุ๋ยสด ปลูกพชคลุมดิน วัสดุคลุมดิน ปลูกพชแซม การทำขั้นบันได้ ทำคูน้ำขอบเขา ทำ



ฐานปลูกหญ้าแฝกเฉพาะต้น และจัดระบบการชลประทานและระบบการให้น้ำในพื้นที่ปลูก

13) กลุ่มดินซ้อน (กลุ่มดินที่มชั้นดานดินเหนียว) พบในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง (UD9)
ิ่
ได้แก่ ชุดดินเขมราฐ (Kmr) และดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูง (Kmr-hb) เนื้อดินค่อนข้างเป็น

ทราย มีความอดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ำ ในฤดูฝนระดับน้ำใต้ดินจะอยู่ใกล้ผิวดิน ทำให้เกิดความ
เสียหายต่อพืชที่ไม่ชอบน้ำขัง

ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการทำนา แต่มีข้อจำกัดสำหรับการปลูกข้าวบ้าง
ื้
เนื่องจากดินมีความอดมสมบูรณ์ต่ำ และบางพนที่เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำในระยะฝนทิ้งช่วง ไม่

เหมาะสำหรับการปลูกพืชไร่ พืชผัก ไม้ยืนต้นและไม้ผล ได้ รับอันตรายจากน้ำท่วมขังในฤดูฝน

(13.1) แนวทางการจัดการดินสำหรับข้าว


ในพนที่ที่มีความลาดชันเล็กน้อย ควรมีการปรับรูปแปลงนาเพอให้มีสภาพ
ื่
ื้
พื้นที่ราบเรียบ สามารถกักเก็บน้ำสม่ำเสมอได้ ตลอดทั้งแปลงปลูก

เพมความร่วนซุยในดินโดยการไถกลบตอซัง หรือไถคลุกเคล้าปุ๋ยหมักหรือ
ิ่

ปุ๋ยคอก อตรา 2-3 ตัน/ไร่ ปล่อยทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์ หรือปลูกพชปุ๋ยสดแล้วไถกลบ โดยหว่านเมล็ด

พนธุ์พชปุ๋ยสด โสนอฟริกัน หรือโสนอนเดียอตรา 4-6 กก./ไร่ แล้วไถกลบ เมื่ออายุ5 0-70 วัน ปล่อย





ทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์ แล้วจึงปลูกข้าว ถ้าดินเป็นกรดจัดมาก ปรับปรุงโดยการไถคลุกเคล้าวัสดุปูน อัตรา
200-300 กก./ไร่

พฒนาแหล่งน้ำชลประทานไว้ใช้ในช่วงที่ข้าวขาดน้ำหรือใช้ทำนาครั้งที่ 2
ปลูกพืชไร่ พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วหลังเก็บเกี่ยวข้าว

143



(13.2) แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง

ื้
ื่
ปรับสภาพพนที่เพอป้องกันน้ำท่วมขังโดยการยกร่องแบบถาวร ให้มีสันร่อง


กว้าง 6-8 เมตร ตามชนิดพชที่ปลูก โดยให้สันร่องสูงกว่าระดับน้ำที่เคยท่วมถึง หรือสร้างคันดินอด

แน่นล้อมรอบมีคูระบายน้ำกว้าง 1-1.5 เมตร ลึก 0.5-1 เมตร (กรณีปลูกพชไร่ พชผักเฉพาะช่วงก่อน

หรือหลังปลูกข้าว ควรยกร่องแบบเตี้ยหรือทำร่อง ระบายน้ำระหว่างแปลง)

ปรับปรุงบำรุงดินด้วยการไถกลบพชปุ๋ยสด ปอเทืองอตรา 4-6 กก./ไร่ ถั่ว



ุ่
พมอตรา 6-8 กก./ไร่ หรือถั่วพร้าอตรา 8-10 กก./ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วันหลังปลูก หรือออก
ดอก 50 เปอร์เซ็นต์ปล่อยทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์ หรือไถกลบปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 2-3 ตัน/ไร่
14) กลุ่มดินที่มการดัดแปลงพื้นที่ทำนา พบในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง (UD10) ได้แก่

ื้
ชุดดินนาคู (Nu) และดินกลางดงที่มีจุดประสีเทา (Kld-gm) เป็นกลุ่มดินในพนที่ดอนที่มีการดัดแปลง
พื้นที่ทำคันดิน เพื่อใช้ประโยชน์ในการปลูกข้าว มีการระบายน้ำค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง


5.3.3 กรณีศึกษาแปลงทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน


ื่
เป็นการศึกษาเพอตรวจสอบความถูกต้องของปริมาณธาตุอาหารหลักในดินจากการ
ประมาณค่าเชิงพนที่ด้วยวิธี Kriging เปรียบเทียบกับค่าวิเคราะห์ดินในพนที่จริงของจังหวัด
ื้
ื้
หนองบัวลำภู และใช้เป็นกรณีศึกษาถึงแนวทางในการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับการประเมินค่า

เชิงพนที่ด้วยวิธี Kriging โดยพจารณาจากข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินที่พบมากที่สุด คือ ข้าว นำมา
ื้
ซ้อนทับข้อมูลแผนที่ดิน เพื่อกำหนดพื้นที่เป้าหมายได้จำนวน 4 แปลง แบ่งออกเป็น

1) กลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง จำนวน 2 แปลง ได้แก่ ชุดดินชุมแพ (Cpa) และชุด
ื้
ื้
ดินศรีเมืองใหม่ (Smi)
ื้
2) กลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง จำนวน 2 แปลง ได้แก่ ชุดดินหนองบัวแดง
(Nbd) และดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col)

144



1) ลักษณะทั่วไปของแปลงทดสอบ
(1.1) แปลงที่ 1/UD6 : ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd)


พกัดแปลง 214630E , 1944532N พชที่ปลูก คือข้าวเหนียวพนธุ์ลืมผัว มี


สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลอ่อน มีจุดประ
สีน้ำตาลปนเหลืองหรือน้ำตาลแก่ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด (pH 4.5-6.0) ดินล่างตอนบนเป็นดินร่วน

ปนทรายปนกรวดลูกรังมากถึงดินร่วนเหนียวปนทรายปนกรวดลูกรังมาก สีน้ำตาล มีจุดประสีแดงหรือ
น้ำตาลแก่ ส่วนดินล่างช่วง 50-100 ซม. จากผิวดิน พบชั้นของความไม่ต่อเนื่อง เนื้อดินเป็นดินเหนียว

สีเทา เทาออน หรือน้ำตาลปนเทา มีจุดประสีต่างๆ และพบศิลาแลงออนปริมาณ 5-50 % ปฏิกิริยา


ดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.0)





























ภาพที่ 5-13 สภาพพื้นที่และลักษณะดินของแปลงทดสอบชุดดินหนองบัวแดง (Nbd)


(1.2) แปลงที่ 2/L1 : ชุดดินชุมแพ (Cpa)

พกัด X=228787 , Y=1897402 เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วน

เหนียวปนทราย หรือดินร่วนเหนียว สีน้าตาลน้ำตาลออน มีจุดประสีน้ำตาลแก่หรือน้ำตาลปนเหลือง
ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนเหนียว ร่วนเหนียวปนทรายแป้งหรือดินเหนียว สีเทาออน น้ำตาลปนเทาจาง

หรือเทา มีจุดประสีแดงและพบศิลาแลงออนปริมาณ 2-20 % โดยปริมาตรภายในความลึก 150 ซม.

อาจพบก้อนเหล็กและแมงกานีสสะสมในดินล่าง อาจพบชั้นหินตะกอนพวกหินทรายแป้งที่มีปูนปนใน
ชั้นดินตอนล่าง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ในดินบนและเป็นกรด

เล็กน้อยถึงด่างปานกลาง (pH 6.5-8.5) ในดินล่าง พืชที่ปลูกคือ ข้าวเหนียวพันธุ์ กข.6

145































ภาพที่ 5-14 สภาพพื้นที่และลักษณะดินของแปลงทดสอบชุดดินชุมแพ (Cpa)

(1.3) แปลงที่ 3/L11 : ชุดดินศรีเมืองใหม่ (Smi)

พกัด X=240433 , Y=1861677 เป็นดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรัง มีเนื้อดินบนเป็น


ดินทรายปนดินร่วน หรือดินร่วนปนทรายปนกรวดลูกรังเล็กน้อย สีน้ำตาล น้ำตาลออน มีจุดประสี
น้ำตาลปนเหลืองหรือน้ำตาลแก่ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 4.5-6.0) ดิน

ล่างตอนบนเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวดลูกรังมาก และคอยๆ เปลี่ยนเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายปน
กรวดมาก สีน้ำตาล มีจุดประสีเทา แดง น้ำตาลแก่ และดินล่างช่วงความลึก 50-100 ซม. พบชั้นดิน

เหนียวสีเทา เทาออน หรือน้ำตาลปนเทา และศิลาแลงออนปริมาณ 5-50 % ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด


มากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.0) ชั้นหินตะกอนเนื้อละเอยดที่กำลังสลายตัว พบลึกมากกว่า 150 ซม.

พืชที่ปลูกคือ ข้าวเหนียวพันธุ์ กข.6

ิ่
(1.4) แปลงที่ 4/UD3 ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ
(Kmr-hb,col)


พกัด X=211054 , Y=1900004 เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วน
หรือดินร่วนปนทราย สีน้ำตาลหรือน้ำตาลเข้ม ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีน้ำตาลหรือ

น้ำตาลอ่อน และเป็นดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแป้ง สีเทาปนชมพหรือสีเทาในดินล่างลึกลงไป

ช่วงเปลี่ยนแปลงของเนื้อดินจะพบภายในความลึก 100 ซม. จากผิวดิน ซึ่งอาจพบการสะสมลูกรัง


ื้
หรือกรวดปริมาณเล็กน้อย พบศิลาแลงออนในชั้นดินล่าง ชั้นหินผุและหินพนพวกหินทรายแป้งจะพบ
ช่วงความลึก 100-150 ซม. ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.0-6.5) ในดินบน

และเป็นกรดจัดถึงกรดจัดมาก (pH 4.5-5.5) ในดินล่าง บางบริเวณที่มีอทธิพลของหินทรายแป้งที่มี

ปูนปน จะมีคาปฏิกิริยาดินเป็นด่างปานกลาง

146
































ภาพที่ 5-15 สภาพพื้นที่และลักษณะดินของแปลงทดสอบชุดดินศรีเมืองใหม่ (Smi)


































ภาพที่ 5-16 สภาพพื้นที่และลักษณะดินของแปลงทดสอบดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง

และเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col)

147



2) การเปรียบเทียบปริมาณการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

การประเมินปริมาณการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องทราบปริมาณธาตุ


อาหารหลักในดินก่อน ได้แก ปริมาณอนทรียวัตถุ (OM) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) จึงได้ทำ

การสุ่มเก็บตัวอย่างดินให้กระจายครอบคลุมทั่วแปลงทดสอบที่ความลึกดินประมาณ 15 เซนติเมตร
เตรียมตัวอย่างดิน และส่งตัวอย่างดินวิเคราะห์หาปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน หลังจากนั้นนำผลค่า

วิเคราะห์ดินมาประเมินปริมาณการใช้ปุ๋ยตามมาตรฐานคำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพชเศรษฐกิจสำหรับ
ข้าว (กรมวิชาการเกษตร, 2553) โดยใช้แม่ปุ๋ยสูตร 46-0-0, 16-20-0 และ 0-0-60 นำมาผสมตาม

สัดส่วนที่แนะนำ ทั้งนี้เนื่องจากหาซื้อได้ง่าย และสามารถคำนวณปริมาณธาตุอาหารได้ถูกต้อง แม่นยำ
มากกว่าสูตรสำเร็จทั่วไปในท้องตลาด


ตารางที่ 5-15 ปริมาณธาตุอาหารพชในดินจากการประมาณค่าด้วยวิธี Kriging กับค่าวิเคราะห์ดิน

ของแปลงทดสอบ


ค่าจากการ Kriging ค่าจากการวิเคราะห์ดินในแปลง
แปลงที่/ พันธุ์
หน่วยดิน ระดับธาตุ ระดับธาตุ
กลุ่มดิน ข้าว OM P K อาหารของข้าว OM P K pH อาหารของข้าว

1/UD6 Nbd ลืมผัว 1.5 3 56 M-L-L 0.6 4 26 5.1 L-L-L
2/L1 Cpa กข.6 1.0 2 38 L-L-L 2.4 9 119 4.9 H-M-H

3/L11 Smi กข.6 0.7 3 35 L-L-L 0.8 1 16 4.7 L-L-L

4/UD3 Kmr-hb,col ลืมผัว 0.6 3 18 L-L-L 0.8 1 25 5.1 L-L-L

จากตารางที่ 5-15 ค่าปริมาณธาตุอาหารหลักในดินทั้งจากการประมาณค่าด้วยวิธี Kriging

และค่าจากการวิเคราะห์ดินในแปลงนั้น มีช่วงระดับปริมาณธาตุอาหารตามการให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ย

สำหรับข้าวส่วนใหญ่อยู่ในช่วงเดียวกัน คือ อยู่ในระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ

(L-L-L) มีเพยงแปลงที่ 2/L1 ซึ่งเป็นชุดดินชุมแพ (Cpa) ที่มีค่าปริมาณธาตุอาหารในดินอยู่ในระดับ

อนทรียวัตถุสูง ฟอสฟอรัสปานกลาง โพแทสเซียมสูง (H-M-M) ซึ่งมีปริมาณธาตุอาหารสูงกว่าการ
ประมาณค่าด้วยวิธี Kriging ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากเกษตรกรมีการใส่ปุ๋ยเคมีในปริมาณที่มากเกินความ

ต้องการของพช และใส่ปุ๋ยติดต่อกันเป็นเวลานาน จึงทำให้ค่าวิเคราะห์ดินมีปริมาณธาตุอาหารในดิน

สูงกว่าดินแปลงอื่นมาก


จากการแปลความหมายของค่าวิเคราะห์ดินสำหรับการให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพช

ื่
เศรษฐกิจสำหรับข้าว (ตารางที่ 5-15) เพอนำไปคำนวณอตราการใส่ปุ๋ยตามความต้องการธาตุอาหาร
แต่ละชนิดที่มากน้อยแตกต่างกันตามความเหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของข้าวแล้ว การใส่ปุ๋ย
ื้
สำหรับข้าวให้มีประสิทธิภาพยังมีช่วงระยะที่เหมาะสมในการใส่ปุ๋ย คือ ระยะปลูก (ปุ๋ยรองพน) เป็น
ระยะที่ข้าวต้องการธาตุอาหารจากดินมาก เพราะเป็นช่วงที่ข้าวตั้งตัวได้แล้วหลังจากที่บอบช้ำจากการ

148



ถอน การเตะกล้า การมัด การตัดและการขนย้าย (ศูนย์เมล็ดพนธุ์ข้าวสกลนคร, 2565) ควรใส่ปุ๋ย


ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมทั้งหมดตามอตราที่แนะนำ ส่วนปุ๋ยไนโตรเจนควรแบ่งใส่ครึ่งหนึ่งของ
ปริมาณที่แนะนำเพอป้องกันการสูญเสียธาตุอาหารไปกับน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในดินทราย หากเป็น
ื่
นาดำควรใส่ปุ๋ยเคมีหลังปักดำข้าวแล้ว 7-10 วัน หรือสังเกตดูว่าข้าวเริ่มถอดใบใหม่ สำหรับนาหว่าน

ควรใส่ปุ๋ยหลังจากหว่านข้าวและข้าวงอกแล้ว 15-20 วัน ระยะต่อมาคือ ระยะกำเนิดช่อดอกหรือ

ระยะข้าวเริ่มตั้งทอง (ปุ๋ยแต่งหน้า) สังเกตต้นข้าวเริ่มกลมหรือที่เรียกว่า “ต้นข้าวส่วย, “แทงเหล็กใน”

แนะนำให้ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนส่วนที่เหลือ เพื่อส่งเสริมการสร้างรวงที่สมบูรณ์รวมถึงสร้างจำนวนเมล็ดดีใน

รวงมากขึ้น ข้าวเต็มเมล็ดน้ำหนักดี ทั้งนี้ ได้ให้คำแนะนำปริมาณการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ของแปลง

ทดสอบและแสดงการใช้ปุ๋ยตามแบบเดิมของเกษตรกร รายละเอียดดังนี้

(2.1) แปลงที่ 1/UD6 : ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd)

คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินของแปลงที่ 1/UD6 พบว่ามีระดับปริมาณ


ธาตุอาหารในดินสำหรับข้าว คือ ระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (L-L-L) ควรแบ่ง
ใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ปุ๋ยสูตร 16-20-0 อตรา 30 กิโลกรัม/ไร่, 0-0-60 อตรา 10



กิโลกรัม/ไร่ ก่อนปักดำ 1 วัน หรือหลังปักดำแล้ว 7-10 วัน และครั้งที่ 2 ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อตรา 10
กิโลกรัม/ไร่ ใส่ก่อนข้าวตั้งท้อง 7-10 วัน คิดเป็นต้นทุนการใส่ปุ๋ยจำนวน 596 บาท/ไร่ และได้ผลผลิต

ข้าวประมาณ 529 กิโลกรัม/ไร่

การจัดการปุ๋ยของเกษตรกร ทำการใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ปุ๋ยสูตร

15-15-15 ตอนหลังปักดำ 10 วัน อตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ คิดเป็นเงิน 423 บาท/ไร่ และครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ย

สูตร 15-15-15 ตอนข้าวเริ่มตั้งท้อง อัตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ คิดเป็นเงิน 423 บาท คิดเป็นต้นทุนการใส่

ปุ๋ยจำนวน 846 บาท/ไร่ และได้ผลผลิตข้าวประมาณ 260 กิโลกรัม/ไร่ (ตารางที่ 5-16)

จากตารางที่ 5-16 จะเห็นได้ว่า เกษตรกรมีต้นทุนการใช้ปุ๋ยแบบเดิม คิดเป็นเงิน

846 บาท/ไร่ ซึ่งสูงกว่าการใช้ปุ๋ยของแปลงทดสอบ คิดเป็นเงิน 596 บาท/ไร่ สามารถลดต้นทุนการใช้
ปุ๋ยจากการใส่ปุ๋ยแบบเดิมเป็นเงิน 250 บาท/ไร่ หรือคดเป็นร้อยละ 29.55 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม แต่

ปริมาณผลผลิตข้าวของแปลงทดสอบกลับให้ผลผลิตมากกว่าแปลงของเกษตรกรถึง 269 กิโลกรัม/ไร่
หรือคิดเป็นร้อยละ 103.46 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม เมื่อเปรียบเทียบมูลค่าผลผลิตและผลตอบแทน

แล้ว พบว่า การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินให้ผลตอบแทนมากกว่าการใช้ปุ๋ยแบบเดิมอยู่ 3,056 บาท/

ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 163.77 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม เมื่อพจารณาปริมาณการใส่ปุ๋ยทั้ง 2 แปลง มี

การใส่ปุ๋ยทั้งหมดในปริมาณที่เท่ากันคือ 50 กิโลกรัม/ไร่ แต่กลับให้ผลผลิตที่แตกต่างกัน ทั้งนี้

เนื่องจาก พฤติกรรมการใส่ปุ๋ยของเกษตรกรนิยมใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 ทั้ง 2 ช่วงระยะการใส่ปุ๋ย ซึ่ง

ระดับปริมาณธาตุอาหารในดินสำหรับข้าวระดับอินทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (L-L-L)
นั้น ข้าวมีความต้องการปุ๋ยไนโตรเจน 9 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยฟอสฟอรัส 6 กิโลกรัม/ไร่ และปุ๋ย

149




โพแทสเซียม 6 กิโลกรัม/ไร่ ซึ่งการใส่ปุ๋ยแบบเกษตรกรนั้นให้ปุ๋ยไนโตรเจนไม่เพยงพอกับความ
ต้องการของข้าว อกทั้งปริมาณปุ๋ยฟอสฟอรัสและปุ๋ยโพแทสเซียมยังมีปริมาณมากเกินความต้องการ

ของข้าวอกด้วย จึงส่งผลให้แปลงของเกษตรกรให้ผลผลิตข้าวน้อยกว่าแปลงทดสอบ และมีต้นทุนปุ๋ย

สูงมากเมื่อเทียบกับการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินของแปลงทดสอบ


ตารางที่ 5-16 เปรียบเทียบต้นทุน ผลผลิต และผลตอบแทนจากการใช้ปุ๋ยของแปลงทดสอบที่
1/UD6 กับแปลงเกษตรกร



ปุ๋ยครั้งที่ 1 ปุ๋ยครั้งที่ 2 ต้นทุนปุ๋ย ผลผลิต มูลค่าผลผลิต ผลตอบแทน
(กก./ไร่) (กก./ไร่) (บาท) (กก./ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/ไร่)
แปลงทดสอบค่าวิเคราะห์ดิน
16-20-0 0-0-60 46-0-0
596 529 5,517 4,921
30 10 10
แปลงของเกษตรกร
15-15-15 15-15-15
846 260 2,712 1,866
25 25

-250 +269 +2,805 +3,056
การเปรียบเทียบ
-29.55% +103.46% +103.43% +163.77%
หมายเหตุ : ราคาข้าวเปลือก อ้างอิงราคาจากสำนักเศรษฐกิจการเกษตร ณ เดือนธันวาคม 2562
1) ราคาข้าวเปลือกเหนียว ราคา 10,430 บาท/ตัน
2) ราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ ราคา 15,244 บาท/ตัน

2.2) แปลงที่ 2/L1 : ชุดดินชุมแพ (Cpa)

คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินของแปลงที่ 2/L1 พบว่ามีระดับ


ปริมาณธาตุอาหารในดินสำหรับข้าวอยู่ในระดับอนทรียวัตถุสูง ฟอสฟอรัสปานกลาง โพแทสเซียมสูง
(H-M-H) เมื่อนำค่าระดับปริมาณธาตุอาหารในดินไปคำนวณปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีตามความต้องการ
ของข้าว สามารถแบ่งใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ปุ๋ยสูตร 16-20-0 จำนวน 15 กิโลกรัม/ไร่

ก่อนปักดำ 1 วัน หรือหลังปักดำแล้ว 7-10 วัน และครั้งที่ 2 ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 4 กิโลกรัม/ไร่
ใส่ก่อนข้าวตั้งท้อง 7-10 วัน คิดเป็นต้นทุนการใส่ปุ๋ยจำนวน 220 บาท/ไร่ และได้ผลผลิตข้าวประมาณ

363 กิโลกรัม/ไร่ (ตารางที่ 5-17)

การจัดการปุ๋ยของเกษตรกร ได้ทำการใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง โดยครั้งแรก ใส่สูตร

16-20-0 ตอนหลังหว่านข้าว 1 เดือน อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร่ คิดเป็นเงิน 360 บาท/ไร่ และใส่ปุ๋ยครั้งที่

2 สูตร 15-15-15 ก่อนข้าวตั้งท้อง อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร่ คิดเป็นเงิน 508 บาท/ไร่ รวมใส่ 2 ครั้งเป็น
เงิน 868 บาท/ไร่ และได้ผลผลิตข้าวประมาณ 339 กิโลกรัม/ไร่ (ตารางที่ 5-17)

150



ตารางที่ 5-17 เปรียบเทียบต้นทุน ผลผลิต และผลตอบแทนจากการใช้ปุ๋ยของแปลงทดสอบที่ 2/L1
กับแปลงเกษตรกร


ปุ๋ยครั้งที่ 1 ปุ๋ยครั้งที่ 2 ต้นทุนปุ๋ย ผลผลิต มูลค่าผลผลิต ผลตอบแทน
(กก./ไร่) (กก./ไร่) (บาท) (กก./ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/ไร่)
แปลงทดสอบค่าวิเคราะห์ดิน
16-20-0 46-0-0
220 363 3,786 3,566
15 4
แปลงของเกษตรกร
16-20-0 15-15-15
868 339 3,536 2,668
30 30

-648 +24 +250 +898
การเปรียบเทียบ
-74.65% +7.08% +7.07% +33.66%

หมายเหตุ : ราคาข้าวเปลือก อ้างอิงราคาจากสำนักเศรษฐกิจการเกษตร ณ เดือนธันวาคม 2562

1) ราคาข้าวเปลือกเหนียว ราคา 10,430 บาท/ตัน
2) ราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ ราคา 15,244 บาท/ตัน
จากตารางที่ 5-17 พบว่าเกษตรกรมีต้นทุนการใช้ปุ๋ยตามแบบเดิม คิดเป็นเงิน

868 บาท/ไร่ ส่วนการใช้ปุ๋ยตามคาวิเคราะห์ดิน คิดเป็นเงิน 220 บาท/ไร่ สามารถลดต้นทุนการใช้ปุ๋ย

จากเดิมเป็นเงิน 648 บาท/ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 74.65 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม สำหรับปริมาณ
ิ่
ผลผลิตข้าวที่ได้รับนั้นมีปริมาณเพมขึ้นเล็กน้อยจากเดิมจำนวน 24 กิโลกรัม/ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ
7.08 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม นอกจากนี้ หากเปรียบเทียบมูลค่าผลผลิตและผลตอบแทนของแปลง

เกษตรกรและแปลงทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินแล้ว พบว่า แปลงทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่า
ิ่
วิเคราะห์ดินมีมูลค่าผลผลิตเพมขึ้นเพยง 250 บาท/ไร่ (ร้อยละ 7.07 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม) แต่เมื่อ

หักต้นทุนการใส่ปุ๋ยที่ลดลงแล้ว กลับให้ผลตอบแทนมากกว่าการใช้ปุ๋ยแบบเดิมอยู่ 898.32 บาท/ไร่

หรือคิดเป็นร้อยละ 33.67 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม เนื่องจากค่าวิเคราะห์ดินในแปลงทดสอบนี้มี

ปริมาณอนทรียวัตถุสูง ฟอสฟอรัสปานกลาง โพแทสเซียมสูง (H-M-H) ข้าวมีความต้องการเพยงปุ๋ย

ไนโตรเจน 3 กิโลกรัม/ไร่ และปุ๋ยฟอสฟอรัส 3 กิโลกรัม/ไร่ ไม่จำเป็นต้องใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมซึ่ง
เพยงพอสำหรับข้าวแล้ว แต่การใส่ปุ๋ยของเกษตรกรกลับใส่ปุ๋ยสูตร 16-20-0 และสูตร 15-15-15 ใน


อตราที่สูงมากเกินความต้องการของพช จึงทำให้มีต้นทุนปุ๋ยสูงกว่าการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและ

ให้ผลตอบแทนน้อยกว่า อกทั้ง ชุดดินชุมแพ (Cpa) ยังเป็นดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง มีวัตถุต้น
ื้
ื้

กำเนิดดินเกิดจากตะกอนน้ำพาทับอยู่บนหินตะกอน เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สามารถดูด
ยึดธาตุอาหารในดินได้ดีกว่าดินทรายหรือดินร่วนปนทราย ดินจึงมีปริมาณธาตุอาหารในดินสูง รวมทั้ง
การใส่ปุ๋ยในปริมาณที่มากเป็นระยะเวลานานติดต่อกันอาจทำให้ปุ๋ยตกค้างอยู่ในดินและส่งผลเสียต่อ


โครงสร้างของดินได้

151



2.3) แปลงที่ 3/L11 : ชุดดินดินศรีเมืองใหม่ (Smi)

คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินของแปลงที่ 3/L11 พบว่ามีระดับ


ปริมาณธาตุอาหารในดินสำหรับข้าว คือ ระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (L-L-L)
สามารถแบ่งใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ปุ๋ยสูตร 16-20-0 จำนวน 30 กิโลกรัม/ไร่, 0-0-60

จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ก่อนปักดำ 1 วัน หรือหลังปักดำแล้ว 7-10 วัน และครั้งที่ 2 ปุ๋ยสูตร 46-0-0
จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ใส่ก่อนข้าวตั้งท้อง 7-10 วัน คิดเป็นเงิน 596 บาท/ไร่ และได้ผลผลิตข้าว

ประมาณ 330 กิโลกรัม/ไร่ (ตารางที่ 5-18)

การจัดการปุ๋ยของเกษตรกร แบ่งการใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง โดยครั้งแรก ใส่สูตร 16-8-8

ตอนหลังปักดำ 15 วัน อตรา 30 กิโลกรัม/ไร่ คิดเป็นเงิน 405 บาท/ไร่ ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 สูตร 46-0-0


อตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ ผสมกับ สูตร 16-8-8 อตรา 25 กิโลกรัม/ไร่ ก่อนข้าวตั้งท้อง คิดเป็นเงิน 440

บาท/ไร่ รวมใส่ 2 ครั้งคิดเป็นเงิน 845 บาท/ไร่ และได้ผลผลิตประมาณ 493 กิโลกรัม/ไร่ (ตารางที่
5-18)


ตารางที่ 5-18 เปรียบเทียบต้นทุน ผลผลิต และผลตอบแทนจากการใช้ปุ๋ยของแปลงทดสอบที่ 3/L11

กับแปลงเกษตรกร

ปุ๋ยครั้งที่ 1 ปุ๋ยครั้งที่ 2 ต้นทุนปุ๋ย ผลผลิต มูลค่าผลผลิต ผลตอบแทน
(กก./ไร่) (กก./ไร่) (บาท) (กก./ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/ไร่)
แปลงทดสอบค่าวิเคราะห์ดิน
16-20-0 0-0-60 46-0-0
596 330 3,442 2,846
30 10 10

แปลงของเกษตรกร
16-8-8 46-0-0 16-8-8
845 493 5,142 4,297
30 10 25
-249 -163 -1,700 -1,451
การเปรียบเทียบ
-29.47% -33.06% -33.06% -33.77%

หมายเหตุ : ราคาข้าวเปลือก อ้างอิงราคาจากสำนักเศรษฐกิจการเกษตร ณ เดือนธันวาคม 2562
1) ราคาข้าวเปลือกเหนียว ราคา 10,430 บาท/ตัน
2) ราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ ราคา 15,244 บาท/ตัน
จากตารางที่ 5-18 เกษตรกรมีต้นทุนการใช้ปุ๋ยตามแบบเดิม คิดเป็นเงิน 845


บาท/ไร่ ส่วนการใช้ปุ๋ยตามคาวิเคราะห์ดิน คิดเป็นเงิน 596 บาท/ไร่ สามารถลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยของ
เกษตรกร เป็นเงิน 249 บาท/ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 29.47 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม และปริมาณ
ผลผลิตข้าวที่ได้รับนั้นมีปริมาณลดลงจากเดิม จำนวน 163 กิโลกรัม/ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 33.06

ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม เมื่อคิดผลตอบแทนแล้วการใช้ปุ๋ยแบบเดิมให้ผลตอบแทนมากกว่าการใช้ปุ๋ย
ตามค่าวิเคราะห์ดินเป็นเงิน 1,451 บาท/ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 33.67 เนื่องจากแปลงทดสอบนี้เป็น

152



ื้
ชุดดินศรีเมืองใหม่ (Smi) ซึ่งเป็นดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขังที่เป็นดินตื้นมีชั้นลูกรังหรือศิลาแลงอยู่
ื้


ตื้นและเป็นชั้นหนา ซึ่งเป็นอปสรรคต่อการชอนไชของรากพช เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ส่งผล
ต่อการดูดยึดธาตุอาหารในดิน และธาตุอาหารในดินเกิดการสูญเสียไปกับน้ำได้ง่าย นอกจากนี้ ค่า
ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ของดินยังมีความสำคัญต่อการปลูกพชมาก เพราะเป็นตัวกลางควบคุม


การละลายธาตุอาหารในดินให้ออกมาอยู่ในสารละลายที่เป็นประโยชน์ต่อพช (มุกดา, 2544) โดยค่า
ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ในแปลงทดสอบเป็นกรดจัดมากมีผลกระทบต่อความเป็นประโยชน์ของ
ธาตุฟอสฟอรัสในดิน จึงทำให้การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในแปลงทดสอบนั้น ให้ผลผลิตข้าวน้อย

ื้
กว่าการใส่ปุ๋ยของเกษตรกรที่ใส่ปุ๋ยสูตร 16-8-8 ทั้งปุ๋ยรองพนและปุ๋ยแต่งหน้า ในปริมาณที่มากเกิน
ความต้องการของข้าวเพื่อชดเชยธาตุอาหารที่อาจถูกตรึงอยู่ในดินหรือลดความเป็นประโยชน์ของธาตุ
อาหารแก่พชได้บ้าง ถึงแม้จะมีต้นทุนการใช้ปุ๋ยมากกว่าการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน แต่ก็ให้ผลผลิต

ข้าวและผลตอบแทนที่มากกว่าการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินด้วยเช่นกัน ดังนั้น ก่อนการปลูกพชจึง

ควรมีการปรับปรุงดินให้มีสภาพปัจจัยต่างๆ ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช

2.4) แปลงที่ 4/UD3 : ชุดดินเขมราฐ (Kmr-hb,col)

คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินของแปลงที่ 4/UD3 พบว่ามีระดับ

ปริมาณธาตุอาหารในดินสำหรับข้าว คือ ระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (L-L-L)

สามารถแบ่งใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ปุ๋ยสูตร 16-20-0 จำนวน 30 กิโลกรัม/ไร่, 0-0-60
จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ก่อนปักดำ 1 วัน หรือหลังปักดำแล้ว 7-10 วัน และครั้งที่ 2 ปุ๋ยสูตร 46-0-0

จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ใส่ก่อนข้าวตั้งท้อง 7-10 วัน คิดเป็นเงิน 596 บาท/ไร่ และได้ผลผลิตข้าว
ประมาณ 622 กิโลกรัม/ไร่ (ตารางที่ 5-19)


การจัดการปุ๋ยของเกษตรกร มีการใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง โดยครั้งแรก ใส่สูตร 16-16-8

ตอนหลังปักดำ 15 วัน อตรา 12.5 กิโลกรัม/ไร่ คิดเป็นเงิน 174 บาท/ไร่ ใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 สูตร 16-16-8

ก่อนข้าวตั้งท้อง อตรา 12.5 กิโลกรัม/ไร่ คิดเป็นเงิน 174 บาท/ไร่ รวมใส่ 2 ครั้ง เป็นเงิน 347
บาท/ไร่ และได้ผลผลิตประมาณ 279 กิโลกรัม/ไร่ (ตารางที่ 5-19)



จากตารางที่ 5-19 เกษตรกรมีต้นทุนการใช้ปุ๋ยแบบเดิม คิดเป็นเงิน 347
บาท/ไร่ ส่วนการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน มีต้นทุนปุ๋ยคิดเป็นเงิน 596 บาท/ไร่ พบว่ามีต้นทุนปุ๋ย

ิ่
เพมขึ้นจากเดิมเป็นเงิน 249 บาท/ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 71.76 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม แต่ผลผลิต
ข้าวที่ได้รับกลับมีปริมาณเพมขึ้นจากเดิมถึง 343 กิโลกรัม/ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 122.94 ของการใช้
ิ่
ปุ๋ยแบบเดิม เมื่อคิดมูลค่าผลตอบแทนหักต้นทุนปุ๋ยแล้ว การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินให้ผลตอบแทน

มากกว่าการใช้ปุ๋ยแบบเดิมอยู่ 3,328 บาท/ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 129.87 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม
เนื่องจาก ระดับปริมาณธาตุอาการของแปลงทดสอบนี้อยู่ในระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ

โพแทสเซียมต่ำ (L-L-L) ซึ่งมีความต้องการปุ๋ยไนโตรเจน ปุ๋ยฟอสฟอรัส และปุ๋ยโพแทสเซียม จำนวน

153




9, 6 และ 6 กิโลกรัม/ไร่ ตามลำดับ แต่ในแปลงของเกษตรกรกลับใส่ปุ๋ยสูตร 16-16-8 ในอตรา 25
กิโลกรัม/ไร่ จะมีปริมาณไนโตรเจน 4 กิโลกรัม/ไร่ ฟอสฟอรัส 4 กิโลกรัม/ไร่ และโพแทสเซียม 2

กิโลกรัม/ไร่ เท่านั้น ซึ่งไม่เพยงพอต่อความต้องการของข้าว จึงทำให้แปลงทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่า

วิเคราะห์ดินมีต้นทุนสูงกว่าแปลงเกษตรกรแต่กลับได้ผลผลิตข้าวและมูลค่าผลตอบแทนมากกว่าแปลง

ของเกษตรกรนั้นเอง


ตารางที่ 5-19 เปรียบเทียบต้นทุน ผลผลิต และผลตอบแทนจากการใช้ปุ๋ยของแปลงทดสอบที่

4/UD3 กับแปลงเกษตรกร

ปุ๋ยครั้งที่ 1 ปุ๋ยครั้งที่ 2 ต้นทุนปุ๋ย ผลผลิต มูลค่าผลผลิต ผลตอบแทน
(กก./ไร่) (กก./ไร่) (บาท) (กก./ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/ไร่)
แปลงทดสอบค่าวิเคราะห์ดิน
16-20-0 0-0-60 46-0-0
596 622 6,488 5,892
30 10 10
แปลงของเกษตรกร
16-16-8 16-16-8
347 279 2,910 2,563
12.5 12.5
-249 +343 +3,578 +3,329
การเปรียบเทียบ
-71.76% +122.94% +122.95% +129.87%

หมายเหตุ : ราคาข้าวเปลือก อ้างอิงราคาจากสำนักเศรษฐกิจการเกษตร ณ เดือนธันวาคม 2562
1) ราคาข้าวเปลือกเหนียว ราคา 10,430 บาท/ตัน
2) ราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ ราคา 15,244 บาท/ตัน

จากภาพที่ 5-17 แปลงทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสามารถลดต้นทุนการใส่ปุ๋ยจาก

การใส่ปุ๋ยแบบเดิมของเกษตรกร โดยชุดดินชุมแพ (Cpa) สามารถลดต้นทุนปุ๋ยได้มากที่สุดคิดเป็น
ร้อยละ 74.65 ของการใส่ปุ๋ยแบบเดิม รองลงมาคือ ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) และชุดดินศรีเมือง

ใหม่ (Smi) คิดเป็นร้อยละ 29.55 และ 29.47 ของการใส่ปุ๋ยแบบเดิม ส่วนดินเขมราฐที่มีความอมตัว
ิ่
เบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) มีต้นทุนปุ๋ยเพมขึ้นจากเดิมร้อยละ 71.76 ของการใส่ปุ๋ย
ิ่
แบบเดิม แต่กลับได้รับผลผลิตข้าวสูงที่สุดคิดเป็นร้อยละ 122.94 ของการใช้ปุ๋ยแบบเดิม รองลงมาคือ

ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) และชุดดินชุมแพ (Cpa) คิดเป็นร้อยละ 103.46 และ 7.08 ของการใส่ปุ๋ย
แบบเดิม ส่วนชุดดินศรีเมืองใหม่ (Smi) ให้ผลผลิตลดลงคิดเป็นร้อยละ 33.06 ของการใส่ปุ๋ยแบบเดิม

ิ่
ิ่
มูลค่าผลตอบแทนที่เพมขึ้นสูงที่สุด คือ ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) เพมขึ้นเป็นร้อยละ 163.77 ของ
การใช้ปุ๋ยแบบเดิม รองลงมาคือ ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-
ิ่
hb,col) และชุดดินชุมแพ (Cpa) คิดเป็นร้อยละ 129.87 และ 33.66 ของการใส่ปุ๋ยแบบเดิม และ

มูลค่าผลตอบแทนน้อยที่สุดคือ ชุดดินศรีเมืองใหม่ (Smi) ให้ผลตอบแทนลดลงจากการใช้ปุ๋ยแบบเดิม
คิดเป็นร้อยละ 33.77 ของการใส่ปุ๋ยแบบเดิม ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากการใส่ปุ๋ยที่ไม่เหมาะสมต่อความ

154



ต้องการของข้าว จึงทำให้การใส่ปุ๋ยไม่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินก็
เป็นปัจจัยสำคัญที่เป็นตัวส่งเสริมการเจริญเติบโตของพชและยังควบคุมการละลายของธาตุอาหาร


ต่างๆ ในดิน ให้อยู่ในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อีกด้วย































ภาพที่ 5-17 กราฟเปรียบเทียบต้นทุนปุ๋ย ผลผลิต และผลตอบแทนของแปลงทดสอบ
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน


ดังนั้น การทราบปริมาณธาตุอาหารในดินเป็นสิ่งสำคัญของการใช้ปุ๋ยเพอเพมผลผลิตพช

ิ่
ื่
ี่
สามารถบอกให้ทราบว่าดินมีธาตุอาหารพืชต่างๆ ในปริมาณทเพียงพอกับความต้องการของพืชหรือไม่

รวมทั้งยังช่วยลดการใส่ปุ๋ยที่เกนความต้องการของพืชเป็นการใส่ปุ๋ยได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ สามารถ

ลดต้นทุนการใช้ปุ๋ย และให้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าทางเศรษฐกิจในการผลิตพช อย่างไรก็ตาม การ
เพมธาตุพชโดยการใส่ปุ๋ยเคมีอย่างเดียว อาจไม่ใช่แนวทางที่เหมาะสม แต่ควรมีการใช้ปุ๋ยอนทรีย์
ิ่



ิ่
ิ่
ร่วมกับปุ๋ยเคมีที่จะช่วยเพมปริมาณธาตุอาหารในดิน ขณะเดียวกันปุ๋ยอนทรีย์จะช่วยเพมปริมาณ
อนทรียวัตถุในดิน ทั้งยังช่วยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและชีวภาพเพอช่วยเพมประสิทธิภาพของ
ิ่

ื่

การใช้ปุ๋ยเคมีให้มากขึ้นอกด้วย นอกจากนี้ การจัดการดินอย่างถูกต้อง และเหมาะสมต่อการ
เจริญเติบโตของพช จะช่วยลดการสูญเสียธาตุอาหารในดิน และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน

สามารถใช้ประโยชน์จากที่ดินได้อย่างยั่งยืนต่อไป

บทที่ 6

สรุปผลการศึกษา

6.1 ทรัพยากรดินและการประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน


6.1.1 ทรัพยากรดิน

1) กลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L) แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้

(1.1) กลุ่มดินเหนียวในพื้นที่ลุ่ม (L1) เป็นกลุ่มเนื้อดินที่พบมากรองลงมาจากกลุ่มเนื้อ


ดินร่วนละเอยดในพนที่ดินลุ่ม มีเนื้อที่รวม 139,848 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.80 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่
ื้
ชุดดินชุมแพ (Cpa) และชุดดินนาอ้อ (Nao)


(1.2) กลุ่มดินทรายแป้งในพนที่ลุ่ม (L2) มีเนื้อที่รวม 27,440 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.14
ื้

ของเนื้อที่จังหวัด พบในดินชุมแพที่เป็นดินทรายแป้งละเอยด (Cpa-fsi) และดินนาออที่เป็นดินทราย

แป้งละเอียด (Nao-fsi)

(1.3) กลุ่มดินร่วนละเอยดในพนที่ลุ่ม (L3) เป็นกลุ่มเนื้อดินที่พบมากที่สุดในพนที่ลุ่ม

ื้
ื้
ของจังหวัดหนองบัวลำภู มีเนื้อที่รวม 179,605 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 7.45 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ดิน


ชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอยด (Cpa-fl) ดินละหานทรายที่เป็นดินร่วนละเอยด (Lah-fl) ดินตะกอนน้ำ
พาเชิงซ้อนที่มีการระบายเลวและเป็นดินร่วนละเอยด (AC-pd,fl) ดินนาออที่เป็นดินร่วนละเอยด



(Nao-fl) และดินหนองกุงที่เป็นดินร่วนละเอียด (Nkg-fl)
(1.4) กลุ่มดินร่วนหยาบในพนที่ลุ่ม (L4) มีเนื้อที่รวม 3,898 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.16
ื้
ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ชุดดินสีทน (St) ชุดดินละหานทราย (Lah) และดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มี

การระบายเลวและเป็นดินร่วนหยาบ (AC-pd,col)


(1.5) กลุ่มดินตื้นในพนที่ลุ่ม (L11) เป็นกลุ่มเนื้อดินที่พบน้อยที่สุดในกลุ่มเนื้อดินใน
ื้
พื้นที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง มีเนื้อที่รวม 8,836 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.37 ของเนื้อที่จังหวัด ดินที่พบในกลุ่ม
ื้
นี้คือ ชุดดินศรีเมืองใหม่ (St)

156



2) กลุ่มดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD) แบ่งออกเป็น 9 กลุ่ม ดังนี้

(2.1) กลุ่มดินเหนียวในพื้นที่ดอน (UD1) มีเนื้อที่รวม 58,013 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.41


ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ชุดดินเชียงของ (Cg) ชุดดินกลางดง (Kld) ดินวังสะพงที่เป็นดินลึกมาก
(Ws-vd) ดินบ้านจ้องที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Bg-mw) ชุดดินดงลาน (Dl) และดินกลางดงที่มี

การระบายน้ำดีปานกลาง (Kld-mw)


(2.2) กลุ่มดินร่วนละเอียดในพื้นที่ดอน (UD2) มีเนื้อทรวม 88,647 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
ี่
ิ่

3.68 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนละเอยด (Kmr-hb,fl)
ดินภูพานที่เป็นดินร่วนละเอยด (Pu-fl) ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนละเอยด (Kmr-fl) และดินภูพานที่มี


การระบายน้ำดีปานกลางและเป็นดินร่วนละเอียด (Pu-mw,fl)

ื้
(2.3) กลุ่มดินร่วนหยาบในพนที่ดอน (UD3) เป็นกลุ่มเนื้อดินที่พบมากที่สุดในจังหวัด
หนองบัวลำภู มีเนื้อที่รวม 671,473 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 27.84 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ดินเขมราฐที่

เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col)
ิ่
ชุดดินภูพาน (Pu) ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง (Pu-mw) ดินปักธงชัยที่มีความอมตัวเบสสูง
ิ่
ื้
(Ptc-hb) หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินภูพานกับที่ดินหินพนโผล่ (Pu-RC) และดินปักธงชัยที่มีการระบาย
น้ำดีปานกลาง (Ptc-mw)


(2.4) กลุ่มดินทราย (UD4) มีเนื้อที่รวม 154,265 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6.40 ของเนื้อที่

จังหวัด ได้แก่ ดินคำบงที่เป็นทรายหนา (Kg-tks) ชุดดินคำบง (Kg) ดินคำบงที่มีการระบายน้ำดีปาน

กลางและเป็นทรายหนา (Kg-mw,tks) และดินคำบงที่เป็นดินลึกปานกลางและเป็นทรายหนา (Kg-

md,tks)



(2.5) กลุ่มดินทรายแป้ง-กลุ่มดินริมแม่น้ำหรือตะกอนน้ำพารูปพด (UD5) ดินกลุ่มนี้
เป็นกลุ่มดินที่พบน้อยที่สุดในจังหวัดหนองบัวลำภู มีเนื้อที่รวม 6,649 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.28 ของเนื้อ

ที่จังหวัด ได้แก ดินชุมพลบุรีที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด (Chp-fsi) และชุดดินชุมพลบุรี (Chp)


(2.6) กลุ่มดินตื้น (UD6) เป็นกลุ่มเนื้อดินที่พบมากในจังหวัดหนองบัวลำภูรองจาก

กลุ่มดินร่วนหยาบในพนที่ดอน (UD3) มีเนื้อที่รวม 424,3030 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 17.59 ของเนื้อที่
ื้
จังหวัด ได้แก่ ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) ชุดดินแก่งคอย (Kak) ชุดดินเชียงคาน (Ch) ชุดดิน
ื้
มวกเหล็ก (Ml) ชุดดินท่ายาง (Ty) หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินวังน้ำเขียวกับที่ดินหินพนโผล่ (Wk-RC)
และ ชุดดินลี้ (Li)

157



(2.7) กลุ่มดินลึกปานกลางที่มีชั้นลูกรัง ก้อนกรวด เศษหิน หรือหินผุในช่วงความลึก

50-100 ซม.จากผิวดิน (UD8) มีเนื้อที่ 106,235 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.40 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ชุด

ดินวังสะพง (Ws) ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปานกลาง (Cg-md) ชุดดินลาดหญ้า (Ly) ดินภูพานที่เป็น

ดินลึกปานกลางและเป็นดินร่วนละเอยด (Pu-md,fl) หน่วยเชิงซ้อนของดินคล้ายชุดดินภูพานที่เป็น

ดินลึกปานกลางและเป็นดินร่วนละเอยดและชุดดินวังน้ำเขียว (Pu-md,fl-Wk) และดินลาดหญ้าที่มี
การระบายน้ำดีปานกลาง (Ly-mw)


(2.8) กลุ่มดินซ้อน (กลุ่มดินที่มีชั้นดานดินเหนียว) (UD9) มีเนื้อที่รวม 99,356 ไร่ คิด

เป็นร้อยละ 4.12 ของเนื้อที่จังหวัด ดิน ได้แก่ ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูง (Kmr-hb) และชุดดิน
ิ่
เขมราฐ (Kmr)


ื้
(2.9) กลุ่มดินที่มีการดัดแปลงพนที่ทำนา (UD10) มีเนื้อที่รวม 84,362 ไร่ คิดเป็น
ร้อยละ 3.50 ของเนื้อที่จังหวัด ได้แก่ ชุดดินนาคู (Nu) และดินกลางดงที่มีจุดประสีเทา (Kld-gm)


3) หน่วยเบ็ดเตล็ด ได้แก่ พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC) มีเนื้อที่ 280,391 ไร่


6.1.2 การประเมินปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน

1) ระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน


จังหวัดหนองบัวลำภูมีปริมาณอนทรียวัตถุในดินระดับต่ำครอบคลุมพนที่ส่วนใหญ่
ื้

มากที่สุด มีเนื้อที่รวม 1,636,039 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 67.83 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มดินใน
พนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3) เช่น ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ
ื้
(Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภูพาน
ิ่
(Pu) สำหรับปริมาณอินทรียวัตถุในดินระดับปานกลาง มีเนื้อทรวม 427,025 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 17.70
ี่
ื้
ของเนื้อที่จังหวัด โดยพบมากที่สุดในกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) เช่น
ชุดดินแก่งคอย (Kak) ชุดดินเชียงคาน (Ch) และ ชุดดินมวกเหล็ก (Ml) เป็นต้น

2) ระดับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน

จังหวัดหนองบัวลำภูมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินระดับต่ำครอบคลุม

ื้
พนที่ส่วนใหญ่มากที่สุด กระจายตัวอยู่ทั่วไปของจังหวัด มีเนื้อที่รวม 2,013,367 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
ื้
83.47 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ
ิ่
(UD3) เช่น ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดิน
ร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภูพาน (Pu) สำหรับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน
ระดับปานกลาง พบได้น้อยมากมีเนื้อที่เพยง 49,697 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.06 ของเนื้อที่จังหวัดเท่านั้น


158



กระจายตัวบริเวณตอนกลางของอำเภอศรีบุญเรือง โดยมากพบในดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูง
ิ่
(Kmr-hb)


3) ระดับปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน

ทรัพยากรดินจังหวัดหนองบัวลำภู ส่วนใหญ่มีปริมาณโพแทสเซียมในดินอยู่ในระดับ

ต่ำมากที่สุด มีเนื้อที่รวม 1,704,393 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 70.67 ของเนื้อที่จังหวัด กระจายตัวอยู่โดยทั่ว
ทุกอำเภอในจังหวัด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มดินพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3) มี
ื้
เนื้อที่รวม 636,705 ไร่ โดยมากเป็นดินคล้ายชุดดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) และดิน

คล้ายชุดดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภูพาน (Pu)
รองลงมาคือ กลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) สำหรับปริมาณโพแทสเซียม
ื้
ที่เป็นประโยชน์ในดินระดับปานกลางพบมากเป็นอนดับสอง มีเนื้อที่รวม 331,553 ไร่ หรือคิดเป็นร้อย

ื้
ละ 13.75 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มดินพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มี
เนื้อที่รวม 157,004 ไร่ เช่น ชุดดินแก่งคอย (Kak) ชุดดินเชียงคาน (Ch) และชุดดินมวกเหล็ก (Ml)

กระจายตัวบริเวณอำเภอสุวรรณคูหาและอำเภอนาวัง ส่วนปริมาณโพแทสเซียมระดับสูง เป็นระดับที่
พบน้อยที่สุด มีเนื้อที่รวม 27,118 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.12 ของเนื้อที่จังหวัด พบมากในกลุ่มดินใน

พนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขังที่เป็นดินเหนียว (L1) คือ ชุดดินนาออ (Nao) กระจายตัวอยู่ในบริเวณ
ื้
ื้

ตอนกลางของอำเภอนาวังและอำเภอสุวรรณคูหา
6.1.3 การเปรียบเทียบข้อมูลระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน

การประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินที่ได้จากการประเมินค่าเชิงพื้นที่ด้วยการ

ประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นั้น มีระดับปริมาณอนทรียวัตถุ (OM) ฟอสฟอรัส (P) และ

โพแทสเซียม (K) เป็นไปในทิศทางเดียวกันหรืออยู่ในช่วงระดับปริมาณธาตุอาหารเดียวกันกับค่า
วิเคราะห์ดินจากโครงการบัตรดินดีและโครงการ 84 ตำบลฯ มากกว่าร้อยละ 70 ของจุดเปรียบเทียบ

ทั้งหมด 114 จุด ส่วนใหญ่ปริมาณอนทรียวัตถุ ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมอยู่ในระดับต่ำ ปานกลาง

และสูง ตามลำดับ


6.2 ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน


ื้
ระดับความอดมสมบูรณ์ของดินในพนที่จังหวัดหนองบัวลำภูมี 2 ระดับคือ ระดับต่ำ และระดับ
ปานกลาง โดยพบดินที่มีความอดมสมบูรณ์ของดินระดับต่ำ (L) มากที่สุด มีเนื้อที่ประมาณ

1,720,106 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 71.32 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเนื้อดินในพนที่ดอนที่อยู่ใน
ื้
เขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3) พบมากในดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) ดิน

เขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภูพาน (Pu) พบการ
ิ่
กระจายตัวทรัพยากรดินส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณอำเภอเมืองหนองบัวลำภู อำเภอศรีบุญเรือง และ

159



ี่
อำเภอนากลาง สำหรับดินที่มีระดับความอดมสมบูรณ์ระดับปานกลาง (M) มีเนื้อทประมาณ 342,958

ไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.22 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินตื้น (UD6) มากที่สุด เช่น
ชุดดินแก่งคอย (Kak) บริเวณที่พบการกระจายตัวของดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินระดับปานกลาง

มากที่สุด คือ อำเภอสุวรรณคูหา อำเภอนาวัง และอำเภอนากลาง

6.3 แนวทางกรใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและการจัดการดิน สำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ

6.3.1 แนวทางการจัดการปุ๋ยสำหรับพืชเศรษฐกิจ



ปัจจุบันการทำเกษตรกรรมมักมุ่งเน้นที่ความสามารถของดินในการให้ผลผลิตพชสูงสุด
ิ่


เกษตรกรจึงมักมีการเพมธาตุอาหารให้แก่พชเกินความจำเป็นหรือเกินความต้องการของพช ซึ่งเป็น
ิ่

การเพมต้นทุนการผลิตที่เสียไปโดยไม่เกิดประโยชน์ และยังอาจเกิดสารเคมตกค้างในดินทำให้มีผลต่อ
คุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพในดินอกด้วย บางพนที่มีการปลูกพชต่างชนิดกันและมีการ
ื้



จัดการดินที่แตกต่างกัน จึงมีผลทำให้ดินชนิดเดียวกันสามารถมีระดับธาตุอาหารในดินแตกต่างกนใน
ื้
แต่ละพนที่ได้ เนื่องจากมีปัจจัยหลายด้านที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสียธาตุอาหารในดิน หรือความเป็น

ประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน ดังนั้น การนำค่าปริมาณอนทรียวัตถุในดิน ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
ื่
ื้
และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินซึ่งได้จากการประมาณค่าเชิงพนที่มาวิเคราะห์เพอจัดระดับ

ความต้องการปริมาณธาตุอาหารในดินสำหรับข้าว ออย และมันสำปะหลัง พบว่า ระดับปริมาณธาตุ
อาหารหลักในดิน (OM-P-K) สำหรับปลูกข้าว ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ต่ำ ต่ำ ต่ำ (LLL) รองลงมาคือ
ระดับ ปานกลาง ต่ำ ต่ำ (MLL) และระดับต่ำ ปานกลาง ต่ำ (LML) ระดับปริมาณธาตุอหารหลักในดิน

(OM-P-K) สำหรับปลูกออย ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ต่ำ ต่ำ ต่ำ (LLL) รองลงมาคือระดับ ปานกลาง ต่ำ

ปานกลาง (MLM) และระดับปานกลาง ต่ำ ต่ำ (MLL) ส่วนระดับปริมาณธาตุอหารหลักในดิน (OM-P-

K) สำหรับปลูกมันสำปะหลัง ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ต่ำ ต่ำ ต่ำ (LLL) รองลงมาคือระดับต่ำ ต่ำ ปาน
กลาง (LLM) และระดับปานกลาง ต่ำ ปานกลาง (MLM) ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการใส่ปุ๋ย

ื่
ให้มีปริมาณที่พอเหมาะกับความต้องการของพชเพอให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินใน

ปริมาณที่เหมาะสมกับความต้องการธาตุอาหารในดินของพชแต่ละชนิดได้อย่างถูกต้อง ซึ่งช่วยให้

เกษตรกรสามารถใส่ปุ๋ยได้ตรงตามความต้องการธาตุอาหารพช ช่วยลดต้นทุนในการผลิต และยัง

สามารถเพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้น

6.3.2 การจัดการดินสำหรับพืชเศรษฐกิจ


กลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L)

ื่
ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการทำนาในช่วงฤดูฝน และสามารถพัฒนาพนที่เพอปลูกพช
ื้

ไร่ พชผัก หรือพชที่มีอายุสั้น เช่น ถั่ว เหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ออย ในช่วงฤดูแล้งหรือหลังเก็บเกี่ยว


ข้าวได้ ถ้าหากมีแหล่งน้ำเพียงพอหรืออยู่ในเขตชลประทาน

160




ดินกลุ่มนี้ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกออยและมันสำปะหลัง เนื่องจากมีน้ำท่วมขังนาน
ในช่วงฤดูฝนอาจทำความเสียหายกับพชได้ แต่หากต้องการนำมาใช้ จำเป็นต้องมีการพฒนาพนที่


ื้
อย่างเหมาะสม โดยการยกร่อง มีระบบป้องกันน้ำท่วม
กลุ่มดินในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง (UD)


ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการปลูกพชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น ในดินเหนียวจัดมี
ข้อจำกัดบ้างเกี่ยวกับการไถพรวนยาก เมื่อดินแห้งหรือเปียกแฉะเกินไป เกิดการฉีกขาดของรากพช

เมื่อดินแห้ง และเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว จะมีความอดมสมบูรณ์ต่ำ ไม่เหมาะสมสำหรับการทำนา

เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงลาดชัน จึงเก็บกักน้ำไว้ ปลูกข้าวได้ยาก

6.3.3 กรณีศึกษาแปลงทดสอบการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

การทราบปริมาณธาตุอาหารในดินเป็นสิ่งสำคัญของการใช้ปุ๋ยเพอเพมผลผลิตพช

ิ่
ื่
ี่
สามารถบอกให้ทราบว่าดินมีธาตุอาหารพืชต่างๆ ในปริมาณทเพียงพอกับความต้องการของพืชหรือไม่
รวมทั้งยังช่วยลดการใส่ปุ๋ยที่เกนความต้องการของพืชเป็นการใส่ปุ๋ยได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ สามารถ


ลดต้นทุนการใช้ปุ๋ย และให้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าทางเศรษฐกิจในการผลิตพช อย่างไรก็ตาม การ
เพมธาตุอาหารพชโดยการใส่ปุ๋ยเคมีอย่างเดียว อาจไม่ใช่แนวทางที่เหมาะสม แต่ควรมีการใช้ปุ๋ย

ิ่
ิ่

ิ่
อนทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีที่จะช่วยเพมปริมาณธาตุอาหารในดิน ขณะเดียวกันปุ๋ยอนทรีย์จะช่วยเพม


ิ่
ื่
ปริมาณอนทรียวัตถุในดิน ทั้งยังช่วยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและชีวภาพเพอช่วยเพม
ประสิทธิภาพของการใช้ปุ๋ยเคมีให้มากขึ้นอกด้วย นอกจากนี้ การจัดการดินอย่างถูกต้อง และ


เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพช จะช่วยลดการสูญเสียธาตุอาหารในดิน และความเสื่อมโทรมของ
ทรัพยากรดิน สามารถใช้ประโยชน์จากที่ดินได้อย่างยั่งยืนต่อไป

บทที่ 7

ปัญหาและขอเสนอแนะ


7.1 ปัญหา


7.1.1 ข้อมูลจุดค่าวิเคราะห์ดินที่นำมาใช้ในการศกษาครั้งนี้ เป็นข้อมูลที่มีการเก็บตัวอย่างดินมา

วิเคราะห์มานานแล้ว อาจทำให้ข้อมูลมีความคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงได้



7.1.2 ข้อมูลจุดค่าวิเคราะห์มีเพยงค่าวิเคราะห์ปริมาณอนทรียวัตถุ (OM) ฟอสฟอรัส (P) และ

ิ่
โพแทสเซียม (K) เท่านั้น ซึ่งไม่มีค่าความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) และร้อยละความอมตัวเบส
(%BS) จึงต้องนำค่ากลางประจำชุดดินมาใช้ในการประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินแทน

7.2 ข้อเสนอแนะ



7.2.1 ข้อมูล/แผนที่ที่ได้สามารถนำไปใช้ในการวางแผนและจัดการพนที่สำหรับปลูกข้าว ออย
ื้
และมันสำปะหลังต่อไป เนื่องจากมีความแม่นยำของพนที่ตามตำแหน่งค่าในการวิเคราะห์ดินในพนที่
ื้
ื้
จังหวัดหนองบัวลำภู และสามารถนำผลการศึกษาไปถ่ายทอด แนะนำได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับ
ื้


ื้
สภาพพนที่ โดยพจารณาถึงสภาพพนที่จริงที่แสดงในแผนที่ธาตุอาหารพชในดินของจังหวัด
หนองบัวลำภู
7.2.2 ควรมีการเก็บตัวอย่างดิน หรือการบูรณาการร่วมกันกับสำนักวิเคราะห์ดินทั้งในส่วนกลาง

และภูมิภาคให้มีการเก็บบันทึกข้อมูลตัวอย่างดินที่นำมาวิเคราะห์ ซึ่งจะทำให้มีจำนวนจุดข้อมูลค่า

ื่
วิเคราะห์ดินทั่วประเทศ และเป็นปัจจุบัน สามารถนำค่าวิเคราะห์ดินมาประมาณค่าในช่วงเพอ
ประเมินปริมาณธาตุอาหารในดินทำให้สามารถติดตามประเมินการเปลี่ยนแปลงปริมาณธาตุอาหารใน

ดินของประเทศไทยได้

7.2.3 เป็นข้อมูลพื้นฐานให้แก่เกษตรกรในจังหวัดหนองบัวลำภู นำไปใช้อย่างถูกต้องตามลักษณะ

พนที่ โดยทำการพจารณาในสภาพพนที่จริงที่แสดงในแผนที่ธาตุอาหารพชในดิน และควรใส่ปุ๋ย
ื้


ื้
อินทรีย์หรือปุ๋ยหมักร่วมกับปุ๋ยเคมีในอตราที่เหมาะสมในแต่ละพนที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์แตกต่างกัน

ื้
ต่อไป

7.2.4 การปลูกขาวในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลำภูนั้น ในพื้นที่ที่ค่อนข้างมีเนื้อดินเป็นทรายดิน ควร

ิ่

มีการปรับปรุงบำรุงดินโดยเพมปริมาณอนทรียวัตถุให้แก่ดิน โดยการใช้ปุ๋ยอนทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเป็น
ิ่
การปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเพมความอดมสมบูรณ์ของดิน อกทั้งยังเป็นวิธีการใช้ปุ๋ยอย่างมี


ประสิทธิภาพอีกด้วย

เอกสารอ้างอิง


กรมการปกครอง. 2556. แผนที่ขอบเขตการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย, กรุงเทพฯ.



กรมทรัพยากรธรณี. 2552. การจำแนกเขตเพื่อการจัดการด้านธรณีวทยาและทรัพยากรธรณี


จังหวดหนองบัวลำภู. พมพครั้งที่ 1 กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ.
กรมพฒนาที่ดิน. 2565. บัตรดินดี. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. แหล่งที่มา

http://iddindee.ldd.go.th/index.html, 5 มีนาคม 2565.


. 2558. สถานภาพทรัพยากรดินและที่ดินของประเทศไทย. กรมพฒนาที่ดิน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.


. 2557. คู่มือการพัฒนาที่ดินสำหรับหมอดินอาสาและเกษตรกร. พิมพครั้งที่ 3.
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.


. 2553ก. ดิน นิยาม และความหมาย. กรมพฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์, กรุงเทพฯ. แหล่งที่มา http://www.ldd.go.th/ofsweb/thaisoil/p2.htm, 7
กันยายน 2564.




. 2553ข. คู่มอการพัฒนาที่ดินสำหรับหมอดินอาสาและเกษตรกร. พิมพครั้งที่ 2
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.

กรมวิชาการเกษตร. 2548. คำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ. เอกสารวิชาการ 8/2548.
ISBN9744363443. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์


. 2553. คำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ. เอกสารวิชาการ 001/2553.
ISBN9789744367495. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์



กรมอตุนิยมวิทยา. 2560. สถิติภูมอากาศของประเทศไทยในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2531-2560).

กระทรวงคมนาคม, กรุงเทพฯ.


กลุ่มสำรวจจำแนกดิน. 2558. แผนที่ภาคตะวนออกเฉียงเหนือมาตราส่วน 1:25,000. [ไฟล์ข้อมูล].
กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,

กรุงเทพฯ.

กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน. 2561. แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินจังหวดหนองบัวลำภู ปี พ.ศ.

2560. [ไฟล์ข้อมูล]. กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.

163







กองพฒนาอตุนิยมวิทยา. 2563. ภูมอากาศจังหวดหนองบัวลำภู. กรมอตุนิยมวิทยา. แหล่งที่มา:

http://climate.tmd.go.th/data/province , 21 ธันวาคม 2563.
กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน. 2554. ค่าวิเคราะห์ดินโครงการ 84 ตำบล ปุ๋ยลดต้นทุนเฉลิม

พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มพระชนมายุ 84 พรรษา ภายใต้โครงการ
ส่งเสริมการใช้ป็ยเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร. กรมพฒนาที่ดิน. กระทรวง

เกษตรและสหกรณ์. 255 หน้า.


. 2561ก. เอกสารประกอบรายงานผลการวจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง การ
กระจายตัวของเนื้อดินในภาคตะวนออกเฉียงเหนือ. เอกสารวิชาการฉบับที่ กสด.

61/004. กรมพัฒนาที่ดิน. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 85 หน้า.


. 2561ข. ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน. พิมพ์ครั้งที่ 3. เอกสารวิชาการ
ฉบับที่ กสด.61/007. กรมพัฒนาที่ดิน. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 88 หน้า.


. 2561ค. รายงานโครงการปรับปรุงฐานข้อมลทรัพยากรดิน(โครงการ

ย่อย : การประเมนและวนิจฉัยคุณภาพและกำลังผลิตของดินตามจัดชั้นความ


เหมาะสมของดินในจังหวัดหนองบัวลำภู). กรมพัฒนาที่ดิน.



คณาจารย์ภาควิชาปฐพวิทยา. 2548. ปฐพีวทยาเบื้องต้น. พมพครั้งที่ 2. คณะเกษตร


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

จีราภรณ์ อนทสาร. 2563. ความอดมสมบูรณ์ของดิน (Soil Fertility). พมพครั้งที่ 2 สำนักพมพ ์




ดีไซน์ปริ้นท์ มีเดีย, เชียงใหม่.
ชันษา อรุณวิจิตร และตุลวิทย์ สถาปนจารุ 2558. การเปรียบเทียบวธีการประมาณค่าแบบคริกิง

และแบบหาค่าเฉลี่ยถ่วงน้าหนักในการศึกษาการกระจายตัวของเหล็ก แมงกานีส และ

สังกะสีในน้าใต้ดิน จังหวดระยอง. เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัย

รังสิต ประจำปี 2558 (RSU National Research Conference 2015). วันที่ 24

เมษายน 2558.


ไซสะหวัน อินทะวง. 2559. การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อประเมินธาคุอาหารพืชใน

ดินสำหรับการปลูกข้าว กรณีศึกษา: อำเภออทุมพร จังหวดสุวรรณเขต สปป ลาว.

วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณรงค์ ตรีสุวรรณ. 2544. การประเมนความอดมสมบูรณ์ของดินที่พบในประเทศไทย. เอกสาร


วิชาการ ฉบับที่ 483. กองสำรวจและจำแนกดิน. กรมพฒนาที่ดิน. กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์, กรุงเทพฯ.

164



ณัฐพล จันทร์แก้ว และอาภากร ทองวงสา. 2559. แบบจำลองทางสถิติเชิงพื้นที่สำหรับการ


คาดคะเนสมบัติพื้นฐานของดิน ณ บ้านโป่งลึกบางกลอย อำเภอแก่งกระจาน จังหวด
เพชรบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ปีที่ 24. ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน
2559.


ดนัย วรรณวนิช. 2547. เอกสารคำสอนวชาความอดมสมบูรณ์ของดิน Soil Fertility. สถาบัน


เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตปทุมธานี.


ปฏิวัติ ฤทธิเดช. 2559. เอกสารประกอบการสอน ระบบสารสนเทศภูมศาสตร์: การประมาณค่า
เชิงพื้นที่ (Spatial interpolation). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปรัชนิดา ขันธ์ชัยและ พรทิวา กัญยวงศ์หา. 2563. การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมศาสตร์เพื่อ

ประเมินความอดมสมบูรณ์ของดิน: กรณีศึกษา สวนยางพารา อำเภอป่าบอน จังหวด


พัทลุง. วารสารแก่นเกษตร. ปีที่ 48. ฉบับพิเศษ 1. หน้า 83-92.


มุกดา สุขสวัสดิ์. 2544. ความอดมสมบูรณ์ของดิน (Soil Fertility). สำนักพมพโอเดียนสโตร์.


พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ.
ยงยุทธ โอสถสภา. 2558. ธาตุอาหารพืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.

. 2556. ธาตุอาหารและการเจริญเติบโตของอ้อย. ปีที่ 35 เล่มที่ 1-4 หน้า 65-77





รัตนชาติ ช่วยบุดดา และ บุศรินทร์ แสวงลาภ. 2562. คู่มอการวเคราะห์ดินทางเคมเพื่อประเมน

ความอดมสมบูรณ์ของดิน. เอกสารวิชาการ สำนักวิทยาศาตร์เพอการพฒนาที่ดิน กรม


ื่
พัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
วิจิตร วังใน. 2552. ธาตุอาหารกับการผลิตพืชผล. สำนักพิมพ์เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ศูนย์เมล็ดพนธุ์ข้าวสกลนคร. 2565. การดูแลรักษาและการใส่ปุ๋ยในนาข้าว. กรมการข้าว.

แหล่งที่มา : http://skn-ricethailand.go.th , 15 กุมภาพันธ์ 2565.



สถิระ อุดมศรี, จตุรงค์ ละออพนธ์สกุล และ ธัญยธรณ์ จิตอรวรรณ์. 2558. ศักยภาพทรัพยากรดิน

ภาคตะวนออกเฉียงเหนือ (ตามโครงการการปรับฐานข้อมลทรัพยากรดินเบื้องต้นลง

บนภาพถ่าย Ortho ระยะที่ 2 มาตราส่วน 1:25,000). เอกสารวิชาการฉบับที่

01/01/58. กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน. กรมพฒนาที่ดิน. กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์. 213 หน้า.

165




ี่
สัญชัย เอยมประเสริฐ. 2554. การเปรียบเทียบวธีการประมาณค่าปริมาณน้ำฝนรายวน ด้วย


ระบบสารสนเทศภูมศาสตร์ บริเวณพื้นที่ราบลุ่มน้ำเจ้าพระยา. วิทยานิพนธ์ปริญญา

มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม คณะพฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สุเพชร จิรขจรกุล. 2556. เรียนรู้ระบบสารสนเทศภูมศาสตร์ ด้วยโปรแกรม ArcGIS 10.1 for

Desktop. ภาควิชาเทคโนโลยีชนบท . คณ ะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.


. 2552. เรียนรู้ระบบภูมิสารสนเทศด้วยโปรแกรม ArcGIS Desktop 9.3.1.
กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาเทคโนโลยีชนบท คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. 2562. พจนานุกรมศัพท์ปฐพีศาสตร์ ฉบับราชบัณฑตยสภา.

พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, กรุงเทพฯ.

ภาคผนวก

167


ภาคผนวก ก

การประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยการให้คะแนน


ตารางภาคผนวก ก แสดงวิธีคิดระดับความอดมสมบูรณ์โดยใช้คะแนน


OM P K %BS CEC Total Fertility


3 3 3 2-3 2-3 13-15 สูง


3 3 3 3 1 13 สูง

3 3 3 1-2 1 11-12 ปานกลาง

3 2-3 1-2 1-2 1-2 8-12 ปานกลาง


2 2 2 1-2 1-2 8-10 ปานกลาง

1-3 1 1 1 1 5-7 ต่ำ

1-2 1-2 1 1 1 5-7 ต่ำ


OM = Organic matter
P = Available Phosphorus
K = Available Potassium

BS = Base saturation
CEC = Cation exchange capacity

ที่มา : ณรงค์ ตรีสุวรรณ (2544)

168


ภาคผนวก ข

ระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับพืชเศรษฐกิจ


ตารางภาคผนวก ข1 อัตราการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับข้าว

อัตราปุ๋ยที่ใส่
ปริมาณธาตุอาหารในดิน ข้าวพันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง ข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสง

(กิโลกรัมต่อไร่) (กิโลกรัมต่อไร่)
อินทรียวัตถุ (OM,%) ปุ๋ยไนโตรเจน (N) ปุ๋ยไนโตรเจน (N)
น้อยกว่า 1 (ต่ำ, L) 18 9
1-2 (ปานกลาง, M) 12 6
มากกว่า 2 (สูง, H) 6 3
ฟอสฟอรัส (P, มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปุ๋ยฟอสฟอรัส (P O ) ปุ๋ยฟอสฟอรัส (P O )
2 5
2 5
น้อยกว่า 5 (ต่ำ, L) 6 6
5-10 (ปานกลาง, M) 3 3

มากกว่า 10 (สูง, H) 0 0
โพแทสเซียม (K, มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปุ๋ยโพแทสเซียม (K O) ปุ๋ยโพแทสเซียม (K O)
2
2
น้อยกว่า 60 (ต่ำ, L) 6 6
60-80 (ปานกลาง, M) 3 3
มากกว่า 80 (สูง, H) 0 0

ที่มา : กรมวิชาการเกษตร (2553)

169


ตารางภาคผนวก ข2 อัตราการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับอ้อย


ปริมาณธาตุอาหารในดิน อัตราปุ๋ยที่ใส่ (กิโลกรัมต่อไร่)


อินทรียวัตถุ (OM,%) ปุ๋ยไนโตรเจน (N)
น้อยกว่า 1 (ต่ำ, L) 18

1-2 (ปานกลาง, M) 12
มากกว่า 2 (สูง, H) 12

ฟอสฟอรัส (P, มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปุ๋ยฟอสฟอรัส (P O )
2 5
น้อยกว่า 15 (ต่ำ, L) 6

15-30 (ปานกลาง, M) 6
มากกว่า 30 (สูง, H) 6

โพแทสเซียม (K, มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปุ๋ยโพแทสเซียม (K O)
2
น้อยกว่า 60 (ต่ำ, L) 12

60-90 (ปานกลาง, M) 12
มากกว่า 90 (สูง, H) 6

ที่มา : กรมวิชาการเกษตร (2548)


ตารางภาคผนวก ข3 อัตราการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับมันสำปะหลัง

ปริมาณธาตุอาหารในดิน อัตราปุ๋ยที่ใส่ (กิโลกรัมต่อไร่)

อินทรียวัตถุ (OM,%) ปุ๋ยไนโตรเจน (N)
น้อยกว่า 0.6 (ต่ำ, L) 16
0.6-2.0 (ปานกลาง, M) 8
มากกว่า 2.0 (สูง, H) 4

ฟอสฟอรัส (P, มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปุ๋ยฟอสฟอรัส (P O )
2 5
น้อยกว่า 5 (ต่ำ, L) 8
5-30 (ปานกลาง, M) 4

มากกว่า 30 (สูง, H) 0
โพแทสเซียม (K, มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปุ๋ยโพแทสเซียม (K O)
2
น้อยกว่า 0 (ต่ำ, L) 16
30-90 (ปานกลาง, M) 8

มากกว่า 90 (สูง, H) 4

ที่มา : กรมวิชาการเกษตร (2548)

170


ภาคผนวก ค

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจ


ตารางภาคผนวก ค1 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน
ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่)
OM P K 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0
L L L 14 10 5 0 0 10
L L M 14 5 5 0 0 10

L L H 14 0 5 0 0 10
L M L 7 10 8 0 0 10
L M M 7 5 8 0 0 10

L M H 7 0 8 0 0 10
L H L 0 10 10 0 0 10
L H M 0 5 10 0 0 10

L H H 0 0 10 0 0 10
M L L 14 10 2 0 0 7
M L M 14 5 2 0 0 7

M L H 14 0 2 0 0 7
M M L 7 10 4 0 0 7
M M M 7 5 4 0 0 7
M M H 7 0 4 0 0 7

M H L 0 10 7 0 0 7
M H M 0 5 7 0 0 7
M H H 0 0 7 0 0 7

H L L 14 10 0 0 0 4
H L M 14 5 0 0 0 4
H L H 14 0 0 0 0 4
H M L 7 10 1 0 0 4

H M M 7 5 1 0 0 4
H M H 7 0 1 0 0 4
H H L 0 10 4 0 0 4

H H M 0 5 4 0 0 4
H H H 0 0 4 0 0 4

171


ตารางภาคผนวก ค2 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน
ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่)
OM P K 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0

L L L 14 10 15 0 0 20
L L M 14 5 15 0 0 20
L L H 14 0 15 0 0 20

L M L 7 10 18 0 0 20

L M M 7 5 18 0 0 20
L M H 7 0 18 0 0 20
L H L 0 10 20 0 0 20

L H M 0 5 20 0 0 20
L H H 0 0 20 0 0 20

M L L 14 10 8 0 0 14
M L M 14 5 8 0 0 14

M L H 14 0 8 0 0 14
M M L 7 10 11 0 0 14

M M M 7 5 11 0 0 14
M M H 7 0 11 0 0 14

M H L 0 10 14 0 0 14
M H M 0 5 14 0 0 14

M H H 0 0 14 0 0 14
H L L 14 10 2 0 0 7

H L M 14 5 2 0 0 7
H L H 14 0 2 0 0 7

H M L 7 10 4 0 0 7
H M M 7 5 4 0 0 7

H M H 7 0 4 0 0 7
H H L 0 10 7 0 0 7

H H M 0 5 7 0 0 7
H H H 0 0 7 0 0 7

172


ตารางภาคผนวก ค3 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับอ้อยปลูก

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน
ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่)
OM P K 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0

L L L 14 20 15 0 0 20
L L M 14 20 15 0 0 20
L L H 14 10 15 0 0 20
L M L 14 20 15 0 0 20

L M M 14 20 15 0 0 20
L M H 14 10 15 0 0 20
L H L 14 20 15 0 0 20

L H M 14 20 15 0 0 20
L H H 14 10 15 0 0 20
M L L 14 20 8 0 0 14
M L M 14 20 8 0 0 14

M L H 14 10 8 0 0 14
M M L 14 20 8 0 0 14
M M M 14 20 8 0 0 14

M M H 14 10 8 0 0 14
M H L 14 20 8 0 0 14
M H M 14 20 8 0 0 14
M H H 14 10 8 0 0 14

H L L 14 20 8 0 0 14
H L M 14 20 8 0 0 14
H L H 14 10 8 0 0 14

H M L 14 20 8 0 0 14
H M M 14 20 8 0 0 14
H M H 14 10 8 0 0 14
H H L 14 20 8 0 0 14

H H M 14 20 8 0 0 14
H H H 14 10 8 0 0 14

173


ตารางภาคผนวก ค4 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับอ้อยตอ

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน
ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่)
OM P K 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0

L L L 16 27 40 0 0 27
L L M 16 27 30 0 0 27
L L H 16 27 30 0 0 27
L M L 19 20 40 0 0 27

L M M 19 20 30 0 0 27
L M H 19 20 30 0 0 27
L H L 19 20 40 0 0 27

L H M 19 20 30 0 0 27
L H H 19 20 30 0 0 27
M L L 10 27 40 0 0 20
M L M 10 27 30 0 0 20

M L H 10 27 30 0 0 20
M M L 12 20 40 0 0 20
M M M 12 20 30 0 0 20

M M H 12 20 30 0 0 20
M H L 12 20 40 0 0 20
M H M 12 20 30 0 0 20
M H H 12 20 30 0 0 20

H L L 10 27 40 0 0 20
H L M 10 27 30 0 0 20
H L H 10 27 30 0 0 20

H M L 12 20 40 0 0 20
H M M 12 20 30 0 0 20
H M H 12 20 30 0 0 20
H H L 12 20 40 0 0 20

H H M 12 20 30 0 0 20
H H H 12 20 30 0 0 20

174


ตารางภาคผนวก ค5 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับมันสำปะหลัง


ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่)

OM P K 18-46-0 0-0-60 46-0-0
L L L 18 27 28

L L M 18 14 28
L L H 18 7 28
L M L 9 27 32

L M M 9 14 32
L M H 9 7 32
L H L 0 27 35

L H M 0 14 35
L H H 0 7 35
M L L 18 27 11

M L M 18 14 11
M L H 18 7 11
M M L 9 27 14
M M M 9 14 14

M M H 9 7 14
M H L 0 27 18
M H M 0 14 18

M H H 0 7 18
H L L 18 27 2
H L M 18 14 2
H L H 18 7 2

H M L 9 27 6
H M M 9 14 6
H M H 9 7 6

H H L 0 27 9
H H M 0 14 9
H H H 0 7 9

175


ภาคผนวก ง

สูตรปุ๋ยและการคำนวณปุ๋ย


สูตรปุ๋ย หมายถึง ปริมาณธาตุอาหารแต่ละชนิดที่มีอยู่ในปุ๋ย มีน้ำหนัก 100 กิโลกรัม เช่น ปุ๋ยสูตร
20-10-10 มีธาตุอาหารพืชอยู่ 40 กิโลกรัม ประกอบด้วย ไนโตรเจน 20 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส 10 กิโลกรัม


และโพแทสเซียม 10 กิโลกรัม และมีส่วนผสมอื่นๆ อกในน้ำหนักปุ๋ย 100 กิโลกรัม
อัตราส่วนหรือเรโชปุ๋ย หมายถึง สัดส่วนอย่างต่ำของปริมาณธาตุอาหาร ไนโตรเจน : ฟอสฟอรัส

: โพแทสเซียม (N : P : K) ที่มีอยู่ในปุ๋ยนั้น เช่น สัดส่วนปุ๋ย 1 : 1 : 1 คือ ในปุ๋ยนั้นมี ไนโตรเจน

ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในสัดส่วน 1 : 1 : 1

วิธีการคำนวณปุ๋ย ยกตัวอย่างสูตรปุ๋ยที่ต้องการ คือ 15 : 15 : 15 หมายความว่า ต้องการ

ไนโตรเจน 15 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส 15 กิโลกรัม และโพแทสเซียม 15 กิโลกรัม โดยใช้แม่ปุ๋ยสูตร 18-46-
0, 46-0-0 และ 0-0-60 คำนวณดังนี้


- ธาตุฟอสฟอรัส ต้องการธาตุฟอสฟอรัส 15 กิโลกรัม โดยใช้แม่ปุ๋ยสูตร 18-46-0

ใช้แม่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 จำนวน (100/46) x 15 = 32.609 กิโลกรัม

- ธาตุไนโตรเจน ต้องการธาตุไนโตรเจน 15 กิโลกรัม โดยใช้แม่ปุ๋ยสูตร 46-0-0


ใช้แม่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 หนัก 32.609 กิโลกรัม มีธาตุไนโตรเจนอยู่ (18/100) x 32.609 =
5.870 กิโลกรัม ต้องการไนโตรเจน 15 กิโลกรัม ต้องเพิ่มธาตุไนโตรเจนอีก 9.130 กิโลกรัม

โดยใช้แม่ปุ๋ย 46-0-0 จำนวน (100/46) x 9.130 = 19.848 กิโลกรัม

- ธาตุโพแทสเซียม ต้องการธาตุโพแทสเซียม 15 กิโลกรัม โดยใช้แม่ปุ๋ย 0-0-60 จำนวน

(100/60) x 15 = 25.000 กิโลกรัม

ดังนั้น สูตรปุ๋ย 15-15-15 คำนวณจากแม่ปุ๋ยทั้ง 3 สูตรให้ปริมาณธาตุไนโตรเจน 15 กิโลกรัม

ฟอสฟอรัส 15 กิโลกรัม และโพแทสเซียม 15 กิโลกรัม ใช้แม่ปุ๋ยทั้งหมดรวมกัน คือ (18-46-0) จำนวน

32.609 + (46-0-0) จำนวน 19.848 + (0-0-60) จำนวน 25.000 = 77.457 กิโลกรัม และหาวัสดุอื่นมา

ผสมอีก จำนวน 22.543 กิโลกรัม จึงจะได้ปุ๋ยผสมเองสูตร 15-15-15 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553)

176


ภาคผนวก จ

แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับข้าว


รายอำเภอ จังหวัดหนองบวลำภู


177
ภาพที่ จ1 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับข้าว อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู

178

ภาพที่ จ2 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับข้าว อำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู

179

ภาพที่ จ3 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับข้าว อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู

180

ภาพที่ จ4 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับข้าว อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู

181

ภาพที่ จ5 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับข้าว อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู

182

ภาพที่ จ6 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับข้าว อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลำภู

183


ภาคผนวก ฉ

แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับอ้อย



รายอำเภอ จังหวัดหนองบวลำภู

184

ภาพที่ ฉ1 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับออย อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู

185

ภาพที่ ฉ2 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับออย อำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู

186

ภาพที่ ฉ3 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับออย อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู

187

ภาพที่ ฉ4 แผนที่ทรัพยากรดินกับระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินสำหรับออย อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู


Click to View FlipBook Version