- - - ถนน ๑ สาย ประชาชนสญั จร กองช่าง
กว้าง ๕ เมตร ไปมาสะดวก
ยาว ๔,๐๐๐ รวดเรว็ และ
เมตร ปลอดภยั ขน้ึ
-๑๓๑-
แบบ ผ. ๐๓
งบประมาณและทผ่ี ่านมา ตัวชีว้ ัด ผลที่คาดว่าจะ หนว่ ยงานท่ี
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ (KPI)
(บาท) (บาท) (บาท) ไดร้ บั รบั ผิดชอบ
ถนน ๑ สาย
- -- กวา้ ง ๘ เมตร หลัก
ยาว ๙,๐๐๐
เมตร ประชาชนสญั จร กองช่าง
ไปมาสะดวก
รวดเร็ว
และปลอดภัย
ข้นึ
๔ ก่อสรา้ ง ถนน คสล. / ๑.เพื่อกอ่ สร้าง ถนน คอนกรีตเสรมิ - ๑๔,
๑๗,๕๐๐,๐๐๐
ลาดยาง บ้านห้วย ถนนคอนกรีตเสรมิ เหลก็ /ลาดยาง
ร่องคํา หมู่ ๑๐ เหลก็ หรือลาดยาง กว้าง ๖ เมตร
๒.เพื่อการสญั จรไปมา ยาว ๔,๕๐๐ เมตร
(สายบ้านหว้ ยรอ่ งคํา หมู่ ทีส่ ะดวก รวดเร็ว และ หรอื มีพื้นทต่ี ามแบบ
๑๐ - บา้ นนาเมือง ปลอดภัยของ อบต.
หมู่ ๙)
ประชาชน
๕ กอ่ สรา้ ง ถนน คสล. / ๑.เพอ่ื กอ่ สร้าง ถนนคอนกรีตเสริม
ลาดยาง บ้านห้วย ถนนคอนกรตี เสรมิ เหลก็ /ลาดยาง
ร่องคาํ หมู่ ๑๐ เหลก็ หรือลาดยาง กวา้ ง ๘ เมตร
๒.เพ่ือการสญั จรไปมา
(สายบา้ นห้วยรอ่ งคํา- ทส่ี ะดวก รวดเร็ว และ ยาว ๔,๐๐๐ เมตร
บ้านก้าวหน้าสามคั คี ปลอดภัยของ หรอื มีพื้นที่ตามแบบ
ต.โนนโพธ)ิ์
อบต.
ประชาชน
ที่ โครงการ วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย
(ผลผลติ ของโครงการ)
๖ คลองสง่ น้ํา ๒๕๖๑
(เพ่ือการเกษตร เพ่อื ให้มนี ํา้ ไว้ใช้ในการ กอ่ สรา้ งคลองสง่ น้าํ (บาท)
อปุ โภค ทําการเกษตร พรอ้ มสถานสี บู นํ้า -
และเล้ียงสตั ว์
,๗๔๐,๐๐๐ - - ถนน ๑ สาย ประชาชนสัญจร กองช่าง
กว้าง ๖ เมตร ไปมาสะดวก
ยาว ๔,๕๐๐ รวดเรว็
เมตร และปลอดภัย
ขนึ้
-- - ถนน ๑ สาย ประชาชนสญั จร กองชา่ ง
กวา้ ง ๘ เมตร ไปมาสะดวก
ยาว ๔,๐๐๐ รวดเร็ว
เมตร และปลอดภัย
ขน้ึ
-๑๓๒-
แบบ ผ. ๐๓
งบประมาณและทผี่ ่านมา ตัวชี้วัด ผลที่คาดว่าจะ หน่วยงานที่
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ (KPI) ไดร้ ับ รบั ผดิ ชอบ
(บาท) (บาท) (บาท)
คลองสง่ นาํ้ มีนา้ํ ไวใ้ ชใ้ นการ หลกั
- ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ - ระยะทาง อุปโภค ทาํ
การเกษตรและ กองชา่ ง
บา้ นนาสนี วน ระยะทางคลองสง่ นา้ํ
หมู่ ๘ ๓,๐๐๐ เมตร หรอื
(ทส่ี าธารณโนนสวุ ะณะ รายละเอียดตามแบบ
-ทน่ี านายคาํ แลง อบต.
ชยั นาม
๗ กอ่ สรา้ งคลองสง่ น้าํ เพือ่ ให้มนี า้ํ ไว้ใชใ้ นการ ก่อสรา้ งอาคาร ตดิ ตงั้ - ๒๕,
ดบิ ระบบท่อ (ตาํ บล บรหิ ารจดั การระบบ ระบบสบู นา้ํ วาง
ใช้นํา้ ตน้ แบบ) ประปาองค์การบริหาร ระบบทอ่ ระยะทาง
สว่ นตําบล
(ลาํ เซบาย-สระนาํ้ ถ้ํา ๑.๗ กม.
ผกั หวานหลงั ทท่ี ําการ และจดั ทาํ ที่พกั นํ้า
องค์การบริหารส่วน
ตําบลกุดปลาดกุ )
๘ กอ่ สรา้ งชลประทาน ๑. เพือ่ มีนาํ้ ไว้ ใช้ใน ยาว ๓,๐๐๐ เมตร - ๒๕,
บา้ นป่าเตย การอุปโภค ทาํ หรอื ตามสภาพพื้นที่
หมู่ ๑๑ การเกษตรและเลี้ยง ตามแบบมาตรฐาน
(นานายบุญเรียม – สตั ว์
นานายสมยง ไชย ๒. เพือ่ บรรเทาปญั หา
เอก) ความเดือดร้อนจาก
เหตภุ ัยแลง้
รวม ๘ โครงการ - - ๕๗,๘๐๐,๐๐๐ ๗๒,
๓,๐๐๐ เมตร เลย้ี งสัตว์
พรอ้ มสถานสี บู
นา้ํ
,๐๐๐,๐๐๐ -- ก่อสร้างอาคาร มนี ้าํ เพียงพอใน กองช่าง
ตดิ ตงั้ ระบบสบู นํ้า การบรหิ าร
วางระบบท่อ จัดการระบบ
ระยะทาง ๑.๗ ประปาองคก์ าร
กม. บรหิ ารส่วน
ตาํ บล
,๐๐๐,๐๐๐ - - จํานวน ๑ แห่ง มีนาํ้ ใช้ในการ กองชา่ ง
ยาว ๓,๐๐๐ อุปโภคทาํ
เมตร การเกษตร
และเลีย้ งสตั ว์
อยา่ ง
เพยี งพอ
,๙๔๐,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ -- --
-๑๓๓-
รายละเอยี ดโค
แผนพฒั นาท้องถิ่นสป่ี
สําหรบั โครงการทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ น
องค์การบรหิ ารส่ว
ครงการพฒั นา
ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔)
นท้องถ่นิ ดําเนินการโดยไมใ่ ชง้ บประมาณ
วนตําบลกดุ ปลาดุก
แผนพฒั นาท้องถ่ินส่ีป
สําหรบั โครงการท่อี งคก์ รปกครองส่วน
องคก์ ารบริหารส่ว
ก ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวดั ที่ ๔ สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครือขา่ ยในการอนรุ กั ษ์ ฟื้นฟูแ
ข ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาของ อปท.ในเขตจังหวัดท่ี ๔ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล
๔.ยทุ ธศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
๔.๑ แผนงาน เคหะและชุมชน
ท่ี โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย
(ผลผลิตของโครงการ) ๒๕๖๑
(บาท)
๑ ปรับปรุงภมู ิทศั น์ -ให้เป็นชมุ ชนสะอาด -กิจกรรมพฒั นาความ -
ภายในเขตพ้ืนท่ี มีการบรหิ ารจัดการ สะอาดและความเป็น
องคก์ ารบริหารส่วน สิ่งแวดล้อมทาง ระเบียบของบ้านเมอื ง
ตาํ บล กายภาพเปน็ อย่างดี -รณรงค/์
มีความสะอาด เปน็ ประชาสมั พนั ธ์ ภายใต้
ระเบยี บเรียบร้อยเออื้ การมีส่วนรว่ มของ
ตอ่ การอยู่อาศัยและ ประชาชน อยา่ ง
การดาํ รงชพี สมํ่าเสมอ ในพ้นื ที่
-เพ่ือปรับปรุงภมู ิทศั น์ สาธารณะ บริเวณ
ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔) แบบ ผ. ๐๖
นทอ้ งถน่ิ ดําเนินการโดยไม่ใชง้ บประมาณ
วนตาํ บลกุดปลาดุก
และบรหิ ารจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม และพลงั งาน
ล้อม
แบบ ผ. ๐๖
งบประมาณและที่ผ่านมา ตัวช้ีวัด ผลท่คี าดว่าจะ หน่วยงานท่ี
๒๕๖๒ ๒๕๖๓
(บาท) (บาท) ๒๕๖๔ (KPI) ได้รบั รบั ผิดชอบ
-- (บาท) หลัก
- พ้นื ทีเ่ ขต -มภี มู ทิ ัศน์ สํานักงาน
องคก์ าร ตลอดจน ปลดั
บรหิ ารส่วน สภาพแวดลอ้ มที่
ตําบลมีความ สวยงามเปน็
สะอาด เป็น ระเบียบเรียบรอ้ ย
ระเบยี บ เหมาะสมต่อการ
ดํารงชพี และ
สง่ ผลดที ง้ั ตอ่
สุขภาพกาย และ
จติ ใจของ
ในพน้ื ที่ให้เกิดความรม่ ชุมชน หอ้ งน้ํา
รื่น สวยงาม ท่ีสาธารณะ
รวม ๑ โครงการ - --
ก ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวดั ท่ี ๒ สง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมระหวา่ งภาคเี ครอื ขา่ ยทกุ ภาคสว่ นในการ
ตามหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ข ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาของ อปท.ในเขตจงั หวดั ที่ ๕ การบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี
๕. ยุทธศาสตร์ ทรัพยากรมนุษยแ์ ละการบรหิ ารองค์กร
๕.๑ แผนงาน บริหารงานทว่ั ไป
ที่ โครงการ วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย
(ผลผลติ ของโครงการ) ๒๕๖๑
(บาท)
๑ ประชาสมั พนั ธ์ -เพื่อประชาสมั พนั ธ์ -ประชาสัมพนั ธ์งาน/ -
งานขององคก์ าร กิจกรรมทุกข้นั ตอน
องคก์ ารบริหาร บริหารส่วนตาํ บลให้ ใหป้ ระชาชนรับทราบ
ส่วนตาํ บล ประชาชนรับทราบ -รายงานการติดตาม
-เพ่อื การบริหารงาน และประเมินผลการ
ขององคก์ ารบริหาร ดาํ เนินงานเป็นประจาํ
ประชาชนผอู้ าศัย
ในพ้นื ที่
- - -- - -
-๑๓๔-
รบรหิ ารจดั การชมุ ชนด้านเศรษฐกิจ การศึกษา ศาสนา วฒั นธรรม
แบบ ผ. ๐๖
งบประมาณและท่ผี ่านมา ตวั ชีว้ ัด ผลทคี่ าดว่าจะ หน่วยงานท่ี
๒๕๖๒ ๒๕๖๓
(บาท) (บาท) ๒๕๖๔ (KPI) ไดร้ บั รับผดิ ชอบ
-- (บาท) หลัก
- ประชา -ประชาชนได้ สาํ นกั งาน
สัมพันธก์ าร รับทราบการ ปลดั
ดาํ เนินงาน ไม่ ดาํ เนินงานของ
องคก์ ารบริหาร
น้อยกว่า ส่วนตาํ บล
๑๒ คร้ัง/ปี -บริหารงานงาน
ส่วนตาํ บลมีความ หลงั สิ้นปี งบประมาณ
โปร่งใสสามารถ
ตรวจสอบไดต้ าม
หลกั
ธรรมาภิบาล
รวม ๑ โครงการ - --
ก ยุทธศาสตรจ์ งั หวัดที่ ๒ สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งภาคเี ครอื ขา่ ยทกุ ภาคส่วนในการ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๓ ส่งเสริมใหป้ ระชาชนมพี ฤตกิ รรมที่เอื้อตอ่ การมีสขุ ภาพดแี ละพ
๕ พัฒนาเพือ่ เสรมิ สร้างความมน่ั คงพื้นทจี่ ังหวดั อาํ นาจเจรญิ
ข ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาของ อปท.ในเขตจงั หวดั ท่ี ๑ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตประชาชนใหเ้
๒ ส่งเสริมการศกึ ษา ศาสนา อนรุ กั
๒.ยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
๒.๑ แผนงาน สาธารณสขุ
ตามหลกั ธรรมาภิ
บาลสามารถ
ตรวจสอบได้
- - -- --
-๑๓๕-
รบรหิ ารจดั การชมุ ชนดา้ นเศรษฐกิจ การศกึ ษา ศาสนา วัฒนธรรม ตามหลกั ปรัชญา
พ่งึ ตนเองดา้ นสุขภาพ ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เปน็ เมอื งน่าอยู่
กษป์ ระเพณี วัฒนธรรม และภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ
แบบ ผ. ๐๖
ที่ โครงการ วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
๒๕๖๑
๑ ผกู้ อ่ การดี ป้องกนั เพอ่ื กระตุ้นใหเ้ กิดการ เดก็ นักเรียน ในศูนย์ (บาท)
-
การจมนา้ํ ดําเนินงานปอ้ งกนั การ พฒั นาเด็กเล็กและ
จมน้ําทกุ มาตรการใน โรงเรยี นในพน้ื ท่ี
พื้นท่ีอยา่ งตอ่ เน่ือง
โดยใช้ความร่วมมอื
ของสหสาขา และใช้
ทพั ยากรในพนื้ ท่ี
บญั ชคี
งบประมาณและที่ผา่ นมา ตวั ชวี้ ัด ผลท่ีคาดว่าจะ หนว่ ยงานท่ี
๒๕๖๒ ๒๕๖๓
(บาท) (บาท) ๒๕๖๔ (KPI) ไดร้ บั รับผดิ ชอบ
-- (บาท) หลกั
- จดั กิจกรรมให้ กระตุน้ ใหเ้ กิดการ กอง
ความรู้ ดาํ เนนิ งานปอ้ งกนั สาธารณสุข
ไม่นอ้ ยกว่า การจมนา้ํ ทุก
๑ คร้ัง/ปี มาตรการในพน้ื ที่
อย่างตอ่ เน่ือง
-๑๓๖-
ครภุ ณั ฑ์
แผนพฒั นาท้องถิน่ สปี่
องค์การบริหารสว่
บญั ชีค
แผนพัฒนาท้องถิน่ ส่ีป
ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔)
วนตาํ บลกดุ ปลาดุก
ครุภณั ฑ์ แบบ ผ. ๐๘
ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔)
องคก์ ารบริหารส่ว
ที่ แผนงาน หมวด ประเภท วตั ถุประสงค์ เป้าห
(ผลผลิตขอ
๑ บรหิ ารงานทวั่ ไป ครุภัณฑ์ ครุภณั ฑ์ เพอื่ อาํ นวยความ รถบรรทุก (ดีเซ
ทดี่ ินและ ยานพาหนะ สะดวกในการ
ส่งิ ก่อสรา้ ง และขนส่ง ปฏิบัติงาน ขนาด ๑ ตนั ร
๒ บรหิ ารงานทวั่ ไป ครภุ ัณฑ์ ครุภณั ฑ์ เพือ่ จัดเก็บเอกสาร ขนาดกระบอก
ทีด่ นิ และ สํานักงาน
สิ่งก่อสร้าง เพือ่ จัดเก็บเอกสาร กวา่ ๒,๔๐๐ ซ
ครภุ ัณฑ์
๓ สาธารณสุข ครภุ ณั ฑ์ สํานักงาน ๒ ลอ้ แบบดบั
ทดี่ นิ และ
สงิ่ กอ่ สรา้ ง (ตามแบบมาต
ครุภณั ฑ)์
ตเู้ หลก็ เกบ็ เอก
มาตรฐาน มอก
ขนาดไม่ต่ํากวา่
X ๑๘๓ ซม.
จํานวน ๒ หล
(จดั หาราคาใน
ทอ้ งถิ่นหรือจัด
ประหยัด)
ตเู้ หลก็ บานเล่ือ
(ทรงเตีย้ ) ขนา
๑๑๘ X ๘๘ ซ
จํานวน ๒ หล
(จดั หาราคาใน
ทอ้ งถ่ินหรอื จัด
วนตําบลกุดปลาดุก
หมาย ๒๕๖๑ งบประมาณและท่ีผา่ นมา หน่วยงานท่ี
องครภุ ณั ฑ์) (บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ รบั ผดิ ชอบ
๗๘๗,๐๐๐ (บาท) (บาท) (บาท) หลัก
ซล)
รถบรรทุก -- - สํานักงาน
กสูบไม่นอ้ ย ปลัด
ซีซี ขบั เคลื่อน
บเบิ้ลแคบ็ - สาํ นกั งาน
ตรฐาน ปลัด
กสาร - ๑๕,๐๐๐ - - กอง
ก. ๑๐,๐๐๐ - - สาธารณสุข
า ๙๑ X ๔๕
ลัง
นจงั หวัดหรือ
ดหาอย่าง
อนกระจก
าดไมต่ ํ่ากวา่
ซม.
ลัง/ปี
นจงั หวัดหรือ
ดหาอย่าง
ประหยัด)
ที่ แผนงาน หมวด ประเภท วัตถุประสงค์ เปา้ ห
(ผลผลิตขอ
๔ บรหิ ารงานทวั่ ไป ครภุ ณั ฑ์ ครภุ ัณฑ์ เพื่ออํานวยความ โตะ๊ ทาํ งาน ขน
ท่ดี นิ และ สํานักงาน สะดวกในการ กวา่ ๔ ฟุต พร
สง่ิ กอ่ สร้าง ปฏบิ ตั งิ าน จาํ นวน ๒ ตวั
(จัดหาราคาใน
ทอ้ งถน่ิ หรอื จัด
ประหยัด)
-๑๓๖-
หมาย ๒๕๖๑ งบประมาณและที่ผา่ นมา แบบ ผ. ๐๘
องครภุ ณั ฑ์) (บาท) ๒๕๖๒ ๒๕๖๓
(บาท) (บาท) หนว่ ยงานท่ี
นาดไม่นอ้ ย ๑๐,๐๐๐ ๒๕๖๔ รบั ผิดชอบ
ร้อมกระจก -- (บาท) หลัก
ว
นจังหวัดหรือ - สํานักงาน
ดหาอย่าง ปลดั
รวม ๘๐๗,๐๐๐ ๑๕,๐๐๐ - --
-๑๓๗-
ส่วนท่ี ๕ การติดตามและประเมนิ ผล
......................................................................................................................................
๑. การติดตามและประเมินผลยทุ ธศาสตร์
แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่า
ดว้ ยการจัดทาํ แผนพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๕๙
เป็นแบบที่กําหนดให้คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ดําเนินการให้คะแนนตามเกณฑ์ที่
กาํ หนดไว้ ซงึ่ เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา โดยดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวัน
นบั แต่วันทป่ี ระกาศใช้งบประมาณรายจ่าย มีรายละเอยี ด ดังนี้
๑.แนวทางการพจิ ารณาการติดตามและประเมนิ ผลยทุ ธศาสตร์เพ่ือความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถ่ิน
สีป่ ี ประกอบด้วย
๑.๑ ขอ้ มูลสภาพทัว่ ไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ๒๐ คะแนน
๑.๒ การวิเคราะห์สภาวการณแ์ ละศักยภาพ ๑๕ คะแนน
๑.๓ ยทุ ธศาสตร์ ๖๕ คะแนน ประกอบด้วย
(๑) ยทุ ธศาสตรข์ ององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ๑๐ คะแนน
(๒) ยทุ ธศาสตรข์ ององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในเขตจังหวดั ๑๐ คะแนน
(๓) ยุทธศาสตร์จงั หวัด ๑๐ คะแนน
(๔) วิสัยทัศน์ ๕ คะแนน
(๕) กลยทุ ธ์ ๕ คะแนน
(๖) เปา้ ประสงคข์ องแต่ละประเด็นกลยทุ ธ์ ๕ คะแนน
(๗) จดุ ยนื ทางยทุ ธศาสตร์ ๕ คะแนน
(๘) แผนงาน ๕ คะแนน
(๙) ความเชือ่ มโยงของยทุ ธศาสตรใ์ นภาพรวม ๕ คะแนน
(๑๐) ผลผลติ / โครงการ ๕ คะแนน
คะแนนรวม ๑๐๐ คะแนน เกณฑ์ที่ควรได้เพื่อให้เกิดความสอดคล้องและขับเคล่ือนการพัฒนา
ท้องถ่ินขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ไมค่ วรน้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ (๘๐ คะแนน)
๒.แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อความสอดคล้องแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี
ประกอบด้วย
๒.๑ การสรุปสถานการณก์ ารพัฒนา ๑๐ คะแนน
๒.๒ การประเมินผลการนําแผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ ส่ีปีไปปฏิบัติในเชงิ ปริมาณ ๑๐ คะแนน
๒.๓ การประเมนิ ผลการนาํ แผนพฒั นาท้องถนิ่ สีป่ ีไปปฏิบตั ิในเชิงคุณภาพ ๑๐ คะแนน
๒.๔ ยุทธศาสตร์และแผนงาน ๑๐ คะแนน
-๑๓๘-
๒.๕ โครงการพฒั นา ๖๐ คะแนน ประกอบดว้ ย
(๑) ความชัดเจนของชื่อโครงการ ๕ คะแนน
(๒) กาํ หนดวัตถุประสงคส์ อดคลอ้ งกับโครงการ ๕ คะแนน
(๓) เปา้ หมาย (ผลผลิตของโครงการ) มีความชัดเจนนาํ ไปสู่การต้ังงบประมาณได้
ถกู ตอ้ ง ๕ คะแนน
(๔) โครงการมคี วามสอดคล้องกับแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ๕ คะแนน
(๕) เปา้ หมาย (ผลผลติ ของโครงการ) มคี วามสอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ ๕ คะแนน
(๖) โครงการมีความสอดคลอ้ งกบั Thailand ๔.๐ ๕ คะแนน
(๗) โครงการสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวัด ๕ คะแนน
(๘) โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนหรือการเสริมสร้างให้ประเทศชาติม่ันคง มั่งค่ัง
ยัง่ ยนื ภายใต้หลักประชารัฐ ๕ คะแนน
(๙) งบประมาณ มีความสอดคลอ้ งกบั เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) ๕ คะแนน
(๑๐) มกี ารประมาณการราคาถูกต้องตามหลักวธิ ีการงบประมาณ ๕ คะแนน
(๑๑) มีการกําหนดตัวช้ีวัด (KPI) และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และผลที่คาดว่าจะ
ไดร้ บั ๕ คะแนน
(๑๒) ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ ๕ คะแนน
คะแนนรวม ๑๐๐ คะแนน เกณฑ์ท่ีควรได้เพื่อให้เกิดความสอดคล้องและขับเคลื่อน
การพฒั นาท้องถน่ิ ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ไมค่ วรน้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ (๘๐ คะแนน)
๓. แนวทางการพิจารณาการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์เพื่อความสอดคล้อง
แผนพฒั นาท้องถ่นิ สี่ปีขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ประเด็นการพิจารณา
๑. ข้อมลู สภาพทว่ั ไปและข้อมูลพนื้ ฐานขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
๒. การวเิ คราะหส์ ภาวการณ์และศักยภาพ ๑๕
๓. ยทุ ธศาสตร์ ประกอบดว้ ย ๖๕
๓.๑ ยทุ ธศาสตรข์ ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ (๑๐)
๓.๒ ยทุ ธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตจังหวดั (๑๐)
๓.๓ ยุทธศาสตร์จังหวัด (๑๐)
๓.๔ วิสยั ทัศน์ (๕)
๓.๕ กลยทุ ธ์ (๕)
๓.๖ เปา้ ประสงคข์ องแต่ละประเดน็ กลยุทธ์ (๕)
๓.๗ จุดยืนทางยทุ ธศาสตร์ (๕)
๓.๘ แผนงาน (๕)
๓.๙ ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม (๕)
๓.๑๐ ผลผลิต / โครงการ (๕) รวมคะแนน ๑๐๐
-๑๓๙-
๒. การติดตามและประเมินผลโครงการ
องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ใช้การติดตามและประเมินผลโครงการ โดยใช้ตัวแบบวัดผลในเชิง
ปริมาณและคุณภาพ ตามที่จะกล่าวต่อไปในหัวข้อท่ี ๓.๑ และมีหลักการประเมินผลโครงการที่สําคัญ คือ การ
ติดตามและประเมนิ ผลโครงการวา่ บรรจวุ ัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ในโครงการทุกประการหรือไม่อยา่ งไร
๓. สรปุ ผลการพฒั นาทอ้ งถ่นิ ในภาพรวม
๓.๑ การวัดผลในเชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ
โดยใช้แบบสําหรบั ตดิ ตามและประเมินผลเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ
(๑) แบบตวั บง่ ชีก้ ารปฏบิ ัตงิ าน (Performance Indicators)
(๒) แบบบตั รคะแนน (Scorecard Mode) หรือ Scorecard Mode ของ Kaplan & Norton
(๓) แบบมงุ่ วัดผลสมั ฤทธ์ิ (Result Framework Mode)
(๔) แบบเชิงเหตผุ ล (Logical Model)
(๕) แบบวดั กระบวนการปฏบิ ตั ิงาน (Process Performance Measuament System (PPMS))
(๖) แบบการประเมินโดยใช้วิธีการแก้ปัญหาหรือเรียนรู้จากปัญหาท่ีเกิดข้ึน หรือ Problem – Solving
Method
(๗) แบบการประเมนิ แบบมีสว่ นร่วม (Participatory Method)
(๘) แบบการประเมนิ ผลกระทบ (Impact Evaluation)
(๙) แบบการประเมนิ ความเสี่ยง (Risk Assessment Model)
(๑๐) แบบประเมินตนเอง (Self-Assessment Model)
(๑๑) แบบอ่ืนๆ ท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินกําหนดข้ึน ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้กรอบข้อ (๑)-(๑๐) หรือ
เป็นแบบผสมกไ็ ด้
เชิงปริมาณ (Quantity) เชิงคุณภาพ (Quality) ผลท่ีได้จริงๆคืออะไร ค่าใช้จ่าย (Cost) เวลา (Time)
เปน็ ไปตามทก่ี ําหนดไวห้ รือไม่
ประชาชนไดป้ ระโยชน์อย่างไรหรือราชการไดป้ ระโยชนอ์ ยา่ งไร
วดั ผลน้นั ได้หรอื ไม่ หรือวัดได้เท่าไร (Key Performance Indicator : KPIs) ผลกระทบ (Impact)
-๑๔๐-
๔. ขอ้ เสนอแนะในการจดั ทําแผนพัฒนาท้องถ่ินในอนาคต
๔.๑ ผลกระทบนําไปสู่อนาคต (เชน่ จะทาํ สนบั สนนุ ส่งเสริม ปอ้ งกัน อย่างไร เปน็ ตน้ )
ในทฤษฎีทางวิชาการการจัดการ ช้ีว่า องค์กรต่างๆไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐ หรือองค์กรภาค
ประชาชนจะพัฒนา เติบโตและอยู่รอดได้ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับการการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
ภายนอก ๔ ประการ (PEST) ตลอดเวลา ซึ่งประกอบไปด้วย
๑.) ส่งิ แวดลอ้ มดา้ นการเมือง (Political Environment)
๒.) สิง่ แวดลอ้ มดา้ นเศรษฐกิจ (Economic Environment)
๓.) สง่ิ แวดลอ้ มดา้ นสังคม (Social Environment)
๔.) สง่ิ แวดลอ้ มดา้ นวิทยาการใหม่ๆ (Technology)
สังคม
(Social)
การเมอื ง
(Political)
องค์การ พัฒนา เตบิ โต อยู่รอด
(Organization)
เศรษฐกิจ
(Economic)
วทิ ยาการ
(Technology)
จากแผนภาพ องคก์ ารบริหารส่วนตําบลมีฐานะเป็นองค์กรภาครัฐองค์กรหนึ่ง จึงมีความจําเป็นท่ี
จะต้องมีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดล้อมต่างๆ ๔ ประการดังที่กล่าวมาแล้ว
เพ่ือให้องค์กรพัฒนาเติบโตและอยู่รอดต่อไปได้ วิสัยทัศน์ในการปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้อง
วิเคราะห์ตามสิง่ แวดลอ้ มที่จะเปลี่ยนแปลงไปทง้ั ๔ ประการ ดงั น้ี
๑) การปรับตวั ให้เขา้ กับการเมอื ง (Political Environment) ท่เี ปลี่ยนแปลง
หากกล่าวถึงการปกครองของไทยในปัจจุบัน อาจแบ่งระดับการเมืองออกได้เป็น ๒ ระดับ ได้แก่
การเมืองระดับชาติ และการเมืองระดับท้องถิ่น การเมืองระดับชาติ ได้แก่ การเมืองระดับรัฐบาลสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ในส่วนของการเมืองระดับท้องถ่ินน่ันยังสามารถแบ่งแยกย่อยออกได้เป็นหลายประเภท
เช่น การเมืองของ อบจ. เทศบาล หรือ อบต. หรือแม้กระท่ังการเมืองในระดับหมู่บ้านท่ีจะต้องมีการเลือกตั้ง
ผู้ใหญบ่ ้านโดยราษฎรในหม่บู ้านนน่ั ๆ เปน็ ตน้
-๑๔๑-
ในสภาพข้อเท็จจรงิ ในปัจจุบันและผลงานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องต่างช้ีว่าการเมืองในระดับชาติ ยังมี
อิทธิพลต่อการเมืองในระดับท้องถิ่นอยู่หลายประการ เช่น การเลือกตั้งในระดับท้องถิ่นต้องอาศัยภาพลักษณ์ของ
พรรคการเมืองระดับชาติเพอื่ ชว่ ยในการหาเสยี ง การใหเ้ งนิ อุดหนนุ เฉพาะกจิ จากส่วนกลาง เป็นตน้
ในอนาคต อํานาจหนา้ ทีแ่ ละบทบาทของนักการเมืองทอ้ งถ่นิ และขา้ ราชการท้องถน่ิ จะเป็นอยา่ งไร
นั้น ส่วนหนึ่งก็ขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมทางการเมืองโดยเฉพาะอย่างย่ิงอิทธิพลจากการเมืองระดับชาติซ่ึงถ่ายทอด
ออกมาเป็นนโยบายของรัฐท่ีมีต่อ อปท. ซ่ึงมักสลับปรับเปล่ียนกันเป็น ๒ กรณี กล่าวคือการรวมอํานาจการ
ปกครอง (Centralization) หรือ การกระจายอํานาจการปกครอง (Decentralization) ดังนั้น ผู้ท่ีจะปฏิบัติงานใน
อบต. จึงจําเป็นท่ีจะต้องทราบความเคล่ือนไหวของนโยบายรัฐอยู่ตลอดเวลา เพ่ือบริหารจัดการ อปท.ให้เข้ากับ
สภาวการณ์ดงั กล่าวท่เี ปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา
ในส่วนของปัจจัยการเมืองระดับท้องถิ่นด้วยกันเองนั้น ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะต้องเข้าใจบทบาท
หน้าที่ของตนเอง ซ่ึงโดยหลักการแล้วการตัดสินใจกําหนดนโยบายควรเป็นหน้าที่ของฝ่ายการเมืองท้องถิ่น ทุก
ฝา่ ยควรต้องรูค้ วามเคลอื่ นไหวและการเปลีย่ นแปลงของการเมืองทอ้ งถิ่นในทกุ ระดบั ทั้งระดบั อบจ. เทศบาล อบต.
และระดับหมู่บ้าน เพราะการเมืองท้องถ่ินเหล่าน้ีมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันและจะต้องมีผลกระทบต่อ อปท. ไม่
ทางตรงก็ทางอ้อม ขา้ ราชการท้องถิ่นควรพยายามปรับข้อเท็จจริงในท้องถิ่นให้เข้ากับระเบียบกฎหมายของรัฐ ซ่ึง
ในบางครั้งระเบียบกฎหมายอาจไม่เหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการของคนในท้องถ่ินก็ต้องเป็นหน้าท่ี
ของข้าราชการท้องถ่ิน ท่ีจะประยุกต์ใช้กฎหมาย ให้สามารถใช้ได้จริงตามสภาพและบริบทแวดล้อมของท้องถ่ิน
นัน้ ๆ จึงจะไดช้ ่อื วา่ เปน็ นกั บรหิ ารการเปล่ียนแปลง (Change Agent) อย่างแท้จริง
๒) การปรับตวั เข้ากบั เศรษฐกิจ (Economic Environment) ที่เปลี่ยนแปลง
เมื่อสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไม่ดี ทําให้ประชาชนยากจนเพิ่มข้ึนเป็นสาเหตุของ
ปัญหาอ่ืนๆที่กระทบต่อ อปท. ตามมาไม่ว่าจะเป็นปัญหายาเสพติด ปัญหาประชาชนเรียกร้องในสิ่งท่ีสามารถ
แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้ามากกว่าสิ่งที่แก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เช่น ต้องการผ้าห่มกันหนาวฟรี เสื้อกันหนาวฟรี
และของฟรีอนื่ ๆจาก อปท. เป็นต้น ซึ่งสวนทางกับระเบียบกฎหมายและการตรวจสอบอย่างเข้มข้นของสํานักงาน
ตรวจเงนิ แผ่นดิน ทีพ่ ยายามจํากัดขอบเขตการตัดสินใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในเรื่องของการแจกของให้
ราษฎร
อีกปัญหาหน่ึงประชาชนอาจขาดการมีส่วนร่วมทางการเมืองกับ อปท. เพราะต้องเอาเวลาไป
ทํางานหาเงินเพ่ือปากท้องของตนเองก่อนหรือบางคร้ังอาจมีส่วนร่วมแค่การรับเงินแล้วไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
รวมตลอดถงึ ปัญหาความยากจนของประชาชนจะสรา้ งความเข้มแข็งให้กบั นโยบายประชานิยมไปโดยปริยายซ่ึงอาจ
ส่งผลกระทบในทางลบในระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการส่งเสริมลักษณะนิสัยการพึ่งพิงรัฐอยู่ตลอดเวลาของ
ประชาชน เปน็ ตน้
ดังนั้น การสร้างกระบวนทัศน์ (Paradigm) ทางความคิดให้แก่ประชาชนตามหลัก “ตนเป็นท่ีพ่ึง
แหง่ ตน” และ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ควรเป็นสงิ่ สาํ คญั ทน่ี กั บริหารงาน อปท. ควรใหค้ วามสนใจทจ่ี ะส่งเสริม
และพัฒนาในประเดน็ นี้
-๑๔๒-
๓) การปรับตัวเขา้ กบั สงั คม (Social Environment) ท่ีเปลยี่ นแปลง
ชุมชนมสี ภาพทางสงั คม บางพื้นท่เี ปน็ สังคมทตุ ิยภูมิ (ชุมชนในเมือง) บางพ้ืนที่ประชาชนให้ความ
ร่วมมือกับกิจกรรมของ อปท.เป็นอย่างดี บางพ้ืนท่ีประชาชนขาดความร่วมมือ บางพื้นท่ีอาจเป็นสังคมท่ี
ประกอบดว้ ยชนเผ่าตา่ งๆมากมาย เป็นตน้
สภาพของสังคมไทยมักเป็นสังคมอุปถัมภ์ ผู้บริหารท้องถิ่นอาจมีแนวโน้มท่ีจะตัดสินกําหนด
นโยบายไปตอบสนองต่อกลุ่มญาติพี่น้องของตน กลุ่มอื่นท่ีแพ้การเลือกต้ังเม่ือได้รับการตอบสนองก็หาทางโจมตี
ก่อให้เกิดความขัดแย้งท่ีรุนแรงข้ึนในสังคมท้องถิ่นมากกว่าในอดีต ดังนั้น บุคลากรใน อบต. จึงจําเป็นที่จะต้อง
เข้าใจผลกระทบที่มาจากสาเหตุการกระจายอํานาจสู่ท้องถิ่นท่ีส่งผลโดยตรงต่อความสามัคคีในสังคมท้องถ่ินยุค
ปัจจุบัน ต้องมีความสามารถบริหารงานบนความขัดแย้งในสังคม เพราะคงไม่มีสังคมใดในประเทศไทยท่ีจะมีคนที่
ชอบสิ่งเหมือนๆกันได้หมด การปฏิบัติงานทุกอย่างย่อมมีการเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ต่อต้านและไม่ต่อต้าน อยู่คู่กับ
สังคมประชาธปิ ไตยเสมอสําคัญเพียงแตว่ ่าจะสามารถลดระดับหรอื แกไ้ ขความขดั แย้งที่รุนแรงนัน้ ไดอ้ ยา่ งไร
๔) การปรับเขา้ กับวิทยาการใหม่ๆ (Technology) ทีเ่ ปลีย่ นแปลง
ในปัจจุบันกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีนโยบายส่งเสริมพัฒนาบุคลากรโดยการฝึกอบรมอยู่
เป็นประจํา เช่น การฝึกอบรมการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมต่างๆ การฝึกอบรมการจัดทําเว็บไซต์องค์กร เป็นต้น
ประกอบกับการส่งเสริมฯ มีเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆที่จําเป็นและเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของ อปท.
ท่ปี รบั ปรงุ ใหท้ นั สมยั อย่ทู กุ วนั เช่น การเผยแพรห่ นังสือส่งั การตา่ งๆผา่ นช่องทางการสารบรรณอิเลกทรอนิคส์ เป็น
ต้น หากพนักงานท้องถิ่นให้ความสําคัญในการอ่านหนังสือสั่งการของกรมส่งเสริมฯทางอินเตอร์เน็ตอยู่เป็นประจํา
ก็จะนํามาซึ่งการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพและไม่ขัดต่อระเบียบ กฎหมายหนังสือส่ังการที่เปล่ียนแปลงไปอยู่
ตลอดเวลา
๔.๒ ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ผลจากการพัฒนา (รวมถึงองค์ประกอบสําคัญของข้อมูลเพ่ือ
นําไปส่ขู ้อเสนอแนะเปน็ ตน้ )
องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก มีข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ผลจากการพัฒนา โดยอิงการ
คาดการณก์ ารพฒั นาต่างๆอย่ภู ายใต้ส่ิงแวดล้อมภายนอกตา่ งๆดงั ตอ่ ไปน้ี
๑) การเปลยี่ นแปลงในประเทศท่ีจะสง่ ผลกระทบต่อ อบต.
-รัฐธรรมนญู ฉบบั ใหมจ่ ะสง่ ผลต่อองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ อยา่ งไร
-แนวโนม้ การยกฐานะจาก อบต. เปน็ เทศบาลทวั่ ประเทศ
-แนวโนม้ การควบรวมองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ
-การเพ่ิมข้ึนหรือลดลงของการจดั สรรเงินงบประมาณให้ อปท.
-๑๔๓-
๒) การเปล่ยี นแปลงในระดบั ภมู ภิ าคทจ่ี ะสง่ ผลกระทบต่อ อบต.
AEC หรือ Asean Economics Community คือการรวมตัวของชาติในอาเซียน ๑๐ ประเทศ
โดยมี ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และบรูไน เพื่อท่ีจะมี
ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน จะมีรูปแบบคล้ายๆกลุ่ม Euro Zone น่ันเอง จะทําให้มีผลประโยชน์อํานาจ
ต่อรองต่างๆกับคู่ค้าได้มากข้ึน และการนําเข้า ส่งออกของชาติในอาเซียนก็จะเสรี ยกเว้น สินค้าบางชนิดแต่ละ
ประเทศอาจจะขอไว้ไม่ลดภาษีนําเข้า (เรียกว่าสินค้าอ่อนไหว) Asean รวมตัวเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
และมีผลเป็นรปู ธรรม เม่ือวนั ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๘ ซ่งึ จะทําใหภ้ มู ภิ าคน้ีเปล่ียนไปอย่างมากโดย AEC Blueprint
(แบบพิมพเ์ ขียว) หรือแนวทางทจี่ ะให้ AEC เป็นไป คือ
๑.การเปน็ ตลาดและฐานการผลิตเดียวกนั
๒.การเป็นภูมภิ าคท่มี ีขีดความสามารถในการแขง่ ขันสูง
๓.การเป็นภมู ิภาคทมี่ ีการพฒั นาทางเศรษฐกิจทเี่ ท่าเทยี มกนั
๔.การเปน็ ภูมิภาคทมี่ ีการบรู ณาการเขา้ กบั เศรษฐกิจโลก
จากการท่ีองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ได้กําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ไว้จํานวน ๕
ยุทธศาสตร์ ดังน้ัน จึงวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาค หรือ การเข้าสู่ AEC ท่ีจะส่งผลกระทบต่อ
องค์การบริหารสว่ นตําบลกดุ ปลาดุก ในยทุ ธศาสตรต์ า่ งๆ ดังนี้
๑.ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐาน
การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ของไทย ทําให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
โดยเฉพาะอย่างย่ิงองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ต้องให้ความสําคัญกับการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อ
รองรับการหล่ังไหลเข้ามาของประชากรประเทศเพื่อนบ้านไม่ว่าจะเข้ามาในฐานะนักท่องเที่ยว คนทํางานหรือการ
อื่นใด การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานที่สําคัญ เช่น ถนน ป้ายจราจรท่ีมีภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศท่ีจําเป็น
เปน็ ตน้
๒.ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
-ปัญหาสังคมจะรุนแรงถ้าไม่ได้รับการวางแผนที่ดี เนื่องจากจะมีขยะจํานวนมากขึ้น
ปัญหาการแบ่งชนชั้น ถ้าคนไทยทํางานกับคนต่างชาติท่ีด้อยกว่า อาจมีการแบ่งชนชั้นกันได้จะมีชุมชนสลัมเกิดข้ึน
และอาจมี พม่าทาวนล์ าวทาวนก์ มั พูชาทาวนป์ ญั หาอาชญากรรมจะรนุ แรง สถิติการก่ออาชญากรรมจะเพิ่มขน้ึ อย่าง
มากจากชนน้ันทีม่ ปี ัญหาคนจะทําผดิ กฎหมายมากข้นึ เน่อื งจากไมร่ กู้ ฎหมาย
-การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ของไทย ทําให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
โดยเฉพาะอย่างย่ิงองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุกต้องให้ความสําคัญกับการจัดระเบียบชุมชนสังคมและความ
สงบเรยี บร้อยมากขึ้น เนอื่ งจากกฎหมายและวฒั นธรรมของแต่ละชนชาติอาจมีความแตกต่างกันดังน้ัน อาจมีการฝ่า
ฝืนกฎหมายจากชาวต่างประเทศในไทยมากข้ึนทั้งโดยตั้งใจและความไม่รู้กฎหมาย อีกทั้งอาจเกิดปัญหา
อาชญากรรม ยาเสพติด เพ่ิมมากขึน้ จากการหลัง่ ไหลของแรงงานต่างด้าวที่เขา้ มาทาํ งานในไทยมากขนึ้
-ปัญหาด้านสาธารณสุขที่สําคัญคงหนีไม่พ้น โรคติดต่อที่สําคัญ ไม่ว่าจะเป็นเอดส์
ไข้เลือดออก SARs ไข้หวัดนกและโรคอ่ืนๆท่ีมีผลจากการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้ามาในไทย การค้ามนุษย์และการ
ทอ่ งเทยี่ ว มคี วามเสีย่ งตอ่ การปนเป้ือน การแพร่ระบาดของโรคศตั รูพืชและโรคระบาดสัตว์
-๑๔๔-
-การศึกษา ภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีคนไทยมีความเช่ียวชาญในการส่ือสารน้อยกว่า
ประเทศอ่ืนๆในอาเซียน ดังน้ัน องค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก จึงได้เริ่มต้นสนับสนุนโรงเรียนในพ้ืนที่เพื่อนํา
ร่องไปส่โู ครงการอ่ืนๆในการเรง่ รดั พฒั นาใหป้ ระชาชนในพื้นที่มที ักษะในการสนทนาภาษาองั กฤษเพิม่ มากขน้ึ
-ศาสนา อาจเกิดความขัดแย้งในการเผยแพร่ศาสนาของชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาใน
ไทยมากข้ึน เช่น อาจมีการเผยแพรศ่ าสนาครสิ ต์ ศาสนาอสิ ลาม อาจมกี ารกระทบกระท่ังกันระหว่างผู้นับถือศาสนา
ท่ีแตกต่างกัน เช่น ชาวคริสเตียนมาท่องเท่ียวในวัดที่เป็นแหล่งท่องเท่ียวและมีการลบหลู่อย่างรู้เท่าไม่ถึงการณ์เป็น
ตน้
-วัฒนธรรม ประชาสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN SOCIO-CULTURAL
COMMUNITY) มแี ผนปฏิบตั ิการดา้ นสังคมและวฒั นธรรมอาเซียนระบใุ นแผนปฏิบตั ิการเวยี งจนั ทรท์ ี่สาํ คัญ คือ
การพัฒนามนุษย์และการสร้างอรรถลักษณ์อาเซียน ต้องสร้างความตระหนักรู้ถึงความแตกต่างในมรดกทาง
วัฒนธรรม เช่น มุสลิมมีอาหารที่เป็นข้อห้าม ตามธรรมเนียมบรูไนไม่มีการจับมือกับเพศตรงข้าม การใช้มือซ้ายใน
การสง่ ของหรอื นามบตั รให้แก่ชาวมสุ ลิมถือเปน็ สง่ิ ไมส่ ภุ าพ เปน็ ตน้
๓.ยทุ ธศาสตร์การสร้างความเขม้ แข็งตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
การเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน (AEC) ของไทย ทําให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยเฉพาะ
อย่างย่ิงองค์การบริหารส่วนตําบลกุดปลาดุก ต้องให้ความสําคัญกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ การส่งเสริมอาชีพ
การรวมกลุ่มอาชีพ เพ่ือรองรับการหลั่งไหลเข้ามาของประชากรประเทศเพื่อนบ้านไม่ว่าจะเข้ามาในฐานะ
นกั ท่องเทยี่ ว คนทํางาน หรอื การอื่นใด
๔.ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ของไทยทําให้องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน
ต้องให้ความสําคัญกับการจัดระเบียบชุมชนสังคมและความสงบเรียบร้อยมากข้ึนเน่ืองจากกฎหมายและวัฒนธรรม
ของแต่ละชนชาตมิ คี วามแตกตา่ งกัน ดังน้ันอาจมีการฝ่าฝืนกฎหมายจากชาวต่างประเทศในไทยมากข้ึนท้ังโดยต้ังใจ
และความไม่รู้กฎหมาย อีกทั้ง อาจเกิดปัญหาการบุกรุกพ้ืนท่ีป่า ด้วยสาเหตุทั้งที่เกิดจากคนไทยและชาวต่างชาติ
สาเหตุท่ีเกิดจากคนไทยคือการเพ่ิมข้ึนของจํานวนประชากรทําให้ท่ีทํากินไม่เพียงพอต่อความต้องการ หรือการขาย
ที่ดินให้นายทุนต่างๆชาติแล้วไม่มีท่ีทํากินจึงต้องบุกรุกพ้ืนท่ีสาธารณะ ส่วนสาเหตุจากชาวต่างชาติ อาจมีนายทุน
เข้ามาทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การตัดไม้เพ่ือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ มลพิษจากข้อเสีย
ข้ามแดน เช่น อาจมีขยะข้ามแดน
๕. ยทุ ธศาสตรท์ รัพยากรมนุษยแ์ ละบรหิ ารองค์กร
การบริหารภาครัฐต้องเร่งรัดพัฒนาให้ตอบสนองการให้บริการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการ
ให้บริการในด้านการอนุญาต อนุมัติ ต่างๆ ซ่ึงต้องมีคู่มือภาษาอังกฤษ จีน เป็นต้น เพื่อสื่อสารกับชาวต่างชาติท่ี
ต้องการทํานิติกรรมต่างๆซึ่งเกี่ยวกับรัฐ เช่น การเสียภาษีบํารุงท้องที่ การเสียภาษีป้าย เป็นต้น อีกทั้งเจ้าหน้าท่ี
ภาครัฐจาํ ตอ้ งพฒั นาการใช้ภาษาอังกฤษให้ในระดับท่ีสอ่ื สารกับผู้ใชบ้ รกิ ารท่ีเป็นชาวต่างชาติ
-๑๔๕-
......................................................................................................................................
ภาคผนวก
......................................................................................................................................