The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุด 6 เล่ม (พรรณไม้ ผีเสื้อ แตน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินก นก ค้างคาว)
โครงการ อพ.สธ. สนองพระราชดำริโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dpongchai, 2020-08-12 11:34:55

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

หนังสือชุด 6 เล่ม (พรรณไม้ ผีเสื้อ แตน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินก นก ค้างคาว)
โครงการ อพ.สธ. สนองพระราชดำริโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords: อพ.สธ.

สัตว์สะเทินน�้ำสะเทนิ บก บรเิ วณเขาถำ้� เสอื -เขาจ�ำปา

ผูแ้ ตง่ : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วเิ ชฏฐ์ คนซอ่ื และ อาจารย์ ดร.ปรวรี ์ พรหมโชติ
ภาพ: ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วเิ ชฏฐ์ คนซอื่
อาจารย์ ดร.ปรวีร์ พรหมโชติ
ISBN: 978-616-407-236-7
พิมพค์ รัง้ ท่:ี 1
จำ� นวนทีพ่ ิมพ:์ 1,000 เลม่
เดือนปที ีพ่ ิมพ:์ พฤศจิกายน 2560
พิมพ์ท:ี่ โรงพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั โทร. 0-2218-3563
อา้ งองิ : วเิ ชฏฐ์ คนซอื่ และ ปรวรี ์ พรหมโชติ. 2560. สัตวส์ ะเทนิ น้�ำสะเทนิ บก
บรเิ วณเขาถ้�ำเสือ-เขาจ�ำปา. โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าฯ. กรงุ เทพฯ. 64 หนา้ .

ประสานงานการจดั พมิ พ์

โดย
ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยการเรียนรู้เพอ่ื ภมู ิภาค

จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

สัตว์สะเทนิ น้ำ� สะเทนิ บกอำ� เภอแก่งคอย จงั หวดั สระบุรีบรเิ วณเขาถ้�ำเสอื -เขาจำ� ปา

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วเิ ชฏฐ์ คนซอ่ื
อาจารย์ ดร.ปรวีร์ พรหมโชติ

ภาควชิ าชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สนอง
พระราชด�ำ ริโดยจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั



ค�ำน�ำ



หนงั สอื สตั วส์ ะเทนิ นำ้� สะเทนิ บกบรเิ วณเขาถำ�้ เสอื -เขาจ�ำปา อ�ำเภอแกง่ คอย จงั หวดั
สระบรุ ี เปน็ การรวบรวมผลการส�ำรวจและการวจิ ยั สตั วใ์ นกลมุ่ สตั วส์ ะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บกตง้ั แต่
การส�ำรวจและศึกษาทรัพยากรธรรมชาติทางชีวภาพและทางกายภาพรวมท้ังสภาพทาง
นิเวศวิทยาในพ้ืนท่ีโครงการ ฯ เพื่อเป็นข้อมูลทางวิชาการส�ำหรับการจัดการทรัพยากรและ
วางแผนการใช้พ้ืนท่ีของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีโครงการพัฒนาท่ีดินของมหาวิทยาลัย
ณ อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรีในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.
2550 และหลังจากนั้นก็มีการด�ำเนินงานวิจัยในพ้ืนท่ีภายใต้การสนับสนุนของโครงการ
อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สนองพระราชด�ำริโดยจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั (โครงการ อพ.สธ.-จฬ.) รวมถึงการปฏบิ ตั งิ านในภาคสนามของนสิ ติ จากภาควิชา
ชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัยในรายวิชาต่างๆ

สัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบกสามารถใช้เป็นตัวชี้วัดการเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อม
ในระบบนเิ วศไดเ้ นอ่ื งจากมคี วามไวตอ่ การเปลยี่ นแปลงหรอื ผลกระทบตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
ระบบนเิ วศในบรเิ วณพน้ื ทเี่ ขาถำ�้ เสอื -เขาจ�ำปาในปจั จบุ นั นก้ี �ำลงั ฟน้ื ตวั ซงึ่ ในอดตี ทผี่ า่ นมาปา่ ไม้
และสงิ่ แวดลอ้ มของปา่ ไมถ้ กู ท�ำลายลงอยา่ งสนิ้ เชงิ เมอ่ื จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เขา้ มาพฒั นา
พื้นท่ีเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ซ่ึงหนึ่งในโครงการพัฒนาคือ โครงการฟื้นฟูระบบนิเวศ
ท่ีถูกท�ำลายลงอย่างสิ้นเชิงในบริเวณนี้เป็นการคืนพ้ืนท่ีให้กับเหล่าสรรพสัตว์ท่ีเคยอาศัย
ใหฟ้ น้ื คนื กลบั มา ดงั นน้ั จ�ำนวนทคี่ น้ พบในวนั นจ้ี ะเปน็ ตวั บง่ ชกี้ ารเปลยี่ นแปลงของสงิ่ แวดลอ้ ม
ในบริเวณน้ไี ดอ้ ีกด้วย

ผูจ้ ดั ท�ำ
ตุลาคม 2560

คำ� นยิ ม

เน่ืองในโอกาสที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับพระราชทานพระราชานุญาตจาก
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีให้เป็นเจ้าภาพร่วมกับโครงการอนุรักษ์
พนั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
(โครงการ อพ.สธ.) จดั งานประชุมวิชาการและนิทรรศการคร้ังที่ 9 ในหวั ขอ้ ทรพั ยากรไทย:
ศักยภาพมากล้นมีใหเ้ ห็น ในปพี ุทธศักราช 2560 ณ พืน้ ท่ีจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย สระบรุ ี
ต�ำบลช�ำผักแพว อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น
แกช่ าวจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย
​ นับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2550 เปน็ ตน้ มา จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัยได้ขยายพน้ื ท่ดี �ำเนนิ
กจิ กรรมทางด้านการเรยี นการสอน การวจิ ยั การบรกิ ารวิชาการและกจิ กรรมในรูปแบบอ่ืนๆ
ของคณาจารย์ บคุ ลากรและนสิ ติ มายงั พนื้ ทจ่ี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สระบรุ ี ซง่ึ แตเ่ ดมิ คอื
โครงการพัฒนาทดี่ นิ ของจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย อ�ำเภอแกง่ คอย จงั หวดั สระบรุ ี ที่ไดเ้ รมิ่
ด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 จากการรเิ รม่ิ จัดหาท่ดี นิ โดย ศาสตราจารย์ ดร.บุญรอด
บิณฑสันต์ และได้มอบพื้นที่ให้กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาในปี พ.ศ. 2548
มหาวิทยาลัยได้แต่งตั้งคณะกรรมการวางแผนพัฒนาพื้นท่ีสระบุรี และในปี พ.ศ. 2549
มอบหมายใหค้ ณะวทิ ยาศาสตรจ์ ดั ท�ำ “โครงการส�ำรวจสงิ่ แวดลอ้ มทางชวี ภาพ กายภาพ และ
การประเมินสถานภาพทางนิเวศวิทยาในพ้ืนท่ีโครงการ” เพ่ือส�ำรวจและเก็บข้อมูล
ท้ังทางด้านกายภาพและชีวภาพของพื้นท่ี
​ กิจกรรมการส�ำรวจธรรมชาติวิทยาในพื้นท่ีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สระบุรี
ไดด้ �ำเนนิ การมาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จนเปน็ แผนพฒั นาเครอื ขา่ ยวชิ าการจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
ในภมู ภิ าค ทไี่ ดถ้ วายรายงานตอ่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในโอกาส
เ สด็จพระราชด�ำเนินมาทรงติดตามความก้าวหน้าโครงการพัฒนาท่ีดินของจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ในวันพฤหัสบดีท่ี 20 มิถุนายน พ.ศ. 2556
ซึ่งมีสาระที่ส�ำคัญตอนหนึ่งเกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัด

สระบุรี เพื่อการเรียนการสอนธรรมชาติวิทยา แบบต่อเน่ืองในระยะยาว โดยมอบหมาย
ใหภ้ าควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปน็ หนงึ่ ในหนว่ ยงานทรี่ ว่ ม
รบั ผิดชอบด�ำเนนิ การ
​ ข้อมูลทางธรรมชาติวิทยาท่ี คณาจารย์ นักวิจัยและนิสิต ของภาควิชาชีววิทยา
คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดร้ ว่ มส�ำรวจ ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของจฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบัน มีคุณค่าเชิงวิชาการสูงมาก สมควรได้รับ
การรวบรวมไวอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
จึงมีความยินดีและขอขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งท่ีศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพ่ือภูมิภาค
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดจ้ ดั พมิ พห์ นงั สอื เกย่ี วกบั สรรพชวี ติ ในพน้ื ทส่ี ระบรุ จี �ำนวน 6 เรอื่ ง
ได้แก่ พืชพรรณในพืน้ ที่ ผเี ส้ือ แตนเบียน สตั ว์สะเทินน้�ำสะเทินบก นก และ ค้างคาว ไว้เพ่ือ
เปน็ แหล่งอ้างองิ ของพื้นที่และของจังหวดั สระบุรี อันจะยงั ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ จนน�ำ
ไปสกู่ ารอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติไวต้ ่อไป

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพดล กติ นะ
หวั หน้าภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

สารบญั 7
9
บทน�ำ 11
สตั วส์ ะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บกจ�ำพวกกบ เขยี ด องึ่ อา่ ง คางคกและปาด 14
บญั ชีรายช่ือสัตว์สะเทนิ นำ�้ สะเทินบกบริเวณเขาถ้�ำเสือ-เขาจ�ำปา 14
รายละเอยี ดประจ�ำชนดิ 16
คางคกบา้ น 20
อึง่ น�้ำเตา้ 24
อึ่งขา้ งด�ำ 26
อึ่งลายเลอะ 28
อึ่งขาค�ำ 30
อึ่งจิว๋ ลายจดุ , อึ่งหลังขดี 32
อึ่งเพ้า, อึ่งปากกระโถน 34
อึ่งลาย, อึ่งแดง, อง่ึ แว่น 38
อง่ึ อา่ งบ้าน 42
อึ่งอา่ งก้นขีด 44
เขียดจะนา 46
เขียดทราย, เขยี ดน�้ำนอง 50
กบหนอง 52
กบนา 54
กบบวั , เขยี ดบัว 56
กบหลังไพล, เขียดหลังไพล 60
ปาดบ้าน
ปาดจว๋ิ ลายแตม้
เอกสารอ่านเพ่ิมเตมิ

สตั ว์สะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บกอ�ำเภอแกง่ คอย จังหวดั สระบุรีบรเิ วณเขาถำ้� เสือ-เขาจ�ำปา

บทน�ำ

เขาถ้�ำเสือและเขาจำ� ปา
เขาถำ�้ เสอื และเขาจ�ำปา ตง้ั อยใู่ นเขตปา่ สงวนแหง่ ชาตปิ า่ เขาโปง่
และปา่ เขาถำ้� เสือ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเมื่อวันท่ี 8 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2527 เลม่ ท่ี 101 ตอนที่ 162

แผนที่บรเิ วณเขาถ้ำ� เสอื -เขาจำ� ปา
บรเิ วณสเี ขยี วคือบริเวณที่ต้งั ของจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั สระบุรี

สตั วส์ ะเทินน�้ำสะเทนิ บกบรเิ วณเขาถำ�้ เสอื -เขาจำ� ปา 7

เขาถ�้ำเสือและเขาจ�ำปาตั้งอยู่ทางตอนใต้ของป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาโป่งและ
ป่าเขาถ้�ำเสือในต�ำบลช�ำผักแพวและต�ำบลตาลเดี่ยว อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
โดยมีพ้ืนท่ีราบระหว่างภูเขาทั้งสอง ปัจจุบันที่ราบเหล่าน้ีถูกดัดแปลงเพ่ือใช้ในกิจกรรม
ของมนษุ ย์ เชน่ ที่อยูอ่ าศัย โรงงาน เรอื กสวน ทุ่งนา และแปลงปศสุ ตั ว์ตา่ งๆ เป็นตน้
เขาถำ�้ เสอื -เขาจ�ำปา ประกอบดว้ ยเทอื กเขาหนิ อคั นที ส่ี �ำคญั คอื เขาถำ�้ เสอื และเขาจ�ำปา
ที่มีความสูงอยู่ในช่วง 40-190 เมตรจากระดับน้�ำทะเลปานกลาง โดยมียอดสูงสุดในพื้นที่
สงู 194 เมตร อยทู่ างดา้ นทศิ ตะวนั ออกของพนื้ ทศ่ี กึ ษาในบรเิ วณเขาจ�ำปา (แหลง่ ขอ้ มลู ภาพถา่ ย
จากดาวเทยี มจาก http://maps.google.com/)
พนื้ ทสี่ ว่ นใหญป่ กคลมุ ดว้ ยปา่ เสอื่ มโทรมทย่ี งั ไมไ่ ดร้ บั การประกาศ ซง่ึ อยใู่ นเขตทด่ี นิ
ของเขตป่าสงวนและที่ดินนอกเขตป่าสงวน พื้นที่ราบโดยรอบถูกใช้เป็นพ้ืนที่เกษตรกรรม
ทงั้ การปลูกพืชเศรษฐกจิ และเลยี้ งสัตว์
อ�ำเภอแก่งคอย จงั หวัดสระบุรี ตั้งอยูใ่ นเขตร้อนชน้ื ของประเทศไทย และมสี ภาพ
ภมู อิ ากาศเปน็ แบบมรสมุ เขตรอ้ น (tropical climate) โดยมอี ณุ หภมู แิ ละฝนเปน็ ปจั จยั ส�ำคญั
ในการก�ำหนดเขตภมู อิ ากาศ พน้ื ทท่ี งั้ หมดของจงั หวดั สระบรุ ี อยภู่ ายใตอ้ ทิ ธพิ ลของลมมรสมุ
ทั้ง 2 ฤดู คือ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากแถบมหาสมุทรอินเดียในช่วงฤดูฝนและมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนอื จากทะเลจีนใต้ในชว่ งฤดหู นาว อุณหภมู ิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 23-34
องศาเซลเซียส พื้นท่ีส่วนใหญ่อยู่ภายใต้ลักษณะภูมิอากาศแบบสะวันนา (savanna)
คอื มีชว่ งฤดฝู นและฤดูแล้งสลบั กนั ชัดเจน
ฝนทตี่ กในฤดรู อ้ น ในเขตอ�ำเภอแก่งคอย จังหวดั สระบรุ ี เปน็ ฝนทเี่ กดิ จากอากาศ
ลอยตัว ส่วนฝนทต่ี กในฤดูฝนจะมีท้ังแบบท่เี กิดจากอากาศลอยแบบฝนปะทะภเู ขาและแบบ
พายดุ เี ปรสชนั่ หรอื ไตฝ้ นุ่ ปรมิ าณฝนเฉลยี่ ตลอดปปี ระมาณ 1,308 มลิ ลเิ มตร ซง่ึ นา่ จะเพยี งพอ
ส�ำหรบั การท�ำเกษตรกรรม แต่เนอ่ื งจากมปี ัญหาการกระจายของฝน คือพืน้ ทสี่ ว่ นใหญจ่ ะมี
ชว่ งฤดฝู นสน้ั กวา่ ฤดแู ลง้ และพน้ื ดนิ ไมส่ ามารถกกั เกบ็ นำ้� ไวไ้ ดด้ เี ทา่ ทค่ี วร จงึ ท�ำใหเ้ กษตรกร
ขาดน�้ำส�ำหรับใช้อุปโภคบริโภค ดังนั้นโครงการพัฒนาท่ีดินของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี จึงมีความจ�ำเป็นต้องสร้างเข่ือนเพ่ือกักเก็บน้�ำในฤดูฝนเพ่ือ
บรรเทาปัญหาอทุ กภยั และเพอ่ื ใหม้ ีน�ำ้ ใชต้ ลอดท้ังปี

8 สัตว์สะเทินน�้ำสะเทนิ บกบริเวณเขาถ้�ำเสอื -เขาจำ� ปา

สตั วส์ ะเทินน้ำ� สะเทนิ บกจำ� พวกกบ เขียด องึ่ อา่ ง คางคกและปาด



ในพวกกบและคางคกน้ัน (Order Anura) ยังสามารถจ�ำแนกออกเป็นกลุ่มย่อย
ตามความแตกตา่ งของลักษณะสณั ฐานวิทยาและสรรี วทิ ยาได้อีกหลายกลุ่ม ในประเทศไทย

1พบสตั ว์สะเทินนำ้� สะเทนิ บกกลุม่ นดี้ ังตอ่ ไปนี้
กลุ่มคางคก คางคก เป็นสัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบกที่เราๆ ท่านๆ คุ้นเคยหรือรู้จัก
มกั คนุ้ กนั เปน็ อยา่ งดี กลา่ วคอื เปน็ สตั วส์ ะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก ทล่ี �ำตวั เปน็ ปมุ่ ปม ผวิ หนงั แหง้
กระโดดได้ไม่ไกลมากนัก จะเห็นมากระโดดจับแมลงกินอยู่ในบริเวณเสาไฟ หรือ
บริเวณทีเ่ ราเปดิ ไฟทิ้งไว้ ไม่วา่ จะเป็นทางเดนิ ตามถนนหรอื ไฟหน้าบ้าน รา้ นรวงตา่ งๆ บางคน
รงั เกยี จมนั เพราะเหน็ ผวิ หนงั ของมนั นา่ เกลยี ด ไมน่ า่ จบั ตอ้ ง หรอื บางครง้ั เราจะเหน็ วา่ มเี มอื ก
สขี าวๆ ไหลออกมา และเขา้ ใจวา่ เปน็ พษิ ซง่ึ ความจรงิ แลว้ พษิ ของมนั ไมเ่ ปน็ อนั ตรายจนท�ำให้
ถึงแก่ชีวิต อย่างมากก็แค่ท�ำให้เกิดอาการระคายในบริเวณผิวหนังหรือเน้ือเย่ือท่ีอ่อนนุ่ม
เท่านนั้ ซงึ่ มนั จะใช้เปน็ อาวุธป้องกันตวั เองจากศัตรขู องมัน เชน่ สนุ ขั ท่ีจะชอบเขา้ มากดั หรอื
ท�ำอันตราย ไม่ว่าจะกัดเล่นหรือกัดจริง ซึ่งเหล่าสุนัขเหล่าน้ัน อาจจะมีอาการบวมอักเสบ

2บรเิ วณผวิ หนังหรือเนือ้ เยอื่ ในปากได้
กลมุ่ กบ เขียด สตั วส์ ะเทินน�ำ้ สะเทนิ บกกลมุ่ นจ้ี ดั เปน็ กลุ่มทม่ี คี วามหลากหลายมาก
ขนาดของมนั กม็ ตี งั้ แตเ่ ลก็ เทา่ นวิ้ กอ้ ยหรอื เลก็ กวา่ ไปจนถงึ ตวั ทม่ี ขี นาดใหญก่ วา่ ฝา่ มอื
ของเรา ท�ำให้เราเรียกสัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบกกลุ่มน้ีแตกต่างกันออกไป ซ่ึงถ้าหาก
ดูคร่าวๆ จะเป็นการจัดจ�ำแนกอย่างง่ายๆ เช่น เขียด เรามักจะใช้เรียกพวกกบท่ีมีขนาดเล็ก

3ล�ำตัวค่อนขา้ งเพรยี ว ส่วนกบคือพวกทมี่ ีล�ำตวั ค่อนขา้ งใหญ่ มีล�ำตวั สนี �ำ้ ตาล เปน็ ตน้
กลุ่มปาด ปาดเรามกั จะเรียกพวกที่มลี �ำตัวคอ่ นข้างแบน มแี ขนขายาว มักอาศยั อยู่
บนตน้ ไม้ และมกั สง่ เสยี งรอ้ ง ปา้ ด…ปา้ ด.. เปน็ ระยะ ซงึ่ สนั นษิ ฐานวา่ นา่ จะเปน็
ทมี่ าของการเรยี กช่ือกล่มุ นีว้ า่ “ปาด” หลายคนอาจจะเคยพบว่ามีลกู ออ๊ ดของสัตว์
สะเทินน้�ำสะเทินบกมาอาศัยอยู่ในตุ่มหรือในโอ่งน้�ำ ทั้งๆ ท่ีไม่เคยเอาน้�ำจากแหล่งน�้ำ
จากธรรมชาติเข้ามาเติมเลย ซ่ึงลูกอ๊อดเหล่านี้คือบรรดาลูกๆ ของปาดน่ันเอง เพราะด้วย

สัตวส์ ะเทนิ นำ้� สะเทินบกบรเิ วณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 9

ธรรมชาตขิ องพวกปาดนน้ั จะท�ำรงั โฟมไวบ้ นกงิ่ ไมเ้ หนอื แหลง่ นำ�้ โดยท�ำเปน็ พวงฟอง (foam
nest) แล้วไขไ่ วภ้ ายใน สดุ ทา้ ยลูกออ๊ ดเหล่านน้ั ก็จะหลน่ ลงไปในแหล่งน�ำ้ ดา้ นลา่ ง ซ่ึงก็เป็น

4อกี หนึ่งวธิ ขี องการสืบพนั ธขุ์ องพวกสตั วส์ ะเทนิ น�ำ้ สะเทินบก
กลุ่มอึ่งอ่าง ชื่อของสัตว์หรือสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ น้ันมักจะตั้งตามลักษณะเด่นของ
ส่ิงมีชีวิตเหล่าน้ัน อึ่งอ่างก็เช่นกัน ในคืนท่ีฝนตกหนัก ท่ีมีน้�ำท่วมในแอ่งน้�ำต่างๆ
เรามกั จะไดย้ นิ เสยี ง อง่ึ งงง…อา่ งงง…..องึ่ …อา่ งงง… นนั่ กค็ อื เสยี งของสตั ว์
สะเทินน�้ำสะเทินบกกลุ่มน้ีเอง พวกนี้มักจะมีล�ำตัวอวบอ้วน แขนขาสั้น เปล่งเสียงได้ดัง

5ซึ่งบางคร้งั บางคนจะถูกเปรียบเทียบวา่ อว้ นเหมือนอึ่งอา่ ง
กลมุ่ อง่ึ กราย เปน็ สตั วส์ ะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บกอกี กลมุ่ หนง่ึ ทเี่ ราไมค่ อ่ ยคนุ้ เคย เนอื่ งจาก
ไม่สามารถพบเห็นได้ง่ายหรือทั่วไปเหมือนกลุ่มอื่นๆ สัตว์กลุ่มน้ีจัดเป็นกลุ่มท่ีมี
ลกั ษณะโบราณ เชน่ รูปร่างหน้าตา โดยส่วนมากแล้วจะมีหวั ทมี่ ขี นาดใหญ่ ขาหน้ายาว
โดยทข่ี าหลงั สนั้ เวลาเดนิ จะเหมอื นกบั ก�ำลงั โหยง่ เดนิ หลายชนดิ ของกลมุ่ นจี้ ะมตี งิ่ เนอื้ เหนอื ตา
ยื่นยาวแหลมออกไป ท�ำให้หลายคนคิดว่าเป็นสิ่งประหลาด และการเคลื่อนท่ีที่ค่อนข้าง
เชอ่ื งชา้ นนั้ โดยมากมกั จะหยดุ นง่ิ อยกู่ บั ท่ี ลกั ษณะเดน่ อกี ประการของสตั วก์ ลมุ่ นคี้ อื ตามสี เี ขม้
ชัดเจน เช่น เหลืองเข้มจนถึงส้ม หรือแดงจัด เป็นต้น บางคร้ังมองดูคล้ายตาของปีศาจ

6พวกอง่ึ กรายน้ันจะพบเห็นได้ไมง่ ่ายนัก ดังนน้ั จึงท�ำให้สัตวก์ ลมุ่ นถ้ี กู รจู้ กั ไม่มากนกั
กลุ่มปาดเมืองจีน สัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบกกลุ่มน้ีในปัจจุบันยังไม่มีรายงานการพบ
อีกเลย มีเพียงรายงานการพบในอดีตเท่านั้น จากการสอบถามจากคณะผู้วิจัย
ชาวญี่ปุ่นที่มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับสัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบกของเอเชีย พบว่า
ปาดเมืองจีนนั้น มีรายงานการค้นพบในประเทศพม่า บริเวณรอยต่อกับจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ของประเทศไทย ดังน้ันจึงเป็นท่ีน่าสนใจว่าหากมีการส�ำรวจสัตว์กลุ่มนี้ในบริเวณน้ัน
อย่างจริงจังอาจจะพบได้ ปาดเมืองจีนน้ันจัดเป็นกลุ่มปาดที่มีการกระจายอย่างกว้างขวาง
ในเขตประเทศจนี ทางตอนเหนอื ของประเทศไทยและเขตอบอนุ่ โดยเฉพาะในประเทศญปี่ นุ่

10 สตั ว์สะเทนิ นำ�้ สะเทินบกบรเิ วณเขาถำ้� เสอื -เขาจำ� ปา

บัญชรี ายชื่อสัตว์สะเทนิ น้�ำสะเทนิ บกบรเิ วณเขาถ้�ำเสอื -เขาจำ� ปา

ชื่อไทย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Cnaommemon (SIURtaeCtdNusList)

วงศค างคก Family Bufonidae

1. คางคกบาน Dmuetltaanpohsrtyicntuuss tctSSoooopaamueddctmh,taAeocasnliseatntdoasaida,n L(LeCa)st Concern

วงศอ ึง่ อา ง Family Microhylidae

2. อ่ึงน้ำเตา Microhyla fissipes OmOOpyrrronnngumaaatttmhyeeeefcndrnhoatorfgerrrdoougws,-frog, (LLeCa)st Concern

3. อ่ึงขางดำ Mheicyrmohoynlsai Dfroargk-sided chorus (LLeCa)st Concern

4. อ่ึงลายเลอะ Microhyla butleri Butler's pigmy frog (LLeCa)st Concern

5. อง่ึ ขาคำ Microhyla pulchra fBreoagutiful pygmy L(LeCa)st Concern

6. อึง่ จ๋วิ ลายจดุ , Micryletta inornata fnBroaorugrloewn-gmero'suothrneadte L(LeCa)st Concern
อ่ึงหลงั ขีด

สตั วส์ ะเทินน้ำ� สะเทนิ บกบรเิ วณเขาถำ�้ เสือ-เขาจำ� ปา 11

ช่ือไทย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Cnaommemon SI(URtaeCtdNusList)

7. อึง่ เพา , Gmloyplohsosgulsossus bTBrauulrlnroocowantienf-grsonfgroougt,ed (NNeTa)r Threatened
อ่งึ ปากกระโถน

8. อึ่งลาย, อ่งึ แดง, gGulyttpuhloagtulosssus fBrloogtched burrowing (LLeCa)st Concern
อ่งึ แวน Kaloula pulchra OABdasixginagfdinrnoegpgd,afrbiPonuigetelbldfarolfdrgo, g, L(LeCa)st Concern

9. อึ่งอา งบาน

10. อ่ึงอา งกน ขีด mKaeloduiollaineata bMnauerldrlofirawongm-,sotSriuiaptmehdtoad (NNeTa)r Threatened

วงศกบเขยี ด Family Dicroglossidae

11. เขียดจะนา Occidozyga lima Green puddle frog L(LeCa)st Concern

12. เขียดทราย, Omcacritdeonzsyiiga Round-tongued Least Concern
เขยี ดนำ้ นอง lFimejenrovcahyaaris floating frog (LC)

13. กบหนอง Alpine cricket frog (LLeCa)st Concern

14. กบนา Hruogpulloobsuastrachus CTEaahisiwnt eaansseieasneedbfibruollelgfrforog,g, (LLeCa)st Concern

12 สตั ว์สะเทนิ น้�ำสะเทนิ บกบริเวณเขาถ้ำ� เสอื -เขาจ�ำปา

ช่อื ไทย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร nCaommemon (SIURtaeCtdNusList)

วงศกบแท Family Ranidae fGCrooremge,nmLepoaanfdfgdrroeygefnrog, (LLeCa)st Concern
15. กบบวั , เขียดบัว eHryyltahrraaneaa

16. กบหลังไพล, lPaetleorpahliyslax Yellow frog L(LeCa)st Concern
เขยี ดหลังไพล

วงศปาด Family Rhacophoridae

17. ปาดบา น Pleoulcyopmedyastteasx ttCtArrrsoeeeimaeeenfmrffrrobooogrgg,on,FwGtornouelerd-lefinrnoegd, (LLeCa)st Concern

18. ปาดจว๋ิ ลายแตม Cnohnirogkmhaonretinssis tFFrooeaaemmfr--onngeesstt frog, (LLeCa)st Concern

หมายเหตุ: สถานภาพอ้างอิงจาก http://www.iucnredlist.org/
(The IUCN Red List of Threatened Species)

สัตว์สะเทนิ น้�ำสะเทินบกบรเิ วณเขาถ�้ำเสือ-เขาจ�ำปา 13

รายละเอียดประจำ� ชนดิ

ชอื่ ไทย คางคกบา้ น

ช่ือวิทยาศาสตร์ Duttaphrynus melanostictus

อนุกรมวิธาน Order Anura (Salientia)
Family Bufonidae
SGpeencuisesDDututtatapphrhyrnyunsus melanostictus (Schneider, 1799)

ลกั ษณะทว่ั ไป คางคกบ้าน จัดเป็นคางคกขนาดใหญ่ พบกระจายอยู่ทั่วประเทศไทย สามารถ
พบเห็นได้ง่าย ตามบ้านเรือนและที่อยู่อาศัย จัดเป็นสัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบก
ทมี่ กี ารปรบั ตวั เพอื่ อาศยั อยรู่ ว่ มกบั มนษุ ยไ์ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี จะพบเหน็ ไดไ้ มบ่ อ่ ยนกั
ในถ่ินที่อยู่อาศัยท่ีเป็นธรรมชาติ เช่น ผืนป่าชนิดต่างๆ หรือตามน�้ำตกที่มีการ
รบกวนจากกจิ กรรมของมนษุ ยน์ อ้ ย
คางคกบา้ น จะสบื พนั ธใ์ุ นชว่ งฤดฝู น ตามแหลง่ นำ�้ ตา่ งๆ เชน่ บอ่ หรอื คนู ำ้� ทม่ี รี ะดบั นำ้�
ไมส่ งู มากนกั โดยเพศผจู้ ะมากรู่ อ้ งบรเิ วณรอบๆ แหลง่ นำ้� เมอ่ื จบั คกู่ นั แลว้ เพศเมยี
จะวางไข่เป็นสายเด่ียวพันไปตามกอพืชน้�ำหรือตามชายฝั่ง ลักษณะของสายไข่
ทว่ี าง จะมไี ขอ่ ยภู่ ายในสายเรยี งเปน็ ระเบยี บ ไขม่ สี ดี �ำ ขนาดเลก็
บ่อยครั้งที่เราจะพบสัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบกนอนตายอยู่กลางถนนซึ่งส่วนมาก
แลว้ จะเปน็ คางคกบา้ น อนั เนอื่ งมาจากเปน็ ชนดิ ทมี่ คี วามชกุ ชมุ ตามทอ่ี ยอู่ าศยั
ลกั ษณะเดน่ ของคางคกบา้ นคอื มผี วิ หนงั แหง้ มปี มุ่ ปมบนผวิ หนงั ทวั่ ล�ำตวั แตป่ มุ่ ปม
เหลา่ นจ้ี ะมขี นาดแตกตา่ งกนั โดยมขี นาดใหญท่ บ่ี รเิ วณกลางหลงั สว่ นทข่ี า้ งล�ำตวั
จะมีขนาดเล็กกว่า บริเวณตั้งแต่ปลายจมูกจนถึงหลังตาและรอบดวงตาด้านใน
จะมสี นั สเี ขม้ และมตี อ่ มนำ้� พษิ ทเ่ี รยี กวา่ Parotoid gland อยทู่ ดี่ า้ นทา้ ยของลกู ตา

การกระจาย ประเทศไทย ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม พมา่ อนิ เดยี ศรลี งั กา บงั คลาเทศ และบางสว่ น
(TสThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f ของปากีสถาน มาเลเซีย สิงคโปร์ เกาะสุมาตราและชวาและบางส่วนของเกาะ
บอรเ์ นียว ทางตอนใตข้ องจีนและฮอ่ งกง ไตห้ วนั
ก�ำลังเพ่มิ มากขน้ึ

14 สตั วส์ ะเทินน้�ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา

ลกั ษณะเดน่ ประการหนงึ่ ของคางคกบา้ น
คือมีต่อพิษขนาดใหญ่ (parotoid gland)
ดา้ นหลงั ตาจ�ำนวน 1 คู่ (ลกู ศรสขี าว) และมสี นั
สดี �ำอยดู่ า้ นหลงั ของลกู ตาคอ่ นมาทางดา้ นบน
ของหัว (ลกู ศรสดี �ำ)

การจับคู่ผสมพันธุ์ของ
คางคกบ้าน ตัวด้านบนคือเพศผู้
ตัวด้านล่างคือเพศเมียโดยเพศผู้
จะเกาะบริเวณซอกขาหน้าของ
เพศเมีย

สัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสอื -เขาจ�ำปา 15

ชอ่ื ไทย องึ่ น้ำ� เต้า
ชื่อวิทยาศาสตร์
อนุกรมวิธาน Microhyla fissipes

ลกั ษณะทว่ั ไป Order Anura (Salientia)
Family Microhylidae
Genus Microhyla
Species Microhyla fissipes (Boulenger, 1884)

การท่ีได้ช่ือว่าอึ่งน้�ำเต้านั้น เนื่องมาจากลวดลายท่ีปรากฏอยู่บนหลังของอ่ึง
ชนิดน้ีน่นั เอง คล้ายลายของลูกน�้ำเตา้ จนี ซึง่ จะมีสีเข้มมากกว่าสขี องแถบข้าง
เพศผู้มถี งุ เสียงภายนอก รจู มูกอยู่ดา้ นบนอยู่เกือบปลายสุดของหวั ผิวหนงั เรียบ
กลางหลงั มลี ายคลา้ ยรปู นำ�้ เตา้ สนี ำ้� ตาลเขม้ ดา้ นขา้ งของหวั และล�ำตวั สนี ำ้� ตาลเขม้
อกไม่มีรอยพับ น้ิวมือและขาหน้าท่อนล่างมีลายพาดขวางช่วงละ 3-4 แถบ
ขาหลังสีเดียวกับล�ำตัวเม่ือพับขาหลังเข้ามาจะเห็นลายพาดขวางต่อเน่ืองกัน
3-4 แถบ เพศผู้บริเวณคอและอกสีด�ำ
อง่ึ นำ�้ เตา้ จดั เปน็ องึ่ ขนาดเลก็ สามารถพบเหน็ ไดท้ วั่ ไป ทงั้ ในพนื้ ทธี่ รรมชาตแิ ละ
บริเวณใกลท้ ีพ่ ักอาศัย สามารถสืบพันธุไ์ ด้ตลอดปีในแหลง่ นำ�้ ต่างๆ

การกระจาย ตลอดทวั่ ประเทศไทยและทางตอนเหนอื ของประเทศมาเลเซยี พมา่ ลาว กมั พชู า
เวียดนาม และกระจายอย่างกว้างขวางในประเทศจีน ฮอ่ งกงและไต้หวัน

ส(TThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงที่

16 สตั วส์ ะเทินน้ำ� สะเทินบกบรเิ วณเขาถ�้ำเสือ-เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 17

ตัวเมยี ตวั ผู้

การสังเกตเพศขององ่ึ นำ้� เต้าโดยเพศผ้ใู ตค้ างจะมสี ีด�ำเข้ม ส่วนเพศเมยี จะมี
สีครมี หรอื สีจางกวา่

18 สตั วส์ ะเทินน้�ำสะเทนิ บกบริเวณเขาถ้�ำเสอื -เขาจ�ำปา

ลักษณะถุงเสียงหรือ vocal sac ของอ่ึงน้�ำเต้ามีลักษณะเป็นถุงเดี่ยว
อยู่บริเวณใตค้ าง

สัตว์สะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บกบรเิ วณเขาถ้ำ� เสอื -เขาจำ� ปา 19

ชื่อไทย อึ่งขา้ งด�ำ
ช่ือวิทยาศาสตร์
อนกุ รมวิธาน Microhyla heymonsi

ลกั ษณะทวั่ ไป Order Anura (Salientia)
Family Microhylidae
Genus Microhyla
Species Microhyla heymonsi (Vogt, 1911)

องึ่ ชนดิ น้ี จดั เปน็ องึ่ ขนาดเลก็ ทสี่ ามารถพบเหน็ ไดท้ วั่ ไป มกี ารกระจายอยา่ งกวา้ งขวาง
ในประเทศไทย บริเวณใกล้แหล่งน�้ำ ในฤดูผสมพันธุ์จะพบว่าเพศผู้จะมาน่ัง
ส่งเสียงรอ้ งเพ่ือจบั คู่ผสมพนั ธุ์
เยื่อบุช่องหูมองไม่เห็นจากภายนอก ผิวหนังเรียบสีน้�ำตาลอ่อนถึงเข้มกลางหลัง
มลี ายจางๆ คลา้ ยรปู นำ�้ เตา้ อาจมเี สน้ สคี รมี เลก็ ๆ พาดตามยาวหรอื ไมก่ ไ็ ด้ กลางหลงั
มจี ดุ สดี �ำ 1 จดุ ดา้ นขา้ งของหวั และล�ำตวั ถงึ ซอกขาหลงั มสี ดี �ำ ทอ้ งสคี รมี อกไมม่ ี
รอยพับ น้ิวมือและขาหน้าท่อนล่างมีลายพาดขวาง ขาหลังสีเดียวกับล�ำตัว
เมือ่ พับขาหลงั เข้ามาจะเห็นลายพาดขวางต่อเน่อื งกนั 2-3 แถบ เพศผู้มีคอและ
อกสดี �ำ
อ่ึงชนิดนี้ มีลักษณะเด่นท่ีบริเวณกลางหลัง จะมีจุดสีด�ำหน่ึงจุด และมักมีแถบ
สีจางแบ่งกลางหลังออกเป็นสองส่วนด้านซ้ายและด้านขวา และมีแถบสีด�ำ
อยู่ดา้ นข้างของล�ำตวั
การจ�ำแนกเพศ บริเวณคางของอึ่งเพศผู้ จะมีสีด�ำหรือสีเข้ม ส่วนเพศเมียจะมี
สีจางกว่า

การกระจาย มีการกระจายตลอดในประเทศไทย มาเลเซีย เกาะสุมาตรา ลาว เวียดนาม
กมั พชู า ทางตะวนั ออกของพมา่ ทางตอนใตข้ องประเทศจนี ทฮ่ี อ่ งกง และไตห้ วนั

(สTThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงที่

20 สัตว์สะเทนิ น้ำ� สะเทนิ บกบรเิ วณเขาถำ�้ เสอื -เขาจำ� ปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 21

เพศเมยี บรเิ วณใต้คางจะมสี ีครีมหรอื สจี าง

22 สัตวส์ ะเทนิ นำ้� สะเทนิ บกบริเวณเขาถ้ำ� เสอื -เขาจำ� ปา

อง่ึ ขา้ งด�ำเพศผจู้ ะมสี ขี องผวิ หนงั บรเิ วณใตค้ าง
สเี ขม้ กวา่ สขี องผวิ หนังบรเิ วณท้อง

สัตวส์ ะเทนิ นำ้� สะเทินบกบริเวณเขาถ้�ำเสือ-เขาจ�ำปา 23

ช่ือไทย อึ่งลายเลอะ
ชอื่ วิทยาศาสตร์ Microhyla butleri
อนกุ รมวิธาน Order Anura (Salientia)
Family Microhylidae
ลกั ษณะทวั่ ไป Genus Microhyla
Species Microhyla butleri (Boulenger, 1900)

อึ่งลายเลอะ เป็นอ่ึงขนาดเล็กท่ีสามารถพบเห็นได้ท่ัวไปใกล้แหล่งน�้ำ เป็นอ่ึง
ท่ีมีลักษณะภายนอกใกล้เคียงกับอ่ึงน้�ำเต้ามาก หลายคร้ังจะท�ำให้สับสน แต่มี
ลักษณะเด่นท่ีใช้แยกอึ่งท้ังสองชนิดออกจากกันอย่างง่ายคือ เส้นสีขาวหลังตา
ท่ีปรากฏเฉพาะในอึง่ ลายเลอะเท่านนั้ สว่ นอึง่ น�้ำเต้าน้นั จะไมม่ เี ส้นดงั กลา่ ว
เพศผู้มีถุงเสียงภายนอก รูจมูกอยู่ด้านบนอยู่เกือบปลายสุดของหัว เยื่อบุช่องหู
มองไม่เห็นจากภายนอก ผิวหนังเรียบ กลางหลังมีลายไม่มีรูปแบบท่ีแน่นอน
มีสีน�้ำตาลเข้มตัดขอบขาวและพาดต่อเนื่องมาถึงขาหลัง ด้านข้างของหัวและ
ล�ำตัวสีน�้ำตาลเข้ม อกไม่มีรอยพับ ขาหน้าสีอ่อนกว่าล�ำตัว ขาหลังสีเดียวกับ
ล�ำตัว เมอื่ พบั ขาหลงั เข้ามาจะเหน็ ลายพาดขวางสีครีม 3-4 แถบต่อเนอ่ื งมาจาก
ลายบนหลงั เพศผ้บู รเิ วณคอและอกสีด�ำ

การกระจาย กระจายท่ัวประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ กัมพูชา เวียดนาม บางส่วนของ
ประเทศพม่าและกระจายอยทู่ างตอนใตข้ องประเทศจีน ฮ่องกง และไต้หวัน

ส(TThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงท่ี

24 สัตวส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบรเิ วณเขาถำ�้ เสอื -เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 25

ช่อื ไทย อ่ึงขาค�ำ
ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Microhyla pulchra
อนกุ รมวธิ าน Order Anura (Salientia)
Family Microhylidae
Genus Microhyla
Species Microhyla pulchra (Hallowell, 1861)

ลกั ษณะทัว่ ไป อึ่งขาค�ำ จัดเป็นอึ่งท่ีมีลวดลายสวยท่ีสุด ลวดลายเด่นบนหลังจะคล้ายเจดีย์
ฐานกว้างสคี ล�้ำอยู่บนพื้นผิวท่มี ีสจี างกวา่ หรอื ออกสเี หลือง
จัดเป็นอ่ึงขนาดกลาง-เล็กที่สามารถพบเห็นได้ไม่บ่อยเท่าอ่ึงชนิดอื่นๆ จะไม่พบ
ตามบริเวณทีค่ นอยู่อาศัย จะพบตามพ้ืนทท่ี ่เี ปน็ ธรรมชาติมากกว่า พบมากและ
ชกุ ชมุ ในฤดูฝน
เพศผูม้ ถี งุ เสยี งภายนอก รจู มูกอยู่ดา้ นบนใกล้ปลายปากมากกว่าตา เย่อื บุช่องหู
มองไมเ่ หน็ จากภายนอกแตม่ สี นั ในต�ำแหนง่ เหนอื เยอ่ื บชุ อ่ งหเู ปน็ เสน้ บางๆ พาด
เฉยี งตรงลงมาจากทา้ ยตา ผวิ หนงั เรยี บ ดา้ นหลงั สนี ำ�้ ตาล มลี ายพาดสนี ำ้� ตาลเขม้
ระหว่างตา กลางหลังมีลายรูปตัววีคว�่ำสีน้�ำตาลเข้มขนาดใหญ่ ภายนอกมีเส้น
สีน�้ำตาลอ่อนพาดโค้งขนานกันอยู่ 3-4 แถบ ภายในมีจุดหรือเส้นสีน้�ำตาลเข้ม
พาดขวางและตอ่ เนอ่ื งมาถงึ ขาหลงั ทอ่ นบน ดา้ นขา้ งของหวั มขี ดี สดี �ำคาดผา่ นตา
มาถึงข้างล�ำตัว ซอกขาหลังมีสีเหลืองสด ตาสีทองรูม่านตาสีด�ำ ท้องสีเหลือง
เพศผู้บริเวณคอและอกสดี �ำ

การกระจาย ประเทศไทยตอนบน ลาว กัมพชู า เวียดนาม ฮ่องกงและทางตะวนั ออกเฉยี งใต้
ของประเทศจีน

ส(TThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงท่ี

26 สตั วส์ ะเทินน�้ำสะเทนิ บกบรเิ วณเขาถำ้� เสอื -เขาจำ� ปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 27

ชื่อไทย อึ่งจวิ๋ ลายจดุ , อึง่ หลังขดี

ชอื่ วิทยาศาสตร์ Micryletta inornata

อนกุ รมวิธาน Order Anura (Salientia)
ลักษณะทั่วไป Family Microhylidae
Genus Micryletta
Species Micryletta inornata (Boulenger, 1890)

อึ่งจิ๋วลายจุด เป็นสัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบกพวกอึ่งอ่างท่ีมีขนาดเล็ก โดยท่ีอ่ึงจิ๋ว
ลายจุดจะแตกต่างจากอ่ึงจิ๋วอื่นๆ เพราะว่าการเดินของอ่ึงจิ๋วลายจุดน้ันจะมี
ลักษณะโหย่งๆ รวมทั้งเสียงร้องท่ีเล็กแหลม (จ๊ีดด………..จี๊ดดด…..) คล้ายเสียง
แมลง ยาวต่อเนือ่ งกนั ไป
ลวดลายของอึ่งจ๋ิวลายจุดจะแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ แบบท่ีเป็นลายจุดสีด�ำ
บนพ้ืนสอี อกส้มแดง และอกี แบบหน่ึง คือแบบที่เป็นแถบสดี �ำบนพ้ืนสสี ม้ แดง
เพศผู้มีถุงเสียงภายนอก รูจมูกอยู่ด้านบนอยเู่ กอื บปลายสดุ ของหวั เยอ่ื บชุ อ่ งหู
มองไม่เห็นจากภายนอก ผิวหนังเรียบ สีและลวดลายบนหลังมีการแปรผัน
ค่อนข้างมาก สีด้านหลังอาจเป็นสีครีม ม่วงอ่อนหรือน้�ำตาลแดง อาจมีจุดสีด�ำ
บนหลงั หรอื ไมก่ ไ็ ด้ ดา้ นขา้ งของหวั และล�ำตวั สนี ำ�้ ตาลเทา ตาสที องรมู า่ นตาสดี �ำ
มีขีดสีครีมพาดเฉียงจากท้ายตาลงมาถึงโคนขาหน้า ท้องสีขาว อกไม่มีรอยพับ
ขาหน้าและขาหลังมักมีสีอ่อนหรือแตกต่างกับล�ำตัว และมีลายประสีด�ำไม่เป็น
ระเบียบ ท้องใสมีจุดสีขาวกระจายท่ัวตั้งแต่คางจนถึงท้อง เพศผู้บริเวณคอและ
อกมีสเี ทา
อึ่งจิ๋วลายจุด อาศัยอยู่บนพื้นดิน โดยสังเกตจากลักษณะของน้ิวมือและน้ิวตีน
ท่ีไม่มีพังผืด การเคล่ือนที่จะเคลื่อนที่โดยการกระโดดหรือการเดินโหย่งๆ ไป
บนพน้ื ดนิ

การกระจาย มีการกระจายทั่วประเทศไทยและตลอดคาบสมุทรมลายูประเทศมาเลเซีย ลาว
กัมพชู าและทางตอนใตข้ องประเทศเวยี ดนาม

ส(TThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงท่ี

28 สัตว์สะเทนิ น�้ำสะเทนิ บกบริเวณเขาถ้ำ� เสอื -เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 29

ชอื่ ไทย อึ่งเพา้ , อึ่งปากกระโถน
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์
อนุกรมวธิ าน Glyphoglossus molossus

ลกั ษณะทัว่ ไป Order Anura (Salientia)
Family Microhylidae
Genus Glyphoglossus
Species Glyphoglossus molossus (Gunther, 1868)

อึ่งปากกระโถน การท่ีได้ช่ือว่าอ่ึงปากกระโถนหรืออ่ึงปากขวดเนื่องมาจากปาก
ที่มีลักษณะทู่ ค่อนข้างกลม ซึ่งจะแตกต่างจากสัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบกอ่ืนๆ
ท่ีปากมักจะมลี ักษณะแบนและบาง
อ่ึงปากกระโถน จัดเป็นอึ่งอ่างท่ีมีขนาดใหญ่ ล�ำตัวอ้วนกลม ตามีขนาดเล็กอยู่
ค่อนไปทางด้านขา้ งของล�ำตัว เหนอื ตาจะมีแถบสแี ดง บริเวณขาจะมวี งสีเหลือง
กระจายอยู่ท่ัวไปบนพื้นผิวท่ีมีสีด�ำ หรือบางตัวจะมีวงสีเหลืองกระจายอยู่ทั่วไป
บนผิวหนงั ด้านหลัง
บริเวณอกเพศผู้ในช่วงฤดูผสมพันธุ์จะบวมหนาข้ึน มีสีออกชมพูเรื่อๆ และ
มีความฝืด ใช้แปะติดกับหลังของเพศเมีย ช่วยให้สามารถเกาะเพศเมียได้
แน่นหนาขึ้น
องึ่ ชนดิ น้ี มรี ปู รา่ งทแ่ี ตกตา่ งจากองึ่ อา่ งหรอื สตั วส์ ะเทนิ นำ้� สะเทนิ บกในชนดิ อนื่ ๆ
อยา่ งสนิ้ เชิง จดั เป็นลกั ษณะเดน่ ของอึง่ ชนดิ น้ีทเี ดียว

การกระจาย การกระจายทางประเทศไทยตอนบนยกเว้นคาบสมุทรมลายู ทางตอนเหนือ
ของพมา่ ทางตอนใตข้ องประเทศลาว ตอนกลางของประเทศกมั พชู าและเวยี ดนาม

(สTThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f ก�ำลังลดลง

30 สตั วส์ ะเทินน้ำ� สะเทนิ บกบรเิ วณเขาถ้�ำเสือ-เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 31

ชื่อไทย อ่งึ ลาย, องึ่ แดง, อง่ึ แวน่
ชือ่ วิทยาศาสตร์
อนุกรมวธิ าน Glyphoglossus guttulatus

ลกั ษณะท่ัวไป Order Anura (Salientia)
Family Microhylidae
Genus Glyphoglossus
Species Glyphoglossus guttulatus (Blyth, 1856)

องึ่ ลาย หรอื อง่ึ แดงหรอื อง่ึ แวน่ จดั เปน็ องึ่ ทม่ี ขี นาดกลางเมอื่ เทยี บกบั สตั วส์ ะเทนิ นำ้�
สะเทินบกด้วยกันเอง ล�ำตัวอ้วน ส้ันและป้าน ไม่พบแผ่นหูที่ชัดเจน ปลายน้ิว
เรยี วแหลม ระหวา่ งน้ิวมอื ไม่มพี งั ผดื
ล�ำตัวมีสีแดงเข้ม เป็นที่มาของช่ืออึ่งแดง หลังมีลวดลายร่างแหขนาดใหญ่ท่ีเข้ม
สลับจางไมม่ ีรปู แบบทแ่ี นน่ อนปรากฏเป็นลายชัดเจน
ผิวบริเวณท้องมีสีขาวตลอด บริเวณคางในเพศผู้มีสีคล�้ำจนถึงด�ำ และเพศผู้มี
ถงุ เสยี งภายนอก ในฤดูผสมพนั ธ์ุ สว่ นเพศเมยี จะมีสจี าง

การกระจาย มกี ารกระจายส่วนใหญใ่ นประเทศไทยและบางส่วนของพมา่ บางสว่ นของลาว
เวยี ดนาม กมั พชู าและมาเลเซีย

สT(ThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงที่

32 สตั วส์ ะเทินน้ำ� สะเทนิ บกบรเิ วณเขาถำ�้ เสือ-เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 33

ชือ่ ไทย อึง่ อา่ งบ้าน
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์
อนกุ รมวธิ าน Kaloula pulchra 

ลกั ษณะทวั่ ไป Order Anura (Salientia)
Family Microhylidae
Genus Kaloula
Species Kaloula pulchra (Gray, 1831)

อ่ึงอ่างบ้าน จัดเป็นอึ่งท่ีมีขนาดใหญ่ สามารถพบเห็นได้ท่ัวไปโดยเฉพาะบริเวณ
ที่มีมนุษย์อาศัยอยู่ ไม่ว่าจะเป็น สวนข้างบ้าน สวนหย่อมต่างๆ หรือแม้กระท่ัง
ในห้องนำ้� ซึง่ เป็นท่ที ี่มคี วามชุม่ ช้ืนมาก
เป็นอ่ึงอ่างที่เราจะได้ยินเสียงร้องอย่างกังวานและมากมายในช่วงฤดูฝน
อ่ึงงงงงง……อ่างงงงง…….อึ่งงงงงง……..อ่างงงงง สลับกันไป บริเวณบ่อน�้ำหรือ
แอง่ นำ้� ที่มรี ะดบั น�ำ้ ไม่ลึกมากนกั จะเห็นอง่ึ อ่างบ้านพองตวั เปลง่ เสียงรอ้ ง
ลักษณะล�ำตัวของอึ่งอ่างโดยท่ัวไปนั้น เป็นสัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบกที่ล�ำตัว
อว้ น ปอ้ ม และส่วนมากจะมรี ยางค์หนา้ และหลังคอ่ นข้างสน้ั
อึ่งอ่างบ้านสามารถพบเห็นได้แม้กระท่ังบริเวณซอกหรือโพรงในต้นไม้หรือ
หลุมต่างๆ พวกนี้สามารถปีนป่ายพื้นผิวได้เป็นระยะสั้น แม้ว่าความสามารถ
ในการปนี ป่ายจะมีไมม่ ากนัก เชน่ สามารถปนี ต้นไมไ้ ดส้ ูง 1-2 เมตร เนอ่ื งจาก
ท่ีปลายน้ิวของแต่ละน้ิวจะพองบานออกเป็นแผ่นส�ำหรับยึดเกาะกับพ้ืนผิว
ระหวา่ งนิ้วของแต่ละนว้ิ ทงั้ มอื และตีนไมม่ พี งั ผืด
การเคลอื่ นทเี่ พอื่ ลงไปมดุ อาศยั อยใู่ ตด้ นิ นนั้ องึ่ อา่ งบา้ นจะเอาดา้ นทา้ ยของล�ำตวั
ลงก่อน ซึง่ แตกต่างจากสัตว์อื่นๆ ทมี่ ุดโดยเอาดา้ นหัวลงกอ่ น โดยจะเอาตีนหลัง
ขุดดนิ ซ่งึ ท่ฝี ่าตนี จะมีแผ่นส�ำหรบั ใช้ขดุ ดินฝังตัว
สผี วิ ดา้ นหลงั จะมสี นี ำ้� ตาลเขม้ ถงึ สดี �ำ สว่ นบรเิ วณดา้ นขา้ งของล�ำตวั จะมสี เี หลอื ง
หรอื สจี างกวา่ ด้านหลงั มาก

การกระจาย มกี ารกระจายอยา่ งกวา้ งขวางในประเทศไทย พมา่ ลาว กัมพูชา และเวยี ดนาม
ทางตอนเหนือของเกาะสมุ าตรา และทางตอนใต้สุดของประเทศจีน

T(สThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงท่ี

34 สัตวส์ ะเทนิ น้ำ� สะเทนิ บกบรเิ วณเขาถ�้ำเสอื -เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 35

การสังเกตเพศของอ่ึงอ่างบ้าน จะพบว่าเพศผู้จะมีสีของผิวหนังบริเวณ
ใตค้ างมีสีด�ำหรอื สีเขม้

36 สัตวส์ ะเทินน�้ำสะเทนิ บกบริเวณเขาถ�ำ้ เสอื -เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 37

ชอื่ ไทย องึ่ อ่างกน้ ขีด
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์
อนุกรมวธิ าน Kaloula mediolineata

ลกั ษณะทัว่ ไป Order Anura (Salientia)
Family Microhylidae
Genus Kaloula
Species Kaloula mediolineata (Smith, 1917)

ลักษณะเด่นของอึ่งอ่างชนิดคือ มีแถบสีขาวที่บริเวณด้านท้ายของล�ำตัว จึงเป็น
ทมี่ าของชอ่ื อง่ึ อา่ งกน้ ขดี ล�ำตวั อว้ นปอ้ ม ขาหนา้ และขาหลงั สนั้ ผวิ หนงั เรยี บ ลนื่
เมื่อได้รับอันตรายจะหล่ังสารสีขาวออกมา ซึ่งมีคุณสมบัติเหนียว เกาะติดกับ
มือแน่น ลา้ งออกได้ยาก ไม่มกี ลนิ่
อึ่งอ่างก้นขีด จัดเป็นอ่ึงท่ีมีขนาดใหญ่ มีลักษณะและขนาดที่ใกล้เคียงกับ
องึ่ อา่ งบา้ นมากแตม่ คี วามแตกตา่ งกนั เพยี งเสน้ สขี าวดา้ นทา้ ยของล�ำตวั ดงั ทก่ี ลา่ ว
มาแล้วเท่านน้ั
มีการเคล่ือนที่ได้ค่อนข้างเร็วและมีพฤติกรรมการป้องกันตัวโดยการพองตัวให้มี
ขนาดใหญ่ และยกตัวข้ึนสูง และเม่ือหลบหลีกจะปล่อยลมออกมาเสียงดังฟู่
แล้วจะกระโดดหนีไปอย่างรวดเร็ว นอกจากน้ันอึ่งอ่างก้นขีดยังสามารถมุดลง
ดนิ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ โดยใชต้ นี หลงั ขดุ ลงไปในดนิ แลว้ ถอยหลงั ลงไปจากนน้ั จงึ ใชด้ นิ
กลบลงไปอย่างรวดเรว็

การกระจาย กระจายอยู่ในตอนกลางของประเทศไทยระหว่างพิษณุโลกถึงประจวบคีรีขันธ์
(สTThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f บางส่วนของภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทางตอนใต้ของลาว
และตอนกลางของเวียดนาม
ก�ำลงั ลดลง

38 สตั วส์ ะเทินน้ำ� สะเทินบกบรเิ วณเขาถำ�้ เสือ-เขาจ�ำปา

ลักษณะเด่นของอ่ึงอ่างก้นขีดคือแถบสีขาว
จ�ำนวนหนึ่งขีดบรเิ วณสะโพก

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทนิ บกบรเิ วณเขาถำ้� เสอื -เขาจำ� ปา 39

40 สตั วส์ ะเทนิ นำ้� สะเทนิ บกบริเวณเขาถ�้ำเสอื -เขาจำ� ปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 41

ชอ่ื ไทย เขียดจะนา
ชื่อวิทยาศาสตร์
อนุกรมวธิ าน Occidozyga lima

ลกั ษณะท่วั ไป Order Anura (Salientia)
Family Ranidae
Genus Occidozyga
Species Occidozyga lima (Gravenhorst, 1829)

เขียดชนิดน้ีสามารถพบเห็นได้ง่ายในบริเวณแอ่งน�้ำสะอาดขนาดเล็ก ล�ำตัวของ
เขยี ดชนดิ นม้ี สี นี ำ�้ ตาลออ่ นและมแี ถบสเี ขยี วบรเิ วณดา้ นหลงั เปน็ แนวพาดไปตลอด
ความยาวของล�ำตวั
ลักษณะเด่นของเขียดชนิดน้ี เป็นเขียดท่ีมีขนาดเล็ก ตาอยู่ค่อนมาทางด้านบน
ของหัว ผิวหนังบนตัวมีตุ่มขนาดเล็กกระจายอยู่ท่ัว และที่ตีนหลังในระหว่างนิ้ว
จะมีพังผืดเต็ม ลักษณะดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงลักษณะนิสัยของเขียดชนิดนี้ที่
อาศัยอย่ใู นนำ�้ มากกว่าบนบก
จะพบเขียดชนิดน้ีผสมพันธุ์อยู่ในแหล่งน้�ำตื้น โดยจับเป็นคู่ๆ บางตัวที่ยังไม่มีคู่
ก็จะส่งเสียงร้อง เช่น ท่ีอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ในเขตของจังหวัดปราจีนบุรี
จะพบเขยี ดชนดิ นผี้ สมพันธ์ุกนั ในชว่ งเดือนสงิ หาคม

การกระจาย กระจายท่ัวประเทศไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม ส่วนใหญ่ของพม่ายกเว้น
ภาคตะวนั ตกเฉยี งเหนอื บางสว่ นของบงั คลาเทศ ตอนใตข้ องจนี ครอบคลมุ ฮอ่ งกง
พบกระจายส่วนใหญ่บนเกาะสุมาตราและชวา

ส(TThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงท่ี

42 สตั ว์สะเทนิ น�ำ้ สะเทินบกบริเวณเขาถ�้ำเสอื -เขาจำ� ปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 43

ช่อื ไทย เขียดทราย, เขยี ดน�้ำนอง
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์
อนุกรมวิธาน Occidozyga martensii 

ลกั ษณะท่ัวไป Order Anura (Salientia)
Family Ranidae
Genus Occidozyga
Species Occidozyga martensii (Peters, 1867)
สามารถพบเหน็ ไดท้ วั่ ไป ในบรเิ วณทน่ี ำ้� ทว่ มถงึ หรอื แอง่ นำ�้ ขนาดเลก็ ๆ ทม่ี รี ะดบั นำ�้
ไม่ลึกมากนัก เช่น ตามคู คลองหรือทางระบายน�้ำในสวนต่างๆ หรือแอ่งน�้ำขัง
หลงั ฝนตก
ลักษณะเด่นของเขียดน�้ำนอง คือด้านหลังมีแถบสีขาวจางหรือเหลืองอ่อน
พาดขนานกับแนวกระดูกสันหลังด้านละหนึ่งเส้น ผิวหนังบนตัวมีตุ่มขนาดใหญ่
และเล็กกระจายอย่ทู วั่
ขาหน้าและขาหลังค่อนข้างส้ัน ท�ำให้สามารถกระโดดได้เป็นระยะทางส้ันๆ
ล�ำตวั อ้วนปอ้ ม หัวเลก็ ตาเล็ก ท้องคอ่ นข้างใหญ่

การกระจาย กระจายตลอดทั่วประเทศไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ทางตอนใต้ของจีน
และทางตอนเหนอื ของมาเลเซยี

ส(TThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงท่ี

44 สตั วส์ ะเทินน�ำ้ สะเทนิ บกบรเิ วณเขาถ�้ำเสือ-เขาจำ� ปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 45

ชื่อไทย กบหนอง
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์
อนุกรมวิธาน Fejervarya limnocharis

ลกั ษณะท่ัวไป Order Anura (Salientia)
Family Ranidae
Genus Fejervarya
Species Fejervarya limnocharis (Gravenhorst, 1829)

กบหนอง เป็นกบที่มีการกระจายกว้างขวางท่ัวประเทศ จัดเป็นอาหารท่ีส�ำคัญ
ของชาวอีสาน โดยน�ำมาเสียบไมป้ งิ้ เปน็ ตบั จมิ้ แจว่ เป็นตน้
ลกั ษณะภายนอกของกบหนองน้นั จะมีอยูส่ องลักษณะดว้ ยกนั คือ แบบท่มี ีแถบ
กลางหลงั สขี าวและแบบทไี่ มม่ แี ถบสขี าว และสว่ นใหญจ่ ะมลี ายเปน็ รปู W สเี ขม้
อยู่กลางหลัง บริเวณใต้คางในตัวเต็มวัยเพศผู้จะมีแถบสีด�ำรูป W ส่วนเพศเมีย
จะไมม่ ลี ักษณะดังกล่าว
กบหนองเป็นกบที่มีขนาดปานกลาง จะพบได้ในทุกฤดู บริเวณใกล้ๆ แหล่งน้�ำ
โดยเฉพาะในฤดูฝน จะเปล่งเสียงร้องกันอย่างระเบ็งเซ็งแซ่ไปท่ัวตามเรือกสวน
ไร่นา หรือตามสวนข้างบ้าน ลองสังเกตดู ในขณะท่ีเปล่งเสียงถุงคอจะโป่งพอง
และมีรอยคอดอยู่ตรงกลางเลก็ นอ้ ย

การกระจาย ทั่วประเทศไทย ลาว กัมพูชา พม่า เวียดนาม ครอบคลุมเกาะสุมาตรา ชวา
และพบบางแห่งในเกาะบอร์เนียว ทางตะวันออกกระจายขึ้นทางตอนใต้
และตะวันออกของจีน ครอบคลุมฮ่องกง ไต้หวันและทางตอนใต้ของประเทศ
ญปี่ นุ่ การกระจายทางทศิ ตะวนั ตกของประเทศไทย ครอบคลมุ อนิ เดยี บงั คลาเทศ
และบางสว่ นของเนปาล

ส(TThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงที่

46 สัตวส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบรเิ วณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจำ� ปา


Click to View FlipBook Version