88
ตารางที่ 5-3 แสดงระดับปริมาณฟอสฟอรัสในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณฟอสฟอรัสในดิน ผลรวมเนื้อที่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ ไร่ ร้อยละ
UD3 : กลุ่มดินร่วนหยาบ 671,473 27.83 - 671,473 27.83
Kmr-col ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ 322,161 13.36 - - 322,161 13.36
Kmr-hb,col ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูงและ 271,485 11.25 - - 271,485 11.25
เป็นดินร่วนหยาบ
Ptc-hb ดินปักธงชัยที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 8,054 0.33 - - 8,054 0.33
Ptc-mw ดินปักธงชัยที่มีการระบายน้ำดีปาน 172 0.01 - - 172 0.01
กลาง
Pu ชุดดินภูพาน 33,568 1.39 - - 33,568 1.39
Pu-mw ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง 29,748 1.23 - - 29,748 1.23
Pu-RC หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินภูพานกับที่ดิน 6,285 0.26 - - 6,285 0.26
หินพื้นโผล่
UD4 : กลุ่มดินทราย 149,650 6.20 4,615 0.19 154,265 6.39
Kg ชุดดินคำบง 44,493 1.84 - - 44,493 1.84
Kg-md,tks ดินคำบงที่เป็นดินลึกปานกลางและเป็น 5,822 0.24 - - 5,822 0.24
ทรายหนา
Kg-mw,tks ดินคำบงที่มีการระบายน้ำดีปานกลาง 20,948 0.87 484 0.02 21,432 0.89
และเป็นทรายหนา
Kg-tks ดินคำบงที่เป็นทรายหนา 78,387 3.25 4,131 0.17 82,518 3.42
UD5 : กลุ่มดินทรายแป้ง-กลุ่มดินริมแม่น้ำหรือตะกอน 6,649 0.27 - 6,649 0.27
น้ำพารูปพัด
Chp ชุดดินชุมพลบุรี 1,471 0.06 - - 1,471 0.06
Chp-fsi ดินชุมพลบุรีที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด 5,178 0.21 - - 5,178 0.21
UD6 : กลุ่มดินตื้น 424,303 17.60 - 424,303 17.60
Ch ชุดดินเชียงคาน 91,393 3.79 - - 91,393 3.79
Kak ชุดดินแก่งคอย 139,208 5.77 - - 139,208 5.77
Li ชุดดินล ี้ 4,619 0.19 - - 4,619 0.19
Ml ชุดดินมวกเหล็ก 26,265 1.09 - - 26,265 1.09
Nbd ชุดดินหนองบัวแดง 139,559 5.79 - - 139,559 5.79
Ty ชุดดินท่ายาง 12,715 0.53 - - 12,715 0.53
Wk-RC หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินวังน้ำเขียวกับ 10,544 0.44 - - 10,544 0.44
ที่ดินหินพื้นโผล่
UD8 : กลุ่มดินลึกปานกลางมีชั้นลูกรง ก้อนกรวด เศษหน หรือหินผ ุ 106,235 4.40 - 106,235 4.40
ิ
ั
ในชวงความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน
่
Cg-md ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปานกลาง 24,983 1.03 - - 24,983 1.03
Ly ชุดดินลาดหญ้า 12,683 0.53 - - 12,683 0.53
Ly-mw ดินลาดหญ้าที่มีการระบายน้ำดีปาน 943 0.04 - - 943 0.04
กลาง
Pu-md,fl ดินภูพานที่เป็นดินลึกปานกลางและ 9,031 0.37 - - 9,031 0.37
เป็นดินร่วนละเอียด
89
ตารางที่ 5-3 แสดงระดับปริมาณฟอสฟอรัสในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณฟอสฟอรัสในดิน ผลรวมเนื้อที่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ ไร่ ร้อยละ
Pu-md,fl-Wk หน่วยเชิงซ้อนของดินคล้ายชุดดินภู 4,869 0.20 - - 4,869 0.20
พานที่เป็นดินลึกปานกลางและเป็นดิน
ร่วนละเอียดและชุดดินวังน้ำเขียว
Ws ชุดดินวังสะพุง 53,726 2.23 - - 53,726 2.23
UD9 : กลุ่มดินซ้อน (กลุ่มดินที่มีชั้นดานดินเหนียว) 61,552 2.55 37,804 1.57 99,356 4.12
Kmr ชุดดินเขมราฐ 24,169 1.00 - - 24,169 1.00
Kmr-hb ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 37,383 1.55 37,804 1.57 75,187 3.12
UD10 : กลุ่มดินที่มีการดัดแปลงพื้นที่ทำนา 84,058 3.49 304 0.01 84,362 3.50
Kld-gm ดินกลางดงที่มีจุดประสีเทา 619 0.03 - - 619 0.03
Nu ชุดดินนาคู 83,439 3.46 304 0.01 83,743 3.47
หน่วยเบ็ดเตล็ด 2,013,367 83.47 49,697 2.06 348,865 14.47
SC พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน 280,391 11.63
W พื้นที่น้ำ 68,474 2.84
รวมเนื้อที่ทั้งหมด 2,411,929 100.00
หมายเหตุ : เนื้อที่ได้จากการคำนวนโดยระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) และทำการถ่วงน้ำหนักกับเนื้อที่จากกรมการปกครอง 3,859.086
ตารางกิโลเมตร หรือ 2,411,929 ไร ่
สำหรับทรัพยากรดินที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ระดับปานกลาง พบมาก
ที่สุดในกลุ่มดินพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินที่มีชั้นดานดินเหนียว (UD9) คือ ดินเขมราฐที่มี
ื้
ความอมตัวเบสสูง (Kmr-hb) มีเนื้อที่ 37,804 ไร่ กระจายตัวบริเวณตอนกลางของอำเภอศรีบุญเรือง
ิ่
รองลงมาคือ กลุ่มเนื้อดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขังที่เป็นดินร่วนละเอยด (L3) ได้แก่ ดินชุมแพที่เป็น
ี
ื้
ื้
ดินร่วนละเอียด (Cpa-fl) มีเนื้อที่ 6,974 ไร่ และกลุ่มดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินทราย
(UD4) ได้แก่ ดินคำบงที่เป็นทรายหนา (Kg-tks) มีเนื้อที่ 4,131 ไร่ ตามลำดับ กระจายตัวอยู่บริเวณ
ตอนบนของอำเภอศรีบุญเรือง (ภาพที่ 5-5)
จะเห็นได้ว่า จังหวัดหนองบัวลำภูดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินระดับ
ิ่
ต่ำมากที่สุด ส่วนใหญ่พบมากในดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัว
เบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภูพาน (Pu) ซึ่งเกดจากวัตถุต้นกำเนินดินที่เป็น
ิ
ดินเนื้อหยาบดังได้อธิบายไปแล้วข้างต้น รองลงมาคือ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินระดับ
ปานกลาง พบมากที่สุดในดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูง (Kmr-hb) มีดินบนเป็นดินร่วนปนทราย
ิ่
ิ
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ซึ่งมีอทธิพลต่อการละลายของฟอสฟอรัสที่
ั
ั
เป็นประโยชน์ในดิน สอดคล้องกบ กรมพฒนาที่ดิน (2558) ได้อธิบายสถานภาพปริมาณฟอสฟอรัสที่
เป็นประโยชน์ของประเทศไทยจากผลการวิเคราะห์ตัวอย่างดินทั่วประเทศ จำนวน 75,134 จุด พบว่า
ดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่ำกว่า 10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ
90
59.58 ของจำนวนข้อมูลทั้งหมด โดยมีการกระจายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดส่วนของข้อมูล
สูงสุดคิดเป็นร้อยละ 54.85 ของผลวิเคราะห์ดินที่มีฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่ำ หรือคิดเป็นร้อยละ
72.43 ของผลวิเคราะห์ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Motamura (1973) อ้างถึงใน สมชาย (2535)
อธิบายการศึกษาปริมาณเฉลี่ยของฟอสฟอรัสทั้งหมดและที่เป็นประโยชน์ของดินชั้นไถพรวนในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือจำนวน 41 ตัวอย่าง พบว่า ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมดมีประมาณ 62 ppm แต่
ี่
เป็นฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เพียงแค่ 3 ppm เท่านั้น ซึ่งมีปริมาณน้อยมากทสุดเมื่อเปรียบเทียบกับ
ื้
ื่
ภาคอนๆ ของประเทศ นอกจากนี้ ปริมาณของฟอสฟอรัสในดิน ในแต่ละจุดบนพนที่หรือตามแนว
ความลึก (หรือหน้าตัดดิน) ยังแตกต่างกันไปตามชนิดของวัตถุต้นกำเนิดดิน ความมากน้อยของการ
ชะล้างและการใช้ที่ดิน หากดินมีวัตถุต้นกำเนิดชนิดเดียวกัน กลุ่มเนื้อดินละเอยด ส่วนใหญ่จะมี
ี
ปริมาณฟอสฟอรัสมากกว่าดินเนื้อหยาบ ดินที่มีการใช้ประโยชน์เป็นระยะเวลานานหรือถูกชะล้าง
ิ่
มากกว่า มักจะมีปริมาณฟอสฟอรัสอยู่น้อยกว่าดินที่เพงใช้ประโยชน์ รวมทั้งปริมาณฟอสฟอรัสในดิน
ชั้นบนมักมีปริมาณน้อยกว่าดินชั้นล่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งชั้นที่มีการชะล้างมากๆ และมีฟอสฟอรัส
ี
ปริมาณมากที่สุดในดินชั้นที่มีการสะสมของสารที่ถูกชะล้าง (คณาจารย์ภาควิชาปฐพวิทยา, 2544)
อย่างไรก็ตาม ปฏิกิริยาความเป็นกรดด่าง (pH) ของดินก็มีผลต่อการละลายของฟอสฟอรัสในดินด้วย
เช่นกัน โดยปฏิกิริยาความเป็นกรดด่าง (pH) ที่ฟอสฟอรัสสามารถนำมาใช้ประโยชน์กับพชได้คือ pH
ื
5.5-7 หากสภาพดินมีฤทธิ์เป็นกรดต่ำกว่า 5.5 เหล็กไอออนและอะลูมิเนียมไอออนจะเข้าทำปฏิกิริยา
กับฟอสเฟตไอออนเกิดเป็นสารประกอบที่ไม่ละลายน้ำ ในทางกลับกันเมื่อสภาพดินมีปฏิกิริยาความ
เป็นกรดด่าง (pH) สูงกว่า 7 ขึ้นไป แคลเซียมไอออนและแมกนีเซียมไอออนจะทำปฏิกิริยากับ
ฟอสเฟตไอออนเกิดเป็นสารประกอบที่ไม่ละลายน้ำ (รัตนชาติ และบุศรินทร์, 2562) ดังนั้นจึงมักจะมี
ื
ปัญหาเสมอว่าถึงแม้ดินจะมีฟอสฟอรัสมากก็จริงแต่พชก็ยังขาดฟอสฟอรัส เพราะส่วนใหญ่อยู่ในรูปที่
ไม่ละลายน้ำนั่นเอง
91
ภาพที่ 5-4 แผนที่ระดับปริมาณฟอสฟอรัส จังหวัดหนองบัวลำภู
92
ภาพที่ 5-5 แผนที่ระดับปริมาณฟอสฟอรัสและทรัพยากรดิน จังหวัดหนองบัวลำภู
93
3) ระดับปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน
ทรัพยากรดินจังหวัดหนองบัวลำภูส่วนใหญ่มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ใน
ดินอยู่ในระดับต่ำถึงระดับสูง โดยมีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ระดับต่ำมากทสุด มีเนื้อที่รวม
ี่
ื้
1,704,393 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 70.68 ของเนื้อที่จังหวัด พบในกลุ่มดินพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง
(UD) มีเนื้อที่ 1,405,239 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 58.26 ของเนื้อทจังหวัด และกลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่
ี่
น้ำขัง (L) มีเนื้อที่ 299,154 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 12.42 ของเนื้อที่จังหวัด มีการกระจายตัวของ
ทรัพยากรดินส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณอำเภอเมืองหนองบัวลำภู อำเภอศรีบุญเรือง อำเภอโนนสัง อำเภอ
นากลาง อำเภอสุวรรณคูหา และอำเภอนาวัง ตามลำดับ รองลงมาคือ ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
ประโยชน์ในดินระดับปานกลาง มีเนื้อที่รวม 331,553 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.73 ของเนื้อที่จังหวัด
ื้
ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD) และกลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง (L)
ื้
ื้
มีเนื้อที่ 274,648 และ 56,905 ไร่ ตามลำดับ พบการกระจายตัวของทรัพยากรดินส่วนใหญ่
ื้
ครอบคลุมพนที่บริเวณตอนกลางถึงตอนบนของอำเภอสุวรรณคูหาและเกือบทั่วอำเภอนาวัง
นอกจากนี้ยังพบปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินระดับสูงเพียงเล็กน้อย มีเนื้อที่รวม 27,118
ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.12 ของเนื้อที่จังหวัด โดยพบการกระจายตัวของดินที่มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
ประโยชน์ในดินระดับสูงอยู่ในบริเวณตอนกลางของอำเภอนาวังและอำเภอสุวรรณคูหา (ตารางที่ 5-4
และภาพที่ 5-6)
จากตารางที่ 5-4 และภาพที่ 5-7 ทรัพยากรดินจังหวัดหนองบัวลำภูมีปริมาณ
โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินระดับต่ำ (น้อยกว่า 60 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มดิน
พนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3) มีเนื้อที่รวม 636,705 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
ื้
26.39 ของเนื้อที่จังหวัด โดยมากเป็นดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) ดินเขมราฐที่มีความ
อิ่มตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภูพาน (Pu) มีเนื้อที่ 290,513 268,903
และ33,030 ไร่ ตามลำดับ รองลงมาคือ กลุ่มดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มี
เนื้อที่รวม 261,238 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 10.84 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนมากพบในชุดดินหนองบัวแดง
(Nbd) ชุดดินแก่งคอย (Kak) และชุดดินเชียงคาน (Ch) และ มีเนื้อที่ 138,886 59,568 และ
39,970 ไร่ ตามลำดับ และกลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขังที่เป็นดินร่วนละเอยด (L3) มีเนื้อที่รวม
ื้
ี
ื้
ี
175,412 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 7.28 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอยด
(Cpa-fl) ดินละหานทรายที่เป็นดินร่วนละเอยด (Lah-fl) และดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบาย
ี
น้ำเลวและเป็นดินร่วนละเอียด (AC-pd,fl) มีเนื้อที่ 156,242 11,599 และ 7,210 ไร่ ตามลำดับ
94
ตารางที่ 5-4 แสดงระดับปริมาณโพแทสเซียมในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน จังหวัดหนองบัวลำภู
ระดับปริมาณโพแทสเซียมในดิน ผลรวมเนื้อท ี่
หน่วยดิน คำอธิบาย
่
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ สูง ร้อยละ ไร ร้อยละ
กลุ่มเนื้อดินในพื้นทลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L) 299,154 12.42 56,905 2.35 13,702 0.57 369,761 15.34
ี่
L1 : กลุ่มดินเหนียว 89,624 3.72 36,737 1.52 13,483 0.56 139,844 5.80
Cpa ชุดดินชุมแพ 79,489 3.30 5,581 0.23 - - 85,070 3.53
Nao ชุดดินนาอ้อ 10,135 0.42 31,156 1.29 13,483 0.56 54,774 2.27
L2 : กลุ่มดินทรายแป้ง 21,598 0.89 5,842 0.24 - - 27,440 1.13
Cpa-fsi ดินชุมแพที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด 21,598 0.89 5,509 0.23 - - 27,107 1.12
Nao-fsi ดินนาอ้อที่เป็นดินทรายแป้งละเอียด - - 333 0.01 - - 333 0.01
L3 : กลุ่มดินร่วนละเอียด 175,412 7.28 14,112 0.58 219 0.01 189,743 7.87
AC-pd,fl ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการ 7,210 0.30 2,933 0.12 - - 10,143 0.42
ระบายเลวและเป็นดินร่วนละเอียด
Cpa-fl ดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอียด 156,242 6.48 10,223 0.42 219 0.01 166,684 6.91
Lah-fl ดินละหานทรายที่เป็นดินร่วน 11,599 0.48 - - - - 11,599 0.48
ละเอียด
Nao-fl ดินนาอ้อที่เป็นดินร่วนละเอียด 168 0.01 956 0.04 - - 1,124 0.05
Nkg-fl ดินหนองกุงที่เป็นดินร่วนละเอียด 193 0.01 - - - - 193 0.01
L4 : กลุ่มดินร่วนหยาบ 3,898 0.17 - - - - 3,898 0.17
AC-pd,col ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการ 148 0.01 - - - - 148 0.01
ระบายเลวและเป็นดินร่วนหยาบ
Lah ชุดดินละหานทราย 1,053 0.05 - - - - 1,053 0.05
St ชุดดินสีทน 2,697 0.11 - - - - 2,697 0.11
L11 : กลุ่มดินตื้น 8,622 0.36 214 0.01 - - 8,836 0.37
Smi ชุดดินศรีเมืองใหม่ 8,622 0.36 214 0.01 - - 8,836 0.37
้
กลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแหง (UD) 1,405,239 58.26 274,648 11.38 13,416 0.55 1,693,303 70.19
UD1 : กลุ่มดินเหนียว 21,785 0.89 35,177 1.47 1,051 0.04 58,013 2.40
Bg-mw ดินบ้านจ้องที่มีการระบายน้ำดีปาน 3,007 0.12 6,623 0.28 521 0.02 10,151 0.42
กลาง
Cg ชุดดินเชียงของ 7,311 0.30 11,311 0.47 530 0.02 19,152 0.79
Dl ชุดดินดงลาน 4,626 0.19 - - - - 4,626 0.19
Kld ชุดดินกลางดง 2,215 0.09 10,088 0.42 - - 12,303 0.51
Kld-mw ดินกลางดงที่มีการระบายน้ำดีปาน - - 239 0.01 - - 239 0.01
กลาง
็
Ws-vd ดินวังสะพุงที่เปนดินลึกมาก 4,626 0.19 6,916 0.29 - - 11,542 0.48
UD2 : กลุ่มดินรวนละเอยด 88,647 3.68 - - - - 88,647 3.68
ี
่
Kmr-fl ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนละเอียด 13,781 0.57 - - - - 13,781 0.57
Kmr-hb,fl ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูงและ 54,447 2.26 - - - - 54,447 2.26
เป็นดินร่วนละเอียด
Pu-fl ดินภูพานที่เป็นดินร่วนละเอียด 14,867 0.62 - - - - 14,867 0.62
Pu-mw,fl ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปาน 5,552 0.23 - - - - 5,552 0.23
กลางและเป็นดินร่วนละเอียด
95
ตารางที่ 5-4 แสดงระดับปริมาณโพแทสเซียมในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณโพแทสเซียมในดิน ผลรวมเนื้อท ี่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ สูง ร้อยละ ไร ร้อยละ
่
่
UD3 : กลุ่มดินรวนหยาบ 636,705 26.39 34,768 1.44 - - 671,473 27.83
Kmr-col ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ 290,513 12.04 31,648 1.32 - - 322,161 13.36
Kmr-hb,col ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูงและ 268,903 11.15 2,582 0.10 - - 271,485 11.25
เป็นดินร่วนหยาบ
Ptc-hb ดินปักธงชัยที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 8,054 0.33 - - - - 8,054 0.33
Ptc-mw ดินปักธงชัยที่มีการระบายน้ำดีปาน 172 0.01 - - - - 172 0.01
กลาง
Pu ชุดดินภูพาน 33,030 1.37 538 0.02 - - 33,568 1.39
Pu-mw ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปาน 29,748 1.23 - - - - 29,748 1.23
กลาง
Pu-RC หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินภูพานกับ 6,285 0.26 - - - - 6,285 0.26
ที่ดินหนพื้นโผล่
ิ
UD4 : กลุ่มดินทราย 153,228 6.35 1,037 0.04 - - 154,265 6.39
Kg ชุดดินคำบง 43,456 1.80 1,037 0.04 - - 44,493 1.84
็
Kg-md,tks ดินคำบงที่เปนดินลึกปานกลางและ 5,822 0.24 - - - - 5,822 0.24
เป็นทรายหนา
Kg-mw,tks ดินคำบงที่มีการระบายน้ำดีปาน 21,432 0.89 - - - - 21,432 0.89
กลางและเป็นทรายหนา
Kg-tks ดินคำบงที่เปนทรายหนา 82,518 3.42 - - - - 82,518 3.42
็
UD5 : กลุ่มดินทรายแป้ง-กลุ่มดินริมแม่น้ำหรือ 2,458 0.10 4,191 0.17 - - 6,649 0.27
ตะกอนน้ำพารูปพัด
Chp ชุดดินชุมพลบุรี 1,450 0.06 21 0.00 - - 1,471 0.06
Chp-fsi ดินชุมพลบุรีที่เปนดินทรายแป้ง 1,008 0.04 4,170 0.17 - - 5,178 0.21
็
ละเอียด
UD6 : กลุ่มดินตน 261,238 10.84 157,004 6.51 6,061 0.25 424,303 17.60
ื้
Ch ชุดดินเชียงคาน 39,970 1.66 49,599 2.05 1,824 0.08 91,393 3.79
Kak ชุดดินแก่งคอย 59,568 2.47 76,425 3.17 3,215 0.13 139,208 5.77
Li ชุดดินลี้ 4,619 0.19 - - - - 4,619 0.19
Ml ชุดดินมวกเหล็ก 3,599 0.15 21,644 0.90 1,022 0.04 26,265 1.09
Nbd ชุดดินหนองบัวแดง 138,886 5.76 673 0.03 - - 139,559 5.79
Ty ชุดดินท่ายาง 4,052 0.17 8,663 0.36 - - 12,715 0.53
Wk-RC หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินวังน้ำเขียว 10,544 0.44 - - - - 10,544 0.44
กับที่ดินหินพื้นโผล่
UD8 : กลุ่มดินลึกปานกลางมีชั้นลูกรง ก้อนกรวด เศษหน 58,515 2.43 41,416 1.71 6,304 0.26 106,235 4.40
ิ
ั
หรือหินผุในชวงความลึก 50-100 ซม.จากผวดิน
ิ
่
Cg-md ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปานกลาง 13,324 0.55 10,469 0.43 1,190 0.05 24,983 1.03
Ly ชุดดินลาดหญ้า 10,168 0.43 2,515 0.10 - - 12,683 0.53
Ly-mw ดินลาดหญ้าที่มีการระบายน้ำดีปาน 943 0.04 - - - - 943 0.04
กลาง
Pu-md,fl ดินภูพานที่เป็นดินลึกปานกลางและ 9,031 0.37 - - - - 9,031 0.37
เป็นดินร่วนละเอียด
96
ตารางที่ 5-4 แสดงระดับปริมาณโพแทสเซียมในดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณโพแทสเซียมในดิน ผลรวมเนื้อท ี่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ สูง ร้อยละ ไร ร้อยละ
่
Pu-md,fl-Wk หน่วยเชิงซ้อนของดินคล้ายชุดดินภู 4,869 0.20 - - - - 4,869 0.20
็
พานที่เป็นดินลึกปานกลางและเปน
ดินร่วนละเอียดและชุดดินวังน้ำเขียว
Ws ชุดดินวังสะพุง 20,180 0.84 28,432 1.18 5,114 0.21 53,726 2.23
UD9 : กลุ่มดินซ้อน (กลุ่มดินที่มีชั้นดานดินเหนียว) 98,841 4.10 515 0.02 - - 99,356 4.12
Kmr ชุดดินเขมราฐ 24,169 1.00 - - - - 24,169 1.00
Kmr-hb ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 74,672 3.10 515 0.02 - - 75,187 3.12
UD10 : กลุ่มดินที่มีการดัดแปลงพื้นที่ทำนา 83,822 3.48 540 0.02 - - 84,362 3.50
Kld-gm ดินกลางดงที่มีจุดประสีเทา 153 0.01 466 0.02 - - 619 0.03
Nu ชุดดินนาคู 83,669 3.47 74 0.00 - - 83,743 3.47
หน่วยเบ็ดเตล็ด 1,704,393 70.68 331,553 13.73 27,118 1.12 348,865 14.47
SC พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน 280,391 11.63
W พื้นที่น้ำ 68,474 2.84
รวมเนื้อที่ทั้งหมด 2,411,929 100.00
หมายเหตุ : เนื้อที่ได้จากการคำนวนโดยระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) และทำการถ่วงน้ำหนักกับเนื้อที่จากกรมการปกครอง 3,859.086 ตาราง
กิโลเมตร หรือ 2,411,929 ไร ่
สำหรับปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินระดับปานกลาง (ค่าโพแทสเซียม
ระหว่าง 60-90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) พบมากเป็นอนดับสองรองจากปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
ั
ื้
ประโยชน์ในดินระดับต่ำ ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มดินพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มีเนื้อ
ที่รวม 157,004 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6.51 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นชุดดินแก่งคอย (Kak) ชุดดิน
เชียงคาน (Ch) และชุดดินมวกเหล็ก (Ml) มีเนื้อที่ 76,425 49,599 และ 21,644 ไร่ ตามลำดับ ตาม
ด้วยกลุ่มดินพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินลึกปานกลาง (UD8) มีเนื้อที่รวม 41,416 ไร่ คิดเป็น
ุ
ร้อยละ 1.17 ของเนื้อที่จังหวัด พบในชุดดินวังสะพง (Ws) ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปานกลาง (Cg-
md) และชุดดินลาดหญ้า (Ly) มีเนื้อที่ 28,432 10,469 และ 2,515 ไร่ ตามลำดับ และกลุ่มดินใน
ื้
พนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขังที่เป็นดินเหนียว (L1) มีเนื้อที่รวม 36,737 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.52 ของเนื้อที่
ื้
จังหวัด ได้แก่ ชุดดินนาอ้อ (Nao) และชุดดินชุมแพ (Cpa) มีเนื้อที่ 31,156 และ 5,581 ไร่ ตามลำดับ
ส่วนปริมาณโพแทสเซียมระดับสูง (มากกว่า 90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) เป็นระดับที่พบ
น้อยที่สุด มีเนื้อที่รวม 27,118 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.12 ของเนื้อที่จังหวัด พบมากในกลุ่มดินในพื้นที่ลุ่ม
หรือพื้นที่น้ำขังที่เป็นดินเหนียว (L1) คือ ชุดดินนาอ้อ (Nao) มีเนื้อที่ 13,483 ไร่
97
จะเห็นได้ว่า ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินมีค่าตั้งแต่ระดับต่ำถึงสูง โดย
ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ระดับต่ำส่วนใหญ่พบในกลุ่มดินเนื้อหยาบ เนื่องจากดินเหล่านี้มี
วัตถุต้นกำเนิดมาจากหินทรายจึงมีปริมาณโพแทสเซียมน้อยและอาจถูกชะล้างออกไปจากดินได้ง่าย
ื้
ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ระดับปานกลาง ส่วนใหญ่พบในกลุ่มดินพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดิน
แห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) ซึ่งมักเกิดจากการผุพงสลายตัวของหินเนื้อละเอยด สำหรับปริมาณ
ั
ี
โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ระดับสูง พบในดินที่มีเนื้อละเอยดมีวัตถุต้นกำเนิดจากหินอคนีเนื้อ
ี
ั
ี
ี
้
ละเอยด หรือหินตะกอนเนื้อละเอยด ได้แก่ ชุดดินนาออ (Nao) ชุดดินเชียงคาน (Ch) ชุดดินแก่งคอย
(Kak) ชุดดินมวกเหล็ก (Ml) และดินเชียงของที่เป็นดินลึกปานกลาง (Cg-md) ซึ่งสอดคล้องกับ
จีราภรณ์ อนทสาร (2563) ได้อธิบายว่า แม้โพแทสเซียมจะดูดซับอยู่ในดินหรืออยู่ในรูปที่สามารถ
ิ
แลกเปลี่ยนได้แต่ยังสามารถถูกชะล้างโดยน้ำที่ซึมผ่านดินให้สูญหายไปได้ ปริมาณโพแทสเซียมที่สูญ
หายไปจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับสภาพต่างๆ ของดินด้วย เช่น เนื้อดิน โดยดินที่มีเนื้อหยาบ เช่น พวก
ดินร่วนปนทรายโพแทสเซียมจะถูกชะล้างให้สูญหายไปได้มากและรวดเร็วกว่าดินที่มีเนื้อละเอยด
ี
เพราะมีปริมาณของแร่ดินเหนียวหรืออนุภาคดินเหนียวมากกว่า ทั้งนี้ยังขึ้นอยู่กับปริมาณและความ
แรงของน้ำฝน โดยเฉพาะในดินเขตร้อนที่มีปริมาณโพแทสเซียมต่ำทำให้เกิดการสูญเสียด้วยการ
ชะล้างง่ายมาก นอกจากนี้ กรมพฒนาที่ดิน (2561) อธิบายว่า ดินในประเทศไทยส่วนใหญ่มีปริมาณ
ั
โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในระดับต่ำ ปริมาณอนุภาคดินเหนียว และทรายแป้ง มีความสำคัญต่อ
การรักษาระดับสถานภาพของโพแทสเซียมในดิน ในแต่ละชั้นดินตลอดหน้าตัดดินมากกว่าอนุภาค
ทราย โดยดินที่มีอนุภาคดินเหนียวสูงจะมีปริมาณโพแทสเซียมทุกรูป (form) สูงสุด รองลงมาคือทราย
ั้
แป้ง และต่ำที่สุดคืออนุภาคทราย อีกทงดินในที่ลุ่มมักมีโพแทสเซียมที่ถูกตรึงและโพแทสเซียมทั้งหมด
สูงกว่าดินในที่ดอนมากเนื่องจากดินในที่ลุ่มมีอนุภาคดินเหนียวสูงกว่าดินในที่ดอน เช่นเดียวกันกับ
ยงยุทธ โอสถสภา (2558) ศึกษาปริมาณของโพแทสเซียมในดินร่วนปนทราย พบว่ามีโพแทสเซียม
ทั้งหมด 41.5 mmolK/Kg แบ่งเป็นโพแทสเซียมส่วนที่เป็นองค์ประกอบของแร่มากที่สุด (37.6
mmolK/Kg) รองลงมาคือ โพแทสเซียมที่ถูกตรึงอยู่กับแร่ดินเหนียว (2.20 mmolK/Kg) และ
โพแทสเซียมที่ถูกดูดซับที่ผิวคอลลอยด์ดิน (1.72 mmolK/Kg) อย่างไรก็ตาม ปริมาณของ
โพแทสเซียมในดินยังขึ้นอยู่กับวัตถุต้นกำเนิดดิน ซึ่งให้ธาตุโพแทสเซียมแตกต่างกัน รวมไปถึงการ
จัดการดินและปุ๋ยสำหรับการปลูกพืชอีกด้วย
98
ภาพที่ 5-6 แผนที่ระดับปริมาณโพแทสเซียม จังหวัดหนองบัวลำภู
99
ภาพที่ 5-7 แผนที่ระดับปริมาณโพแทสเซียมและทรัพยากรดิน จังหวัดหนองบัวลำภู
100
ู
5.1.3 การเปรียบเทียบข้อมลระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน
จากการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยวิธีการประมาณค่าในช่วงรูปแบบ
่
ื้
Kriging เพื่อทำการประเมินค่าปริมาณธาตุอาหารหลักในดินเชิงพนที่ ได้แก ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM)
ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P) และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
(Available K) ได้ทำการเปรียบเทียบผลค่าวิเคราะห์ดินซึ่งได้ข้อมูลค่าวิเคราะห์ดินจากโครงการบัตร
ั
ดินดี (กรมพฒนาที่ดิน, 2565) จำนวน 84 จุด ร่วมกับจุดค่าวิเคราะห์ดินโครงการ 84 ตำบลฯ (กรม
พฒนาที่ดิน, 2554) จำนวน 30 จุด จำนวนรวม 114 จุด นำมาเปรียบเทียบค่าระดับปริมาณธาตุ
ั
อาหารหลักในดิน เพอทดสอบหาความเชื่อมั่นหรือความถูกต้องของผลการประเมินระดับปริมาณธาตุ
ื่
อาหารหลักในดิน สามารถอธิบายได้ดังต่อไปนี้
1) ระดับปริมาณอินทรียวัตถุ (OM)
จากตารางที่ 5-5 พบว่า ปริมาณอินทรียวัตุในดินจากการประมาณค่าเชิงพื้นที่ด้วยวิธี
Kriging เปรียบเทียบกับจุดค่าวิเคราะห์ดินโครงการบัตรดินดีและโครงการ 84 ตำบลฯ นั้น มีค่าระดับ
ปริมาณอินทรียวัตถุในดินอยู่ในช่วงเดียวกัน จำนวน 98 จุด (ปริมาณอนทรียวัตถุในดินอยู่ในช่วงระดับ
ิ
ต่ำถึงระดับปานกลาง) คิดเป็นร้อยละ 88.97 ของจำนวนจุดเปรียบเทียบทั้งหมด แบ่งเป็นระดับต่ำ
(LL) และระดับปานกลาง (MM) จำนวน 80 และ 18 จุด คิดเป็นร้อยละ 70.18 และ 15.79 ของ
ิ
จำนวนจุดเปรียบทั้งหมด ตามลำดับ และจุดที่มีค่าช่วงระดับปริมาณอนทรียวัตถุแตกต่างกัน จำนวน
16 จุด คิดเป็นร้อยละ 14.03 ของจำนวนจุดเปรียบเทียบทั้งหมด โดยส่วนใหญ่ปริมาณอินทรียวัตถุใน
ดินที่แตกต่างกันค่าที่ได้จากการประมาณค่าเชิงพนที่ด้วยวิธี Kriging ส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มสูงกว่าค่า
ื้
จากจุดค่าวิเคราะห์ดินโครงการบัตรดินดีและโครงการ 84 ตำบลฯ
ตารางที่ 5-5 ผลการเปรียบเทียบระดับปริมาณอนทรียวัตถุ (OM) ระหว่างการประมาณค่าเชิงพนที่
ื้
ิ
ด้วยวิธี Kriging กับจุดวิเคราะห์โครงการบัตรดินดี/โครงการ 84 ตำบลฯ
ระดับอินทรียวัตถุ (OM)
จุดวิเคราะห์
โครงการบัตร จำนวน ร้อยละ
ประเมินด้วย ดินดี/ (จุด) (%)
วิธี Kriging
โครงการ 84
ตำบลฯ
L L 80 70.18
M M 18 15.79
M L 11 9.65
M H 5 4.38
รวมทั้งหมด 114 100.00
101
2) ระดับปริมาณฟอสฟอรัส (P)
สำหรับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (P) พบว่า ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
ื้
ประโยชน์ในดินจากจุดค่าวิเคราะห์ดินและจากการประมาณค่าเชิงพนที่ด้วยวิธี Kriging มีจำนวน 83
จุด ที่มีค่าอยู่ในช่วงเดียวกัน โดยปริมาณฟอสฟอรัสอยู่ในช่วงระดับต่ำ (LL) คิดเป็นร้อยละ 72.81 ของ
จำนวนจุดเปรียบเทียบทั้งหมด และจุดที่มีค่าช่วงแตกต่างกัน จำนวน 31 จุด คิดเป็นร้อยละ 27.19
ของจำนวนจุดเปรียบเทียบทั้งหมด โดยส่วนใหญ่ปริมาณฟอสฟอรัสในดินที่ได้จากจุดค่าวิเคราะห์ดินมี
แนวโน้มสูงกว่าค่าที่ได้จากการประมาณค่าเชิงพื้นที่ด้วยวิธี Kriging (ตารางที่ 5-6)
ตารางที่ 5-6 ผลการเปรียบเทียบระดับปริมาณฟอสฟอรัส (P) ระหว่างการประมาณค่าเชิงพื้นที่ด้วย
วิธี Kriging กับจุดวิเคราะห์โครงการบัตรดินดี/โครงการ 84 ตำบลฯ
ระดับฟอสฟอรัส (P)
จุดวิเคราะห์ จำนวน ร้อยละ
ประเมินด้วย โครงการบัตรดินดี/ (จุด) (%)
วิธี Kriging
โครงการ 84 ตำบลฯ
L L 83 72.81
L M 28 24.56
M L 3 2.63
รวมทั้งหมด 114 100.00
3) ระดับปริมาณโพแทสเซียม (K)
ผลการเปรียบเทียบปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (K) พบว่า ปริมาณ
ื้
โพแทสเซียมในดินจากจุดค่าวิเคราะห์ดินและจากการประมาณค่าเชิงพนที่ด้วยวิธี Kriging มีจำนวน
96 จุด ที่มีค่าอยู่ในช่วงเดียวกัน คิดเป็นร้อยละ 84.21 ของจำนวนจุดเปรียบเทียบทั้งหมด ได้แก่
ปริมาณโพแทสเซียมระดับต่ำ (LL) ระดับปานกลาง (MM) และระดับสูง (HH) จำนวน 88, 7 และ 1
จุด หรือคิดเป็นร้อยละ 77.19, 6.14 และ 0.88 ของจำนวนจุดเปรียบเทียบทั้งหมด และจุดที่มีค่าช่วง
แตกต่างกัน จำนวน 18 จุด คิดเป็นร้อยละ 15.79 ของจำนวนจุดเปรียบเทียบทั้งหมด โดยส่วนใหญ่
ื้
ปริมาณโพแทสเซียมที่ได้จากจุดค่าวิเคราะห์ดินมีแนวโน้มต่ำกว่าค่าที่ได้จากการประมาณค่าเชิงพนที่
ด้วยวิธี Kriging (ตารางที่ 5-7)
102
ื้
ตารางที่ 5-7 ผลการเปรียบเทียบระดับปริมาณโพแทสเซียม (K) ระหว่างการประมาณค่าเชิงพนที่ด้วย
วิธี Kriging กับจุดวิเคราะห์โครงการบัตรดินดี/โครงการ 84 ตำบลฯ
ระดับโพแทสเซียม (K)
จุดวิเคราะห์โครงการ จำนวน ร้อยละ
ประเมินด้วย บัตรดินดี/ (จุด) (%)
วิธี Kriging
โครงการ 84 ตำบลฯ
L L 88 77.19
M M 7 6.14
H H 1 0.88
L M 12 10.52
H M 3 2.63
L H 1 0.88
M H 1 0.88
M L 1 0.88
รวมทั้งหมด 114 100.00
จะเห็นได้ว่า การประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินที่ได้จากการประเมินค่าเชิง
ิ
ื้
พนที่ด้วยวิธี Kriging นั้น มีระดับปริมาณอนทรียวัตถุ (OM) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)
เป็นไปในทิศทางเดียวกันหรืออยู่ในช่วงระดับปริมาณธาตุอาหารเดียวกันกับค่าวิเคราะห์ดินจาก
โครงการบัตรดินดีและโครงการ 84 ตำบลฯ มากกว่าร้อยละ 70 ของจุดเปรียบเทียบทั้งหมด 114 จุด
ส่วนใหญ่มีค่าระดับปริมาณธาตุอาหารหลักอยู่ในระดับต่ำ และมีระดับปริมาณธาตุอาหารที่แตกต่าง
ื้
ื้
กันทั้งสูงกว่าหรือต่ำกว่าการประเมินค่าเชิงพนที่ด้วยวิธี Kriging ทั้งนี้ การประมาณค่าเชิงพนที่ เป็น
การทำนายแนวโน้มค่าเชิงคุณภาพของตำแหน่งที่อยู่ระหว่างจุดที่มีข้อมูลจริงโดยใช้วิธีการทาง
ิ
คณตศาสตร์และสถิติแบบต่างๆ ในการทำนายค่าดังกล่าว ซึ่งทุกแบบใช้หลักการคล้ายกันคือ จุดที่อยู่
ใกล้ตำแหน่งที่สนใจจะมีอทธิพลมากกว่าจุดที่อยู่ห่างออกไป ดังนั้น ค่าที่ได้จากการประเมินค่าเชิง
ิ
ื้
พนที่ด้วยวิธี Kriging อาจมีค่าสูงกว่าหรือต่ำกว่าค่าจริงก็ได้ อย่างไรก็ตาม ค่าที่นำมาเปรียบเทียบกับ
ื้
ค่าที่ได้จากการประมาณค่าเชิงพนที่ด้วยวิธี Kriging นั้น เป็นข้อมูลคนละชุดและยังเป็นค่าวิเคราะห์
จริงในช่วงเวลาที่ที่ต่างกันกับค่าจุดวิเคราะห์ตั้งต้นที่นำมาใช้ในการประเมินค่าเชิงพนที่ จึงสามารถนำ
ื้
ค่าระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดินที่ได้จากการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นี้ ไปใช้เพอ
ื่
เป็นแนวทางการให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน โดยที่ไม่ต้องเก็บ
ี
ุ
ตัวอย่างดินส่งวิเคราะห์ หรือจากสภาพพนที่ไม่เอออำนวย วัสดุอปกรณ์มีไม่เพยงพอ รวมทั้งค่าใช้จ่าย
ื้
ื้
ุ
ในการดำเนินการค่อนข้างสูง ก็สามารถใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการกำหนดเขตระดับความอดม
สมบูรณ์ของดิน และการให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพได้
103
5.2 ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน
ุ
ความอดมสมบูรณ์ของดินเป็นตัวบ่งชี้หนึ่งถึงภาพรวมของดินที่มีคุณภาพ เหมาะสำหรับการ
เพาะปลูกและมีความเหมาะสมในด้านการเกษตร โดยความอดมสมบูรณ์ของดินเป็นตัวแสดงถึง
ุ
ี
ความสามารถในการปลดปล่อยธาตุอาหารในรูปที่พชต้องการและยังเป็นอกหนึ่งปัจจัยที่จะนำมา
ื
ื่
ประกอบการจัดการด้านอนๆ เพอให้ดินมีสภาพที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพชและได้ผลผลิตทาง
ื่
ื
ุ
การเกษตรที่ดี สำหรับการประเมินค่าระดับความอดมสมบูรณ์ของดิน (Soil Fertility) ตามหลักการ
ุ
ประเมินความอดมสมบูรณ์ของกรมพฒนาที่ดิน (ณรงค์, 2544) อาศัยผลวิเคราะห์ดินจำนวน 5 ค่า
ั
ได้แก่
1) ปริมาณอนทรียวัตถุในดิน (OM)
ิ
2) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน (available P)
3) ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน (available K)
4) ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC)
5) ร้อยละความอิ่มตัวเบส (%BS)
โดยค่าปริมาณอนทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
ิ
ประโยชน์ในดินนั้นได้จากการนำค่าวิเคราะห์ดินจากห้องปฏิบัติการมาใช้ร่วมกับการประมาณค่า
ในช่วงรูปแบบ Kriging ดังได้อธิบายไปแล้วข้างต้น สำหรับค่าความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC)
และค่าร้อยละความอมตัวเบส (%BS) ใช้ข้อมูลผลวิเคราะห์ดินที่เป็นลักษณะประจำตัวของดินนั้นมา
ิ่
ใช้ร่วมกับการประเมินความอดมสมบูรณ์ของดิน เนื่องจากค่าความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC)
ุ
และค่าร้อยละความอมตัวเบส (%BS) ค่อนข้างเป็นสมบัติที่เปลี่ยนแปลงได้ยากของดิน (เล็ก และ
ิ่
ั
้
สุนันท์, 2553 อางถึงใน กรมพฒนาที่ดิน, 2558) ขณะที่ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
ประโยชน์ และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน สามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายจากการใช้
ประโยชน์ที่ดิน เช่น การใช้ปุ๋ยเคมีต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน และการขาดการปรับปรุงบำรุงดิน เป็นต้น
ุ
ั
เมื่อนำค่าทั้งหมดมาจัดลำดับคะแนนตามกรมพฒนาที่ดินได้กำหนดไว้ พบว่าระดับความอดม
สมบูรณ์ของดินในพนที่จังหวัดหนองบัวลำภูมี 2 ระดับคือ ระดับต่ำ และระดับปานกลาง โดยดินใน
ื้
ื้
ุ
พนที่จังหวัดหนองบัวลำภูส่วนใหญ่พบดินที่มีความอดมสมบูรณ์ของดินระดับต่ำมากที่สุด มีเนื้อที่
ื้
ประมาณ 1,720,106 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 71.32 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นดินในกลุ่มดินในพนที่
ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD) มีเนื้อที่ 1,422,714 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 58.98 ของเนื้อที่จังหวัด
ื้
และกลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง (L) มีเนื้อที่ 297,392 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 12.34 ของเนื้อที่
ื้
จังหวัด มีการกระจายตัวของทรัพยากรดินในบริเวณตอนกลางของอำเภอเมืองหนองบัวลำภู อำเภอ
ศรีบุญเรือง อำเภอนากลาง อำเภอโนนสัง บางส่วนของอำเภอนาวังและรอยต่อระหว่างอำเภอสุวรรณ
ุ
ุ
คูหากับอำเภอบ้านผือ จังหวัดอดรธานี สำหรับความอดมสมบูรณ์ของดินระดับปานกลาง มีเนื้อที่
342,958 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.22 ของเนื้อที่จังหวัด แบ่งเป็นกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง
ื้
104
ื้
(UD) และกลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง (L) มีเนื้อที่ 270,589 และ 72,369 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
ื้
11.21 และ 3.00 ของเนื้อที่จังหวัด ตามลำดับ ส่วนมากดินมีการกระจายตัวบริเวณอำเภอสุวรรณคูหา
อำเภอนาวัง บางส่วนของอำเภอนากลางและอำเภอศรีบุญเรือง (ตารางที่ 5-8 และภาพที่ 5-8)
ื้
ุ
จากตารางที่ 5-8 และภาพที่ 5-9 ความอดมสมบูรณ์ของดินระดับต่ำ มักพบในกลุ่มดินในพนที่
ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3) ส่วนใหญ่เป็นดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-
ิ่
col) ดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และชุดดินภูพาน (Pu) มี
ื้
เนื้อที่ 319,323 270,936 และ 33,568 ไร่ ตามลำดับ รองลงมาคือ กลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขต
ดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) ส่วนมากเป็นชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) ชุดดินเชียงคาน (Ch) และชุดดิน
ื้
ื้
ท่ายาง (Ty) มีเนื้อที่ 139,559 89,569 และ 12,715 ไร่ ตามลำดับ และกลุ่มดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่
ี
น้ำขังที่เป็นดินร่วนละเอยด (L3) ส่วนมากพบในดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอยด (Cpa-fl) มีเนื้อที่
ี
144,431 ไร่ พบการกระจายตัวทรัพยากรดินเหล่านี้บริเวณอำเภอเมืองหนองบัวลำภู รองลงมาคือ
อำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอนากลาง
สำหรับดินที่มีระดับความอดมสมบูรณ์ระดับปานกลาง (M) ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มดินในพนที่ดอนที่
ื้
ุ
อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มากที่สุด มีเนื้อที่รวม 169,740 ไร่ ส่วนมากเป็นชุดดินแก่งคอย
(Kak) และชุดดินมวกเหล็ก (Ml) ที่พบในบริเวณอำเภอสุวรรณคูหา อำเภอนาวัง และอำเภอนากลาง
มีเนื้อที่ 139,208 และ 24,089 ไร่ ตามลำดับ ดังภาพที่ 5-9
ุ
จะเห็นได้ว่า ความอดมสมบูรณ์ของดินในจังหวัดหนองบัวลำภูส่วนมากอยู่ในระดับต่ำ รองลงมา
ิ
ุ
คือระดับปานกลาง โดยระดับความอดมสมบูรณ์ของดินที่ได้นี้มีอทธิพลมาจากค่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ
ุ
ปริมาณธาตุอาหารในดินทั้ง 5 ปัจจัย (OM, P, K, CEC และ %BS) โดยความอดมสมบูรณ์ของดินเป็น
ตัวบ่งบอกถึงคุณภาพของดินที่มีปริมาณธาตุหนึ่ง หรือหลายธาตุมีปริมาณน้อยจนเป็นเหตุให้ผลผลิต
ุ
ลดลง และอาจถึงขั้นที่พชแสดงอาการขาดแคลนธาตุอาหารนั้น อย่างไรก็ตาม ดินที่มีความอดม
ื
ุ
สมบูรณ์สูงอาจไม่ได้เป็นดินที่มีมีกำลังผลิตสูงเสมอไป เนื่องจากข้อมูลที่บ่งชี้ถึงความอดมสมบูรณ์ของ
ื่
ดิน ไม่ได้ครอบคลุมถึงปัจจัยอนร่วมด้วย ซึ่งนอกเหนือจากปริมาณธาตุอาหารนั้นเอง ดังนั้น ดินที่มี
ุ
กำลังผลิตสูงจึงต้องเป็นดินที่มีความอดมสมบูรณ์สูง มีสมบัติทางเคมี กายภาพ และชีวภาพที่เหมาะสม
จึงจะให้ผลผลิตสูง (ดนัย, 2547) นอกจากนี้ การใช้ดินปลูกพชต่อเนื่องกนเป็นระยะเวลานานๆ ความ
ั
ื
ุ
อดมสมบูรณ์ย่อมลดลง แต่การลดลงจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดพชที่ปลูกและการจัดการดิน เมื่อ
ื
ุ
ื
ความอดมสมบูรณ์ของดินลดลง การเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของพชก็จะลดลงด้วย ดังนั้น จึง
ื
จำเป็นต้องหาแนวทางการจัดการดินให้มีธาตุอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของพชที่ปลูกโดยการ
ใส่ปุ๋ย และการจัดการดินที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป
105
ตารางที่ 5-8 แสดงระดับความอดมสมบูรณ์ของดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน จังหวัดหนองบัวลำภู
ุ
ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน ผลรวมเนื้อที่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ ไร่ ร้อยละ
กลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L) 297,392 12.34 72,369 3.00 369,761 15.34
L1 : กลุ่มดินเหนียว 98,023 4.06 41,821 1.74 139,844 5.80
Cpa ชุดดินชุมแพ 74,907 3.10 10,163 0.43 85,070 3.53
Nao ชุดดินนาอ้อ 23,116 0.96 31,658 1.31 54,774 2.27
L2 : กลุ่มดินทรายแป้ง 20,101 0.83 7,339 0.30 27,440 1.13
Cpa-fsi ดินชุมแพที่เป็นดินทรายแป้ง 20,101 0.83 7,006 0.29 27,107 1.12
ละเอียด
Nao-fsi ดินนาอ้อที่เป็นดินทรายแป้ง - - 333 0.01 333 0.01
ละเอียด
L3 : กลุ่มดินร่วนละเอียด 166,534 6.91 23,209 0.96 189,743 7.87
AC-pd,fl ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการ 10,143 0.42 - - 10,143 0.42
ระบายเลวและเป็นดินร่วนละเอียด
Cpa-fl ดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอียด 144,431 5.99 22,253 0.92 166,684 6.91
Lah-fl ดินละหานทรายที่เป็นดินร่วน 11,599 0.48 - - 11,599 0.48
ละเอียด
Nao-fl ดินนาอ้อที่เป็นดินร่วนละเอียด 168 0.01 956 0.04 1,124 0.05
Nkg-fl ดินหนองกุงที่เป็นดินร่วนละเอียด 193 0.01 - - 193 0.01
L4 : กลุ่มดินร่วนหยาบ 3,898 0.17 - - 3,898 0.17
AC-pd,col ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการ 148 0.01 - - 148 0.01
ระบายเลวและเป็นดินร่วนหยาบ
Lah ชุดดินละหานทราย 1,053 0.05 - - 1,053 0.05
St ชุดดินสีทน 2,697 0.11 - - 2,697 0.11
L11 : กลุ่มดินตื้น 8,836 0.37 - - 8,836 0.37
Smi ชุดดินศรีเมืองใหม่ 8,836 0.37 - - 8,836 0.37
กลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD) 1,422,714 58.98 270,589 11.21 1,693,303 70.19
UD1 : กลุ่มดินเหนียว 14,045 0.59 43,968 1.81 58,013 2.40
Bg-mw ดินบ้านจ้องที่มีการระบายน้ำดีปาน 3,007 0.12 7,144 0.30 10,151 0.42
กลาง
Cg ชุดดินเชียงของ 8,176 0.34 10,976 0.45 19,152 0.79
Dl ชุดดินดงลาน - - 4,626 0.19 4,626 0.19
Kld ชุดดินกลางดง 2,215 0.10 10,088 0.41 12,303 0.51
Kld-mw ดินกลางดงที่มีการระบายน้ำดีปาน - - 239 0.01 239 0.01
กลาง
Ws-vd ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึกมาก 647 0.03 10,895 0.45 11,542 0.48
106
ตารางที่ 5-8 แสดงระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน ผลรวมเนื้อที่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ ไร่ ร้อยละ
UD2 : กลุ่มดินร่วนละเอียด 88,647 3.68 - - 88,647 3.68
Kmr-fl ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนละเอียด 13,781 0.57 - - 13,781 0.57
Kmr-hb,fl ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 54,447 2.26 - - 54,447 2.26
่
และเป็นดินรวนละเอียด
Pu-fl ดินภูพานที่เป็นดินร่วนละเอียด 14,867 0.62 - - 14,867 0.62
Pu-mw,fl ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปาน 5,552 0.23 - - 5,552 0.23
กลางและเป็นดินร่วนละเอียด
UD3 : กลุ่มดินร่วนหยาบ 668,086 27.69 3,387 0.14 671,473 27.83
Kmr-col ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ 319,323 13.24 2,838 0.12 322,161 13.36
Kmr-hb,col ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 270,936 11.23 549 0.02 271,485 11.25
และเป็นดินร่วนหยาบ
Ptc-hb ดินปักธงชัยที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 8,054 0.33 - - 8,054 0.33
Ptc-mw ดินปักธงชัยที่มีการระบายน้ำดีปาน 172 0.01 - - 172 0.01
กลาง
Pu ชุดดินภูพาน 33,568 1.39 - - 33,568 1.39
Pu-mw ดินภูพานที่มีการระบายน้ำดีปาน 29,748 1.23 - - 29,748 1.23
กลาง
Pu-RC หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินภูพานกับ 6,285 0.26 - - 6,285 0.26
ที่ดินหินพื้นโผล่
UD4 : กลุ่มดินทราย 154,265 6.39 - - 154,265 6.39
Kg ชุดดินคำบง 44,493 1.84 - - 44,493 1.84
Kg-md,tks ดินคำบงที่เป็นดินลึกปานกลางและ 5,822 0.24 - - 5,822 0.24
เป็นทรายหนา
Kg-mw,tks ดินคำบงที่มีการระบายน้ำดีปาน 21,432 0.89 - - 21,432 0.89
กลางและเป็นทรายหนา
Kg-tks ดินคำบงที่เป็นทรายหนา 82,518 3.42 - - 82,518 3.42
UD5 : กลุ่มดินทรายแป้ง-กลุ่มดินริมแม่น้ำหรือตะกอนน้ำ 6,649 0.27 - - 6,649 0.27
พารูปพัด
Chp ชุดดินชุมพลบุรี 1,471 0.06 - - 1,471 0.06
Chp-fsi ดินชุมพลบุรีที่เป็นดินทรายแป้ง 5,178 0.21 - - 5,178 0.21
ละเอียด
UD6 : กลุ่มดินตื้น 254,563 10.56 169,740 7.04 424,303 17.60
Ch ชุดดินเชียงคาน 89,569 3.71 1,824 0.08 91,393 3.79
Kak ชุดดินแก่งคอย - - 139,208 5.77 139,208 5.77
Li ชุดดินล ี้ - - 4,619 0.19 4,619 0.19
Ml ชุดดินมวกเหล็ก 2,176 0.09 24,089 1.00 26,265 1.09
Nbd ชุดดินหนองบัวแดง 139,559 5.79 - - 139,559 5.79
107
ตารางที่ 5-8 แสดงระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินตามกลุ่มลักษณะเด่นของดิน จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน ผลรวมเนื้อที่
หน่วยดิน คำอธิบาย
ต่ำ ร้อยละ ปานกลาง ร้อยละ ไร่ ร้อยละ
Ty ชุดดินท่ายาง 12,715 0.53 - - 12,715 0.53
Wk-RC หน่วยเชิงซ้อนของชุดดินวังน้ำเขียว 10,544 0.44 - - 10,544 0.44
กับที่ดินหินพื้นโผล่
UD8 : กลุ่มดินลึกปานกลาง 53,193 2.20 53,042 2.20 106,235 4.40
Cg-md ดินเชียงของที่เป็นดินลึกปานกลาง 13,324 0.55 11,659 0.48 24,983 1.03
Ly ชุดดินลาดหญ้า 12,683 0.53 - - 12,683 0.53
Ly-mw ดินลาดหญ้าที่มีการระบายน้ำดี 943 0.04 - - 943 0.04
ปานกลาง
Pu-md,fl ดินภูพานที่เป็นดินลึกปานกลาง 9,031 0.37 - - 9,031 0.37
และเป็นดินร่วนละเอียด
Pu-md,fl-Wk หน่วยเชิงซ้อนของดินคล้ายชุดดินภู 4,869 0.20 - - 4,869 0.20
พานที่เป็นดินลึกปานกลางและเป็น
ดินร่วนละเอียดและชุดดินวังน้ำ
เขียว
Ws ชุดดินวังสะพุง 12,343 0.51 41,383 1.72 53,726 2.23
UD9 : กลุ่มดินซ้อน (กลุ่มดินที่มีชั้นดานดินเหนียว) 99,356 4.12 - - 99,356 4.12
Kmr ชุดดินเขมราฐ 24,169 1.00 - - 24,169 1.00
Kmr-hb ดินเขมราฐที่มีความอิ่มตัวเบสสูง 75,187 3.12 - - 75,187 3.12
UD10 : กลุ่มดินที่มีการดัดแปลงพื้นที่ทำนา 83,910 3.48 452 0.02 84,362 3.50
Kld-gm ดินกลางดงที่มีจุดประสีเทา 167 0.01 452 0.02 619 0.03
Nu ชุดดินนาคู 83,743 3.47 - - 83,743 3.47
หน่วยเบ็ดเตล็ด 1,720,106 71.32 342,958 14.21 348,865 14.47
SC พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน 280,391 11.63
W พื้นที่น้ำ 68,474 2.84
รวมเนื้อที่ทั้งหมด 1,720,106 342,958 2,411,929 100.00
หมายเหตุ : เนื้อที่ได้จากการคำนวนโดยระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) และทำการถ่วงน้ำหนักกับเนื้อที่จากกรมการปกครอง 3,859.086 ตาราง
กิโลเมตร หรือ 2,411,929 ไร ่
108
ภาพที่ 5-8 แผนที่ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน จังหวัดหนองบัวลำภู
109
ภาพที่ 5-9 แผนที่ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินและทรัพยากรดิน จังหวัดหนองบัวลำภู
110
5.3 แนวทางการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและการจัดการดินสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ
5.3.1 แนวทางการจัดการปุ๋ยสำหรับพืชเศรษฐกิจ
ื้
จากการพจารณาข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน ปี 2560 จังหวัดหนองบัวลำภูมีพนที่ทำ
ิ
ื
เกษตรกรรมส่วนใหญ่คือ ข้าว มีเนื้อที่ 756,793 ไร่ รองลงมาคือ พชไร่ มีเนื้อที่ 669,703 ไร่ พชไร่ที่
ื
นิยมปลูก ได้แก่ อ้อย และมันสำปะหลัง ปัจจุบันการทำเกษตรกรรมมักมุ่งเน้นที่ความสามารถของดิน
ในการให้ผลผลิตพชสูงสุด เกษตรกรจึงมักมีการเพมธาตุอาหารให้แก่พชเกินความจำเป็นหรือเกิน
ื
ิ่
ื
ความต้องการของพช ซึ่งเป็นการเพมต้นทุนการผลิตไปโดยไม่เกิดประโยชน์ และยังอาจเกิดสารเคมี
ื
ิ่
ื้
ตกค้างในดินทำให้มีผลต่อคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และชีวภาพในดินอกด้วย บางพนที่มีการปลูก
ี
ื
พชต่างชนิดกันและมีการจัดการดินที่แตกต่างกัน จึงมีผลทำให้ดินชนิดเดียวกันสามารถมีระดับธาตุ
ื้
อาหารในดินแตกต่างกันในแต่ละพนที่ได้ เนื่องจากมีปัจจัยหลายด้านที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสียธาตุ
ื
อาหารในดิน หรือความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน เช่น การปลูกพชติดต่อกันเป็นระยะ
ิ่
เวลานาน ขาดการเพมปริมาณธาตุอาหารในดิน และการจัดการดินที่ไม่ถูกต้อง เป็นต้น เหล่านี้ล้วน
เป็นสาเหตุสำคัญมากที่ทำให้ดินเสื่อมโทรม ดินขาดธาตุอาหาร และให้ผลผลิตลดลงในที่สุด ดังนั้น
ิ
การนำค่าปริมาณอนทรียวัตถุในดิน ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ใน
ดินซึ่งได้จากการประมาณค่าเชิงพนที่ดังได้อธิบายข้างต้นมาวิเคราะห์เพอจัดระดับความต้องการ
ื้
ื่
ปริมาณธาตุอาหารในดินสำหรับข้าว ออย และมันสำปะหลัง เพอให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่า
ื่
้
วิเคราะห์ดินในปริมาณที่เหมาะสมกบความต้องการธาตุอาหารในดินของพืชแต่ละชนิดได้อย่างถูกต้อง
ั
ื
ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรสามารถใส่ปุ๋ยได้ตรงตามความต้องการธาตุอาหารพช สามารถใช้ปุ๋ยอย่างมี
ประสิทธิภาพ ช่วยลดต้นทุนในการผลิต และยังสามารถเพมผลผลิตให้สูงขึ้น สามารถอธิบาย
ิ่
ี
รายละเอยดได้ดังนี้
1) ข้าว
ิ
เมื่อได้ประเมินค่าปริมาณอนทรียวัตถุในดิน ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และ
โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินแล้วนำมาวิเคราะห์ร่วมกับความต้องการปริมาณธาตุอาหารในดิน
ตามกรมวิชาการเกษตร (2548) ได้กำหนดระดับปริมาณธาตุอาหารในดินสำหรับข้าว ดังตารางที่ 5-9
และภาพที่ 5-10 พบว่า จังหวัดหนองบัวลำภูมีระดับธาตุอาหารหลักในดินสำหรับข้าวจำนวน 15
ระดับ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (LLL) มีเนื้อที่รวม 883,715
ิ
ไร่ คิดเป็นร้อยละ 36.64 ของเนื้อที่จังหวัด พบมากในกลุ่มดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดิน
ิ่
ร่วนหยาบ (UD3) มีเนื้อที่ 448,714 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วน
หยาบ (Kmr-hb,col) และดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) มีการกระจายตัวของดินมาก
ที่สุดบริเวณอำเภอนากลาง อำเภอโนนสัง อำเภอเมือง และอำเภอศรีบุญเรือง รองลงมาคือกลุ่มดินใน
ื้
ี
พนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขังที่เป็นดินร่วนละเอยด (L3) มีเนื้อที่ 91,164 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นดินชุมแพที่เป็น
ื้
ี
ดินร่วนละเอยด (Cpa-fl) และกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มีเนื้อที่
ื้
111
78,178 ไร่ พบมากในชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) โดยมากมีการกระจายตัวของดินหนาแน่นบริเวณ
อำเภอโนนสัง อำเภอเมือง และอำเภอศรีบุญเรือง ตามลำดับ
สำหรับคำแนะนำในการใส่ปุ๋ยสำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง ดังตารางที่ 5-10 ระดับปริมาณ
ธาตุอาหารในดินระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (LLL) แบ่งใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง
ิ
คือ ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ย
สูตร 46-0-0 จำนวน 5 กิโลกรัม/ไร่ โดยใส่หลังปักดำ 7-10 วัน หรือ 25-30 วันหลังการหว่านข้าว และ
ครั้งที่ 2 ปุ๋ยแต่งหน้า ใส่ก่อนข้าวตั้งท้อง 7-10 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ส่วน
คำแนะนำในการใส่ปุ๋ยสำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วง แบ่งใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร 18-46-0
จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 15 กิโลกรัม/
ไร่ โดยใส่หลังปักดำ 7-10 วัน หรือ 25-30 วันหลังการหว่านข้าว และครั้งที่ 2 ปุ๋ยแต่งหน้า ใส่ก่อนข้าว
ตั้งท้อง 7-10 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 20 กิโลกรัม/ไร่ (ตารางที่ 5-10)
ระดับธาตุอาหารหลักในดินสำหรับข้าวที่พบมากรองลงมา คือ ระดับอนทรียวัตถุปาน
ิ
กลาง ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (MLL) มีเนื้อที่รวม 326,823 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.55 ของ
เนื้อที่จังหวัด พบในกลุ่มดินในพ้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มากที่สุด มีเนื้อที่
ื
111,477 ไร่ มักพบในชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) ชุดดินเชียงคาน (Ch) และชุดดินแก่งคอย (Kak)
การกระจายตัวของดินส่วนใหญ่พบในบริเวณอำเภอนากลาง สำหรับคำแนะนำในการใส่ปุ๋ย สำหรับ
ื้
ข้าวไวต่อช่วงแสง แบ่งใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือครั้งที่ 1 รองพน โดยใส่หลังปักดำ 7-10 วัน หรือ 25-
30 วันหลังการหว่านข้าว ใส่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 10
กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 2 กิโลกรัม/ไร่ และครั้งที่ 2 ปุ๋ยแต่งหน้า ใส่ก่อนข้าวตั้งท้อง 7-
10 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 7 กิโลกรัม/ไร่ ส่วนคำแนะนำในการใส่ปุ๋ยสำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วง
แสง ใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือครั้งที่ 1 รองพ้น โดยใส่หลังปักดำ 7-10 วัน หรือ 25-30 วันหลังการ
ื
หว่านข้าว ใส่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ย
สูตร 46-0-0 จำนวน 18 กิโลกรัม/ไร่ และครั้งที่ 2 ปุ๋ยแต่งหน้า ใส่ก่อนข้าวตั้งท้อง 7-10 วัน ใส่ปุ๋ย
สูตร 46-0-0 จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ (ตารางที่ 5-10)
ิ
ระดับธาตุอาหารหลักในดินสำหรับข้าวระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสปานกลาง
โพแทสเซียมต่ำ (LML) เป็นระดับที่พบมากเป็นลำดับที่ 3 มีเนื้อที่รวม 297,655 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
ื้
12.34 ของเนื้อที่จังหวัด พบมากในกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3)
มีเนื้อที่ 118,168 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) ตามด้วยดินเขมราฐที่มี
ิ่
ความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) การกระจายตัวของดินส่วนมากอยู่บริเวณ
อำเภอนากลาง โนนสัง และอำเภอศรีบุญเรือง คำแนะนำในการใส่ปุ๋ยสำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง ให้แบ่ง
ื้
ใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือครั้งที่ 1 รองพน โดยใส่หลังปักดำ 7-10 วัน หรือ 25-30 วันหลังการหว่าน
ข้าว ใส่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 จำนวน 7 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร
112
46-0-0 จำนวน 8 กิโลกรัม/ไร่ และครั้งที่ 2 ปุ๋ยแต่งหน้า ใส่ก่อนข้าวตั้งท้อง 7-10 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร
46-0-0 จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ส่วนคำแนะนำในการใส่ปุ๋ยสำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง ใส่ปุ๋ยจำนวน
ื้
2 ครั้ง คือครั้งที่ 1 รองพน โดยใส่หลังปักดำ 7-10 วัน หรือ 25-30 วันหลังการหว่านข้าว ใส่ปุ๋ยสูตร
18-46-0 จำนวน 7 กิโลกรัมต่อไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 10 กิโลกรัมต่อไร่ ปุ๋ยสูตร 46-0-0
จำนวน 18 กิโลกรัมต่อไร่ และครั้งที่ 2 ปุ๋ยแต่งหน้า ใส่ก่อนข้าวตั้งท้อง 7-10 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0
จำนวน 20 กิโลกรัมต่อไร่
ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอยดการกระจายตัวของทรัพยากรดินและระดับปริมาณธาตุ
ี
อาหารหลักในดิน (OM-P-K) สำหรับข้าวระดับอนๆ (ตารางที่ 5-10) เพอให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตาม
ื่
ื่
ค่าวิเคราะห์ดินเป็นรายอำเภอได้ในภาคผนวก (ภาพที่ จ1-จ6) เพอให้สะดวกสำหรับกรณีที่ไม่สามารถ
ื่
เก็บตัวอย่างดินมาวิเคราะห์ใหม่ได้ หรือในบริเวณที่ยากต่อการเก็บตัวอย่างดิน สามารถนำมาใช้เป็น
แนวทางในการกำหนดแผนการจัดการดินและปุ๋ยให้เหมาะสมกับความต้องการของข้าวในดินนั้นๆ ณ
จุดพิกัดบนแผนที่ดิน ได้อย่างแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
ี่
ตารางท 5-9 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์สำหรับข้าว จังหวัดหนองบัวลำภู
ี่
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน (OM-P-K) รวมเนื้อท
หน่วยดิน
H-M-H H-M-M H-M-L H-L-H H-L-M H-L-L M-M-H M-M-M M-M-L M-L-H M-L-M M-L-L L-H-L L-M-L L-L-L ไร ่ ร้อยละ
กลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L)
(L1) 13,303 5,836 1,250 1,192 8,310 8,500 1,736 18,078 3,053 - 1,765 8,474 - 8,177 60,170 139,844 5.80
Cpa - - - - - 4,561 - 3,816 1,903 - 1,765 4,678 - 8,177 60,170 85,070 3.53
Nao 13,303 5,836 1,250 1,192 8,310 3,939 1,736 14,262 1,150 - - 3,796 - - - 54,774 2.27
(L2) - - - - 1,733 - - 3,136 - - 973 21,598 - - - 27,440 1.14
Cpa-fsi - - - - 1,400 - - 3,136 - - 973 21,598 - - - 27,107 1.12
Nao-fsi - - - - 333 - - - - - - - - - - 333 0.01
(L3) 379 18 - 6,077 4,750 5,242 - 757 2,542 149 2,201 50,878 6,974 18,612 91,164 189,743 7.87
AC-pd,fl 379 18 - 697 585 334 - 757 - 149 348 4,954 - 1,098 824 10,143 0.42
Cpa-fl - - - 5,271 3,318 4,837 - - 2,542 - 1,853 45,827 6,974 14,810 81,252 166,684 6.91
Lah-fl - - - - - - - - - - - - - 2,704 8,895 11,599 0.48
Nao-fl - - - 109 847 71 - - - - - 97 - - - 1,124 0.05
Nkg-fl - - - - - - - - - - - - - - 193 193 0.01
(L4) - - - - - - - - - - - - - 1,181 2,717 3,898 0.16
AC-pd,col - - - - - - - - - - - - - 148 - 148 0.01
Lah - - - - - - - - - - - - - 221 832 1,053 0.04
St - - - - - - - - - - - - - 812 1,885 2,697 0.11
(L11) - - - - - - - 214 123 - - 592 - 1,561 6,346 8,836 0.37
Smi - - - - - - - 214 123 - - 592 - 1,561 6,346 8,836 0.37
กลุ่มดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD)
(UD1) 1,304 4,415 941 11,130 8,387 10,863 1,441 1,619 3,979 569 7,363 5,925 - 59 18 58,013 2.41
Bg-mw 981 2,996 11 1,479 671 1,932 727 65 - 225 - 1,064 - - - 10,151 0.42
Cg 323 1,210 930 2,166 1,423 4,305 714 1,417 - - 4,588 2,076 - - - 19,152 0.79
Dl - - - - - 4,626 - - - - - - - - - 4,626 0.19
Kld - 209 - 6,320 3,278 - - - - 281 - 2,138 - 59 18 12,303 0.51 113
ตารางที่ 5-9 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์สำหรับข้าว จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน (OM-P-K) รวมเนื้อท
ี่
หน่วยดิน
H-M-H H-M-M H-M-L H-L-H H-L-M H-L-L M-M-H M-M-M M-M-L M-L-H M-L-M M-L-L L-H-L L-M-L L-L-L ไร ่ ร้อยละ
Kld-mw - - - 239 - - - - - - - - - - - 239 0.01
Ws-vd - - - 926 3,015 - - 137 3,979 63 2,775 647 - - - 11,542 0.48
(UD2) - - - - - 2,631 - - 5,582 - - 12,340 - 12,924 55,170 88,647 3.68
Kmr-fl - - - - - - - - - - - 2,489 - 11,292 - 13,781 0.57
Kmr-hb,fl - - - - - - - - 5,582 - - 6,284 - - 42,581 54,447 2.26
Pu-fl - - - - - 2,631 - - - - - - - 199 12,037 14,867 0.62
Pu-mw,fl - - - - - - - - - - - 3,567 - 1,433 552 5,552 0.23
(UD3) - - - 568 103 2,150 399 1,511 21,659 - 32,187 46,014 - 118,168 448,714 671,473 27.84
Kmr-col - - - 124 103 608 399 973 16,384 - 30,049 27,525 - 67,431 178,565 322,161 13.36
Kmr-hb,col - - - 444 - 836 - - 969 - 2,138 8,322 - 20,594 238,182 271,485 11.26
Ptc-hb - - - - - - - - - - - - - 8,054 - 8,054 0.33
Ptc-mw - - - - - - - - - - - - - 172 - 172 0.01
Pu - - - - - 706 - 538 4,306 - - 630 - 19,122 8,266 33,568 1.39
Pu-mw - - - - - - - - - - - 7,380 - 672 21,696 29,748 1.23
Pu-RC - - - - - - - - - - - 2,157 - 2,123 2,005 6,285 0.26
(UD4) - - - - - - - 1,037 2,800 - - 6,736 4,615 65,202 73,875 154,265 6.40
Kg - - - - - - - 1,037 1,080 - - - - 18,313 24,063 44,493 1.84
Kg-md,tks - - - - - - - - 823 - - 1,302 - 811 2,886 5,822 0.24
Kg-mw,tks - - - - - - - - 744 - - 1,623 484 10,036 8,545 21,432 0.89
Kg-tks - - - - - - - - 153 - - 3,811 4,131 36,042 38,381 82,518 3.42
(UD5) - - - - - - - - - - 4,191 - - 1,317 1,141 6,649 0.28
Chp - - - - - - - - - - 21 - - 1,298 152 1,471 0.06
Chp-fsi - - - - - - - - - - 4,170 - - 19 989 5,178 0.21
(UD6) 30,763 14,116 1,520 19,924 40,043 40,715 2,018 10,782 2,147 790 49,248 111,477 - 22,582 78,178 424,303 17.59
Ch 13,123 - - 3,662 4,809 5,724 - 7,722 1,346 24 22,083 32,900 - - - 91,393 3.79 114
ตารางที่ 5-9 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์สำหรับข้าว จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน (OM-P-K) รวมเนื้อท
ี่
หน่วยดิน
H-M-H H-M-M H-M-L H-L-H H-L-M H-L-L M-M-H M-M-M M-M-L M-L-H M-L-M M-L-L L-H-L L-M-L L-L-L ไร ่ ร้อยละ
Kak 16,868 14,116 897 12,448 31,439 30,042 105 - - - 4,664 28,629 - - - 139,208 5.77
Li - - - 2,459 1,984 - - - - - 176 - - - - 4,619 0.19
Ml 130 - 623 1,355 1,515 - - 3,060 - 766 15,840 1,120 - 1,856 - 26,265 1.09
Nbd - - - - 157 4,949 - - 801 - 516 42,965 - 17,201 72,970 139,559 5.79
Ty 642 - - - 139 - 1,913 - - - 5,969 4,052 - - - 12,715 0.53
Wk-RC - - - - - - - - - - - 1,811 - 3,525 5,208 10,544 0.44
(UD8) 12,817 4,367 2,541 15,963 8,077 6,234 1,043 3,531 7,044 511 1,411 32,075 - 8,580 2,041 106,235 4.40
Cg-md 2,149 1,593 2,541 1,582 5,592 6,234 143 - - - 600 3,604 - - 945 24,983 1.04
Ly 2,356 - - - 159 - - - - - - 10,168 - - - 12,683 0.53
Ly-mw - - - - - - - - - - - 943 - - - 943 0.04
Pu-md,fl - - - - - - - - - - - 6,025 - 1,910 1,096 9,031 0.37
Pu-md,fl- - - - - - - - - - - - - - 4,869 - 4,869 0.20
Wk
Ws 8,312 2,774 - 14,381 2,326 - 900 3,531 7,044 511 811 11,335 - 1,801 - 53,726 2.23
(UD9) - - - - - 3,465 - - 110 - 515 21,284 37,804 6,127 30,051 99,356 4.12
Kmr - - - - - 989 - - - - - 4,790 - 2,982 15,408 24,169 1.00
Kmr-hb - - - - - 2,476 - - 110 - 515 16,494 37,804 3,145 14,643 75,187 3.12
(UD10) - - - - - - - 74 6,793 - 466 9,430 304 33,165 34,130 84,362 3.50
Nu - - - - - - - 74 6,793 - - 9,430 304 33,012 34,130 83,743 3.47
Kld-gm - - - - - - - - - - 466 - - 153 - 619 0.03
หน่วยเบ็ดเตล็ด 348,865 14.46
SC 280,391 11.63
W 68,474 2.84
รวม 58,566 28,752 6,252 54,854 71,403 79,800 6,637 40,739 55,832 2,019 100,320 326,823 49,697 297,655 883,715 2,411,929 100.00
115
ตารางที่ 5-10 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับข้าวไวต่อช่วงแสงและข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง จังหวัดหนองบัวลำภู
ข้าวไวต่อช่วงแสง ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
ั้
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน ครงที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่)
OM P K 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0
H M H 7 0 1 0 0 4 7 0 4 0 0 7
H M M 7 5 1 0 0 4 7 5 4 0 0 7
H M L 7 10 1 0 0 4 7 10 4 0 0 7
H L H 14 0 0 0 0 4 14 0 2 0 0 7
H L M 14 5 0 0 0 4 14 5 2 0 0 7
H L L 14 10 0 0 0 4 14 10 2 0 0 7
M M H 7 0 4 0 0 7 7 0 11 0 0 14
M M M 7 5 4 0 0 7 7 5 11 0 0 14
M M L 7 10 4 0 0 7 7 10 11 0 0 14
M L H 14 0 2 0 0 7 14 0 8 0 0 14
M L M 14 5 2 0 0 7 14 5 8 0 0 14
M L L 14 10 2 0 0 7 14 10 8 0 0 14
L H L 0 10 10 0 0 10 0 10 20 0 0 20
L M L 7 10 8 0 0 10 7 10 18 0 0 20
L L L 14 10 5 0 0 10 14 10 15 0 0 20 116
117
ภาพที่ 5-10 แผนที่ระดับธาตุอาหารในดินสำหรับข้าว จังหวัดหนองบัวลำภู
118
2) อ้อย
้
จังหวัดหนองบัวลำภูมีระดับธาตุอาหารหลักในดินสำหรับออย ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ
อนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (LLL) มีเนื้อที่รวม 913,035 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 37.85
ิ
ของเนื้อที่จังหวัด พบมากในกลุ่มดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3) มีเนื้อที่
467,438 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) และ
ิ่
ดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) มีการกระจายตัวของดินมากที่สุดบริเวณอำเภอนากลาง
ื้
โนนสัง อำเภอเมือง และอำเภอศรีบุญเรือง รองลงมาคือกลุ่มเนื้อดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่
เป็นดินทราย (UD4) มีเนื้อที่ 115,027 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นดินคำบงที่เป็นทรายหนา (Kg-tks) และชุดดิน
คำบง (Kg) พบกระจายตัวบริเวณอำเภอศรีบุญเรือง อำเภอเมืองหนองบัวลำภู และอำเภอนากลาง
และกลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขังที่เป็นดินร่วนละเอียด (L3) มีเนื้อที่ 96,606 ไร่ พบมากในดินชุม
แพที่เป็นดินร่วนละเอยด (Cpa-fl) โดยมากมีการกระจายตัวของดินหนาแน่นบริเวณอำเภอเมือง
ี
อำเภอโนนสัง และอำเภอศรีบุญเรือง ตามลำดับ (ตารางที่ 5-11 และภาพที่ 5-11)
สำหรับคำแนะนำในการใส่ปุ๋ยสำหรับออยปลูกของระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน
้
ิ
อนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (LLL) แบ่งใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร
18-46-0 จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 20 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน
้
15 กิโลกรัม/ไร่ โรยข้างแถวปลูกแล้วพรวนกลบหลังออยงอก 30 วัน และครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0
จำนวน 20 กิโลกรัม/ไร่ โรยข้างแถวปลูก แล้วไถพรวนกลบหลังจากครั้งแรก 60 วัน ส่วนออยตอนั้น
้
แนะนำให้ใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้งเช่นกัน คือ ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 จำนวน 16 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ย
สูตร 0-0-60 จำนวน 27 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 40 กิโลกรัม/ไร่ หลังจากแต่งตอ และ
ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 27 กิโลกรัม/ไร่ โดยโรยข้างแถวปลูกแล้วไถกลบหลังจากแต่งตอ
60 วัน ดังตารางที่ 5-12
ระดับธาตุอาหารหลักในดินสำหรับออย รองลงมา คือ ระดับอนทรียวัตถุปานกลาง
ิ
้
ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมปานกลาง (MLM) มีเนื้อที่รวม 313,265 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 12.99 ของเนื้อ
ที่จังหวัด พบในกลุ่มเนื้อดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มากที่สุด มีเนื้อที่
ื้
105,137 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นชุดดินเชียงคาน (Ch) ชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) และชุดดินมวกเหล็ก (Ml)
การกระจายตัวของดินส่วนใหญ่พบในบริเวณอำเภอนากลาง
คำแนะนำในการใส่ปุ๋ยสำหรับอ้อยปลูกของระดับปริมาณธาตุอาหารในดินอินทรียวัตถุ
ปานกลาง ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมปานกลาง (MLM) แบ่งใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ย
สูตร 18-46-0 จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 20 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 46-0-0
จำนวน 8 กิโลกรัม/ไร่ โรยข้างแถวปลูกแล้วพรวนกลบหลังออยงอก 30 วัน และครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยสูตร
้
46-0-0 จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ โรยข้างแถวปลูก แล้วไถพรวนกลบหลังจากครั้งแรก 60 วัน ส่วนอ้อย
ตอนั้น แนะนำให้ใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ย
119
สูตร 0-0-60 จำนวน 27 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 30 กิโลกรัม/ไร่ หลังจากแต่งตอ และ
ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 20 กิโลกรัม/ไร่ โดยโรยข้างแถวปลูกแล้วไถกลบหลังจากแต่งตอ
60 วัน
ระดับอนทรียวัตถุปานกลาง ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (MLL) เป็นระดับธาตุ
ิ
้
อาหารหลักในดินสำหรับออยที่พบมากรองลงมาจากระดับอนทรียวัตถุปานกลาง ฟอสฟอรัสต่ำ
ิ
โพแทสเซียมปานกลาง (MLM) มีเนื้อที่รวม 201,141 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 8.34 ของเนื้อที่จังหวัด พบ
มากในกลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3) มีเนื้อที่ 78,422 ไร่ ส่วน
ใหญ่เป็นดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) และดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดิน
ิ่
ร่วนหยาบ (Kmr-hb,col) การกระจายตัวของดินส่วนมากอยู่บริเวณอำเภอนากลาง โนนสัง และ
อำเภอศรีบุญเรือง
คำแนะนำในการใส่ปุ๋ยสำหรับอ้อยปลูกของระดับอินทรียวัตถุปานกลาง
ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (MLL) แบ่งใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร 18-46-0
จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 20 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 8
กิโลกรัม/ไร่ โรยข้างแถวปลูกแล้วพรวนกลบหลังอ้อยงอก 30 วัน และครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0
จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ โรยข้างแถวปลูก แล้วไถพรวนกลบหลังจากครั้งแรก 60 วัน ส่วนอ้อยตอ
นั้น แนะนำให้ใส่ปุ๋ยจำนวน 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร 18-46-0 จำนวน 10 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ย
สูตร 0-0-60 จำนวน 27 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 40 กิโลกรัม/ไร่ หลังจากแต่งตอ
และครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 20 กิโลกรัม/ไร่ โดยโรยข้างแถวปลูกแล้วไถกลบหลังจาก
แต่งตอ 60 วัน
ี
ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอยดการกระจายตัวของทรัพยากรดินและระดับปริมาณธาตุ
้
ื่
อาหารหลักในดิน (OM-P-K) สำหรับออยระดับอื่นๆ ดังตารางที่ 5-12 เพอให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตาม
ื่
ค่าวิเคราะห์ดินเป็นรายอำเภอได้ (ภาพที่ ฉ7-ฉ12) เพอให้สะดวกสำหรับกรณีที่ไม่สามารถเก็บ
ตัวอย่างดินมาวิเคราะห์ใหม่ได้ หรือในบริเวณที่ยากต่อการเก็บตัวอย่างดิน สามารถนำมาใช้เป็น
้
แนวทางในการกำหนดแผนการจัดการดินและปุ๋ยให้เหมาะสมกับความต้องการของออยในดินนั้นๆ ณ
จุดพิกัดบนแผนที่ดิน ได้อย่างแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
ี่
ตารางท 5-11 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์สำหรับอ้อย จังหวัดหนองบัวลำภู
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน (OM-P-K) รวมเนื้อท ี่
หน่วยดิน
H-M-H H-L-H H-L-M H-L-L M-M-M M-M-L M-L-H M-L-M M-L-L L-M-M L-M-L L-L-M L-L-L ไร ่ ร้อยละ
กลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L)
(L1) 11,437 3,058 18,923 4,973 1,105 - 1,736 30,244 21 - - 29,530 38,817 139,844 5.80
Cpa - - 241 4,320 - - - 12,141 21 - - 29,530 38,817 85,070 3.53
Nao 11,437 3,058 18,682 653 1,105 - 1,736 18,103 - - - - - 54,774 2.27
(L2) - - 1,733 - - - - 12,526 13,181 - - - - 27,440 1.14
Cpa-fsi - - 1,400 - - - - 12,526 13,181 - - - - 27,107 1.12
Nao-fsi - - 333 - - - - - - - - - - 333 0.01
(L3) - 6,456 9,921 89 - - 149 15,966 40,412 - 9,644 10,500 96,606 189,743 7.87
AC-pd,fl - 1,076 848 89 - - 149 4,685 1,374 - 727 - 1,195 10,143 0.42
Cpa-fl - 5,271 8,155 - - - - 11,184 39,038 - 8,917 8,307 85,812 166,684 6.91
Lah-fl - - - - - - - - - - - 2,193 9,406 11,599 0.48
Nao-fl - 109 918 - - - - 97 - - - - - 1,124 0.05
Nkg-fl - - - - - - - - - - - - 193 193 0.01
(L4) - - - - - - - - - 369 - 1,012 2,517 3,898 0.16
AC-pd,col - - - - - - - - - 148 - - - 148 0.01
Lah - - - - - - - - - 221 - - 832 1,053 0.04
St - - - - - - - - - - - 1,012 1,685 2,697 0.11
(L11) - - - - - - - 929 - - - 2,414 5,493 8,836 0.37
Smi - - - - - - - 929 - - - 2,414 5,493 8,836 0.37
ี่
กลุ่มดินในพื้นที่ดอนทอยู่ในเขตดินแห้ง (UD)
(UD1) - 12,434 23,393 213 - - 2,010 17,552 1,334 47 - 12 18 58,013 2.41
Bg-mw - 2,460 4,411 1,199 - - 952 1,129 - - - - - 10,151 0.42
Cg - 2,489 7,854 14 - - 714 7,394 687 - - - - 19,152 0.79
Dl - - 4,626 - - - - - - - - - - 4,626 0.19
Kld - 6,320 3,487 - - - 281 2,138 - 47 - 12 18 12,303 0.51 120
ตารางที่ 5-11 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์สำหรับอ้อย จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน (OM-P-K) รวมเนื้อท ี่
หน่วยดิน
H-M-H H-L-H H-L-M H-L-L M-M-M M-M-L M-L-H M-L-M M-L-L L-M-M L-M-L L-L-M L-L-L ไร ่ ร้อยละ
Kld-mw - 239 - - - - - - - - - - - 239 0.01
Ws-vd - 926 3,015 - - - 63 6,891 647 - - - - 11,542 0.48
(UD2) - - - 2,631 5,582 - - 3,977 8,363 93 1,341 5,528 61,132 88,647 3.68
Kmr-fl - - - - - - - 2,489 - 93 1,117 5,329 4,753 13,781 0.57
Kmr-hb,fl - - - - 5,582 - - 414 5,870 - - - 42,581 54,447 2.26
Pu-fl - - - 2,631 - - - - - - - 199 2,037 14,867 0.62
Pu-mw,fl - - - - - - - 1,074 2,493 - 224 - 1,761 5,552 0.23
(UD3) - 568 103 2,150 732 114 399 78,422 22,103 590 29,340 69,514 467,438 671,473 27.84
Kmr-col - 124 103 608 732 114 399 61,322 12,763 - 7,996 42,640 195,360 322,161 13.36
Kmr-hb,col - 444 - 836 - - - 7,209 4,220 - 13,095 15,447 230,234 271,485 11.26
Ptc-hb - - - - - - - - - - - 8,054 - 8,054 0.33
Ptc-mw - - - - - - - - - - - 172 - 172 0.01
Pu - - - 706 - - - 5,164 310 590 6,126 548 20,124 33,568 1.39
Pu-mw - - - - - - - 2,570 4,810 - - 2,653 19,715 29,748 1.23
Pu-RC - - - - - - - 2,157 - - 2,123 - 2,005 6,285 0.26
(UD4) - - - - 1,080 - - 2,910 6,583 - 27,750 915 115,027 154,265 6.40
Kg - - - - 1,080 - - 1,037 - - 17,777 - 24,599 44,493 1.84
Kg-md,tks - - - - - - - 812 1,313 - - 661 3,036 5,822 0.24
Kg-mw,tks - - - - - - - 908 1,459 - 484 254 18,327 21,432 0.89
Kg-tks - - - - - - - 153 3,811 - 9,489 - 69,065 82,518 3.42
(UD5) - - - - - - - 4,191 - - - 2,290 168 6,649 0.28
Chp - - - - - - - 21 - - - 1,282 168 1,471 0.06
Chp-fsi - - - - - - - 4,170 - - - 1,008 - 5,178 0.21
(UD6) 13,123 37,564 86,805 9,589 - - 3,393 105,137 67,932 7,484 - 48,458 44,818 424,303 17.59
Ch 13,123 3,662 10,533 - - - 24 40,774 23,277 - - - - 91,393 3.79
Kak - 29,316 69,460 7,034 - - 105 13,489 19,804 - - - - 139,208 5.77 121
ตารางที่ 5-11 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์สำหรับอ้อย จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน (OM-P-K) รวมเนื้อท ี่
หน่วยดิน
H-M-H H-L-H H-L-M H-L-L M-M-M M-M-L M-L-H M-L-M M-L-L L-M-M L-M-L L-L-M L-L-L ไร ่ ร้อยละ
Li - 2,459 1,984 - - - - 176 - - - - - 4,619 0.19
Ml - 1,485 2,138 - - - 766 19,765 255 415 - 1,441 - 26,265 1.09
Nbd - - 2,551 2,555 - - - 22,376 21,906 7,069 - 40,945 42,157 139,559 5.79
Ty - 642 139 - - - 1,913 8,557 1,464 - - - - 12,715 0.53
Wk-RC - - - - - - 585 - 1,226 - - 6,072 2,661 10,544 0.44
(UD8) 128 28,652 21,073 146 - - 1,554 25,599 18,462 1,308 389 7,453 1,471 106,235 4.40
Cg-md - 3,731 15,814 146 - - 143 3,139 1,065 - - - 945 24,983 1.04
Ly - 2,356 159 - - - - 2,484 7,684 - - - - 12,683 0.53
Ly-mw - - - - - - - - 943 - - - - 943 0.04
Pu-md,fl - - - - - - - 6,025 - - 389 2,091 526 9,031 0.37
Pu-md,fl-Wk - - - - - - - - - - - 4,869 - 4,869 0.20
Ws 128 22,565 5,100 - - - 1,411 13,951 8,770 1,308 - 493 - 53,726 2.23
(UD9) - - 786 2,679 110 - - 8,479 13,320 830 41,514 11,871 19,767 99,356 4.12
Kmr - - - 989 - - - 3,919 871 - 1,395 11,871 5,124 24,169 1.00
Kmr-hb - - 786 1,690 110 - - 4,560 12,449 830 40,119 - 14,643 75,187 3.12
(UD10) - - - - - - - 7,333 9,430 4,514 3,169 153 59,763 84,362 3.50
Kld-gm - - - - - - - 466 - - - 153 - 619 0.03
Nu - - - - - - - 6,867 9,430 4,514 3,169 - 59,763 83,743 3.47
หน่วยเบ็ดเตล็ด 348,865 14.46
SC 280,391 11.63
W 68,474 2.84
รวมทั้งหมด 24,688 88,732 162,737 23,470 8,609 114 9,241 313,265 201,141 15,235 113,147 189,650 913,035 2,411,929 100.00
122
ตารางที่ 5-12 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับอ้อยปลูกและอ้อยตอ จังหวัดหนองบัวลำภู
อ้อยปลูก อ้อยตอ
ี่
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน ครั้งท 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่) ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่)
OM P K 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0
H M H 14 10 8 0 0 14 12 20 30 20 0 0
H L H 14 10 8 0 0 14 10 27 30 20 0 0
H L M 14 20 8 0 0 14 10 27 30 20 0 0
H L L 14 20 8 0 0 14 10 27 40 20 0 0
M M M 14 20 8 0 0 14 12 20 30 20 0 0
M M L 14 20 8 0 0 14 12 20 40 20 0 0
M L H 14 10 8 0 0 14 10 27 30 20 0 0
M L M 14 20 8 0 0 14 10 27 30 20 0 0
M L L 14 20 8 0 0 14 10 27 40 20 0 0
L M M 14 20 15 0 0 20 19 20 30 27 0 0
L M L 14 20 15 0 0 20 19 20 40 27 0 0
L L M 14 20 15 0 0 20 16 27 30 27 0 0
L L L 14 20 15 0 0 20 16 27 40 27 0 0 123
124
ภาพที่ 5-11 แผนที่ระดับธาตุอาหารในดินสำหรับอ้อย จังหวัดหนองบัวลำภู
125
3) มันสำปะหลัง
จังหวัดหนองบัวลำภูมีระดับธาตุอาหารหลักในดินสำหรับมันสำปะหลังส่วนใหญ่อยู่ใน
ิ
ระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (LLL) มีเนื้อที่รวม 546,790 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
ื้
22.67 ของเนื้อที่จังหวัด พบมากในกลุ่มดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3)
มีเนื้อที่ 295,933 ไร่ พบมากในดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-hb,col)
ิ่
และดินเขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) มีการกระจายตัวของดินมากที่สุดบริเวณอำเภอนา
ื้
ื้
กลาง โนนสัง อำเภอเมือง และอำเภอศรีบุญเรือง รองลงมา คือ กลุ่มเนื้อดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขัง
ี
ที่เป็นดินร่วนละเอยด (L3) มีเนื้อที่ 60,276 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอยด (Cpa-fl)
ี
ี
และกลุ่มเนื้อดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนละเอยด (UD2) มีเนื้อที่ 57,182 ไร่ พบ
ื้
ิ่
ี
มากในดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนละเอยด (Kmr-hb,fl) และดินภูพานที่เป็นดิน
ร่วนละเอยด (Pu-fl) โดยมากมีการกระจายตัวของดินหนาแน่นบริเวณอำเภอเมืองหนองบัวลำภู
ี
อำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอนากลาง ตามลำดับ (ภาพที่ 5-12) สำหรับคำแนะนำในการใส่ปุ๋ย
ิ
สำหรับมันสำปะหลังที่มีระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมต่ำ (LLL) ใส่ปุ๋ยสูตร
18-46-0 จำนวน 18 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 27 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน
28 กิโลกรัม/ไร่ เมื่อมันสำปะหลังมีอายุประมาณ 1-3 เดือน (ตารางที่ 5-13 และ 5-14)
ระดับธาตุอาหารหลักในดินสำหรับมันสำปะหลัง รองลงมา คือ ระดับต่ำ ต่ำ ปานกลาง
(LLM) มีเนื้อที่รวม 466,522 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 19.34 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่พบในกลุ่มเนื้อดิน
ื้
ในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3) มีเนื้อที่ 181,776 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นดิน
เขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) ตามด้วยดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วน
ิ่
หยาบ (Kmr-hb,col) การกระจายตัวของดินส่วนมากอยู่บริเวณอำเภอนากลาง โนนสัง และอำเภอศรี
ื้
บุญเรือง ตามด้วยกลุ่มเนื้อดินในพนที่ลุ่มหรือพนที่น้ำขังที่เป็นดินเหนียว (L1) มีเนื้อที่ 64,495 ไร่ พบ
ื้
ในชุดดินชุมแพ (Cpa) บริเวณอำเภอศรีบุญเรือง อำเภอเมืองหนองบัวลำภู และอำเภอโนนสัง และใน
กลุ่มเนื้อดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินทราย (UD4) มีเนื้อที่ 64,215 ไร่ โดยมากพบใน
ื้
ดินคำบงที่เป็นทรายหนา (Kg-tks) ที่กระจายตัวบริเวณอำเภอเมืองหนองบัวลำภู สำหรับคำแนะนำใน
การใส่ปุ๋ยสำหรับมันสำปะหลังที่มีระดับอนทรียวัตถุต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ โพแทสเซียมปานกลาง (LLM)
ิ
นั้นจะใส่ปุ๋ยสูตร 18-60-0 จำนวน 18 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร
46-0-0 จำนวน 28 กิโลกรัม/ไร่ เมื่อมันสำปะหลังมีอายุประมาณ 1-3 เดือน (ตารางที่ 5-13 และ
5-14)
ระดับธาตุอาหารหลักในดินสำหรับมันสำปะหลังระดับอนทรียวัตถุปานกลาง ฟอสฟอรัส
ิ
ต่ำ โพแทสเซียมปานกลาง (MLM) ซึ่งพบเป็นอันดับ 3 รองจากระดับต่ำ ต่ำ ปานกลาง (LLM) มีเนื้อที่
รวม 315,818 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.09 ของเนื้อที่จังหวัด พบในกลุ่มเนื้อดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขต
ื้
ดินแห้งที่เป็นดินตื้น (UD6) มากที่สุด มีเนื้อที่ 87,312 ไร่ มักพบในชุดดินหนองบัวแดง (Nbd) ชุดดิน
126
แก่งคอย (Kak) และชุดดินเชียงคาน (Ch) การกระจายตัวของดินส่วนใหญ่พบในบริเวณอำเภอนา
กลาง รองลงมาคือกลุ่มเนื้อดินในพนที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้งที่เป็นดินร่วนหยาบ (UD3) ที่เป็นดิน
ื้
เขมราฐที่เป็นดินร่วนหยาบ (Kmr-col) และดินเขมราฐที่มีความอมตัวเบสสูงและเป็นดินร่วนหยาบ
ิ่
(Kmr-hb,col) และกลุ่มเนื้อดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขังที่เป็นดินร่วนละเอียด (L3) พบในดินชุมแพที่
ี
เป็นดินร่วนละเอยด (Cpa-fl) ที่มีการกระจายตัวบริเวณอำเภอนากลาง อำเภอนาวัง อำเภอเมือง
หนองบัวลำภู อำเภอศรีบุญเรือง และอำเภอสุวรรณคูหา สำหรับคำแนะนำในการใส่ปุ๋ยสำหรับมัน
สำปะหลังนั้นจะใส่ปุ๋ยสูตร 18-60-0 จำนวน 18 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ยสูตร 0-0-60 จำนวน 14 กิโลกรัม/ไร่
ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 11 กิโลกรัม/ไร่ เมื่อมันสำปะหลังมีอายุประมาณ 1-3 เดือน
ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอียดการกระจายตัวของทรัพยากรดินและระดับปริมาณธาตุอาหาร
ื่
หลักในดิน (OM-P-K) สำหรับมันสำปะหลังระดับอนๆ (ตารางที่ 5-14) เพื่อให้คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตาม
ค่าวิเคราะห์ดินเป็นรายอำเภอได้ ดังภาพที่ ช13-ช18 เพอให้สะดวกสำหรับกรณีที่ไม่สามารถเก็บ
ื่
ตัวอย่างดินมาวิเคราะห์ใหม่ได้ หรือในบริเวณที่ยากต่อการเก็บตัวอย่างดิน สามารถนำมาใช้เป็น
แนวทางในการกำหนดแผนการจัดการดินและปุ๋ยให้เหมาะสมกับความต้องการของมันสำปะหลังในดิน
ั
นั้นๆ ณ จุดพิกดบนแผนที่ดิน ได้อย่างแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
ี่
ตารางท 5-13 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์สำหรับมันสำปะหลัง จังหวัดหนองบัวลำภู
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน (OM-P-K) รวมเนื้อท ี่
หน่วยดิน
H-M-H H-L-H H-L-M M-M-H M-M-M M-L-H M-L-M M-L-L L-M-M L-M-L L-L-M L-L-L ไร ่ ร้อยละ
กลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ำขัง (L)
(L1) 14,693 13,948 9,750 13,195 1,105 8,384 10,422 - - - 64,495 3,852 139,844 5.80
Cpa - - 4,561 - - 5,581 6,581 - - - 64,495 3,852 85,070 3.53
Nao 14,693 13,948 5,189 13,195 1,105 2,803 3,841 - - - - - 54,774 2.27
(L2) - 1,733 - - - 4,109 21,598 - - - - - 27,440 1.14
Cpa-fsi - 1,400 - - - 4,109 21,598 - - - - - 27,107 1.12
Nao-fsi - 333 - - - - - - - - - - 333 0.01
(L3) 37 11,187 5,242 188 2,195 2,919 50,478 747 4,578 7,701 44,195 60,276 189,743 7.87
AC-pd,fl 37 1,642 334 188 - 1,066 4,207 747 293 727 146 756 10,143 0.42
Cpa-fl - 8,589 4,837 - 2,195 1,853 46,174 - 1,943 6,974 37,542 56,577 166,684 6.91
Lah-fl - - - - - - - - 2,342 - 6,507 2,750 11,599 0.48
Nao-fl - 956 71 - - - 97 - - - - - 1,124 0.05
Nkg-fl - - - - - - - - - - - 193 193 0.01
(L4) - - - - - - - - 369 - 2,388 1,141 3,898 0.16
AC-pd,col - - - - - - - - 148 - - - 148 0.01
Lah - - - - - - - - 221 - 832 - 1,053 0.04
St - - - - - - - - - - 1,556 1,141 2,697 0.11
(L11) - - - - - 214 715 - - - 7,907 - 8,836 0.37
Smi - - - - - 214 715 - - - 7,907 - 8,836 0.37
กลุ่มดินในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง (UD)
(UD1) 1,008 24,228 11,804 503 653 10,489 9,251 - 47 - 30 - 58,013 2.41
Bg-mw 799 5,328 1,943 - - 1,017 1,064 - - - - - 10,151 0.42
Cg - 5,122 5,235 366 - 6,353 2,076 - - - - - 19,152 0.79
Dl - - 4,626 - - - - - - - - - 4,626 0.19
Kld 209 9,598 - - - 281 2,138 - 47 - 30 - 12,303 0.51 127
่
ตารางท 5-13 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามคาวิเคราะห์สำหรับมันสำปะหลัง จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ี่
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน (OM-P-K) รวมเนื้อที่
หน่วยดิน
H-M-H H-L-H H-L-M M-M-H M-M-M M-L-H M-L-M M-L-L L-M-M L-M-L L-L-M L-L-L ไร่ ร้อยละ
Kld-mw - 239 - - - - - - - - - - 239 0.01
Ws-vd - 3,941 - 137 653 2,838 3,973 - - - - - 11,542 0.48
(UD2) - - 2,631 - 5,582 - 12,340 - 1,633 - 9,279 57,182 88,647 3.68
Kmr-fl - - - - - - 2,489 - 1,210 - 6,749 3,333 13,781 0.57
Kmr-hb,fl - - - - 5,582 - 6,284 - - - 525 42,056 54,447 2.26
Pu-fl - - 2,631 - - - - - 199 - 796 11,241 14,867 0.62
Pu-mw,fl - - - - - - 3,567 - 224 - 1,209 552 5,552 0.23
(UD3) - 671 2,150 - 8,341 34,097 58,433 899 29,553 59,620 181,776 295,933 671,473 27.84
Kmr-col - 227 608 - 7,372 31,421 35,638 899 4,988 50,755 111,351 78,902 322,161 13.36
Kmr-hb,col - 444 836 - 969 2,138 8,322 - 15,031 125 51,942 191,678 271,485 11.26
Ptc-hb - - - - - - - - 8,054 - - - 8,054 0.33
Ptc-mw - - - - - - - - 172 - - - 172 0.01
Pu - - 706 - - 538 4,936 - 902 6,617 13,378 6,491 33,568 1.39
Pu-mw - - - - - - 7,380 - 406 - 3,100 18,862 29,748 1.23
Pu-RC - - - - - - 2,157 - - 2,123 2,005 - 6,285 0.26
(UD4) - - - - 1,233 1,037 8,303 - 9,703 28,739 64,215 41,035 154,265 6.40
Kg - - - - 1,080 1,037 - - 4,605 13,172 9,157 15,442 44,493 1.84
Kg-md,tks - - - - - - 2,125 - - - 3,697 - 5,822 0.24
Kg-mw,tks - - - - - - 2,367 - - 484 5,021 13,560 21,432 0.89
Kg-tks - - - - 153 - 3,811 - 5,098 15,083 46,340 12,033 82,518 3.42
(UD5) - - - - - 4,191 - - 1,247 - 1,211 - 6,649 0.28
Chp - - - - - 21 - - 1,240 - 210 - 1,471 0.06
Chp-fsi - - - - - 4,170 - - 7 - 1,001 - 5,178 0.21
(UD6) 22,327 82,519 42,235 2,472 677 60,366 87,312 25,635 16,849 122 63,266 20,523 424,303 17.59
Ch 13,123 8,471 5,724 2,458 - 27,371 15,900 18,346 - - - - 91,393 3.79
Kak 9,204 65,667 30,939 - - 4,769 28,570 59 - - - - 139,208 5.77 128
ตารางที่ 5-13 แสดงระดับปริมาณธาตุอาหารหลักในดิน (OM-P-K) ตามค่าวิเคราะห์สำหรับมันสำปะหลัง จังหวัดหนองบัวลำภู (ต่อ)
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน (OM-P-K) รวมเนื้อที่
หน่วยดิน
H-M-H H-L-H H-L-M M-M-H M-M-M M-L-H M-L-M M-L-L L-M-M L-M-L L-L-M L-L-L ไร่ ร้อยละ
Li - 4,443 - - - 176 - - - - - - 4,619 0.19
Ml - 3,000 623 14 - 19,652 1,120 - 415 - 1,441 - 26,265 1.09
Nbd - 157 4,949 - 677 516 36,709 6,380 13,206 - 57,991 18,974 139,559 5.79
Ty - 781 - - - 7,882 3,309 743 - - - - 12,715 0.53
Wk-RC - - - - - - 1,704 107 3,228 122 3,834 1,549 10,544 0.44
(UD8) 493 40,731 8,775 1,105 - 5,391 32,140 6,979 6,751 389 2,010 1,471 106,235 4.40
Cg-md 159 10,757 8,775 - - 743 3,604 - - - - 945 24,983 1.04
Ly - 2,515 - - - - 4,782 5,386 - - - - 12,683 0.53
Ly-mw - - - - - - 496 447 - - - - 943 0.04
Pu-md,fl - - - - - - 6,025 - 574 389 1,517 526 9,031 0.37
Pu-md,fl-Wk - - - - - - - - 4,869 - - - 4,869 0.20
Ws 334 27,459 - 1,105 - 4,648 17,233 1,146 1,308 - 493 - 53,726 2.23
(UD9) - - 3,465 - 110 515 10,570 10,714 4,178 38,166 21,477 10,161 99,356 4.12
Kmr - - 989 - - - 4,790 - 1,033 362 13,650 3,345 24,169 1.00
Kmr-hb - - 2,476 - 110 515 5,780 10,714 3,145 37,804 7,827 6,816 75,187 3.12
(UD10) - - - - 1,918 540 14,256 49 7,393 717 4,273 55,216 84,362 3.50
Kld-gm - - - - - 466 - - - - 153 - 619 0.03
Nu - - - - 1,918 74 14,256 49 7,393 717 4,120 55,216 83,743 3.47
หน่วยเบ็ดเตล็ด 348,865 14.46
SC 280,391 11.63
W 68,474 2.84
รวมทั้งหมด 38,558 175,017 86,052 17,463 21,814 132,252 315,818 45,023 82,301 135,454 466,522 546,790 2,411,929 100.00
129
130
ภาพที่ 5-12 แผนที่ระดับธาตุอาหารในดินสำหรับมันสำปะหลัง จังหวัดหนองบัวลำภู
131
ี่
ตารางท 5-14 ปริมาณการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับมันสำปะหลัง จังหวัดหนองบัวลำภู
ระดับปริมาณธาตุอาหารในดิน ปุ๋ยสูตร (หน่วย : กิโลกรัมต่อไร่)
OM P K 18-46-0 0-0-60 46-0-0
H M H 9 7 6
H L H 18 7 2
H L M 18 14 2
M M H 9 7 14
M M M 9 14 14
M L H 18 7 11
M L M 18 14 11
M L L 18 27 11
L M M 9 14 32
L M L 9 27 32
L L M 18 14 28
L L L 18 27 28
132
5.3.2 การจัดการดินสำหรับพืชเศรษฐกิจ
ื
ุ
นอกจากการแก้ไขปัญหาดินที่มีความอดมสมบูรณ์ต่ำ การสูญเสียธาตุอาหารพชออกไป
ื่
จากดินโดยพืช มนุษย์ และอนๆ ด้วยการเพิ่มธาตุอาหารโดยการใส่ปุ๋ยตามความต้องการของพืชแต่ละ
ชนิดคืนให้แก่ดินแล้ว การจัดการดินอย่างเป็นระบบยังสามารถส่งผลต่อคุณภาพของดินให้ดีขึ้น มีการ
ู
ื้
หมุนเวียนของธาตุอาหารในดิน รวมทั้งปรับเปลี่ยนหรือฟนฟคุณสมบัติทางกายภาพ ทางเคมี และ
ื
ความหลากหลายทางชีวภาพของดินให้เหมาะสมต่อการปลูกพช ทำให้ดินมีศักยภาพการให้ผลผลิตพช
ื
ในปริมาณที่ดีและเหมาะสม สามารถรักษาคุณภาพของดินที่ดีไว้ได้ โดยอาศัยลักษณะและคุณสมบัติ
ื่
ิ
ื
ของดินที่มีอทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพชนำมาใช้เป็นแนวทางการจัดการดินเพอใช้ประโยชน์จาก
ู
ื้
ดินได้อย่างเหมาะสม และถูกต้อง รวมทั้งยังสามารถช่วยปรับปรุง และฟนฟดินเสื่อมโทรมให้สามารถ
ทำการเกษตรได้อย่างยั่งยืนต่อไป จากการศึกษาลักษณะและคุณสมบัติของทรัพยากรดินร่วมกับสภาพ
ภูมิประเทศที่พบในพนที่จังหวัดหนองบัวลำภู สามารถแบ่งดินออกเป็น 14 กลุ่ม ได้เสนอแนวทางการ
ื้
จัดการดินให้เหมาะสมต่อการปลูกข้าว อ้อย และมันสำปะหลัง รายละเอียดดังนี้
้
1) กลุ่มดินเหนียวในพื้นที่ลุ่ม (L1) ได้แก่ ชุดดินชุมแพ (Cpa) และชุดดินนาออ (Nao)
ส่วนใหญ่มีข้อจำกัดดินเนื่องจากเป็นดินเหนียวที่มีโครงสร้างแน่นทึบ หน้าดินแห้งแข็งไถพรวนยาก
เสี่ยงต่อการขาดน้ำในฤดูแล้ง และมักมีน้ำท่วมขังในฤดูฝน ทำความเสียหายกับพืชที่ไม่ชอบน้ำขัง
ั
ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการทำนาในช่วงฤดูฝน และสามารถพฒนาพนที่เพื่อปลูก
ื้
ื
ื
้
พชไร่ พชผัก หรือพชที่มีอายุสั้น เช่น ถั่ว เหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ออย ในช่วงฤดูแล้งหรือหลังเก็บ
ื
เกี่ยวข้าวได้ ถ้าหากมีแหล่งน้ำเพียงพอหรืออยู่ในเขตชลประทาน
้
ดินกลุ่มนี้ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกออยและมันสำปะหลัง เนื่องจากมีน้ำท่วมขัง
นานในช่วงฤดูฝนอาจทำความเสียหายกับพืชได้ แต่หากต้องการนำมาใช้ จำเป็นต้องมีการพัฒนาพื้นที่
อย่างเหมาะสม โดยการยกร่อง มีระบบป้องกันน้ำท่วม
(1.1) แนวทางการจัดการดินสำหรับข้าว
เลือกระยะเวลาไถพรวนเตรียมดินในช่วงที่ดินมีความชื้นเหมาะสม และไถที่
ั
ความลึกแตกต่างกนไปในแต่ละฤดูปลูก เพื่อป้องกันดินติดเครื่องจักรกลและการเกิดชั้นดานแขงใต้ชั้น
็
ไถพรวน
ื้
เตรียมพนที่ปลูกข้าวโดยการไถกลบตอซังปล่อยทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์ หรือไถกลบ
ั
พชปุ๋ยสด โสนอฟริกันหรือโสนอนเดียอตรา 4-6 กก./ไร่ สำหรับดินเหนียวจัดหว่านโสนอฟริกันหรือ
ั
ิ
ื
ั
ั
ิ
โสนอนเดีย อตรา 6-8 กก./ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปล่อยทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์ แล้วปลูกข้าว
133
ื่
หากดินเป็นกรดจัดมากควรหว่านวัสดุปูนอตรา 200-300 กก./ไร่ แล้วไถคลุกเคล้าให้เข้ากับดิน เพอ
ั
ลดความเป็นกรดในดิน
ปรับปรุงบำรุงดินด้วยการไถกลบปุ๋ยคอก อตรา 2-3 ตัน/ไร่ ร่วมกับวัสดุ
ั
ิ่
ปรับปรุงดิน เช่น แกลบ หรือ ขี้เลื่อย เพื่อช่วยให้ดินร่วนซุย เพิ่มธาตุอาหารและเพมประสิทธิภาพการ
ใช้ปุ๋ย
ื้
ิ
ใช้ปุ๋ยอนทรีย์น้ำ พด.2 ร่วมกับปุ๋ยเคมี โดยแบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งแรกใส่รองพน
ก่อนปักดำหรือวันปักดำแล้วคราดกลบ ครั้งที่ 2 ใส่หลังปลูก 35-45 วัน หรือระยะที่ข้าวกำลังตั้งท้อง
พัฒนาแหล่งน้ำไว้ใช้ในช่วงที่ขาวขาดน้ำและใช้ปลูกข้าวครั้งที่ 2 หรือปลูกพชไร่
ื
้
พืชผักหลังเก็บเกี่ยวข้าว
(1.2) แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อยและมันสำปะหลัง
ปลูกเฉพาะช่วงฤดูแล้งหรือหลังปลูกข้าว ควรยกร่องแบบเตี้ยหรือทำร่องระบาย
ื
ื้
ื่
น้ำระหว่างแปลงเพอช่วยระบายน้ำ แต่ถ้าต้องการเปลี่ยนสภาพจากพนที่นามาปลูกพชไร่แบบถาวร
จะต้องปรับสภาพพนที่เพอป้องกันน้ำท่วมขังในฤดูฝน โดยยกร่องแบบถาวรให้มีสันร่องกว้าง 6-8
ื่
ื้
ู
เมตร โดยให้สันร่องสูงกว่าระดับน้ำที่เคยท่วมถึง มีคระบายน้ำกว้าง 1-1.5 เมตร ลึก 0.5-1 เมตร หรือ
สร้างคันดินอัดแน่นล้อมรอบพื้นที่
ื
ั
ปรับปรุงบำรุงดินด้วยการไถกลบพชปุ๋ยสด ปอเทืองอตรา 4-6 กก./ไร่ ถั่วพม
ุ่
ั
อตรา 6-8 กก./ไร่ หรือถั่วพร้าอตรา 8-10 กก./ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน หรือออกดอก 50
ั
เปอร์เซ็นต์ หรือไถกลบปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอกอตรา 1-2 ตัน/ไร่ ปล่อยทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์ ก่อนปลูกพช
ั
ื
ถ้าเป็นดินที่เหนียวจัดไถกลบพืชปุ๋ยสด โดยหว่านปอเทืองอัตรา 6-8 กก./ไร่ ถั่วพุ่มอัตรา 8-10 กก./ไร่
ื
หรือถั่วพร้าอตรา 10-12 กก./ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน หรือเมื่อพชออกดอกประมาณ 50
ั
ิ
เปอร์เซ็นต์ หรือคลุกเคล้าปุ๋ยอนทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกอตรา 2-3 ตัน/ไร่ หรือ ปล่อยทิ้งไว้ 1-2
ั
สัปดาห์ ก่อนปลูกพืช
ี
2) กลุ่มดินทรายแป้งในพื้นที่ลุ่ม (L2) ได้แก่ ดินชุมแพที่เป็นดินทรายแป้งละเอยด
้
(Cpa-fsi) และดินนาออที่เป็นดินทรายแป้งละเอยด (Nao-fsi) ส่วนใหญ่หน้าดินแน่นทึบ มีการถ่ายเท
ี
อากาศไม่ดี เนื่องจากมีคราบดินทรายแป้งตกตะกอนเคลือบอยู่บนผิวหน้าดิน ความอดมสมบูรณ์ของ
ุ
ื้
ื
ดินต่ำ ในฤดูฝนมักมีน้ำท่วมขังทำความเสียหายกับพชที่ไม่ชอบน้ำขัง บางพนที่ขาดแคลนน้ำนานใน
ระยะฝนทิ้งช่วง
134
ดินในกลุ่มนี้ เหมาะสมสำหรับการทำนามากกว่าการปลูกพชอน เนื่องจากสภาพพนที่
ื้
ื
ื่
้
เป็นที่ลุ่ม มีน้ำท่วมขังในฤดูฝน แต่มีขอจำกัดสำหรับการปลูกข้าวบ้าง เนื่องจากดินมีความอุดมสมบูรณ์
ต่ำและหน้าดินแน่นทึบ
(2.1) แนวทางการจัดการดินสำหรับข้าว
เตรียมพนที่ปลูกโดยไถพรวนดินในช่วงที่ดินมีความชื้นเหมาะสม ปรับปรุงดิน
ื้
ด้วยอินทรียวัตถุ เช่น ไถกลบตอซัง ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอัตรา 2-3 ตัน/ไร่ ปล่อยทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์
หรือ ก่อนปลูกหว่านเมล็ดพนธุ์พชปุ๋ยสด เช่น โสนอฟริกันหรือโสนอนเดียอตรา 6-8 ตัน/ไร่ ไถกลบ
ิ
ั
ั
ั
ื
ิ่
้
ก่อนออกดอก 1-2 สัปดาห์ เพื่อเพมธาตุอาหารพืชช่วยให้ดินร่วนซุย และขาวมีการแตกกอดีขึ้น
ปักดำด้วยต้นกล้าที่มีจำนวนต้นต่อกอมากกว่าที่ใช้ตามปกติ ถ้าดินเป็นกรดจัด
มาก ควรหว่านวัสดุปูน อัตรา 200-300 กก./ไร่ ไถคลุกเคล้าให้เข้ากับดิน ทิ้งไว้ 15 วันก่อนปลูก
พัฒนาแหล่งน้ำชลประทานไว้ใช้ในช่วงที่ข้าวขาดน้ำ หรือใช้ทํานาครั้งที่ 2 ปลูก
พืชไร่ พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วหลังเก็บเกี่ยวข้าว
(2.2) แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง
กรณีปลูกในช่วงฤดูแล้งหรือหลังจากปลูกข้าว ควรปรับสภาพพนที่โดยยกร่อง
ื้
แบบเตี้ยหรือทำร่องระบายน้ำระหว่างแปลงเพื่อป้องกนน้ำท่วมขังในฤดูฝน หรือถาต้องการเปลี่ยนจาก
้
ั
ื
สภาพพนที่นามาปลูกพชไร่อย่างถาวร ควรสร้างคันดินอัดแน่นล้อมรอบพนที่ยกร่องแบบถาวรให้มีสัน
ื้
ื้
ร่องกว้าง 6-8 เมตร โดยให้สันร่องสูงกว่าระดับ น้ำที่เคยท่วมถึง มีคูระบายน้ำกว้าง 1-1.5 เมตร ลึก
0.5-1 เมตร
ั
ื
ุ่
ปรับปรุงบำรุงดินด้วยการไถกลบพชปุ๋ยสด ปอเทืองอตรา 4-6 กก./ไร่ ถั่วพม
อตรา 6-8 กก./ไร่ หรือถั่วพร้าอตรา 8-10 กก./ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วันหลังปลูก หรือออกดอก
ั
ั
50 เปอร์เซ็นต์หรือไถกลบปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอกอตรา 1-2 ตัน/ไร่ ปล่อยทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์ ในพนที่
ื้
ั
ื่
ิ่
ที่ดินเป็นกรดจัดมาก ใช้วัสดุปูน 200-300 กก./ไร่ หรือ 0.5-1.0 กก./หลุม เพอเพมความเป็น
ประโยชน์ของธาตุอาหารในดิน
ี
3) กลุ่มดินร่วนละเอยดในพื้นที่ลุ่ม (L3) ได้แก่ ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบาย
เลวและเป็นดินร่วนละเอยด (AC-pd,fl) ดินชุมแพที่เป็นดินร่วนละเอยด (Cpa-fl) ดินละหานทรายที่
ี
ี
ี
เป็นดินร่วนละเอยด (Lah-fl) ดินนาออที่เป็นดินร่วนละเอยด (Nao-fl) และดินหนองกุงที่เป็นดินร่วน
้
ี
ิ
ละเอยด (Nkg-fl) ส่วนใหญ่เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มีปริมาณอนทรียวัตถุต่ำ ความสามารถในการ
ี
อุ้มน้ำและดูดซับธาตุอาหารค่อนข้างต่ำ มีความเสี่ยงต่อการมีน้ำไหลบ่าหรือท่วมขังในฤดูฝน ทำความ
เสียหายให้กับพชที่ไม่ชอบน้ำขัง ในบริเวณที่สภาพพนที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มักเสี่ยงต่อการ
ื้
ื
ขาดแคลนน้ำนาน
135
ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการทำนา แต่มีข้อจำกัดสำหรับการปลูกข้าวบ้าง
ุ
เนื่องจากดินมีความอดมสมบูรณ์ต่ำ และบางพนที่เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำในระยะฝนทิ้งช่วง ไม่
ื้
เหมาะสำหรับการปลูกพืชไร่ พืชผัก ไม้ยืนต้นและไม้ผล ได้รับอันตรายจากน้ำท่วมขังในฤดูฝน
(3.1) แนวทางการจัดการดินสำหรับข้าว
ื้
ื้
ในพนที่ที่มีความลาดชันเล็กน้อย ควรมีการปรับรูปแปลงนาเพอให้มีสภาพพนที่
ื่
ราบเรียบ สามารถกักเก็บน้ำสม่ำเสมอได้ ตลอดทั้งแปลงปลูก
เพมความร่วนซุยในดินโดยการไถกลบตอซัง หรือไถคลุกเคล้าปุ๋ยหมักหรือปุ๋ย
ิ่
ั
ื
คอก อัตรา 2-3 ตัน/ไร่ ปล่อยทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์ หรือปลูกพชปุ๋ยสดแล้วไถกลบ โดยหว่านเมล็ดพนธุ์
พชปุ๋ยสด โสนอฟริกัน หรือโสนอนเดียอตรา 4-6 กก./ไร่ แล้วไถกลบ เมื่ออายุ50-70 วัน ปล่อยทิ้งไว้
ั
ื
ิ
ั
1-2 สัปดาห์ แล้วจึงปลูกข้าว ถ้าดินเป็นกรดจัดมาก ปรับปรุงโดยการไถคลุกเคล้าวัสดุปูน อัตรา 200-
300 กก./ไร่
พฒนาแหล่งน้ำชลประทานไว้ใช้ในช่วงที่ข้าวขาดน้ำหรือใช้ทำนาครั้งที่ 2 ปลูก
ั
พืชไร่ พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วหลังเก็บเกี่ยวข้าว
(3.2) แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง
ื้
ปรับสภาพพนที่เพอป้องกันน้ำท่วมขังในฤดูฝนโดยการยกร่องแบบถาวร ให้มี
ื่
สันร่องกว้าง 6-8 เมตร ตามชนิดพืชที่ปลูก โดยให้สันร่องสูงกว่าระดับน้ำที่เคยท่วมถึง หรือสร้างคันดิน
ั
ื
อดแน่นล้อมรอบมีคูระบายน้ำกว้าง 1-1.5 เมตร ลึก 0.5-1 เมตร (กรณีปลูกพชไร่ พชผักเฉพาะช่วง
ื
ก่อนหรือหลังปลูกข้าว ควรยกร่องแบบเตี้ยหรือทำร่อง ระบายน้ำระหว่างแปลง)
ุ่
ื
ั
ปรับปรุงบำรุงดินด้วยการไถกลบพชปุ๋ยสด ปอเทืองอตรา 4-6 กก./ไร่ ถั่วพม
ั
ั
อตรา 6-8 กก./ไร่ หรือถั่วพร้าอตรา 8-10 กก./ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ50-70 วันหลังปลูก หรือออกดอก
50 เปอร์เซ็นต์ปล่อยทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์ หรือไถกลบปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 2-3 ตัน/ไร่
4) กลุ่มดินร่วนหยาบในพื้นที่ลุ่ม (L4) ได้แก ดินตะกอนน้ำพาเชิงซ้อนที่มีการระบายเลว
่
และเป็นดินร่วนหยาบ (AC-pd,col) ชุดดินละหานทราย (Lah) และชุดดินสีทน (St) เนื้อดินค่อนข้าง
ุ้
เป็นทราย มีปริมาณอนทรียวัตถุต่ำ ความสามารถในการอมน้ำและดูดซับธาตุอาหารค่อนข้างต่ำ มี
ิ
ความเสี่ยงต่อการมีน้ำไหลบ่าหรือท่วมขงในฤดูฝน ทำความเสียหายให้กับพืชที่ไม่ชอบน้ำขัง ในบริเวณ
ั
ที่สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มักเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำนาน
ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการทำนา แต่มีข้อจำกัดสำหรับการปลูกข้าวบ้าง
เนื่องจากดินมีความอดมสมบูรณ์ต่ำ และบางพนที่เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำในระยะฝนทิ้งช่วง ไม่
ื้
ุ
เหมาะสำหรับการปลูกพืชไร่ พืชผัก ไม้ยืนต้นและไม้ผล ได้ รับอันตรายจากน้ำท่วมขังในฤดูฝน
136
(4.1) แนวทางการจัดการดินสำหรับข้าว
ื่
ื้
ื้
ในพนที่ที่มีความลาดชันเล็กน้อย ควรมีการปรับรูปแปลงนาเพอให้มีสภาพพนที่
ราบเรียบ สามารถกักเก็บน้ำสม่ำเสมอได้ ตลอดทั้งแปลงปลูก
ิ่
เพมความร่วนซุยในดินโดยการไถกลบตอซัง หรือไถคลุกเคล้าปุ๋ยหมักหรือปุ๋ย
คอก อัตรา 2-3 ตัน/ไร่ ปล่อยทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์ หรือปลูกพชปุ๋ยสดแล้วไถกลบ โดยหว่านเมล็ดพนธุ์
ั
ื
ิ
ั
ื
พชปุ๋ยสด โสนอฟริกัน หรือโสนอนเดียอตรา 4-6 กก./ไร่ แล้วไถกลบ เมื่ออายุ50-70 วัน ปล่อยทิ้งไว้
ั
1-2 สัปดาห์ แล้วจึงปลูกข้าว ถ้าดินเป็นกรดจัดมาก ปรับปรุงโดยการไถคลุกเคล้าวัสดุปูน อัตรา 200-
300 กก./ไร่
พฒนาแหล่งน้ำชลประทานไว้ใช้ในช่วงที่ข้าวขาดน้ำหรือใช้ทำนาครั้งที่ 2 ปลูก
ั
พืชไร่ พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วหลังเก็บเกี่ยวข้าว
(4.2) แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง
ื่
ื้
ปรับสภาพพนที่เพอป้องกันน้ำท่วมขังในฤดูฝนโดยการยกร่องแบบถาวร ให้มี
สันร่องกว้าง 6-8 เมตร ตามชนิดพืชที่ปลูก โดยให้สันร่องสูงกว่าระดับน้ำที่เคยท่วมถึง หรือสร้างคันดิน
ื
ื
อดแน่นล้อมรอบมีคูระบายน้ำกว้าง 1-1.5 เมตร ลึก 0.5-1 เมตร (กรณีปลูกพชไร่ พชผักเฉพาะช่วง
ั
ก่อนหรือหลังปลูกข้าว ควรยกร่องแบบเตี้ยหรือทำร่อง ระบายน้ำระหว่างแปลง) ปรับปรุงบำรุงดินด้วย
ุ่
ั
ื
ั
การไถกลบพชปุ๋ยสด ปอเทืองอตรา 4-6 กก./ไร่ ถั่วพมอตรา 6-8 กก./ไร่ หรือถั่วพร้าอตรา 8-10
ั
กก./ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ50-70 วันหลังปลูก หรือออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ปล่อยทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์ หรือ
ไถกลบปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตรา 2-3 ตัน/ไร่
5) กลุ่มดินตื้นในพื้นที่ลุ่ม (L11) ได้แก่ ชุดดินศรีเมืองใหม่ (Smi) เป็นดินตื้นที่เป็นทราย
ื
มีชั้นลูกรังหรือศิลาแลงอยู่ตื้นและเป็นชั้นหนา เป็นอุปสรรคต่อการไถพรวนและการชอนไชของรากพช
ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ ขาดแคลนน้ำนาน และมีน้ำท่วมขังในฤดูฝน
ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าว แต่มีข้อจำกัดปานกลางที่มีชั้นลูกรังหรือ
ื
ก้อนกรวดอยู่ตื้น ไม่เหมาะที่จะดัดแปลงพื้นที่เพอใช้ปลูกพชไร่ พืชผัก หรือไม้ผลอย่างถาวร เนื่องจาก
ื่
เป็นดินตื้นและมีน้ำท่วมขังในฤดูฝนทำให้เสียค่าใช้จ่ายสูงในการดัดแปลงพื้นที่และปรับปรุงดิน
(5.1) แนวทางการจัดการดินสำหรับข้าว
ื้
เลือกพนที่เพาะปลูกที่มีหน้าดินหนามากกว่า 25 ซม. และไม่มีก้อนกรวด ลูกรัง
ื้
หรือเศษหินกระจัดกระจายอยู่ที่ผิวดินมาก เตรียมพนที่ปลูกโดย ไถกลบตอซัง หรือไถคลุกเคล้า ปุ๋ย
ื
ั
หมักหรือปุ๋ยคอก อตรา 3-4 ตัน/ไร่ ปล่อยทิ้งไว้ 3-4 สัปดาห์ ก่อนปลูกข้าว หรือหว่านเมล็ดพนธุ์พช
ั
ปุ๋ยสด โสนอัฟริกันหรือโสนอินเดียอัตรา 6-8 กก./ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห์
แล้วปลูกข้าว เลือกใช้พันธุ์ข้าวที่เหมาะสม เช่น ขาวตาหยก ไข่ มุกรวงยาว หรือสีรวง เป็นต้น
137
พฒนาแหล่งน้ำและระบบการให้น้ำไว้ใช้ในช่วงที่ข้าวขาดน้ำหรือใช้ทำนาครั้งที่
ั
2 ปลูกพืชไร่ พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วหลังเก็บเกี่ยวข้าว
(5.2) แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง
ื
ไม่ค่อยเหมาะสมที่จะดัดแปลงพนที่ เพอปลูกพชไร่ พืชผักหรือไม้ผลอย่างถาวร
ื่
ื้
ื้
เนื่องจากเป็นดินตื้นและมีน้ำท่วมขังในฤดูฝน แต่ถ้าจำเป็นต้องใช้ควรเลือกใช้ พนที่มีหน้าดินหนา
มากกว่า 25 ซม. และปรับสภาพพนที่เพอป้องกันน้ำท่วมขังในฤดูฝน โดยการยกร่องแบบถาวร ให้มี
ื้
ื่
ื
สันร่องกว้าง 6-8 เมตร ตามชนิดพชที่ปลูก โดยให้สันร่อง สูงกว่าระดับน้ำที่เคยท่วมถึง หรือสร้างคัน
ื
ื
ดินอดแน่นล้อมรอบ มีคูระบายน้ำกว้าง 1-1.5 เมตร ลึก 0.5-1 เมตร (กรณีปลูกพชไร่ พชผักเฉพาะ
ั
ช่วงก่อนหรือหลังปลูกข้าว ควรยกร่องแบบเตี้ยหรือทำร่องระบายน้ำระหว่างแปลง)
ื
ั
ปรับปรุงบำรุงดินด้วยอินทรียวัตถุ เช่น การไถกลบพืชปุ๋ยสด ปอเทองอตรา 6-8
ั
ั
กก./ไร่ ถั่วพมอตรา 8-10 กก./ไร่ หรือถั่วพร้าอตรา 10-12 กก./ไร่ ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน หลัง
ุ่
ปลูกหรือออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ปล่อยทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์ หรือไถกลบปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอกอตรา 2-3
ั
ตัน/ไร่ หรือใส่วัสดุปรับปรุงดิน เช่น แกลบ ขี้เลื่อย หรือกากน้ำตาล เป็นต้น
6) กลุ่มดินเหนียวพบในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง (UD1) ได้แก่ ดินบ้านจ้องที่มีการระบาย
น้ำดีปานกลาง (Bg-mw) ชุดดินเชียงของ (Cg) ชุดดินดงลาน (Dl) ชุดดินกลางดง (Kld) ดินกลางดงที่มี
การระบายน้ำดีปานกลาง (Kld-mw) และดินวังสะพงที่เป็นดินลึกมาก (Ws-vd) ส่วนมากเป็นดิน
ุ
เหนียวจัดเมื่อแห้งดินจะแข็งและแตกระแหงเป็นร่องกว้างและลึก แต่เมื่อเปียกจะเหนียวมาก ต้องทำ
การไถพรวนในช่วงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ ขาดแคลนน้ำในระยะฝนทิ้งช่วง และการที่น้ำซึมผ่านได้
ุ
ช้า จะเกิดการแช่ขังน้ำได้ง่ายในช่วงฤดูฝน ดินเหนียวจะมีความอดมสมบูรณ์ของดินต่ำ ขาดแคลนน้ำ
มีความเสี่ยงต่อการเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินได้ง่ายในพื้นที่ที่มีความลาดชัน
ื
ดินในกลุ่มนี้เหมาะสมสำหรับการปลูกพชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น ในดินเหนียวจัดมี
ื
ข้อจำกัดบ้างเกี่ยวกับการไถพรวนยาก เมื่อดินแห้งหรือเปียกแฉะเกินไป เกิดการฉีกขาดของรากพช
ุ
เมื่อดินแห้ง และเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว จะมีความอดมสมบูรณ์ต่ำ ไม่เหมาะสมสำหรับการทำนา
เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงลาดชัน จึงเก็บกักน้ำไว้ ปลูกข้าวได้ยาก
แนวทางการจัดการดินสำหรับอ้อย และมันสำปะหลัง
เลือกระยะเวลาไถพรวนเตรียมดินในช่วงที่ดินมีความชื้นเหมาะสม และไถที่ความลึก
แตกต่างกันไปในแต่ละฤดูปลูก เพื่อป้องกันดินติดเครื่องจักรกลและการเกิดชั้นดานแขงใต้ชั้นไถพรวน
็
ื
ควรมีการจัดระบบการปลูกพชให้หมุนเวียนตลอดทั้งปี โดยปลูกพชตระกูลถั่วสลับกับ
ื
ื
ื่
ิ่
พชไร่หลัก เพอเพมความอดมสมบูรณ์ของดิน ร่วมกับปุ๋ยอนทรีย์น้ำ พด.2 และปุ๋ยเคมีตามชนิดพชที่
ื
ุ
ิ
ปลูก ปรับปรุงบำรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอตรา 1-2 ตัน/ไร่ หรือหว่านเมล็ดถั่วพร้าอตรา 8-10
ั
ั