The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phanupon phasuchaisakul, 2020-03-04 03:00:29

แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี

แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี

Keywords: แผนพัฒนาท้องถิ่น

แผนพฒั นาทอ้ งถ่ินส่ีปี

(พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔)

“ตําบลกดุ ปลาดกุ น่าอยู่ ประชาชนมีคณุ ภาพชีวติ ท่ีดี
มีการบริหารจัดการท่ีโปร่งใส นอ้ มนาํ ใจเศรษฐกิจพอเพียง”

 
 
 
 

องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลกดุ ปลาดกุ
อาํ เภอเมอื งอาํ นาจเจรญิ จงั หวดั อาํ นาจเจรญิ

โทรศพั ท/ โทรสาร ๐๔๕-๕๔๑๔๐๗

 

คํานาํ

ด้วยพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ บัญญัติให้องค์การบริหารส่วนตําบล มีอํานาจหน้าที่ใน
การจัดทําแผนพัฒนาท้องถ่ินของตนเอง ภายใต้การกํากับตรวจสอบ ดูแล ของหน่วยงานรัฐ และผ่านการมี
ส่วนร่วมของประชาชน และระเบียบของกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ กําหนดว่า “แผนพัฒนา” หมายความว่า แผนพัฒนาท้องถ่ินส่ีปีของ
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น โดยใหค้ วามหมายของแผนพัฒนาทอ้ งถิ่นสีป่ ี ไว้ดงั นี้

“แผนพฒั นาทอ้ งถ่ินส่ีปี ” หมายความว่า แผนพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ที่
กาํ หนดวิสัยทศั น์ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ เป้ าประสงค์ ตวั ช้ีวดั ค่าเป้ าหมาย และกลยทุ ธ์ โดยสอดคลอ้ งกบั
แผนพฒั นาจงั หวดั ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นในเขตจงั หวดั แผนพฒั นาอาํ เภอ
แผนพฒั นาตาํ บล แผนพฒั นาหมู่บา้ นหรือแผนชุมชน อนั มีลกั ษณะเป็ นการกาํ หนดรายละเอียดแผนงาน
โครงการพฒั นา ที่จดั ทาํ ข้ึนสาํ หรับปี งบประมาณแต่ละปี ซ่ึงมีความต่อเนื่องและเป็ นแผนกา้ วหนา้ และให้
หมายความรวมถึงการเพิม่ เติมหรือเปล่ียนแปลงแผนพฒั นาทอ้ งถ่ินส่ีปี

องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ได้เล็งเห็นความจําเป็นและความสําคัญเกี่ยวกับการ
จัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี จึงจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่นส่ีปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๔) ข้ึน ซึ่งถือปฏิบัติตาม
ระเบยี บของกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๕๙ ข้อ ๑๗ โดยผ่านกระบวนการจัดทําประชาคมท้องถิ่น และสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด
ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นในเขตจงั หวดั แผนพฒั นาอาํ เภอ แผนพฒั นาตาํ บล
แผนพฒั นาหมู่บา้ นหรือแผนชุมชน อันมีลักษณะเป็นการกําหนดรายละเอียดแผนงานโครงการพัฒนาท่ี
จัดทําขึ้นสําหรับปีงบประมาณแต่ละปี ซ่ึงมีความต่อเน่ืองและเป็นแผนก้าวหน้า องค์การบริหารส่วนตําบลกุด
ปลาดุกหวังเป้นอย่างย่ิงว่าแผนพฒั นาทอ้ งถ่ินส่ีปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๔) ฉบับนี้ จะได้ใช้เป็นแนวทางการจัดทํา
งบประมาณประจําปีและตอบสนองความต้องการของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุกได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป

องคก์ ารบรหิ ารส่วนตําบลกดุ ปลาดกุ
ตุลาคม ๒๕๕๙

  หนา้
 
  ๑
  ๒

สารบัญ ๔

สว่ นที่ ๑ สภาพทว่ั ไปและขอ้ มลู พน้ื ฐาน ๕
๑. ด้านกายภาพ ๕-๗
๒. ด้านการเมอื ง/การปกครอง ๗
๓. ประชากร ๗
๔. สภาพทางสังคม
๕. ระบบบริการพน้ื ฐาน ๘ – ๑๒
๖. ระบบเศรษฐกิจ
๗. เศรษฐกิจพอเพียงทอ้ งถ่นิ (ดา้ นการเกษตรและแหลง่ นํ้า) ๑๒ - ๑๓
๘. ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม ๑๓
๙. ทรพั ยากรธรรมชาติ
๑๔ –๑๖
สว่ นที่ ๒ สรปุ ผลการพฒั นาทอ้ งถนิ่ ตามแผนพฒั นาทอ้ งถิ่น (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐) ๑๖ –๑๘
๑. สรปุ ผลการดาํ เนินงานตามงบประมาณทไ่ี ดร้ บั และการเบิกจา่ ยงบประมาณ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐
๒. ผลท่ีไดร้ ับจากการดําเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐
๓. สรุปปญั หาอปุ สรรคการดําเนนิ งานทผี่ า่ นมาและแนวทางแก้ไข
ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐

สว่ นท่ี ๓ ยทุ ธศาสตรข์ ององคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่
๑. ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งแผนพฒั นาระดบั ภาค
- แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
- แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒

- แผนพฒั นาประเทศ ๑๘
- แผนพฒั นากลมุ่ จังหวัด ๑๙ –๒๐
- แผนพฒั นาจงั หวดั ๒๐ –๒๑
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ๒๑ –๒๒
ในเขตจงั หวัดอํานาจเจริญ
๒. ยทุ ธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ๒๒
- วสิ ัยทัศน์ ๒๒
- ยุทธศาสตร์ ๒๓
- เปา้ ประสงค์
หนา้
สารบญั (ต่อ) ๒๓ –๒๔
๒๔ –๒๕
- ตวั ชว้ี ัด
- ค่าเป้าหมาย ๒๕
- กลยทุ ธ์ ๒๖
- จดุ ยืนทางยทุ ธศาสตร์ ๒๖
- ความเชอื่ มโยงของยุทธศาสตรใ์ นภาพรวม
๓. การวเิ คราะหเ์ พอ่ื พฒั นาทอ้ งถิน่ ๒๗
- การวเิ คราะห์กรอบการจัดทํายทุ ธศาสตร์ของ อปท. ๒๘-๓๐
- การประเมินสถานการณ์สภาพแวดลอ้ มภายนอกทเี่ กยี่ วข้อง ๓๑ –๓๒
- ความเชอ่ื มโยงยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาจงั หวัดกบั ยุทธศาสตร์
การพัฒนาของ อปท. (แบบ ยท. ๐๑) ๓๓ –๓๔
- แผนผงั ยุทธศาสตร์ (แบบ ยท. ๐๒) ๓๕ –๔๓
- รายละเอยี ดยุทธศาสตร์ (แบบ ยท. ๐๓)
๑๓ –๑๗
สว่ นท่ี ๔ การนาํ แผนพัฒนาทอ้ งถิ่นสป่ี ไี ปสูก่ ารปฏิบัติ
๑. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาและแผนงาน ๔๕ –๔๖
๒. บญั ชโี ครงการพัฒนาท้องถิ่น
- บญั ชสี รุปโครงการพัฒนาแผนพฒั นาท้องถน่ิ สี่ปี (แบบ ผ.๐๗)

- บญั ชีโครงการพฒั นาสําหรับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ดาํ เนนิ การ ๔๗ –๑๑๖

(แบบ ผ.๐๑)

- บัญชีโครงการพัฒนาสาํ หรับอดุ หนุนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ๑๑๗ –๑๓๐

สว่ นราชการ รัฐวสิ าหกิจ องคก์ รประชาชน (แบบ ผ.๐๒)

- บัญชโี ครงการพัฒนาสาํ หรับประสานโครงการพฒั นา ๑๓๑ –๑๓๓

องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด (แบบ ผ.๐๓)

- บญั ชโี ครงการพฒั นาสาํ หรับโครงการพฒั นาทอ่ี งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ๑๓๔ –๑๓๕

ดาํ เนนิ การเองโดยไม่ใช้งบประมาณ (แบบ ผ.๐๖)

- บญั ชีครุภณั ฑ์แผนพฒั นาทอ้ งถิน่ สี่ปี (แบบ ผ.๐๖) ๑๓๖ –๑๓๗

สว่ นท่ี ๕ การตดิ ตามและประเมินผล ๑๓๘ –๑๓๙
๑. การตดิ ตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ ๑๔๐
๒. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ ๑๔๐
๓. สรปุ ผลการพัฒนาท้องถิ่นในภาพรวม
๔. ขอ้ เสนอแนะในการจดั ทําแผนพัฒนาท้องถิน่ ในอนาคต ๑๔๑ –๑๔๕

แผนพัฒนาท้องถ่ินส่ีปี
(พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔)
ขององค์การบรหิ ารส่วนตําบลกุดปลาดกุ
อําเภอเมอื งอาํ นาจเจริญ จังหวัดอํานาจเจรญิ
.............................................................................

ส่วนที่ ๑ สภาพทั่วไปและขอ้ มูลพนื้ ฐาน

................................................................................................................................................................

๑. ด้านกายภาพ
๑.๑ ที่ตง้ั ของหมู่บ้านหรอื ชมุ ชนหรือตาํ บล
องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก อําเภอเมืองอํานาจเจริญ จังหวัดอํานาจเจริญ ได้รับการยกฐานะข้ึน

เป็นองคก์ ารบริหารสว่ นตําบล เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๔๐

ท่ีตัง้

ตําบลกุดปลาดุก เป็นหนึ่งใน ๑๙ ตําบล ของอําเภอเมืองอํานาจเจริญ จังหวัดอํานาจเจริญ ที่ทําการ

องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ตั้งอยู่ที่บริเวณท่ีสาธารณประโยชน์ห้วยตาก ห่างจากตัวอําเภอเมืองและตัว

จงั หวัดอํานาจเจรญิ ประมาณ ๑๕ กิโลเมตร

อาณาเขต

ตาํ บลกดุ ปลาดกุ มเี ขตพื้นทท่ี ง้ั หมดประมาณ ๖๔.๔๐ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๔๐,๒๕๐ ไร่

ทศิ เหนือ ติดตอ่ เขตเทศบาลตําบลนาวงั

ทิศตะวันออกเฉยี งเหนือ ติดตอ่ เขตองคก์ ารบริหารสว่ นตาํ บลนาผือ

ทิศตะวนั ออกเฉียงใต้ ติดตอ่ เขตองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลโนนหนามแท่ง

ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ เขตองค์การบรหิ ารสว่ นตาํ บลโนนโพธิ,์ เทศบาลตาํ บลนายม,

เทศบาลตาํ บลนาหมอมา้

ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ เขตเทศบาลตําบลโคกนาโก จงั หวัดยโสธร

๑.๒ ลักษณะภูมปิ ระเทศ

องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุกมีลักษณะภูมิประเทศ โดยท่ัวไปเป็นท่ีราบสูงๆต่ําๆ ดินร่วนปนทราย

และลกู รังบางสว่ น แตส่ ามารถทาํ การเกษตรได้

๑.๓ ลักษณะภูมอิ ากาศ

ลักษณะภูมอิ ากาศแบง่ ออกเป็น ๓ ฤดู (แบบมรสมุ ) คอื

-ฤดูร้อน เร่ิมประมาณช่วงเดือนมีนาคม จนถึงเดือนเมษายน อากาศจะร้อนอบอ้าวมากช่วงท่ีมีอากาศ
ร้อนจดั คอื เดือนเมษายน

-ฤดฝู น เริ่มประมาณช่วงเดอื นพฤษภาคม จนถงึ กลางเดอื นตุลาคม
-ฤดูหนาว เร่ิมประมาณช่วงเดือนพฤศจิกายน จนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ ช่วงที่มีอากาศหนาวจัด
เดือนธันวาคม และ มกราคม

-๑-

๑.๔ ลักษณะของทด่ี ิน
ดนิ ร่วนปนทรายและลูกรงั บางส่วน แต่สามารถทําการเกษตรได้
๑.๕ ลักษณะของแหลง่ น้ํา
แหลง่ น้าํ สําคัญในเขตพ้นื ที่องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุกลําห้วยสําคัญท่ีไหลผ่านเขตองค์การบริหาร
ส่วนตําบลกุดปลาดุก มีอยู่ ๗ สาย ได้แก่ ลําห้วยยาง ลําห้วยโป่งนอง ลําห้วยไผ่ ลําห้วยคําพอก ลําห้วยตาด
ลาํ หว้ ยหนองกุง ลําหว้ ยบกั บา้
๑.๖ ลกั ษณะของไมแ้ ละปา่ ไม้
สภาพโดยทว่ั ไป สังคมปา่ ไม้ในพ้ืนที่จัดเป็นปา่ เตง็ รงั และป่าดบิ แล้ง

๒. ด้านการเมือง/การปกครอง
๒.๑ เขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก มีประชากรทั้งสิ้นจํานวน ๖,๐๖๓ คน แยกเป็นชาย จํานวน

๓,๐๖๔ คน แยกเป็นหญิง จํานวน ๒,๙๙๙ คน

หมทู่ ี่ ช่อื หมู่บา้ น ชื่อกาํ นัน / ผู้ใหญ่บ้าน

๑ บ้านกดุ ปลาดุก นายจําลอง พิลาทอง
๒ บา้ นกุดปลาดุก นายสมชาย เผา่ ศรี
๓ บ้านวงั แคน นายเสวยี น ทองโสม
๔ บ้านคําบอน นายสุพัฒน์ หม่นั หินลาด
๕ บา้ นปา่ ต้วิ นายรศั มี สวุ ะศรี
๖ บา้ นปา่ ตวิ้ นายฉลาด ศาลารมย์
๗ บ้านนาสีนวน นายประสิทธ์ิ ไวยหงษ์
๘ บ้านนาสีนวน นายประสิทธ์ิ บญุ รําไพร
๙ บา้ นนาเมือง นายละมา้ ย จรูญกลุ
๑๐ บ้านห้วยร่องคํา นายสปอต อินทรยี ์
๑๑ บ้านปา่ เตย นายสมยง ไชยเอก

๑๒ บ้านกดุ น้ําคํา นายบญุ ร่วม สานนท์ (กํานนั )

๒.๒ การเลอื กต้ัง
องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุกมีการเลือกต้ังครั้งล่าสุดนายกองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก
วันที่ ๑๐ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ และสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก วันที่ ๑๙ เดือน
ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ซ่ึงปัจจบุ นั มปี ระชาชนท่มี สี ทิ ธ์ิเลือกตงั้ ในเขตตาํ บลกดุ ปลาดกุ จาํ นวน ๔,๗๒๑ คน
(ขอ้ มูล ณ เดอื น ตุลาคม ๒๕๕๙)

-๒-

๓. ประชากร
๓.๑ ขอ้ มูลเกี่ยวกับจํานวนประชากร
องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก มีประชากรท้ังส้ินจํานวน ๖,๐๖๓ คน แยกเป็นชาย จํานวน

๓,๐๖๔ คน แยกเป็นหญิง จํานวน ๒,๙๙๙ คน จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ๑,๘๕๓
หลังคาเรือน ๑๒ หมูบ่ ้าน

ประชากร(คน) จาํ นวน

หมู่ท่ี ชอ่ื หมูบ่ า้ น ชาย หญงิ รวม ครวั เรือน

๑ บ้านกดุ ปลาดุก (หลังคาเรอื น)
๒ บา้ นกดุ ปลาดุก
๓ บ้านวังแคน ๒๘๕ ๒๗๗ ๕๖๒ ๑๙๔
๔ บ้านคาํ บอน
๕ บ้านป่าติ้ว ๔๘๔ ๔๙๗ ๙๘๑ ๒๘๒
๖ บ้านปา่ ติว้
๗ บ้านนาสนี วน ๔๔๒ ๔๑๘ ๘๖๐ ๒๔๖
๘ บา้ นนาสีนวน
๙ บ้านนาเมอื ง ๑๓๒ ๑๓๐ ๒๖๒ ๗๘
๑๐ บ้านหว้ ยรอ่ งคํา
๑๑ บา้ นปา่ เตย ๓๑๗ ๒๙๗ ๖๑๔ ๑๗๒
๑๒ บา้ นกุดนา้ํ คํา
๑๙๙ ๒๐๗ ๔๐๖ ๑๓๓

๒๖๙ ๒๔๗ ๕๑๖ ๑๓๗

๒๑๗ ๒๔๒ ๔๕๙ ๑๒๙

๒๔๕ ๒๑๕ ๔๖๐ ๑๘๔

๑๒๘ ๑๒๗ ๒๕๕ ๘๒

๘๘ ๙๐ ๑๗๘ ๖๐

๒๕๘ ๒๕๒ ๕๑๐ ๑๙๐

รวม ๓,๐๖๕ ๒,๙๙๙ ๖,๐๖๓ ๑,๘๘๗

๓.๒ ช่วงอายุและจํานวนประชากร หญิง รวม
(คน) (คน)
ชว่ งอายุ ชาย ๒๓๖ ๓๕๓
(ปี) (คน) ๒๐๖ ๔๔๑
๒๔๘ ๒๐๐ ๔๑๔
ทารก-๖ ปี ๒๓๕ ๑,๙๗๖ ๔,๐๔๗
๗-๑๒ ปี ๒๑๔ ๓๘๐ ๖๗๔
๑๓-๑๗ ปี ๒,๐๗๑ ๒,๙๙๙ ๖,๐๖๓
๑๘-๖๐ ปี ๒๙๔
๖๐ ปี ขน้ึ ไป ๓,๐๖๔

รวม

-๓-

๔. สภาพทางสังคม

๔.๑ การศกึ ษา

องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุกมีสถานศึกษาในเขตพ้ืนท่ีซึ่งสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา

ขนั้ พื้นฐาน (สพฐ.) จํานวน ๕ แหง่ ได้แก่

๑. โรงเรียนบ้านวงั แคน มนี ักเรยี นระดับอนุบาล ๑ -ประถมศึกษาปีท่ี ๖

๒. โรงเรียนบา้ นนาสีนวน มนี ักเรยี นระดบั อนุบาล ๑ -ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

๓. โรงเรียนบา้ นนาเมือง มีนกั เรียนระดับอนบุ าล ๑ -ประถมศกึ ษาปีที่ ๖

๔. โรงเรยี นบา้ นกุดปลาดุก มนี กั เรยี นระดับอนบุ าล ๑ -ประถมศกึ ษาปีที่ ๖

๕. โรงเรยี นป่าติว้ ป่าเตยวทิ ยาสรรค์ มนี ักเรียนระดบั อนบุ าล ๑ -ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

ท้ัง ๕ โรงเรียน มีการจัดการเรียนการสอนในระดับช้ัน อนุบาล ๑ -ประถมศึกษาปีท่ี ๖ และมีโรงเรียน

บา้ นกดุ ปลาดกุ แหง่ เดียวทม่ี กี ารจดั การเรียนการสอนถึงระดบั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กซ่ึงอยู่ใน

สังกัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนตําบลกดุ ปลาดกุ จาํ นวน ๒ แหง่ ไดแ้ ก่ ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก อบต.กุดปลาดุก และศูนย์

พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาสีนวน ทั้งน้ียังมีศูนย์การเรียนชุมชนสังกัดศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอเมือง

อํานาจเจริญ (ศูนย์การเรียนชุมชนเฉลิมพระเกียรติตําบลกุดปลาดุก) จํานวน ๑ แห่ง ตั้งอยู่ ณ ห้องประชุม

องค์การบรหิ ารสว่ นตําบลกุดปลาดุก

๔.๒ สาธารณสุข
ในพืน้ ทอ่ี งค์การบริหารส่วนตําบลกดุ ปลาดุก มีสถานพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ

จํานวน ๒ แห่ง คอื
๑. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลกุดปลาดุก ต้ังอยู่ หมู่ท่ี ๑ ตําบลกุดปลาดุก ให้บริการ
ดา้ นสาธารณสุขให้กับประชาชน หม่ทู ่ี ๑,๒,๓,๔,๑๐,๑๒
๒. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านนาสีนวน ต้ังอยู่ หมู่ท่ี ๘ ตําบลกุดปลาดุก ให้บริการ
ดา้ นสาธารณสุขให้กบั ประชาชน หมู่ที่ ๕,๖,๗,๘,๙,๑๑

๕. ระบบบรกิ ารพ้ืนฐาน
๕.๑ การคมนาคมขนสง่
พ้ืนที่ในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก มีถนนในความรับผิดชอบระยะทางของถนนรวมทั้งส้ิน

๖๑.๒๘๒ กิโลเมตร แบง่ ลกั ษณะของผวิ ทางได้ ดังนี้
๑. ผวิ ทางคอนกรีตเสริมเหลก็ มรี ะยะทางยาวรวม ๑๔.๙๐๓ กโิ ลเมตร
๒. ผิวทางลูกรงั มรี ะยะทางยาวรวม ๔๖.๓๗๙ กโิ ลเมตร

การจราจรในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก การเดินทางจากอําเภอเมืองอํานาจเจริญ ใช้ถนนชยางกูร
หมายเลข ๒๑๒ สายอาํ นาจเจรญิ ไปอาํ เภอเลิงนกทา จงั หวดั ยโสธร เลย้ี วซา้ ยบ้านโนนหนามแทง่ เพ่ือเข้าสถู่ นน
ที่ อจ ๓๐๑๐ สาย ทับเมย-ป่าติว้ ซ่ึงเปน็ ถนนทอ้ งถ่ินทีใ่ ชใ้ นการคมนาคมภายในตําบลกุดปลาดุก

๕.๒ การไฟฟ้า
พน้ื ท่ีทีไ่ ด้รับบริการไฟฟ้า ร้อยละ ๑๐๐ ของพ้นื ท่ีในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลกดุ ปลาดกุ ท้ังหมด

-๔-

๕.๓ การประปา
จากข้อมูลบริการระบบประปาหมู่บ้าน ท่ีมีอยู่ ๑๖ จุด ท้ังผิวดินและบาดาลในพื้นท่ีองค์การบริหารส่วน
ตําบลกุดปลาดุก จํานวน ๑๑ หมู่บ้าน มีครัวเรือนที่ใช้ จํานวน ๑,๑๗๐ ครัวเรือน ในส่วนของบ้านนาสีนวน
หม่ทู ่ี ๗ หมูบ่ า้ นมีการบริหารระบบประปาเอง

๖. ระบบเศรษฐกิจ
๖.๑ การเกษตร
ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน่ ทาํ นา ทาํ ไร่ เลยี้ งสัตว์

๗. เศรษฐกิจพอเพยี งท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งนาํ้

๗.๑ ข้อมูลพนื้ ฐานของหมู่บ้านหรือชมุ ชน
- มีจาํ นวน ๑๒ หมู่บ้าน และมีพนื้ ฐานแต่ละหมบู่ า้ น ดงั นี้

หม่บู ้าน/ชุมชน ชาย หญิง ครัวเรอื น พ้นื ที่
(ไร่)
บา้ นกุดปลาดกุ หมู่ที่ ๑ ๒๘๕ ๒๗๗ ๑๙๔ ๒,๙๒๗
บ้านกุดปลาดกุ หมูท่ ่ี ๒ ๔๘๔ ๔๙๗ ๒๘๒ ๕,๐๙๒
บ้านวังแคน หมู่ท่ี ๓ ๔๔๒ ๔๑๘ ๒๔๖ ๓,๘๑๓
บ้านคาํ บอน หมู่ที่ ๔ ๑๓๒ ๑๓๐ ๗๘ ๘๒๑
บา้ นปา่ ต้ิว หมทู่ ี่ ๕ ๓๑๗ ๒๙๗ ๑๗๒ ๒,๕๕๐
บ้านป่าตว้ิ หมทู่ ี่ ๖ ๑๙๙ ๒๐๗ ๑๓๓ ๓,๖๑๕
บ้านนาสนี วน หม่ทู ี่ ๗ ๒๖๙ ๒๔๗ ๑๓๗ ๒,๔๐๙
บา้ นนาสนี วน หมู่ท่ี ๘ ๒๑๗ ๒๔๒ ๑๒๙ ๒,๕๔๒
บ้านนาเมอื ง หมูท่ ี่ ๙ ๒๔๕ ๒๑๕ ๑๘๔ ๔,๑๕๙
บ้านห้วยรอ่ งคํา หมู่ที่ ๑๐ ๑๒๘ ๑๒๗ ๘๒ ๒,๘๕๙
บา้ นปา่ เตย หมูท่ ่ี ๑๑ ๘๘ ๙๐ ๖๐ ๙๐๒
บ้านกุดนา้ํ คาํ หมทู่ ่ี ๑๒ ๒๕๘ ๒๕๒ ๑๙๐ ๔,๒๒๙

๗.๒ ข้อมลู ด้านเกษตร -๕-

ประเภทของการทําการเกษตร ผลผลิต ตน้ ทุนการ ราคาขาย
จาํ นวน เฉลีย่ ผลติ เฉลี่ย โดยเฉล่ีย

(กก./ไร)่ (บาท/ไร)่ (บาท/ไร)่

๑) ทาํ นา ในเขตชลประทาน ๓๕ ครวั เรือน/๕๙๔ ไร่ ๓๕๐ ๒,๐๐๐ ๒,๔๕๐
นอกเขตชลประธาน ๙๖๒ ครวั เรือน/๑๙,๓๖๖ ไร่ ๓๕๐ ๒,๐๐๐ ๒,๔๕๐
๒.)ทําสวน สมนุ ไพร ๒๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐
แกว้ มังกร ๒๐ ครัวเรือน/๓๕ ไร่
๓)ทําไร่ มะม่วง ๑ ครวั เรอื น/๒ ไร่ ๑๐๐ ๒,๐๐๐ ๓,๕๐๐
ไรข่ ้าวโพด ๑ ครวั เรอื น/๑๘ ไร่ ๖,๐๐๐
๔.)อืน่ ๆ มันสําปะหลัง ๒ ครัวเรอื น/๑๐ ไร่ ๑,๘๐๐ ๑๒,๐๐๐
ยางพารา ๘๐๐
อ้อย ๑๔๖ ครวั เรือน/๘๒๖ ไร่ ๑๐๐ ๒,๐๐๐
........................... ๕ ครวั เรือน/๗๐ ไร่ ๑,๒๐๐ ๓,๐๐๐
๔ ครัวเรอื น/๖๐ ไร่ ๓,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๒,๗๐๐
๖,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐
๑๐๐

๑๐,๐๐๐

๗.๓ ข้อมูลดา้ นแหล่งนํา้ ทางการเกษตร

แหลง่ น้ําทางการเกษตร ลาํ ดบั ความเพยี งพอของนา้ํ การเขา้ ถึงแหลงน้ําการเกษตร
ความสาํ คญั เพ่อื การเกษตรตลอดท้งั
ท่วั ถงึ ไม่ทั่วถงึ ร้อยละของ
ปี ครัวเรือน
เพียงพอ ไมเ่ พียงพอ เขา้ ถงึ ฯ

๑) แหลง่ น้ําธรรมชาติ - -
๑. แม่นํา้ √ √
๒. ห้วย/ลําธาร √ √
๓. คลอง √ √
๔. หนองนํา้ /บึง - -
๕. น้าํ ตก - -
๖. อื่นๆ (โปรดระบ)ุ
๒.) แหลง่ นาํ้ ท่ีมนษุ ย์สร้างขึ้น - -
๑. แม่นํา้ - -
๒. อา่ งเก็บน้ํา - -
๓. ฝาย √ √
๔. สระ - -
๕. คลองชลประทาน - -
๖. อืน่ ๆ (โปรดระบ)ุ

-๖-

๗.๔ ข้อมลู ดา้ นแหลง่ นา้ํ กิน นํ้าใช้ (หรอื น้ําเพอ่ื การอปุ โภค บรโิ ภค)

แหลง่ นํา้ ไมม่ ี มี ทว่ั ถงึ หรอื ไม่

๑. บอ่ บาดาลสาธารณะ เพยี งพอ ไม่เพียงพอ ท่ัวถงึ ไม่ท่วั ถงึ รอ้ ยละของ
๒. บอ่ บาดาลตนื้ สาธารณะ
๓. ประปาหม่บู า้ น (การ ครวั เรอื นที่
ประปาสว่ นภมู ิภาค)
๔. แหลง่ นา้ํ ธรรมชาติ เข้าถึง
๕. อ่นื ๆ ระบุ
- √ -√

- √ -√

- - --

- √ -√
- --

๘. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
๘.๑ การนับถอื ศาสนา
ประชากรในเขตพืน้ ทีอ่ งคก์ ารบริหารส่วนตาํ บลกุดปลาดุกนบั ถือศาสนาพุทธ มวี ัดและทีพ่ กั สงฆ์ในเขต

องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลกดุ ปลาดุก จาํ นวน ๑๑ แห่ง ไดแ้ ก่

๑.วัดศรมี งคล ตัง้ อยู่ บา้ นกุดปลาดุก หมทู่ ี่ ๒ ๖.วดั โพธิ์ศรีธาราม ตั้งอยู่ บ้านนาสีนวน หมทู่ ่ี ๘
๒.วดั บา้ นวังแคน ต้งั อยู่ บ้านวังแคน หมูท่ ี่ ๓ ๗.วัดบา้ นนาเมอื ง ตั้งอยู่ บา้ นนาเมอื ง หมทู่ ี่ ๙
๓.วดั ศรีคาํ บอน ตง้ั อยู่ บ้านคาํ บอน หม่ทู ี่ ๔ ๘.วัดหว้ ยรอ่ งคาํ ตั้งอยู่ บา้ นหว้ ยรอ่ งคํา หมูท่ ี่ ๑๐
๔.วัดบ้านปา่ ต้ิว ต้งั อยู่ บา้ นป่าต้ิว หมทู่ ่ี ๖ ๙.ที่พักสงฆ์บ้านาเมือง ตั้งอยู่ บ้านนาเมอื ง หมู่ท่ี ๙
๕.วัดลาํ สําราญ ตงั้ อยู่ บ้านนาสีนวน หมทู่ ี่ ๗ ๑๐.ที่พักสงฆ์ดงกาํ พร้า ตง้ั อยู่ บา้ นป่าเตย หมทู่ ี่ ๑๑
๖.วดั โพธ์ศิ รธี าราม ตั้งอยู่ บา้ นนาสนี วน หมทู่ ี่ ๘ ๑๑.ท่พี กั สงฆ์ ต้งั อยู่ บ้านกดุ นาํ้ คํา หมทู่ ่ี ๑๒

๘.๒ ประเพณแี ละงานประจํา

งานทําบญุ ตกั บาตรขึน้ ปใี หม่ (บญุ เบิกบา้ น) เดือน มกราคม

งานบุญเล้ยี งป่ตู า (เล้ยี งเจา้ ป่)ู เดอื น กุมภาพนั ธ์

งานปีใหม่ไทย (สงกรานต์) เดอื น เมษายน

งานประเพณีบุญบั้งไฟ เดือน พฤษภาคม

งานประเพณีลอยกระทง เดือน พฤศจิกายน

๙. ทรัพยากรธรรมชาติ

๙.๑ น้ํา

แหล่งนํ้าสาํ คญั ในเขตพ้นื ที่องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลกุดปลาดกุ

ลาํ หว้ ยสําคญั ทไ่ี หลผา่ นเขตองคก์ ารบริหารสว่ นตําบลกุดปลาดุก มีอยู่ ๗ สาย ไดแ้ ก่ ลาํ ห้วยยาง

ลําหว้ ยโป่งนอง ลาํ ห้วยไผ่ ลาํ หว้ ยคาํ พอก ลําหว้ ยตาด ลําห้วยหนองกุง ลาํ ห้วยบกั บ้า

-๗-

ส่วนที่ ๒ สรุปการพัฒนาท้องถิ่นตามแผนพฒั นาท้องถ่นิ (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐)

..............................................................................................................................................................

๑. สรุปผลการดําเนินงานตามงบประมาณทไี่ ดร้ ับ และการเบิกจ่ายงบประมาณในปงี บประมาณ

พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐

๑.๑ สรุปสถานการณก์ ารพัฒนา การต้ังงบประมาณ การเบิกจ่ายงบประมาณ

สรปุ การต้ังงบประมาณ และรายรับรายจา่ ยจรงิ ขององคก์ ารบริหารสว่ นตาํ บลกุดปลาดกุ รายละเอียด

ดังนี้

ปงี บประมาณ ๒๕๕๗

ตั้งงบประมาณรายรับไว้ ๒๓,๔๐๐,๐๐๐ บาท

ประมาณการรายจ่ายไว้ ๒๓,๔๐๐,๐๐๐ บาท

รายรับจรงิ ๒๒,๒๗๔,๔๐๖.๓๐ บาท

รายจา่ ยจรงิ ๒๑,๗๘๐,๗๙๕,๙๔ บาท

ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๒๔,๓๔๕,๐๐๐ บาท
ตง้ั งบประมาณรายรบั ไว้ ๒๔,๓๔๕,๐๐๐ บาท
ประมาณการรายจ่ายไว้ ๒๔,๔๕๕,๔๐๙.๐๗ บาท
รายรบั จรงิ ๒๑,๒๘๗,๘๔๙.๓๐ บาท
รายจ่ายจรงิ

ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ๒๖,๕๐๐,๐๐๐ บาท
ต้ังงบประมาณรายรบั ไว้ ๒๖,๕๐๐,๐๐๐ บาท
ประมาณการรายจา่ ยไว้ ๒๓,๓๑๘,๙๑๙.๐๒ บาท
รายรบั จรงิ ๒๒,๐๓๒,๒๖๐.๓๐ บาท
รายจา่ ยจริง

ปงี บประมาณ ๒๕๖๐ ๓๕,๖๐๐,๐๐๐ บาท
ตงั้ งบประมาณรายรับไว้

ประมาณการรายจ่ายไว้ ๓๕,๖๐๐,๐๐๐ บาท

-๘-

๑.๒ การประเมนิ ผลการนําแผนพัฒนาท้องถ่นิ ไปปฏิบัติในเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ
๑.๒.๑ เชิงปรมิ าณ
จํานวนโครงการและงบประมาณตามแผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๙)
โดยสรปุ ดังน้ี
แผนพัฒนา ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๙) ของ อบต. กุดปลาดุก ได้กําหนดโครงการที่จะดําเนินการ

ดงั นี้

ยุทธศาสตร์ ๒๕๕๗
จาํ นวน งบประมาณ

ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน ๑๘ ๙,๕๔๐,๐๐๐.๐๐

ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาคุณภาพชีวติ ๓๑ ๑๑,๐๕๔,๐๐๐.๐๐

ยทุ ธศาสตรด์ ้านการจดั ระเบียบชมุ ชน/สังคมและการรกั ษาความสงบ ๗ ๘๓๐,๐๐๐.๐๐
เรยี บรอ้ ย

ยทุ ธศาสตรด์ ้านการบรหิ ารจดั การและอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและ ๓ ๖๐,๐๐๐.๐๐
สิ่งแวดล้อม

ยทุ ธศาสตรด์ ้านการอนรุ กั ษ์ ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม จารตี ประเพณแี ละภูมิ ๙ ๑,๐๙๕,๐๐๐.๐๐
ปัญญาทอ้ งถน่ิ

ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาดา้ นการบรหิ ารบ้านเมืองท่ดี ี ๑๒ ๑,๘๑๑,๐๐๐.๐๐

รวม ๘๐ ๒๔,๓๙๐,๐๐๐.๐๐

ข้อบัญญัติงบประมาณ มีโครงการท่ีบรรจุ จํานวน ๗๒ โครงการ งบประมาณ ๑๕,๖๓๐,๗๔๐
บาท สามารถจาํ แนกตามยุทธศาสตร์ ไดด้ งั น้ี

ยทุ ธศาสตร์ โครงการ งบประมาณ
ตามข้อบัญญตั ิ

ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐาน ๑๖ ๑,๕๖๕,๓๕๐.๐๐

ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ๒๙ ๑๑,๒๒๕,๓๙๖.๐๐

ยทุ ธศาสตรด์ ้านการจดั ระเบียบชมุ ชน/สังคมและการรกั ษาความสงบ ๖ ๙๘๘,๒๙๔.๐๐
เรียบร้อย

ยทุ ธศาสตรด์ ้านการบรหิ ารจดั การและอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและ ๓ ๖๐,๐๐๐.๐๐
ส่ิงแวดลอ้ ม

ยุทธศาสตรด์ า้ นการอนรุ ักษ์ ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม จารีตประเพณีและภมู ิ ๘ ๗๑๑,๗๐๐.๐๐
ปัญญาทอ้ งถิน่

ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาดา้ นการบรหิ ารบา้ นเมืองทดี่ ี ๑๐ ๑,๐๘๐,๐๐๐.๐๐

รวม ๗๒ ๑๕,๖๓๐,๗๔๐.๐๐

-๙-

สรปุ จาํ นวนโครงการทกี่ ําหนดไว้ในแผนพฒั นาสามปี เฉพาะปี ๒๕๕๗ กําหนดไว้ ๘๐ โครงการ
ปฏบิ ตั ิไดจ้ ริง ๗๒ โครงการ คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๐.๐๐

จาํ นวนโครงการและงบประมาณตามแผนพฒั นาท้องถน่ิ (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐)
โดยสรปุ ดังน้ี
แผนพัฒนา ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๐) ของ อบต. กุดปลาดุก ได้กําหนดโครงการท่ีจะ
ดําเนินการดังน้ี

ยุทธศาสตร์ ๒๕๕๘
จาํ นวน งบประมาณ
ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐาน
ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาคุณภาพชีวติ ๒๗ ๑๕,๐๐๔,๐๐๐.๐๐
ยุทธศาสตรด์ า้ นการจดั ระเบยี บชุมชน/สงั คมและการรกั ษาความสงบ ๔๑ ๑๒,๔๐๙,๐๐๐.๐๐
เรยี บรอ้ ย
ยทุ ธศาสตรด์ ้านการบริหารจัดการและอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและ ๑๖ ๘๕๐,๐๐๐.๐๐

๙ ๒,๓๕๐,๐๐๐.๐๐

ส่งิ แวดลอ้ ม ๑๐ ๓๘๙,๑๐๐.๐๐
ยุทธศาสตรด์ า้ นการอนรุ กั ษ์ ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม จารีตประเพณแี ละภมู ิ
ปญั ญาท้องถ่นิ ๒๑ ๑๒,๗๗๘,๕๖๐.๐๐
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาด้านการบรหิ ารบ้านเมอื งทีด่ ี ๑๒๔ ๔๓,๗๘๐,๖๖๐.๐๐

รวม

ข้อบัญญัติงบประมาณ มีโครงการที่บรรจุ จํานวน ๕๖ โครงการ งบประมาณ ๕๔,๘๑๕,๒๐๐
บาท สามารถจาํ แนกตามยทุ ธศาสตร์ ไดด้ ังน้ี

ยทุ ธศาสตร์ โครงการ งบประมาณ
ตามขอ้ บัญญัติ

ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน ๑๕ ๑,๓๕๖,๓๐๐.๐๐

ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ๒๑ ๕๒,๒๘๗,๙๕๐.๐๐

ยุทธศาสตรด์ ้านการจดั ระเบยี บชุมชน/สงั คมและการรกั ษาความสงบ ๗ ๕๐๕,๐๐๐.๐๐
เรียบรอ้ ย

ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการบริหารจดั การและอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ๑ ๒๐,๐๐๐.๐๐
สิ่งแวดลอ้ ม

ยุทธศาสตรด์ ้านการอนรุ ักษ์ ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณแี ละภมู ิ ๖ ๑๗๕,๗๕๐.๐๐
ปัญญาทอ้ งถิน่

ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาดา้ นการบรหิ ารบา้ นเมอื งท่ดี ี ๖ ๔๗๐,๒๐๐.๐๐

รวม ๕๖ ๕๔,๘๑๕,๒๐๐.๐

-๑๐-

สรุป จํานวนโครงการที่กําหนดไว้ในแผนพัฒนาสามปี เฉพาะปี ๒๕๕๘ กําหนดไว้ ๑๒๔
โครงการ ปฏิบัตไิ ด้จรงิ ๕๖ โครงการ คิดเปน็ ร้อยละ ๔๕.๑๖

จํานวนโครงการและงบประมาณตามแผนพัฒนาท้องถน่ิ (พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๑)
โดยสรุปดงั น้ี
แผนพัฒนา ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๑) ของ อบต. กุดปลาดุก ได้กําหนดโครงการที่จะ
ดําเนินการดังนี้

ยทุ ธศาสตร์ ๒๕๕๙
จาํ นวน งบประมาณ

การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ๒๕ ๙๙,๙๘๖,๐๔๐.๐๐
การพัฒนาคุณภาพชีวิต ๕๐ ๑๔,๑๐๗,๑๔๐.๐๐
การจดั ระเบยี บชุมชน/สงั คมและการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย ๑๒ ๑,๙๖๐,๒๐๐.๐๐
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ๑๓ ๑,๕๙๐,๐๐๐.๐๐
การพฒั นาเศรษฐกจิ ๕ ๖๘๓,๘๘๐.๐๐
การบรหิ ารจัดการองคก์ รตามหลักธรรมาภิบาล ๓๔ ๒,๐๐๑,๓๘๐.๐๐
๑๓๙ ๑๒๐,๓๒๘,๖๔๐.๐๐
รวม

ข้อบัญญตั ิงบประมาณ มโี ครงการทบ่ี รรจุ จาํ นวน ๙๐ โครงการ งบประมาณ ๑๑,๖๔๕,๖๗๑
บาท สามารถจําแนกตามยุทธศาสตร์ ไดด้ งั นี้

ยุทธศาสตร์ โครงการ งบประมาณ
ตามขอ้ บญั ญตั ิ

การพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน ๑๔ ๒,๕๖๔,๖๐๐.๐๐

การพฒั นาคุณภาพชีวิต ๓๕ ๕,๗๗๒,๖๑๑.๐๐

การจดั ระเบยี บชมุ ชน/สงั คมและการรกั ษาความสงบเรยี บร้อย ๗ ๑,๕๔๖,๒๐๐.๐๐

การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ๑๐ ๓๑๑,๐๐๐.๐๐

การพฒั นาเศรษฐกจิ ๓ ๓๖๓,๘๘๐.๐๐

การบริหารจดั การองค์กรตามหลกั ธรรมาภบิ าล ๒๑ ๑,๐๘๗,๓๘๐.๐๐

รวม ๙๐ ๑๑,๖๔๕,๖๗๑.๐๐

สรุป จํานวนโครงการท่ีกําหนดไว้ในแผนพัฒนาสามปี เฉพาะปี ๒๕๕๙ กําหนดไว้ ๑๓๙
โครงการ ปฏิบตั ไิ ดจ้ ริง ๙๐ โครงการ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๖๔.๗๔

-๑๑-

๑.๒.๒ เชิงคุณภาพ
๑. ปญั หาอปุ สรรคท่ีพบในการประเมินฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาโดยเฉพาะด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ตั้งไว้ในแผนพัฒนา มีจํานวนหลาย

โครงการ แต่ปฏิบัตไิ ด้น้อย ถือวา่ นําไปสกู่ ารปฏบิ ัตไิ ดน้ ้อย
๒. การวิเคราะห์แนวทางการแกไ้ ขปญั หาอปุ สรรคทีต่ รวจพบ

โดยภาพรวมแผนพัฒนาสามปี มีผลสัมฤทธิ์ของแผนท่ีสามารถนําไปปฏิบัติได้จริง แต่โครงการ
ท่ีต้ังไว้ในแต่ละปีมีเป็นจํานวนมาก แต่นําไปสู่การปฏิบัติได้น้อย ควรแก้ปัญหาโดยมอบหมายผู้เกี่ยวข้องอันได้แก่
คณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาองค์การ
บริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ควรจัดทําแผนให้อยู่บนพ้ืนฐานของข้อเท็จจริงด้านงบประมาณ กล่าวคือ ไม่ควร
กาํ หนดโครงการในแผนมากเกนิ กว่าสถานะทางการคลังขององคก์ ารบริหารสว่ นตําบล

๓. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ ของคณะกรรมการตดิ ตามและประเมนิ ผลแผนพฒั นา
จากการประเมินผลความพึงพอใจต่อผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๘-
๒๕๖๐) แผนการดําเนินงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ขององค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ซึ่งประกอบด้วย
๖ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ในภาพรวมพบว่าประชาชนส่วนใหญ่พึงพอใจต่อผลการดําเนินงานขององค์การบริหาร
สว่ นตาํ บลระดบั ปานกลาง

เพ่ือการดําเนินงานขององค์การบริหารส่วนตําบล มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นคณะกรรมการติดตาม
และประเมินผลแผนพัฒนาองค์การบรหิ ารสว่ นตําบลกุดปลาดกุ ได้เสนอแนะขอ้ คิดเห็น ดังนี้

๑. โครงการที่อยู่ระหว่างการดําเนินการท้ังหมดมี ๑๐ โครงการ ขอให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จ
ภายในระยะเวลาที่กาํ หนด

๒. ก่อนถึงช่วงระยะเวลาการจดั ทําแผนพฒั นาท้องถน่ิ ขอใหส้ มาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตําบล
ในแต่ละพ้ืนท่ีได้ออกสํารวจความต้องการของประชาชนก่อน เพ่ือให้การนําเสนอแผนงาน/โครงการ ตรงกับความ
ต้องการของประชาชนอยา่ งแทจ้ ริง

๓. แผนพัฒนาสามปี แผนการดําเนินงาน ให้องค์การบริหารส่วนตําบลได้ตระหนักและให้
ความสําคัญ รวมถึงดําเนินการตามโครงการ ระยะเวลาที่วางไว้ เพราะอาจมีผลกระทบต่อประชาชนท่ีอาศัยอยู่
บรเิ วณพนื้ ทท่ี ่ีทาํ การกอ่ สร้างของโครงการนัน้ ๆ

๔. เร่ืองการบรหิ ารจัดการระบบนํ้าประปาขอใหด้ ําเนินการแก้ไขอย่างเร่งดว่ น
๕. องค์การบริหารส่วนตําบล ควรพิจารณา ให้ความสําคัญผลจากการสํารวจความพึงพอใจ และ
ข้อเสนอจากประชาชนในพืน้ ท่ี เพือ่ นาํ ปรบั ปรงุ การดาํ เนนิ งานใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพตอ่ ไป
๒. ผลท่ีได้รับจากการดําเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๖๐
๒.๑ ผลที่ได้รบั หรอื ผลที่สาํ คัญ
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ได้รับการบริการสาธารณะที่มี
ประสิทธภิ าพตามสมควรแต่สถานะทางการเงนิ และการคลังของ อบต.กุดปลาดกุ เช่น
๑. การก่อสรา้ งถนนคอนกรตี เสรมิ เหล็ก ถนนลกู รัง และการลงหินคลกุ กรวด เพอ่ื ซ่อมแซมถนน
ใหป้ ระชาชนทีไ่ ด้รบั ความเดือนร้อนจากการสญั จรไป-มา
๒. การแก้ไขปัญหาเรื่องนํ้าสําหรับ อุปโภค-บริโภคให้ประชาชนโดยการก่อสร้าง ซ่อมแซมระบบ
ประปาหมู่บ้าน รวมถงึ การบรรทุกนาํ้ เพ่อื บรรเทาความเดอื นร้อน
๓. การซ่อมแซมและติดต้ังไฟฟ้าสาธารณะภายในตําบลเพื่อเพิ่มความสะดวกและความปลอดภัย
ในชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชน

-๑๒-

๒.๒ ผลกระทบ
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ได้รับผลกระทบในด้านที่ดีจากการ
ใหบ้ ริการสาธารณะจากองค์การบรหิ ารสว่ นตําบลกุดปลาดกุ
๓. สรปุ ปัญหาอปุ สรรคการดําเนินงานทผ่ี ่านมาและแนวทางการแก้ไข ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๐
๑. ปัญหาอุปสรรคที่พบในการประเมินฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาโดยเฉพาะด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ต้ังไว้ในแผนพัฒนา มีจํานวนหลาย
โครงการ แต่ปฏิบตั ไิ ด้นอ้ ย ถอื วา่ นาํ ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิได้นอ้ ย
๒. การวิเคราะหแ์ นวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคท่ตี รวจพบ
โดยภาพรวมแผนพัฒนาสามปี มีผลสัมฤทธ์ิของแผนที่สามารถนําไปปฏิบัติได้จริง แต่โครงการ
ท่ีตั้งไว้ในแต่ละปีมีเป็นจํานวนมาก แต่นําไปสู่การปฏิบัติได้น้อย ควรแก้ปัญหาโดยมอบหมายผู้เก่ียวข้องอันได้แก่
คณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทําแผนพัฒนาองค์การ
บริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ควรจัดทําแผนให้อยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงด้านงบประมาณ กล่าวคือ ไม่ควร
กําหนดโครงการในแผนมากเกนิ กว่าสถานะทางการคลังขององค์การบรหิ ารส่วนตําบล

-๑๓-

ส่วนท่ี ๓ ยทุ ธศาสตรอ์ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน
........................................................................................................................................

๑. ความสัมพนั ธร์ ะหว่างแผนพฒั นาระดับมหภาค

แผนยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี
วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” จากวิสัยทัศน์ดังกล่าว ตั้งเป้าหมายให้ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการ
แข่งขัน มีรายได้สูงอยู่ในกลุ่ม ประเทศพัฒนาแล้ว คนไทยมีความสุข อยู่ดีกินดีสังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและ
เป็นธรรม ซ่ึงยุทธศาสตร์ชาติท่ี จะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ ๒๐ ปีต่อจากน้ีไป จะประกอบด้วย ๖
ยุทธศาสตรไ์ ด้แก่
๑. ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง มีเป้าหมายทั้งในการสร้างเสถียรภาพภายในประเทศและช่วยลด
และ ป้องกันภัยคุกคามจากภายนอก รวมท้ังสร้างความเช่ือมั่นในกลุ่มประเทศอาเซียนและประชาคมโลกท่ีมีต่อ
ประเทศไทย กรอบแนวทางที่ต้องให้ความสําคัญ อาทิ
๑.๑ การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
๑.๒ การปฏิรปู กลไกการบรหิ ารประเทศและพฒั นาความม่ันคงทางการเมือง ขจัดคอร์รัปชน่ั สร้าง
ความเชือ่ ม่ันในกระบวนการยตุ ิธรรม
๑.๓ การรักษาความม่ันคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายใน ตลอดจนการบริหารจัดการ
ความ ม่ันคงชายแดนและชายฝงั่ ทะเล
๑.๔ การพฒั นาระบบ กลไก มาตรการและความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศทกุ ระดับ และรักษา ดุลย
ภาพความสัมพันธก์ บั ประเทศมหาอํานาจ เพือ่ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาความมนั่ คงรปู แบบใหม่
๑.๕ การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกําลังป้องกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร้อย
ภายในประเทศสรา้ งความร่วมมอื กับประเทศเพ่อื นบา้ นและมิตรประเทศ
๑.๖ การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติรักษาความม่ันคง
ของฐานทรพั ยากรธรรมชาติส่งิ แวดล้อม
๑.๗ การปรับกระบวนการทาํ งานของกลไกท่เี ก่ียวข้องจากแนวด่ิงสู่แนวระนาบมากขึ้น

๒. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปสู่
การเปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งจําเป็นต้องยกระดับผลิตภาพการผลิตและการใช้นวัตกรรมในการเพ่ิมความสามารถ
ในการแข่งขันและการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งในสาขาอุตสาหกรรม เกษตรและบริการ การสร้างความม่ันคงและ
ปลอดภัยด้านอาหาร การเพิ่มขีดความสามารถทางการค้าและการเป็นผู้ประกอบการ รวมทั้งการพัฒนา
ฐานเศรษฐกิจแห่งอนาคต ท้ังน้ีภายใต้กรอบการปฏิรูปและพัฒนาปัจจัยเชิงยุทธศาสตร์ทุกด้าน อันได้แก่โครงสร้าง
พ้ืนฐานและ ระบบโลจิสติกส์วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนาทุนมนุษย์และการบริหารจัดการท้ัง
ในภาครฐั และภาคธรุ กิจเอกชน กรอบแนวทางท่ีต้องให้ความสําคัญ อาทิ

-๑๔-

๒.๑ การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ได้แก่การรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจและสร้างความ
เชื่อม่ัน การส่งเสริมการค้าและการลงทุนที่อยู่บนการแข่งขันที่เป็นธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนการ
พัฒนาประเทศสู่ความเป็นชาติการค้าเพ่ือให้ได้ประโยชน์จากห่วงโซ่มูลค่าในภูมิภาค และเป็นการยกระดับไปสู่
ส่วนบนของหว่ งโซม่ ลู คา่ มากข้นึ

๒.๒ การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ บนฐานของการพัฒนานวัตกรรมและมีความเป็นมิตรต่อ
ส่ิงแวดล้อม โดยมีการใช้ดิจิทัลและการค้าท่ีเข้มข้นเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มและขยายกิจกรรมการผลิตและบริการ โดย
ม่งุ สู่ความเปน็ เลศิ ในระดับโลกและในระดบั ภมู ภิ าคในอุตสาหกรรมหลายสาขา และในภาคบริการที่หลากหลายตาม
รูปแบบการดําเนินชีวิตและการดําเนินธุรกิจที่เปล่ียนไป รวมท้ังเป็นแหล่งอาหารคุณภาพ สะอาดและปลอดภัยของ
โลก

๒.๓ การพฒั นาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผ้ปู ระกอบการ ยกระดบั ผลิตภาพ
แรงงานและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) สู่สากล และพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและสถาบัน
เกษตรกร

๒.๔ การพัฒนาพื้นท่ีเศรษฐกิจพิเศษและเมืองพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และพัฒนา
ระบบเมืองศูนย์กลางความเจริญ จัดระบบผังเมืองท่ีมีประสิทธิภาพและมีส่วนร่วม มีการจัดการส่ิงแวดล้อมเมือง
และโครงสรา้ งพน้ื ฐานทางสังคมและเศรษฐกจิ ทส่ี อดคล้องกับศกั ยภาพ

๒.๕ การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ในด้านการขนส่ง ด้านพลังงาน ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารและการวิจัยและพฒั นา

๒.๖ การเชอื่ มโยงกบั ภูมภิ าคและเศรษฐกิจโลกสรา้ งความเปน็ หุ้นส่วนการพัฒนากับนานาประเทศ
สง่ เสริมความรว่ มมือกบั นานาชาติในการสร้างความมั่นคงด้านต่างๆ เพ่ิมบทบาทของไทยในองค์กรระหว่างประเทศ
รวมถึงสร้างองค์ความรู้ด้านการต่างประเทศ

๓. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน เพ่ือพัฒนาคนและสังคมไทยให้เป็นรากฐาน
ท่ี แข็งแกร่งของประเทศมีความพร้อมทางกาย ใจ สติปัญญา มีความเป็นสากล มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างมี
เหตุผล มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย มีคุณธรรม จริยธรรม รู้คุณค่าความเป็นไทย มีครอบครัวท่ีม่ันคง กรอบ
แนวทางท่ี ต้องให้ความสาํ คัญ อาทิ

๓.๑ การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิตให้สนับสนุนการเจริญเตบิ โตของประเทศ
๓.๒ การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการเรยี นรูใ้ หม้ ีคุณภาพ เท่าเทียม และทัว่ ถงึ
๓.๓ การปลูกฝงั ระเบียบวนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มทพ่ี ึงประสงค์
๓.๔ การสร้างเสริมใหค้ นมสี ุขภาวะท่ดี ี
๓.๕ การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย เสริมสร้างบทบาทของสถาบันครอบครัวในการ
บม่ เพาะจติ ใจให้เข้มแขง็
๔. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม เพื่อเร่งกระจาย
โอกาส การพัฒนาและสร้างความม่ันคงให้ทั่วถึง ลดความเหล่ือมล้าไปสู่สังคมท่ีเสมอภาคและเป็นธรรม กรอบ
แนวทางที่ ต้องใหค้ วามสําคัญ อาทิ
๔.๑ การสร้างความม่นั คงและการลดความเหล่ือมล้าทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม
๔.๒ การพัฒนาระบบบรกิ ารและระบบบรหิ ารจัดการสุขภาพ
๔.๓ การสร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมทเี่ อ้ือตอ่ การดาํ รงชีวติ ในสังคมสูงวยั
๔.๔ การสร้างความเข้มแขง็ ของสถาบันทางสังคมทุนทางวฒั นธรรมและความเขม้ แข็งของชุมชน
๔.๕ การพัฒนาการสื่อสารมวลชนใหเ้ ปน็ กลไกในการสนับสนุนการพัฒนา

-๑๕-

๕. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม เพ่ือเร่งอนุรักษ์
ฟนื้ ฟู และสรา้ งความม่นั คงของฐานทรพั ยากรธรรมชาติและมีความม่ันคงด้านน้า รวมทั้งมีความสามารถในการปูอง
กัน ผลกระทบและปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติและพัฒนามุ่งสู่การเป็นสังคม
สีเขยี ว กรอบแนวทางที่ต้องให้ความสําคญั อาทิ

๕.๑ การจัดระบบอนุรกั ษ์ฟ้นื ฟแู ละปอู งกันการท าลายทรพั ยากรธรรมชาติ
๕.๒ การวางระบบบริหารจัดการน้ําให้มีประสิทธิภาพทั้ง ๒๕ ลุ่มนํ้า เน้นการปรับเปลี่ยนระบบ
การ บรหิ ารจัดการอทุ กภยั อยา่ งบูรณาการ
๕.๓ การพฒั นาและใชพ้ ลงั งานทเ่ี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม
๕.๔ การพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศและเมอื งทีเ่ ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม
๕.๕ การรว่ มลดปัญหาโลกรอ้ นและปรบั ตัวให้พร้อมกับการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ
๕.๖ การใชเ้ ครือ่ งมอื ทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลังเพื่อสงิ่ แวดลอ้ ม
๖. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพ่ือให้หน่วยงาน
ภาครัฐมี ขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ มีสมรรถนะสูง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกระจายบทบาท
ภารกจิ ไปสู่ ทอ้ งถนิ่ อย่างเหมาะสม มีธรรมาภิบาลกรอบแนวทางท่ีต้องใหค้ วามสาํ คัญ อาทิ
๖.๑ การปรับปรงุ โครงสรา้ ง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครฐั ใหม้ ีขนาดท่ีเหมาะสม

๖.๒ การวางระบบบริหารราชการแบบบรู ณาการ
๖.๓ การพัฒนาระบบบริหารจดั การกําลงั คนและพฒั นาบุคลากรภาครฐั
๖.๔ การตอ่ ต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
๖.๕ การปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบยี บตา่ งๆ ให้ทันสมัย เป็นธรรมและเป็นสากล
๖.๖ การพัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชนของหนว่ ยงานภาครัฐ
๖.๗ การปรับปรงุ การบรหิ ารจัดการรายไดแ้ ละรายจา่ ยของภาครฐั

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔)

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ เป็นแผนยุทธศาสตร์ที่ช้ีนําทิศทางการพัฒนา
ประเทศระยะกลางเพอื่ มุง่ สู่วสิ ัยทัศนร์ ะยะยาว ท่ีทุกภาคส่วนในสงั คมไทยได้เห็นพอ้ งรว่ มกันกําหนดเปน็ วสิ ัยทัศน์
ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ กําหนดไว้ว่า “คนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแห่งความพอเพียง ยึดม่ัน
ใน วฒั นธรรมประชาธิปไตยและหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานท่ีท่ัวถึง มีคุณภาพ สังคมมีความ
ปลอดภัยและม่ันคง อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซ่ึงกันและกัน ระบบการผลิตเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน อยู่บนพื้นฐานทางเศรษฐกิจท่ีพึ่งตนเองและแข่งขันได้ในเวทีโลก
สามารถอย่ใู นประชาคมภูมิภาคและโลกอย่างมศี ักด์ศิ ร”ี ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา ๖ ยทุ ธศาสตร์ สรปุ ได้ดังนี้

๑. ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันตั้งแต่ระดับปัจเจกครอบครัว
และชุมชน เพื่อให้เป็นสังคมท่ีมีคุณภาพ สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงและบริหารจัดการความเส่ียงได้
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้ความสําคัญกับการสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีครอบคลุมทั่วถึง และมี
คุณภาพเท่าเทียมกัน มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและโครงสร้างพ้ืนฐานในการสร้างอาชีพและรายได้ท่ีมั่นคง สามารถ
เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค ได้รับการคุ้มครองสิทธิ ผลประโยชน์และความม่ันคงปลอดภัย ในชีวิต
และทรัพย์สินอย่างเท่าเทียม และสามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีศักด์ิศรี ภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐ ท่ี
โปร่งใส ยึดประโยชน์ส่วนรวม และเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนในกระบวนการพัฒนา
ประเทศ

-๑๖-

๒. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างย่ังยืน มุ่งเตรียมคนให้พร้อมรับ
การเปล่ียนแปลง โดยให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัยให้มีภูมิคุ้มกันเพื่อเข้าสู่สังคมแห่งการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างย่ังยืน ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเสริมสร้างศักยภาพของคนไทยในทุกมิติให้มี
ความพร้อมทั้งด้านร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสติปัญญาที่รอบรู้ และมีจิตใจที่มีสํานึกในคุณธรรม จริยธรรม มี
ความเพียร และรู้คุณค่าความเป็นไทยมโี อกาสและสามารถเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ควบคกู่ ับการเสริมสร้างสภาพแวดล้อม
ในสังคมและสถาบันทางสังคมให้เข้มแข็งและเอื้อต่อการพัฒนาคน รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นให้
เข้มแขง็ และสามารถสร้างภมู คิ มุ้ กันใหค้ นในชมุ ชน และเปน็ พลงั ทางสังคมในการพฒั นาประเทศ

๓. ยทุ ธศาสตร์ความเขม้ แขง็ ภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ให้ความสําคัญ กับ
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่าง

ย่ังยืน เพื่อให้ภาคเกษตรเป็นฐานการผลิตอาหารและพลังงานที่มีความมั่นคง โดยการเพ่ิมประสิทธิภาพ และ
ศักยภาพการผลิตภาคเกษตร สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาพันธ์ุพืช พันธ์ุสัตว์และสัตว์นํ้ารวมถึง
เทคโนโลยีการเกษตรที่เหมาะสมและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพ่ิมสินค้าเกษตร อาหาร และ
พลังงาน บนพ้ืนฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่นและความรู้สร้างสรรค์ การสร้างความมั่นคงในอาชีพและรายได้ ให้แก่
เกษตรตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขณะเดยี วกนั ให้ความสาํ คัญกบั การสร้างความมั่นคง ด้านอาหารและ
พลังงานชีวภาพทั้งในระดับครัวเรือน ชุมชน และประเทศ เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันให้ภาคเกษตรสามารถ พ่ึงตนเองได้
และเผชิญกบั ปัจจัยเสี่ยงตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งม่ันคง

๔. ยทุ ธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสกู่ ารเติบโตอย่างมีคณุ ภาพและยั่งยืน ให้ความสําคัญ
กับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ โดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนภูมิปัญญา
ท้องถ่ินเป็นพ้ืนฐานสําคัญในการขับเคลื่อนสู่การพัฒนาที่มีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้ปัจจัย สนับสนุนท่ีเอื้ออํานวย
และระบบการแข่งขันท่ีเป็นธรรม เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประเทศ มุ่งปรับโครงสร้างการค้า และการลงทุนให้
สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาดท้ังภายในและตางประเทศ สร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสาขาบริการ ท่ีมีศักยภาพบน
พ้ืนฐานของนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์พัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์และเมืองสร้างสรรค์ เพิ่มผลิต ภาพของภาค
เกษตร และสรา้ งมลู คา่ เพิม่ ด้วยเทคโนโลยแี ละกระบวนการผลิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม พัฒนา ภาคอุตสาหกรรม
สู่อุตสาหกรรมฐานความรู้เชิงสร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและ ระบบโลจิสติกส์
สร้างความม่ันคงด้านพลังงาน ควบคู่ไปกับการปฏิรูปกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ทางเศรษฐกิจ และบริหาร
จัดการเศรษฐกิจส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เป็นฐานเศรษฐกิจของประเทศท่ีเข้มแข็งและ ขยายตัวอย่างมี
คณุ ภาพ

๕. ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศภูมิภาคเพ่ือความม่ันคงทางเศรษฐกิจและ
สังคม มุ่งเช่ือมโยงมิติของการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับมิติของความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคต่างๆ
บนพ้ืนฐานของการพึ่งพาซงึ่ กันและกัน และมีภูมิคุ้มกันต่อกระแสการเปล่ียนแปลงจากภายนอก โดยให้ความสําคัญ
กับการพัฒนาฐานการผลิตและการลงทุนของประเทศให้เช่ือมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งเช่ือมโยงกับการผลิตในประเทศ พัฒนาความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนาที่ยั่งยืนบน
พื้นฐานของผลประโยชน์ร่วมกันทั้งในระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาคและสร้างปฏิสัมพันธ์ในความร่วมมือระหว่าง
ประเทศอย่างสร้างสรรค์ เตรียมความพร้อมประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ให้ความสําคัญกับการ
พัฒนากําลังคนในทุกภาคส่วนให้มีทักษะท่ีทันต่อการเปลี่ยนแปลง ควบคู่ไปกับการพัฒนาความเชื่อมโยงด้านขนส่ง
และระบบโลจิสติกส์ภายใต้กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาค ปรับปรุงกฎ ระเบียบการขนส่งคนและสินค้าเพ่ือลด
ต้นทุนการดําเนินธุรกิจและเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนาภายในประเทศตั้งแต่ระดับชุมชนท้องถ่ินให้
กา้ วทนั การเปล่ียนแปลง

-๑๗-

๖. ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน มุ่งบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มให้เพยี งพอตอ่ การรักษาสมดุลของระบบนิเวศบนพ้ืนฐานของการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนในการดูแล รักษาผลประโยชน์ ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ

และภัยพบิ ัติทางธรรมชาติเพื่อใหส้ ังคมมีภมู คิ มุ้ กนั สามารถสนบั สนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิต
ให้คนในสังคมไทย โดยให้ความสําคัญกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและสร้างความม่ันคงของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม ปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนตํ่าและ
เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยกระดับขีดความสามารถในการรับมือและปรับตัวต่อการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และภัยพิบัติทางธรรมชาติ ควบคุมและลดมลพิษและพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใสและเป็นธรรมอย่างบูรณาการ สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเง่ือนไขด้าน
ส่งิ แวดล้อมและวกิ ฤตภาวะโลกรอ้ นและเพ่ิมบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลกที่เก่ียวข้องกับกรอบความ ตก
ลงและพันธกรณดี ้านส่งิ แวดลอ้ มระหวา่ งประเทศ

ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ จัดทําขึ้นเพื่อเป็นกรอบการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปี
โดยมีวิสัยทัศน์ คือ “ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขัน คนไทยอยู่ดีกินดี มีความเสมอภาคและเป็น
ธรรม”
หลักการของยุทธศาสตร์ “ต่อยอดรายได้จากฐานเดิม สร้างรายได้จากโอกาสใหม่ เพ่ือความ
สมดุลและการ พัฒนาอย่างย่ังยนื ”
วตั ถปุ ระสงค์
๑. รักษาฐานรายไดเ้ ดิมและสร้างรายไดใ้ หม่
๒. เพิม่ ประสทิ ธิภาพของระบบการผลติ (ต้องผลติ สนิ ค้าได้เร็วกวา่ ปจั จบุ นั )
๓. ลดต้นทนุ ให้กับธุรกิจ (ดว้ ยการลดต้นทนุ ค่าขนสง่ และโลจิสติกส์)
เป้าหมายเชิงกลยุทธ์
๑. การเพิ่มรายได้จากฐานเดิม
๒. การสร้างรายไดจ้ ากโอกาสใหม่
๓. การลดรายจา่ ย
๔. การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการแข่งขัน
ยทุ ธศาสตร์ ประกอบดว้ ย ๔ ยุทธศาสตร์ คือ
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศเพื่อหลุดพ้นจากประเทศ
รายไดป้ านกลาง (Growth & Competiveness)
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ การลดความเหล่อื มลา้ (Inclusive Growth)
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๓ การเตบิ โตทเี่ ป็นมติ รต่อสิ่งแวดล้อม (Green Growth)
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ การสรา้ งความสมดุลและปรบั ระบบบรหิ ารจดั การภาครัฐ (Internal Process)

-๑๘-

แผนพัฒนาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื /แผนพัฒนากลมุ่ จังหวัด/แผนพัฒนาจังหวดั
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาแผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
(๑) เพ่ิมศักยภาพการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ โดยการยกมาตรฐานและประสิทธิภาพการผลิต
การเกษตร การพฒั นาศกั ยภาพการประกอบการดา้ นอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมบรกิ ารและการทอ่ งเทยี่ ว การต้ัง
องค์กรร่วมภาครัฐและเอกชนระดับพื้นท่ีเพื่อส่งเสริมอํานวยความสะดวกด้านการค้าการลงทุน และส่งเสริมความ
ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน
(๒) สร้างคนให้มีคุณภาพ เพื่อพัฒนาคนให้มีสุขภาวะดีทั้งร่างกาย จิตใจและสติปัญญา รอบรู้
เท่าทันการเปลย่ี นแปลง สามารถดาํ รงชพี ได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ
(๓) สร้างสังคมและเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง เพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหาร แก้ไขปัญหา
ความยากจน หนี้สิน และการออมของครัวเรือน มีสัมมาอาชีพท่ีมั่นคง สามารถพึ่งพาตนเองและดูแลครอบครัว
ไดอ้ ยา่ งอบอุ่น
(๔) ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้สมบูรณ์ โดยเร่งอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นท่ีป่าไม้ให้ได้
๑๕.๙ ล้านไร่ หรือร้อยละ ๒๕ ของพื้นท่ีภาค ป้องกันการรุกพ้ืนที่ชุ่มน้ํา พัฒนาแหล่งนํ้าและระบบชลประทาน
ฟ้นื ฟดู นิ ยับยงั้ การแพร่กระจายดนิ เคม็ และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโดยส่งเสริมทําเกษตรอนิ ทรยี ์
ทศิ ทางการพัฒนากลุ่มจงั หวัดและจงั หวดั
(๑) กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๑ ประกอบด้วยอุดรธานี หนองคาย หนองบัวลําภู
และเลย) เน้นการฟื้นฟูระบบนิเวศน์เพ่ือรักษาสมดุลธรรมชาติ การปรับโครงสร้างการผลิตด้านการเกษตร
การส่งเสริมการค้า การลงทนุ และการท่องเทยี่ วเช่ือมโยงกับประเทศเพอื่ นบา้ น
(๒) กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒ ประกอบด้วย สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร
เน้นใหค้ วามสําคญั กบั ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจกบั ประเทศเพือ่ นบา้ น เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการผลิตสินค้าการเกษตร
สง่ เสรมิ พนื้ ที่ชลประทาน การทาํ ปศุสตั วโ์ ดยเฉพาะโคเนือ้
(๓) กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ประกอบด้วย ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม
และร้อยเอ็ด เน้นการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของเมืองรองรับการเป็นศูนย์กลางการค้าบริการ และการลงทุนของ
ภาค การใช้ประโยชน์พ้ืนท่ีชลประทานให้เกิดประโยชน์สูงสุด การทําการเกษตรก้าวหน้า การเตรียมการรองรับ
อตุ สาหกรรมพลังงานทดแทน (Ethanol) ควบคูก่ ับการเพม่ิ ประสิทธิภาพการผลติ
(๔) กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๑ ประกอบด้วย นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์
สุรินทร์ มุ่งเน้นการพัฒนาระบบชลประทานให้เต็มศักยภาพ การเตรียมการรองรับอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน
(Ethanol) พัฒนาการท่องเที่ยวท้งั การท่องเท่ียวเชิงนิเวศน์และอารยธรรมขอมด้วยการสร้างคุณค่าเพิ่ม และพัฒนา
เส้นทาง
(๕) กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๒ ประกอบด้วย อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร
และอํานาจเจริญ มุ่งเน้นการพัฒนาแหล่งนํ้า และระบบบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหานํ้าท่วมและขาดแคลนน้ํา
การสร้างงานและรายได้จากการทอ่ งเท่ยี วใหม้ ากข้นึ

-๑๙-

โครงการท่สี าํ คัญ (Flagship Project)
(๑) โครงการผลติ ข้าวหอมมะลอิ ินทรยี ใ์ นทุง่ กลุ าร้องไห้เพ่ือการส่งออก
(๒) โครงการพัฒนาเมอื งมุกดาหารเปน็ ประตูส่อู ินโดจีน
(๓) โครงการพัฒนาเสน้ ทางทอ่ งเที่ยวอารยธรรมขอม
(๔) โครงการจดั การผลิตเอทานอลในภาคอีสาน
(๕) โครงการยกมาตรฐานการเรยี นการสอนดว้ ยระบบศึกษาทางไกล
(๖) โครงการเกษตรย่ังยืนเพอื่ ชมุ ชนเข้มแขง็
(๗) โครงการฟนื้ ฟูลุ่มนํา้ ชีตอนบนและลุ่มนํา้ มลู ตอนบนแบบบรู ณาการเพ่อื การผลิตท่ียง่ั ยืน

แผนพฒั นากลุม่ จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนล่าง ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๐)
(ฉบับทบทวน) (ยโสธร ศรีสะเกษ อํานาจเจริญ อบุ ลราชธานี)

วิสัยทศั น์
"ข้าวหอมมะลิเปน็ เลศิ การทอ่ งเทีย่ ว และการค้าชายแดนได้มาตรฐานสากล"

เปา้ ประสงค์
๑. เพม่ิ ผลผลติ ให้ได้ตามมาตรฐาน และสรา้ งมลู ค่าผลติ ภณั ฑด์ ้วยการแปรรปู เพิ่มช่องทาง
การตลาด ทงั้ ในและตา่ งประเทศ ข้าวหอมมะลิ คณุ ภาพดี
๒. พัฒนาคุณภาพแหลง่ ท่องเท่ยี วทมี่ ีศักยภาพให้ ไดม้ าตรฐานและเสรมิ สร้างการบริหารจดั การ
การมสี ว่ นร่วมขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น และชมุ ชนในแหลง่ ท่องเท่ยี ว
๓. สร้างเครือขา่ ยการคา้ กล่มุ จงั หวัดเพอ่ื เพ่ิมคา่ การค้าชายแดนด้วยระบบโลจสิ ติกส์ (Logistics) ที่
มีประสทิ ธิภาพ

ประเดน็ ยุทธศาสตร์
๑. พัฒนาคุณภาพและเพ่ิมมลู คา่ ขา้ วหอมมะลิ สคู่ วามตอ้ งการของตลาด
๒. พัฒนาคุณภาพการท่องเทย่ี วให้ไดร้ ะดบั มาตรฐานและยัง่ ยืน

๓. พัฒนาระบบสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ ธรุ กิจการคา้ และเพม่ิ มูลค่าการค้าชายแดนครบ วงจร
และได้มาตรฐานสากล

ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาจังหวดั อํานาจเจรญิ
วสิ ยั ทศั น์จงั หวดั อํานาจเจรญิ
“ขา้ วหอมมะลคิ ุณภาพดีสตู่ ลาดโลก ประชาชนมีคุณภาพชวี ติ ที่ดี เสน้ ทางการค้าสสู่ ากล”
พนั ธกจิ
๑.พฒั นาศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลคิ ุณภาพดีมมี ูลค่าเพิ่ม
๒.พัฒนาเกษตรทางเลอื กและสินคา้ เกษตรปลอดภัยตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๓.สร้างคุณภาพชีวิตของประชาชนในด้านสังคม การศึกษา สาธารณสุข ทรัพยากรธรรมชาติ
สงิ่ แวดลอ้ มและพลงั งาน

-๒๐-

๔.พฒั นาการมสี ว่ นรว่ มทางการศึกษา
๕.ส่งเสริมให้ประชาชนมคี วามเขม้ แข็ง ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๖.ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหนา้
๗.สร้างความมนั่ คง ปลอดภยั ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติสิง่ แวดลอ้ มและพลังงาน
๘.การสง่ เสรมิ และพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานทางการคา้ การทอ่ งเทย่ี ว
๙.การสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน/OTOP และเสริมสร้างขีดความสามารถให้
ผู้ประกอบการ
๑๐.การยกระดับทักษะบุคลากร แรงงาน สร้างสภาพแวดล้อมท่ีอื้อต่อการประกอบธุรกิจอย่าง
เปน็ ธรรม
๑๑.การส่งเสริมพันธมิตร เช่ือมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค และธุรกิจการค้าชายแดนเพ่ือเข้าสู่การ
เปน็ ประชาคมอาเซยี น
เป้าประสงค์
๑.ข้าวหอมมะลแิ ละสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาด
๒.ความสขุ มวลรวมของประชาชนจังหวดั อาํ นาจเจรญิ เพมิ่ ขนึ้
๓.ประชาชนมีความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ นิ สงั คมสงบสขุ
๔. เศรษฐกจิ จงั หวัดขยายตัวอย่างยัง่ ยืน ประชาชนมีอาชพี และรายได้ท่ีมั่นคง
ประเด็นยทุ ธศาสตรจ์ ังหวัด
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ พฒั นาการผลิตข้าวหอมมะลิและสินค้าเกษตรปลอดภัย
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๒ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการบริหาร
จดั การชมุ ชนด้านเศรษฐกจิ การศกึ ษา ศาสนา วัฒนธรรม ตามหลกั ของ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่เอ้ือต่อการมีสุขภาพดีและพึ่งตนเอง
ด้านสุขภาพ ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมของภาคเี ครอื ข่ายในการอนุรกั ษ์ ฟื้นฟู และบริหาร
จดั การ ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม และพลังงาน

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๕ พัฒนาเพือ่ เสริมสรา้ งความมน่ั คงพนื้ ทจ่ี ังหวดั อาํ นาจเจรญิ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ ยกระดับการค้าชายแดน และส่งเสริมการค้า อุตสาหกรรม การลงทุน
การท่องเทีย่ วสสู่ ากล

ยุทธศาสตร์การพฒั นาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ในเขตจงั หวัด
ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ในเขตจงั หวดั อาํ นาจเจริญ

วิสัยทัศน์
“อาํ นาจเจรญิ เมอื งนา่ อยู่ อ่ขู า้ วหอมมะลิลาํ้ คา่ เน้นการศกึ ษา กีฬาศาสนาและวฒั นธรรม
นอ้ มนําปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง”
พนั ธกิจ
๑.พัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยใ์ ห้มีความรคู้ วามสามารถอย่างเป็นระบบท่วั ถึงและตอ่ เน่อื ง
๒.พฒั นาความเข้มแขง็ ของชุมชนและปลอดยาเสพติด
๓.พัฒนาการทอ่ งเทย่ี วเชิงอนุรักษ์
๔.พฒั นาสาธารณปู โภคพื้นฐานอยา่ งเป็นระบบทว่ั ถงึ รองรบั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

-๒๑-

๕.พัฒนาแหลง่ การค้าตามแนวชายแดน

๖.สง่ เสรมิ แหล่งการบริหารงานตามหลัก “ธรรมาภิบาล”
๗.สง่ เสรมิ การนาํ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้เพอ่ื การพัฒนาท่ีย่งั ยนื
๘.ส่งเสริมการเกษตรอินทรยี ์และพัฒนาการผลิตขา้ วหอมมะลพิ ันธ์ดุ ี
๙.ส่งเสริมการศกึ ษา กฬี า ศาสนาและวฒั นธรรม สนบั สนุนภมู ิปัญญาท้องถิน่
๑๐.อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

จดุ มงุ่ หมายของการพัฒนา
๑.เพื่อใหท้ รพั ยากรมนุษย์ได้รบั การเพิม่ พูนความรู้ ทักษะและทศั นคตใิ นการดํารงชีวติ
๒.พัฒนาความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนและปลอดยาเสพติด
๓.เพื่อสง่ เสรมิ การทอ่ งเทีย่ วเชงิ อนรุ กั ษ์
๔.เพอ่ื พัฒนาสาธารณูปโภคพ้ืนฐานอยา่ งเปน็ ระบบทวั่ ถงึ รองรบั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น
๕.เพื่อพัฒนาแหลง่ การคา้ ตามแนวชายแดน
๖.เพ่ือสง่ เสรมิ การบริหารงานตามหลกั “ธรรมาภบิ าล”
๗.สง่ เสริมการนําปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้เพ่อื การพัฒนาท่ยี ัง่ ยนื
๘.สง่ เสริมการเกษตรอนิ ทรีย์และพัฒนาการผลติ ขา้ วหอมมะลพิ นั ธ์ุดี

๙.ส่งเสรมิ การศึกษา กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม สนับสนนุ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ
๑๐.อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาฯ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ “พัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน ใหเ้ ป็นสังคมเมอื งนา่ อยู่”
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ “ส่งเสริมการศกึ ษา ศาสนา อนรุ ักษ์ประเพณี วัฒนธรรม และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน”
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ “สง่ เสริมการดําเนินชวี ติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ “ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม”
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๕ “การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองท่ีดี”

๒. ยทุ ธศาสตร์ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน

๒.๑ วสิ ยั ทศั น์ ประชาชนมคี ณุ ภาพชีวติ ทีด่ ี
น้อมนาํ ใจเศรษฐกิจพอเพียง”
“ตาํ บลกุดปลาดุกน่าอยู่
มีการบริหารจัดการทโี่ ปรง่ ใส

๒.๒ ยุทธศาสตร์
๑. การพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน
๒. การพัฒนาคุณภาพชวี ติ
๓. การสร้างความเขม้ แขง้ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
๕. ทรพั ยากรมนุษยแ์ ละบรหิ ารองค์กร

-๒๒-

๒.๓ เปา้ ประสงค์
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาํ บลกดุ ปลาดกุ ม่งุ หวงั เป็นอย่างย่ิงที่จะพัฒนาทอ้ งถิ่นให้

เจริญกา้ วหนา้ ซงึ่ จะส่งผลทําให้ประชาชนมคี วามเปน็ อยู่ทดี่ ีและสะดวกสบายมากย่งิ ขึ้น จึงได้กาํ หนดเปา้ ประสงค์
ใหส้ ามารถดําเนนิ การจดั กจิ กรรมตา่ งๆให้บรรจตุ ามพันธกิจและวิสัยทัศนท์ ีก่ ําหนด ดงั นี้

๑. พัฒนาระบบโครงสรา้ งพนื้ ฐาน สาธารณูปโภค ใหไ้ ดม้ าตรฐานเพยี งตอ่ ความตอ้ งการและ

บริการสาธารณะมีมาตรฐาน

๒. พฒั นาและบริการผังเมืองทเ่ี ปน็ ระบบ
๓. พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชนทุกระดับ

๔. ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ และยกระดบั การจดั การเรียนการศกึ ษา
๕. เด็ก เยาวชน ประชาชน ไดร้ ับการส่งเสริมกีฬาและกิจกรรมอย่างมีคุณภาพ
๖. ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั รวมถงึ การรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยและความปลอดภัย

ภายในชุมชน
๗. ชุมชนทอ้ งถน่ิ มีความเข้มแขง็ และมีความสามารถในการบริหารจดั การตนเอง

๘. สง่ เสริมการฟนื้ ฟูทรพั ยากรธรรมชาติควบคกู่ บั การรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั

สนับสนนุ ให้ชมุ ชนมีความรู้และมบี ทบาทในการดูแลรักษาทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่อื เปน็ เมอื งทีส่ ะอาด
สวยงาม และน่าอยู่อยา่ งยง่ั ยนื

๙. บุคลากรไดร้ บั การพฒั นาและเพ่ิมสมรรถนะอยา่ งตอ่ เน่อื ง
๑๐. องค์กรมรี ะบบบริหารจดั การท่ที ันสมยั พร้อมรองรบั การเปล่ยี นแปลง

๒.๔ ตวั ชวี้ ัด

ยทุ ธศาสตร์ ตวั ช้วี ัด
การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน -รอ้ ยละของโครงสร้างพื้นฐาน ไดร้ บั การพัฒนา
อย่างทวั่ ถึง

การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ - ระดบั ความพึงพอใจตอ่ โครงการพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ ของประชาชน
- ร้อยละของโครงการสง่ เสริมการเรียนรู้ และ
ยกระดบั การจัดการเรียนการศกึ ษา
- ระดบั คุณภาพของการจดั กีฬา กิจกรรมเดก็
เยาวชน และประชาชน
- รอ้ ยละของประชาชนที่มีความพึงพอใจต่อการ
ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมถึงการรักษา
ความสงบเรียบรอ้ ยและความปลอดภยั ภายใน
ชมุ ชน

-๒๓-

ยทุ ธศาสตร์ ตวั ช้ีวดั

การสร้างความเขม้ แข้งตามหลกั ปรัชญา -ระดบั ความสาํ เรจ็ ของหม่บู ้าน/ชุมชนท่ีมี

เศรษฐกิจพอเพยี ง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม -จาํ นวนแผนงาน/โครงการเพื่อฟน้ื ฟู
ทรัพยากรมนษุ ยแ์ ละบรหิ ารองค์กร ทรัพยากรธรรมชาติควบคกู่ บั การรกั ษาคณุ ภาพ
สิง่ แวดล้อม รวมท้งั สนับสนนุ ใหช้ ุมชนมคี วามรู้และมี
บทบาทในการดแู ลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สิง่ แวดล้อม

-ระดบั ความสําเรจ็ ในการพฒั นาและเพิม่ สมรรถนะ

อย่างตอ่ เนือ่ ง

-ระดบั ความสาํ เรจ็ ในการพัฒนาองค์กรใหท้ ันสมยั

พร้อมรองรบั การเปล่ยี นแปลง

๒.๕ ค่าเปา้ หมาย คา่ เป้าหมาย
ยุทธศาสตร์
พัฒนาด้านโครงสรา้ งพ้นื ฐาน โดยมงุ่ สรา้ งและบูรณะ
การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ถนน แหลง่ นา้ํ และสาธารณูปโภคสาธารณูปการ เพือ่
ความเป็นอยู่ทด่ี ขี องประชาชน
การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
๑. พัฒนา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การศกึ ษาท้งั ในระบบ
และนอกระบบ
๒. พัฒนา ส่งเสรมิ สนับสนนุ การบรกิ ารสาธารณสขุ
ของหมู่บา้ น การป้องกนั และระงบั โรคติดต่อ
ควบคุมปอ้ งกันโรคระบาด
๓. พฒั นาสังคมและส่งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ให้กบั
ผสู้ ูงอายุ ผพู้ ิการ ผปู้ ่วยเอดส์ ผ้ยู ากไร้ และ
ผู้ดอ้ ยโอกาส
๔. ดาํ เนินการแก้ไขปญั หายาเสพตดิ เพม่ิ ศกั ยภาพ
การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และปลกู
จติ สํานกึ ความสามัคคี สมานฉนั ท์
๕. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ งานศาสนา วัฒนธรรม
และนนั ทนาการ

-๒๔-

ยุทธศาสตร์ ค่าเปา้ หมาย
ส่งเสริมการเกษตร สรา้ งอาชพี เพม่ิ รายได้ ตาม
การสรา้ งความเข้มแขง้ ตามหลกั ปรัชญา หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพียง

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
ทรพั ยากรมนษุ ย์และบรหิ ารองค์กร เชน่ ปลกู ต้นไม้ การบริหารจดั การขยะ
พัฒนาขดี ความสามารถของบุคลากร รวมถงึ การ
พัฒนาอุปกรณ์ เคร่อื งมอื เครอื่ งใช้ และสถานท่ใี น
การปฏิบตั งิ าน เพื่อม่งุ สร้างประสิทธภิ าพการ
ใหบ้ รกิ ารและการบริหารจดั การองค์กร

๒.๖ กลยุทธ์
เพอื่ ใหบ้ รรลุวิสัยทัศนข์ ององคก์ ารบริหารสว่ นตาํ บลกุดปลาดกุ จาํ เปน็ อยา่ งยิง่ ท่จี ะต้องให้

ความสําคญั กบั การวางบทบาทการพฒั นาองคก์ ารบรหิ ารส่วนตําบลกุดปลาดุกในอนาคตอยา่ งเหมาะสมสอดคล้อง
กับปัญหาความต้องการของประชาชน รวมทงั้ สอดคล้องกับศักยภาพและบทบาทหนา้ ทขี่ ององค์การบริหารส่วน
ตําบลเพ่ือท่จี ะให้ประชาชนไดร้ บั ประโยชน์สูงสดุ จึงไดก้ าํ หนดกลยทุ ธ์ ดงั นี้

๑. การพัฒนาระบบโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ระบบสาธารณูปโภคสาธารณปู การ
๒. การพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ และการทาํ นบุ ํารงุ รักษาศาสนา ศิลปวฒั นธรรม จารีต
ประเพณี และภมู ิปญั ญาท้องถิน่
๓. การสร้างความเขม้ แข็ง และสรา้ งรายได้ให้แก่ประชาชน
๔. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
๕. การบรหิ ารจัดการท่ีดี และส่งเสริม สนบั สนนุ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการพัฒนา
ทอ้ งถ่ิน

-๒๕-

๒.๗ จุดยนื ทางยุทธศาสตร์ (Positioning)

จากการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐาน และศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุกจึงกําหนดจุดยืน
ทางยทุ ธศาสตร์ (Positioning) องค์การบริหารสว่ นตําบลไว้ใน ๓ ประเด็น คอื การพฒั นาส่งิ แวดลอ้ มใหเ้ ป็นเมืองนา่ อยู่
อยา่ งย่ังยืน การสร้างชมุ ชนเขม้ แข็งและเปน็ สุข และการอนรุ ักษแ์ ละสืบสานมรดกทางวฒั นธรรม

๑. พัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐาน

- มงุ่ สร้างและบรู ณะถนน
แหล่งนาํ้ สาธารณูปโภค
สาธารณูปการ เพื่อความเป็นอยู่
ทด่ี ีของประชาชน

๕. พัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ จดุ ยนื ทางยุทธศาสตร์ ๒. พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
และบรหิ ารองคก์ ร - สนบั สนนุ การศกึ ษา
- บริหารงานแบบมีสว่ นรว่ ม (Positioning) - สนับสนนุ การบริการ
- พฒั นาบคุ ลากร สาธารณสุข
- เพ่ิมประสิทธภิ าพการ - ส่งเสรมิ ศาสนา วฒั นธรรม
และนันทนาการ

๔. สรา้ งความเข้มแข็ง ๓. สรา้ งความเข้มแขง็
- ส่งเสรมิ การเกษตร สรา้ ง - ส่งเสรมิ การเกษตร สร้าง
อาชพี อาชพี

๒.๘ ความเชอื่ มโยงของยุทธศาสตรใ์ นภาพรวม
ในภาพรวมแล้วยทุ ธศาสตร์การพฒั นาขององค์การบริหารสว่ นตําบลกดุ ปลาดุก

มุ่งพัฒนา ๕ ด้าน ได้แก่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ยุทธศาสตรก์ ารสรา้ งความเข้มแขง้ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ทรพั ยากรมนุษยแ์ ละบริหารองค์กร

-๒๖-

๓. การวิเคราะหเ์ พ่ือพัฒนาท้องถ่นิ
๓.๑ การวเิ คราะหก์ รอบการจดั ทาํ ยุทธศาสตรข์ ององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่
องค์การบรหิ ารสว่ นตาํ บลกุดปลาดุก ได้ดําเนินการวิเคราะหศ์ กั ยภาพการพัฒนาจากกระบวนการ

ประชาคมทอ้ งถิ่น โดยผา่ นการสํารวจและออกพ้ืนที่ เพอ่ื วิเคราะหป์ จั จัยและสถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงทีม่ ผี ล
ต่อการพัฒนา สรุปปัญหาความต้องการของประชาชนได้ ดังน้ี

ปญั หา สภาพปญั หา/สาเหตุ
๑. ดา้ นการศกึ ษา ๑. บุคลากรทางการศึกษาไม่เพยี งพอ
๒. ด้านเศรษฐกจิ ๒. ขาดสื่อวัสดุอปุ กรณ์การเรียนการสอน ครุภัณฑ์
การศึกษาทมี่ คี ณุ ภาพ
๓. ดา้ นสังคม
๑. ปัญหาความยากจน ค่าครองชพี สงู
๒. การใชส้ ารเคมีในกระบวนการผลิต ส่งผลตอ่ คณุ ภาพ
ชวี ิตประชาชน
๓. ต้นทนุ การผลิตสงู แตผ่ ลผลติ ทางการเกษตรราคา
ตกต่ําทําให้รายไดไ้ ม่เพียงพอกบั รายจ่าย
๔. ขาดดารรวมกลุม่ ของเกษตรกร
๕. ขาดเครอ่ื งมือที่ทนั สมยั ในการประกอบอาชพี
๖. ปัญหาพืน้ ทกี่ ารเกษตรจากภยั ธรรมชาติ เชน่ ภัยแลง้

๑. ปัญหายาเสพติดในพ้นื ท่ี
๒. ปญั หาครอบครวั สงั คมไมเ่ ข้มแข็ง

๔. ด้านสิ่งแวดลอ้ ม ๓. การดแู ลผพู้ กิ าร ผู้ด้อยโอกาส และผสู้ ูงอายุจากรัฐ
๕. ด้านการบรหิ ารจดั การทดี่ ี ยังไมท่ ่ัวถงึ
๑. ประชาชนขาดจติ สาํ นกึ ในการอนุรักษส์ ่งิ แวดล้อม
๖. ด้านการบริการสาธารณะ ๒. ปัญหาเรอ่ื งการบรหิ ารจัดการขยะ

๑. ประชาชนไม่ให้ความสาํ คญั ต่อการมสี ่วนร่วมในการ
พฒั นาท้องถน่ิ
๒. การประชาสัมพันธข์ องภาครัฐ การใหบ้ รกิ าร
ประชาชนยังไมท่ ่วั ถงึ ขาดการให้บรกิ ารเชงิ รกุ

๑. ถนนชาํ รดุ เสียหาย เปน็ หลมุ เปน็ บอ่
๒. ถนนไม่ไดม้ าตรฐานเน่อื งจากเปน็ ถนนลกู รงั
๓. ขาดงบประมาณในการขยายเขตไฟฟ้า
๔. น้ําอุปโภค บรโิ ภคไมเ่ พียงพอ

-๒๗-

๓.๒ การประเมนิ สถานการณส์ ภาพแวดล้อมภายนอกทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

การวิเคราะห์ศักยภาพเพ่ือประเมินสถานการณ์พัฒนาในปัจจุบันและโอกาสการพัฒนาในอนาคต

ขององค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก โดยใช้เทคนิค SWOT Analysis เพ่ือวิเคราะห์ปัจจัย ได้แก่ จุดแข็ง

(Strength) จุดอ่อน (Weakness) และปจั จัยภายนอกไดแ้ ก่ โอกาส (Opportunity) และอปุ สรรค (Threat)

สรปุ ผลไดด้ ังน้ี

๑. ดา้ นการศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

จดุ แขง็ (Strength) จุดอ่อน (Weakness)

๑. เปน็ ภารกจิ อํานาจหน้าที่ตามกฎหมายของ อปท. ๑. ประกาศคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่

อปท. ไม่เอือ้ ตอ่ การดําเนนิ งาน

๒. องค์กรมคี วามพรอ้ มในการดาํ เนินงานด้าน

การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๓. ผบู้ ริหารใหค้ วามสําคัญในพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาให้ไดม้ าตรฐาน

โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threat)

๑. แผนเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ ให้ ๑. บุคลากรดา้ นการศึกษายังไมเ่ พียงพอ

ความสาํ คญั

๒. ตามรัฐธรรมนญู กําหนดใหเ้ รยี นฟรี ๑๒ ปี ๒. โรงเรยี นยังขาดแคลนสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ สอ่ื

การสอน และวสั ดทุ างการศกึ ษาทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ

๓. ผปู้ กครองยงั มีคา่ นิยมส่งบุตรหลานเข้าโรงเรียนทมี่ ี

ชื่อเสยี ง

๔. ขาดความต่อเน่อื งในการสง่ เสรมิ การสืบทอด

วฒั นธรรมประเพณที ้องถ่นิ

๕. สภาพเศรษฐกิจปัจจุบันส่งผลตอ่ การศกึ ษาของ

เยาวชน

๑. ด้านเศรษฐกจิ จุดออ่ น (Weakness)
จดุ แขง็ (Strength) ๑. ขาดบคุ ลากรที่มีความรคู้ วามสามารถในการ
๑. ผู้บรหิ ารทอ้ งถ่ินใหค้ วามสาํ คญั บริหารงานด้านเศรษฐกจิ และการพฒั นาอาชีพดา้ น
ต่างๆ

โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threat)
๑. เปน็ นโยบายทรี่ ฐั บาลให้ความสาํ คญั ๑. เทคโนโลยสี มยั ใหมแ่ พง
๒. การเกษตรเป็นสาขาการผลิตท่ีสําคัญของจังหวัด ๒. ราคาผลผลติ ทางการเกษตรตกต่ํา แตต่ ้นทนุ การ
ผลิตสงู

๓. พ้นื ที่อุดมสมบรู ณเ์ หมาะแกก่ ารเพาะปลกู ๓. การใช้สารเคมีในการเกษตร
๔. การคมนาคมสะดวก ๔. ขาดการรวมกลมุ่ ของเกษตรกร

-๒๘-

๓. ด้านสงั คม

จดุ แขง็ (Strength) จดุ ออ่ น (Weakness)

๑. ผูบ้ รหิ ารใหค้ วามสาํ คญั ๑. ประกาศคณะกรรมการการกระจายอาํ นาจใหแ้ ก่

อปท. ไมเ่ อ้อื ตอ่ การดาํ เนินงาน

๒. เปน็ ภารกจิ /อาํ นาจหน้าท่ีตามกฎหมายของ อปท.

๓. มีงบประมาณในการดําเนนิ การ

โอกาส (Opportunity) อุปสรรค (Threat)
๑. การกฬี า ๑. การกฬี า
- ขาดพืน้ ทีส่ าธารณะในการเลน่ กฬี า
- รฐั สง่ เสริมกฬี าและการออกกําลงั กาย - ขาดอุปกรณ์ในการเลน่ กฬี า
๒. ยาเสพติด
๒. ยาเสพตดิ - มีการลดั ลอบจาํ หน่าย
- รัฐบาลให้ความสาํ คญั ในการแกไ้ ขปญั หายาเสพ - ความเข้มแข็งของสถาบนั
ตดิ - ความเจรญิ ทางวตั ถ/ุ ค่านิยมในสงั คมปจั จบุ ัน
- มแี หล่งบาํ บดั ฟื้นฟทู กุ โรงพยาบาล ๓. สังคมสงเคราะห์
๓. สังคมสงเคราะห์ - ขาดโอกาสเข้าถึงบรกิ าร
- นโยบายกระจายอํานาจสูท่ อ้ งถน่ิ - ไมร่ ูส้ ทิ ธิของตัวเองในการขอรบั ความชว่ ยเหลือ
- จํานวนผสู้ ูงอายุทเ่ี พิ่มขนึ้ ในสังคม
๔. สาธารณสุข ๔. สาธารณสขุ
- มี รพ.สง่ เสริมสขุ ภาพประจาํ ตาํ บล - โรคตดิ ต่อต่างๆตามฤดกู าล เช่น ไขเ้ ลือดออก
- มอี าสาสมคั รสาธารณสุขของหม่บู า้ น
- ประชาชนใหค้ วามสําคญั ด้านสาธารณสขุ มากขึน้

๔. ดา้ นสาธารณะ

จดุ แขง็ (Strength) จดุ ออ่ น (Weakness)

๑. ผบู้ ริหารใหค้ วามสําคญั ๑. งบประมาณในการพัฒนาไมเ่ พียงพอต่อความ

ต้องการของประชาชน

๒. เป็นภารกิจ/อํานาจหนา้ ท่ตี ามกฎหมายของ อปท.

โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threat)
๑. เปน็ นโยบายทีย่ ทุ ธศาสตรจ์ ังหวัดให้ความสาํ คัญ ๑. ถนนในตาํ บลยงั ไมไ่ ด้รับการพัฒนาใหไ้ ดม้ าตรฐาน
๒. การบรรทกุ นาํ้ หนักเกนิ และไมป่ ฏบิ ตั ิตามกฎหมาย

-๒๙-

๕. ด้านส่งิ แวดล้อม

จดุ แข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness)

๑. ผูบ้ รหิ ารใหค้ วามสาํ คัญ ๑. ประกาศคณะกรรมการการกระจายอาํ นาจใหแ้ ก่

๒. เปน็ ภารกิจ/อาํ นาจหนา้ ท่ตี ามกฎหมายของ อปท. อปท. ไม่เอ้อื ตอ่ การดาํ เนนิ งาน

โอกาส (Opportunity) อุปสรรค (Threat)
๑. เปน็ นโยบายท่ียทุ ธศาสตรจ์ ังหวดั ใหค้ วามสาํ คญั ๑. ประชาชนขาดจติ สาํ นกึ ในการดูแลรักษาทรัพยากร
๒. ประชาชนขาดจิตสํานกึ ในการกาํ จดั ขยะ

๖. ดา้ นการบรหิ ารจดั การทด่ี ี

จุดแขง็ (Strength) จุดอ่อน (Weakness)

๑. ผบู้ ริหารใหค้ วามสาํ คญั ๑. ระเบียบกฎหมายที่เกีย่ วขอ้ งมจี าํ นวนมาก และมี

๒. เป็นภารกิจ/อํานาจหน้าที่ตามกฎหมายของ อปท. การปรบั เปลยี่ นบ่อยคร้งั ทําให้การปฏิบตั งิ านย่งุ ยาก

๓. มีการรบั ฟังความคดิ เหน้ ของทกุ ภาคสว่ น

โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threat)
๑. เป็นนโยบายท่ียุทธศาสตรจ์ งั หวัดให้ความสําคญั ๑. ประชาชนขาดความเขา้ ใจในการทาํ งานของภาค
ราชการ และยงั ไมใ่ ห้ความรว่ มมอื ดา้ นการมสี ว่ นรว่ ม
ในการพฒั นาท้องถนิ่

-๓๐-

๓.๓ ความเชอื่ มโยงยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาจังหวดั กบั ยทุ ธศาสตร์การพฒั น

โครงสร้างความเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาองค์การบรหิ ารส่วนตําบลก

ยทุ ธศาสตร์ชาติ ยทุ ธศาสตร์ด้าน ยุทธศาสตร์ดา้ น ยุทธศาสตร
๒๐ ปี ความมนั่ คง การสรา้ ง พฒั นาและ
ความสามารถใน ศักยภาพคน
การแข่งขนั

แผนพัฒนา ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์
เศรษฐกจิ และ การ การสร้าง การสร้าง การเตบิ โตท่ี
สังคมแหง่ ชาติ เสริมสร้าง ความเป็น ความเขม้ แข็ง เปน็ มติ รกับ
ฉบับที่ ๑๒ และพัฒนา ธรรมและ ทาง สงิ่ แวดล้อม
ศกั ยภาพทนุ ลดความ เศรษฐกิจ เพ่ือการ
มนุษย์ เหลื่อมลาํ้ ใน และแขง่ ขนั พฒั นาอย่าง
สังคม ได้อยา่ งยัง่ ยนื ยัง่ ยืน

ยุทธศาสตรก์ ล่มุ การพัฒนาคุณภาพและเพิ่มมลู ค่าขา้ ว พฒั นาค
จังหวดั หอมมะลสิ ูค่ วามตอ้ งการของตลาด มาตรฐา

นาขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน แบบ ยท. ๐๑

กุดปลาดกุ พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔

รด์ ้านการ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการ ยุทธศาสตรด์ ้านการ ยุทธศาสตร์ดา้ นการ
ะเสรมิ สรา้ ง สรา้ งโอกาสความเสมอ สรา้ งการเตบิ โตบน ปรับสมดลุ และ
น ภาคและเทา่ เทยี มกัน คณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปน็ พัฒนาระบบการ
ทางสงั คม มติ รต่อสงิ่ แวดล้อม บรหิ ารจัดการภาครัฐ

ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสต
การ การบรหิ าร การพัฒนา การพัฒนา การพัฒนา รค์ วาม
เสรมิ สร้าง จัดการใน โครงสร้าง วิทยาศาสต ภาค เมือง ร่วมมอื
ความมน่ั คง ภาครัฐ การ พ้ืนฐานและ ร์ และพื้นท่ี ระหวา่ ง
แห่งชาติเพื่อ ป้องกนั การ ระบบโลจิ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ ประเทศ
การพัฒนา ทุจริต สตกิ ส์ วจิ ยั และ เพือ่ การ
ประเทศ สู่ ประพฤตมิ ิ นวัตกรรม พฒั นา
ความมั่งคัง่ ชอบ และ
และยง่ั ยนื ธรรมาภบิ าล

คุณภาพการท่องเทยี่ วให้ได้ระดบั พัฒนาระบบสนับสนนุ การบริหารจดั การธรุ กจิ
านและยั่งยืน การค้าและเพิม่ มูลค่าการคา้ ชายแดนครบวงจร
และได้มาตรฐานสากล

๓.๓ ความเชอ่ื มโยงยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจังหวัดกบั ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาขององ

ยทุ ธศาสตรก์ าร ๑ พัฒนาการ ๒ สง่ เสริมการมีส่วนรว่ ม ๓ สง่ เส
พฒั นาของ ผลิตข้าวหอม ระหวา่ งภาคเี ครอื ขา่ ยทุกภาค พฤตกิ ร
จงั หวดั มะลิ และสินค้า สว่ นในการบรหิ ารจัดการชมุ ชน สขุ ภาพ
อํานาจเจรญิ เกษตรปลอดภยั ดา้ นเศรษฐกจิ การศกึ ษา ด้านสุข
ศาสนา วัฒนธรรม ตามหลัก ปรัชญา
ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง


ยุทธศาสตรก์ าร ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ “พัฒนา ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ “สง่ เสริม
พฒั นาของ อปท. คุณภาพชวี ิตของประชาชน การศึกษา ศาสนา อนุรักษ์
ในเขตจังหวัด ให้เปน็ สังคมเมืองนา่ อย”ู่ ประเพณี วฒั นธรรม และภูมิ
ปัญญาทอ้ งถ่นิ ”

ยทุ ธศาสตรก์ าร ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒
พฒั นา อบต. การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน การพฒั นาคุณภาพชวี ิต
กดุ ปลาดุก

-๓๐-

งค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ (ตอ่ ) แบบ ยท. ๐๑

สริมใหป้ ระชาชนมี ๔ สง่ เสริมการมีสว่ นร่วม ๕ พัฒนาเพอื่ ๖ ยกระดับการค้า
รรมทเ่ี อ้ือต่อการมี ของภาคีเครือขา่ ยในการ เสริมสร้างความ ชายแดน และส่งเสริม
พดแี ละพ่ึงตนเอง อนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟูและบรหิ าร มน่ั คงพื้นที่ การค้า อุตสาหกรรม
ขภาพ ตาม จัดการ จังหวดั การลงทนุ การ
าเศรษฐกิจ ทรพั ยากรธรรมชาติ อํานาจเจริญ ท่องเท่ียวสู่สากล
่ิ ้ ั

ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ “ส่งเสริมการ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๕
ดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญา “ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ “การบริหารกิจการ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ส่งิ แวดล้อม” บ้านเมอื งทีด่ ี

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ ทรัพยากร
การสรา้ งความเขม้ แขง้ ตาม ทรัพยากรธรรมชาติและ มนุษย์และบรหิ ารองคก์ ร
หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ ม
พอเพียง

เป้าประสงค์ พฒั นาด้าน พฒั นา พฒั นา ส่งเสรมิ พฒั นาสงั คม
โครงสรา้ ง ส่งเสริม สนบั สนุนการ และส่งเสรมิ
พืน้ ฐาน โดยมงุ่ สนบั สนุน บรกิ าร คุณภาพชวี ิต
สร้างและบูรณะ การ สาธารณสุขของ ใหก้ ับผสู้ ูงอาย
ถนน แหลง่ นํ้า ศึกษาท้ังใน หม่บู ้าน การ ผู้พกิ าร ผ้ปู ว่ ย
และ ระบบ ป้องกนั และระงบั เอดส์ ผยู้ ากไร
สาธารณูปโภค และนอก โรคตดิ ต่อ และ
สาธารณูปการ ระบบ ควบคมุ ป้องกัน ผู้ด้อยโอกาส
เพอื่ ความเป็นอยู่ โรคระบาด
ที่ดขี อง

๓.๓ ความเชอื่ มโยงยุทธศาสตร์การพฒั นาจงั หวดั กบั ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาขององ

กลยุทธ์ การพฒั นาระบบ การพัฒนาคุณภาพชีวิต
โครงสร้างพืน้ ฐาน ความเป็นอยู่ และการ
ระบบสาธารณปู โภค ทาํ นบุ ํารุงรักษาศาสนา
สาธารณปู การ ศิลปวัฒนธรรม จารตี
ประเพณี และภมู ิ
ั ้ ิ่

แผนงาน เคหะและชุมชน สังคมสงเคราะห์

อุตสาหกรรมและ การศึกษา
การโยธา
ศาสนาวฒั นธรรม
และนนั ทนาการ

ดําเนนิ การ ส่งเสรมิ และ สง่ เสรมิ การอนุรักษ์ พฒั นาขดี
ทรัพยากรธรร ความสามารถของ
แกไ้ ขปัญหายา สนบั สนนุ งาน การเกษตร มชาติและ บคุ ลากร รวมถงึ
สิ่งแวดลอ้ ม การพัฒนาอปุ กรณ์
เสพติด เพิม่ ศาสนา สรา้ งอาชพี เช่น ปลกู ตน้ ไม้ เครอื่ งมอื เครอื่ งใช้
การบรหิ าร และสถานทใ่ี นการ
ยุ ศักยภาพการ วัฒนธรรม เพมิ่ รายได้ จัดการขยะ ปฏิบัติงาน เพอื่ มุ่ง
สรา้ งประสิทธภิ าพ
ย ปอ้ งกันและ และ ตามหลัก การใหบ้ รกิ ารและ
การบรหิ ารจัดการ
ร้ บรรเทาสา นันทนาการ ปรชั ญา

ธารณภยั และ เศรษฐกิจ

ปลกู จติ สํานกึ พอเพยี ง

ความสามัคคี

สมานฉันท์

-๓๑-

งค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ (ตอ่ ) แบบ ยท. ๐๑

การสร้างความ บรหิ ารจดั การ การบรหิ ารจัดการที่ดี
เข้มแข็ง และสร้าง ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งเสรมิ
รายได้ให้แก่ และส่งิ แวดลอ้ ม สนับสนนุ การมีสว่ น
ประชาชน รว่ มของประชาชนใน
การพัฒนาทอ้ งถิน่

งบกลาง สร้างความ การเกษตร บรหิ ารท่ัวไป
เขม้ แขง็
สาธารณสุข ของชมุ ชน

รกั ษาความ
สงบภายใน

ผลผลิต / โครงการตาม (แบ
โครงการ

๓.๔ แผนผังยทุ ธศาสตร์ (Strategic Map) “ตําบลกุดปลาดุกน่าอยู่
มกี ารบริหารจดั การที่โปร่ง
วสิ ยั ทศั น์

ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒
การพฒั นาโครงสรา้ ง การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต

พน้ื ฐาน

บบ ผ.๐๑,ผ.๐๒,ผ.๐๓,ผ.๐๖,ผ.๐๘)

-๓๒-
แบบ ยท. ๐๒

ประชาชนมคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ี
งใส น้อมนําใจเศรษฐกจิ พอเพยี ง”

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ทรพั ยากรมนุษย์และ
การสร้างความเขม้
แขง้ ตามหลกั ปรัชญา สิง่ แวดล้อม บรหิ ารองค์กร
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เป้าประสงค์ พัฒนาระบบ พัฒนา ส่งเสริมการ เดก็
โครงสรา้ ง คุณภาพ เรียนรู้ และ เยาวชน
พื้นฐาน ชวี ติ ของ ยกระดบั ประชาชน
สาธารณปู โภค ประชาชน การจัดการ ได้รับการ
ใหไ้ ดม้ าตรฐาน ทกุ ระดับ เรียน สง่ เสรมิ
เพยี งตอ่ ความ การศึกษา กฬี าและ
ตอ้ งการและ กิจกรรม
บริการ อย่างมี
สาธารณะมี คุณภาพ
มาตรฐาน

๓.๔ แผนผงั ยุทธศาสตร์ (Strategic Map) (ต่อ)

คา่ เปา้ หมาย พัฒนาดา้ น พฒั นา พัฒนา ส่งเสริม พฒั นาส
โครงสร้าง สง่ เสริม สนบั สนุนการ และสง่ เ
พน้ื ฐาน โดยมุ่ง สนับสนนุ บรกิ าร คณุ ภาพ
สร้างและ การ สาธารณสุขของ ใหก้ บั ผ
บรู ณะถนน ศกึ ษาท้ัง หมบู่ ้าน การ ผพู้ ิการ
แหลง่ น้ํา และ ในระบบ ป้องกันและ เอดส์ ผ
สาธารณปู โภค และนอก ระงบั โรคติดต่อ และ
สาธารณปู การ ระบบ ควบคุมปอ้ งกัน ผู้ดอ้ ยโอ


Click to View FlipBook Version