The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุด 6 เล่ม (พรรณไม้ ผีเสื้อ แตน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินก นก ค้างคาว)
โครงการ อพ.สธ. สนองพระราชดำริโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dpongchai, 2020-08-12 11:34:55

สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก

หนังสือชุด 6 เล่ม (พรรณไม้ ผีเสื้อ แตน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินก นก ค้างคาว)
โครงการ อพ.สธ. สนองพระราชดำริโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords: อพ.สธ.

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 47

กบหนองเพศเมียสีของผวิ หนังบรเิ วณคางจะเปน็ สขี าว

48 สัตวส์ ะเทนิ นำ�้ สะเทินบกบรเิ วณเขาถ�ำ้ เสอื -เขาจ�ำปา

กบหนองเพศผู้สีของผวิ หนังบรเิ วรใตค้ างจะมีสดี �ำรปู ตัว M

สัตวส์ ะเทนิ น้�ำสะเทนิ บกบรเิ วณเขาถ้ำ� เสอื -เขาจำ� ปา 49

ช่อื ไทย กบนา
ชือ่ วทิ ยาศาสตร์
อนุกรมวิธาน Hoplobatrachus rugulosus

ลกั ษณะท่ัวไป Order Anura (Salientia)
Family Ranidae
Genus Hoplobratachus
Species Hoplobatrachus rugulosus (Wiegmann, 1834)
กบที่คนไทยนิยมน�ำมารับประทานรวมท้ังเป็นแหล่งโปรตีนที่ส�ำคัญอีกชนิดหนึ่ง
คอื กบนารวมทง้ั ยงั เปน็ ชนดิ ทนี่ ยิ มน�ำมาเลยี้ งไวข้ ายเปน็ กบเนอ้ื ดว้ ย ในธรรมชาติ
นอกจากตามท้องทุ่งนาแล้ว ไม่สามารถพบเห็นได้ง่ายนัก นอกจากในฤดูฝน
จะไดย้ ินเสยี งกรู่ อ้ งล่นั ทุ่ง ซ่งึ จะพบเห็นได้ง่ายประมาณเดอื นมถิ ุนายน
กบนา จัดเป็นกบท่ีมีขนาดใหญ่ ตัวค่อนข้างกว้าง ขาส้ัน ท�ำให้มองดูเหมือน
ตัวอ้วนสั้น ตีนของกบชนิดนี้ จะมีพังผืดเต็มทุกนิ้ว ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าถิ่นที่อยู่
อาศยั หลกั ของมนั คอื ลุ่มน้�ำหรอื แหลง่ น้�ำ
ลักษณะนิสัย เป็นกบท่ีค่อนข้างตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้ง่าย จะไม่
สามารถเข้าใกล้ได้ จะมีลักษณะท่าทางหมอบก่อนที่จะกระโดด แต่ไม่สามารถ
กระโดดได้เปน็ ระยะไกลมากนัก

การกระจาย ตอนกลางของประเทศไทย กัมพูชาและเวียดนามครอบคลุมตอนกลางของพม่า
ทางภาคตอนกลางและตะวนั ออกของจีน ฮอ่ งกงและไตห้ วนั

ส(TThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงท่ี

50 สตั วส์ ะเทินนำ�้ สะเทนิ บกบรเิ วณเขาถ้ำ� เสอื -เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 51

ชื่อไทย กบบวั , เขยี ดบวั
ชอื่ วิทยาศาสตร์
อนกุ รมวธิ าน Hylarana erythraea

ลักษณะท่วั ไป Order Anura (Salientia)
Family Ranidae
Genus Hylarana
Species Hylarana erythraea (Schlegel, 1837)

ล�ำตวั มสี เี ขยี วสดคลา้ ยสขี องใบบวั และมกั พบวา่ ก�ำลงั นงั่ อยบู่ นใบบวั จงึ เปน็ ทม่ี า
ของช่ือกบบัวหรือเขียดบัว สามารถพบเห็นได้ในบริเวณท่ีมนุษย์อาศัยอยู่ เช่น
อา่ งบวั หรือสระน�ำ้
ล�ำตัวเรียวยาว ขอบปากมีสีขาว เยื่อบุช่องหูสามารถมองเห็นได้ชัดเจน สันนูน
ท่ีขอบหลังขนาดใหญ่มีสีขาว ครีม หรือเหลืองสด ตีนหลังมีพังผืดเกือบเต็ม
ความยาวน้ิวซ่ึงแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ถิ่นท่ีอยูอ่ าศัยบริเวณแหลง่ น้ำ�
ลักษณะนิสัย อาศัยตามแหล่งน�้ำนิ่งท่ีมีพืชน�้ำปกคลุม มีความว่องไวและมักจะ
กระโดดหนีได้ไกลมาก

การกระจาย พบได้ทุกภาคในประเทศไทย รวมถึงประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่
พมา่ ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ กมั พชู า มาเลเซีย บรไู น อินโดนีเซีย และฟิลปิ ปนิ ส์

(TสThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงที่

52 สตั วส์ ะเทินนำ้� สะเทนิ บกบริเวณเขาถ�ำ้ เสอื -เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 53

ชือ่ ไทย กบหลงั ไพล, เขียดหลังไพล
ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Pelophylax lateralis
อนกุ รมวธิ าน Order Anura (Salientia)
Family Ranidae
Genus Pelophylax
Species Pelophylax lateralis (Boulenger, 1887)

ลักษณะทวั่ ไป สามารถพบเหน็ ไดต้ ามผนื ปา่ ทคี่ อ่ นขา้ งแหง้ แลง้ เชน่ ปา่ เตง็ รงั หรอื ปา่ เบญจพรรณ
ลักษณะเด่นคือ จัดเป็นกบท่ีมีขนาดกลาง ล�ำตัวมีสีเขียวไพหรือเขียวมะกอก
ข้างล�ำตัวมีแถบสีเข้มกระจายอยู่โดยเฉพาะบริเวณเยื่อบุช่องหู หลังเยื่อบุช่องหู
มขี ดี สขี าวพาดเฉยี งลงมาถงึ ขอบปากขอบปากบนมสี ขี าว สนั นนู ทขี่ อบหลงั ขนาด
เล็ก ปลายน้ิวตีนหน้าและหลังเรียวยาว มีพังผืดท่ีปลายน้ิวตีนหลังเล็กน้อย
ด้านขา้ งของท้องมลี ายประสเี ขม้ กระจายอยู่
ลกั ษณะนิสยั มกั พบอยบู่ รเิ วณใกลแ้ หล่งน�้ำท่ีมพี ืชปกคลมุ อยรู่ อบๆ แหล่งนำ�้

การกระจาย พบได้ทุกภาคในประเทศไทยยกเวน้ ภาคใต้ ทางใต้ของจีน พมา่ ลาว เวยี ดนาม
และกมั พชู า

ส(TThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงที่

54 สัตว์สะเทนิ น้ำ� สะเทินบกบรเิ วณเขาถ�ำ้ เสือ-เขาจำ� ปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 55

ช่ือไทย ปาดบ้าน

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Polypedates leucomystax

อนกุ รมวิธาน Order Anura (Salientia)
Family Rhacophoridae
Genus PolypedatesSpecies Polypedates leucomystax
(Gravenhorst, 1829)

ลักษณะทัว่ ไป ปาดบ้าน เป็นสัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบกพวกปาดที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไป
การกระจายของปาดบา้ นจะมกี ารกระจายอยา่ งกวา้ ง ทงั้ ในบรเิ วณถน่ิ ทอ่ี ยอู่ าศยั
ธรรมชาติและบริเวณทถี่ กู เปล่ียนแปลงไปเปน็ ที่อยู่อาศยั เรือกสวนตา่ งๆ
ลักษณะเด่นของปาดบ้านคือ ขนาดของขาหน้าและหลังยาว ปีนป่ายอยู่ตาม
กิ่งไม้ การสืบพันธุ์ของปาดบ้านน้ันจะวางไข่ในรังที่เป็นฟองขนาดต่างๆ เหนือ
แหล่งน้�ำหรอื ใกลแ้ หลง่ น้ำ�
ลักษณะภายนอกของปาดบ้านนั้น จะมี 2 แบบ คือแบบท่ีล�ำตัวไม่มีลวดลาย
สีเหลืองหรือเหลืองอ่อนจนถึงน้�ำตาลแดง และอีกแบบคือแบบท่ีมีลวดลาย
เปน็ แถบยาวตามล�ำตวั โดยทล่ี กั ษณะของแถบนนั้ จะมสี เี ขม้ และสจี างสลบั กนั ไป
ลกู ออ๊ ดจะมลี �ำตวั คอ่ นขา้ งใสและมลี กั ษณะเดน่ คอื บรเิ วณปลายจมกู ของลกู ออ๊ ด
จะมีจดุ สีขาว ขนาดลกู อ๊อดจัดเป็นกล่มุ ทมี่ ขี นาดปานกลาง
ในแหล่งน้�ำบางแห่งเราจะสามารถพบเห็นฟองไข่วางอยู่ท่ัวไป และในขณะที่มี
การผสมพันธุ์ สัดส่วนของจ�ำนวนตัวของเพศผู้ต่อเพศเมียน้ันจะแตกต่างกัน
โดยปกติจะพบเพศเมียหน่ึงตวั ตอ่ เพศผูห้ น่งึ ถึงเจ็ดตัว

การกระจาย ไทย ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม มาเลเซยี สงิ คโปร์ เกาะสุมาตรา ชวา และบางส่วน
ของเกาะบอร์เนยี ว ฟิลิปปนิ ส์ ฮอ่ งกง ไต้หวนั

สT(ThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงที่

56 สัตว์สะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บกบริเวณเขาถ�้ำเสอื -เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 57

58 สตั วส์ ะเทนิ นำ้� สะเทนิ บกบริเวณเขาถ�้ำเสอื -เขาจำ� ปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 59

ช่อื ไทย ปาดจ๋ิวลายแต้ม

ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Chiromantis nongkhorensis

อนุกรมวิธาน Order Anura (Salientia)
Family Rhacophornidae
Genus Chiromantis
Species Chiromantis nongkhorensis (Cochran, 1927)

ลกั ษณะท่ัวไป ในสกลุ ปาดจว๋ิ ดว้ ยกนั ปาดจว๋ิ ลายแตม้ จดั เปน็ ชนดิ ทม่ี ขี นาดใหญ่ ปาดจวิ๋ ลายแตม้
จะพบอาศัยอยู่บนต้นไม้ที่ค่อนข้างสูง จะส่งเสียงร้อง ต๊ิก……ต๊ิก……ติ๊ก…….
สม่�ำเสมอในฤดูผสมพันธุ์บนต้นไม้เหนือแอ่งน�้ำ บางบริเวณจะพบว่าปาดจิ๋ว
ชนดิ นม้ี าจบั กลมุ่ ผสมพนั ธก์ุ นั เปน็ จ�ำนวนมาก เชน่ ทสี่ ถานวี จิ ยั สตั วป์ า่ ฉะเชงิ เทรา
เขตรกั ษาพนั ธุ์สตั วป์ า่ เขาอ่างฤาไนย เปน็ ตน้
สีของล�ำตัวเป็นสีน�้ำตาลอ่อน และมีลายจางๆ อยู่บนหลัง ส่วนด้านท้องจะมี
สอี อ่ นหรือสขี าวมากกวา่ ด้านหลงั
ลกั ษณะของปาดชนดิ นคี้ อื มหี นา้ คอ่ นขา้ งสน้ั ปลายจมกู ปา้ น ล�ำตวั คอ่ นขา้ งยาว
ขาหลังยาวมากกว่าขาหนา้ สามารถปนี ป่ายไดด้ ี

การกระจาย ตอนกลางของประเทศไทย ตอนใต้ของลาว ตลอดจนกัมพูชา ทางตอนใต้ของ
เวยี ดนาม และทางตอนกลางของพมา่

ส(TThถhrาeeนaItUะeCnNedReSdpeLcisietso)f คงที่

60 สตั วส์ ะเทินน�้ำสะเทนิ บกบริเวณเขาถ�้ำเสือ-เขาจ�ำปา

สตั วส์ ะเทนิ น�้ำสะเทินบกบริเวณเขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา 61

เอกสารอา่ นเพม่ิ เตมิ

ธัญญา จั่นอาจ. 2546. คู่มือสัตว์สะเทินน้ําสะเทินบกในเมืองไทย. ด่านสุธาการพิมพ์.
กรุงเทพฯ. 175 หน้า.

ปิยวรรณ นิยมวัน, ไพรวัลย์ ศรีสม และ ปริญญา ภวังคะนันทน์. 2559. คู่มือหนังสือ
ภาคสนามโครงการวจิ ยั นเิ วศวทิ ยาปา่ ไมร้ ะยะยาว: สตั วส์ ะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บกหว้ ยขาแขง้ .
ภาพพมิ พ.์ กรงุ เทพฯ. 272 หนา้ .

พัชร ดนัยสวัสด์ิ. 2551. ความหลากหลายของชนิดสัตว์สะเทินน้�ำสะเทินบกในพ้ืนท่ี
เตรียมจัดต้ังอุทยานแห่งชาติเขาสิบห้าชั้น จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ระดับ
มหาบัณฑติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 156 หนา้ .

วิเชฏฐ์ คนซื่อ, ปรวีร์ พรหมโชติ และ กันย์ นิติโรจน์. 2549. สัตว์สะเทินน�้ำสะเทินบก
ท่ที องผาภูมติ ะวันตก. จริ วฒั น์เอก๊ ซ์เพลส. กรงุ เทพฯ. 64 หนา้ .

วเิ ชฏฐ์ คนซอื่ , อนุสรณ์ ปานสขุ , สุทธณิ ี เหลาแตว, พัชร ดนยั สวัสด์,ิ ภาณพุ งศ์ ธรรมโชต,ิ
ธงชัย ฐติ ภิ ูร,ี รชตะ มณอี ินทร,์ ผสุ ตี ปรยิ านนท์ และ สมชาย เสนศร. 2554. สตั ว์สะเทินน�ำ้
สะเทินบกในหมูเ่ กาะทะเลไทย. สิรบตุ รการพมิ พ์. กรุงเทพฯ. 64 หนา้ .

Djong, T.H., Islam, M.M., Nishioka, M., Matsui, M., Ota, H., Kuramoto, M., Khan,
Md.M.R., Alam, M.S., Anslem, D.S., Khonsue, W., Sumida, M. 2007. Genetic
relationships and reproductive-isolation mechanisms among the Fejervarya
limnocharis complex from Indonesia (Java) and other Asian countries.
Zoological Science 24 (4): 360-375.

Kotaki M, Kurabayashi A, Matsui M, Khonsue W, Djong TH, Tandon M, Sumida
M. 2008. Genetic Divergences and Phylogenetic Relationships Among the
Fejervarya limnocharis Complex in Thailand and Neighboring Countries
Revealed by Mitochondrial and Nuclear Genes. Zoological Science.
25 (4): 381-390.

Matsui, M., H. Ito, T. Shimada, H. Ota, S. K. Saidapur, W. Khonsue, T. Tanaka-Ueno
and G. Wu. 2005. Taxonomic relationships within the Pan-Oriental
narrow-mouth toad, Microhyla ornata as revealed by mtDNA Analysis
(Amphibia, Anura, Microhylidae). Zoological Science 22: 489-495.

Matsui, M., Ito, H., Shimada, T., Ota, H., Saidapur, S.K., Khonsue, W., Tanaka-Ueno,
T., Wu, G.-F. 2005. Erratum: Taxonomic relationships within the pan-oriental
narrow-mouth toad Microhyla ornata as revealed by mtDNA analysis
(Amphibia, Anura, Microhylidae) (Zoological Science (2005) 22:4 (489-495)).
Zoological Science 22(6): 711.

Matsui, M., Nabhitabhata, J., Chan–Ard, T. and Thirakhupt, K. 1996. Sciencetific
Report in Topic “Evolutinary Studies of Small Animals Living in Asian
Tropics 1994-1995”.

Nabhitabhata, J., Chan–ard, T. and Chuaynkern, Y. 2000. Checklist of
Amphibians and Reptiles in Thailand. Office of Environmental Policy
and Planning. Thailand.

Sumida, M., Kotaki, M., Islam, M.M., Djong, T.H., Igawa, T., Kondo, Y., Matsui,
M., Anslem, D.S., Khonsue, W., Nishioka, M. 2007. Evolutionary relationships
and reproductive isolating mechanisms in the rice frog (Fejervarya
limnocharis) species complex from Sri Lanka, Thailand, Taiwan and Japan,
inferred from mtDNA gene sequences, allozymes, and crossing
experiments. Zoological Science 24 (6): 547-562.

Taylor, E. H. 1962. The amphibian fauna of Thailand. University Kansas Science
Bulletin. 43(8): 265–599.


Click to View FlipBook Version