สามัคคีเภ
ทคำฉั นท์
ร ะ ดั บ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ ๖
เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ รีย น วิ ช า ภ า ษ า ไ ท ย
จั ด ทำ โ ด ย นั ก เ รีย น โ ร ง เ รีย น มั ธ ย ม วั ด ห น อ ง แ ข ม
รายงานวิชาการ
เรื่อง สามัคคีเภทคำฉันท์
เสนอ
คุณครู ณัฐยา อาจมังกร
จัดทำโดย
ชลนิ ภา อินทร์ชา เลขที่ ๑๙
ณัชชา ตั้งวิทูวนิ ช เลขที่ ๒๑
พิชญาภา กิจสวน เลขที่ ๓๐
อนงค์นุช นิ ตอินทร์ เลขที่ ๓๖
พัตรพิมล เกลี้ยงโคกสูง เลขที่ ๓๙
ชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ ๖.๒
รายงานนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของวิชาภาษาไทย
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๕
โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม
กรุ งเทพมหานคร
ก
คำนำ
หนั งสือ E-BOOK ฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของรายวิชาภาษาไทย
ในระดับชั้นมัธยมศึ กษาตอนปลายปี ที่ ๖ โดยมีจุดประสงค์เพื่อ
การศึ กษาและให้ผู้อ่านได้ค้นคว้าประวัติและความเป็ นมาของ
สามัคคีเภทคำฉันท์ ทั้งนี้ ในหนั งสือฉบับนี้ ได้จัดพิมพ์เป็ น
หนั งสือ E-BOOK เพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าถึง
การศึ กษาค้นคว้าและนำเสนอบทสามัคคีเภทคำฉันท์
ซึ่งมีเนื้ อหาประกอบด้วย
ความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็ นมา ประวัติผู้แต่ง จุดประสงค์ใน
การแต่ง ที่มาของเรื่องลักษณะคำประพันธ์ เรื่องย่อ
ก่อนบทเรียน การถอดคำประพันธ์ การอธิบายคำศั พท์จาก
เนื้ อเรื่องรวมไปถึงคุณค่าทางวรรณคดี
คณะผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อนี้ ในการทำรายงาน เนื่ องมาจากมี
ความสนใจในเนื้ อหาและเป็ นคติข้อคิดที่ใกล้ตัว
คณะผู้จัดทำต้องขอขอบคุณคุณครู ณัฐยา อาจมังกร ผู้ให้
ความอนุเคราะห์ ความรู้และคำแนะนำ คณะผู้จัดทำหวังว่า
หนั งสื อฉบับนี้ จะสามารถเป็ นส่วนหนึ่ งในการสร้างเสริมความ
เข้าใจในบทสามัคคีเภทคำฉันท์ และเป็ นประโยชน์
แก่ผู้อ่านทุกท่านหากมีข้อเสนอแนะประการใดคณะผู้จัดทำขอ
น้ อมรับไว้ด้วยความขอบคุณอย่างยิ่ง
คณะผู้จัดทำ
ข สารบั ญ
เรื่อง หน้ า
คำนำ ก
ส า ร บั ญ ข
ผู้ แ ต่ ง แ ล ะ ป ร ะ วั ติ ข อ ง ผู้ แ ต่ ง ๑
ที่ มาของเรื่อง ๒
จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร แ ต่ ง ๓
เ รื่ อ ง ย่ อ ก่ อ น บ ท เ รี ย น ๔
สารบั ญ ค
เรื่อง หน้ า
ลั ก ษ ณ ะ คำ ป ร ะ พั น ธ์ ๕
ถอดคำประพันธ์ และ
๑๒
อธิ บายคำศั พท์
๖๕
คุ ณ ค่ า ท า ง ว ร ร ณ ค ดี ๗๖
บรรณานุ กรม
๑ ผู้แต่ ง
มีความรู้ความชำนาญใน ชิ ต บุ รทั ต
การอ่านคำประพันธ์ประเภท
ร้อยกรอง เป็ นทำนองเสนาะ 2014-2016
กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ มีชื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่ ๖
ศึ กษาการแต่งกลอนและ
ภาษาบาลีจากบิดา เกี่ยวกับตัวฉั น
ผลงานที่โดดเด่น วันเกิด : วันที่ ๖ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕
เข้าร่วมแต่งฉั นท์สมโภช บิดาชื่อ : ชู
ในงาน มารดาชื่อ : ปริก
พระราชพิธีฉั ตรมงคล ถึงแก่กรรม : วันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๕
พระบาทสมเด็ จ
พระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่ หั ว สถานศึ กษา
เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๔
ประถมศึ กษา :
สามัคคีเภทคำฉั นท์ โรงเรียนวัดราชบพิธสถิตมหาสี มาราม
ตีพิมพ์ในหนั งสื อพิมพ์ที่ มัธยมศึ กษา :
มีชื่อว่า สมุทสารประตูใหม่ โรงเรียนวัดสุทัศน์ เทพวราราม
สุ ภาพบุรุ ษ พิมพ์ไทย
หมวดหมู่ผลงาน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัว ทรงพอพระราชหฤทัย ๐ สดุดี ๐ ชมธรรมชาติ
๐ ชาดก ๐ เบ็ดเตล็ด
บทกวีนิ พนธ์ปลุกใจเรื่อง ๐ คติคำสอน
"ชาติปิ ยานุศร" จึงพระราชทาน
นามปากกา
นามสกุล บุรทัต
เอกชน (ประพันธ์เป็ นครั้งแรก)
เจ้าเงาะ
แมวคราว
๒
ที่มา ในสมัยรัชกาลที่ ๖ เกิดวิกฤตการณ์
สงครามโลกครั้งที่ ๑ และ เกิดกบฏ
ร.ศ. ๑๓๐ ซึ่งส่งผลกระทบต่อความมั่นคง
ของเรื่อง ของบ้านเมือง นายชิต บุรทัต จึงได้แต่ง
เรื่องสามัคคีเภทคำฉันท์ขึ้น เพื่อมุ่งชี้ให้
เห็นความสำคัญของการรวมกันเป็ นหมู่คณะ
เรื่องสามัคคีเภทคำฉันท์ เป็ นนิ ทานสุภาษิต
ในมหาปรินิ พพานสูตร และ
อรรถกถาสุมังคลวิลาสินี ทีฆนิ กายมหาวรรค
ลงพิมพ์ในหนั งสือธรรมจักษุ ของมหามกุฎ
ราชวิทยาลัย โดยเรียบเรียงเป็ นภาษาบาลี
๓
วัตถุประสงค์
เพื่อมุ่งชี้ความสำคัญของการรวมเป็ น
หมู่คณะ เป็ นน้ำหนึ่ งใจเดียวกันเพื่อ
ป้ องกันรักษาบ้านเมืองให้มีความเป็ น
ปึ กแผ่น สามัคคีเภทคำฉันท์ เป็ นกวี
นิ ทานสุภาษิต ว่าด้วย “โทษแห่งการ
แตกสามัคคี” ภายหลังได้รับการ
ยกย่องเป็ นตำราเรียวรรณกรรมไทยที่
สำคัญเล่มหนึ่ งทั้งในอดีตและปั จจุบัน
เรื่องย่อ ๔
พระเจ้าอชาตศัตรู กษัตริย์แห่งแคว้นมคธต้องการจะ
ครอบครองแคว้นวัชชีของเหล่ากษัตริย์ลิจฉวี แต่เหล่ากษัตริย์
และชาวเมืองตั้งมั่นอยู่ในอปริหานิยธรรมซึ่งมุ่งให้เกิดความ
สามัคคีเป็นหลัก ดังนั้นการเอาชนะเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีโดยใช้
กำลังเพียงอย่างเดียวจึงเป็นเรื่องยาก วัสสการพราหมณ์เป็น
ปุโรหิตของพระเจ้าอชาตศัตรูคิดกลอุบายตีแคว้นวัชชี
โดยวัสสการพราหมณ์จะอาสาไปเป็นไส้ศึกยุยงให้เหล่า
กษัตริย์ลิจฉวีแตกสามัคคีกัน ต่อมาเมื่อพระเจ้าอชาตศัตรู
เสด็จออกว่าราชการ วัสสการพราหมณ์แกล้งทูลทัดทานการไป
ตีแคว้นวัชชี พระเจ้าอชาตศัตรูแสร้งพิโรธ มีรับสั่งให้เฆี่ยน
แล้วขับไล่ออกจากเมือง
เมื่อวัสสการพราหมณ์ได้เข้าไปอยู่แคว้นวัชชี
ได้ทำหน้าที่พิจารณาคดีความต่างๆ และถวายพระอักษรพระ
กุมารของเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีจนเป็นที่ไว้วางใจ
๕ ลักษณะคำประพันธ์
สามัคคีเภทคำฉันท์ แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภท
ฉันท์ ๑๘ ชนิด และ กาพย์ ๒ ชนิด
ฉันท์ ๑๘ ชนิ ด
กมลฉันท์ ๑๒
ฉันท์ที่มีความไพเราะเหมือนดังดอกบัว
ใช้กับบทที่มีความตื่นเต้นเล็กน้อยและใช้
บรรยายเรื่อง
จิตรปทาฉันท์ ๘
เป็นฉันท์ที่เหมาะสำหรับบทที่น่ากลัว
เอะอะ เกรี้ยวกราด ตื่นเต้นตกใจและกลัว
โตฏกฉันท์ ๑๒
เป็นฉันท์ที่ใช้แต่งกับบทที่แสดงความ
โกรธเคือง ร้อนรน หรือสนุกสนาน คึกคะนอง
ตื่นเต้น และเร้าใจ
๖
ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
เป็นฉันท์ที่มีลีลางามสง่าดุจงูเลื้อย
นิยมใช้แต่งบทที่ดำเนินเรื่องอย่างรวดเร็ว
และคึกคัก
มาณวกฉันท์ ๘
เป็นฉันท์ที่มีลีลาผาดโผน สนุกสนาน
ร่าเริง และตื่นเต้นดุจชายหนุ่ม
มาลินี ฉันท์ ๑๕
เป็นฉันท์ที่ใช้ในการแต่งกลบทหรือ
บรรยายความที่เคร่งขรึม เป็นสง่า
วสันตดิลกฉันท์ ๑๔
เป็นฉันท์ที่มีลีลาไพเราะ งดงาม
เยือกเย็นดุจเม็ดฝน ใช้สำหรับบรรยายหรือ
พรรณนาชื่นชมสิ่งที่สวยงาม
วังสัฏฐฉันท์ ๑๒
เป็นฉันท์ที่มีสำเนียงอันไพเราะเหมือน
เสียงปี่
๗
วิชชุมมาลาฉันท์ ๘
เป็นฉันท์ที่มีท่วงทำนองลีลาดุจสายฟ้าแลบ
ใช้ในการบรรยายความ
คล้ายกาพย์สุรางคนางค์เพียงแต่เพิ่มวรรค
ต้นขึ้นอีก ๑ วรรค
ฉันท์บทหนึ่งมี ๔ บาท บาทละ ๒ วรรค
วรรคละ ๔ คำ
ใช้คำครุในการแต่ง
แผนผังวิชชุมมาลาฉันท์ ๘
๘
สาลินีฉันท์ ๑๑
เป็นบทที่มีคำครุมาก ใช้บรรยายบทที่เป็นเนื้อหา
สาระเรียบๆ
อุปชาติฉันท์ ๑๑
นิยมแต่งสำหรับบทเจรจาหรือบรรยายความเรียบๆ
อุปั ฏฐิตาฉันท์ ๑๑
เป็นฉันท์ที่เหมาะสำหรับใช้บรรยายบทเรียบๆ แต่
ไม่ใคร่มีคนนิยมแต่งมากนัก
อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
เป็นฉันท์ที่มีความไพเราะใช้ในการบรรยายบท
เรียบๆ
อินทรวงศ์ฉันท์ ๑๒
เป็นฉันท์ที่มีลีลาตอนท้ายไม่ราบเรียบคล้ายกลบท
สะบัดสะบิ้ง ใช้ในการบรรยายความหรือพรรณนาความ
๙
สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙
เป็นฉันท์ที่มีลีลาการอ่านสง่างาม เคร่งขรึม มีอำนาจ
ดุจเสือผยอง ใช้แต่งสำหรับบทไหว้ครู บทสดุดี
ยอพระเกียรติ
สัทธราฉันท์ ๒๑
เป็นฉันท์ที่ใช้สำหรับแต่งคำนมัสการ อธิษฐาน
ยอพระเกียรติ หรืออัญเชิญเทวดา ใช้แต่งบทสั้นๆ
อีทิสังฉันท์ ๒๑
เป็นฉันท์ที่มีจังหวะกระแทกกระทั้น เกรี้ยวกราด
โกรธแค้น และอารมณ์รุนแรง เช่น รักมาก โกรธมาก
ตื่นเต้น คึกคะนอง หรือพรรณนาความสับสน
สุรางคนางค์ฉันท์ ๒๘
มีลักษณะการแต่งคล้ายกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
แต่มีข้อบังคับ ครุ ลหุ เพิ่มขึ้นมา ทำให้เกิดความ
ไพเราะมากยิ่งขึ้น เหมาะสำหรับข้อความที่คึกคัก
สนุกสนาน โลดโผน ตื่นเต้น
๑๐
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
มีแบบแผนเหมือนกับ กาพย์ยานี ๑๑ แต่เพิ่ม
ครุ, ลหุ เข้าไป
อินทรวิเชียร แปลว่า เพชรพระอินทร์
อินทรวิเชียรฉันท์ หมายถึง ฉันท์ที่มีลีลาอย่าง
เพชรของพระอินทร์
นิยมใช้แต่งข้อความที่เป็นบทชมหรือบท
คร่ำครวญนอกจากนี้ยังแต่งเป็นบทสวด หรือ
พากย์โขนด้วย
คำครุ หมายถึง คำที่ประสมด้วยสระเสียงยาวใน
แม่ ก กา กับคำที่ประสมด้วยสระเสียงใดก็ได้ที่
มีตัวสะกด
คำลหุ หมายถึง คำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นใน
แม่ ก กา และคำที่ใช้พยัญชนะคำเดียว
๑๑
แผนผังอินทรวิเชียรฉันท์
แทน คำครุุ
ุั
แทน คำลหุ
กาพย์ ๒ ชนิ ด
กาพย์ฉบัง ๑๖
เป็นกาพย์ที่มีลีลาสง่างาม ใช้สำหรับบรรยาย
ความงามหรือดำเนินเรื่องอย่างรวดเร็ว
กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
เป็นกาพย์ที่มีเค้ามาจาก กาพย์กากคติในคัมภีร์กาพย์
สารวิลาสินี และมาจากกาพย์ทัณฑิกา ในกาพย์คันถะ
บทหนึ่ง มี ๗ วรรค ๆ ละ ๔ คำ
ถอดคำประพันธ์ ๑๒
ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
ทิชงค์ชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึ งการ
กษัตริย์ลิจฉวีวาร
ระวังเหือดระแวงหาย
เหมาะแก่การณ์จะเสกสรร
มล้างเหตุพิเฉทสาย ปวัตน์ วัญจโนบาย
สมัครสนธิ์สโมสร
ทิชงค์ หมายถึง พราหมณ์ วัญจโนบาย หมายถึง อุบายหลอกลวง
ปวัตน์ หมายถึง ความเป็ นไป พิเฉท หมายถึง ตัดขาด, ทำลาย
พราหมณ์ ผู้ฉลาดคาดคะเนว่ากษั ตริย์ลิจฉวีวางใจ
คลายความหวาดระแวง เป็ นโอกาสเหมาะที่จะเริ่ม
ดำเนิ นการตามกลอุบายทำลายความสามัคคี
ณ วันหนึ่ งลุถึงกา ลศึ กษาพิชากร
กุมารลิจฉวีวร
เสด็ จพร้อมประชุ มกัน
ตระบัดวัสสการมา
ธ แกล้งเชิญกุมารฉัน สถานราชเรียนพลัน
สนิ ทหนึ่ งพระองค์ไป
พิชากร หมายถึง วิชาความรู้ ตระบัด หมายถึง ทันใด
วันหนึ่ งเมื่อถึงโอกาสที่จะสอนวิชา กุมารลิจฉวีก็เสด็จ
มาโดยพร้อมเพรียงกัน ทันใดนั้ นวัสสการพราหมณ์ก็มาถึง
และแกล้งเชิญพระกุมารพระองค์ที่สนิ ทสนมเข้าไปพบ
๑๓ ถอดคำประพันธ์
ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
ลุห้องหับรโหฐาน ก็ถามการณ์ ณ ทันใด
มิลี้ลับอะไรใน กถาเช่น ธ ปุจฉา
มนุษย์ผู้กระทำนา
จะถูกผิดกระไรอยู่ ประเทียบไถมิใช่หรือ
และคู่โคก็จูงมา
รโหฐาน หมายถึง ที่ลับ ปุจฉา หมายถึง ถาม
เมื่อเข้าไปในห้ องส่ วนตัวแล้วก็ทูลถามเรื่องที่
ไม่ใช่ความลับแต่ประการใด ดังเช่นถามว่า ชาวนาจูง
โคมาคู่หนึ่ งเพื่อเทียมไถใช่หรือไม่
กุมารลิจฉวีขัตติย์ ก็รับอรรถอออือ
ประดุจคำพระอาจารย์
กสิ กเขากระทำคือ นิ วัตในมิช้านาน
sssssก็เท่านั้ น ธ เชิญให้ สมัยเลิกลุเวลา
ประสิทธิ์ศิ ลป์ ประศาสน์ สาร
ขัตติย์ หมายถึง กษัตริย์ นิ วัต หมายถึง กลับ
ประศาสน์ หมายถึง การสั่ งสอน
พระกุมารลิจฉวีก็รับสั่ งเห็นด้วยว่าชาวนาก็คงจะกระทำ
ดังคำของพระอาจารย์ ถามเพียงเท่านั้ นพราหมณ์ก็เชิญให้
เสด็จกลับออกไป ครั้นถึงเวลาเลิกเรียน
ถอดคำประพันธ์ ๑๔
ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
อุรสลิจฉวีสรร พชวนกันเสด็จมา
และต่างซักกุมารรา ชองค์นั้ นจะเอาความ
mmmพระอาจารย์สิ เรียกไป
อะไรเธอเสนอตาม ณ ข้างใน ธ ไต่ถาม
วจีสั ตย์กะส่ำเรา
อุรส หมายถึง โอรส ลูกชาย
เหล่าโอรสลิจฉวีก็พากันมาซักไซ้พระกุมารว่า
พระอาจารย์เรียกเข้าไปข้างใน ได้ไต่ถามอะไรบ้าง
ขอให้บอกมาตามความจริง
กุมารนั้ นสนองสา รวากย์วาทตามเลา
เฉลยพจน์ กะครู เสา วภาพโดยคดีมา
กุมารอื่นก็สงสั ย มิเชื่อในพระวาจา
สหายราช ธ พรรณนา และต่างองค์ก็พาที
เลา หมายถึง เค้า
พระกุมารพระองค์นั้ นก็เล่าเรื่องราวที่พระอาจารย์
เรียกไปถาม แต่เหล่ากุมารสงสัยไม่เชื่อคำพูดของ
พระสหายต่างองค์ก็วิจารณ์
๑๕ ถอดคำประพันธ์
ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
ไฉนเลยพระครู เรา จะพูดเปล่าประโยชน์ มี
เลอะเหลวนั กละล้วนนี รผลเห็น บ เป็ นไป
ขขขเถอะถึงถ้าจะจริงแม้ ธ พูดแท้ก็ทำไม
แนะชวนเข้าณข้างใน จะถามนอก บ ยากเย็น
วิจารณ์ ว่าพระอาจารย์จะพู ดเรื่องเหลวไหลไร้สาระ
เช่นนี้ เป็ นไปไม่ได้ และหากว่าจะพูดจริงเหตุใดจะต้อง
เรียกเข้าไปถามข้างในห้องถามข้างนอกห้องก็ได้
ชะรอยว่าทิชาจารย์ ธ คิดอ่านกะท่านเป็ น
รหัสเหตุประเภทเห็น ละแน่ ชัดถนั ดความ
มิกล้าอาจจะบอกตา
และท่านมามุสาวาท ไถลแสร้งแถลงสาร
พจีจริงพยายาม
ทิชาจารย์ หมายถึง พราหมณ์ที่สอนวิชาความรู้ พจี หมายถึง คำพูด
สงสั ยว่าท่านอาจารย์กับพระกุมารต้องมีความลับ
อย่างแน่ นอน แล้วก็มาพูดโกหก ไม่กล้าบอกตาม
ความเป็ นจริง แกล้งพูดไปต่าง ๆ นานา
ถอดคำประพันธ์ ๑๖
ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
กุมารราชมิตรผอง ก็สอดคล้องและแคลงดาล
อุบัติขึ้นเพราะขุ่นเคือง
พิโรธกาจวิวาทการณ์
ประดามีนิ รันดร์เนื อง
กกกกพิพิธพันธไมตรี
กะองค์นั้ นก็พลันเปลือง มลายปลาตพินาศปลง ฯ
วิวาทการณ์ หมายถึง การทะเลาะ ปลาต หมายถึง หายไป
กุมารลิจฉวีทั้งหลายเห็นสอดคล้องกันก็เกิดความโกรธเคือง
การทะเลาะวิวาทก็เกิดขึ้นเพราะความขุ่นเคืองใจความสั มพันธ์
อันดีที่เคยมีมาตลอดก็ถูกทำลายย่อยยับลง
๑๗ ถอดคำประพันธ์
มาณวกฉันท์ ๘
ล่วงลุประมาณ กาลอนุกรม
หนึ่ ง ณ นิ ยม ท่านทวิชงค์
เมื่อจะประสิ ทธิ์ วิทยะยง
เอกกุมาร
เชิญวรองค์
ทวิชงค์ หมายถึง พราหมณ์
เวลาผ่านไปตามลำดับ เมื่อถึงคราวที่จะสอนวิชาก็จะ
เชิญพระกุมารพระองค์หนึ่ ง
เธอจรตาม พราหมณไป
ห้องรหุฐาน
โดยเฉพาะใน ความพิสดาร
จึ่งพฤฒิถาม โทษะและไข
ขอ ธ ประทาน
รหุฐาน หมายถึง ที่ลับ, ห้องเฉพาะ
พระกุมารก็ตามพราหมณ์ เข้าไปในห้ องเฉพาะ
พราหมณ์จึงถามเนื้ อความแปลก ๆ ว่า ขออภัย ช่วยตอบด้วย
ถอดคำประพันธ์ ๑๘
มาณวกฉันท์ ๘
อย่าติและหลู่ ครู จะเฉลย
เธอน่ ะเสวย ภัตกะอะไร
ในทินนี่
ดี ฤ ไฉน
พอหฤทัย ยิ่งละกระมัง
อย่าหาว่าตำหนิ หรือลบหลู่ ครู ขอถามว่าวันนี้
พระกุมารเสวยพระกระยาหารอะไร รสชาติดีหรือไม่
พอพระทัยมากหรือไม่
ราช ธ ก็เล่า เค้า ณ ประโยค
ตนบริโภค
วาทประเทือง แล้วขณะหลัง
อาคมยัง เรื่องสิ ประทัง
สิ กขสภา
สิกขสภา หมายถึง ห้องเรียน
พระกุมารก็เล่าเรื่องเกี่ยวกับพระกระยาหารที่เสวย
หลังจากนั้ นก็สนทนาเรื่องทั่วไป แล้วก็เสด็จกลับออก
มายังห้องเรียน
๑๙ ถอดคำประพันธ์
มาณวกฉันท์ ๘
เสร็จอนุศาสน์ ราชอุรส
ลิจฉวิหมด ต่าง ธ ก็มา
ถามนยมาน ท่านพฤฒิอา
จารยปรา รภกระไร
อนุศาสน์ หมายถึง การสอน นยมาน หมายถึง ข้อความ
แล้วก็เสด็จกลับออกมายังห้องเรียน เมื่อเสร็จสิ้น
การสอนราชกุมารลิจฉวีทั้งหมดก็มาถามเรื่องราวที่มีมา
ว่าท่านอาจารย์ได้พูดเรื่องอะไรบ้าง
เธอก็แถลง แจ้งระบุมวล
ความเฉพาะล้วน จริงหฤทัย
ต่าง บ มิเชื่อ เมื่อตริไฉน
จึ่งผลใน
เหตุ บ มิสม
พระกุมารก็ตอบตามความจริง แต่เหล่ากุมารต่าง
ไม่เชื่อ เพราะคิดแล้วไม่สมเหตุสมผล
ถอดคำประพันธ์ ๒๐
มาณวกฉันท์ ๘
ขุ่นมนเคือง เรื่องนฤสาร
เช่นกะกุมาร ก่อนก็ระดม
เลิกสละแยก แตกคณะกล
เกลียว บ นิ ยม คบดุจเดิม
นฤสาร หมายถึง ไม่มีสาระ
ต่างขุ่นเคืองใจด้วยเรื่องไร้สาระเช่นเดียวกับ
พระกุมารพระองค์ก่อน และเกิดความแตกแยก
ไม่คบกันอย่างกลมเกลียวเหมือนเดิม
๒๑ ถอดคำประพันธ์
อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
ทิชิงค์เจาะจงเจตน์ กลห์เหตุยุยงเสริม
นฤพัทธก่อการณ์
กระหน่ำและซ้ำเติม ทินวารนานนาน
ละครั้งระหว่างครา ธ ก็เชิญเสด็จไป
รฤหาประโยชน์ ไร
เหมาะท่าทิชาจารย์ เสาะแสดง ธ แสร้งถาม
บ ห่อนจะมีสา
กระนั้ นเสมอนั ย
พัทธ หมายถึง เนื่ อง, ติดต่อ
พราหมณ์เจตนา
หาเหตุยุแหย่ซ้ำเติมอยู่
เสมอๆ แต่ละครั้งแต่ละ
วันนานนาน ครั้งเห็น
โอกาสเหมาะก็จะเชิญ
พระกุมารเสด็จไปโดย
ไม่มีสารประโยชน์ อันใด
แล้วก็แกล้งทูลถาม
๒๒
ถอดคำประพันธ์
อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
และบ้างก็พูดว่า น่ ะแน่ ะข้าสดับตาม
ยุบลระบิลความ พจแจ้งกระจายมา
ก็เพราะท่านสิ แสนสา
ละเมิดติเตียนท่าน วและสุ ดจะขัดสน
พิเคราะห์เชื่อเพราะยากยล
รพัดทลิทภา ธ ก็ควรขยายความ
จะแน่ มิแน่ เหลือ
ณ ที่ บ มีคน
สดับ หมายถึง ตั้งใจฟั ง ยุบล หมายถึง เรื่องราว ทลิท หมายถึง ยากจนเห็นใจ
บางครั้งก็พูดว่า นี่ แน่ ะข้าพระองค์ได้ยินข่าวเล่าลือกัน
ทั่วไป เขานิ นทาพระกุมารว่าพระองค์แสนจะยากจนและ
ขัดสน จะเป็ นเช่นนั้ นแน่ หรือพิเคราะห์แล้วไม่น่ าเชื่อ ณ
ทีี่นี้ ไ้ม่มีผู้ใดขอให้ทรงเล่ามาเถิด
๒๓
ถอดคำประพันธ์
อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
และบ้างก็กล่าวว่า น่ ะแน่ ะข้าจะขอถาม
เพราะทราบคดีตาม วจลือระบือมา
ก็เพราะท่านสิ แสนสา
ติฉิ นเยาะหมิ่นท่าน ยพิลึกประหลาดเป็ น
รพันพิกลกา มนเชื่อเพราะไป่ เห็น
ธ ก็ควรขยายความ
จะจริงมิจริงเหลือ
ผิข้อ บ ลำเค็ญ
บางครั้งก็พูด ว่าข้า
พระองค์ขอทูลถามพระ
กุมาร เพราะได้ยินเขาเล่า
ลือ กันทั่วไป เยาะเย้ยดู
หมิ่นท่าน ว่าท่านนี้ มี
ร่างกายผิดประหลาดต่างๆ
นานาจะเป็ นจริงหรือไม่
ใจไม่อยากเชื่อเลยเพราะ
ไม่เห็นถ้าหากมีสิ่ งใดที่
ลำบากยากแค้นก็ตรัสมา
เถิด
๒๔
ถอดคำประพันธ์
อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
กุมารองค์เสา วนเค้าคดีตาม
กระทู้พระครู ถาม นยสุ ดจะสงสั ย
คุรุ ท่านจะถามไย
ก็คำมิควรการณ์ ระบุแจ้งกะอาจารย์
ธ ซักเสาะสืบใคร พระกุมารโน้ นขาน
เฉพาะอยู่กะกันสอง
ทวิชแถลงว่า
ยุบลกะตูกาล
พระกุมารได้ทรงฟั งเรื่องที่พระอาจารย์ถามก็ตรัส
ถามกลับว่า สงสัยเหลือเกินเรื่องไม่สมควรเช่นนี้ ท่าน
อาจารย์จะถามทำไม แล้วก็ซักไซ้ว่าใครเป็ นผู้มาบอกกับ
อาจารย์ พราหมณ์ก็ตอบว่าพระกุมารพระองค์โน้ นตรัส
บอกเมื่ออยู่กันเพียงสองต่อสอง
๒๕
ถอดคำประพันธ์
อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
กุมารพระองค์นั้ น ธ มิทันจะไตร่ตรอง
ก็เชื่อ ณ คำของ พฤฒิครู และวู่วาม
เหมาะเจาะจงพยายาม
พิโรธกุมารองค์ บ มิดีประเดตน
ทุรทิฐิมานจน
ยุครู เพราะเอาความ ธิพิพาทเสมอมา
ก้พ้อและต่อพิษ
ลุโทสะสื บสน
กุมารพระองค์นั้ นไม่ทันได้ไตร่ตรอง ก็ทรงเชื่อในคำพูด
ของอาจารย์ ด้วยความวู่วามก็กริ้วพระกุมารที่ยุพระอาจารย์
ใส่ความตน จึงตัดพ้อต่อว่ากันขึ้น เกิดความโกรธเคือง
ทะเลาะวิวาทกันอยู่เสมอ
๒๖
ถอดคำประพันธ์
อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
และฝ่ ายกุมารผู้ ทิชครู มิเรียกหา
ก็แหนงประดารา ชกุมารทิชงค์เชิญ
ฉวิมิตรจิตเมิน
พระราชบุตรลิจ คณะห่างก็ต่างถือ
ณ กันและกันเหิน พลล้นเถลิงลือ
มนฮึก บ นึ กขาม ฯ
ทะนงชนกตน
ก็หาญกระเหิ มฮื อ
ฝ่ ายพระกุมารที่พราหมณ์ไม่เคยเรียกเข้าไปหาก็ไม่พอพระทัย
พระกุมารที่พราหมณ์เชิญไปพบ พระกุมารลิจฉวีหมางใจและเหิน
ห่างกัน ต่างองค์ทะนงว่าพระบิดาของตนมีอำนาจล้นเหลือ จึงมีใจ
กำเริบไม่เกรงกลัวกัน
๒๗
ถอดคำประพันธ์
สัทธราฉันท์ ๒๑
ลำดับนั้ นวัสสการพราหมณ์ ธ ก็ยุศิ ษยตาม
แต่งอุบายงาม ฉงนงำ
ริณวิรุ ธก็สำ
ปวงโอรสลิจฉวีดำ ธ เสกสรร
คัญประดุจคำ มิละปิ ยสหฉันท์
ก็อาดูร
ไป่ เหลือเลยสักพระองค์อัน
ขาดสมัครพันธ์
วิรุ ธ หมายถึง ผิดปกติ สห หมายถึง ด้้วยกัน , พร้อมกัน
ในขณะนั้ นวัสสการพราหมณ์ก็คอยยุลูกศิ ษย์แต่ง
กลอุบายให้เกิดความแคลงใจ พระโอรสกษัตริย์ลิจฉวี
ทั้งหลายไตร่ตรองในอาการน่ าสงสัยก็เข้าใจว่าเป็ นจริง
ดังถ้อยคำที่อาจารย์ปั้ นเรื่องขึ้น ไม่มีเหลือเลยสัก
พระองค์เดียวที่จะมีความรักใคร่กลมเกลียว ต่างขาด
ความสั มพันธ์เกิดความเดือดร้อนใจ
๒๙
ถอดคำประพันธ์
สัทธราฉันท์ ๒๑
แท้ท่านวัสสการใน กษณะตริเหมาะไฉน
เสริมเสมอไป สะดวกดาย
พจนยุปริยาย
หลายอย่างต่างกล ธ ขวนขวาย บ เว้นครา
วัญจโนบาย สหกรณประดา
ชทั้งหลาย
ครั้นล่วงสามปี ประมาณมา
ลิจฉวีรา
กษณะ หมายถึง ครั้ง, คราว สหกรณ หมายถึง การร่วมมือ
ฝ่ ายวัสสการพราหมณ์ ครั้นเห็นโอกาสเหมาะสมก็
คอยยุแหย่อย่างง่ายดาย ทำกลอุบายต่างๆ พูดยุยงตาม
กลอุบายตลอดเวลา เวลาผ่านไปประมาณ ๓ ปี ความร่วมมือ
กันระหว่างกษัตริย์ลิจฉวีทั้งหลายและความสามัคคีถูก
ทำลายลงสิ้ น
๓๐
ถอดคำประพันธ์
สัทธราฉันท์ ๒๑
สามัคคีธรรมทำลาย มิตรภิทนะกระจาย
สรรพเสื่ อมหายน์ ก็เป็ นไป
พระราชหฤทยวิสัย
ต่างองค์ทรงแคลงระแวงใน ระวังกัน ฯ
ผู้พิโรธใจ
ความร่วมมือกันระหว่างกษัตริย์ลิจฉวีทั้งหลายและ
ความสามัคคีถูกทำลายลงสิ้น ความเป็ นมิตรแตกแยก
ความเสื่ อม ความหายนะก็บังเกิดขึ้น กษัตริย์ต่างองค์
ระแวงแคลงใจมีความขุ่น เคืองใจซึ่งกันและกัน
๓๑
สาลินี ฉันท์ ๑๑
พราหมณ์ครู รู้สังเกต ตระหนั กเหตุถนั ดครัน
ราชาวัชชีสรร พจักสู่พินาศสม หมายถึง สมดัง
ยินดีบัดนี้ กิจหมายถึง ความเพียร จะสั มฤทธิ์มนารมณ์ที่ตั้งใจ
เริ่มมาด้วยปรากรม
และอุตสาหแห่งตน หมายถึง
กษัตริย์
ให้ลองตีกลองนั ด ประชุ มขัตติย์มณฑล
เชิ ญซึ่ งส่ำสากล กษั ตริย์สู่ สภาคาร
วัชชีภูมีผอง หมายถึง รับผิดชอบ สดับกลองกระหึมขาน
ทุกไท้ไปเอาภาร ณ กิจเพื่อเสด็จไป
ต่างทรงรับสั่ งว่า จะเรียกหาประชุ มไย
เราใช่เป็ นใหญ่ใจ ก็ขลาดกลัว บ กล้าหาญ
ท่านใดที่เป็ นใหญ่ และกล้าใครมิเปรียบปาน
พอใจใคร่ในการ ประชุ มชอบก็เชิ ญเขา
ปรึกษาหารือกัน ไฉนนั้ นก็ทำเนา
จักเรียกชุ มนุ มเรา บ แลเห็นประโยชน์ เลย
รับสั่ งผลักไสส่ง และทุกองค์ ธ เพิกเฉย
ไป่ ได้ไปดั่งเคย สมัครเข้าสมาคม ฯ
สาลินี ฉันท์ ๑๑ ๓๒
พราหมณ์ครู รู้สังเกต ตระหนั กเหตุถนั ดครัน
ราชาวัชชีสรร พจักสู่ พินาศสม
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : พราหมณ์ผู้เป็ นครู สังเกตเห็น
ดังนั้ น ก็ทราบว่าเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีกำลังจะประสบ
ความพินาศ
ยินดีบัดนี้ กิจ จะสั มฤทธิ์มนารมณ์
เริ่มมาด้วยปรากรม และอุตสาหแห่งตน
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : จึงยินดีมากที่ภารกิจประสบ
ความสำเร็จสมดังใจ หลังจากเริ่มต้นด้วยความบากบั่น
และความอดทนของตน
ให้ลองตีกลองนั ด ประชุ มขัตติย์มณฑล
เชิ ญซึ่ งส่ำสากล กษั ตริย์สู่ สภาคาร
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : จึงให้ลองตีกลองนั ดประชุม
กษัตริย์ฉวี เชิญทุกพระองค์เสด็จมายัง ณ ที่ประชุม
๓๓
สาลินี ฉันท์ ๑๑
วัชชีภูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน
ทุกไท้ไปเอาภาร ณ กิจเพื่อเสด็จไป
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : ฝ่ ายกษัตริย์วัชชีทั้งหลายทรง
สดับรับฟั งเสียงกลองดังกึกก้อง ทุกพระองค์ไม่ทรงเป็ น
ธุ ระในการเสด็จไป
ต่างทรงรับสั่ งว่า จะเรียกหาประชุ มไย
เราใช่เป็ นใหญ่ใจ ก็ขลาดกลัว บ กล้าหาญ
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : ต่างองค์รับสั่ งว่าจะเรียกประชุม
ด้วยเหตุใด เราไม่ได้เป็ นใหญ่ใจก็ขลาดไม่กล้าหาญ
ท่านใดที่เป็ นใหญ่ และกล้าใครมิเปรียบปาน
พอใจใคร่ในการ ประชุ มชอบก็เชิ ญเขา
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : ผู้ใดที่เป็ นใหญ่มีความกล้าหาญ
ไม่มีผู้ใดเปรียบได้ พอใจจะเสด็จไปร่วมประชุมก็เชิญเขา
เถิด
สาลินี ฉันท์ ๑๑ ๓๔
ปรึกษาหารือกัน ไฉนนั้ นก็ทำเนา
จักเรียกชุ มนุ มเรา บ แลเห็นประโยชน์ เลย
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : จะปรึกษาหารือกันด้วยประการ
ใดก็ช่างเถิด จะเรียกเราไปประชุมมองไม่เห็นประโยชน์
ประการใดเลย
รับสั่ งผลักไสส่ง และทุกองค์ ธ เพิกเฉย
ไป่ ได้ไปดั่งเคย สมัครเข้าสมาคม ฯ
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : รับสั่ งให้พ้นตัวไป และทุก
พระองค์ก็ทรงเพิกเฉย ไม่เสด็จไปเข้าร่วมการประชุม
เหมือนดั่งเคย
๓๕
ถอดคำประพันธ์
พราหมณ์ผู้เป็ นครู สังเกตเห็นดังนั้ น ก็รู้ว่าเหล่า
กษัตริย์ลิจฉวีกำลังจะประสบความพินาศ จึงยินดีมาก
ที่ภารกิจประสบผลสำเร็จสมดังใจ หลังจากเริ่มต้นด้วย
ความบากบั่นและความอดทนของตน จึงให้ลองตีกลอง
นั ดประชุมกษัตริย์ฉวี เชิญทุกพระองค์เสด็จมายังที่
ประชุม ฝ่ ายกษัตริย์วัชชีทั้งหลายทรงสดับเสียงกลองดัง
กึกก้อง ทุกพระองค์ไม่ทรงเป็ นธุ ระในการเสด็จไป
ต่างองค์รับสั่ งว่าจะเรียกประชุมด้วยเหตุใด เราไม่ได้
เป็ นใหญ่ใจก็ขลาด ไม่กล้าหาญ ผู้ใดเป็ นใหญ่
มีความกล้าหาญไม่มีผู้ใดเปรียบได้ พอใจจะเสด็จไป
ร่วมประชุมก็เชิญเขาเถิด จะปรึกษาหารือกันประการใด
ก็ช่างเถิด จะเรียกเราไปประชุมมองไม่เห็นประโยชน์
ประการใดเลย รับสั่ งให้พ้นตัวไป และทุกพระองค์
ก็ทรงเพิกเฉยไม่เสด็ จไปเข้าร่วมการประชุ มเหมือนเคย
อุปั ฏฐิตาฉันท์ ๑๑ ๓๖
เห็นเชิงพิเคราะห์ช่อง ชนะคล่องประสบสม
พราหมณ์ เวทอุ ดม ธ ก็ลอบแถลงการณ์
หมายถึง คนสนิ ท หมายถึง ไป
ให้วัลลภชน คมดลประเทศฐาน
กราบทูลนฤบาล อภิเผ้ามคธไกร
หมายถึง จดหมาย สนว่ากษัตริย์ใน
วลหล้าตลอดกัน
แจ้งลักษณสา
วัชชีบุรไก
บัดนี้ สิก็แตก คณะแผกและแยกพรรค์
ไป่ เป็ นสหฉัน ทเสมือนเสมอมา
โอกาสเหมาะสมัย ขณะไหนประหนึ่ งครา
นี้ หากผิจะหา ก็ บ ได้สะดวกดี
ขอเชิญวรบาท พยุห์ยาตรเสด็จกรี
ธาทัพพลพี ริยยุทธโดยไว ฯ
๓๗ อุปั ฏฐิตาฉันท์ ๑๑
เห็นเชิงพิเคราะห์ช่อง ชนะคล่องประสบสม
พราหมณ์ เวทอุ ดม ธ ก็ลอบแถลงการณ์
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : เมื่อพิจารณาเห็นช่องทางที่จะได้
รับชัยชนะมาอย่างง่ายดาย พราหมณ์ผู้รอบรู้พระเวท
ก็ลอบส่ งข่าวสาร
ให้วัลลภชน คมดลประเทศฐาน
กราบทูลนฤบาล อภิเผ้ามคธไกร
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : ให้คนสนิ ทเดินทางกลับไปยัง
บ้านเมือง เพื่อกราบทูลกษัตริย์แห่งแคว้นมคธอันยิ่ง
ใหญ่
แจ้งลักษณสา สนว่ากษัตริย์ใน
วัชชีบุรไก วลหล้าตลอดกัน
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : เพื่อแจ้งสาสน์ ให้กษัตริย์ทราบ
ว่ากษัตริย์วัชชีทุกพระองค์
อุปั ฏฐิตาฉันท์ ๑๑ ๓๘
บัดนี้ สิก็แตก คณะแผกและแยกพรรค์
ไป่ เป็ นสหฉัน ทเสมือนเสมอมา
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : ขณะนี้ เกิดความแตกแยก
แบ่งพรรคแบ่งพวกกัน ไม่สามัคคีกันเหมือนแต่ก่อน
โอกาสเหมาะสมัย ขณะไหนประหนึ่ งครา
นี้ หากผิจะหา ก็ บ ได้สะดวกดี
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : จะหาโอกาสได้โอกาส
อันเหมาะสมครั้งใดเช่นครั้งนี้ คงจะมิได้เสียแล้ว
ขอเชิญวรบาท พยุห์ยาตรเสด็จกรี
ธาทัพพลพี ริยยุทธโดยไว ฯ
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : ขอเชิญทูลพระองค์ยกกองทัพ
อันยิ่งใหญ่มาทำสงครามโดยเร็วเถิด
๓๙
ถอดคำประพันธ์
เมื่อพิจารณาเห็นช่องทางที่จะได้ชัยชนะอย่าง
ง่ายดาย พราหมณ์ผู้รอบรู้พระเวทก็ลอบส่งข่าวให้คน
สนิ ทเดินทางกลับไปยังบ้านเมืองเพื่อ กราบทูลกษัตริย์
แห่งแคว้นมคธอันยิ่งใหญ่ ในสาสน์ แจ้งว่ากษัตริย์วัชชี
ทุกพระองค์ขณะนี้ เกิดความแตกแยกแบ่งพรรคแบ่งพวก
ไม่สามัคคีกันเหมือนแต่เดิม จะหาโอกาสอันเหมาะสม
ครั้งใดเหมือนดังครั้งนี้ คงจะไม่มีอีกแล้ว ขอทูลเชิญ
พระองค์ยกกองทัพอันยิ่งใหญ่มาทำสงครามโดยเร็วเถิด
วิชชุมมาลาฉันท์ ๘ ๔๐
พระเจ้าอชาตศั ตรู ยกทัพมาตีแคว้นวัชชี
ข่าวเศิ กเอิกอึง ทราบถึงบัดดล
ในหมู่ผู้คน ชาวเวสาลี
แทบทุกถิ่นหมด
อกสั่ นขวัญหนี ชนบทบูรี
หวาดกลัวทั่วไป
ตื่นตาหน้ าเผือด หมดเลือดสั่ นกาย
หลบลี้หนี ตาย วุ่นหวั่นพรั่นใจ
ซ่อนตัวแตกภัย
ซุ กครอกซอกครัว ทิ้งย่านบ้านตน
เข้าดงพงไพร ชาวคามล่าลาด
เหลือจักห้ามปราม ขุนด่านดำบล
พันหัวหน้ าราษฎร์ คิดผันผ่อนปรน
หารือแก่กัน มาคธข้ามมา
จักไม่ให้พล ป่ าวร้องทันที
จึ่งให้ตีกลอง
รุ กเบียนบีฑา
แจ้งข่าวไพรี
เพื่อหมู่ภูมี วัชชีอาณา
ชุ มนุ มบัญชา ป้ องกันฉันใด
๔๑ วิชชุมมาลาฉันท์ ๘
ราชาลิจฉวี ไป่ มีสักองค์
อันนึ กจำนง เพื่อจักเสด็จไป
ต่างองค์ดำรัส
ใครเป็ นใหญ่ใคร เรียกนั ดทำไม
เชิญเทอญท่านต้อง กล้าหาญเห็นดี
ปรึกษาปราศรัย
ส่ วนเราเล่าใช่ ขัดข้องข้อไหน
ใจอย่างผู้ภี ตามเรื่องตามที
ต่างทรงสำแดง เป็ นใหญ่ยังมี
สามัคคีขาด รุ กปราศอาจหาญ
ภูมิศลิจฉวี
บ่ ชุมนุมสมาน ความแขงอำนาจ
แก่งแย่งโดยมาน
วัชชีรัฐบาล
แม้แต่สักองค์ ฯ
มาน หมายถึง ความถือตัว
ภูมิศ หมายถึง กษัตริย์
วิชชุมมาลาฉันท์ ๘ ๔๒
พระเจ้าอชาตศั ตรู ยกทัพมาตีแคว้นวัชชี
ข่าวเศิ กเอิกอึง ทราบถึงบัดดล
ในหมู่ผู้คน ชาวเวสาลี
แทบทุกถิ่นหมด
อกสั่ นขวัญหนี ชนบทบูรี
หวาดกลัวทั่วไป
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : ข่าวศึ กแพร่ไปจนรู้ถึงชาวเมือง
เวสาลี แทบทุกคนในเมืองต่างตกใจและหวาดกลัวกัน
ไปทั่ว
ตื่นตาหน้ าเผือด หมดเลือดสั่ นกาย
หลบลี้หนี ตาย วุ่นหวั่นพรั่นใจ
ซุ กครอกซอกครัว ซ่อนตัวแตกภัย
ทิ้งย่านบ้านตน
เข้าดงพงไพร
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : หน้ าตาตื่น หน้ าซีดไม่มีเลือด
ตัวสั่ น พากันหนี ตายกันวุ่นวาย พากันอพยพครอบครัว
หนี ภัย ทิ้งบ้านเรือนไปซุ่มซ่อนตัวเสียในป่ า
๔๓ วิชชุมมาลาฉันท์ ๘
พระเจ้าอชาตศั ตรู ยกทัพมาตีแคว้นวัชชี
เหลือจักห้ามปราม ชาวคามล่าลาด
พันหัวหน้ าราษฎร์ ขุนด่านดำบล
หารือแก่กัน คิดผันผ่อนปรน
จักไม่ให้พล มาคธข้ามมา
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : ไม่สามารถห้ามปรามชาวบ้านได้
หัวหน้ าราษฎรและนายด่านตำบลต่าง ๆ ปรึกษากันคิด
จะยับยั้งไม่ให้กองทัพมคธข้ามมาได้
จึ่งให้ตีกลอง ป่ าวร้องทันที
แจ้งข่าวไพรี รุ กเบียนบีฑา
เพื่อหมู่ภูมี วัชชีอาณา
ชุ มนุ มบัญชา ป้ องกันฉันใด
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : จึงตีกลองป่ าวร้องแจ้งข่าวข้าศึ ก
เข้ารุ กราน เพื่อให้เหล่ากษัตริย์แห่งวัชชีเสด็จมาประชุม
หาหนทางป้ องกันประการใด
วิชชุมมาลาฉันท์ ๘ ๔๔
ราชาลิจฉวี ไป่ มีสักองค์
อันนึ กจำนง เพื่อจักเสด็จไป
ต่างองค์ดำรัส เรียกนั ดทำไม
ใครเป็ นใหญ่ใคร กล้าหาญเห็นดี
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : ไม่มีกษัตริย์ลิจฉวีแม้แต่พระองค์เดียว
คิดจะเสด็จไป แต่ละพระองค์ทรงดำรัสว่าจะเรียกประชุมด้วย
เหตุใด ผู้ใดเป็ นใหญ่ ผู้ใดกล้าหาญ เห็นดีประการใดก็เชิญ
เถิด
เชิญเทอญท่านต้อง ขัดข้องข้อไหน
ปรึกษาปราศรัย ตามเรื่องตามที
ส่ วนเราเล่าใช่
ใจอย่างผู้ภี เป็ นใหญ่ยังมี
รุ กปราศอาจหาญ
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : จะปรึกษาหารืออย่างไรก็ตามแต่ใจ
ตัวของเรานั้ นไม่ได้มีอำนาจยิ่งใหญ่ จิตใจก็ขี้ขลาด ไม่องอาจ
กล้าหาญ
ต่างทรงสำแดง ความแขงอำนาจ
สามัคคีขาด แก่งแย่งโดยมาน
ภูมิศลิจฉวี วัชชีรัฐบาล
บ่ ชุมนุมสมาน แม้แต่สักองค์ ฯ
ถอดคำประพันธ์ได้ว่า : แต่ละพระองค์ต่างแสดงอาการเพิกเฉย
ปราศจากความสามัคคีปรองดองในจิตใจ กษัตริย์ลิจฉวีแห่งวัชชี
ไม่เสด็ จมาประชุ มกันแม้แต่พระองค์เดี ยว