The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหลักเทอม 1 ปีการศึกษา 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กรองทอง กิติสกนธ์, 2019-10-24 03:08:55

แผนหลักเทอม 1 ปีการศึกษา 2562

แผนหลักเทอม 1 ปีการศึกษา 2562

แผนหลกั เพ่ือการจดั การเรียนรู้ (Master plan for Learning Management)

กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (Science)
วชิ า (Courses) วิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหัสวิชา (Courses Code) ว 22101

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2

By ตำแหน่งครู

นางกรองทอง กิตสิ กนธ์

โรงเรียนพุทไธสง
อำเภอพทุ ไธสง จงั หวัดบุรีรัมย์
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 32

(The Secondary Educational Service Office 32)

~2~

จดุ หมายหลกั สตู ร (Goals)

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน ม่งุ พัฒนาผูเ้ รยี นใหเ้ ป็นคนดี มีปัญญา มคี วามสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จงึ กำหนดเป็นจดุ หมาย
เพอื่ ใหเ้ กดิ กบั ผู้เรียน เมอื่ จบการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ดังนี้

1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มวี นิ ัยและปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยดึ หลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

2. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ติ
3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี มสี ขุ นิสัย รักการออกกำลงั กาย
4. มีความรกั ชาติ มจี ิตสำนึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ ม่ันในวิถชี ีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
5. มจี ติ สำนึกในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย และการอนุรักษแ์ ละพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม มีจติ สาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิง่ ที่ดีงามในสงั คม และ
อย่รู ว่ มกนั ในสงั คมอย่างมีความสุข

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Desired Characteristics)

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนให้มคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่อื ให้สามารถอยู่รว่ มกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสขุ ในฐานะ
เปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ (Love of nation, religion and the King)
2. ซื่อสตั ย์สจุ รติ (Honesty and integrity)
3. มวี ินัย (Self-discipline)
4. ใฝ่เรยี นรู้ (Avidity for learning)
5. อยอู่ ย่างพอเพียง (Observance principles of Sufficiency Economy Philosophy in one’s of life)
6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน (Dedication and commitment to work)
7. รกั ความเปน็ ไทย (Cherishing Thai nationalism)
8. มีจติ สาธารณะ (Public - mindedness)

~3~

คณุ ภาพผเู้ รียน (Learners Quality) เม่ือเรยี นจบชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (Learning Areas Of Science)

1. เขา้ ใจลกั ษณะและองค์ประกอบทสี่ ำคญั ของเซลล์สิง่ มชี ีวติ ความสัมพันธข์ องการทำงานของระบบตา่ ง ๆ ในร่างกายมนษุ ย์ การดำรงชีวติ ของพชื การตอบสนอง
ต่อสง่ิ เร้าของสิ่งมีชวี ติ การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม การเปล่ียนแปลงของยนี หรือโครโมโซมและตวั อย่างโรคที่เกิดจากการเปลย่ี นแปลงทางพันธุกรรม
ประโยชนแ์ ละผลกระทบของสิ่งมชี ีวิตดดั แปรงพนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ การถา่ ยทอดพลงั งานในสิ่งมชี ีวิต

2. เขา้ ใจองคป์ ระกอบและสมบัตขิ องธาตุ สมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลกั การแยกสาร การเปล่ยี นแปลงของสารในรูปแบบของการเปลีย่ นสถานะ
การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี

3. เข้าใจแรงลพั ธ์และผลของแรงลพั ธก์ ระทำต่อวัตถุ แรงเสียดทาน การหมุนของวตั ถุ โมเมนต์ของแรง แรงทป่ี รากฏในชวี ติ ประจำวนั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งงาน
พลงั งานจลน์ พลงั งานศักย์ กฏการอนุรกั ษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลงั งาน สมดุลความรอ้ น ความสมั พันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟา้ หลักการตอ่ วงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงาน
ไฟฟ้า และหลักการเบื้องต้นของวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์

4. เข้าใจสมบัตขิ องคลนื่ และลักษณะของคลน่ื แบบตา่ ง ๆ เสยี ง การสะท้อน การหักเห และความเข้มของแสงเขา้ ใจตำแหนง่ ของกลุม่ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า สมบตั ิ
และองคป์ ระกอบของดาวเคราะห์แต่ละดวงในระบบสรุ ยิ ะ และปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขนึ้ บนโลก ความสำคัญและประโยชนใ์ นการใชง้ านของเทคโนโลยีอวกาศ สมบัติและ
ประโยชนข์ องบรรยากาศแต่ละช้นั ท่ีมีต่อสิง่ มีชีวติ

5. เขา้ ใจระบบโลก โครงสร้างของโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลงทางธรณีวทิ ยาบนโลกและใตผ้ ิวโลก กระบวนการเกิดซากดึกดำบรรพ์ การเปล่ยี นแปลงของลมฟ้า
อากาศท่ีท าให้เกดิ ปรากฏการณ์ตา่ งๆ กระบวนการเกดิ ธรณพี บิ ัติภัย และปรากฏการณ์เรือนกระจกที่มผี ลกระทบต่อส่ิงมชี วี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม

6. เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพนั ธ์ระหว่างเทคโนโลยกี ับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะ
วทิ ยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วเิ คราะห์ เปรียบเทยี บ และตัดสินใจเพื่อเลอื กใช้เทคโนโลยี โดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้
ทกั ษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้างผลงานสำหรบั การแกป้ ัญหาในชีวิตประจำวนั หรือการประกอบอาชีพ โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม รวมทงั้
เลือกใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมท้งั คำนึงถึงทรพั ย์สินทางปญั ญา

7. นำขอ้ มลู ปฐมภูมิเขา้ ส่รู ะบบคอมพวิ เตอร์ วเิ คราะห์ ประเมนิ นำเสนอข้อมลู และสารสนเทศได้ตามวตั ถุประสงค์ ใช้ทกั ษะการคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่
พบในชีวติ จริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อชว่ ยในการแก้ปญั หา ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารอย่างรเู้ ทา่ ทนั และรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม

8. ตัง้ คำถามหรือกำหนดปญั หาที่เช่ือมโยงกบั พยานหลักฐานหรอื หลกั การทางวิทยาศาสตร์ ท่มี กี ารกำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง
สรา้ งสมมตฐิ านทส่ี ามารถนำไปส่กู ารสำรวจตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใชว้ สั ดุและเครื่องมือท่ีเหมาะสม เลอื กใช้เครื่องมือและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ที่เหมาะสมในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลทง้ั ในเชงิ ปริมาณและคุณภาพท่ไี ด้ผลเทย่ี งตรงและปลอดภยั

~4~

9. วิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความสอดคล้องของข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการสำรวจตรวจสอบจากพยานหลกั ฐาน โดยใชค้ วามรู้และหลักการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการแปล
ความหมายและลงข้อสรปุ และสื่อสารความคดิ ความรจู้ ากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรปู แบบ หรอื ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจไดอ้ ย่างเหมาะสม

10. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผดิ ชอบ รอบคอบ และซื่อสตั ย์ ในสิง่ ทีจ่ ะเรียนรู้ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ เกีย่ วกบั เร่ืองท่จี ะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้
เครอ่ื งมอื และวธิ ีทเี่ ชือ่ ถือได้ ศึกษาคน้ คว้าเพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคดิ เห็นของตนเอง รบั ฟงั ความคิดเห็นผอู้ นื่ และยอมรับการเปลย่ี นแปลงความรู้ท่ี
ค้นพบเมื่อมีขอ้ มลู และประจกั ษพ์ ยานใหม่เพ่ิมขึน้ หรือแยง้ จากเดมิ

11. ตระหนกั ในคุณคา่ ของความร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต
และการประกอบอาชีพ แสดงความชนื่ ชมยกยอ่ งและเคารพสิทธใิ นผลงานของผู้คิดคน้ เข้าใจผลกระทบท้งั ดา้ นบวกและด้านลบของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ต่อ
สิ่งแวดลอ้ มและต่อบริบทอื่น ๆ และศึกษาหาความร้เู พิ่มเติม ทำโครงงานหรือสร้างชน้ิ งานตามความสนใจ

12. แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤตกิ รรมเกี่ยวกบั การใช้ และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอย่างรู้คณุ คา่ มีสว่ นรว่ มในการพทิ กั ษ์ ดูแล
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถ่ิน

~5~

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน (Learners’ key Competencies)

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ซึ่งการพฒั นาผเู้ รียนให้บรรลมุ าตรฐานการเรยี นร้ทู ่กี ำหนดนั้น จะ
ช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการส่ือสาร (Communication Capacity) เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคิด ความรู้ ความ
เขา้ ใจ ความรู้สกึ และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลยี่ นข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมทง้ั การเจรจาตอ่ รองเพ่ือขจดั
และลดปญั หาความขดั แย้งต่างๆ การเลอื กรับหรอื ไม่รับข้อมลู ข่าวสารนนั้ ดว้ ยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธกี ารสอ่ื สารท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึง
ผลกระทบท่ีมีตอ่ ตนและสงั คม

2. ความสามารถในการคดิ (Thinking Capacity) เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคดิ อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็นระบบ
เพอื่ นำไป สูก่ ารสรา้ งองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตดั สนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา (Problem – solving capacity) เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่างๆ ทเี่ ผชญิ ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมบน
พน้ื ฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสมั พนั ธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณ์ต่างๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามร้มู าใชใ้ นการ
ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาและมีการตดั สินใจที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่เกดิ ข้ึน ต่อตนเอง สังคม และส่งิ แวดล้อม

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต (Capacity for Applying Life skills) เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆไปใช้ในการดำเนินชีวติ ประจำวนั การ
เรียนรู้ด้วยตนเอง การเรยี นรู้อยา่ งต่อเนอ่ื ง การทำงานและการอยู่รว่ มกันในสงั คมดว้ ยการสร้างเสริมความสมั พันธ์อันดีระหวา่ งบคุ คล การจดั การปญั หาและความขดั แย้ง
ต่างๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ใหท้ นั กับการเปล่ียนแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลกี เลย่ี งพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (Capacity for Technological Application) เป็นความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยีด้านตา่ งๆและมที ักษะ
กระบวนการเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน การแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมคี ุณธรรม

~6~

ตารางท่ี 1 ตารางวิเคราะห์มาตรฐาน ตัวชี้วดั หรือผลการเรยี นรู้กบั พุทธพิ สิ ยั ทกั ษะพิสยั และจิตพิสยั

คำสำคญั พทุ ธิพสิ ัยCognitive Domain)/ ทักษะพสิ ยั จิตพสิ ัย
(Key (Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และตวั ชวี้ ดั (Indicator) หรอื Word) ความรู้/มติ ขิ องกระบวนการทางสตปิ ญั ญา(Cognitive Proceses Dimensions)ตามแนวคิดของบลมู ฉบบั ปรับปรงุ ใหม่ Domain)
ผลการเรยี นรู้ (Learning Outcome) (Revised Bloom’s Taxonomy) Domain)
ดา้ นคุณลกั ษณะ
การจำ การเขา้ ใจ การประยกุ ต์ใช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ ค่า การสร้างสรรค์ ทักษะกระบวนการ (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) (Process skill)

1. ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธบิ ายผล ออกแบบ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

ของชนดิ ตวั ละลาย ชนดิ ตวั ทำละลาย อณุ หภมู ิที่มตี ่อ การ
ทดลอง
สภาพละลายได้ของสาร รวมท้ังอธิบายผลของความ -ทดลอง
ดนั ที่มตี ่อสภาพละลายไดข้ องสาร โดยใช้สารสนเทศ

2. ระบปุ ริมาณตวั ละลายในสารละลาย ในหนว่ ย -ระบุ ✓ ✓✓ ✓✓
ความเข้มขน้ เป็นร้อยละ ปริมาตรตอ่ ปริมาตร มวล ✓ ✓
ต่อมวล และมวลต่อปรมิ าตร -ตระหนกั ✓✓
3. ตระหนักถึงความสำคัญของการนำความรู้เรื่อง ✓
ความเขม้ ขน้ ของสารไปใช้ โดยยกตัวอย่างการใช้ -บรรยาย
สารละลายในชวี ติ ประจำวนั อยา่ งถกู ต้องและ -อธบิ าย
ปลอดภยั
4. บรรยายโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องหัวใจหลอด
เลอื ด และเลือด พร้อมทั้งอธิบายการทำงานของ
ระบบหมนุ เวยี นเลือด โดยใช้แบบจำลอง

~7~

คำสำคญั พุทธิพสิ ัยCognitive Domain)/ ทกั ษะพสิ ยั จิตพิสัย
(Key (Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และตวั ชวี้ ัด(Indicator) หรอื Word) ความรู้/มติ ขิ องกระบวนการทางสตปิ ญั ญา(Cognitive Proceses Dimensions)ตามแนวคิดของบลูมฉบบั ปรบั ปรุงใหม่ Domain)
ผลการเรยี นรู้ (Learning Outcome) (Revised Bloom’s Taxonomy) Domain) ด้านคณุ ลกั ษณะ
ทักษะกระบวนการ (Attribute)
การจำ การเขา้ ใจ การประยกุ ตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ ค่า การสร้างสรรค์ (Process skill)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) ✓

5. ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการ -ออกแบบ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
เปรยี บเทยี บอตั ราการเตน้ ของหัวใจ ขณะปกติและ การ ✓
หลังทำกิจกรรมและ ตระหนักถึงความสำคัญของ ทดลอง ✓
ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด โดยการบอกแนวทางในการ -ตระหนกั ✓
ดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหมุนเวยี นเลือดใหท้ ำงาน -บอก
เปน็ ปกติ แนวทาง

6.ระบุ อธิบายโครงสรา้ ง หน้าท่ี การทำงานของ -ระบุ ✓ ✓ ✓✓
ระบบหายใจ และตระหนักถึงความสำคญั โดยการ -อธิบาย ✓ ✓✓
บอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบหายใจ -ตระหนัก

ใหท้ ำงานเปน็ ปกติ

7.ระบุอวัยวะ บรรยายหน้าท่ีของอวัยวะในระบบ -ระบุ

ขบั ถ่ายในการกำจัดของเสยี ทางไต และตระหนักถึง -บรรยาย

ความสำคัญ โดยการบอกแนวทางในการปฏิบตั ติ นที่ -ตระหนัก

ช่วยใหร้ ะบบขบั ถ่ายทำหนา้ ท่ีได้อยา่ งปกติ -บอก

แนวทาง

~8~

คำสำคญั พทุ ธิพิสยั Cognitive Domain)/ ทกั ษะพสิ ยั จิตพิสัย
(Key (Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และตวั ชว้ี ดั (Indicator) หรอื Word) ความรู้/มติ ขิ องกระบวนการทางสติปญั ญา(Cognitive Proceses Dimensions)ตามแนวคิดของบลมู ฉบบั ปรับปรุงใหม่ Domain)
ผลการเรยี นรู้ (Learning Outcome) (Revised Bloom’s Taxonomy) Domain)
ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
การจำ การเข้าใจ การประยกุ ตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสร้างสรรค์ ทักษะกระบวนการ (Attribute)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) (Process skill)

8. ระบอุ วัยวะ บรรยายหนา้ ท่ีของอวัยวะในระบบ -ระบุ ✓ ✓ ✓

ประสาทสว่ นกลางในการควบคุมการทำงานตา่ ง ๆ -บรรยาย
-ตระหนัก
ของรา่ งกาย และ ตระหนักถึงความสำคัญ โดยการ -บอก
บอกแนวทางในการดแู ลรกั ษารวมถึงการป้องกนั การ แนวทาง

กระทบกระเทือนและอนั ตรายต่อสมองและไขสนั

หลงั

9.ระบอุ วัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบ -ระบุ ✓ ✓✓ ✓✓
สบื พนั ธุข์ องเพศชายและเพศหญิง และตระหนักถึง -บรรยาย ✓ ✓✓ ✓✓
การเปลย่ี นแปลงของรา่ งกายเมือ่ เข้าสู่วัยหนุ่มสาว -ตระหนกั

โดยการดูแลรกั ษาร่างกายและจิตใจของตนเอง

ในชว่ งท่ีมกี ารเปลยี่ นแปลง

10.อธบิ ายการตกไข่ การมปี ระจำเดอื นการปฏสิ นธิ -อธบิ าย
และการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเปน็ ทารกและ -เลอื ก
เลือกวธิ กี ารคุมกำเนดิ ทีเ่ หมาะสมกับสถานการณท์ ี่ วธิ กี าร
กำหนดและตระหนกั ถงึ ผลกระทบของการตั้งครรภ์ คุมกำเนิด
ก่อนวยั อนั ควร โดยการประพฤตติ นใหเ้ หมาะสม ตระหนกั

~9~

คำสำคญั พทุ ธพิ สิ ัยCognitive Domain)/ ทักษะพิสยั จิตพิสัย
(Key (Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และตัวชว้ี ดั (Indicator) หรือ Word) ความรู้/มิตขิ องกระบวนการทางสตปิ ัญญา(Cognitive Proceses Dimensions)ตามแนวคิดของบลูมฉบบั ปรับปรุงใหม่ Domain)
ผลการเรยี นรู้ (Learning Outcome) (Revised Bloom’s Taxonomy) Domain) ด้านคณุ ลกั ษณะ
ทักษะกระบวนการ (Attribute)
การจำ การเขา้ ใจ การประยกุ ตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ ค่า การสร้างสรรค์ (Process skill)
(Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) ✓

11. อธิบายและคำนวณอตั ราเร็วและความเรว็ ของ -อธบิ าย ✓ ✓ ✓ ✓
การเคลอ่ื นท่ีของวตั ถุ โดยใช้ -คำนวณ ✓
-เขียน ✓
สมการ จากหลักฐาน แผนภาพ ✓ ✓

เชิงประจักษ์พรอ้ มทัง้ เขยี นแผนภาพแสดงการกระจัด

และความเร็ว

12.พยากรณก์ ารเคลอื่ นที่ของวตั ถุท่ีเปน็ ผลของแรง -พยากรณ์ ✓ ✓✓
ลพั ธ์ทีเ่ กิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทำต่อวตั ถุในแนว -เขียน
เดยี วกันจากหลักฐานเชิงประจักษ์พร้อมทัง้ เขียน แผนภาพ ✓ ✓✓
✓ ✓✓
แผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธท์ ่เี กดิ จากแรงหลาย

แรงท่ีกระทำต่อวัตถใุ นแนวเดียวกัน

13. อธบิ ายแรงเสียดทานสถติ และแรงเสียดทานจลน์ -อธิบาย

จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์

14.ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธที ี่ -ออกแบบ ✓

เหมาะสมในการอธบิ ายปจั จยั ทมี่ ีผลต่อขนาดของแรง การ
ทดลอง
เสียดทานพร้อมท้ังเขยี นแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทาน -เขยี น
และแรงอนื่ ๆ ที่กระทำต่อวัตถุ แผนภาพ

~ 10 ~

คำสำคญั พทุ ธพิ ิสัยCognitive Domain)/ ทกั ษะพิสยั จติ พิสัย
(Key (Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และตัวชว้ี ดั (Indicator) หรือ Word) ความรู้/มิตขิ องกระบวนการทางสติปญั ญา(Cognitive Proceses Dimensions)ตามแนวคดิ ของบลมู ฉบบั ปรบั ปรุงใหม่ Domain)
ผลการเรยี นรู้ (Learning Outcome) (Revised Bloom’s Taxonomy) Domain) ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
-ตระหนกั ทักษะกระบวนการ (Attribute)
15.ตระหนักถึงประโยชนข์ องความรู้เรอื่ งแรงเสียด การจำ การเขา้ ใจ การประยกุ ต์ใช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสร้างสรรค์ (Process skill)
ทานโดยวิเคราะหส์ ถานการณ์ปัญหาและเสนอแนะ -ออกแบบ (Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) ✓
วธิ กี ารลดหรอื เพ่มิ แรงเสยี ดทานท่ีเปน็ ประโยชนต์ ่อ การ ✓
การทำกิจกรรมในชวี ิตประจำวนั ทดลอง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
16. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ีที่ -ทดลอง ✓
เหมาะสมในการอธิบายปัจจยั ที่มีผลตอ่ ความดันของ -วเิ คราะห์ ✓ ✓✓ ✓ ✓
ของเหลว -เขยี น ✓ ✓
แผนภาพ ✓
17. วิเคราะห์แรงพยงุ และการจม การลอยของวัตถุ ✓ ✓✓ ✓
ในของเหลวจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์พร้อมท้ังเขยี น -ออกแบบ
แผนภาพแสดงแรงท่กี ระทำต่อวตั ถใุ นของเหลว การ
18.ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ีที่ ทดลอง
เหมาะสมในการอธิบายโมเมนต์ของแรง เม่ือวตั ถอุ ยู่ -ทดลอง
ในสภาพสมดลุ ตอ่ การหมุน และคำนวณโดยใช้
สมการ M = Fl

~ 11 ~

คำสำคญั พทุ ธพิ สิ ยั Cognitive Domain)/ ทกั ษะพิสยั จิตพิสยั
(Key (Psychomotor (Effective
มาตรฐาน (Standard) และตัวชว้ี ดั (Indicator) หรอื Word) ความรู้/มติ ขิ องกระบวนการทางสตปิ ญั ญา(Cognitive Proceses Dimensions)ตามแนวคิดของบลมู ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม่ Domain)
ผลการเรยี นรู้ (Learning Outcome) (Revised Bloom’s Taxonomy) Domain) ด้านคณุ ลกั ษณะ
- ทักษะกระบวนการ (Attribute)
19. เปรียบเทียบแหล่งของ สนามแมเ่ หลก็ เปรยี บเทยี บ การจำ การเข้าใจ การประยกุ ตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ คา่ การสร้างสรรค์ (Process skill)
สนามไฟฟา้ และสนามโน้มถว่ ง และทิศทางของแรง -เขยี น (Remembering) (Understanding) (Applying) ( Analyzing) (Evaluating ) (Creating) ✓
ท่ีกระทำต่อวตั ถทุ ี่อยใู่ นแต่ละสนามจากข้อมลู ที่ แผนภาพ ✓
รวบรวมได้พร้อมทัง้ เขียนแผนภาพแสดงแรงแมเ่ หลก็ ✓ ✓ ✓ ✓
แรงไฟฟ้าและแรงโน้มถ่วงทก่ี ระทำต่อวตั ถุ -วิเคราะห์ ✓
20. วิเคราะห์ความสมั พันธ์ระหวา่ งขนาดของแรง ✓✓
แมเ่ หลก็ แรงไฟฟา้ และแรงโน้มถว่ งทกี่ ระทำต่อวัตถุ
ที่อยู่ในสนามนน้ั ๆ กบั ระยะหา่ งจากแหลง่ ของสนาม
ถึงวตั ถุจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้

~ 12 ~

ตารางที่ 2 ตารางวเิ คราะห์ความเชื่อมโยงของมาตรฐานและตวั ช้วี ดั หรอื ผลการเรียนรู้ กบั พฤตกิ รรมการเรยี นรู้

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตัวช้วี ดั (Indicator)
หรอื ผลการเรียนรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (Core Content) /สาระ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ ด้านสมรรถนะตาม ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
(Knowledge) ( K)
Outcome) (Key Word) การเรยี นรู้ (Content) กระบวนการ หลกั สตู ร อันพงึ ประสงค์
(รู้อะไร)
(Process) (P) (Competencies) (C) (Attribute) ( A)

(ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) (เป็นคนอยา่ งไร)

1. ออกแบบการทดลองและ ออกแบบ - สารละลายอาจมีสถานะเป็นของแขง็ -อธิบายผลของชนดิ ตวั -ออกแบบการ -ความสามารถใน

ทดลองในการอธิบายผลของ การทดลอง ของเหลว และแกส๊ สารละลายประกอบดว้ ย ละลาย ชนิดตวั ทำ ทดลองเกีย่ วกบั การคดิ

ชนิดตัวละลาย ชนิดตวั ทำ -ทดลอง ตัวทำละลาย และตวั ละลาย กรณสี ารละลาย ละลายอณุ หภมู ิ และ อณุ หภูมมิ ีผลต่อ -ความสามารถใน

ละลาย อุณหภูมทิ ี่มตี ่อสภาพ เกดิ จากสารท่ีมสี ถานะเดียวกัน สารที่มี ความดนั ทม่ี ีต่อสภาพ สภาพการละลาย การแกป้ ัญหา

ละลายได้ของสาร รวมทง้ั ปรมิ าณมากที่สุดจดั เป็นตวั ทำละลาย กรณี ละลายได้ของสาร โดยใช้ ของสาร

อธิบายผลของความดนั ท่ีมีตอ่ สารละลายเกิดจากสารทมี่ สี ถานะต่างกัน สาร ผลจากการปฏบิ ัตทิ ดลอง -ทดลองระบุตัว

สภาพละลายได้ของสาร โดย ท่มี ีสถานะเดียวกนั กับสารละลายจดั เป็นตัวทำ ประกอบการอธบิ าย ละลายและตัวทำ

ใชส้ ารสนเทศ ละลาย -ยกตวั อย่างการใช้ ละลาย

- สารละลายท่ตี ัวละลายไมส่ ามารถละลายใน ประโยชนจ์ ากการ -ทดลองสารละลาย

ตวั ทำละลายได้อกี ท่ีอุณหภมู ิหน่ึง ๆ เรียกวา่ ละลายของสาร อ่มิ ตัว

สารละลายอ่มิ ตัว ในชีวิตประจำาวนั

-ปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ สภาพการละลายของสาร

ได้แก่ ตัวทำละลาย ตัวละลาย อุณหภูมิ

ความดัน

~ 13 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตัวช้วี ดั (Indicator)
หรือผลการเรียนรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (Core Content) /สาระ ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะ ด้านสมรรถนะตาม ด้านคณุ ลักษณะ
(Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) อันพงึ ประสงค์
Outcome) กระบวนการ หลักสตู ร (Attribute) ( A)
-ระบุ - ความเข้มขน้ ของสารละลาย เปน็ การระบุ (รู้อะไร) (เป็นคนอยา่ งไร)
2. ระบปุ ริมาณตัวละลายใน ปรมิ าณ ตวั ละลายในสารละลาย หนว่ ยความ (Process) (P) (Competencies) (C)
สารละลาย ในหนว่ ยความ -ตระหนกั เข้มขน้ มหี ลายหน่วย ที่นิยมระบเุ ป็นหน่วย -อธบิ ายความเข้มข้นของ -ตระหนักถงึ
เขม้ ข้นเป็นร้อยละ ปรมิ าตร เป็นรอ้ ยละ ปรมิ าตรตอ่ ปริมาตร มวลต่อมวล สารละลายในหนว่ ยรอ้ ย (ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) ความสำคัญ
ต่อปรมิ าตร มวลต่อมวล และ -บรรยาย และมวลต่อปริมาตร ละโดยปริมาตรตอ่ ของการนำ
มวลตอ่ ปริมาตร -อธิบาย ปริมาตร รอ้ ยละโดยมวล -ระบปุ ริมาณตัว -ความสามารถใน ความรู้เรือ่ ง
-การใช้สารละลาย ในชีวิตประจำวนั ควร ต่อมวล และร้อยละ ความเขม้ ขน้
3. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญ พิจารณาจากความเขม้ ข้นของสารละลาย โดยมวลต่อปริมาตร ละลายใน การคดิ ของสารไปใช้
ของการนำความรูเ้ ร่ืองความ ขน้ึ อย่กู ับจดุ ประสงค์ของการใชง้ าน และ -ความสำคญั ของการนำ
เขม้ ขน้ ของสารไปใช้ โดย ผลกระทบต่อสิ่งชวี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม ความรู้เรื่องความเข้มข้น สารละลาย -ความสามารถใน
ยกตวั อย่างการใช้สารละลาย ของสารไปใช
ในชวี ิตประจำวันอย่างถูกต้อง - ระบบหมุนเวียนเลอื ดประกอบดว้ ย หัวใจ การใช้ทกั ษะชีวิต
และปลอดภัย หลอดเลอื ด และเลอื ด โครงสร้างและหน้าท่ีของ
4. บรรยายโครงสร้างและ - หัวใจของมนุษย์แบ่งเปน็ ๔ ห้อง ได้แก่ หัวใจหลอดเลือด และ -ความสามารถใน
หน้าท่ขี องหวั ใจหลอดเลือด หัวใจห้องบน ๒ ห้อง และห้องลา่ ง ๒ หอ้ ง เลือด การทำงานของ การคิด
และเลอื ด พรอ้ มทงั้ อธิบาย ระหว่างหัวใจห้องบนและหวั ใจหอ้ งล่างมลี ิ้น ระบบหมนุ เวยี นเลือด -ความสามารถใน
การทำงานของระบบ หัวใจก้ัน การใชท้ ักษะชีวิต
หมุนเวียนเลอื ด โดยใช้
แบบจำลอง -บรรยาย -ความสามารถใน
-อธิบาย การคดิ
-ความสามารถใน
การส่อื สาร

~ 14 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตวั ช้วี ัด(Indicator)
หรอื ผลการเรียนรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง (Core Content) /สาระ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะ ด้านสมรรถนะตาม ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
(Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K)
Outcome) กระบวนการ หลกั สตู ร อันพึงประสงค์
-ชีพจรบอกถงึ จังหวะการเตน้ ของหวั ใจ (รู้อะไร)
ซง่ึ อตั ราการเต้นของหัวใจในขณะปกตแิ ละ (Process) (P) (Competencies) (C) (Attribute) ( A)
หลังจากทำกจิ กรรมต่าง ๆ จะแตกตา่ งกัน -เปรยี บเทียบอตั ราการ
สว่ นความดนั เลอื ด ระบบหมุนเวยี นเลอื ดเกิด เต้นของหวั ใจ ขณะปกติ (ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) (เปน็ คนอย่างไร)
จากการทำงานของหวั ใจและหลอดเลือด และหลังทำกิจกรรม
5. ออกแบบการทดลองและ -ออกแบบ -อัตราการเต้นของหวั ใจมีความแตกต่างกันใน -บอกแนวทางในการ -ออกแบบการ -ความสามารถใน -ตระหนัก
ทดลอง ในการเปรยี บเทยี บ การทดลอง แตล่ ะบุคคล คนท่เี ป็นโรคหัวใจและหลอด ดูแลรกั ษาอวยั วะใน
อัตราการเตน้ ของหัวใจ ขณะ -ตระหนกั เลือดจะสง่ ผลทำใหห้ วั ใจสบู ฉีดเลือดไมเ่ ป็น ระบบหมุนเวียนเลือดให้ ทดลองเรื่องอัตรา การคิด ความสำคญั
ปกตแิ ละหลังทำกจิ กรรมและ -บอก ปกติ ทำงานเปน็ ปกติ
ตระหนกั ถึงความสำคญั ของ แนวทาง -การออกกำลังกาย การเลือกรับประทาน การเตน้ ของหวั ใจ -ความสามารถใน ของระบบ
ระบบหมุนเวียนเลือด โดยการ อาหาร การพกั ผ่อน และการรกั ษาภาวะ
บอกแนวทางในการดูแลรกั ษา อารมณ์ใหเ้ ปน็ ปกติ จงึ เป็นทางเลือกหนึง่ ใน ขณะพกั และหลงั ทำ การส่ือสาร หมุนเวยี น
อวัยวะในระบบหมนุ เวียน การดแู ลรกั ษาระบบหมุนเวยี นเลือดใหเ้ ป็น
เลือดใหท้ ำงานเป็นปกติ ปกติ กจิ กรรม -ความสามารถใน เลอื ด

-ทดลองเรอื่ งหัวใจ การใชท้ ักษะชีวติ

ทำงานได้อยา่ งไร

~ 15 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตวั ชวี้ ัด(Indicator)
หรอื ผลการเรยี นรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง (Core Content) /สาระ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ ดา้ นสมรรถนะตาม ด้านคณุ ลักษณะ
(Knowledge) ( K) กระบวนการ หลักสตู ร อันพงึ ประสงค์
Outcome) (Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Process) (P) (Attribute) ( A)
(รู้อะไร) (ทำอะไร) (Competencies) (C) (เป็นคนอยา่ งไร)
6.ระบุ อธบิ ายโครงสร้าง (เกิดสมรรถนะใด)
หนา้ ท่ี การทำงานของระบบ
หายใจ และตระหนักถึง -ระบุ -ระบบหายใจมีอวัยวะต่าง ๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง -โครงสรา้ ง หนา้ ท่ี การ -ระบุ -ความสามารถใน -ตระหนกั ถงึ
ความสำคัญ โดยการบอก -อธิบาย ไดแ้ ก่ จมูก ท่อลม ปอด กะบังลม และกระดูก ทำงานของระบบหายใจ -อธิบาย การคิด ความสำคญั
แนวทางในการดูแลรกั ษา -ตระหนัก ซี่โครง -บอก -ความสามารถใน ของระบบ
อวัยวะในระบบหายใจให้ - อากาศเคลื่อนที่เข้าและออกจากปอดได้ การส่ือสาร หายใจ
ทำงานเปน็ ปกติ เนือ่ งจากการเปลย่ี นแปลงปริมาตรและความ -ความสามารถใน -ดูแลรกั ษา
ดันของอากาศภายในช่องอกซึ่งเกยี่ วขอ้ งกบั
การทำงานของกะบังลม และกระดูกซี่โครง การใชท้ กั ษะชวี ติ
-การสูบบุหร่ี การสดู อากาศที่มสี ารปนเปอื้ น
และการเป็นโรคเก่ียวกับระบบหายใจบางโรค
อาจทำใหเ้ กดิ โรคถุงลมโป่งพอง ซงึ่ มีผลให้
ความจุอากาศของปอดลดลง ดงั น้นั จงึ ควร
ดแู ลรกั ษาระบบหายใจ ใหท้ ำหน้าท่เี ปน็ ปกติ

~ 16 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตัวช้ีวัด(Indicator)
หรอื ผลการเรียนรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (Core Content) /สาระ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ ด้านสมรรถนะตาม ด้านคุณลักษณะ
(Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K)
Outcome) กระบวนการ หลักสตู ร อนั พึงประสงค์
-ระบุ (รู้อะไร)
7.ระบอุ วัยวะ บรรยายหน้าที่ -บรรยาย (Process) (P) (Competencies) (C) (Attribute) ( A)
ของอวยั วะในระบบขบั ถ่ายใน -ตระหนกั
การกำจัดของเสยี ทางไต และ -บอก (ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) (เปน็ คนอย่างไร)
ตระหนกั ถึงความสำคัญ โดย แนวทาง
การบอกแนวทางในการ - ระบบขบั ถา่ ยมอี วยั วะที่เกยี่ วข้อง คือ ไต ท่อ -ผเู้ รียนระบอุ วยั วะและ -ระบุ -ความสามารถใน -ตระหนักถึง
ปฏบิ ตั ิตนท่ีชว่ ยใหร้ ะบบ
ขบั ถ่ายทำหน้าท่ีได้อย่างปกติ ไต กระเพาะปัสสาวะ และทอ่ ปสั สาวะ โดยมี บรรยายหนา้ ทข่ี อง -บรรยาย การคดิ ความสำคญั
-บอก
ไตทำหนา้ ที่กำจดั ของเสยี เช่น ยูเรีย อวัยวะในระบบขบั ถ่าย -ความสามารถใน ของระบบ

แอมโมเนียกรดยรู ิก รวมทง้ั สารท่รี า่ งกายไม่ ในการกำจดั ของเสยี ทาง การส่ือสาร ขับถ่ายของ

ตอ้ งการออกจากเลอื ด และควบคมุ สารที่มี ไต -ความสามารถใน เสียทางไต

มากหรอื น้อยเกนิ ไป เช่น นำ้ โดยขับออกมา การใช้ทักษะชีวิต

ในรูปของปัสสาวะ

-การเลอื กรบั ประทานอาหารท่เี หมาะสม เชน่

รับประทานอาหารท่ีไมม่ รี สเค็มจดั การดมื่ น้ำ

สะอาดให้เพียงพอ เปน็ แนวทางหนึ่งที่ชว่ ยให้

ระบบขบั ถา่ ยทำหน้าท่ไี ด้อย่างปกติ

~ 17 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตวั ชวี้ ดั (Indicator)
หรือผลการเรยี นรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรียนรู้แกนกลาง (Core Content) /สาระ ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะ ด้านสมรรถนะตาม ด้านคณุ ลกั ษณะ
(Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) อนั พงึ ประสงค์
Outcome) กระบวนการ หลักสตู ร (Attribute) ( A)
-ระบุ - ระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบดว้ ย (รูอ้ ะไร) (เปน็ คนอย่างไร)
8. ระบุอวยั วะ บรรยายหน้าท่ี -บรรยาย สมองและไขสนั หลงั จะทำหน้าที่ร่วมกับ (Process) (P) (Competencies) (C)
ของอวยั วะในระบบประสาท -ตระหนัก เสน้ ประสาท ซงึ่ เป็นระบบประสาทรอบนอก -ผเู้ รยี นระบอุ วยั วะและ -ตระหนกั ถงึ
สว่ นกลางในการควบคุมการ -บอก ในการควบคุมการทำงานของอวยั วะตา่ ง ๆ บรรยายหน้าทขี่ อง (ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด)
ทำงานต่าง ๆ ของร่างกาย แนวทาง รวมถึงการแสดงพฤตกิ รรม เพอ่ื การ อวัยวะในระบบประสาท ความสำคญั
และ ตระหนักถงึ ความสำคัญ ตอบสนองตอ่ สิง่ เรา้ สว่ นกลางในการควบคุม -ระบุ -ความสามารถใน
โดยการบอกแนวทางในการ -เมือ่ มีส่ิงเรา้ มากระตุ้นหน่วยรับความรสู้ กึ จะ การทำงานต่าง ๆ ของ ของระบบ
ดูแลรักษารวมถึงการป้องกนั เกดิ กระแสประสาทส่งไปตามเซลล์ประสาท รา่ งกาย การคดิ
การกระทบกระเทือนและ รบั ความรสู้ กึ ไปยังระบบประสาทส่วนกลาง ประสาท
อันตรายต่อสมองและไขสัน แล้วส่งกระแสประสาทมาตามเซลล์ประสาท -ความสามารถใน
หลงั สงั่ การ ไปยังหน่วยปฏิบตั ิงาน เชน่ กล้ามเน้อื
- ระบบประสาทเปน็ ระบบที่มีความซบั ซ้อน การสอื่ สาร
และมีความสัมพนั ธ์กับทกุ ระบบในรา่ งกาย
ดงั น้ันจงึ ควรป้องกนั การเกดิ อุบัตเิ หตทุ ่ี -ความสามารถใน
กระทบกระเทอื นตอ่ สมอง หลกี เลีย่ งการใช้
สารเสพติด หลีกเล่ยี งภาวะเครยี ด และ การใช้ทักษะชวี ิต
รับประทานอาหารที่มีประโยชนเ์ พ่ือดแู ล
รักษาระบบประสาทใหท้ ำงานเป็นปกติ

~ 18 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตวั ชีว้ ัด(Indicator)
หรือผลการเรยี นรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง (Core Content) /สาระ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะ ด้านสมรรถนะตาม ดา้ นคุณลกั ษณะ
(Knowledge) ( K)
Outcome) (Key Word) การเรยี นรู้ (Content) กระบวนการ หลกั สตู ร อันพึงประสงค์
(รอู้ ะไร)
(Process) (P) (Competencies) (C) (Attribute) ( A)

(ทำอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) (เป็นคนอยา่ งไร)

9.ระบอุ วยั วะและบรรยาย -ระบุ - มนษุ ยม์ ีระบบสบื พนั ธท์ุ ีป่ ระกอบด้วยอวยั วะ -ผ้เู รยี นระบอุ วัยวะและ -ระบุ -ความสามารถใน -ตระหนกั ถงึ
หนา้ ที่ของอวัยวะในระบบ -บรรยาย
สบื พันธข์ุ องเพศชายและเพศ -ตระหนัก ต่าง ๆ ท่ีทำหน้าที่เฉพาะ โดยรังไขใ่ นเพศหญิง บรรยายหน้าท่ีของ -บรรยาย การคดิ การ
หญงิ และตระหนักถึงการ
เปลยี่ นแปลงของรา่ งกายเม่ือ จะทำหน้าท่ีผลิตเซลล์ไข่ สว่ นอัณฑะในเพศ อวัยวะในระบบสืบพันธ์ุ -ความสามารถใน เปลย่ี นแปลง
เขา้ สู่วัยหนมุ่ สาว โดยการดูแล
รกั ษาร่างกายและจติ ใจของ ชายจะทำหนา้ ที่สรา้ งเซลล์อสุจิ ของเพศชายและเพศ การสื่อสาร ของรา่ งกาย
ตนเองในช่วงท่ีมีการ
เปลย่ี นแปลง - ฮอรโ์ มนเพศทำหน้าที่ควบคุมการแสดงออก หญงิ -ความสามารถใน เมอ่ื เข้าสวู่ ยั

ของลักษณะทางเพศท่ีแตกตา่ งกัน เมอื่ เข้าสู่ การใชท้ ักษะชวี ิต หน่มุ สาว

วัยหน่มุ สาว จะมกี ารสร้างเซลล์ไข่และเซลล์

อสจุ ิ การตกไข่ การมีรอบเดอื น และถา้ มีการ

ปฏิสนธิของเซลลไ์ ข่และเซลล์อสจุ จิ ะทำให้

เกิดการต้ังครรภ์

~ 19 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตัวชี้วัด(Indicator)
หรือผลการเรียนรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรียนรู้แกนกลาง (Core Content) /สาระ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ ดา้ นสมรรถนะตาม ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
(Knowledge) ( K)
Outcome) (Key Word) การเรยี นรู้ (Content) กระบวนการ หลักสตู ร อนั พงึ ประสงค์
(รอู้ ะไร)
(Process) (P) (Competencies) (C) (Attribute) ( A)

(ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) (เป็นคนอยา่ งไร)

10.อธิบายการตกไข่ การมี -อธิบาย - การมีประจำเดือน มีความสัมพันธ์กบั การตก -ผเู้ รยี นอธบิ ายการตกไข่ -อธิบาย -ความสามารถใน -ตระหนักถึง

ประจำเดือนการปฏสิ นธิ และ -เลือกวิธีการ ไข่ โดยเป็นผลจากการเปลยี่ นแปลงของระดับ การมปี ระจำเดือนการ -เลือกวธิ ีการ การคดิ ผลกระทบของ

การพัฒนาของไซโกตจน คุมกำเนิด ฮอรโ์ มนเพศหญิง ปฏสิ นธิ และการพัฒนา คุมกำเนิด -ความสามารถใน การต้ังครรภ์

คลอดเป็นทารกและเลือก -ตระหนกั - เมือ่ เพศหญงิ มีการตกไข่และเซลลไ์ ขไ่ ดร้ ับ ของไซโกตจน การส่ือสาร ก่อนวยั อนั

วธิ กี ารคมุ กำเนดิ ท่ีเหมาะสม การปฏสิ นธกิ ับเซลลอ์ สุจิจะทำให้ได้ไซโกต คลอดเป็นทารก -ความสามารถใน ควร

กับสถานการณ์ท่ีกำหนดและ ไซโกตจะเจรญิ เป็นเอ็มบริโอและฟีตัส การใชท้ ักษะชีวติ

ตระหนักถึงผลกระทบของการ จนกระทั่งคลอดเป็นทารก แต่ถ้าไม่มีการ

ต้งั ครรภก์ ่อนวยั อันควร โดย ปฏสิ นธิ เซลล์ไข่จะสลายตวั ผนงั ด้านใน

การประพฤติตนให้เหมาะสม มดลกู รวมท้ังหลอดเลือดจะสลายตัวและหลุด

ลอกออก เรยี กวา่ ประจำเดอื น

- การคุมกำเนดิ เปน็ วธิ ปี ้องกันไม่ใหเ้ กิดการ

ต้งั ครรภ์ โดยปอ้ งกันไม่ใหเ้ กดิ การปฏสิ นธิหรอื

ไม่ให้มีการฝงั ตวั ของเอม็ บริโอ ซึ่งมหี ลายวธิ ี

เช่น การใชถ้ ุงยางอนามยั การกินยาคุมกำเนิด

~ 20 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตวั ช้วี ดั (Indicator)
หรอื ผลการเรียนรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรียนรู้แกนกลาง (Core Content) /สาระ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะ ด้านสมรรถนะตาม ดา้ นคุณลักษณะ
(Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) อนั พงึ ประสงค์
Outcome) กระบวนการ หลกั สตู ร (Attribute) ( A)
-อธิบาย -อตั ราเรว็ เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ โดยอตั ราเร็ว (ร้อู ะไร) (เปน็ คนอย่างไร)
11. อธิบายและคำนวณ -คำนวณ เป็นอัตราสว่ นของระยะทางต่อเวลา (Process) (P) (Competencies) (C)
อตั ราเร็วและความเร็วของ -เขียน -ความเร็วปรมิ าณเวกเตอร์มีทิศเดยี วกับทิศ -ผู้เรยี นอธบิ ายและ
การเคลอื่ นทข่ี องวัตถุ โดยใช้ แผนภาพ ของการกระจดั โดยความเร็วเปน็ อตั ราส่วน คำนวณอตั ราเร็วและ (ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด)
สมการ ของการกระจัดต่อเวลา ความเรว็ ของการ
-การกระจดั เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ โดยการ เคลือ่ นท่ีของวตั ถุพร้อม -อธิบาย -ความสามารถใน
จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ กระจัดมีทิศชีจ้ ากตำแหน่งเริ่มต้นไปยัง ท้งั เขยี นแผนภาพแสดง
พร้อมทั้งเขียนแผนภาพแสดง ตำแหน่งสุดทา้ ยและมีขนาดเท่ากบั ระยะทีส่ ัน้ การกระจัดและความเรว็ -คำนวณ การคดิ
การกระจัดและความเร็ว ทีส่ ุดระหว่างสองตำแหน่งนัน้
-เขยี นแผนภาพแทนปริมาณเวกเตอรไ์ ดด้ ว้ ย -เขียนแผนภาพ -ความสามารถใน
ลูกศรโดยความยาวของลกู ศรแสดงขนาดและ
หวั ลกู ศรแสดงทศิ ทางของเวกเตอร์นั้น ๆ การใช้ทกั ษะชีวติ

~ 21 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตวั ชว้ี ดั (Indicator)
หรอื ผลการเรียนรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง (Core Content) /สาระ ดา้ นความรู้ ด้านทักษะ ด้านสมรรถนะตาม ด้านคณุ ลักษณะ
(Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K)
Outcome) กระบวนการ หลกั สตู ร อนั พึงประสงค์
(ร้อู ะไร)
(Process) (P) (Competencies) (C) (Attribute) ( A)

(ทำอะไร) (เกิดสมรรถนะใด) (เปน็ คนอยา่ งไร)

12.พยากรณ์การเคลื่อนท่ีของ -พยากรณ์ -แรงเปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ เม่ือมแี รงหลาย ๆ -ผเู้ รียนพยากรณ์การ -พยากรณ์ -ความสามารถใน
วัตถทุ เ่ี ป็นผลของแรงลพั ธท์ ่ี -เขยี น แรงกระทำต่อวัตถุ แล้วแรงลัพธ์ทีก่ ระทำต่อ เคล่อื นท่ีของวตั ถุทเ่ี ป็น
เกดิ จากแรงหลายแรงท่ี แผนภาพ วตั ถุมีคา่ เปน็ ศูนย์ วตั ถุจะไมเ่ ปล่ยี นแปลงการ ผลของแรงลัพธท์ เี่ กดิ -เขยี นแผนภาพ การคิด
กระทำตอ่ วตั ถุในแนวเดียวกัน เคล่อื นทแ่ี ตถ่ ้าแรงลัพธท์ ก่ี ระทำต่อวตั ถุมคี า่ ไม่ จากแรงหลายแรงท่ี
จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ เป็นศนู ย์วัตถจุ ะเปล่ยี นแปลงการเคลื่อนท่ี กระทำต่อวัตถุในแนว -ความสามารถใน
พรอ้ มท้ังเขยี นแผนภาพแสดง
แรงและแรงลัพธ์ทเี่ กิดจากแรง เดียวกนั พรอ้ มทั้งเขยี น การใช้ทกั ษะชวี ติ
หลายแรงท่กี ระทำต่อวตั ถใุ น แผนภาพแสดงแรงและ
แนวเดียวกนั แรงลัพธท์ ี่เกิดจากแรง
หลายแรงทกี่ ระทำต่อ
13. อธิบายแรงเสยี ดทานสถิต -อธิบาย วตั ถุในแนวเดียวกนั -อธิบาย -ความสามารถใน
และแรงเสียดทานจลน์จาก การสื่อสาร
หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ -แรงเสยี ดทานเปน็ แรงท่ีเกดิ ข้ึนระหวา่ ง -ผู้เรียนอธบิ ายแรงเสยี ด
ผวิ สมั ผสั ของวตั ถุ เพ่ือตา้ นการเคลอ่ื นที่ของ ทานสถิตและแรงเสียด
วัตถนุ นั้ โดยถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถทุ ี่อยู่นงิ่ ทานจลนจ์ ากหลกั ฐาน
บนพนื้ ผิวใหเ้ คลื่อนท่ี แรงเสียดทานก็จะต้าน เชงิ ประจกั ษ์
การเคลื่อนท่ีของวัตถุ แรงเสยี ดทานทเ่ี กิดขนึ้
ในขณะที่วัตถุยงั ไม่เคลอ่ื นทเี่ รียก แรงเสยี ด
ทานสถิต แตถ่ ้าวตั ถุกำลังเคล่ือนที่ แรงเสียด
ทานก็จะทำให้วตั ถุนัน้ เคลื่อนทชี่ า้ ลงหรือหยดุ
นงิ่ เรยี ก แรงเสียดทานจลน

~ 22 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตวั ช้ีวดั (Indicator)
หรอื ผลการเรียนรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (Core Content) /สาระ ดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะ ด้านสมรรถนะตาม ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
(Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) อันพงึ ประสงค์
Outcome) กระบวนการ หลักสตู ร (Attribute) ( A)
-ออกแบบ -ขนาดของแรงเสยี ดทานระหว่างผวิ สัมผัสของ (รอู้ ะไร) (เป็นคนอยา่ งไร)
14.ออกแบบการทดลองและ การทดลอง วัตถขุ ึน้ กบั ลกั ษณะผวิ สัมผสั และขนาดของ (Process) (P) (Competencies) (C)
ทดลองดว้ ยวิธีท่ีเหมาะสมใน -เขียน แรงปฏิกิรยิ าตงั้ ฉากระหวา่ งผิวสมั ผสั -ผู้เรียนอธบิ ายปัจจัยทมี่ ี -ตระหนกั ถงึ
การอธิบายปัจจยั ที่มีผลตอ่ แผนภาพ ผลต่อขนาดของแรง (ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) ประโยชนข์ อง
ขนาดของแรงเสยี ดทานพร้อม -กิจกรรมในชีวติ ประจำวนั บางกิจกรรม เสียดทานพร้อมท้ังเขยี น ความรู้เร่อื ง
ทงั้ เขยี นแผนภาพแสดงแรง -ตระหนกั ต้องการแรงเสยี ดทาน เช่น การเปดิ ฝาเกลียว แผนภาพแสดงแรงเสียด -ออกแบบการ -ความสามารถใน แรงเสียดทาน
เสยี ดทานและแรงอนื่ ๆ ที่ ขวดน้ำการใชแ้ ผ่นกันลนื่ ในห้องนำ้ บาง ทานและแรงอื่น ๆ ที่
กระทำต่อวตั ถุ กจิ กรรมไมต่ ้องการแรงเสยี ดทาน เช่น การ กระทำต่อวัตถุ ทดลอง การคิด
15.ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ อง ลากวัตถุบนพ้ืนการใชน้ ้ำมันหลอ่ ลน่ื ใน -เขยี นแผนภาพ -ความสามารถใน
ความรู้เรื่องแรงเสียดทานโดย เครอ่ื งยนต์ -ผู้เรยี นตระหนักถงึ
วิเคราะหส์ ถานการณ์ปญั หา - ความรู้เร่อื งแรงเสยี ดทานสามารถนำไปใช้ ประโยชนข์ องความรู้ การแกป้ ัญหา
และเสนอแนะวิธีการลดหรือ ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวันได้ เรอื่ งแรงเสียดทานโดย
เพม่ิ แรงเสยี ดทานท่ีเปน็ วเิ คราะหส์ ถานการณ์ -ความสามารถใน
ประโยชน์ตอ่ การทำกจิ กรรม ปญั หาและเสนอแนะ การคิด
ในชวี ิตประจำวัน วิธีการลดหรอื เพิม่ แรง -ความสามารถใน
เสียดทานทีเ่ ป็น การแกป้ ัญหา
ประโยชน์ต่อการทำ -ความสามารถใน
กจิ กรรมใน การใชท้ ักษะชวี ิต
ชวี ิตประจำวนั

~ 23 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตัวชีว้ ดั (Indicator)
หรือผลการเรยี นรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (Core Content) /สาระ ดา้ นความรู้ ด้านทักษะ ด้านสมรรถนะตาม ด้านคณุ ลกั ษณะ
(Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K) อนั พึงประสงค์
Outcome) กระบวนการ หลักสตู ร (Attribute) ( A)
-ออกแบบ -เมือ่ วตั ถุอยู่ในของเหลวจะมีแรงท่ขี องเหลว (รู้อะไร) (เป็นคนอยา่ งไร)
16. ออกแบบการทดลองและ การทดลอง กระทำตอ่ วัตถุในทุกทิศทาง โดยแรงที่ (Process) (P) (Competencies) (C)
ทดลองดว้ ยวิธที ่เี หมาะสมใน -ทดลอง ของเหลวกระทำต้ังฉากกบั ผิววัตถุต่อหนึ่ง -ผู้เรยี นอธิบายปจั จัยท่มี ี
การอธิบายปัจจยั ที่มีผลต่อ หนว่ ยพ้นื ทเ่ี รยี กวา่ ความดันของของเหลว ผลตอ่ ความดันของ (ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด)
ความดนั ของของเหลว -วิเคราะห์ -ความดนั ของของเหลวมคี วามสัมพนั ธก์ ับ ของเหลว
-เขียน ความลึกจากระดบั ผวิ หนา้ ของของเหลว โดย -ออกแบบการ -ความสามารถใน
17. วิเคราะหแ์ รงพยงุ และการ แผนภาพ บรเิ วณที่ลึกลงไปจากระดบั ผิวหน้าของ -ผเู้ รียนวเิ คราะหแ์ รงพยุง
จม การลอยของวตั ถุใน ของเหลวมากขน้ึ ความดันของของเหลวจะ และการจม การลอยของ ทดลอง การคิด
ของเหลวจากหลกั ฐานเชงิ เพมิ่ ขึ้น เนื่องจากของเหลวท่อี ย่ลู ึกกวา่ จะมี วตั ถใุ นของเหลวจาก
ประจักษ์พร้อมทั้งเขียน นำ้ หนักของของเหลวด้านบนกระทำมากกวา่ หลักฐานเชิงประจักษ์ -ทดลอง -ความสามารถใน
แผนภาพแสดงแรงท่กี ระทำ -เมือ่ วตั ถุอยใู่ นของเหลว จะมีแรงพยงุ พร้อมท้ังเขยี นแผนภาพ
ต่อวัตถใุ นของเหลว เนอื่ งจากของเหลวกระทำตอ่ วตั ถุ โดยมที ศิ ขน้ึ แสดงแรงท่ีกระทำต่อ การแก้ปัญหา
ในแนวดง่ิ การจมหรือการลอยของวัตถุขน้ึ กับ วัตถใุ นของเหลว
นำ้ หนักของวัตถุและแรงพยุง ถ้านำ้ หนักของ -วิเคราะห์ -ความสามารถใน
วัตถแุ ละแรงพยุงของของเหลวมคี า่ เทา่ กัน
วัตถุจะลอยนิง่ อย่ใู นของเหลว แต่ถ้าน้ำหนัก -เขยี นแผนภาพ การคิด
ของวตั ถุมีค่ามากกวา่ แรงพยงุ ของของเหลว
วตั ถจุ ะจม

~ 24 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรยี นรู้
และตัวชวี้ ดั (Indicator)
หรือผลการเรยี นรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง (Core Content) /สาระ ดา้ นความรู้ ด้านทักษะ ด้านสมรรถนะตาม ดา้ นคณุ ลกั ษณะ
(Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Knowledge) ( K)
Outcome) กระบวนการ หลกั สตู ร อันพึงประสงค์
-ออกแบบ (รอู้ ะไร)
18.ออกแบบการทดลองและ การทดลอง (Process) (P) (Competencies) (C) (Attribute) ( A)
ทดลองด้วยวธิ ีทเ่ี หมาะสมใน -ทดลอง
การอธิบายโมเมนตข์ องแรง (ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) (เปน็ คนอยา่ งไร)
เม่อื วตั ถุอยู่ในสภาพสมดลุ ต่อ
การหมุน และคำนวณโดยใช้ -เมอ่ื มแี รงทกี่ ระทำต่อวตั ถโุ ดยไม่ผา่ น -ผูเ้ รยี นอธบิ ายโมเมนต์ -ออกแบบการ -ความสามารถใน
สมการ M = Fl
ศูนย์กลางมวลของวตั ถุ จะเกิดโมเมนต์ของ ของแรง เมอื่ วัตถุอยู่ใน ทดลอง การคดิ

แรง ทำใหว้ ตั ถหุ มนุ รอบศูนย์กลางมวลของ สภาพสมดุลต่อการหมนุ -ทดลอง -ความสามารถใน

วัตถนุ ้นั และคำนวณโดยใช้ การแกป้ ัญหา

-โมเมนต์ของแรงเป็นผลคณู ของแรงท่ีกระทำ สมการ M = Fl

ตอ่ วตั ถุกบั ระยะทางจากจุดหมุนไปตัง้ ฉากกบั

แนวแรง เมอื่ ผลรวมของโมเมนตข์ องแรงมคี ่า

เปน็ ศนู ย์วัตถจุ ะอย่ใู นสภาพสมดุลตอ่ การหมนุ

โดยโมเมนตข์ องแรงในทิศทวนเข็มนาฬิกาจะ

มขี นาดเท่ากับโมเมนต์ของแรงในทศิ ตามเข็ม

นาฬกิ า

~ 25 ~

มาตรฐาน (Standard) พฤติกรรมการการเรียนรู้
และตัวช้วี ดั (Indicator)
หรือผลการเรยี นรู้ (Learning คำสำคญั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง (Core Content) /สาระ ด้านความรู้ ด้านทักษะ ดา้ นสมรรถนะตาม ด้านคุณลักษณะ
(Knowledge) ( K) กระบวนการ
Outcome) (Key Word) การเรยี นรู้ (Content) (Process) (P) หลกั สตู ร อันพึงประสงค์
(รูอ้ ะไร)
19. เปรียบเทยี บแหล่งของ (Competencies) (C) (Attribute) ( A)
สนามแม่เหลก็ สนามไฟฟ้า
และสนามโน้มถว่ ง และ (ทำอะไร) (เกดิ สมรรถนะใด) (เปน็ คนอย่างไร)
ทศิ ทางของแรงท่ีกระทำต่อ
วตั ถทุ ี่อยูใ่ นแตล่ ะสนามจาก - -วตั ถทุ ี่มีมวลจะมีสนามโนม้ ถ่วงอยูโ่ ดยรอบ -ผู้เรยี นเปรียบเทียบ -เปรยี บเทยี บ -ความสามารถใน
ข้อมูลท่ีรวบรวมไดพ้ ร้อมทั้ง
เขียนแผนภาพแสดงแรง เปรยี บเทียบ แรงโนม้ ถว่ งทก่ี ระทำต่อวัตถุที่อยูใ่ นสนามโนม้ แหลง่ ของสนามแม่เหล็ก -เขียนแผนภาพ การคิด
แม่เหลก็ แรงไฟฟา้ และแรง
โน้มถว่ งท่ีกระทำต่อวัตถุ -เขียน ถว่ งจะมีทิศพุ่งเข้าหาวัตถทุ ีเ่ ป็นแหล่งของ สนามไฟฟ้า และสนาม

20. วิเคราะหค์ วามสมั พันธ์ แผนภาพ สนามโน้มถ่วง โนม้ ถว่ ง และทิศทางของ
ระหวา่ งขนาดของแรง
แม่เหล็ก แรงไฟฟา้ และแรง -วัตถุทมี่ ีประจุไฟฟา้ จะมีสนามไฟฟ้าอยู่ แรงที่กระทำต่อวัตถุ
โนม้ ถ่วงที่กระทำต่อวัตถุท่ีอยู่
ในสนามนนั้ ๆ กับระยะห่าง โดยรอบแรงไฟฟา้ ที่กระทำต่อวตั ถทุ ่ีมปี ระจุ
จากแหลง่ ของสนามถึงวัตถุ
จากข้อมูลทรี่ วบรวมได้ จะมีทิศพ่งุ เข้าหาหรือออกจากวตั ถทุ ่มี ีประจุท่ี

เป็นแหล่งของสนามไฟฟ้า

-วัตถทุ ีเ่ ป็นแม่เหล็กจะมีสนามแม่เหลก็ อยู่

โดยรอบแรงแม่เหล็กทกี่ ระทำต่อขั้วแม่เหล็ก

จะมีทิศพุ่งเข้าหาหรือออกจากข้ัวแม่เหล็กท่ี

เปน็ แหลง่ ของสนามแม่เหลก็

-วเิ คราะห์ -ขนาดของแรงโน้มถว่ ง แรงไฟฟา้ และแรง -ผูเ้ รียนวเิ คราะห์ -วเิ คราะห์ -ความสามารถใน

แม่เหลก็ ที่กระทำตอ่ วตั ถทุ ่ีอยู่ในสนามนนั้ ๆ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง การคิด

จะมคี า่ ลดลงเมื่อวตั ถุอยู่หา่ งจากแหลง่ ของ ขนาดของแรงแมเ่ หลก็

สนามนน้ั ๆ มากขน้ึ แรงไฟฟา้ และแรงโน้ม

ถ่วงท่ีกระทำต่อวัตถุท่ีอยู่

ในสนามน้นั ๆ กับ

ระยะห่างจากแหลง่ ของ

สนามถึงวตั ถุ

~ 26 ~ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์
เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต
คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
วชิ าวิทยาศาสตร์วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน รหสั วชิ า ว 22101
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1

ศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ และเทคโนโลยเี กย่ี วกับโครงสร้างและหนา้ ท่ขี องอวัยวะทเ่ี กยี่ วข้องใน ระบบ
หมุนเวยี นเลอื ด ระบบหายใจ ระบบขับถา่ ย ระบบประสาท และระบบสบื พนั ธ์ รวมท้ังบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบตา่ ง ๆ ให้ทำงานเป็นปกติ บอก
องค์ประกอบของสารละลาย สภาพละลายไดข้ องสาร ความเขม้ ข้นของสารละลายในหน่วยรอ้ ยละการนำความรู้เร่อื งความเข้มข้นของสารไปใช้ โดยยกตวั อยา่ งการใช้
สารละลายในชีวติ ประจำวันอย่างถกู ต้องและปลอดภยั การบอกตำแหน่งของวัตถุ ระยะทาง การกระจดั อัตราเร็ว ความเรว็ ผลของแรงลัพธท์ ี่มีต่อวตั ถุ แรงกริ ยิ าและ
แรงปฏกิ ริ ยิ า แรงเสียดทาน แรงและความดันของของเหลว แรงพยงุ และการจม โมเมนต์ของแรง เมอื่ วัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อการหมนุ และคำนวณโดยใช้สมการ M = Fl
แหลง่ ของสนามแมเ่ หล็กสนามไฟฟ้า และสนามโน้มถว่ ง และทศิ ทางของแรงที่กระทำต่อวัตถุทอี่ ยใู่ นแต่ละสนามจากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้

โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเ์ พื่อฝกึ ทักษะระบุ อธิบาย บอก บรรยาย ทดลอง เลอื ก แยก และออกแบบการทดลอง

เพื่อให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถกู ต้อง ตระหนัก ดูแลรกั ษา ทำให้เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถใน
การส่อื สาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

รวมตวั ชว้ี ัด ๒๐ ตวั ชี้วัด
ว ๑.๒ ม ๒/๑ ม ๒/๒ ม ๒/๓ ม ๒/๔ ม ๒/๕ ม ๒/๖ ม ๒/๗
ว ๒.๑ ม ๒/๑ ม ๒/๒ ม ๒/๓
ว ๒.๒ ม ๒/๑ ม ๒/๒ ม ๒/๓ ม ๒/๔ ม ๒/๕ ม ๒/๖ ม ๒/๗ ม ๒/๘ ม ๒/๙ ม ๒/๑๐

~ 27 ~

ตารางท่ี 3 กำหนดหนว่ ยการเรียนรู้ (Unit)

วชิ า (Course ) วิทยาศาสตร์ 2 รหสั วิชา(Course Code) ว22101

ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ บทท/่ี เรื่อง ตัวชี้วัด(Indicator) จำนวน
ช่ัวโมง
(Unit )
9
หน่วยท่ี 1 สารละลาย บทที่ 1องค์ประกอบของสารละลายและปัจจยั 1. ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธบิ ายผลของชนิดตวั ละลาย ชนิด
5
ท่ีมผี ลต่อสภาพละลายได้ ตวั ทำละลาย อุณหภมู ิทีม่ ีต่อสภาพละลายได้ของสาร รวมท้ังอธบิ ายผลของ
เรอ่ื งท่ี 1 องค์ประกอบของสารละลาย ความดนั ทีม่ ตี ่อสภาพละลายได้ของสาร โดยใชส้ ารสนเทศ 6
เร่อื งที่ 2สภาพละลายได้และปจั จัยทม่ี ผี ลต่อ
4
สภาพละลายได้

บทท่ี 2 ความเข้มขน้ ของสารละลาย 2. ระบปุ ริมาณตัวละลายในสารละลาย ในหน่วยความเข้มขน้ เป็นรอ้ ยละ

เรอ่ื งที่ 1 ความเข้มขน้ ของสารละลายใน ปริมาตรตอ่ ปริมาตร มวลตอ่ มวล และมวลตอ่ ปริมาตร
หนว่ ยร้อยละ 3. ตระหนกั ถึงความสำคัญของการนำความรเู้ รื่องความเข้มขน้ ของสารไปใช้

โดยยกตวั อยา่ งการใช้สารละลายในชีวติ ประจำวนั อยา่ งถกู ต้องและปลอดภัย

หนว่ ยท่ี 2 รา่ งกาย บทที่ 1 ระบบอวยั วะในร่างกายของเรา 4. บรรยายโครงสรา้ งและหน้าทข่ี องหัวใจหลอดเลอื ด และเลือด พรอ้ มท้ัง
มนุษย์ เรื่องที่ 1 ระบบหมุนเวยี นเลอื ด อธิบายการทำงานของระบบหมนุ เวียนเลือด โดยใชแ้ บบจำลอง

5. ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทยี บอัตราการเตน้ ของ

หัวใจ ขณะปกติและหลงั ทำกิจกรรมและ ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของระบบ

หมุนเวียนเลอื ด โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบ

หมนุ เวยี นเลือดให้ทำงานเป็นปกติ

เรือ่ งท่ี 2 ระบบหายใจ 6.ระบุ อธบิ ายโครงสรา้ ง หน้าที่ การทำงานของระบบหายใจ และตระหนัก

ถงึ ความสำคัญ โดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบหายใจ

ใหท้ ำงานเปน็ ปกติ

~ 28 ~

ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ บทท/่ี เร่อื ง ตัวชว้ี ดั (Indicator) จำนวน
ชั่วโมง
(Unit ) 7.ระบุอวยั วะ บรรยายหน้าท่ีของอวัยวะในระบบขบั ถา่ ยในการกำจัดของเสยี
ทางไต และตระหนักถึงความสำคัญ โดยการบอกแนวทางในการปฏบิ ัตติ นท่ี 3
เรื่องท่ี 3 ระบบขบั ถ่าย ชว่ ยให้ระบบขบั ถา่ ยทำหนา้ ท่ีได้อยา่ งปกติ
8. ระบุอวัยวะ บรรยายหนา้ ที่ของอวยั วะในระบบประสาทส่วนกลางในการ 3
เรื่องท่ี 4 ระบบประสาท ควบคมุ การทำงานต่าง ๆ ของรา่ งกาย และ ตระหนักถึงความสำคัญ โดยการ
บอกแนวทางในการดูแลรกั ษารวมถงึ การป้องกันการกระทบกระเทือนและ 5
เรื่องท่ี 5 ระบบสืบพนั ธุ์ อนั ตรายต่อสมองและไขสันหลัง
9.ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าท่ีของอวัยวะในระบบสบื พันธุข์ องเพศชายและ
เพศหญิง และตระหนักถึงการเปล่ยี นแปลงของรา่ งกายเมื่อเขา้ สวู่ ยั หนมุ่ สาว
โดยการดูแลรกั ษาร่างกายและจติ ใจของตนเองในช่วงที่มีการเปล่ยี นแปลง
10.อธิบายการตกไข่ การมปี ระจำเดือนการปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซ
โกตจนคลอดเปน็ ทารกและเลือกวิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่
กำหนดและตระหนักถงึ ผลกระทบของการตง้ั ครรภ์ก่อนวยั อนั ควร โดยการ
ประพฤติตนให้เหมาะสม

หนว่ ยท่ี 3 การ บทท่ี 1 การเคล่ือนท่ี 11. อธิบายและคำนวณอตั ราเรว็ และความเรว็ ของการเคล่ือนท่ขี องวตั ถุ โดย 5
เคลื่อนทแ่ี ละแรง เรื่องท่ี 1 ตำแหนง่ ระยะทางและการกระจัด
เรื่องที่ 2 อตั ราเร็วและความเร็ว
ใช้สมการ จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์พร้อมทั้ง

เขยี นแผนภาพแสดงการกระจัดและความเรว็

~ 29 ~

ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ บทท/ี่ เร่อื ง ตัวชว้ี ัด(Indicator) จำนวน
(Unit ) ชัว่ โมง
บทที่ 2 แรงในชีวิตประจำวนั 12.พยากรณก์ ารเคลอื่ นท่ีของวัตถทุ ี่เปน็ ผลของแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลาย
เรอ่ื งท่ี 1 แรงลัพธ์ แรงทกี่ ระทำต่อวัตถุในแนวเดียวกันจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์พร้อมท้ังเขยี น 3
แผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธ์ทเี่ กิดจากแรงหลายแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถใุ น
เรื่องท่ี 2 แรงเสียดทาน แนวเดียวกนั 3
13. อธบิ ายแรงเสยี ดทานสถติ และแรงเสยี ดทานจลนจ์ ากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
เรือ่ งที่ 3 แรงและความดันของของเหลว 14.ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธบิ ายปจั จัยทม่ี ี 2
เร่ืองท่ี 4 แรงพยงุ ของของเหลว ผลตอ่ ขนาดของแรงเสยี ดทานพรอ้ มทั้งเขยี นแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและ 3
เร่ืองท่ี 5 โมเมนต์ของแรง แรงอื่น ๆ ท่ีกระทำตอ่ วตั ถุ 3
15.ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องความร้เู ร่อื งแรงเสียดทานโดยวเิ คราะห์
สถานการณป์ ัญหาและเสนอแนะวิธีการลดหรอื เพิม่ แรงเสียดทานท่เี ป็น
ประโยชนต์ อ่ การทำกจิ กรรมในชวี ิตประจำวัน
16. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ที ีเ่ หมาะสมในการอธิบายปจั จัยที่
มผี ลตอ่ ความดันของของเหลว
17. วิเคราะห์แรงพยุงและการจม การลอยของวัตถุในของเหลวจากหลกั ฐาน
เชิงประจักษ์พร้อมทัง้ เขยี นแผนภาพแสดงแรงที่กระทำต่อวตั ถุในของเหลว
18.ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายโมเมนต์
ของแรง เม่ือวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลตอ่ การหมุน และคำนวณโดยใช้สมการ
M = Fl

~ 30 ~

ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ บทท/ี่ เรื่อง ตวั ชว้ี ัด(Indicator) จำนวน
ชว่ั โมง
(Unit ) 19. เปรียบเทยี บแหลง่ ของ สนามแมเ่ หล็กสนามไฟฟ้า และสนามโน้มถ่วง
และทศิ ทางของแรงที่กระทำต่อวตั ถทุ ี่อยู่ในแต่ละสนามจากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ 3
เรือ่ งที่ 6 แรงและสนามของแรง พร้อมทั้งเขียนแผนภาพแสดงแรงแมเ่ หล็ก แรงไฟฟ้าและแรงโนม้ ถ่วงทีก่ ระทำ
ตอ่ วตั ถุ
20. วเิ คราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหวา่ งขนาดของแรงแม่เหลก็ แรงไฟฟา้ และแรง
โน้มถ่วงทก่ี ระทำต่อวตั ถทุ ี่อยใู่ นสนามนั้น ๆ กับระยะห่างจากแหล่งของสนาม
ถึงวตั ถจุ ากข้อมูลทร่ี วบรวมได้

~ 31 ~

ตารางที่ 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้(Learning Assessment Plan)

หลักฐานการเรียนร(ู้ Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วิธกี ารและเครอื่ งมือการวัดและประเมินผล

หน่วยที่ ตัวชีว้ ัด(Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
1 1. ออกแบบการ พฤติกรรมการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนร้/ู แนวทางการวดั วธิ กี ารและเคร่ืองมือการวดั
สารละ ทดลองและทดลอง ประเมนิ ผล ประเมนิ ผล
ลาย ในการอธิบายผล
ของชนดิ ตัวละลาย -ออกแบบ -ดา้ นความรู้ K -อธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนดิ 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้
ชนดิ ตัวทำละลาย การทดลอง -อธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนดิ ตัวทำละลาย ตวั ทำาละลายอุณหภมู ิ และความดนั ทีม่ ี รายบุคคล
อุณหภูมิที่มตี อ่ -ทดลอง อณุ หภมู ิ และความดันทมี่ ีต่อสภาพละลายได้ของสาร ตอ่ สภาพละลายได้ของสาร โดยใชผ้ ล 2. ประเมนิ ทกั ษะ
สภาพละลายได้ของ โดยใชผ้ ลจากการปฏิบตั ิทดลองประกอบการอธิบาย จากการปฏบิ ัติทดลองประกอบ กระบวนการ
สาร รวมท้ังอธิบาย -ยกตวั อยา่ งการใชป้ ระโยชน์จากการละลายของสาร การอธิบาย 3. ตรวจแบบฝกึ หดั /
ผลของความดันทม่ี ี ในชวี ิตประจำาวัน - ยกตัวอยา่ งการใชป้ ระโยชน์จากการ แบบทดสอบ
ต่อสภาพละลายได้ -ดา้ นทกั ษะกระบวนการ P ละลายของสารในชีวติ ประจำาวนั
ของสาร โดยใช้ -ออกแบบการทดลองเก่ียวกับอุณหภูมิมผี ลต่อสภาพ
สารสนเทศ การละลายของสาร
-ทดลองระบุตวั ละลายและตัวทำละลาย
-ทดลองสารละลายอ่ิมตวั
-ดา้ นสมรรถนะตามหลักสูตร C
-ความสามารถในการคดิ
-ความสามารถในการแกป้ ญั หา
-ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ A

~ 32 ~

หลักฐานการเรียนรู้(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธกี ารและเครอ่ื งมือการวัดและประเมนิ ผล

หนว่ ยท่ี ตัวชี้วัด(Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)

(Key Word) พฤติกรรมการเรยี นรู้ หลกั ฐานการเรียนร/ู้ แนวทางการวัด วธิ ีการและเคร่ืองมือการวัด
ประเมนิ ผล ประเมินผล
2. ระบุปรมิ าณตัว -ระบุ
ละลายในสารละลาย ดา้ นความรู้ K อธิบายความเข้มขน้ ของสารละลายใน 1. สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
ในหนว่ ยความ รายบคุ คล
เขม้ ข้นเป็นร้อยละ -อธบิ ายความเข้มขน้ ของสารละลายในหน่วยร้อยละ หนว่ ยร้อยละโดยปรมิ าตรต่อปรมิ าตร 2. ประเมินทักษะ
ปรมิ าตรต่อปริมาตร กระบวนการ
มวลต่อมวล และ โดยปริมาตรตอ่ ปริมาตรร้อยละโดยมวลต่อมวล และ ร้อยละโดยมวลต่อมวล และร้อยละ 3. ตรวจแบบฝกึ หดั /
มวลตอ่ ปริมาตร แบบทดสอบ
รอ้ ยละโดยมวลตอ่ ปริมาตร โดยมวลตอ่ ปรมิ าตร
3. ตระหนกั ถึง -ตระหนัก 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้
ความสำคญั ของการ ด้านทักษะกระบวนการ P รายบคุ คล
นำความร้เู รอื่ งความ 2. ประเมินทักษะ
เขม้ ข้นของสารไปใช้ -ระบปุ ริมาณตวั ละลายในสารละลาย กระบวนการ
โดยยกตัวอยา่ งการ 3. ตรวจแบบฝึกหดั /
ใช้สารละลายใน ดา้ นสมรรถนะตามหลักสตู ร C แบบทดสอบ
ชีวติ ประจำวันอย่าง
ถูกต้องและ -ความสามารถในการคิด
ปลอดภยั
-ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ

ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ A

-ดา้ นความรู้ K ประเมินความตระหนักถึงความสำคัญ

-ความสำคญั ของการนำความรู้เร่อื งความเข้มข้นของ ของการนำความรู้เรื่องความเขม้ ขน้ ของ

สารไปใช้ สารไปใช้จากการยกตวั อย่างการใช้

สารละลายในชีวิตประจำาวันที่อย่าง

-ดา้ นทักษะกระบวนการ P ถกู ต้องและปลอดภัย

-

-ด้านสมรรถนะตามหลักสูตร C

-ความสามารถในการคดิ

-ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต

~ 33 ~

หลกั ฐานการเรยี นร(ู้ Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วธิ ีการและเครอ่ื งมือการวดั และประเมินผล

หนว่ ยท่ี ตัวช้วี ัด(Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
พฤติกรรมการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนร/ู้ แนวทางการวดั วิธีการและเครื่องมือการวัด
ประเมินผล ประเมนิ ผล

-ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ A
-ตระหนักถงึ ความสำคัญของการนำความรู้เร่ืองความ
เขม้ ขน้ ของสารไปใช้

4. บรรยาย -บรรยาย -ดา้ นความรู้ K -บรรยายโครงสรา้ งและหน้าท่ีของหวั ใจ 1. สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
โครงสร้างและหนา้ ที่ของหวั ใจหลอดเลือด และเลือด และหลอดเลือดรวมถึงบอก รายบุคคล
โครงสรา้ งและหนา้ ท่ี -อธิบาย การทำงานของระบบหมุนเวียนเลอื ด ส่วนประกอบและหนา้ ท่ีของเลือด 2. ประเมนิ ทกั ษะ
-ดา้ นทกั ษะกระบวนการ P -อธิบายการทำงานของระบบหมุนเวยี น กระบวนการ
ของหัวใจหลอด -บรรยายโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของหัวใจหลอดเลอื ด เลือดในการลำาเลยี งสารอาหารแกส๊ 3. ตรวจแบบฝึกหัด/
และเลือด ของเสีย และสารอื่นๆ แบบทดสอบ
เลอื ด และเลือด -อธบิ ายการทำงานของระบบหมุนเวยี นเลือด โดยใช้

พร้อมท้ังอธบิ ายการ

2 ทำงานของระบบ

ระบบต่าง หมนุ เวียนเลอื ด โดย

ๆของ ใช้แบบจำลอง แบบจำลอง

มนษุ ย์ -ดา้ นสมรรถนะตามหลักสตู ร C

-ความสามารถในการคดิ

-ความสามารถในการสื่อสาร

-ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ A

~ 34 ~

หลักฐานการเรยี นร้(ู Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ กี ารและเคร่อื งมือการวัดและประเมนิ ผล

หนว่ ยท่ี ตวั ชีว้ ัด(Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
5. ออกแบบการ พฤติกรรมการเรยี นรู้ หลักฐานการเรียนรู/้ แนวทางการวดั วธิ กี ารและเครื่องมือการวัด
ทดลองและทดลอง -ออกแบบ ประเมนิ ผล ประเมินผล
ในการเปรียบเทียบ การทดลอง
อตั ราการเต้นของ -ตระหนกั -ด้านความรู้ K -เปรียบเทยี บอัตราการเตน้ ของหวั ใจ 1. สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
หวั ใจ ขณะปกตแิ ละ -บอก -เปรียบเทียบอตั ราการเตน้ ของหัวใจ ขณะปกตแิ ละ ขณะปกตแิ ละหลังทำากิจกรรม รายบคุ คล
หลงั ทำกิจกรรมและ แนวทาง หลังทำกิจกรรม -บอกแนวทางในการดูแลรกั ษาระบบ 2. ประเมินทกั ษะ
ตระหนักถึง -บอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบ หมุนเวียนเลือดใหท้ ำาหน้าที่ไดอ้ ย่าง กระบวนการ
ความสำคญั ของ หมนุ เวียนเลือดใหท้ ำงานเปน็ ปกติ ปกติ 3. ตรวจแบบฝกึ หัด/
ระบบหมุนเวยี น แบบทดสอบ
เลอื ด โดยการบอก
แนวทางในการดูแล -ด้านทักษะกระบวนการ P
รกั ษาอวัยวะใน -ออกแบบการทดลองเรือ่ งอัตราการเตน้ ของหวั ใจ
ระบบหมุนเวียน ขณะพกั และหลงั ทำกิจกรรม
เลือดใหท้ ำงานเปน็ -ทดลองเรอ่ื งหวั ใจทำงานได้อย่างไร
ปกติ
-ด้านสมรรถนะตามหลักสูตร C
-ความสามารถในการคิด
-ความสามารถในการส่ือสาร
-ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

-ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ A
-ตระหนกั ความสำคัญของระบบหมุนเวยี นเลอื ด

~ 35 ~

หลกั ฐานการเรียนรู(้ Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธีการและเครอื่ งมือการวัดและประเมินผล

หนว่ ยท่ี ตวั ชี้วดั (Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
6.ระบุ อธบิ าย พฤติกรรมการเรยี นรู้ หลกั ฐานการเรยี นรู้/แนวทางการวัด วธิ กี ารและเคร่ืองมือการวัด
โครงสร้าง หน้าที่ -ระบุ ประเมนิ ผล ประเมนิ ผล
การทำงานของ -อธิบาย
ระบบหายใจ และ -ตระหนกั -ดา้ นความรู้ K -ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของ 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
ตระหนักถึง -โครงสรา้ ง หน้าที่ การทำงานของระบบหายใจ
ความสำคญั โดย อวยั วะที่เก่ียวข้องในระบบหายใจ รายบุคคล
การบอกแนวทางใน -ดา้ นทักษะกระบวนการ P
การดแู ลรักษา -ระบุ อธิบายโครงสรา้ ง หน้าท่ี การทำงานของ -อธบิ ายกลไกการหายใจเขา้ และออก 2. ประเมินทักษะ
อวยั วะในระบบ ระบบหายใจ
หายใจให้ทำงานเปน็ -บอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบ โดยการทำงาน กระบวนการ
ปกติ หายใจใหท้ ำงานเปน็ ปกติ
ของอวัยวะท่เี กย่ี วขอ้ งกบั ระบบหายใจ 3. ตรวจแบบฝกึ หัด/
-ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร C
-ความสามารถในการคดิ -เขยี นแผนภาพแสดงกระบวนการ แบบทดสอบ
-ความสามารถในการสื่อสาร
-ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ แลกเปลย่ี นแกส๊ ระหวา่ งถงุ ลมในปอดกบั

หลอดเลือดฝอย และระหวา่ งหลอด

เลอื ดฝอยกับเน้อื เยื่อต่าง ๆ ของ

รา่ งกาย

-นำาเสนอแนวทางในการดูแลรักษา

ระบบหายใจให้ทำางานเป็นปกติ

-ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ A
-ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของระบบหายใจ
-ดแู ลรักษา

~ 36 ~

หลกั ฐานการเรียนรู้(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ ีการและเคร่อื งมือการวดั และประเมินผล

หนว่ ยท่ี ตวั ช้วี ัด(Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)

(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรยี นรู/้ แนวทางการวดั วธิ ีการและเคร่ืองมือการวดั
ประเมนิ ผล ประเมนิ ผล

7.ระบุอวยั วะ -ระบุ -ดา้ นความรู้ K -นักเรยี นระบอุ วัยวะและ บรรยายหนา้ ที่ 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้

บรรยายหน้าทข่ี อง -บรรยาย -ผูเ้ รียนระบอุ วยั วะและ บรรยายหนา้ ท่ขี องอวัยวะใน ของอวัยวะในระบบขับถา่ ยในการกำจดั รายบคุ คล

อวยั วะในระบบ -ตระหนกั ระบบขับถา่ ยในการกำจัดของเสียทางไต ของเสยี ทางไต 2. ประเมนิ ทักษะ

ขับถ่ายในการกำจัด -บอก -ดา้ นทักษะกระบวนการ P -นกั เรียนบอกแนวทางในการดูแลรกั ษา กระบวนการ

ของเสยี ทางไต และ แนวทาง -ระบุ ระบบขบั ถา่ ยใหท้ ำางานเป็นปกติ 3. ตรวจแบบฝกึ หัด/

ตระหนักถึง -บรรยาย แบบทดสอบ

ความสำคญั โดยการ -บอก

บอกแนวทางในการ -ด้านสมรรถนะตามหลักสูตร C
-ความสามารถในการคดิ
ปฏิบตั ติ นทช่ี ่วยให้ -ความสามารถในการสอื่ สาร
-ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
ระบบขบั ถ่ายทำ -ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ A
-ตระหนักถงึ ความสำคัญของระบบขับถา่ ยของเสีย
หน้าที่ได้อยา่ งปกติ ทางไต

~ 37 ~

หลกั ฐานการเรยี นร(ู้ Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วธิ กี ารและเครื่องมือการวัดและประเมนิ ผล

หนว่ ยท่ี ตัวชวี้ ดั (Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)

(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรยี นร้/ู แนวทางการวดั วธิ กี ารและเครื่องมือการวดั
ประเมนิ ผล ประเมินผล
8. ระบอุ วัยวะ
บรรยายหนา้ ทีข่ อง -ระบุ -ด้านความรู้ K -นกั เรยี นระบุอวัยวะของระบบประสาท 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
อวยั วะในระบบ -บรรยาย รายบุคคล
ประสาทส่วนกลาง -ตระหนัก -ผ้เู รียนระบอุ วัยวะและ บรรยายหน้าทีข่ องอวยั วะใน และบรรยายลกั ษณะหน้าทีข่ องสมอง 2. ประเมนิ ทักษะ
ในการควบคุมการ -บอก ระบบประสาทส่วนกลางในการควบคมุ การทำงาน ไขสนั หลัง และเสน้ ประสาท กระบวนการ
ทำงานต่าง ๆ ของ แนวทาง ต่าง ๆ ของร่างกาย 3. ตรวจแบบฝึกหัด/
ร่างกาย และ -นักเรียนบรรยายการทำางานรว่ มกัน แบบทดสอบ
ตระหนักถึง -ดา้ นทักษะกระบวนการ P
ความสำคัญ โดยการ ของสมองไขสนั หลังและเส้นประสาทใน
บอกแนวทางในการ -ระบุ การควบคุมการทำางานของอวัยวะต่าง
ดแู ลรักษารวมถึง
การป้องกันการ -ด้านสมรรถนะตามหลักสูตร C ๆ รวมถึงการแสดงพฤติกรรมเพอื่
กระทบกระเทือน
และอนั ตรายต่อ -ความสามารถในการคิด การตอบสนองต่อสง่ิ เร้า
สมองและไขสนั หลงั
-ความสามารถในการสอ่ื สาร -นักเรยี นบอกแนวทางในการดแู ลรักษา
-ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ระบบประสาทใหท้ ำางานเป็นปกติ

-ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ A
-ตระหนกั ถึงความสำคัญของระบบประสาท

~ 38 ~

หลกั ฐานการเรียนรู(้ Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วิธกี ารและเครอื่ งมือการวัดและประเมินผล

หนว่ ยท่ี ตวั ชีว้ ดั (Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
9.ระบุอวยั วะและ พฤติกรรมการเรยี นรู้ หลักฐานการเรยี นรู/้ แนวทางการวัด วธิ กี ารและเคร่ืองมือการวัด
บรรยายหน้าทขี่ อง -ระบุ ประเมินผล ประเมินผล
อวัยวะในระบบ -บรรยาย
สืบพนั ธ์ขุ องเพศชาย -ตระหนัก -ด้านความรู้ K -นักเรียนบรรยายอวยั วะและหนา้ ท่ีของ 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
และเพศหญิง และ -ผ้เู รยี นระบอุ วยั วะและบรรยายหนา้ ทข่ี องอวัยวะใน
ตระหนกั ถึงการ ระบบสืบพันธ์ขุ องเพศชายและเพศหญงิ อวัยวะในระบบสืบพันธุ์ของเพศชายและ รายบคุ คล
เปลยี่ นแปลงของ -ด้านทักษะกระบวนการ P
รา่ งกายเม่ือเขา้ สูว่ ัย -ระบุ เพศหญงิ 2. ประเมินทักษะ
หนุ่มสาว โดยการ -บรรยาย
ดแู ลรกั ษาร่างกาย -ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร C -นกั เรยี นอธบิ ายผลของฮอร์โมนเพศชาย กระบวนการ
และจิตใจของตนเอง -ความสามารถในการคดิ
ในชว่ งที่มีการ -ความสามารถในการส่อื สาร และเพศหญงิ ท่ีควบคุมการเปล่ยี นแปลง 3. ตรวจแบบฝกึ หัด/
เปลีย่ นแปลง -ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
-ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ A ของรา่ งกายเม่ือเข้าสวู่ ยั หนมุ่ สาว แบบทดสอบ
-ตระหนักถึงการเปล่ยี นแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่
วยั หนมุ่ สาว

~ 39 ~

หลักฐานการเรียนร(ู้ Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธกี ารและเครื่องมือการวดั และประเมินผล

หนว่ ยท่ี ตัวชีว้ ัด(Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
10.อธบิ ายการตกไข่ พฤติกรรมการเรยี นรู้ หลกั ฐานการเรียนร/ู้ แนวทางการวัด วิธีการและเครื่องมือการวัด
การมปี ระจำเดือน ประเมนิ ผล ประเมนิ ผล
การปฏิสนธิ และ
การพัฒนาของไซ -อธิบาย -ด้านความรู้ K -นักเรยี นอธบิ ายกระบวนการตกไข่ การ 1. สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
โกตจนคลอดเปน็ -เลอื กวิธีการ -ผเู้ รียนอธบิ ายการตกไข่ การมปี ระจำเดือนการ มีประจำาเดือน การปฏสิ นธิและการ รายบุคคล
ทารกและเลอื ก คุมกำเนิด ปฏสิ นธิ และการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเปน็ พัฒนาจากไซโกตเปน็ เอม็ บรโิ อ 2. ประเมนิ ทกั ษะ
วิธกี ารคมุ กำเนิดท่ี -ตระหนกั ทารก จนกระท่ังคลอดเปน็ ทารก กระบวนการ
เหมาะสมกับ -นกั เรยี นอธบิ ายหลกั การของการ 3. ตรวจแบบฝึกหัด/
สถานการณ์ที่ -ด้านทักษะกระบวนการ P คุมกำเนิดแบบต่างๆ แบบทดสอบ
กำหนดและ -อธิบาย -นกั เรยี นเลอื กวธิ ีการคมุ กำาเนิดที่
ตระหนักถึง -เลือกวธิ กี ารคุมกำเนิด เหมาะสมกับสถานการณท์ ี่กำหนด
ผลกระทบของการ -ด้านสมรรถนะตามหลักสูตร C
ต้งั ครรภก์ ่อนวยั อัน -ความสามารถในการคิด
ควร โดยการ -ความสามารถในการสื่อสาร
ประพฤตติ นให้ -ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
เหมาะสม -ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ A
-ตระหนักถงึ ผลกระทบของการต้ังครรภ์กอ่ นวัยอัน
ควร

~ 40 ~

หลักฐานการเรยี นรู้(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ ีการและเครอ่ื งมือการวดั และประเมินผล

หนว่ ยท่ี ตวั ชีว้ ัด(Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
11. อธบิ ายและ พฤติกรรมการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนร้/ู แนวทางการวดั วิธีการและเครื่องมือการวดั
คำนวณอตั ราเร็ว -อธบิ าย ประเมนิ ผล ประเมินผล
และความเรว็ ของ -คำนวณ
การเคล่ือนที่ของ -เขยี น -ดา้ นความรู้ K 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้
วัตถุ โดยใช้ แผนภาพ -ผู้เรยี นอธบิ ายและคำนวณอัตราเรว็ และความเร็ว รายบุคคล
สมการ ของการเคล่ือนทีข่ องวตั ถุพร้อมท้ังเขยี นแผนภาพ 2. ประเมินทกั ษะ
แสดงการกระจัดและความเร็ว กระบวนการ
จากหลกั ฐานเชิง -ด้านทกั ษะกระบวนการ P 3. ตรวจแบบฝกึ หัด/
ประจักษ์พร้อมทั้ง -อธบิ าย -ผู้เรยี นอธิบายและคำนวณอัตราเร็วและ แบบทดสอบ
เขียนแผนภาพแสดง -คำนวณ ความเรว็ ของการเคล่ือนท่ีของวตั ถุพรอ้ ม
การกระจัดและ -เขียนแผนภาพ ท้ังเขยี นแผนภาพแสดงการกระจัดและ
ความเร็ว ความเรว็

-ดา้ นสมรรถนะตามหลักสูตร C
-ความสามารถใน
การคิด-ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
-ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ A

12.พยากรณ์การ -พยากรณ์ -ดา้ นความรู้ K -อธบิ ายวธิ กี ารเขยี นแผนภาพของแรง 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้
เคล่ือนท่ีของวัตถุที่ -เขียน -ผู้เรยี นพยากรณ์การเคลื่อนท่ีของวัตถุทีเ่ ป็นผลของ และวธิ ีการหาขนาดของแรงลัพธท์ ่เี กิด รายบุคคล
เปน็ ผลของแรงลัพธ์ แผนภาพ แรงลัพธท์ เ่ี กดิ จากแรงหลายแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุใน จากแรงหลายแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถใุ น 2. ประเมินทักษะ
ท่เี กดิ จากแรงหลาย แนวเดียวกันพรอ้ มท้ังเขียนแผนภาพแสดงแรงและ ระนาบเดยี วกัน กระบวนการ

~ 41 ~

หลกั ฐานการเรียนร(ู้ Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วธิ กี ารและเครอ่ื งมือการวดั และประเมนิ ผล

หนว่ ยท่ี ตวั ชีว้ ัด(Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
แรงท่กี ระทำต่อวตั ถุ พฤติกรรมการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนรู/้ แนวทางการวดั วธิ กี ารและเครื่องมือการวัด
ในแนวเดียวกนั จาก ประเมนิ ผล ประเมินผล
หลักฐานเชิง
ประจักษ์พร้อมทง้ั แรงลพั ธท์ ี่เกิดจากแรงหลายแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุใน -อธิบายผลของแรงลพั ธท์ มี่ ตี ่อการ 3. ตรวจแบบฝึกหดั /
เขียนแผนภาพแสดง แนวเดยี วกนั เปลย่ี นแปลงการเคลื่อนทีข่ องวตั ถุ แบบทดสอบ
แรงและแรงลัพธ์ที่ -ด้านทกั ษะกระบวนการ P
เกดิ จากแรงหลาย -พยากรณ์
แรงที่กระทำต่อวตั ถุ -เขียนแผนภาพ
ในแนวเดียวกนั -ดา้ นสมรรถนะตามหลักสูตร C
-ความสามารถในการคิด
-ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
-ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ A

13. อธิบายแรงเสียด -อธบิ าย -ด้านความรู้ K -อธิบายแรงเสียดทานสถิตและแรงเสยี ด 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
ทานสถิตและแรง -ผู้เรยี นอธิบายแรงเสียดทานสถติ และแรงเสียดทาน ทานจลน์ รายบุคคล
เสยี ดทานจลนจ์ าก จลนจ์ ากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ 2. ประเมนิ ทักษะ
หลกั ฐานเชิง -ด้านทักษะกระบวนการ P กระบวนการ
ประจักษ์ -อธบิ าย 3. ตรวจแบบฝกึ หัด/
-ดา้ นสมรรถนะตามหลักสูตร C แบบทดสอบ
-ความสามารถในการสอื่ สาร
-ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ A

~ 42 ~

หลักฐานการเรยี นร(ู้ Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธกี ารและเครอ่ื งมือการวดั และประเมนิ ผล

หนว่ ยท่ี ตวั ชว้ี ดั (Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
14.ออกแบบการ พฤติกรรมการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรยี นรู้/แนวทางการวดั วิธกี ารและเครื่องมือการวัด
ทดลองและทดลอง -ออกแบบ ประเมนิ ผล ประเมนิ ผล
ด้วยวิธีท่ีเหมาะสม การทดลอง
ในการอธิบายปัจจัย -เขียน -ดา้ นความรู้ K -เปรยี บเทยี บแรงเสียดทานสถติ และ 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้
ทม่ี ผี ลตอ่ ขนาดของ แผนภาพ -ผเู้ รยี นอธบิ ายปัจจัยทม่ี ีผลต่อขนาดของแรงเสยี ด แรงเสยี ดทานจลน์ รายบุคคล
แรงเสยี ดทานพร้อม ทานพร้อมท้ังเขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและ -อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งขนาดของ 2. ประเมินทกั ษะ
ทัง้ เขยี นแผนภาพ แรงอนื่ ๆ ท่ีกระทำต่อวตั ถุ แรงเสยี ดทานระหวา่ งผวิ สมั ผัสของวัตถุ กระบวนการ
แสดงแรงเสียดทาน -ด้านทกั ษะกระบวนการ P กบั ลักษณะผวิ สมั ผสั และขนาดของแรง 3. ตรวจแบบฝกึ หัด/
และแรงอืน่ ๆ ที่ -ออกแบบการทดลอง ปฏกิ ริ ิยาต้ังฉากระหวา่ งผิวสมั ผัส แบบทดสอบ
กระทำต่อวตั ถุ -เขียนแผนภาพ
-ดา้ นสมรรถนะตามหลักสตู ร C
-ความสามารถในการคิด

-ความสามารถในการแกป้ ัญหา

-ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ A

15.ตระหนักถึง -ตระหนัก -ดา้ นความรู้ K -ยกตวั อย่างกิจกรรมที่ตอ้ งการเพิ่มหรือ 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
ประโยชน์ของ -ผู้เรยี นตระหนักถงึ ประโยชน์ของความรเู้ รอื่ งแรง ลดแรงเสียดทานในชวี ติ ประจำาวัน รายบุคคล
ความรู้เรือ่ งแรงเสียด เสียดทานโดยวเิ คราะห์สถานการณ์ปัญหาและ 2. ประเมินทักษะ
ทานโดยวิเคราะห์ เสนอแนะวธิ ีการลดหรือเพิ่มแรงเสียดทานที่เปน็ กระบวนการ
สถานการณป์ ัญหา ประโยชนต์ ่อการทำกิจกรรมในชวี ิตประจำวนั 3. ตรวจแบบฝึกหัด/
และเสนอแนะ -ดา้ นทักษะกระบวนการ P แบบทดสอบ
วธิ กี ารลดหรือเพม่ิ -ความสามารถในการคดิ

~ 43 ~

หลกั ฐานการเรียนรู้(Evidence of learning) แนวทางการประเมิน วิธกี ารและเคร่อื งมือการวดั และประเมนิ ผล

หนว่ ยท่ี ตวั ชว้ี ดั (Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
แรงเสยี ดทานท่ีเปน็ พฤติกรรมการเรยี นรู้ หลักฐานการเรยี นรู/้ แนวทางการวดั วิธีการและเคร่ืองมือการวดั
ประโยชน์ตอ่ การทำ ประเมินผล ประเมินผล
กจิ กรรมใน
ชีวิตประจำวนั -ความสามารถในการแก้ปัญหา

-ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

-ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร C

-ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ A
-ตระหนักถึงประโยชน์ของความร้เู ร่ืองแรงเสียดทาน

16. ออกแบบการ -ออกแบบ -ด้านความรู้ K -ระบทุ ิศทางของแรงท่ีของเหลวกระทำา 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
ทดลองและทดลอง การทดลอง
ด้วยวิธีทเ่ี หมาะสม -ทดลอง -ผ้เู รียนอธิบายปัจจัยทม่ี ผี ลต่อความดันของของเหลว ต่อวัตถุ รายบุคคล
ในการอธิบายปัจจยั
ทมี่ ีผลต่อความดัน -ด้านทักษะกระบวนการ P - อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งแรงท่ี 2. ประเมนิ ทักษะ
ของของเหลว
-ออกแบบการทดลอง ของเหลวกระทำต่อวตั ถุกับความดันของ กระบวนการ

-ทดลอง ของเหลว 3. ตรวจแบบฝึกหัด/

-ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร C -อธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งความดนั แบบทดสอบ

-ความสามารถในการคดิ ของของเหลวกบั ความลกึ จากระดับ

-ความสามารถในการแก้ปญั หา ผวิ หนา้ ของของเหลว

-ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ A

~ 44 ~

หลกั ฐานการเรียนร้(ู Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธกี ารและเคร่ืองมือการวดั และประเมินผล

หนว่ ยท่ี ตวั ชี้วดั (Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)

(Key Word) พฤติกรรมการเรียนรู้ หลกั ฐานการเรียนร/ู้ แนวทางการวดั วิธีการและเคร่ืองมือการวัด
ประเมนิ ผล ประเมนิ ผล
17. วิเคราะหแ์ รง -วเิ คราะห์
พยุงและการจม การ -เขียน -ดา้ นความรู้ K 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
ลอยของวตั ถใุ น แผนภาพ
ของเหลวจาก -ผ้เู รียนวเิ คราะหแ์ รงพยุงและการจม การลอยของ -อธิบายแรงพยุงของของเหลวท่กี ระทำา รายบุคคล
หลักฐานเชิง
ประจักษ์พร้อมทั้ง วัตถุในของเหลวจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์พร้อมทง้ั ต่อวตั ถุ 2. ประเมินทกั ษะ
เขยี นแผนภาพแสดง
แรงท่ีกระทำต่อวัตถุ เขยี นแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทำตอ่ วัตถุในของเหลว - ระบุการจมหรอื การลอยของวัตถใุ น กระบวนการ
ในของเหลว
-ด้านทักษะกระบวนการ P สถานการณ์ต่างๆโดยพิจารณาจาก 3. ตรวจแบบฝึกหดั /
18.ออกแบบการ -ออกแบบ
ทดลองและทดลอง การทดลอง -วเิ คราะห์ น้ำหนักของวัตถุและแรงพยุง แบบทดสอบ
ด้วยวธิ ีที่เหมาะสม -ทดลอง
ในการอธิบาย -เขยี นแผนภาพ -เขยี นแผนภาพแสดงแรงพยงุ ของ
โมเมนต์ของแรง เมื่อ
วัตถอุ ยใู่ นสภาพ -ดา้ นสมรรถนะตามหลักสตู ร C ของเหลวและน้ำหนักของวัตถุทีท่ ำาให้
สมดุลต่อการหมนุ
และคำนวณโดยใช้ -ความสามารถในการคิด วัตถจุ มหรือลอย
สมการ M = Fl
-ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ A

-ด้านความรู้ K -นักเรียนอธิบายโมเมนต์ของแรงเม่ือวัตถุ 1. สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
ผ้เู รียนอธิบายโมเมนต์ของแรง เม่อื วัตถุอยู่ในสภาพ อยู่ในสภาพสมดุลต่อการหมุนและ รายบคุ คล
สมดลุ ต่อการหมุน และคำนวณโดยใชส้ มการ คำนวณโดยใช้สมการ 2. ประเมนิ ทักษะ
M = Fl M = Fl กระบวนการ
-ด้านทกั ษะกระบวนการ P -นกั เรยี นออกแบบการทดลองและ 3. ตรวจแบบฝึกหดั /
-ออกแบบการทดลอง ทดลองด้วยวธิ ีทีเ่ หมาะสมในการอธบิ าย แบบทดสอบ
-ทดลอง โมเมนต์ของแรง เม่ือวตั ถุอยูใ่ นสภาพ
-ดา้ นสมรรถนะตามหลักสูตร C สมดุลตอ่ การหมุน
-ความสามารถในการคดิ

-ความสามารถในการแกป้ ัญหา

~ 45 ~

หลกั ฐานการเรยี นร้(ู Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธกี ารและเครื่องมือการวดั และประเมนิ ผล

หนว่ ยท่ี ตวั ชวี้ ัด(Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
พฤติกรรมการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนร/ู้ แนวทางการวัด วธิ ีการและเครื่องมือการวดั
ประเมินผล ประเมินผล

-ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ A

-นักเรียนเปรียบเทียบแหล่งของ 1. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้

19. เปรียบเทยี บ เปรยี บเทียบ -ดา้ นความรู้ K สนามแม่เหล็กสนามไฟฟา้ และสนาม รายบคุ คล
แหลง่ ของ -เขยี น -ผเู้ รียนเปรียบเทยี บแหล่งของสนามแม่เหล็ก โน้มถ่วง และทศิ ทางของแรงท่ีกระทำต่อ 2. ประเมินทักษะ
สนามแม่เหลก็ แผนภาพ สนามไฟฟา้ และสนามโนม้ ถ่วง และทศิ ทางของแรง วตั ถุ กระบวนการ
สนามไฟฟ้า และ ทีก่ ระทำต่อวตั ถุ -นักเรยี นเขยี นแผนภาพแสดงแรง 3. ตรวจแบบฝกึ หดั /
สนามโนม้ ถ่วง และ แมเ่ หลก็ แรงไฟฟา้ และแรงโน้มถว่ งที่ แบบทดสอบ
ทิศทางของแรงที่
กระทำตอ่ วัตถุท่อี ยู่ -ดา้ นทักษะกระบวนการ P กระทำต่อวัตถุ
ในแตล่ ะสนามจาก
ข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ -เปรยี บเทียบ
พร้อมท้ังเขียน
แผนภาพแสดงแรง -เขยี นแผนภาพ
แมเ่ หลก็ แรงไฟฟา้
และแรงโนม้ ถว่ งที่ -ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร C
กระทำต่อวตั ถุ -ความสามารถในการคดิ

-ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ A

~ 46 ~

หลกั ฐานการเรยี นรู้(Evidence of learning) แนวทางการประเมนิ วิธกี ารและเคร่อื งมือการวัดและประเมินผล

หนว่ ยที่ ตัวชี้วัด(Indicator) คำสำคญั (Learning Assessment)
(Key Word)
20. วเิ คราะห์ พฤติกรรมการเรยี นรู้ หลกั ฐานการเรียนรู้/แนวทางการวัด วิธกี ารและเคร่ืองมือการวัด
ความสัมพนั ธ์ -วเิ คราะห์ ประเมนิ ผล ประเมนิ ผล
ระหว่างขนาดของ
แรงแมเ่ หล็ก แรง -ด้านความรู้ K -นกั เรียนวเิ คราะห์ความสัมพันธ์ระหวา่ ง 1. สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้
ไฟฟ้า และแรงโน้ม
ถ่วงทก่ี ระทำต่อวตั ถุ -ผู้เรียนวเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของแรง ขนาดของแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟา้ และ รายบคุ คล
ทอี่ ยู่ในสนามนั้น ๆ
กบั ระยะห่างจาก แมเ่ หล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโนม้ ถ่วงที่กระทำตอ่ วตั ถุ แรงโน้มถ่วงทกี่ ระทำต่อวตั ถุท่ีอยู่ใน 2. ประเมินทกั ษะ
แหลง่ ของสนามถึง
วัตถุจากข้อมลู ที่ ที่อยูใ่ นสนามนั้น ๆ กบั ระยะหา่ งจากแหล่งของสนาม สนามนัน้ ๆ กบั ระยะหา่ งจากแหลง่ ของ กระบวนการ
รวบรวมได้
ถึงวตั ถุ สนามถึงวัตถุ 3. ตรวจแบบฝึกหดั /

-ดา้ นทักษะกระบวนการ P แบบทดสอบ

-วเิ คราะห์

-ด้านสมรรถนะตามหลักสตู ร C

-ความสามารถใน

การคิด

-ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ A

~ 47 ~

ตารางท่ี 5 ตารางกำหนดน้ำหนักคะแนนการวัดและประเมินผล

คะแนน คะแนนตามชว่ งเวลาการวัดแลประเมนิ ผล

หน่วย น้ำหนกั ตามพิสยั ระหวา่ งเรยี น กลาง ปลาย
ท่ี คะแนน (F)
รหสั ตวั ชวี้ ัด/ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ภาค ภาค รวม
(S1) (S2 )

K PA KPA K K

1 1. ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธบิ ายผลของชนิดตัวละลาย ชนิดตวั ทำละลาย อณุ หภมู ิ 10 8 1 1 11 8 10

ที่มตี ่อสภาพละลายไดข้ องสาร รวมทง้ั อธบิ ายผลของความดันทมี่ ตี ่อสภาพละลายไดข้ องสาร โดยใช้

สารสนเทศ

2. ระบปุ ริมาณตวั ละลายในสารละลาย ในหน่วยความเขม้ ขน้ เป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร มวล 12 11 1 1 11 12
11 2
ตอ่ มวล และมวลต่อปริมาตร 31 4
111 3
3. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการนำความร้เู ร่ืองความเข้มข้นของสารไปใช้ โดยยกตัวอย่างการใช้ 2 1 1

สารละลายในชวี ิตประจำวันอย่างถูกต้องและปลอดภยั

2. 4. บรรยายโครงสร้างและหน้าท่ขี องหัวใจหลอดเลือด และเลือด พรอ้ มท้งั อธบิ ายการทำงานของ 4 3 1

ระบบหมุนเวียนเลอื ด โดยใช้แบบจำลอง

5. ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทียบอัตราการเต้นของหวั ใจ ขณะปกติและหลัง 3 1 1 1

ทำกจิ กรรมและ ตระหนักถึงความสำคญั ของระบบหมุนเวยี นเลือด โดยการบอกแนวทางในการ

ดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหมุนเวียนเลือดใหท้ ำงานเปน็ ปกติ

6.ระบุ อธิบายโครงสร้าง หน้าท่ี การทำงานของระบบหายใจ และตระหนักถงึ ความสำคัญ โดย 6 5 1 51 6

การบอกแนวทางในการดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบหายใจให้ทำงานเปน็ ปกติ

~ 48 ~

คะแนน คะแนนตามชว่ งเวลาการวัดแลประเมนิ ผล
ตามพิสัย
หนว่ ย น้ำหนัก ระหวา่ งเรยี น กลาง ปลาย
ที่ คะแนน K PA (F)
รหสั ตวั ช้วี ดั /ตัวชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ 21 ภาค ภาค รวม
31 (S1) (S2 )

51 KPA K K

2 7.ระบอุ วัยวะ บรรยายหนา้ ที่ของอวยั วะในระบบขับถา่ ยในการกำจัดของเสียทางไต และตระหนัก 3 51 11 3

ถึงความสำคัญ โดยการบอกแนวทางในการปฏบิ ตั ิตนท่ีช่วยให้ระบบขับถา่ ยทำหนา้ ทีไ่ ด้อยา่ งปกติ 61

8. ระบุอวัยวะ บรรยายหนา้ ท่ีของอวยั วะในระบบประสาทส่วนกลางในการควบคมุ การทำงานต่าง 4 31 4

ๆ ของร่างกาย และ ตระหนกั ถงึ ความสำคัญ โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษารวมถึงการ

ปอ้ งกนั การกระทบกระเทอื นและอนั ตรายตอ่ สมองและไขสนั หลัง

9.ระบอุ วัยวะและบรรยายหน้าทขี่ องอวัยวะในระบบสืบพนั ธข์ุ องเพศชายและเพศหญงิ และ 6 51 6

ตระหนกั ถึงการเปลีย่ นแปลงของร่างกายเม่ือเข้าสวู่ ัยหนุ่มสาว โดยการดูแลรักษารา่ งกายและจติ ใจ

ของตนเองในชว่ งท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลง

10.อธิบายการตกไข่ การมปี ระจำเดือนการปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกตจนคลอดเปน็ ทารก 6 51 8

และเลือกวิธีการคมุ กำเนดิ ท่ีเหมาะสมกบั สถานการณท์ ี่กำหนดและตระหนักถงึ ผลกระทบของการ

ต้งั ครรภก์ ่อนวยั อันควร โดยการประพฤติตนให้เหมาะสม

3 11. อธิบายและคำนวณอตั ราเร็วและความเร็วของการเคลื่อนท่ีของวัตถุ โดยใช้ 7 1 67

สมการ จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์พร้อมท้ังเขยี นแผนภาพแสดงการ
กระจัดและความเรว็

~ 49 ~

คะแนน คะแนนตามช่วงเวลาการวดั แลประเมนิ ผล
ตามพิสัย
หนว่ ย นำ้ หนกั ระหวา่ งเรยี น กลาง ปลาย
ท่ี คะแนน K PA (F)
รหัสตวั ช้ีวัด/ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ 41 ภาค ภาค รวม
(S1) (S2 )
21
1 11 KPA K K
11
3 12.พยากรณ์การเคลือ่ นที่ของวตั ถุท่ีเปน็ ผลของแรงลัพธท์ เ่ี กิดจากแรงหลายแรงท่กี ระทำต่อวัตถุใน 5 2 11 1 45
41
แนวเดียวกนั จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์พร้อมท้งั เขยี นแผนภาพแสดงแรงและแรงลพั ธ์ที่เกิดจากแรง 4 11

หลายแรงทกี่ ระทำต่อวตั ถุในแนวเดียวกนั

13. อธิบายแรงเสียดทานสถิตและแรงเสยี ดทานจลน์จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ 3 1 23
11 13
14.ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายปจั จยั ทีม่ ผี ลต่อขนาดของแรง 3 -2
1 24
เสียดทานพร้อมท้ังเขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอื่น ๆ ทกี่ ระทำต่อวตั ถุ 11
54
15.ตระหนักถึงประโยชน์ของความร้เู รอื่ งแรงเสยี ดทานโดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและ 2 1 46
11
เสนอแนะวธิ กี ารลดหรือเพ่ิมแรงเสียดทานทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ การทำกจิ กรรมในชีวิตประจำวัน

16. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีทเี่ หมาะสมในการอธบิ ายปจั จัยท่ีมผี ลต่อความดนั ของ 4

ของเหลว

17. วิเคราะห์แรงพยงุ และการจม การลอยของวตั ถุในของเหลวจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์พร้อมทง้ั 6

เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทำต่อวตั ถุในของเหลว

18.ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีท่เี หมาะสมในการอธบิ ายโมเมนต์ของแรง เม่ือวตั ถอุ ยู่ 6

ในสภาพสมดลุ ต่อการหมุน และคำนวณโดยใช้สมการ M = Fl

~ 50 ~

คะแนน คะแนนตามชว่ งเวลาการวดั แลประเมนิ ผล
ตามพสิ ยั
หนว่ ย นำ้ หนัก ระหว่างเรยี น กลาง ปลาย
ที่ คะแนน K PA (F)
รหัสตวั ชว้ี ดั /ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ 31 ภาค ภาค รวม
(S1) (S2 )
31
KPA K K

19. เปรียบเทยี บแหลง่ ของ สนามแม่เหล็กสนามไฟฟา้ และสนามโน้มถว่ ง และทิศทางของแรงท่ี 4 1 34
กระทำต่อวตั ถุท่ีอยู่ในแต่ละสนามจากข้อมลู ท่รี วบรวมไดพ้ ร้อมทง้ั เขยี นแผนภาพแสดงแรงแมเ่ หล็ก 4
แรงไฟฟา้ และแรงโนม้ ถว่ งทกี่ ระทำต่อวัตถุ 1 33
20. วเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธร์ ะหวา่ งขนาดของแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟา้ และแรงโน้มถว่ งที่กระทำต่อ
วตั ถทุ ่อี ยู่ในสนามน้นั ๆ กับระยะหา่ งจากแหล่งของสนามถึงวตั ถจุ ากข้อมูลทีร่ วบรวมได้

คะแนนรวม 100 64 16 20 14 16 20 20 30 100
50


Click to View FlipBook Version