The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Mind and Wisdom ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือน มกราคม - ธันวาคม 2562
ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Peacestudies of PSU, 2020-01-19 23:31:28

Mind and Wisdom ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือน มกราคม - ธันวาคม 2562

Mind and Wisdom ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เดือน มกราคม - ธันวาคม 2562
ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Keywords: Mind and Wisdom ,จิตตปัญญา,สันติศึกษา

Mind and Wisdomปท่ี 2 ฉบับท่ี 2 เดือน มกราคม - ธันวาคม 2562
นครนิ ทร

8 หยดหยาดสงกรานต 58 คําปราถนา.... 72การเดนิ ทาง
รดนํ้า...รดใจ เมอ่ื แมจากไป สูหลวงพระบาง

Mind and Wisdomปที่ 2 ฉบับที่ 2 เดอื น มกราคม - ธันวาคม 2562

ศนู ยจ ติ ตปญญาศกึ ษา สถาบนั สนั ติศึกษา มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร

เจ้าของ : ศนู ย์จิตตปญ ญาศึกษา สถาบันสนั ติศกึ ษา ผูทรงคุณวฒุ ทิ ่ีปรกึ ษา
มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์
พระเทพสิทธมิ นุ ี (บุญสนิ อตุ ฺตมชาโต, Ph.D) เจ้าคณะภาค ๑๘
ท่อี ยู่ : อาคารสถาบันสันติศกึ ษา 15 ถนนกาญจนวนชิ ย์ พระราชปริยัตกิ ว,ี ศ.ดร. มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ
อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 ราชวิทยาลยั
พระชาตรี เหมพนโฺ ธ, ศ.ดร. มหาวิทยาลยั แห่งกรงุ เซนต-์
ติดตอ่ : โทรศัพท์ 074-289450-6 โทรสาร 074-289451 ปเตอรเ์ บอรก์ สหพันธรฐั รสั เซีย
E-Mail : [email protected] ศาสตราจารย์ ดร.สมภาร พรมทา
Website : www.peacestudies.psu.ac.th ศนู ย์ศึกษาพุทธปรชั ญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาฯ
รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ยั กาญจนสวุ รรณ
มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์
รองศาสตราจารย์ ดร.ปกรณ์ สงิ ห์สรุ ิยา มหาวิทยาลยั มหดิ ล
รองศาสตราจาร์ ดร.ประเวศ อินทองปาน
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรยุทธ์ ศรีวรกลุ
มหาวิทยาลัยอสั สัมชัญ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤทธ์ิ ดวงสวุ รรณ
มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์

กองบรรณาธกิ ารวารสาร

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี เพชรนาจักร
อาจารยเ์ พ็ญนภา พัทรชนม์
ดร.จริ าภรณ์ เรืองยงิ่
ดร.นิวดี สาหีม
วิโรจน์ รตั นะ

คณะทาํ งานวารสาร

ชวัลรตั น์ บุญกาญจน์ พทั ธนนั ท์ ล่มิ อรุณวงศ์
รุ่งนภา อคั รบวร รจเิ รข เจรญิ ดี
เกศฤดี บุญรัตน์ จุฑามาส อินอทุ ัย
อุสมาน หวังสนิ อมุ าพร สวุ รรณรัตน์

ออกแบบ/รูปเลม

วิโรจน์ รัตนะ

ถอดรหัสจากประสบการณชวี ิต

เมอ่ื พิจารณาถึงประสบการณ์ชีวิต เราจะเหน็ ความ การทบทวนชีวิตบ้าง อย่างหยาดหยดสงกรานต.์ ..รดนา้� รด
เชอื่ มโยงระหวา่ ง “ศักยภาพในการรับรู้” กับ “สงิ่ ทเ่ี ขา้ มาก ใจ เปน็ มุมมองของผูเ้ ขยี นทม่ี ีต่อประเพณีทผี่ ูกอย่กู ับวถิ ีโดย
ระทบให้เราเกิดการเรยี นร”ู้ การรับรจู้ ะมากบั ความร้สู กึ ๓ รวมของคนไทย ซึ่งมกี ารผสมผสานระหวา่ งความเชอ่ื และ
แบบหลกั ๆคอื (๑) ชอบ (๒) ไมช่ อบ (๓) ระบุไมไ่ ดว้ า่ ชอบ การปฏิบตั ิผา่ นระบบคิดของคนแตล่ ะสภาพแวดลอ้ ม เมื่อ
หรือไมช่ อบ สง่ิ ทน่ี ่าสังเกตคอื สง่ิ ท่ี “ตรึงใจเรา” จะมี ๒ ถกู ส่งทอดมาถงึ ปจ จุบนั ในบางคร้งั สรา้ งขอ้ กังขาใหก้ บั คน
อยา่ งหลกั ๆท่ชี ัดเจนทีส่ ดุ คอื “ชอบ” และ “ไมช่ อบ” ส่วน ที่ไม่สนั ทัดกับวิถแี บบนั้น คา� ถามทต่ี ามมาคอื “ทา� ..ไป
“ความรูส้ กึ ท่ีระบุไมไ่ ดว้ ่าชอบหรือไมช่ อบ” นน้ั ดเู หมอื น ท�าไม”และ“ควรทา� อยา่ งไร..หากอยากท�า”เราอาจ หาคา�
จะมีกา� ลงั ในการตรึงใจนอ้ ยกว่าความรสู้ ึกชอบและไมช่ อบ ตอบไดบ้ ้างแตค่ งไมท่ ัง้ หมด เพราะระดบั ความตอ้ ง การค�า
หลายคนอาจประสบ “ความผิดหวงั ” มากอ่ น ตอบของแต่ละคนไมน่ ่าจะเทา่ กัน, คณุ คา่ (Value) เลก็ ๆที่
ความผิดหวงั อยู่ในกรอบของ “ไมช่ อบ” เรายงั จ�าภาพวัน ตอ้ งเชค็ กอ่ นสตารท์ เป็นความพยายามท่ีจะให้เห็นถงึ ระบบ
นั้น วันท่ีคนซ่ึงเคยบอกว่ารกั เรา เขาเปลยี่ นค�าพูดนน้ั เปน็ คดิ ท่ีสง่ ทอดเปน็ การใชช้ ีวติ ที่แตกตา่ งกัน ผทู้ ่อี ยู่ในประสบ
“ขอเปน็ เพ่อื นกนั ดกี ว่า” เหตุผลทีเ่ ขาบอกเราคือ “เธอดี การณ์เหล่านั้นอาจต้องใช้ทักษะชีวิตที่เข้มงวดขึ้น,
เกินไป” เราได้แต่ตงั้ คา� ถามว่า “ดีเกนิ ไปคอื ไมด่ ีหรอื ” เร่ืองเลา่ ...ไปอนิ เดีย เป็นเรื่องเลา่ ของหญงิ สาวคนหน่ึงซ่งึ
ตลอดถงึ ค�าถามอนื่ ๆ ทุกวันนีแ้ ม้เขาและเราจะจากกนั มา ต้องการเรยี นรูบ้ างสงิ่ ท่เี ธอตงั้ คา� ถามมายาวนน้ั เธอแบ่ง
นานแล้ว แตเ่ ราก็ยงั หว่ งหาอดตี บางช่วงทเ่ี คยดตี อ่ กัน อัน เวลาจา� นวนหน่งึ เพือ่ ไปลองใช้ชวี ิตต่างพ้นื ท่ี สภาพแวดล้อม
แสดงถึง “ความชอบ”ยังคงอยู่ แต่ก็ยังเจบ็ ปวดเมอ่ื นกึ ถึง บางอย่างสง่ ผลให้เธอได้เรยี นรทู้ แี่ ตกตา่ งออกไป โดยเฉพาะ
ความไม่สมหวงั ประสบการณ์ภายในท่ีเกิดข้ึนจากกิจกรรมในต่างแดน
ปญ หาท่ีนา่ สนใจคือ จะท�าอย่างไรใหป้ ระสบการณ์ ตลอดถึงข้อเขียนนักศึกษาในช้ันเรียนท่ีมีต่อการเรียนรู้ใน
ชีวิตท่ีถูกตีค่าเป็นความชอบและไม่ชอบส่งผลเป็นความ วชิ าหนงึ่ บทความ “ก่อนวัย...เกษยี ณ 16 วันในฟล ปิ ปน ส์
ตระหนกั รู้ จากตัวอยา่ งข้างต้น หลายคนอาจตระหนักรู้ การใหค้ อื การได้ การเดินทางส.ู่ ..หลวงพระบาง และงาน
เช่น (๑) เป็นเรอ่ื งท่ีดีมาก หากเราใช้ชีวติ กบั เขา เราก็ไมร่ ู้วา่ บนั ทึก“ค�าปรารถนา : เม่อื แมจ่ ากไป ทัง้ หมดบง่ ถงึ ประสบ
ชีวติ เราจะเดินมาถึงจดุ น้ีได้หรือไม่ และไมแ่ นใ่ จนกั ว่า การ การณ์ที่ผ่านเข้ามาในชีวิตส่งผลเป็นความตระหนักรู้ท่ี
อยกู่ บั เขาจะมคี วามสุขยืนยาวเหมอื นคนปจจบุ ัน (๒) มนั สามารถถอดรหัสออกมาได้
ไม่ใช่เรื่องแปลกกับการที่คนซ่ึงรับปากเราเป็นอย่างดีว่าจะ ความตระหนักรู้จากประสบการณ์ในการอ่าน
ท�าสงิ่ หน่ึง แตว่ นั หนึ่งเขากเ็ ปลยี่ นเป็นอ่นื เพราะเทา่ ท่ี วารสารนี้ กองบรรณาธกิ ารคงบอกใครไม่ได้ เพราะเป็น
สงั เกต ทุกอยา่ งก็เปลย่ี นแปลงอยูต่ ลอดเวลา และดเู หมือน เรื่องของผู้อ่านแต่ละคนที่ได้รับการจ�าแนกอย่างแตกต่าง
ถ้าไม่พัฒนาตนให้ดีข้ึนก็มักจะเปลี่ยนแปลงไปสู่ความผุพัง ตาม“ศักยภาพในการเรยี นร้”ู เหมอื นกบั เราแหงนมองกอ้ น
อยา่ งรถยนต์ ตน้ ไม้ แมวทเี่ ราเล้ียง ดังนน้ั การที่คนซง่ึ เรา เมฆสขี าวท่กี า� ลงั ลอยอยู่ นาย ก. อาจมองก้อนเมฆคอื ก้อน
เคยคิดจะใช้ชีวิตร่วมกันจะเปลี่ยนเป็นอ่ืนๆก็สามารถท่ี เมฆ นาย ข.อาจมองกอ้ นเมฆเหมือนคนรกั นาย ค.อาจมอง
เปลย่ี นแปลงได้ ตัวอยา่ งน้เี ปน็ ตวั อย่างของการถอดรหสั ก้อนเมฆคือสารประกอบ ส่วนนาย ง.อาจมองกอ้ นเมฆดว้ ย
จากประสบการณ์ชีวิตกลายเป็นความเข้าใจโลกและชีวิต ใจทีว่ ่างเปล่า รหสั แหง่ ความตระหนักรู้จากประสบการณ์
ตามทเ่ี ป็น ชวี ิตไม่ใช่สง่ิ ลลี้ ับ ทุกคนสามารถเขา้ ถงึ เหมือนกนั ได้ เพียง
วารสาร Mind and wisdom ฉบับที่ ๒ น้ี ภาพ แต่ต้องรอการสะสมศักยภาพที่สอดคล้องกับองค์ความรู้
รวมของเนือ้ หาจะคือการกล่ันมาจากประสบการณ์ชวี ติ เทา่ นั้น เมือ่ ถงึ จุดน้นั “ความชอบ” และ “ไมช่ อบ” อาจไม่
จากการทอ่ งเทย่ี วบ้าง การสงั เกตสภาพแวดลอ้ ม ได้อยู่ชีวิตของแตล่ ะคนเลย.
รอบตัวบ้าง
กองบรรณาธิการ

Mind and Wisdom

MIND CONTENTS--

8 หยาดหยด
สงกรานต

18 คณุ คา
เลก็ ๆ

24 เลาเรอ่ื ง
ไปอนิ เดยี

38 Asian Review
จดหมายจากนอ งเจมส

44 กอ นวยั เกษียณ

ind and Wisdom

-- สารบญั

48 อาสาพาเที่ยว 83 ปญ หา พาสนกุ
14 วนั ในฟล ปิ ปน ส

58 คําปราถนา
เมื่อแมจากไป

70 แวน ตาใจ 84 เสยี งสงคราม

71 การใหคอื การได 85 เธอ พอ และความ
72 ก า ร เ ดิ น ท า ง สู  พยายามหยดุ ยัง้
สงคราม
หลวงพระบาง
86 ของดี ท่ี ม.อ.

Mind and Wisdom 6

ศนู ยจ์ ติ ตปญ ญาศึกษา สถาบันสันตศิ ึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ไดม้ ีบทบาท
สา� คัญในการจัดการเรือ่ งการสอน วิชาจิตววิ ัฒน์ และวชิ าชวี ิตที่ดี ซึ่งเปน็ รายวิชาศึกษา
ท่วั ไป เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาเขา้ ใจตนเองและผู้อน่ื ดา� เนินชวี ิตอยา่ งสมดลุ ท้ังการเรียน การใช้
ชีวิตสว่ นตัว อยูอ่ ย่างสงบ และมคี วามสุขตามอตั ถภาพ

วารสารออนไลน์ Mind and Wisdom ไดร้ เิ รม่ิ เม่ือปทแ่ี ล้ว โดยศูนย์จิตตปญญา
ศึกษา เป็นผรู้ บั ผดิ ชอบ ปนี้ถือว่าเป็นฉบับท่ีสอง ตงั้ ใจวา่ จะผลิตใหไ้ ด้ปล ะ 2 ฉบับ แต่ยังมี
ข้อจ�ากัด ผลติ ไดเ้ พียงฉบับเดียว

การมองขา้ งในดูภาวะจิต ถือว่าเปน็ องค์ความรู้ที่สา� คัญในการเขา้ ใจตนเอง หาก
บุคคลประสงค์จะพัฒนาตนเองให้มีความสงบและมีพลังจิตท่ีมีศักยภาพในการท�ากิจกรรม
ต่างๆ เขาตอ้ งฝก ดูจิตใจตนเอง พัฒนาจิตใจของตนเอง ไม่ใหอ้ ดีตและอนาคตมารบกวน
ภาวะจติ ของตนเอง จนตระหนักวา่ การมีสติ รเู้ ท่าทันปจ จบุ ันเปน็ เรื่องทส่ี า� คัญ ทกี่ ่อให้เกิด
ปญญา ที่เฉียบแหลมและมศี กั ยภาพในการแก้ไขปญหาตา่ งๆ

M7 ind and Wisdom

ผอู าํ นวยการปรารภ

คนส่วนใหญม่ กั จะโทษสภาพแวดล้อมและคนอื่นๆเมอ่ื ท�างานผิดพลาด แต่คนที่สงบ
ฝกมองขา้ งในจิตใจของตนเองอยู่อย่างสมา่� เสมอ จะไม่โทษผูอ้ ืน่ จะมุ่งหาเหตปุ จ จัยที่
งานการไม่สา� เร็จ แล้วพยายามทา� เหตใุ ห้ดี เพอื่ แกไ้ ขปญหาทต่ี ้นเหตุ โดยไมล่ ะเวน้ ความ
ผดิ ของตนเอง ท�าใหเ้ ขาพฒั นาศักยภาพตัวเขาเองไดเ้ สมอ กล่าวสรปุ คือ เรียนรู้ความผิด
พลาด เพ่อื พฒั นาตนเอง

ขอขอบคุณคณะกรรมการท่จี ัดท�าวารสาร Mind and Wisdom ท่พี ยายามส่งเสรมิ
และผลิตงานเขยี นดีๆ ออกสสู่ ังคม ความคดิ เห็นตา่ งๆ ถอื ว่าเป็นความคดิ เห็นของผูเ้ ขยี น
แตล่ ะทา่ น ในนามสถาบันสันตศิ ึกษา มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ขอขอบคุณผู้เขยี นทุก
ท่าน

รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ยั กาญจนสุวรรณ
รกั ษาการแทนผูอ้ �านวยการสถาบนั สนั ติศกึ ษา

20 ธนั วาคม 2562

Mind and Wisdom 8

หยาดหยดสงกรานต...รดนา้ํ รดใจ ... DEJAVU MON

วันมหาสงกรานตข์ องปพ ุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ตรงกบั ขอยอ้ นกลบั ไปกอ่ นวันสงกรานต์ หลายหนว่ ยงาน
วันอาทติ ยท์ ี่ ๑๔ เมษายน สว่ นวันที่ ๑๖ เมษายน เป็นจุด ของภาครัฐและเอกชน ได้จดั งานทา� นบุ �ารงุ ศิลปวัฒนธรรม
เร่มิ ตน้ ของศกั ราชใหม่แบบจลุ ศกั ราช เรียกอีกอยา่ งหน่ึงว่า ซึ่งถือวา่ เปน็ ภารกจิ หนึ่งของหน่วยงาน หลังจากละคร
“วันปใหม่”ของจุลศักราชที่คติแบบสยามประเทศ/ โทรทัศน์ “ออเจา้ ” ทีช่ าวบ้านเรยี กกนั ตดิ ปากหรือ ละคร
ประเทศไทยเคยใชม้ ากอ่ น คติดงั กลา่ วนไ้ี ดร้ บั การสานตอ่ โทรทัศน์เรื่อง “บพุ เพสนั นวิ าส” ซ่งึ แต่งโดย ศลั ยา สขุ ะนิ
มาจนถงึ ทกุ วนั น้ี ชว่ งวันสงกรานต์เป็นวนั หยดุ ราชการตาม วตั ติ์ ได้รับการเผยแพร่ทางสถานโี ทรทัศนไ์ ทยทวี สี ชี ่อง ๓
ปป ฏิทนิ ดังนัน้ หลายคนจงึ วางแผน “สนกุ ” ในช่วงวันหยดุ ละครโทรทัศน์เรื่องทองเอกหมอยาท่าโฉลงที่แต่งโดย
ดังกล่าวนัน้ ให้สมกับเปน็ วนั เฉลมิ ฉลองวนั คล้ายสง่ ท้ายป จนิ โจว ชดุ แตง่ กายทีก่ ารศึกษาไทยสายหลกั ระบุวา่ เปน็
และเร่มิ ตน้ ปใ หม่แบบจลุ ศกั ราช “ชดุ ไทย” ซ่งึ ตวั ละครสวมใส่ ได้กลับมาเป็นค่านยิ มกระตุน้
หลายคนบอกวา่ กรงุ เทพมหานคร กลายเป็นเมือง ให้คนในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนหันมาใส่ชุดไทยในวัน
นา่ อยู่ เพราะไมต่ ้องพบเจอรถติด เราสามารถเดินไปเลน่ บน สงกรานต์ ผนวกเข้ากบั ประเพณสี งกรานต์
ถนนซึง่ ครัง้ หน่งึ ไม่มีทว่ี ่างส�าหรบั ให้คนเดินไดเ้ ลย ขณะที่ วันสงกรานต์ท่ีถูกสานต่อด้วยกลุ่มบุคคลผู้มีศาสนา
จงั หวัดอ่นื เกอื บจะทกุ บา้ นรอคอยการกลับมาของมติ ร เป็นฐานส�าคัญของชีวิตได้รับการผนวกระหว่างฐานทาง
สหายผู้เดินทางไปแสวงหาโชคลาภในเมืองหลวง ศาสนาและการเฉลมิ ฉลองวนั สงกรานต์ หลายหน่วยงานมี
ฝา ยปกครองของจังหวัดต่างๆ เตรียมจัดงานวนั สงกรานต์ การจัดตั้งพระพุทธรูปเพื่อให้คนที่มีฐานทางศาสนาแบบ
อย่างจงั หวัดขอนแกน่ ขอท�าลายสถติ ิโลก “คลืน่ มนษุ ย์ท่ีมี พุทธได้รดน้�าขอพร ก่อนทีจ่ ะไปรดน้า� ขอพรจากผูห้ ลกั
ระยะยาวนานทีส่ ุดบนโลก” ขณะท่ีอ�าเภอหาดใหญ่ จงั หวดั ผู้ใหญ่ผู้เปยมด้วยคุณธรรมอย่างน้อยได้เคยสร้างคุณูปการ
สงขลาจัดงานมดิ ไนทส์ งกรานต์ จงึ มนี กั ทอ่ งเท่ียวมาเล่นน้�า ตอ่ องคก์ รทีผ่ นู้ อ้ ยประกอบอาชพี เลีย้ งชีวติ อยู่
ในวนั สงกรานตก์ นั อยา่ งคบั คั่ง ปญ หาท่ีน่าคิดคอื “เรารดนา้� พระพทุ ธรูปท�าไม?”
บนหน้าเฟสบุคและไทม์ไลน์มีการแชร์กิจกรรม “เรารดนา้� ผู้หลกั ผ้ใู หญท่ า� ไม?” และ “คา� พดู หรือถอ้ ยค�าซึง่
“รดนา�้ ขอพร” จากผูท้ เ่ี ราคิดว่าเขามอี ปุ การคณุ ต่อเรามา ออกมาจากปากของผูห้ ลักผใู้ หญอ่ ันหมายถึง “พร” เป็นสง่ิ
กอ่ น เสอื้ ผ้าลายดอกไมส้ สี ดกลายเปน็ สญั ลกั ษณส์ บายๆที่ ท่ีจะท�าให้สมหวงั ไดอ้ ย่างทที่ า่ นพูดจรงิ หรอื ?” หรือว่า สิ่งนี้
นยิ มสา� หรับวันสงกรานต์ เป็นเพียงการสืบสาน/รกั ษาไวเ้ พอ่ื การ “แสดง” ออกใน
ประเพณสี งกรานต์เท่านั้น เราจะหาสาระส�าคัญจากสิ่งนี้ได้
หรือไม?่ บทความนี้ จะพิจารณาถึงปญหาดังกลา่ วน้ัน

M9 ind and Wisdom

พระพทุ ธรปู คืออะไร?

พระพุทธรูปคอื รูปของพระพุทธเจ้า แต่เราจะแนใ่ จ ดังนั้นแท้จริงแล้วพระพุทธรูปคือองค์ประกอบของดิน
ไดอ้ ย่างไรว่า รปู ไหนคอื รูปของพระพุทธเจ้าตวั จริง ในเมอ่ื หิน ปนู ฯลฯ เหล่านัน้ ในวันสงกรานต์ กลมุ่ ผรู้ ับแนวทาง
พระพุทธรูปบางองคร์ ิมฝป ากหนา บางองคร์ ิมฝปากบาง ชวี ิตทีพ่ ระพทุ ธเจา้ ประกาศเผยแพร่ เขาได้น�าพระพทุ ธรูป
บางองค์ผอม บางองคอ์ ้วน บางองคส์ ีด�า บางองค์สีมรกต ดังกล่าวมาตั้งไว้เพ่ือให้คนท่ีรับแนวทางชีวิตเดียวกันมา
บางองคโ์ กนผม บางองค์ตัดผม รดนา้� แสดงความเคารพ ส่งิ ทน่ี า่ คิดคือ เราเคารพอะไร?
เดิมทีพระพุทธรูปคือศิลปะการปนหุ่นเหมือน เคารพในดิน หิน ทราย ทองเหลอื ง อย่างน้ันหรือ ถา้ เคารพ
ซ่งึ ข้ึนกบั ฝม ือของคนปน คนทมี่ ศี รัทธาสงู มีจิตใจละเอยี ด ในส่งิ เหล่าน้นั แสดงวา่ เรากเ็ คารพในขนั ทองเหลอื ง ชาม
อ่อน อาจปน งานออกมาไดอ้ ย่างงามพรอ้ ม ในบางองคแ์ ม้ ช้อน และยางรถยนต์ได้ดว้ ย ยงิ่ ไปกวา่ นัน้ เรายังขอสิ่งที่เรา
จะดูไม่สวยแต่หากใช้ความรู้สึกสัมผัสความละเอียดอ่อน ปรารถนา เช่น ขอให้ถูกหวย ถูกรางวัลสลากกินแบง่ ทร่ี ฐั
ของงาน เราจะรบั รไู้ ดถ้ ึงความงามแห่งศรัทธาทส่ี งบสงดั ระบุอนญุ าตให้ซื้อได้ การขอดงั กลา่ วเปน็ การขอจากพระ-
ซอ่ นซับฉาบอยกู่ ับพระพุทธรปู น้ัน แตกต่างจากงานปม ทีม่ ี พทุ ธรปู ท่ีมาจากหิน ดนิ ทราย ปนู ทองเหลอื ง ทองสมั ฤทธิ์
การท�าแบบพมิ พก์ ่อนแล้วค่อยปม ออกมาทีละองค์ ยง่ิ เป็น ฯลฯ แทจ้ รงิ การขอจากผนู้ �าประเทศ นา่ จะมคี วามเปน็ ไป
ยคุ ของธุรกจิ พระพมิ พ์ ตลอดถึงแนวคิดแบบ “สร้างพระ ได้ท่จี ะสมปรารถนามากกว่าการขอจากหิน ดนิ ทราย
พุทธรูปหนึ่งองค์ได้ข้นึ สวรรค”์ ดว้ ยแล้ว อาจต้องหาความ อยา่ งไรก็ตาม การเคารพที่หมายถงึ การนอบน้อม
งามอยา่ งละเอยี ดละออ และอาจไม่เจอความงามท่ีใจผู้พบ ต่อช้อน ชาม ตน้ ไม้ อากาศ แสงแดด ดิน หิน เป็นต้น เป็น
เห็นจะสัมพันธ์กับความตั้งใจของผู้สร้างพระพุทธหน่ึงองค์ สงิ่ ทก่ี ระทา� ได้ในกรอบความคดิ ที่ว่า เม่อื สงิ่ ดังกลา่ วให้
เลยก็ได้ การสร้างเพือ่ “ระลึกถงึ ” กับการสร้างเพือ่ “ใหไ้ ด้ อุปการะคุณอะไรกับเรา เรากน็ อบน้อมต่อสง่ิ นั้นและ/หรือ
สวรรค”์ นนั้ แตกตา่ งกันอยา่ งมนี ยั ทางใจที่สา� คัญ ใช้ประโยชน์จากสิ่งนั้นอย่างถนุถนอม/อย่างเห็นคุณค่าใน
เม่ือพระพุทธรูปคือศิลปะการปนและการปม สงิ่ นน้ั แต่ไมใ่ ช่เคารพเพียงเพราะเห็นเขาทา� กท็ �าตามเขา
โดยอาจปน และปม จากดิน หิน ปนู ทองเหลอื ง แร่ธาตผุ สม โดย ไมม่ ีท่ไี ปทีม่ าทส่ี ามารถอธิบายถึงการกระท�านัน้ ได้
ตา่ งๆ แล้วกลายเป็น พระพุทธรูป

Mind and Wisdom 10

เรารดนาํ พ้ ระพุทธรูปทาํ ไม?

ถ้าพระพุทธรูปไม่ใช่พระพุทธเจ้าและ/หรือ
พระพทุ ธรปู คอื หนิ ดนิ ทราย ปูน ทองเหลือง พฤติกรรมท่ี
ในเม่ือพระพุทธรูปคือรูปเหมือนของพระพุทธเจ้า บุคคลฉวยน้�าท่ีคนอ่ืนส่งมาให้หรือตักจากภาชนะท่ีเขา
ส่วนจะเหมือนหรือไม่น้นั เราไม่อาจขน้ึ ไทมแ์ มชชนี ของโดเร เตรียมไว้ให้แล้วเทน�้าลงบนองค์พระการรดน�้าดังกล่าวคือ
มอนไปดูตัวจรงิ ของพระองค์ได้ เชน่ เดียวกับรูปปนของพระ การรดหนิ ดิน ทราย เป็นตน้ ถ้าการรดนา�้ ดงั กลา่ วคอื การ
เยซู ท่ีเราไม่อาจเดจาวู (Deja vu) ถงึ พระองค์ได้ จึงไม่ ชะล้างส่ิงสกปรกจากพระพุทธรูปให้จางไปก็พอจะมีเหตุผล
สามารถระบไุ ด้วา่ แบบใดคอื พระองค์ แต่ท่ีเรารบั รู้จาก ตอ่ การทเี่ ราควรรดน�า้
บริบทรอบตัวและข้อความที่ส่งผ่านมาทางส่ือการเรียนรู้ ขอให้พิจารณาภาพคณะผู้น�าของประเทศรดน้�า
อย่างคมั ภรี ร์ ะบุวา่ พระพุทธเจ้าเป็นคน และนา่ จะเปน็ คน พระพุทธรูป ณ โถงกลางตกึ สันติไมตรเี ปน็ แบบทั่วไปของ
ปกติเหมอื นอย่างเราทกุ คน เพราะพระองคก์ นิ ข้าว ขับถา่ ย การจดั การตามประเพณีนยิ ม๑ ตลอดถงึ การรดน้�าท่วั ไปของ
ของเสีย มคี วามรู้สกึ สุข ทุกข์ มีเลอื ดเนอื้ เคยสบื พนั ธุ์ บคุ คลทางศาสนา บางคนถึงกับใชม้ ือถทู ีพ่ ระพทุ ธรูปในเชิง
เหมอื นกบั สิ่งมชี ีวิตท่วั ไป ขณะเดยี วกนั ไมพ่ บว่ามขี อ้ ความ ทา� ความสะอาด ทงั้ ทเ่ี รานา่ จะเข้าใจได้ว่า พระพุทธเจา้ เสีย
ใดระบวุ ่าพระองค์คอื พระเจา้ เพียงแตค่ วามคดิ ทพี่ ระองค์ ชีวิตไปแล้วคงไม่อาจรับรู้หรือรู้สึกอะไรกับการที่ชาวบ้านใช้
เสนอต่อสาธารณะน้ันมีความหมายบางอย่างต่อการด�ารง มือถูพระพทุ ธรปู เพราะพระพุทธเจ้ากับพระพุทธรูปไม่ใช่
ชวี ิตของมนษุ ย์ จงึ ดูเหมือนพระองคไ์ ม่ตา่ งจากนกั คดิ อยา่ ง สิง่ เดียวกนั
อรสิ โตเตลิ โสคราติส คารล์ มากซ์ เปน็ ตน้ ทต่ี า่ งกันคอื เนื้อหาของศาสนาพุทธท่ีนักบวชในศาสนามัก
พระองค์เสนอในสิ่งที่ลองปฏิบัติด้วยตนเองซึ่งไม่ใช่เพียง อา้ งอิงเพือ่ จะชี้วา่ ใครคือพระพทุ ธเจา้ คอื ขอ้ ความวา่ “ผ้ใู ด
การคิดอยา่ งเดียว และบคุ คลอย่างพระพุทธเจ้าที่กล่าวถึงน้ี เหน็ ธรรม ผนู้ ้ันเห็นเรา”ซงึ่ เปน็ ขอ้ ความทพ่ี ระพทุ ธเจ้ากล่าว
ไดเ้ สยี ชวี ิตไปแลว้ เมอ่ื สองพันกวา่ ป จงึ เปน็ ไปไดก้ ับการท่ี สอนนักบวชชอื่ วา่ วกั กลิ ๒ ถ้าหากทดลองแปลงข้อความ
พระพทุ ธรูปไม่ใชพ่ ระพุทธเจา้ หากแตเ่ ปน็ เพียงสญั ลกั ษณ์ “ผใู้ ดเหน็ ธรรม ผู้นน้ั เหน็ เรา” เป็นข้อความวา่ “ผู้ใดรด
แทนคนๆหน่ึงที่เสียชีวิตไปแล้วเมื่อสองพันกว่าป ธรรม ผนู้ ้นั รดเรา” และ/หรือ “ผู้ใดนอบน้อมต่อธรรม ผู้นน้ั
ดงั น้นั จะขอให้พระพุทธรปู ซึง่ ทา� มาจากหนิ ดนิ ทราย ทอง นอบน้อมต่อเรา”การรดน�า้พระพุทธรูปอาจต้องเปลี่ยนจาก
เหลืองประทานอะไรใหก้ บั ผขู้ อพรหรือ? ประเพณนี ยิ มแบบท่ัวไป เป็นการใหค้ วามสา� คัญกับธรรม

11 Mind and Wisdom

การกระทาํ ใดมผี ลเปน สุข การกระทําน้ันคอื ธรรม
การกระทาํ ใดมผี ลเปนทุกขย าก/เดือดรอ น
การกระทําน้นั คอื อธรรม

ธรรม มคี �าอธบิ ายหลายอย่าง แต่โดยภาพรวมมกั การรดนา�้ พระพุทธรูป จา� เปน็ จะต้องรดใจดว้ ย โดย
ถูกระบใุ นแงข่ อง “ความดีงาม” หากเปน็ เรอ่ื งภายในใจกจ็ ะ ใช้ธรรมชโลมใจเพื่อให้ใจชุ่มเย็นเป็นสุขอันเดียวกันกับธรรม
รับรูไ้ ด้ด้วยตนเอง หากเป็นเรื่องภายนอก อย่างนอ้ ยคอื การ จงึ เปน็ “รดน�า้ รดใจ” ปญ หาคอื เราจะหาธรรมทีไ่ หน เพ่อื
ท�าใหค้ นอน่ื สบายกายสบายใจขน้ึ การรดน้า� พระพทุ ธรปู ราดรดใจไปพร้อมกับสายน�้าที่ค่อยๆหยาดหยดลงบน
โดยท่ีพระพทุ ธรูปคืออิฐ หิน ดนิ ทราย ปนู เป็นตน้ การกระ พระพทุ ธรูปท่ีผลติ มาจากดินและ/หรอื ทองเหลอื ง เป็นตน้
ท�าแบบนีย้ ังระบุอยา่ งแน่ชดั ไม่ได้วา่ ดีหรอื รา้ ย แตห่ าก เพื่อจะหาค�าตอบให้สอดคล้องกับ“เรารดน�้าพระพุทธรูป
พิจารณาข้อความทว่ี า่ “การกระทา� ใดมผี ลเป็นสุข การกระ เพ่ือโชลมใจด้วยธรรม”เราอาจพิจารณาด้วยข้อความน้ี
ทา� นัน้ คอื ธรรม การกระทา� ใดมีผลเป็นทกุ ข์ยาก/เดอื ดร้อน “ทา่ นผ้เู หน็ ภัยในการเวียนวา่ ยตายเกิดทั้งหลาย ธรรมอนั
การกระทา� น้นั คืออธรรม” ๓ ถ้าการรดนา�้ พระพทุ ธรูปเป็น หน่ึงทอี่ บรมแลว้ หม่ันฝก ฝนบ่อยๆ ซง่ึ มีผลคอื ...ความสงบ
แต่เพยี งรกั ษาไวซ้ งึ่ ประเพณี จติ ใจของผรู้ ดนา้� พระพุทธรูป ความรู้ย่ิง และรู้แจง้ ชัด ธรรมอย่างหนึ่งน้ันคอื “พทุ ธานุส
ยงั คงวุ่นวาย กระวนกระวาย หาความสขุ ไม่ได้ จงึ ไมน่ า่ จะ สติ”... ซง่ึ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต/สมเดจ็ พระ
จัดไดว้ ่า เปน็ การใหค้ วามสา� คญั กับธรรม ดงั นั้น เมื่อให้ พทุ ธโฆษาจารย)์ อธิบายไวว้ า่ พุทธานุสสติ การระลกึ ถงึ
ความส�าคัญกบั ธรรมไมไ่ ด้ จงึ ไม่อาจระบไุ ดว้ า่ สิง่ น้ันเปน็ พระพุทธเจา้ คือ น้อมจติ ระลึกถึงและพจิ ารณาคณุ ของ
ความดงี าม พระองค์ ภาพรวมคอื การนกึ ถึงคณุ คา่ แหง่ ความดีงามท่ี
บุคคลอย่างพระพุทธเจ้าเคยประพฤติในอดีตเม่ือคร้ังยังมี
ลมหายใจเข้าออก

๑ ดูรายละเอยี ดใน https://www.youtube.com/watch?v=MFl5QF9Txsg, ๑๙ ๔ แปลถอดความจาก พระสุตตนั ตปฎก เลม่ ท่ี ๑๒ ขอ้ ๑๗๙. ดูรายละเอียดใน http://
เมษายน ๒๕๖๒. www.84000.org/ tipitaka/read/?20/179-180/39-40, ๑๙ เมษายน ๒๕๖๒.
๒ ดูรายละเอียดใน http://www.84000.org/tipitaka/read/v. ๕ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต). ๒๕๔๖. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบบั ประมวล
php?B=17&A=2680&Z= 2799&pagebreak=0 ๑๙ เมษายน ๒๕๖๒. ธรรม. พิมพ์คร้ังท่ี ๑๒ เข้าถงึ ได้ใน http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.
๓ ดูบทสวดมนต์หวั ขอ้ “ธัมมคารวตาทิคาถา” ในค่มู ืออุบาสก อบุ าสกิ า ทา� วัตรเชา้ -เยน็ php?i=335, ๑๙ เมษายน ๒๕๖๒.
บทสวดมนตพ์ เิ ศษและศาสนพธิ ีแปล โดยหอจดหมายเหตุพทุ ธทาส อนิ ทปญโญ. หนา้ ๕๗.

Mind and Wisdom 12

มหานามสูตร ในพระไตรปฎ กเล่มท่ี ๑๔ (พระสตุ ต ความสขุ อยา่ งไม่รจู้ บของผู้คน ขอ้ ความว่า “อยู่อย่างไรให้
ปฎ ก) ระบไุ ว้วา่ “...พระผจู้ ัดสรรธรรมให้เหมาะสมกบั บุคลกิ พบสขุ ” อาจพออธบิ ายใน (๒) น้ีได้
ของผคู้ น (ภควา) เปน็ ผหู้ า่ งไกลแล้วจากสิ่งท่ีจะทา� ให้จิตใจ สังคมพุทธศาสนาในประเทศไทย มักเสนอพุทธคณุ
เศร้าหมอง (อรหโต) สามารถเขา้ ถึงความจริงของโลกและ ๓ ประการคือ (๑) พระบริสุทธิคุณ/วิสุทธคิ ณุ (๒) พระ
ชวี ิตดว้ ยตนเอง (สัมมาสัมพุทโธ) สมบรู ณ์ดว้ ยความรูแ้ ละ ปญญาคุณ และ (๓) พระกรณุ าคุณ มคี า� อธิบายย่อๆวา่
การปฏิบตั ิ (วิชชาจรณสมั ปณ โณ) เดนิ บนเสน้ ทางทีด่ งี าม บริสุทธิคุณคือความบริสุทธ์ิหมดจดทางใจของพระพุทธเจ้า
(สคุ โต) ร้จู กั โลกและชวี ิตเป็นอย่างดี (โลกวิทู) เปน็ แบบ เปน็ ความหมดส้ินความปรารถนาในรปู รส กลิ่น เสยี ง
อย่างชวี ิตทยี่ อดเย่ยี ม (อนตุ ตโร ปรุ สิ ธัมมสารถ)ิ เปน็ ครู และสงิ่ ทีเ่ กดิ ข้ึนกับจติ ทที่ า� ให้จติ เศร้าหมอง อย่างการท่ี
คณุ ธรรมของผู้คน (สตั ถา เทวมนสุ สานงั ) เป็นผเู้ บิกบานใจ พราหมณ์ สองสามีภรรยา ยกลกู สาวที่สวยงามให้ พระองค์
อยา่ งอิ่มเอมใจเปน็ นิตย์ (พุทโธ) และเป็นผจู้ า� แนกธรรมให้ ไมป่ รารถนาสมั ผสั แม้นเพยี งแผ่วผิว เทวทตั ทา� รา้ ยพระองค์
เหมาะสมกบั บคุ คล (ภควา)...เมือ่ ไดร้ ะลกึ บอ่ ยๆ จิตของผู้ ก็ไมส่ ามารถท�าใหพ้ ระองคเ์ คืองโกรธได้ พระองค์แมจ้ ะได้
นน้ั จะมจี ิตใจผอ่ งใสไมเ่ ศร้าหมอง...ปราโมทย์ อมิ่ เอิบ...มี รับการยกย่องจากผู้เดินตามเส้นทางของพระองค์
ความสขุ ...เข้าถงึ กระแสธรรม”๖ ท้ังหมดคอื พทุ ธคณุ ๙ แต่พระองค์ยินดีเดินเข้าไปเย่ียมเยียนคนเหล่าน้ันด้วยความ
ประการ หากใครระลกึ บ่อยๆจะส่งผลเป็นความสุข นอบน้อม เปน็ ตน้ อย่างไรก็ตาม คา� ว่า “บริสุทธิคุณ”
อย่างไรกต็ าม พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต) อมความอีกหลายอยา่ ง เช่น ความเกษมสา� ราญในธรรม
ได้ระบวุ า่ พทุ ธคุณ ๙ ประการน้ี สรปุ ย่อเหลือเพียง ๒ อย่าง ความสงบเยน็ ความโปรง่ ใสทางใจ เป็นตน้ พระปญ ญาคุณ
คอื (๑) การปฏิบตั ิตนให้เป็นประโยชนส์ ว่ นตน และ (๒) ได้แก่ ความสามารถในการเข้าถงึ ความจริงของโลกและ
การปฏิบัตติ นใหเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ ผูอ้ ืน่ ๗ ใน (๑) ได้แก่ การ ชวี ติ ทมี่ ากกว่าใบไม้ในก�ามือ ส่วนพระกรณุ าคุณ คือ ความ
พยายามขัดเกลาใจของตนเองเพือให้บริสุทธ์ิจากความถือ สงสารผู้คนที่ยังต้องทุกข์อยู่กับความไม่รู้และหาทางออก
ตน ความสงสัยในความจรงิ ความศกั ดสิ์ ิทธ์ิจากการบ�าเพญ็ เพอ่ื ไปสคู่ วามสุขที่สมบรู ณไ์ ม่ได้ พระองค์จึงเสนอแนวทาง
พรต ความเพลนิ ในส่ิงนา่ พอใจท้ังหลาย ความคิดพยายาท แหง่ ความไม่ทกุ ขใ์ หแ้ ก่คนท่พี อจะเข้าถงึ ได้ ซ่ึงดีกว่าการไม่
เบยี ดเบยี น ความพึงพอใจในรปู และสิง่ ท่ีไม่ใชร่ ปู ความ เผื่อแผใ่ ครเลย
หมายม่นั ในตวั ตน ความฟงุ ซา่ นทางจิต และสามารถท�าลาย
ความไมร่ ูไ้ ด้ สว่ นใน (๒) ได้แก่การเสนอแนวทางแหง่ ความ ๖ แปลถอดความจาก พระสตุ ตนั ตปฎ ก เล่มที่ ๑๔ ข้อ ๒๘๑. ดูรายละเอยี ดใน http://
สขุ สมบรู ณ์ของการมีชวี ติ ท่ามกลางการแสวงหา www.84000.org/ tipitaka/read/?22/281/317, ๑๙ เมษายน ๒๕๖๒.
๗ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต). ๒๕๔๖. พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.
พิมพค์ รั้งท่ี ๑๒ ขอ้ ๓๐๔ เข้าถึงไดใ้ น http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.

php?i=304, ๑๙ เมษายน ๒๕๖๒.

13 Mind and Wisdom

จากที่กลา่ วมาท้งั หมด อาจน�าไปสูป่ ระเด็นอ่ืนอกี ท่ีสัมพนั ธ์
กัน เชน่ ทา� ไมต้องสร้างพระพทุ ธรปู ? อยา่ งนอ้ ยทีจ่ ะบอกได้
คือพระพุทธรูปคือประตูเชื่อมสู่ธรรมท่ีบุคคลอย่าง
เม่ือทราบว่าบุคคลธรรมดาอย่างพระพุทธเจ้าได้ พระพุทธเจ้าได้ค้นพบและน�ามาเป็นต้นแบบในการด�ารง
บา� เพ็ญประโยชนต์ ่อบคุ คล สงั คม และโลกไว้อย่างไร แบบ ชวี ติ ร่างกายเนอื้ ของพระพทุ ธเจ้าไม่ได้แตกต่างจากมนษุ ย์
ชีวิตของมนุษย์คนหนึ่งอย่างพระพุทธเจ้าได้วางไว้อย่าง โบราณทั่วไป แต่สิง่ ท่ีท�าให้มนุษยอ์ ย่างพระพุทธเจ้าแตก
เรียบง่าย อาจจะไม่ใช่เพอื่ อนุรกั ษส์ ภาพแวดลอ้ ม หากแต่ ต่างจากคนท่ัวไปคือธรรม ดงั น้ัน ทกุ คนสามารถเปน็
เป็นการอยู่อย่างไรท่ามกลางความหลากหลายของสรรพส่ิง พระพุทธเจ้าได้ แต่ไมใ่ ชร่ ่างเดียวกนั กบั พระพทุ ธเจ้าตามที่
คุณธรรมท่ีคนธรรมดาคนหนึ่งมองเห็นและน�าออกมาตีแผ่ ระบมุ า และดังนน้ั พระพุทธรูปอาจเปน็ สิง่ จ�าเป็นส�าหรับ
เพื่อผสานคนในสังคมให้มีพื้นท่ีทางจิตใจท่ีดีงามเป็นอัน บุคคลผทู้ ี่ยงั ต้องอาศัยสิง่ อนื่ เป็นตวั เชื่อมไปสธู่ รรม
เดยี วกัน ส่ิงเหล่านีเ้ องคอื “ธรรม” อนั หมายถงึ ความดงี าม
ของบคุ คลทีช่ าวโลกเรยี กท่านวา่ “พระพทุ ธเจา้ ” ไดฝ้ ากไว้
กับโลกได้ไตร่ตรองเพ่ือแสวงหาคุณค่าน�ามาเป็นแบบอย่าง เรารดนํา้ ผหู ลักผูใหญทําไม?

ของการมีชีวิตหน่วยหนึ่งในหน่วยท่ีหลากหลายอย่างแตก ก่อนที่เราจะพจิ ารณาวา่ เรารดนา้� ผใู้ หญ่ท�าไม?
ตา่ งทางกายภาพ จงึ เปน็ การรดนา้� พระพุทธรปู โดยที่จติ
ใจโชลมดว้ ยการระลึกถึงความดีงามของพระพุทธเจ้า การ คา� ถามที่เกดิ ข้นึ ไดค้ อื “ผหู้ ลกั คอื ใคร?” “ผใู้ หญค่ อื ใคร?”
รดนา้� ดังกลา่ วจึงพอท่ีจะอธิบายได้ว่า ท�าไม? เราจงึ มีการ และเม่ือรวมกันเปน็ “ผหู้ ลักผู้ใหญ่” ในขอ้ ความภาษาไทย
รดน้า� พระพทุ ธเจ้า ไมใ่ ช่เพอื่ ให้พระพุทธรปู ที่พดู ไม่ได้ชว่ ย จะมคี วามหมายทีส่ ามารถตีความได้เพียงใด
เสกเปา ให้ส�าเร็จปรารถนา หากแตเ่ ปน็ การวา่ งจากความ ก่อนอ่ืนขอให้พิจารณาถึงข้อความต่อไปน้ีท่ีนักบวช
หมองของจิตหันเข้าสู่ความช่ืนม่ืนด้วยสติในการระลึกถึง อย่าง “สทิ ธตั ถะ” หรอื “พระพุทธเจ้า” แสดงความเหน็
คณุ ความดที ่บี คุ คลอยา่ งพระพทุ ธเจ้าไดฝ้ ากไว้กบั โลก จึงน่า สนบั สนุนขอ้ ความท่สี นังกมุ ารพรหมกลา่ วไวว้ า่
จะสอดคลอ้ งกบั “ผู้ใดเห็นธรรมทห่ี มายถงึ ความดีงาม ผูน้ นั้ ในผู้คนท่ีรังเกียจกันด้วยโคตรเง่าเหล่ากอน้ัน
จึงเห็นเราคือพระพุทธเจ้าที่เสียชีวิตไปแล้วหากแต่ยังเหลือ กษัตริย์ประเสริฐที่สุด, (แต)่ ในเหลา่ เทพและมนษุ ย์ทง้ั
คณุ งามความดใี ห้ไตร่ตรองและศึกษาเรยี นร้”ู ทีล่ กึ ซง้ึ ไป หลายแหล่ คนทสี่ มบูรณพ์ ร้อมด้วยความรูแ้ ละการปฏิบัติ
กวา่ น้ันคือ การเปน็ อนั หน่ึงอันเดียวกนั กับพระพุทธเจ้า เปน็ ผ้ปู ระเสรฐิ ทีส่ ุด ๙
เพราะการได้เข้าถึงและ/หรือจิตใจเป็นเน้ือเดียวกันกับ จากขอ้ ความนี้ มีความเป็นไปได้ที่จะท�าความเขา้ ใจ
ธรรม ไดว้ ่า ในสงั คมชนชั้นซึง่ มีช่องว่างหรอื กา� แพงความคดิ ที่
มนุษย์สร้างข้ึนมาเพ่ือแยกความแตกต่างระหว่างมนุษย์
ออกจากกัน อาจจะด้วยสีผิวไมเ่ หมือนกัน ความหมายของ
นามสกุลดกี ว่ากนั วงตระกลู มที ่ีมาจากคนท่สี งั คมยกยอ่ งใน
๙ ขอ้ ความที่ยกอา้ งมานี้เป็นบริบทของอนิ เดียโบราณเรยี บเรียงด้วยอกั ษรในลักษณะร้อยกรอง ผู้ อดีตต่างกนั เป็นต้น ในกลมุ่ คนเหลา่ น้ี กษัตรยิ ์จะเปน็ ผู้
เขียนถอดความมาจากพระไตรปฎกที่บันทึกด้วยภาษาบาลีและพระไตรปฎกที่แปลเป็นภาษาไทย ประเสรฐิ สดุ แต่ในเหล่าเทพและมนุษย์ (ซง่ึ กษัตรยิ ์กอ็ ย่ใู น
โดยปรบั เปลยี่ นส�านวนให้ง่ายขึ้น/เปน็ การถอดความจากภาษาคัมภรี ์เปน็ ภาษาท่ัวไป ส�าหรับตน้ ฉบับ กล่มุ มนษุ ย์ด้วย) คนที่มีความรดู้ ี (คุณธรรม/คุณค่าท่ไี ด้จาก
ตรวจสอบไดใ้ นเลม่ ที่ ๑๑ อคั คญั ญสูตร ขอ้ ท่ี ๗๒ อย่างไรกต็ าม บางคา� อาจจะยงั รกั ษาศัพทเ์ ดิม เช่น การทา� ความด)ี และมีการปฏบิ ตั ิดี (จริยธรรม/มีความ
“ขตตฺ โิ ย” ที่แปลวา่ “กษัตริย์” บางค�าผู้ศกึ ษาอาจตอ้ งคน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ เช่น คา� วา่ “ความรู้” และ พยายามทท่ี า� ความดโี ดยไม่หยดุ ) เป็นผู้ประเสริฐ ๑๐
“ปฏบิ ัติ” ทีแ่ ปลมาจาก “วชิ ชฺ า-” (อา่ นว่า วดิ -ชา) และ “จรณ-” (อ่านวา่ จะ-ระ-นะ) โดยท่วั ไปค�าน้ี
มักแปลทบั ศพั ท์วา่ “ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยวิชชาและจรณะ (วิชชฺ าจรณสมปฺ ณฺโณ)” โดย “วชิ ชา” ท่ีมีการ
ระบอุ ยูใ่ นเน้ือหาของพุทธจะมีทั้ง วชิ ชา ๓ ประการ และวชิ ชา ๘ ประการ สว่ น “จรณ” มี ๑๕
ประการ จงึ อาจไมใ่ ช่ “ความร”ู้ และ “การปฏบิ ตั ิ” อยา่ งทค่ี นทัว่ ไปเข้าใจ ถงึ อยา่ งน้นั ความรู้ดแี ละ
ปฏิบัตถิ กู ต้องทีส่ ังคมใหค้ ุณคา่ ในยคุ น้นั ๆ มักจะได้รับการยกยอ่ งเชิดชูเสมอ เชน่ ร้กู ฎหมายบ้านเมอื ง
ดแี ละปฏิบตั ไิ ด้ถูกต้อง เปน็ ตน้
๑๐ ประเดน็ น้ีอาจตคี วามได้ ๒ แบบ แบบแรก ทงั้ ๒ ประโยคมีเนื้อหาเก่ียวข้องกัน อยา่ งทต่ี ีความไป
นัน้ สว่ นแบบท่ีสอง ทั้งสองประโยคไมเ่ กย่ี วข้องกัน โดยในประโยคทส่ี อง เปน็ การมองแบบไมม่ ีชนช้ัน
อยา่ งท่สี งั คมยดึ ถอื อยู่ (กษัตรยิ ์จงึ ไมม่ ี) แต่จะมเี ฉพาะคนทีร่ ดู้ ีและปฏบิ ตั ดิ ี กับคนที่ไม่มีความร้แู ละ
ปฏิบัตไิ มด่ ี ในแบบที่ ๒ อาจเปน็ ตรรกะเพ่ือใหผ้ ู้ฟง/อา่ นเขา้ ใจเขว แตม่ ีประโยชนค์ อื การลดการ

ถอื ตวั ถือตนเพอื่ ให้เหน็ ความเท่าเทียมกนั ในแงส่ งั คม แล้วให้ความสา� คัญกบั การรู้ดีและปฏบิ ัติดี

Mind and Wisdom 14

ข้อความที่ไม่ปรากฏในชุดข้อความท่ีอ้างถึงและ ในมุมมองแบบพทุ ธ ความร้รู ะดบั สงู สุดคอื “การ
แนวโน้มของข้อความท้ังหมดน�าไปหาข้อความต่อไปนี้คือ ปลอดพ้นจากกเิ ลสอยา่ งส้ินเชงิ ” สว่ น “การปฏบิ ัติดจี ะ
“เพราะฉะนั้นคนมีคุณธรรมจริยธรรมประเสริฐกว่า เทา่ กบั จริยธรรม” อันหมายถงึ ธรรมท่คี วรปฏิบัตอิ ยา่ งไม่
กษัตรยิ ์”และ/หรอื “กษตั รยิ ์ทมี่ ีคุณธรรมจรยิ ธรรมประเสริฐ ขาดตอน จากธรรมที่เป็นข้อปฏิบตั ิหน่งึ ไปสูข่ ้อปฏิบตั ติ อ่ ๆ
กว่าเหล่าเทพและมนุษย์ทั้งหลาย”โดยอาจเขียนเป็น ไป จนกว่าจะสอบผ่าน “การหมดกิเลสอย่างสิน้ เชงิ ” ดังนั้น
ประโยคง่ายๆ ดงั น้ี ถา้ พจิ ารณาในแงท่ ก่ี ลา่ วมา“ความรู้และการปฏิบตั ทิ ่ีดี” คือ
ก.ในกลมุ่ คนทร่ี ังเกยี จกนั ด้วยโคตรเงา่ เหลา่ กอ ตวั บง่ ชี้ทีร่ ะบบคิดแบบพุทธใหค้ วามสา� คัญในฐานะ “หลกั ”
กษตั รยิ ์เป็นผู้ประเสรฐิ ทีส่ ดุ ขณะท่ี “คนที่สมบูรณด์ ว้ ยความรูแ้ ละการปฏบิ ตั ทิ ี่ดี” คือ
ข.ในเหลา่ เทพและมนุษย์ท้ังหลาย บุคคลทสี่ มบรู ณ์ บคุ คลท่รี ะบบคิดแบบพุทธยกย่องในฐานะ “ใหญ่” ท่ีสงั คม
พร้อมดว้ ยความรู้และการปฏิบตั ิ เป็นผู้ประเสรฐิ ท่ีสุด แบบพทุ ธยกย่องให้ “น�า” ซงึ่ ไม่ใช่ “ใหญ”่ ดว้ ยอายเุ ยอะ
ค.(และ) เพราะฉะนั้น บุคคลผู้สมบรู ณ์พร้อมดว้ ย หรอื ยศสูง หากแตใ่ หญ่ข้ึนดว้ ยความรู้ดีและการปฏิบตั ดิ ี
ความรู้และปฏิบัติเป็นผู้ประเสริฐที่สุดในกลุ่มคนผู้รังเกียจ เปน็ แบบใหส้ ังคมไดเ้ รยี นรู้ ในประเด็นน้ี อาจจะพอสรปุ ได้
กันด้วยโคตรเง่าเหล่ากอซ่ึงอาจมีกษัตริย์อยู่ด้วยและ/หรือ เพ่ือตอบคา� ถามขา้ งตน้ ว่า“ผูห้ ลักคอื ใคร? “ผูใ้ หญ่คือใคร?”
คนๆนน้ั อาจเปน็ กษตั รยิ ์ ในเนอ้ื หาของพทุ ธว่าดว้ ย “สูตรส�าเร็จของชีวติ ท่ี
ค�าวา่ “กษตั ริย์” มนี ัยช้ไี ปสู่ความหมาย ๒ แบบคอื เจริญงอกงาม” ขอ้ ที่ ๒ ระบุว่า “การบูชาบคุ คลท่ีควรแก่
(๑)นัยแห่งศัพท์ในอดีตภายใต้ระบบที่ให้ความส�าคัญกับ การบชู า เป็นความเจรญิ งอกงามของชีวิต” ค�าถามทน่ี า่
บุคคลใดบุคคลหน่ึงในฐานะผู้มีอ�านาจสิทธิ์ขาดเพียงผู้เดียว พจิ ารณาคือ “บูชาคืออะไร? ใครทค่ี วรแก่การบชู า? ท�าไม?
ในการกา� หนดผิด-ถกู (๒) นัยแหง่ ศัพท์ ทส่ี ามารถตคี วามได้ จึงเห็นว่าควรแกก่ ารบูชา และการบชู าทวี่ ่านจ้ี ะท�าใหช้ วี ิต
กับการที่ “ขตฺตโิ ย” จะแปลว่า “ผนู้ �า” โดยถอื เอาปรชั ญา เราเจริญงอกงามได้อย่างไร?”
เบอ้ื งหลงั คา� เป็นส�าคัญ ผู้นา� ในความหมายทวี่ า่ “ไมไ่ ดม้ ี ในหนงั สอื มงั คลตั ถทีปนี ทแ่ี ต่งโดยนักบวชชาว
อ�านาจสิทธิ์ขาดผู้เดยี วในการกา� หนดผิด-ถกู ” หากแต่เปน็ เมืองนวปรุ ะ (เชียงใหม่) ชื่อว่า สริ มิ งั คลาจารย์ ระบวุ ่า การ
สมาชิกหน่ึงในจ�านวนสมาชิกทั้งหลายท่ีได้รับการยกย่อง บูชาคอื การแสดงความเคารพ การนอบนอ้ ม การไหว้ โดย
จากสงั คมให้อยู่ในฐานะ “น�า” ๑๑ รวมมี ๒ แบบคือ (๑) บชู าด้วยการปฏิบัตติ ามคุณความดีท่ี
ส่ิงท่ีนา่ พจิ ารณาคอื ในเทพและมนษุ ย์ทง้ั หลาย คน เขามีอยู่ (๒) การบูชาดว้ ยเคร่ืองอุปโภคบรโิ ภค ๑๓ บุคคลท่ี
ท่ีสมบูรณ์พร้อมด้วยความรู้และปฏิบัติเป็นผู้ประเสริฐที่สุด ควรแก่การบูชาสูงสุดคือคนที่มีกิเลสเบาบางที่สุด-
ซ่งึ คนทีส่ มบรู ณ์ดังกลา่ วนอ้ี าจเปน็ “ผู้นา� ” แบบใดแบบ ไมม่ ีเลย ๑๔ ในขอ้ ท่ี ๖๐ ของหนังสอื เลม่ เดียวกัน ท่านได้
หนงึ่ หากแตแ่ บบท่ีกล่าวถงึ จะต้องมีความร้ดู แี ละปฏิบตั ิดี อา้ งหนังสอื โยชนาซึง่ เปน็ หนังสืออธิบายค�าอกี ทีหนึ่งว่า คน
ในแง่ของ “ความรู้ดีจะเทา่ กับคณุ ธรรม” เพราะการทจ่ี ะ ท่ีควรแก่การบูชานอกเหนือจากบุคคลทางศาสนาแล้วจะมี
“รู้ดี” ตอ้ งผา่ นการปฏิบัติจนได้ “ผลดี” แลว้ จงึ เรียกว่า “ผู้ พ่อแมแ่ ละครู เป็นตน้ ดว้ ย โดยคนทบี่ ชู าบุคคลเหลา่ น้แี ล้ว
มคี วามรู้ด”ี อนั หมายถึง ไดร้ บั “คณุ ค่าแห่งธรรม” และ/ จะไดร้ ับ“บุญ” คอื ความอมิ่ ใจในการตอบแทนคณุ แลว้ เม่ือ
หรอื “ธรรมทมี่ ีคณุ คา่ ” แล้ว พิจารณาจากแนวคดิ เร่อื งทิศ ๖๑๕ บคุ คลเหล่าน้จี ะชว่ ยทงั้
มติ ิจิตใจและกายภาพ ซึง่ เปน็ เร่อื งของ“ผลต่างตอบ แทน”
๑๑ ลองฟง บรรยายของ สมภาร พรหมทา เร่อื ง ปรัชญาเชน ต้ังแต่นาทที ี่ 11.40 ในแง่ของ “การให”้ ทมี่ าจากความบรสิ ทุ ธิท์ างใจ ในความ
เป็นตน้ ไป ใน https://www.youtube.com/watch?v=7EaryJoWYJg, หมายว่า การใหด้ ังกล่าวแม้นจะไม่ไดผ้ ลตอบแทนก็สามารถ
21/05/2562. ใหไ้ ด้ เรยี กการใหแ้ บบน้วี า่ “ให้เปล่า (Free Give)”

15 Mind and Wisdom

“ความรูด ีจะเทากบั คุณธรรม” เพราะการทีจ่ ะ “รูด”ี
ตองผานการปฏิบตั จิ นได “ผลด”ี แลว จงึ เรียกวา
“ผมู คี วามรดู ี” อนั หมายถงึ ไดร ับ “คุณคาแหง ธรรม”

และ/หรือ “ธรรมทม่ี ีคณุ คา” แลว

การพิจารณาตามแนว “สูตรสา� เรจ็ ของชวี ิตทเ่ี จรญิ ในวันสงกรานต์ อีกส่งิ หน่งึ ทม่ี ีการสบื สานกันคอื การขอขมา
งอกงาม” ขอ้ ที่ ๒ และบทรอ้ ยกรองในอัคคัญสตู รนี้ เพ่อื จะ ลาโทษและการอวยพรโดยผู้ยังต้องสะสมคุณธรรม
ช้ีว่าคนส�าคัญในสังคมแบบพุทธคือคนท่ีมีคุณธรรม จริยธรรมในตนจะอยู่ในฐานะผู้ขอขมาลาโทษต่อผู้มี
จริยธรรม คนแบบนีอ้ าจเปน็ คนท่เี กดิ หลงั เรากไ็ ด้ และอาจ คุณธรรมจรยิ ธรรมสูงกว่า ขณะทผ่ี ู้มคี ณุ ธรรมจริยธรรมสูง
ไม่ใช่ผมู้ อี า� นาจการปกครองเหนือเรากไ็ ด้ ในคัมภรี โ์ ยชนาตี กว่าจะอวยพรให้ผู้มีคุณธรรมจริยธรรมที่จะต้องสะสมเรียน
กรอบไปถึง พอ่ แม่และครู เป็นต้น (และอ่นื ๆ) สงู สดุ คอื คน รู้ตอ่ ไป ในบางกรณเี ราจะพบผู้หลกั ผ้ใู หญท่ ่ีมคี ณุ ธรรม
ทีป่ ลอดพน้ จากกิเลสส้ินเชงิ เปน็ บคุ คลทีค่ วรเคารพ เพราะ จริยธรรมช้นั สูง พูดกับผ้มู ีคณุ ธรรมน้อยกวา่ ในท�านองว่า
มีความรูด้ แี ละปฏบิ ตั ิดี/คุณธรรมจริยธรรม ดังนน้ั จึงอาจ “อมื มมม ถ้าผม/พี่ มอี ะไรผดิ พลาดไป ผม/พต่ี ้องขออภัย
สรุปได้ว่าชั้นของ“ความรู้ดีและปฏิบัติดี/คุณธรรม น้องดว้ ยนะครับ/คะ...”
จริยธรรม”คือเกณฑ์การตัดสินว่าใครควรได้รับการเคารพ แทจ้ รงิ การยอมตนใหว้ ่ากลา่ วตักเตือนกนั น้ีจะมีใน
ในฐานะ “นา� ” ซึง่ ตคี วามได้วา่ “ผู้หลกั ผู้ใหญ่” ในระบบคิด วนั ส�าคัญวันหนึง่ ของจารีตแบบพทุ ธ เราเรยี กวนั นน้ั วา่ วนั
แบบพทุ ธ “ปวารณา” ซงึ่ เป็นวิถขี องนักบวชในพทุ ธศาสนาทผี่ า่ นการ
จากคา� ถามว่า “เรารดนา�้ ผหู้ ลกั ผใู้ หญท่ �าไม?” เมอ่ื อธิษฐานจิตเพอ่ื อยู่ประจา� ทีใ่ ดที่หนึ่งตลอด ๓ เดอื นในช่วง
พิจารณาตามแนวของการรดน้�าพระพุทธรูปไปสู่การเจริญ ฤดฝู น โดยไมไ่ ปรอนแรมคา้ งคนื ทใ่ี ดๆ ยกเว้นมเี หตุจา� เป็นท่ี
สติท่ีวา่ ดว้ ยเรื่อง “การระลึกถงึ คุณความดีของบคุ คลอยา่ ง กา� หนดไวบ้ างประการเท่าน้นั ก่อนวนั รงุ่ ขนึ้ ของการออก
พระพทุ ธเจา้ ” การรดน�า้ ผหู้ ลกั ผู้ใหญ่ก็เข้าทา� นองเดียวกนั พรรษา เราเรียกวันนัน้ วา่ วัน “มหาปวารณา” คา� นี้ ไม่ได้
คอื การระลกึ ถงึ คณุ ความดีของผู้มคี วามรดู้ แี ละการปฏบิ ตั ิ หมายถึง คณุ “ปวารณา” สอบได้เป็นเปรยี ญตามระบบการ
ด/ี คณุ ธรรมจริยธรรมจงึ ไมใ่ ชก่ ารเทน้า� ลงบนมือโดยทป่ี ล่อย ศึกษาของนักบวชในพทุ ธศาสนาไทย แตห่ มายถงึ การยอม
ให้น�า้ ผา่ นไปอย่างหาสาระส�าคัญอะไรไมไ่ ด้ สิ่งทีจ่ ะเกิดขึ้น ตนให้ว่ากล่าวตักเตือนกันในจารีตแบบนักบวชพุทธทั่วโลก
กบั ผูร้ ดน�า้ คือ ความตระหนักรใู้ นคุณความดขี องบุคคลผูม้ ี ในวนั เดยี วกัน เรยี กเป็นภาษาทวั่ ไปว่า “วันปวารณาใหญ”่
คุณความดีมากกวา่ ตน และแรงจงู ใจเพ่ือยนื หยดั ในการเพิม่
ความรู้ดีและปฏิบัติดีให้เท่าหรือมากกว่าแบบแห่งความดีที่
มอี ยู่ ขณะเดียวกนั ผอู้ ยู่ในฐานะ “ผู้รบั การรด” จะเกิดความ
ตระหนกั รวู้ ่า “การท่ีฉันตอ้ งมีความรู้ดแี ละปฏิบตั ดิ ใี ห้ยิ่งข้นึ ๑๓ ค�าวา่ “อปุ โภคบรโิ ภค” แปลมาจากค�าวา่ “อามิส...” ซึ่งวถิ กี ารศกึ ษาพทุ ธแบบจารีตมัก
กว่าเดิมเพ่อื ให้ “ควร” แก่การเคารพสักการะ (ปชู นียบุคคล) ทบั ศัพทว์ า่ “อามิสบชู า = การบชู าดว้ ยอามสิ ”
โดยสูงสุดคือสอบผ่านข้ัน“ปลอดพ้นจากกิเลสอย่างส้ินเชิง” ๑๔ ดรู ายละเอยี ดใน มงฺคลตฺถทปี นี (ปฐโม ภาโค) ขอ้ ๕๗ หน้า ๕๔.
จากการประเมินตนด้วยตน ๑๕ ดรู ายละเอียดใน http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=265,
22/05/2562.

Mind and Wisdom 16

โดยปกติ นกั บวชทบ่ี วชก่อนและบวชนานกว่าจะอยใู่ น ประเด็นเร่ือง“พรท่ีให้ทางวาจาหรือจะเท่าพรที่
ฐานะผู้มีระยะเวลาในการจ�าพรรษามากกว่าและจะอยู่ใน กระท�าด้วยตนของผู้รับพร”ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ฐานะแบบแผนแห่งนักบวชในพทุ ธศาสนา มีอา� นายกลา่ ว แนวคิดการให้พรจากการอัญเชิญสิ่งท่ีตนเช่ือว่ามีมงคลมาสู่
สอนและเป็นท่ีเคารพย�าเกรงของนักบวชที่เพิ่งบวชซึ่ง คนท่ีตนให้พรดว้ ยวาจา เป็นการไม่ใหพ้ รกม็ ี หรือหากจะให้
มอี ายุการบวชและการจ�าพรรษานอ้ ยกวา่ สรรพนามท่ีเรียก พรก็อาจยกภาษิตท่ีเน้นการกระท�าด้วยตนเองจึงเป็นพรก็มี
นักบวชท่ีมีอายุการบวชและการจ�าพรรษาน้อยกว่าคือ อยา่ งไรกต็ าม อทิ ธิพลท่สี า� คญั คือแนวคิดของพุทธทาสภกิ ขุ
“อาวุโส” แปลวา่ “ผู้มอี ายุ (น้อย)” ส่วนสรรพนามท่ใี ช้ ในบทร้อยกรอง ท่ีว่า
แทนผู้มีอายุการบวชและการจ�าพรรษามากกว่าคือ“ภันเต”
แปลว่า “ผู้เจริญ (กา้ วหน้าในคุณธรรม)” ส่งิ ทต่ี ้องการกลา่ ว
ถงึ คอื วันปวารณา/มหาปวารณา/ก่อนออกพรรษา ๑ วนั
นักบวชท้ังหมดจะยอมตนให้ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ ท�าดี ดแี ล้ว เป็นพร
โดยมากเป็นการชี้โยงไปถึงพฤติกรรมการอยู่ประจ�าอาราม ไมต่ ้องออ้ นวอน
ใดอารามหนึง่ รว่ มกันตลอดชว่ ง ๓ เดือน อาจมีข้อสงสยั ขอพร กะใคร ใหก้ วน
ความผิดพลาด ฯลฯ ทง้ั ทีเ่ จตนาและไม่ไดเ้ จตนาเกิดข้นึ พรท่ใี หก้ นั ผันผวน
ระหว่างกัน ผู้มอี ายกุ ารบวชและการจา� พรรษามากกว่ายอม เป็นเหมือนลมหวน
ปรับลดการถือตัวถือตนให้ผู้มีอายุการบวชและการจ�า อวลไป อวลมา อยา่ หลง
พรรษาน้อยกว่า ว่ากล่าวตักเตือนได้ ซ่ึงเป็นการชี้โทษเพอ่ื พรท�า ดเี อง มน่ั คง
พฒั นาตนกันต่อไปในสงั คมนกั บวชแบบพทุ ธ ดังนนั้ ในวนั วนั คนื ยนื ยง
สงกรานต์ บคุ คลผเู้ คยผ่านประสบการณ์แบบนกั บวชพุทธ ซ่อื ตรง ตอ่ ผู้ รูท้ า�
มาก่อน มกั จะใชว้ ิถแี บบวันปวารณาท่กี ลา่ วถงึ นมี้ าใช้ อยากรวย ด้วยพร เพยี รบ�า-
อยา่ งไรก็ตาม สิง่ ส�าคญั ของการน�าไปใช้คือ “ความรู้สึกที่ เพญ็ บญุ กุศลน�า
เกิดขึน้ ภายในตนจรงิ ๆ” ไม่ใช่ “การแสดง” เพือ่ ใหด้ ดู ีตาม ให้ถูก ใหพ้ อ ต่อตน
คตดิ สงั คมแบบเลยี่ งเสียไมไ่ ด้ ทุกคน เกดิ มา เป็นคน
การขอขมาลาโทษในวนั สงกรานต์ ส่วนหนง่ึ คอื การ ช่วั ดมี ีจน
ตรวจสอบตัวเองตลอดปท่ีผ่านมาว่ามีความผิดพลาด เปน็ ผล แหง่ กรรม ทา� เอง
ประการใดให้ผหู้ ลกั ผูใ้ หญต่ อ้ งหนักใจหรอื ไม่? การขอขมา ถอื ธรรม เชอ่ื กรรม ยา� เกรง
ลาโทษจงึ เปน็ การ “ขออภยั ” จากผหู้ ลักผใู้ หญ่ในการที่จะ บาปช่วั กลวั เกรง
“ไม่ติดใจ” และ ขยายขอบเขตของจติ ใจแหง่ ความรกั และ ท�าแต่ กรรมดี ทวพี รฯ ๑๖
ปรารถนาดีระหวา่ งกัน ส่วนผู้ใหญท่ ่เี ปย มดว้ ยจติ แห่งอภัย
และ/หรือ เปยมดว้ ยความรกั ความปรารถนาดจี ะเปน็ ผใู้ ห้
พรด้วยเสยี งทางวาจา เชน่ ขอให.้ ..มีความสขุ มคี วามเจรญิ
ในหน้าท่กี ารงาน...เป็นตน้

๑๖ ดใู น https://www.gotoknow.org/posts/322480, 222/05/2562.

17 Mind and Wisdom

ผู้เขยี นขอสรุปส้นั ๆของค�ากลอนนี้คือ “พรคอื ส่งิ เขาไม่เก็บค�าตอบนั้นไว้หากแต่เดินทางด้วยเท้าออก
ประเสรฐิ ท�าเอง รบั ผลเองหลายเท่าตวั นัก” ขอ้ สรุปน้ีไม่ได้ ประกาศแนวคิดอันเป็นผลจากการปฏิบัติเพื่อเอื้อเฟอกับ
อรรถรสเทา่ บทร้อยกรองท่พี ทุ ธทาสภกิ ขปุ ระพนั ธ์ไว้ แต่ คนอื่นด้วยความบริสุทธิ์ใจ ผู้เห็นคุณคา่ กับแนวทางน้ตี ่าง
เปน็ การสรุปเพ่ือเชอื่ มโยงไปส่แู นวคิดเรือ่ ง “พร” ที่ทา� เอง ระลึกถึงความดีของเขาจึงน�ามาทบทวนระลึกถึงความดีงาม
อาจดีกวา่ พรท่ีเป็นค�าพดู อย่างไรกต็ าม ผู้อยใู่ นฐานะผู้ให้ ทีเ่ ขาสร้างข้ึนฝากไวก้ ับโลก สรา้ งสญั ลักษณเ์ ป็นรูปคนจาก
พร รบั รดู้ วี า่ คา� พูดที่ออกมาจากปากนัน้ อาจไมไ่ ด้เปน็ หนิ บ้าง ทองเหลอื งบ้าง
อยา่ งนนั้ จรงิ เช่น วาจาทอี่ อกจากปากระบวุ า่ “ขอใหม้ อี ายุ ในวันสงกรานต์ได้น�าสัญลักษณ์น้ีออกมาวางเพื่อ
ยืนยาว” ส่วนใจที่พิจารณาจากความเปน็ จรงิ ของชีวติ อาจ เป็นตวั แทน จดั การรดนา้� บนสัญลักษณเ์ พอื่ ระลกึ ถงึ ความดี
คิดวา่ “แตจ่ ะยนื ยาวสักเท่าใดกัน กไ็ ม่เกิน ๘๐-๑๐๐ ป” งามของเขา ผลทไี่ ด้คอื พื้นทใี่ จที่ไดน้ ึกถงึ ความดงี ามแผ่
วาจาที่เปล่งออกจากปากระบุว่า“ขอให้มีความสุขนะ” ขยายขนึ้ การขอพรอาจไมไ่ ด้อยา่ งทขี่ อ แตส่ ่ิงทไ่ี มไ่ ดข้ อ
ขณะที่ผู้เปล่งวาจาแสนจะทุกข์ทรมานกับการท�างานไม่ อาจเกดิ ขนึ้ โดยไมร่ ตู้ ัว คือการทท่ี า� ใจให้บรสิ ุทธิเ์ ทา่ กับ
หยดุ หนีส้ นิ รงุ รงั การเตรียมความพรอ้ มเพ่ือการประเมนิ เป็นการขยายขอบเขตใจที่บรสิ ทุ ธ์มิ ากข้ึน การรดน้�าผหู้ ลกั
ฯลฯ จงึ มคี วามเปน็ ไปไดก้ บั การทีพ่ รซึ่งหมายถงึ คา� พดู ที่ ผูใ้ หญก่ ท็ า� นองเดียวกนั จะคอื การระลึกความดงี ามของ
เปล่งออกมาจากปากเป็นเพียงการแสดงออกในประเพณี บคุ คลทีส่ ร้างความดงี ามไว้ก่อน เปน็ การช่วยเพมิ่ การระลกึ
สงกรานต์ และไมเ่ ชื่อว่าตนมวี าจาสิทธ์ิ และเป็นไปไดก้ ับ ความดีใหก้ ับตน ดงั นนั้ การรดน�า้ ในวนั สงกรานต์จงึ เป็นการ
การที่ “ความสุขเปน็ ส่ิงท่ที กุ คนตอ้ งแสวงหาด้วยตนเอง” “รดนา�้ ..รดใจ”
ใครๆ คงใหค้ วามสุขกับเราไมไ่ ด้ เพราะในบางคร้งั ความสุข ผ้เู ขียนไมค่ าดหวงั ว่า ส่ิงท่ีผู้เขียนเสนอออกมานเี้ ป็น
ของเขาอาจเปน็ ความทุกข์ของเรา ขณะเดียวกัน ผูใ้ หพ้ รยัง สง่ิ ทถี่ ูกตอ้ ง เพราะเป็นเพียงทัศนะเล็กๆหนงึ่ เท่าน้นั ดังนัน้
ทกุ ขแ์ ล้วจะหยิบความสขุ ในกระเปาใหใ้ ครได้ อย่างไรกต็ าม ขอใหผ้ อู้ ่านโปรดใชว้ ิจารณญาณด้วยตนเองอย่างถ่ีถ้วน
สาระสา� คัญของการใหพ้ รคอื การหยบิ ย่นื พื้นทท่ี างจติ ที่
สงบ เปยมดว้ ยความรกั และปรารถนาดใี นใจ แผส่ พู่ ้นื ที่ทาง Mind and Wisdom

จติ ใจของอกี ชวี ิตหนึง่ โดยอาจคาดหวงั วา่ ชีวติ น้ันจะได้รบั
“พร” คอื “ส่งิ ท่ปี ระเสริฐ” ดว้ ยตัวของผนู้ ้นั เอง ซง่ึ ผใู้ หพ้ ร
ได้รับมาจากคนรุ่นก่อนโดยผ่านการเรียนรู้จากการปฏิบัติ
จนไดข้ อ้ สรปุ วา่ “อะไรคอื ความสุขท่แี ท้จริงของการมชี ีวิต”
สิ่งนีอ้ าจจะเป็นสาระส�าคัญของพรหรอื ไม่?
จากที่เรียบเรียงมาท้ังหมดเพ่ือจะช้ีให้เห็นว่า
ทุกส่ิงทุกอย่างที่มนุษย์สร้างข้ึนนั้นมีที่ไปท่ีมาที่สามารถ
เสาะหาได้ และทีไ่ ปทมี่ าอย่างหนึ่งคอื มติ ิทางจิตใจทอ่ี าจม
องไม่เห็นด้วยตาหากแต่ต้องพิจารณาด้วยใจเป็นส�าคัญ
พระพุทธรูปท่ีดเู หมือนเป็นผลสรุปของดิน หิน ทราย ทอง
เหลอื ง ฯลฯ เบ้ืองหลังพระพทุ ธรปู ที่เปน็ มิติทางจิตใจคอื
ความดีงามของคนๆหนึ่งที่ไม่พอใจกับความสุขในชีวิตครัว
เรือนเดินทางออกบวชแสวงหาความหลุดพ้นและพบค�า
ตอบอันนา่ พอใจของตน

Mind and Wisdom 18

คุณคา (VALUE) เล็กๆ
ทต่ี อ งเช็คกอนสตารท

19 Mind and Wisdom
ใครควรจะไดไ ป กรณี การใชร ถใชถนน

การตคี วามวา่ “สง่ิ น้คี วรจะเปน็ อยา่ งนนั้ ” ดว้ ย มนุษย์กลมุ่ หน่งึ ไดค้ ดิ กนั วา่ “เราจะแกป้ ญ หารถตดิ
ความรู้สกึ ภายในแบบไม่รอบด้าน ดูเหมอื นจะเป็นการ ยาวบริเวณสี่แยกและแกป้ ญหาการแย่งกนั ไปส่จู ดุ หมายใน
ตีความทีต่ ้องพัฒนา ยกตัวอยา่ งงา่ ยๆ ขณะทเี่ ราขบั รถ เวลาเร่งดว่ นและไมเ่ ร่งดว่ นนี้ได้อยา่ งไร” “สัญลักษณ์
จักรยานยนต์มาหยุดทเี่ ส้นใหห้ ยดุ รถ บรเิ วณแยกไฟแดง วงกลมนแ่ี หละ นา่ จะแก้ปญ หาน้นั ได”้ จึงไดร้ ่วมกันสรา้ ง
ไฟแดงที่ขึ้นอยู่เบ้ืองหนา้ เป็นสัญลกั ษณ์ของการใหห้ ยดุ รถ พื้นที่วงกลมศนู ย์กลางสแี่ ยกและ/หรือสามแยก พร้อมกับ
หลงั เสน้ ให้หยุดรถ แตเ่ นือ่ งจากชว่ งเวลาดังกลา่ วเปน็ ชว่ ง ปกปายเขยี นไว้ว่า “ให้รถทางขวาไปก่อน”
เชา้ ตรู่ หันมองไปทางซ้าย หันมองไปทางขวา มองไปข้าง ปญหาคือ “ถ้าให้รถทางขวาไปกอ่ น เมอ่ื ไรท่ีรถ
หน้า และเหลียวมองไปข้างหลงั มีเพยี งเราเทา่ นน้ั ท่ีอยู่ ทางขวาหมด รถทางซ้ายจึงไปได้” จะขัดแย้งกบั แนวคดิ
บริเวณดังกล่าว เราเห็นว่า เมือ่ ไม่มีรถอ่นื เลย เราสามารถ “ล�าดับ” หรอื ไม่ จากกรณี “ใครมาถึงก่อน ควรจะได้ไป
ขับตรงไปข้างหน้าได้ เพราะดูแลว้ ปลอดภยั เราจึงขับรถ กอ่ น” ซงึ่ กลายเป็นวถิ กี ารใชช้ วี ิตในสงั คมแวดลอ้ มไปแลว้
ผา่ นแยกไป จริงอยู่ ถึงแม้จะมีรถทางอ่ืนแล่นมาบรเิ วณสี่ อยา่ งเชน่ การหยบิ บตั รควิ ในธนาคารเพื่อใชบ้ รกิ ารทางการ
แยก แต่เมื่อประเมินแลว้ เราสามารถขับรถผา่ นแยกดงั เงินตามล�าดบั เลข การต่อแถวเพือ่ ซือ้ อาหารตามล�าดบั มา
กล่าวได้ทัน กอ่ นได้รับบริการกอ่ น และใครถึงก่อนเป็นผชู้ นะ เปน็ ต้น
การตคี วามวา่ “เราสามารถขบั ผา่ นแยกดงั กล่าว เราอาจพจิ ารณาดว้ ยภาพตอ่ ไปนี้
ได้” ในฐานะที่เราเปน็ มนุษยท์ ใ่ี ชศ้ กั ยภาพการพจิ ารณาด้วย
ตนเอง เราสามารถทา� ไดแ้ ละเราก็ทา� ได้จริง เพราะการใช้
ศักยภาพดังกล่าวคือตวั บง่ ช้ีอ�านาจการตดั สินใจในฐานะที่ ใหร้ ถทางขวาไปก่อน

เราเป็นมนุษยผ์ ู้มอี สิ รภาพและ/หรอื ไมต่ กอยู่ใตอ้ า� นาจใดๆ
...แต่ “เราควรจะท�าหรือไม่?”
ปญหาวา่ “ไฟสแี ดงท่ีเปน็ สญั ลักษณ์ของการให้
หยดุ รถหลังเสน้ ให้หยดุ รถ” มไี วเ้ พอื่ อะไร? ถ้าเราไมไ่ ดเ้ รยี น
รคู้ วามหมายของสญั ลักษณ์จากมติของกลมุ่ มนษุ ยผ์ ู้คดิ คน้
สญั ลกั ษณ์ดังกลา่ วและสญั ลักษณอ์ ื่นๆเพื่อแกป้ ญ หาบาง
ประการ เราอาจอยใู่ นฐานะ “ขาดการศึกษาในเรื่องดัง ภาพที่ ๑ เกาะกลางวงกลมแกป้ ญหาการใช้รถใช้
กล่าว” แต่ไมไ่ ดห้ มายความว่า “เราไมใ่ ช่มนษุ ย์” ถนนร่วมกนั
การศึกษาในเรอ่ื งต่างๆที่มนุษย์ร่วมกนั แสวงหา
แนวทางแกป้ ญ หาต่างๆ คอื การศึกษาเพ่ือจะบอกวา่ “เรา
ควรจะใช้ชีวติ อยา่ งไรท่ามกลางความหลากหลาย” อปุ กรณ์
อ�านวยความสะดวกอยา่ งรถจกั รยานยนต์ท่เี ราหาซอ้ื มาใช้
ในชีวิตประจา� วนั เบอื้ งหลงั อุปกรณ์ดงั กล่าวถกู ผนวกเขา้
กบั แนวคิดท่วี ่า “เราควรใชจ้ กั รยานยนตอ์ ย่างไร” อยดู่ ้วย
ในจา� นวนนั้นจะคอื “คณุ ค่า (Value)” เล็กๆท่ตี ้องเชค็
ก่อนสตารท์

ภาพที่ ๒ แนวคดิ “ล�าดับ” และ แนวคดิ “ใหร้ ถ
ทางขวาไปกอ่ น”

Mind and Wisdom 20

“การให” บนเสนทางการสัญจร

ภาพท่ี ๓ กรณศี ึกษา “คุณค่าเลก็ ๆ ทีต่ ้องเช็คกอ่ น ช่วงเวลาเรง่ ดว่ น ทกุ คนท่ีอยใู่ นฐานะห่นุ ยนตร์
สตารท์ รบั จา้ งในโรงงานอุตสาหกรรม ในยคุ ทเี่ ราตอ้ งท�างานเพื่อให้
ได้มาซึง่ อุปกรณ์ตัวกลางในการแลกปจ จยั สนองความ
ตอ้ งการของชวี ติ ตา่ งคนต่างเรง่ รีบเพือ่ ให้ “ตวั เอง” ปลอด
พน้ จากรอยแผลเปน็ ของระบบ การใช้เวลาเรง่ รบี จึงอาจม
องไม่เหน็ ความละเอียดออ่ นทีอ่ ยเู่ รยี งรายระหวา่ งทาง อนั
เป็นคุณคา่ เลก็ ๆที่ตอ้ งเช็คกอ่ นสตาร์ท

ปญ หาของภาพท่ี ๓ เราควรใชช ีวิตอยา งไร?

แนวคิดจากภาพที่ ๑ จะไมม่ ปี ญหาใด ถา้ ทุกคนั ขบั ผ้เู ขียนเข้าใจวา่ กฎเกณฑ์ กตกิ า ระเบียบ และ
รถเรยี งรายตามๆกันไป เม่อื ตอ้ งการเขา้ สู่แยกไหนก็เพียง อื่นๆ ทมี่ นุษย์กลมุ่ หนงึ่ ร่วมกนั คดิ และตราข้ึนมาเพ่อื ใชใ้ น
คอ่ ยๆขับเลยี้ วซ้ายลงในแยกน้ัน โดยไมต่ อ้ งรอสญั ลักษณไ์ ฟ สังคมมนุษยน์ นั้ มที ่มี าท่ีไปในสถานการณ์เฉพาะ เรานา่ จะ
ส�าหรับภาพท่ี ๒ ในกรณีที่สองช่องทางมาถึงเสน้ ใหห้ ยุดรถ ปดสมุดเลม่ นัน้ ลงในบางสถานการณ์ได้ แตใ่ นบาง
พรอ้ มกัน กตกิ าท่ีตงั้ ขน้ึ คอื “ใหร้ ถทางขวาไปก่อน” ดังน้นั สถานการณ์ทีเ่ ราปด สมดุ เล่มนั้นลง หากเกดิ กรณีที่เกินการ
รถทางซ้ายจึงต้องหยดุ รอใหร้ ถทางขวาไปกอ่ น เม่ือรถทาง คาดการณไ์ ว้ เราจะตอ้ งรับผดิ ชอบโดยปราศจาคขอ้ โตแ้ ย้ง
ขวาแลน่ ไปหมดแลว้ จึงเป็นล�าดับของรถทเ่ี คยอยทู่ างซ้าย ใดๆ น่ันหมายความวา่ เราสามารถใช้ศกั ยภาพของมนุษย์
ทเ่ี ราจะขบั ตามกันไป ในกรณนี ้ี ดเู หมอื นจะไมม่ ีปญ หาใด ไดเ้ ตม็ ที่ และพร้อมจะรบั ผดิ /ชอบ ในกรณที เ่ี ราปดสมุดข้อ
เช่นกนั หากแตภ่ าพท่ี ๓ รถทางขวาคนั ที่ ๑ กบั คันที่ ๒ ตกลงของสังคม
หา่ งกนั พอสมควร และห่างจากคนั ที่ ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ และอื่นๆ อยา่ งไรกต็ าม การใหค้ วามสา� คญั กับกตกิ าทีม่ นษุ ย์
พอสมควรเชน่ กนั รถคนั ที่ ๒ ทีห่ า่ งมาก รีบทา� ความเร็ว ร่วมกนั สรา้ งข้นึ มา ก็คือการใช้ศกั ยภาพของมนษุ ยเ์ ชน่ กนั
เพ่ือใหถ้ งึ เสน้ ใหห้ ยุดรถกอ่ นทค่ี นั ท่ี ๑ จะผ่านกลมุ่ รถทาง เป็นศกั ยภาพของการใชป้ ญญา/ความคิดเพื่อเอือ้ เฟอ ตอ่ ขอ้
ซา้ ย เพอื่ ตนซึง่ อยู่ทางขวาจะไดไ้ ปก่อนตามแนวคิด “ใหร้ ถ ตกลงบนพนื้ ฐานของ “สัตย์” ระหวา่ งมนุษยด์ ว้ ยกัน ซ่งึ
ทางขวาไปกอ่ น” ส่วนรถคนั ท่ี ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ และอ่ืนๆ ก็มี แตกต่างจากการตอบสนองความตอ้ งการของตนบนพนื้
พฤตกิ รรมเดียวกันกบั รถคนั ที่ ๒ และกรณีรถต่อกันยาว ฐานของแนวคิดทวี่ ่า “ฉันรอด/ฉนั ก่อน/ฉันสบาย” ซ่ึง
เปน็ ระยะทางมากกวา่ ๑ กโิ ลเมตร ในกรณีมีงานประจา� ป ระยบิ ระยบั ดว้ ยการไม่เหน็ คุณคา่ ของสังคม/บคุ คลรอบข้าง
ค�าถามท่ีตามมาคอื “เม่อื ไรรถทางซา้ ยจะได้ไป ?” และ กรณีภาพท่ี ๓ ถ้ายึดแนวคดิ “ล�าดับ” โดยรถทางซา้ ยถงึ
“รถทางซา้ ยจะได้ไป ตอ่ เม่ือและก็ต่อเมื่อรถทางขวาไป เส้นหยดุ รถกอ่ น ดังนนั้ รถทางซา้ ยจงึ ควรไดไ้ ปกอ่ น ขณะท่ี
หมดแลว้ หรือ?” รถทางขวาคนั ท่ี ๒ ซง่ึ รีบท�าความเรว็ เพ่ือให้ทนั กอ่ นทรี่ ถคนั
แท้จริง ทกุ คนและทุกคนั ควรจะไดไ้ ป ยกเวน้ วา่ รถ ท่ี ๑ จะผ่านหนา้ รถชอ่ งทางซา้ ยไป การปะทะกนั บนถนน
เสยี รถหมดพลังงาน เปน็ ต้น โดยทรี่ ถไมส่ ามารถขบั เคลอื่ น อาจเกดิ ขน้ึ ได้ เพยี งเพราะช่องทางของแนวคิด ๒ แบบคือ
ต่อไปได้ “ล�าดบั ” และ “ให้รถทางขวาไปกอ่ น”

“21 Mind and Wisdom

““ลําดับ” เปนสงิ่ ที่มีอยู แตไ มไ ดหมายความ
วา แนวคิด “ใหร ถทางขวาไปกอ น”
จะไมม ีความสําคัญใดๆ

Mind and Wisdom 22

เมื่อพจิ ารณาความเป็นจริง แนวคิด “ลา� ดับ” น่า ในประเด็นขา้ งตน้ น้ี เราจะเห็น “การให”้ ๒ แบบ
จะคือแนวคดิ ที่กว้างและเปน็ ทยี่ อมรับมากกว่าแนวคิดแบบ คอื (๑) การใหแ้ บบหมดหน้าตกั ตามแนวคดิ ของ “ให้รถ
“ให้รถทางขวาไปก่อน” เพราะวา่ “ลา� ดบั ” จะยงั คงมีอยู่ ทางขวาไปกอ่ น” ในสถานการณท์ มี่ ผี ู้รบั ไม่ส้ินสดุ เราใน
ถา้ บางสง่ิ มมี ากกว่าหนึง่ ในงานทางปรัชญา มีแนวคิดท่ี ฐานะผู้ใหอ้ าจไม่เหลอื อะไรเลย ซ�า้ ร้ายผู้ให้อาจกลายเปน็
ระบุวา่ เราไม่อาจวางสง่ิ ของลงบนพ้นื ท่ีท่ไี ม่ว่างได้ จงึ ดู รอยดา่ งบนสงั คมการสญั จรของผใู้ หแ้ บบที่ ๒ (๒) การให้
เหมือนว่า “ล�าดบั ” เปน็ สิง่ ท่มี อี ยู่ แตไ่ ม่ไดห้ มายความว่า แบบเพียงพอ จะคือการใหโ้ ดยการพิจารณาถงึ ความ “พอ”
แนวคิด “ใหร้ ถทางขวาไปกอ่ น” จะไม่มีความส�าคัญใดๆ เชน่ ฉนั ให้ไดเ้ พียง ๕ สทิ ธเ์ิ ท่าน้ัน เพราะพิจารณาแลว้ วา่
เพราะที่ผา่ นมา เม่อื มกี ารนา� ไปใช้ สามารถแกป้ ญหาได้เชน่ แถวของฉันอาจควรได้รับการใหม้ ากกวา่ เป็นตน้
กัน เพยี งแต่อาจมชี ่องว่างใหเ้ กดิ ปญ หาภายในตวั แนวคดิ
เองเทา่ นนั้
ในบางครงั้ ความตอ้ งการเพื่อไปสู่เปา หมายโดยเรว็
การใชวจิ ารณญาณบนเสนทางการสัญจร

อาจตอ้ งลดระดบั ลงเพื่อ “ให้” ซึ่ง “โอกาส/เกียรต/ิ สง่ิ ที่
ควรจะเป็น” แก่บคุ คลที่เป็นเพื่อนร่วมโลกของเรา ตาม แนวคดิ “ให้รถทางขวาไปก่อน” มปี รัชญาเบือ้ ง
เกณฑข์ องแนวคดิ แบบ “ให้รถทางขวาไปก่อน” คอื เกณฑ์ หลงั แนวคิดดังกล่าวอย่างไร อาจตอ้ งสืบค้นจากผ้เู สนอ
ท่บี อกให้รถทางซ้าย “เสียสละ” โอกาส/สิทธิ์ เพอื่ “ให้” แนวคิดดังกลา่ วสกู่ ารปฏิบัติจรงิ เขา้ ใจวา่ ส่วนหน่งึ เปน็ การ
โอกาส/สิทธ์ิ แก่รถทางขวา แต่ “การให”้ อาจจะถูกจา� กัด นา� มาทดแทนสัญลักษณไ์ ฟจราจรท่ตี อ้ งใช้เวลาจ�านวนหนง่ึ
ดว้ ยกรอบของ “การใหเ้ พยี งใด” ในชอ่ งทางซา้ ย มี นาย ก. ในการหยดุ รอ ขณะทีบ่ างสถานการณอ์ าจไม่จ�าเปน็ ตอ้ ง
๑หยดุ รออยู่หลังเสน้ ใหห้ ยุดรถ ตามด้วย นาย ก.๒ นาย ก. หยดุ รอเสมอไป อยา่ งไรกต็ าม แนวคิด “ให้รถทางขวาไป
๓ นาย ก.๔ ตามลา� ดับ ขณะทนี่ าย ก.๔ ก�าลังร้อนใจและ ก่อน” อาจจ�าเปน็ ตอ้ งปด สมดุ เล่มน้ีลง เพอ่ื ให้โอกาสแก่
เหงอื่ แตกพลัก เพราะปวดทอ้ งจนแทบจะทนไมไ่ หว สว่ น แนวคดิ “ล�าดบั ” โดยการลดระดบั ความตอ้ งการเพื่อไปสู่
ช่องทางขวา มี นาย A.1 ก�าลังใชส้ ิทธิ์ตามแนวคดิ “ใหร้ ถ เปาหมายโดยเร็วลง แล้วใช้วจิ ารณาญาณ/ทักษะการด�ารง
ทางขวาไปกอ่ น” นาย A.2 ก�าลงั ทา� ความเร็วเพ่ือใหท้ นั ชวี ิตในฐานะที่เราไมใ่ ชส่ ิง่ มีชวี ติ เดียวเท่านนั้ บนโลกใบนี้
ระยะห่างของนาย A.1 เพื่อใชส้ ิทธ์ิตามแนวคดิ “ใหร้ ถทาง อาจจะคอื (๑) ให้รถทางขวาไปก่อน ถ้ารถทางขวาถึงเสน้
ขวาไปก่อน” เช่นกนั และเป็นไปตามแนวคิด “ล�าดับ” คือ “ให้หยุดรถ” ก่อน (๒) รถทางซ้ายรอคอยมาระยะเวลา
A.1 A.2 A.3 A.4 A.5... อย่างไรกต็ าม นาย A.1 อาจร้สู กึ หนึ่งแล้ว ควรท่รี ถทางขวาจะหยดุ สทิ ธ์ติ ามแนวคิด “ให้รถ
ขอบคุณด้วยการพยักหน้าอยา่ งออ่ นน้อมต่อ นาย ก.๑ ทใ่ี ห้ ทางขวาไปกอ่ น” ลง แลว้ ปลดปลอ่ ยสทิ ธ์ิตามแนวคดิ
โอกาส/สิทธ์ิการไปก่อน ส่วนนาย A.2 นาย A.3 นาย A.4 “ล�าดบั ” ใหร้ ถทางซา้ ยไดไ้ ป (๓) ในกรณที ร่ี ถลา� ดบั อนื่ ๆมี
และ นาย A.5 อาจมองไม่เหน็ ความรสู้ กึ ทน่ี าย A.1 รบั รู้ได้ ความจ�าเป็นเรง่ ด่วนซง่ึ อยทู่ างซ้ายต้องขอไปกอ่ น อาจตอ้ ง
เพราะกา� ลงั ทา� ความเรว็ เพ่อื ให้ทัน “ให้รถทางขวาไปก่อน” ให้ “รถทางซา้ ยไปกอ่ น” แตไ่ ม่ได้หมายความถึง การอาศัย
นาย ก.๑ นาย ก.๒ และ นาย ก.อ่ืนๆ อาจไม่ได้อยูใ่ นพน้ื ที่ พื้นทค่ี วามดขี องเพื่อนบ้านแลว้ สอดใสค่ วามเห็นแกต่ วั ของ
ความคิดของนาย A.2 นาย A.3 นาย A.4 และ นาย A.5 ตนลงไปเพอ่ื ให้ “ฉันรอด/ฉนั ก่อน/ฉันสบาย” โดยลมื นึกถึง
ดว้ ยซา้� โดยเฉพาะ นาย ก.๔ ทกี่ า� ลังเดือดร้อนอยา่ งหนกั สง่ิ มีชวี ติ อ่นื ทีเ่ ขามสี ่วนเสริมสรา้ งชวี ติ ตนเองมาเช่นกนั
ดงั น้นั “การให้” ในจ�านวนหนึง่ อาจตอ้ งงดลงเพ่อื ใชส้ ทิ ธ์ิ
ตามแนวคดิ “ล�าดบั ” และการใช้สทิ ธ์ิตามแนวคดิ “ใหร้ ถ
ทางขวาไปก่อน” อาจต้องงดลงเพ่ือเอื้อต่อแนวคดิ แบบ
“ล�าดบั ” เชน่ กนั

23 Mind and Wisdom

โดยสรปุ คณุ คา่ เล็กๆท่ตี ้องเชค็ กอ่ นสตารท์ เปน็ คุณคา่ ท่ีอยภู่ ายในตัวบุคคลทีต่ อ้ งใช้ทักษะชวี ิต/วจิ ารณญาณใน
การใชอ้ ปุ กรณ์อา� นวยความสะดวก ในเนอ้ื หานีเ้ ป็นกรณศี ึกษาการใชร้ ถบนถนนแบบแยกวงกลมบนแนวคดิ ของ “ใหร้ ถ
ทางขวาไปกอ่ น” ซ่ึงแนวคดิ แบบน้ีอาจแยง้ กับแนวคดิ “ลา� ดบั ” ทใ่ี ห้โอกาสแก่ผู้ถงึ กอ่ นควรไดร้ บั สทิ ธกิ์ ่อน อย่างไรกต็ าม
กฎเกณฑ์ กตกิ าต่างๆ เปน็ สิง่ ทส่ี รา้ งขึ้นมาภายหลังเพ่ือการแกป้ ญหาบางประการ แตภ่ ายในกฎเกณฑเ์ หล่านัน้ อาจมี
ความไมส่ มบูรณบ์ างประการซ่อนซบั อยู่ มนุษย์จ�าเป็นต้องใช้ทกั ษะ/วจิ ารณญาณตามความเหมาะสม

Mind and Wisdom

Mind and Wisdom 24

เลาเรื่อง...ไปอนิ เดยี

ต้นเรอ่ื ง : จันทรจ์ ิรา ยอดรักษ์
สัมภาษณ์ : เพ็ญนภา พัทรชนม์

25 Mind and Wisdom

Mind and Wisdom 26

กอ นอ่ืนต้องขอทราบทไ่ี ปท่ีมาของการไปอินเดียคะ

พจี่ ริ าเปน็ ผ้หู ญิงวัยกลางคนหน้าขงึ ขัง ดจู รงิ จงั กบั ขอเทา้ ความกอ่ นว่า สมยั เรียน พ่ีเคยอยู่ในชมรม
ชีวติ แตบ่ างคร้งั ก็แลดูเป็นคนไมม่ ีแกน่ สาระนกั บุคลิก พทุ ธศาสนา ว่งิ ชว่ ยงานกจิ กรรมปฏิบัติธรรมท่วี ดั และ
ท่าทางคลอ่ งแคล่ว วอ่ งไว จากหน้าตาและอายุแลว้ น่าจะ สนใจพทุ ธศาสนา ตามแนวทางของท่านพุทธทาส วัดธาร
เลยวยั ทจี่ ะเปน็ นกั ศกึ ษา แต่ปจจุบนั พจี่ ิราเปน็ นกั ศึกษา น้�าไหล(สวนโมกขพลาราม) และ เคยปฏบิ ตั ธิ รรมท่วี ดั
สาขาความขดั แย้งและสนั ติศกึ ษา ของสถาบันสนั ติศึกษา ศานติ – ไมตรี จ.สรุ าษฎรธ์ านี สมยั เรยี นระดับปรญิ าตรี
มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ อยมู่ าวนั นงึ ประมาณปลายป ไมไ่ ดเ้ รียนรู้จรงิ จงั มากนัก รูส้ กึ สนกุ กับการชว่ ยงานและการ
๒๕๖๐ พีจ่ ริ าเดินเข้ามาที่สถาบันสนั ติศกึ ษา ด้วยศีรษะที่ ทา� กิจกรรมกบั เพ่อื นๆมากกว่า แต่เป็นคนสนใจเรื่อง การ
โลน้ เกลย้ี ง ใบหน้ายม้ิ แย้ม เลยตอ้ งจับมือมาคยุ กันถามไถ่ คดิ คุณภาพของจติ ใจ วธิ ีคดิ และการทา� งานของสมอง เรือ่ ง
ว่าเกดิ อะไรขนึ้ จงึ ได้รู้ว่า พจ่ี ริ าไปปฏิบัติธรรมทีอ่ นิ เดยี มา จติ วทิ ยา และเรือ่ งท�าชวี ิตใหส้ มดลุ การทา� สมาธิ ตาม
คะ่ เปน็ เหตุให้ถึงกบั แปลกใจ ที่หญิงหา้ วสายโหด ซึ้งในรส แนวทางของพระพทุ ธเจา้ และเร่ืองของศาสนาอยู่ก่อนแล้ว
พระธรรม จนถงึ ขนาดไปปฏิบัติธรรม และโกนผม ซึง่ เป็น พี่ฟง การสอนของศาสนาจารย์ทกุ ศาสนา และนกั ปฏบิ ัติ
สิ่งนา่ สนใจ จึงเป็นที่มาของการจับเขาคยุ กนั ในวนั นี้คะ่ สมาธิ ภาวนา กรรมฐาน ต่างๆตามช่อง youtube อยู่
บอ่ ยๆขอเน้นว่า “ฟง” นะคะ แตไ่ มเ่ คยปฏบิ ตั อิ ย่างจริงจัง
อาศัยแตก่ ารฟงแล้วใชก้ ระบวนการคดิ ตาม และเคยมี
เพ่ือนชวนไปฝกปฏิบัติอยหู่ ลายคร้งั แต่กอ่ นนไ้ี ม่มีโอกาส
เหมาะ จัดสรรเวลาไมไ่ ด้ ประกอบกับเปน็ ช่วงไปอินเดีย
คราวนั้นเปน็ จังหวะการยา้ ยที่ทา� งานใหม่ ท่ีพอมีเวลามาก
ขึน้ และพป่ี ระสบกบั ปญ หาทีเ่ ราร้สู ึกว่าหนกั จัดการกับวิธี
คิดของตัวเองไม่ไดแ้ ละบังคบั ความคดิ ของตวั เองไม่ให้
คิดถึงส่งิ ทีเ่ รารู้สกึ แยไ่ ม่ได้ รบั ไม่ได้กับส่ิงท่ีเกดิ กบั ชีวิต รู้สึก
แย่กบั ส่ิงแวดลอ้ ม รสุ้ กึ ตอ้ งแบกรบั ปญ หาหลายอย่าง
พรอ้ มๆกนั รู้สกึ และคิดวา่ ตอ้ งแกป้ ญหาดว้ ยตนเองคน
เดียว บอกใครไมไ่ ด้ ต้องแสดงออกใหค้ นรอบตัวรูว้ ่า เรามี
ความมนั่ คงทางอารมณ์(หัวเราะ) ไมค่ อ่ ยมใี ครรู้วา่ พแี่ ย่
ตอ่ หน้าทุกคน อย่กู ับคนหมู่มมากพ่ีร่าเรงิ แจม่ ใส แตพ่ อ
กลบั มาอยูค่ นเดยี วแลว้ มันจะบ้า เศรา้ ลึก เศร้ามาก
อารมณ์เหว่ียง เป็นเหมอื นคนอารมณ์สองขวั้ ต้องถามตวั
เองว่าเราบ้าหรอื เปล่า?!! ตอ้ งปรกึ ษาจิตแพทย์ ต้องรบั ยา
จิตเวชมากิน แต่กินยาแล้วรู้สกึ เมายา รสู้ กึ แย่เขา้ ไปอกี
เพราะทา� งานไมไ่ ด้ และบอกตัวเองว่ายาไมใ่ ช่ทางออก
ชว่ งนนั้ เหมือนชีวิตจะพัง เคยบอกเลา่ กับเพ่อื นบางคนไว้วา่
ถ้าทา� ไดอ้ ยากถอดรา่ งแขวนไวบ้ นราวตากผ้า แล้วถอด
วญิ ญาณออกไปข้างนอกร่าง ชาร์ตพลงั ให้เตม็ แล้วคอ่ ยกลบั
มาสูต้ ่อ อยากดปุม reset ชีวติ ใหม่ ลืมทุกอยา่ งใหห้ มด

27 Mind and Wisdom

คือเหมือนคนหมดแรง หมดพลงั ชีวติ และคดิ วา่ อยากทา� พใ่ี ชเ้ วลา ๔ ช่วั โมง บนิ ไปลงทส่ี นามโกลดก์ ัตตา้ และนัง่ รถ
อะไรก็ได้ท่อี อกจากสงิ่ ที่เป็นอยู่ ไปใหไ้ กลจากสงิ่ แวดลอ้ ม บัสต่อไปอีก ๘ ชว่ั โมงเพอื่ ไปเมอื งคยา ซ่ึงเปน็ สถานท่ี
ท่เี กิดขืน้ ในชวี ติ ไปหาพนื้ ที่ปลอดภยั ของชีวิตตนเองไปหา ปฏบิ ัติธรรม ระหว่างการเดินทางพี่ต่นื เต้นกบั สองขา้ งทาง
หา safety zone เหมอื นพยายามหาสงิ่ ใหมใ่ หก้ บั ชวี ติ เพือ่ มาก บรรยากาศเหมอื นกับประเทศไทย แตเ่ ป็น
แกไ้ ขปญ หากับสิ่งท่ีตัวเองพบเจอ (พีว่ างภาพใหท้ ่ีบ้านเห็น ประเทศไทยเมอื่ ประมาณ ๓๐-๔๐ ปท ีแ่ ลว้ สองข้างทาง
พี่ว่าพี่เปน็ คนเก่ง แขง็ แรง พม่ี ีความสขุ พโ่ี อเค เพราะเรา เปน็ ท่งุ นา ทุ่งหญา้ กวา้ งสุดตา ต้นมะพรา้ ว ตน้ มะม่วง
คดิ วา่ ถา้ เอาเรอื่ งทุกขไ์ ปเล่า คนที่บ้านเราจะเปน็ หว่ งเรา พชื พนั ธุ์ดอกไมเ้ ป็นแบบเดียวกับบ้านเรา แม้กระท่ังดอก
และอาจเปน็ ทกุ ขม์ ากกวา่ เรา ทัง้ ๆที่ไมใ่ ช่เรื่องของเขา หรือ ดาวเรอื ง ดอกดาวกระจาย ต้นบานบุรี ยงั มใี หเ้ หน็ ทีแ่ ปลก
อาจเปน็ เพราะเหน็ ว่าแม่เราเปน็ คนเกง่ คดิ วา่ แม่คงภมู ิใจถา้ ตาคอื ถนนแคบๆกับปรมิ าณรถยนตแ์ ละรถจักรยายนต์
เราเก่ง และเราอยากเกง่ เหมือนแม่ จงึ เกบ็ ทกุ อยา่ งท่ีเป็น มากมายมหาศาลเกนิ บรรยายทว่ี ่งิ วุน่ วายอยู่บนถนน แต่
ทกุ ขไ์ ว้กับตัวทงั้ ทีบ่ างครงั้ รบั มอื แทบไมไ่ หว ซึง่ เป็นเร่อื งที่ ระหว่างทางเรากลบั ไมเ่ จออบุ ัตเิ หตรุ ถชน หรือรถตกถนน
ไมแ่ นะน�าให้ใครท�าแบบน)้ี จู่ๆ มเี พือ่ นแจง้ ว่ามกี ารจัด เลย ซงึ่ เป็นเร่อื งนา่ ท่งึ นอกจากนี้ย่านชุมชนการคา้ รมิ ถนน
กจิ กรรมไปปฏิบัตธิ รรมทีอ่ นิ เดีย เปด รับสมัครผู้สนใจไป เราจะพบเห็นบ้านตกึ ทสี่ ร้างไมเ่ สรจ็ มจี า� นวนมาก จนน่า
ปฏบิ ตั ธิ รรม ในโครงการ ปลกู ดอกบวั ในกองไฟ รนุ่ ท่ี ๓ แปลกใจ จงึ สอบถามจนไดค้ วามว่า ท่อี ินเดียบา้ นที่
และพี่ก็ไปสมคั รเลยโดยไม่ปรกึ ษาใครในบา้ น บอกที่บา้ น ก่อสรา้ งเสร็จสมบรู ณต์ ้องจ่ายภาษแี พงมาก เจ้าของบา้ นจงึ
เมื่อดา� เนนิ การทุกอย่างเรยี บร้อยแลว้ เหมือนธรรมจัดสรร ท�าใหร้ ฐั เห็นว่า บ้านยังสรา้ งไม่เสร็จเพื่อเปน็ การเลีย่ งภาษี
ใหส้ ง่ิ นีเ้ กิดขนึ้ ซึ่งพีค่ ิดว่า เป็นการตดั สนิ ใจท่ีถกู ต้องครัง้ สภาพบ้านเมืองจงึ เปน็ อยา่ งทีเ่ ห็น) ท่ีส�าคัญไม่พูดถงึ ไม่ได้
ส�าคญั คร้ังหน่งึ ของชีวิต(หวั เราะ) และเปน็ ไปสมคา� ร่�าลือ นัน่ คอื หอ้ งน้า� เป็นสง่ิ หายากยงิ่ กว่า
ทองค�าในประเทศอินเดยี ระหว่างทางไม่มปี มน้�ามนั ไม่มี
สิง่ ทีเ่ หน็ อนิ เดยี เปนอยางไร รสู้ กึ อยา งไร ห้องน�า้ การทา� ภารกิจหนกั และเบาตอ้ งใชพ้ ้ืนทห่ี ลังพงหญ้า
การไปอนิ เดียคราวนีพ้ ี่ไปดว้ ย กระเปา ลากทีท่ �า และพุ่มไมก้ ลางทงุ่ นารมิ ทาง ใครปวดหนัก ปวดเบา บอก
ด้วยผา้ สนี �้าตาล ขนาดประมาณยสี่ บิ นวิ้ จ�านวน ๑ ใบ พี่เล้ียงในกลุม่ แจง้ คนขับ จอดรถไดท้ นั ท(ี หวั เราะ)
ของขา้ งในมี ชดุ ขาวผ้าดิบทไี่ ดร้ ับแจก ๓ ชุด หมอน เสือ่ โอพ้ ระเจ้า!!! ...มนั เกิดข้นึ ได้จริงในชวี ติ ปจ จบุ ันของพี่
ผา้ พลาสติกรองนง่ั ผ้ารองนอน ผา้ หม่ หนังสือสวดมนต์ ร่ม พเ่ี ป็นเดก็ ชนบทในเมืองไทยทมี่ ปี ญหากบั การใชห้ อ้ งน้า� ที่ไม่
ย่าม รองเทา้ แตะคีบ เครอื่ งใชส้ ่วนตวั และสิ่งจา� เป็นอกี เล็ก สะอาด ทั้งๆ ท่คี รงั้ หน่งึ ในชวี ิตเคยทนั ใชห้ ้องน�า้ แบบท่ีตอ้ ง
น้อย สิ่งแรกที่เรม่ิ ท�าก่อนออกจากเมืองไทยต้งั แต่อย่สู นาม ห้ิวถงั น�้า ถอื จอบไปขดุ หลุมเม่ือต้องการทา� ภาระกิจหนัก
บนิ คือ ปด โทรศัพท์ ตอนแรกจะรูส้ กึ แปลกๆ มันเหมือน แตน่ นั่ มันเกดิ ข้นึ เมอื่ “สส่ี บิ ป” ลว่ งมาแลว้ บนภเู ขาปลาย
อะไรบางอย่างในชวี ิตขาดหายไป แต่ตอ่ มากร็ ูส้ กึ โล่ง ดา้ มขวานในเมอื งไทย ในสมัยทยี่ ังไมม่ ีไฟฟาใช้ และคนใน
เพราะไดต้ ดั ภาระบางอย่างออกจากชีวิต กอ่ นปด โทรศัพท์ ประเทศให้ความสา� คญั กบั คา� ว่า “ท�ากินเพื่อปากท้องและ
และเกบ็ มนั ลงกระเปา คนสุดทา้ ยท่โี ทรหาคือแม่ เพือ่ ความอยู่รอด” มากวา่ คา� ว่า“ประชาธปิ ไตย” บนเสน้ ทาง
เปน็ การบอกพกิ ดั สุดท้ายไว้ เผอ่ื หายไปเลย(หัวเราะ) (ท้ังที่ ขาไป หลังจากรถเคล่ือนออกจากสนามบินมาไดส้ ักระยะ
เป็นคนตดิ โทรศพั ท์ เลน่ ไลน์ เปด เฟสบกุ ปกตจิ ะเปด เราถูกท�าใหเ้ กดิ การเรียนร้ชู ีวติ อย่างหนง่ึ คือ มีคนท้อง
โซเชียลแกเ้ กอ้ ทัง้ ๆ ที่ไม่มอี ะไรสา� คญั ก็เปด ไม่รจู้ ะเปดดู เสยี บนรถ แจง้ พีเ่ ลี้ยงและคนขบั รถไม่ทนั
ทา� ไม (หวั เราะ))

Mind and Wisdom 28

เม่อื เดนิ ทางไปถึงเมืองคยา รัฐพิหาร เมอื งนี้เป็น ขณะทีเ่ ดินเท้าไปกราบสกั าระพระพุทธเจ้าที่เจดยี พ์ ทุ ธคยา
เมืองทม่ี ีประชากรมาก และมคี นจนท่ีสุดของอินเดีย นับได้นานสดุ ไมเ่ คยเกินเลข ๕ จะไดย้ นิ เสียงบีบแตรบน
มคี ณุ ภาพชวี ิตคอ่ นข้างต่�า ซ่ึงแตกต่างตรงข้ามกนั อย่างส้นิ ถนนอยา่ งน้อย ๑ ครงั้ ) สภาพบา้ นเมือง พ้นื ถนนและรมิ
เชิงกบั ทเ่ี ราเห็นในสนามบนิ โกลกตั ตา ภาพที่เหน็ เป็น ทางไม่คอ่ ยสะอาดนกั มที ัง้ ขยะ น�้าลาย สิง่ ปฏิกลู มลู สตั ว์
เหมอื นในหนังอนิ เดยี โบราณทีบนถนนมีคนเยอะๆ และน�้าครา� พ้นื ที่ช้ืนแฉะ มใี หพ้ บเห็นตลอดแนวถนน
รถเยอะๆ แม้จะเปน็ ถนนราดยางมะตอยแตท่ ่ีมีทง้ั คนเดนิ เปรียบเทียบกับบา้ นเรือนในชนบทเมอื งไทยยังแลดูสะอาด
วัว สุนัข และรถมากมายใช้พืน้ ทร่ี ่วมกนั อยา่ งวุ่นวาย เป็นระเบียบเรียบรอ้ ยกวา่ มาก แต่กย็ ังคงเป็นเมอื งทอ่ี ยาก
ที่ส�าคัญคอื จะไดย้ ินเสียงการบีบแตรรถทุกๆ ๓ วินาที ไปซ้า� อีกหลายๆคร้ังคะ่
(อันนข้ี อยืนยันดว้ ยตวั เองโดยทา� การทดลองนบั เลขในใจ

29 Mind and Wisdom

มาถึงสถานท่ปี ฏบิ ตั ธิ รรมกลับตอ้ งแปลกใจอีกคร้ัง ตอนกลางเป็นท่ีวา่ ง วางเกา้ อ้ีมายาวสองข้าง ตามแนว
เมื่อไปเจอกับ อาคารพานชิ ๓ ชน้ั รมิ ถนนหลัก ท่ใี ชช้ ่ือว่า อาคาร อาคารท้ังสองหลังถูกท�าใหเ้ ชอ่ื มกันดว้ ยทางเดนิ บน
“วดั สมั มาสมั โพธิญาณ” แทนท่ีจะเป็นวัดไทยที่มอี โุ บสถ ชั้น๒ และหลงั คาทใี่ ชป้ องกนั แดดฝน รอบอาคารเปน็ ท่งุ นา
สวย บนพืน้ ทีก่ วา้ งๆ มตี น้ ไมท้ แี่ ลดูรม่ รืน่ อยา่ งวดั หรือสถาน โล่งกว้าง ทใี่ ช้เปน็ สวรรค์ของการปลดทุกขข์ ณะท่ีพวกเรา
ทีป่ ฏบิ ตั ิธรรมที่พบเห็นทวั่ ไปในเมืองไทย ผดู้ ูแลที่รับผดิ อยู่ร่วมกันทีอ่ ินเดยี ในสถานที่ท่ีเราอย่รู วมกัน ๑๐๐ คน
ชอบท่นี ี่ อยู่ในเพศนกั บวช พวกเราเรยี กทา่ นวา่ “คณุ แม่ มหี ้องน้า� ปลดทกุ ข์แบบทเี่ ราคุน้ เคยเพียง ๒ หอ้ ง แถบจะ
ธริ าภรณ์ จิตภาวนาภิรตั กุล” หรอื เรียกทา่ นสน้ั ๆว่า “คณุ ถือได้ว่าทันสมัยที่สดุ ของเมอื งคยา ท่ีนเ่ี ราอาบน้า� แบบนุ่ง
แม”่ ท่านเปน็ ผูห้ ญิงท่ีมีรูปร่างผอมบาง ผิวขาว ผ่องใส ผ้ากระโจมอกรวมกนั บานลานซกั ลา้ ง มีบางมุมก้นั ด้วย
เรียกว่าผวิ สวยเลยก็ว่าได้ ทา่ นงดงาม มีเมตตา ใบหน้า ตาขา่ ยพลาสตกิ บังตาสีเขียว(สแลน)เพือ่ ใชเ้ ป็นมมุ ถา่ ยทกุ ข์
เปอ นรอยยิ้มอยู่เสมอ บุคลกิ ทา่ นจะห้าวๆ แววตาทา่ นคอ่ น แบบเบาร่วมกบั การอาบน้�า การแบ่งใช้พน้ื ทใี่ ชส้ อยใน
ขา้ งดุ เสยี งดังฟง ชัด น้�าเสยี งของท่านน่าฟง มีพลงั แต่เวลา อาคาร ช้นั ลา่ งดา้ นหนา้ ใชเ้ ปน็ สถานพยาบาล เปน็ คลินิก
ทา่ นพูด ให้ความรสู้ ึกนา่ เคารพศรทั ธาและน่าเกรงขาม รกั ษาฟรี หรอื จา่ ยตามอธั ยาศยั ช้นั ทสี่ องของตกึ ทัง้ สอง ใช้
ในเวลาเดยี วกัน การแต่งกายของท่านดแู ปลกตาสา� หรบั เปน็ หอ้ งเรยี นคอมพวิ เตอร์ และหอ้ งเรียนตดั เย็บเสือ้ ผา้
พวกเรา ท่านแตง่ กายในรปู แบบของภิกษณุ ี พเี่ ลยี้ งท่ีดูแล ห้องเรยี นเสรมิ สวย และบางสว่ นเปน็ หอ้ งโถงโลง่ เปน็ ท่พี กั
พวกเรา เล่าวา่ ทา่ นถอื ศีลสูง มีบารมีมาก ท่านเปน็ ผู้ปฏบิ ตั ิ ของพวกเราท่นี อนรวมกนั ชัน้ ทส่ี ามเปน็ ห้องเรยี น
ดี ปฏบิ ตั ิชอบ และเชอ่ื วา่ ทา่ นได้ผา่ นฌาณชน้ั สงู เปน็ ที่รกั คอมพวิ เตอร์ หอ้ งครัวเลก็ ๆ และห้องฝก ปฏิบตั ิกรรมฐาน
และเคารพของชาวบา้ นในคยา และสหายพุทธธรรมนิกาย ซง่ึ เป็นทเี่ ดียวกับหอ้ งรบั ประทานอาหารของพวกเรา
อื่นๆ โดยเฉพาะสหายธรรม นิกายวชริ ญาณในวัดทิเบต คณุ แม่ใหเ้ หตผุ ลของการจัดการพื้นท่ีเชน่ นี้ว่า คยาเป็นเมอื ง
ทราบไดจ้ ากการเราพบเห็นพระทเิ บตมาเยย่ี มพวกเรา ยากจน ประชากรเยอะ การสาธารณสขุ และคณุ ภาพชวี ติ
บอ่ ยๆ และพวกเราได้มีโอกาสไดเ้ ขา้ ไปเย่ียมและสวดมนต์ ค่อนขา้ งตา่� การบรกิ ารทางการแพทยใ์ นโรงพยาบาลของ
ในวหิ ารวัดทเิ บต ท่ไี มเ่ ปด โอกาสใหพ้ ระตา่ งนกิ ายเข้าไป รัฐไมเ่ พยี งพอ เยาวชนมีการศกึ ษานอ้ ย จงึ ชว่ ยดูแลชาว
ภายในบอ่ ยนัก และจากการท่ีเราเหน็ การแสดงความ บ้าน บรเิ วณนใ้ี ห้มคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ีข้นึ ดว้ ยการหาแพทยม์ า
เคารพของพระทเิ บตที่มตี ่อองค์คณุ แม่ และเรยี กท่านวา่ ดแู ล ใหก้ ารศกึ ษา ใหอ้ าชพี แก่เยาวชนเพ่ือเขาจะไดเ้ ล้ยี งดู
“มาตาจ”ี ซ่งึ หมายถงึ แม่ “แม่” การใหค้ วามเคารพดัง ตวั เองและครอบครวั ได้ ครแู ละหมอทีน่ ่ีคณุ แมจ่ ้างมาจาก
กล่าวเทียบเทา่ “รปิ เุ ช” ท่เี ป็นต�าแหนง่ เจ้าอาวาสของวดั เงินบรจิ าคท่ีวดั ไดม้ าซง่ึ ส่วนมากมาจากการบรจิ าคของคน
ทิเบต ซง่ึ หาไดย้ ากทนี่ กั บวชชายจะให้ความเคารพนกั บวช ไทย ทเ่ี ป็นลกู ศษิ ยเ์ คยมาปฏิบัติธรรม แตก่ ว่าคณุ แม่จะได้
หญงิ ในระดับน้นั ก่อนท่จี ะมาอยทู่ อ่ี ินเดยี คุณแม่ธิราภรณ์ รับการยอมรบั จากชมุ ชนไมใ่ ชเ่ ร่ืองงา่ ย ตอ้ งทา� งานหนัก
จติ ภาวนาภิรตั กุล เคยปฏิบัตธิ รรมอยู่ในเมอื งไทย เป็นหน่งึ และเหน่อื ยมาก ดว้ ยเหตุแหง่ การเปน็ นกั บวชทเ่ี ปน็ ผู้หญิง
ในผกู้ อ่ ต้งั วดั ปา ไตรสิกขาราม เปน็ วดั ปา ทีเ่ นน้ การปฏบิ ตั ิ คนอนิ เดียให้การยอมรับในความเปน็ ผู้นา� ของผ้หู ญิงยังต�า่
สมาธภิ าวนา กรรมฐาน ซึง่ อยทู่ ี่อ�าเภอวังนา�้ เขียว จงั หวัด มาก กว่าจะมมี าถึงวนั นี้คณุ แมต่ อ้ งฟนฝาอปุ สรรคมาไม่
นครราชสีมา ปจจบุ นั มี พระราชปญ ญาเมธี (สมชัย กศุ ลจติ นอ้ ย ข้อมลู จากลูกศษิ ยใ์ กลช้ ิด แจง้ วา่ คณุ แม่มาเริ่มก่อตง้ั ที่
โต) เป็นเจ้าอาวาส และท่านยงั ไปๆมาๆระหว่าง น่ี “วดั สัมมาสัมโพธญิ าณ” ราวปพ .ศ. ๒๕๕๗ ซึง่ ถือว่า
ประเทศไทยและอินเดยี แต่ส่วนใหญ่คุณแม่จะอยทู่ ีอ่ ินเดีย ประสบความส�าเรจ็ ในเรือ่ งของการได้รบั การยอมรบั อย่าง
เป็นหลักคะ่ รวดเรว็ มากเมอ่ื เทียบกบั อปุ สรรคที่พบเจอ อาคารท่ีใช้
ทพ่ี ักของพวกเราอยดู่ ้านหลังภายในอาคาร ปจจบุ ันเป็นอาคารเช่า และอยรู่ ะหว่างการสรา้ งวัด
คอนกรีต ๓ ชั้น ที่มีลักษณะเป็นสองอาคารตง้ั อยดู่ า้ นซ้าย โรงเรยี นและโรงพยาบาลเป็นการถาวร ซ่งึ อยูบ่ รเิ วณพ้นื ที่
และขวาพน้ื ที่ พืน้ ทที่ ้ังหมดกว้างและยาวด้านละประมาณ ใกล้ๆกันคนละฝงถนน ปจ จุบนั แล้วเสร็จไปประมาณ
๔๐ เมตร ๘๐ %

Mind and Wisdom 30

เขาสอนอะไร เขาทาํ อะไร ทาํ ไมต้องโกนผม การเดินจงกลมตอนเชา้ หลงั จากทา� วัตรสวดมนต์
เชา้ เสร็จ เวลาประมาณก่อนรุง่ สางก่อนพระอาทิตยข์ ้ึนของ
เขาสอนอะไร คา� สอนโดยสว่ นใหญ่เปน็ ส่งิ ที่เราเหน็ ทุกวนั เราต้องเดนิ เทา้ เปลา่ ข้ามถนนไปใชส้ ถานของโรงแรม
และสัมผสั ไดเ้ อง ตามสิ่งที่มีอยู่ซึง่ เกิดจากการเสยี สละแรง ใกลๆ้ เพราะพ้นื ท่ขี องวัดมคี ่อนขา้ งจ�ากดั กอ่ นไปถงึ สถาน
กายแรงใจของคณุ แม่ทีต่ ้องการจะพฒั นาชมุ ชนรอบวัดใหม้ ี ทเ่ี ดินจงกรมต้องเดนิ ผา่ นถนนและตลาดสดของชุมชน ด้วย
ความเป็นอยูท่ ด่ี ีขึ้นและเพื่อเป็นการเผยแผพ่ ทุ ธศาสนา เท้าเปล่าไปยังสนามหญ้าของโรงแรมท่อี ยใู่ กลๆ้ เจา้ ของ
การปฏิบตั ิสมาธกิ รรมฐาน เนน้ การปฏิบัตจิ รงิ หลกั ๆท่ที า� โรงแรมดังกลา่ วเป็นชายชาวอนิ เดีย ทีม่ ศี รทั ธาในตวั องค์
ประจา� ทุกวันวัน คือ เชา้ มาประมาณตีส่ีท�าภารกิจส่วนตัว คุณแม่มาก เป็นผู้รบั ใชใ้ กล้ชดิ ในหลายๆกิจกรรม ในเมือง
ตหี ้าเขา้ หอ้ งกรรมฐานสวดมนทา� วัตรเชา้ เดินจงกกรม ไทย เรยี ก “โยมอปุ ฏ ฐาก” การเดินข้ามถนนแมร้ ะยะทาง
ประมาณ ๑-๒ ชัว่ โมง รบั ประทานอาหารเชา้ ปฏิบัติ ประมาณเพยี ง ๕๐๐ เมตร ก็มคี วามวุ่นวายไม่น้อย
ภารกิจสว่ นตัวไม่เกิน ๑ ชว่ั โมง แลว้ มานัง่ สมาธิและฟง คา� เน่ืองจากการกา� หนดรูปแบบใหค้ นประมาณ๑๐๐ คน เดนิ
สอนจากคณุ แม่ต่อจนถึงเวลาเพล รบั ประทานอาหารกลาง แถวอย่างเปน็ ระเบียบ อย่างสงบ อย่างส�ารวม รวมทัง้ ฝก
วนั ปฏิบัตภิ ารกจิ ส่วนตัวเสร็จแลว้ กลบั มานั่งสมาธทิ ี่ห้อง การสร้างความร้ตู วั ด้วยรปู แบบของการเดินจงกรม แสดง
กรรมฐานอีกครงั้ เวลาประมาณสี่โมงเย็นคุณแม่ใหเ้ ราเดนิ ตนอย่างสมณะ เพ่อื สรา้ งความศรทั ธาและเป็นการแผยแผ่
เทา้ จากวัดสมั มาสัมโพธิญาณ(สถานท่เี ราปฏิบตั ิธรรม) พุทธศาสนาแก่ผู้พบเหน็ ที่นอ่ี ากาศยามเชา้ ดีมาก มลี มเยน็
ไปศักการะพระพทุ ธเจา้ ที่เจดียพ์ ุทธคยา วดั มหาโพธ์ิ พดั มาเป็นระลอก กระทบผวิ พอสะดงุ้ ไดเ้ หน็ ภาพวถิ ีชุมชน
(บรเิ วณต้นโพธส์ิ ถานทต่ี รัสรขู้ องพระพุทธเจ้า) เปน็ ระยะ แต่สง่ิ ตอ้ งระวงั คอื รถปริมาณมากทเี่ คล่อื นตวั อยา่ งรวดเรว็
ทางประมาณ ๔ กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาประมาณ ๑ ช่ัวโมง ไป บนถนนแคบๆ ท่ามกลางแสงสลัวจากเสาไฟฟา ท่ีอย่หู ่างๆ
เพอื่ น่ังสมาธิ ยืนสมาธิ เดินจงกลม หรือ สวดมนต์ รอบองค์ กนั นอกจากนด้ี ้วยเทา้ เปล่าทเี่ ราเดนิ จะต้องระวงั ไมใ่ ห้
เจดยี พ์ ทุ ธคยา เสร็จแล้วมีรถมารบั กลบั มายงั วัดผอ่ นคลาย เผลอไปเหยยี บ หนามแหลม ก้อนหิน เศษแก้ว ของมคี ม
อิรยิ าบท และเขา้ ห้องกรรมฐานอกี ครง้ั เสร็จภารกิจ สิ่งปฏกิ ูลและมูลสัตว์ ท่มี ีไมน่ อ้ ยบนเสน้ ทางที่เราเดินผ่าน
ประมาณ สามท่มุ ปฏิบัตเิ ชน่ นี้ทุกวันเป็นเวลา ๙ วนั คืน การเดินจงกรมอย่างสงบ เราจะเร่ิมพบได้เมอ่ื เดินถงึ เขต
สุดท้าย มีการประเมินให้คะแนนการปฏบิ ัตโิ ดยคณุ แมค่ ่ะ สนามหญ้าของโรงแรม

31 Mind and Wisdom

ชว่ งแรกของการหัดเดนิ มันช่างแสนสุดจะทรมาน เพราะ รา่ งจะระเบิด เพือ่ สะกดอดกลน้ั ตวั เองไม่ใหข้ ยับรา่ งกาย
เราเดินช้ากวา่ ใจทเี่ ราคิดมากๆ ถา้ เดนิ เร็วไปกจ็ ะชนคนขา้ ง และในท่ีสดุ กท็ นน่งั นง่ิ ๆได้ จนถึงเวลาออกจากสมาธิ ใช้
หน้า ถา้ เดินชา้ ไปคนข้างหลังกจ็ ะเดินมาชนเอาได้ ซึ่งหาก เวลาประมาณ ๔๕ นาที ถือวา่ รอดตายอยา่ งทลุ ักทเุ ลใน
เกิดขึ้นจะเป็นการรบกวนสมาธขิ องเราและคนอนื่ อยา่ งยิง่ วนั แรก วนั ที่๒ พอเริ่มนงั่ จะรสู้ กึ ง่วง แต่กไ็ ด้ก�าหนดความ
ที่สา� คัญ เวลาขณะเดนิ จงกรม หากอย่ใู นเมืองไทยก็จะเปน็ รู้สกึ ตวั ไปเรอ่ื ยจนผา่ นช่วงงว่ งไปได้ รูส้ ึกเบา สบาย น่งิ ไม่
หว้ งเวลานอนหลับท่ีมคี วามสุขอย่างยงิ่ ดงั น้ันสถานการณ์ เจบ็ ไมป่ วด ไม่หลบั และน่งั สบาย ไมม่ เี หน็บชา จนถงึ เวลาที่
นี้จงึ เป็นเรื่องท่ีต้องตอ่ สู้ รบรากับใจตวั เองอย่างหนกั หน่วง คุณแมใ่ ห้สญั ญาณการออกจากสมาธิ รู้สึกดีจนไม่อยาก
มาก แทบจะเรยี กได้วา่ “หลบั ทั้งท่ีเดิน”(หัวเราะ) การน่งั ออกจากสมาธิ แตก่ ต็ ้องยุตไิ ปตามท่ีกล่มุ ก�าหนด วันน้ีใช้
สมาธิ มาที่น่ที �าให้ร้จู ักการน่งั สมาธิ ที่เรียกว่าการปฏิบตั ิ เวลาไป ชัว่ โมงเศษเกอื บสองชวั่ โมง แตก่ ลบั รสู้ กึ วา่ เวลาช่าง
กรรมฐานคร้งั ละ ๑-๒ ชัว่ โมง ถ้าถามว่ากอ่ นนเ้ี คยนัง่ สมาธิ ผ่านไปรวดเร็วมาก วนั ท่ี ๓ มีความต้ังใจน่งั เป็นอย่างยงิ่
ไหม ก็ตอบได้ว่าเคย แตเ่ ปน็ การนง่ั ช่วงสนั้ ๕-๑๐ นาที ถ้า แอบหวงั ในใจว่าเราเกง่ แล้ว เราผา่ นวันท่ี ๒ได้ วันท๓่ี เราคง
ท�าได้ถงึ ๑๕ นาทีน่ีถือว่าสดุ ยอดแล้ว นบั จ�านวนคร้ังได้เลย เก่งขึ้นกวา่ วันท่ี ๒ แตไ่ มไ่ ดเ้ ปน็ อย่างทค่ี ิดเมือ่ เรานงั่ ผา่ น
แต่มาทีน่ ีต่ อ้ งนั่งนาน ต้ังแต่ ๔๕ นาที จนถึง เกือบ ๒ ช่วงงว่ งไปได้ กพ็ บแตช่ ว่ งทเี่ จ็บ เจ็บ เจ็บ และขาชา เปน็
ชัว่ โมง โดยมเี งอ่ื นไขว่า หา้ มขยบั เขย้อื น ขณะนงั่ สมาธิหูจะ เหน็บ จนตอ้ งนั่งคยุ กบั ตัวเองว่าเกดิ อะไรข้นึ กบั เรา ทา� ไม่
ต้องฟง ค�าสอนการปฏบิ ัตทิ ม่ี คี ณุ แม่คอยชแี้ นะและ เหมอื นเม่ือวาน แต่ก็ยงั ดีกว่าวนั แรก น่ังคุยกับตวั เอง แตก่ ็
พิจารณาภายในของตวั เองว่ารา่ งกายรับรคู้ วามรู้สกึ อะไร น่ิงได้จนถงึ เวลายตุ กิ ารปฏิบตั ิ ใช้เวลาไปเพยี งชั่วโมงเศษ
อยา่ งไร ทส่ี า� คัญจะมพี เ่ี ลย้ี งคอยสงั เกตุ จดบนั ทึก แต่ใสความรู้สึกของเวลาผ่านไปชา้ มาก เราดีใจท่ียุตกิ ารนง่ั
พฤตกิ รรมทแี่ สดงออกของผูป้ ฏิบตั เิ ปน็ การประเมนิ ผลใน เสยี ได้ เรายตุ ดิ ว้ ยข้อสงสยั วา่ เกดิ อะไรข้นึ เพราะอะไร
แต่ละครงั้ ซงึ่ พบว่าบางคนควบคมุ รา่ งกายของตัวเองไมไ่ ด้ ทา� ไมไม่เหมือนเมอื่ วาน เปน็ คา� ถามคาใจ จนถงึ เวลา
แสดงออกในพฤตกิ รรมแปลกๆ ซงึ่ เป็นเรอื่ งท่ตี อ้ งพูดคุยกัน ประเมนิ การปฏิบตั ิ องคค์ ณุ แม่ธิราภรณฯ์ ได้พดู ข้ึนในหอ้ ง
หลงั การปฏบิ ัติวา่ เกดิ อะไรขึ้น รสู้ กึ อยา่ งไร คดิ อยา่ งไรใน วา่ ใครมอี ะไรสงสยั ใหถ้ าม และทา่ นก็พดู ซ�า้ เช่นน้ี จนพีต่ ้อง
ขณะนัน้ ๆ ในการนง่ั สมาธิของพ่ี มีประสบการณ์แปลกทพี่ ่ี ยกมือถามในคา� ถามคาใจ ว่าเกดิ อะไรขน้ึ กับตวั เอง ทา� ไมไม่
ว่าพเิ ศษท่ีสร้างความสงสยั ให้กับตัวเองคือ วันแรกของการ เหมอื น วันที่ ๑ และทา� ไมไม่ดีกว่าวันท่ี ๒ ทา่ นใหค้ �าตอบ
นง่ั สมาธินาน คุณแม(่ ผนู้ า� และผคู้ วบคุมการปฏบิ ัต)ิ ได้ สัน้ ๆ เพยี งวา่ “ปฏิบตั นิ อ้ ย ใหฝ้ กตอ่ ไป” ในท่สี ดุ จนถงึ วัน
แนะนา� ให้ท�าความรตู้ ัวทว่ั พร้อมไปทลี ะสว่ นของรา่ งกาย สดุ ท้ายของการปฏบิ ัติ พีก่ ็ยงั ไม่พบภาวะที่เจอในการปฏิบัติ
ตัง้ แต่ปลายผม จนถงึ ปลายขา เราทา� ความรู้ตวั โดยไมข่ ยับ ในวันที่ ๒ ซงึ่ ยงั เปน็ ข้อสงสัยจนถึงทุกวนั น้ี แต่ค�าตอบท่ี
รา่ งกายเลย ชว่ งท้ายของการน่ังให้ความรูส้ ึกทนไม่ไหว ไดม้ าทันทเี ชน่ เดยี วกันคือ “ปฏิบัตินอ้ ย ฝก ต่อไป”
ปวดขาไปหมด เหมือนขาจะแตก กระดูกจะหลุด

Mind and Wisdom 32

การเรียงแถวเดินเทา้ ไปยงั เจดีย์พุทธคยา การเดินไป “ทุกอยางคือบททด
สักการะองค์เจดยี พ์ ทุ ธคยาและตน้ ศรมี หาโพธิ์ เป็นกิจวตั ร ผานเรากจ็ ะเจอบท
ประจา� ท่ีทา� ตอนเยน็ ของทุกวนั ตั้งแต่วันที่ไปถงึ เรื่อยมา ผานไปได “อะไรทเี่ ก
จนถงึ วันกอ่ นกลับ รวมจา� นวน ๙ ครัง้ พวกเราจะเรมิ่ เดนิ
ทางประมาณ สโ่ี มงเยน็ ของทกุ วัน ใชเ้ วลาเดนิ ประมาณ
๔๐ นาที หรอื ๑ ช่ัวโมง ตามสภาพการจราจร คุณแมแ่ ละ
ทมี งานจะเตรยี มพวงมาลัยดอกดาวเรืองยาวประมาณ
๒ ฟุต ไว้ใหพ้ วกเราทุกวัน ซง่ึ ทราบทีหลงั ว่า เปน็ การส่ง
เสริมอาชีพใหก้ บั คนในชุมชน ในการรอ้ ยมาลยั มาสง่ ใหท้ ี่
วดั เป็นประจา� วันละ ๑๐๐ พวง ซึง่ เป็นกศุ โลบายที่แยบยล
มากในการสร้างคุณคา่ ทางอาชพี เพ่มิ รายได้ใหก้ ับคนเมอื ง
คยา ยงั ไม่ไดเ้ ลา่ ว่า ทีอ่ ินเดีย ใช้ดอกไม้ทีส่ กั การะหรอื บูชา
คือดอกดาวเรอื งเป็นหลกั แตก่ จ็ ะมีหลายเฉดสี ไมว่ ่าจะ
เหลอื ง เหลอื งเขม้ หรอื สีสม้ ส่วนดอกไมอ้ น่ื แทบไมใ่ ช้เลย
หากใช้ท�าเพอื่ ตกแตเ่ พียงเล็กน้อยเท่านั้น ใหน้ ึกภาพตาม
นะคะวา่ ขณะเดินบนถนนทวี่ นุ่ วายและเสยี งบบี แตรรัวๆ
พวกเรา ๑๐๐ คน สวมชดุ นักบวชสขี าว ในมือขา้ งซา้ ยของ
ทุกคน ถือพวงมาลัยดอกดาวเรอื งสสี ้ม เดินเทา้ เปลา่ แถว
ตอนเรียงหน่งึ อย่างสงบ สา� รวม เปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย
ความยาวร่วม ๑๐๐ เมตร ตามแนวถนน ท่ามกลางความ
วุน่ วาย ที่มีรา้ นค้าเตม็ สองขา้ งทาง มคี นสญั จรหนาแน่น
บนถนนมรี ถมากมาย ต้งั แตร่ ถจักยานยนต์ สามล้อเคร่อื ง
รถเมล์ทอ้ งถน่ิ รถบสั นกั ทอ่ งเที่ยว หรอื รถหรูส่วนตวั มี
เสียงบบี แตรทุก ๓ วนิ าที จะเปน็ สิ่งสวยงาม ดึงดดู สายตา
ของคนในทอ้ งถ่นิ และนักทอ่ งเท่ยี วมากขนาดไหน หลายคน
หยดุ ยนื ดดู ว้ ยความประหลาดใจ และหลายคนยนื ประนม
มือแสดงความคารวะจนขบวนของพวกเราเดินผ่านลับไป
มบี างเสียงคนุ้ หถู ามว่าพวกเราเปน็ ใครมาจากไหน
ท่ีฟงออกและแปลได้รเู้ ร่อื งไม่ใช่พีม่ คี วามสามารถทางภาษา
นะคะ แต่เปน็ เพราะทุกวันทีเ่ ดินบนถนนและระหวา่ งการ
ปฏบิ ัติสักการะบบชู าทีเ่ จดยี พ์ ุทธคยา พวกเราพบเจอผู้
แสวงบญุ ทเี่ ปน็ คนไทยจา� นวนมาก หลากหลายคณะ มา
จากท่ัวทกุ ภมู ิภาคจากประเทศไทย บอกไดเ้ ลยว่าหากมา
อนิ เดียแลว้ หลงทาง หรืออยากใช้ภาษาไทย ใหม้ าทพ่ี ุทธ
คยา รบั รองวา่ จะไดเ้ จอคนไทยและไดใ้ ช้ภาษาไทยทุกวัน
แน่นอนค่ะ

33 “ Mind and Wisdom

ดสอบของชีวติ ถา เราไม ในทุกวนั เราก็เจอเชน่ น้ัน แมก้ ระทัง่ เดก็ ขอทาน และคน
ททดสอบเดมิ อกี จนกวาจะ ขายของท่รี ะลกึ สามารถสื่อสารเปน็ ภาษาไทยได้เช่นกนั
กิดขึ้นแลว สง่ิ นน้ั ดเี สมอ”
ก่อนเข้าไปภายในบริเวณเจดีย์พุทธคยาและต้น
ศรีมหาโพธิ์ เราจะถกู ตรวจรา่ งกายอยา่ งละเอยี ด ห้ามน�า
สิ่งของต้องห้ามติดตัวเขา้ ไป โดยเฉพาะ อาวธุ กล้องถ่าย
ภาพ และโทรศพั ท์ เว้นแตเ่ ครอื่ งสักการะ ทุกคนถูกตรวจ
ดว้ ยการเดนิ ผา่ นเครอื่ งเอก็ เรย์ ถกู ตรวจค้นตัว ความ
ประทับใจต่างๆจงึ ตอ้ งบันทกึ ไว้ด้วยความทรงจา� และความ
รูส้ กึ เทา่ นน้ั เมือ่ เราเข้าไปภายใน เราจะพบนักบวชและ
พทุ ธศาสนกิ ชน นิกายต่างๆ มากมาย มาจากนานาประเทศ
ทีม่ รี ปู แบบการสักการะและจังหวะการสวดมนต์ ทีแ่ ตกต่าง
ซ่ึงเปน็ ทีต่ ่ืนตาต่นื ใจของพ่ีมาก.... พระจากประเทศอินเดีย
หรือศรีลังกา จะมีบทสวดทีท่ า� นองและสา� เนยี งใกล้เคยี ง
ประเทศไทย ส่วนพระทเิ บตจะมเี ครือ่ งดนตรปี ระกอบขณะ
สวดมนต์เชน่ กลอง หรือเคร่ืองเคาะ เป็นต้น การออกเสยี ง
ส�าเนียงแปลกหูกว่าบา้ นเรามาก ซง่ึ เปน็ ส่งิ ที่ท�าใหพ้ ช่ี อบฟง
การสวดมนตม์ าก พระจากทเิ บต หรือภูฏาน สักการะบูชา
ด้วยการกราบอษั ฏางคประดิษฐ์ บนกระดานไมเ้ ปน็ ร้อยๆ
คร้ัง ซึ่งทา� ให้พระทิเบต มีรูปร่างแข็งแรง มมี ัดกลา้ มเนอื้ บน
ร่างกาย และกลา้ มเนอ้ื แขนแข็งแรง เหมือนนกั กฬี าเพ่งิ
ออกจากฟต เนต ซ่ึงดแู ปลกตาไปอกี แบบ การท�าสมาธริ ปู
แบบต่างๆ การมีทพ่ี กั คา้ งคนื อยา่ งง่ายๆ รอบเจดียพ์ ทุ ธ
คยาเพอื่ การท�าสกั การะบูชาและน่งั สมาธิใต้ต้นศรีมหาโพธิ์
สามารถพบเหน็ เป็นธรรมดามาก และเป็นสิ่งน่าชนื่ ชมใน
ความศรทั ธาเหลา่ นน้ั มีเร่ืองนา่ แปลกใจอยากเลา่ เป็น
ประสบการณท์ ีอ่ ธิบายไม่ไดค้ อื วนั หน่งึ ขณะท่คี ุณแม่
ธริ าภรณฯ์ ใหพ้ วกเรายืนท�าสมาธิรอบเจดีย์พุทธคยา พกี่ ็
ยืนสงบน่งิ มือกุมอยบู่ ริเวณเอว หลับตาอย่างส�ารวม แตพ่ ่ี
กลับนิ่งเพื่อฟง กลมุ่ พระทเิ บต สวดมนตอ์ ยดู่ ้านหลัง คณุ แม่
เดนิ ผ่านมาแล้วพดู กับพ่ีว่า “เอาใจไว้กบั ตวั อย่าส่งจิตออก
นอก” แล้วทา่ นกเ็ ดนิ จากไป ซ่ึงเปน็ เรอ่ื งน่าแปลกใจมาก
เพราะทา่ นพูดเหมอื นรู้ว่าพ่ีก�าลังฟง เสยี งพระทเิ บตสวด
มนต์อยู่ด้านหลงั ไม่ไดท้ า� ให้ใจระลกึ และท�าความรู้สกึ อยู่
กบั ตวั เอง

Mind and Wisdom 34

เกดิ การเปล่ยี นแปลงอยางไรหลังจากการปฏบิ ัตใิ นครง้ั น้ี

ทําไมต้องโกนผม การเปล่ยี นแปลงตวั เองอย่างไร บอกตามตรงว่า
จรงิ ๆพีไ่ มท่ ราบ ต้องถามคนรอบข้างค่ะ แตส่ ่งิ ทร่ี ้คู ือ รู้สกึ
ว่าตัวเองมองหรอื วเิ คราะห์อะไรละเอยี ดขึน้ หาเหตุผลของ
ส�าหรบั การโกนผม ถามวา่ ตงั้ ใจกอ่ นหรอื ไม่กต็ อบ การด�าเนินไปของชีวติ ตัวเองมากข้ึน วติ กกงั วลกับความ
ไดไ้ ม่เตม็ ปาก จา� ได้ว่าคณุ แม่ถามวา่ ใครจะโกนผม ถวาย คดิ ของคนอนื่ นอ้ ยลง มองหาคณุ ค่าของการมชี วี ติ คณุ ค่า
เปน็ พุทธบชู าหรือไม่ พ่ีเป็น ๑๓ คนแรกท่ียกมอื และเดิน ของการใชช้ วี ิต คณุ คา่ ของใจและจิต มคี วามพยายาม
ออกจากหอ้ งกรรมฐานไปโกนผมเลย ซ่ึงตอ้ งลงไปหอ้ งเรียน ซ่ือตรงกบั ความรู้สกึ ของตวั เองมากข้นึ ใชค้ �าวา่ “ช่างมนั ”
ตดั ผม อนั นี้ไมไ่ ดเ้ ปน็ การบวช โกนผมเฉยๆ แตค่ ณุ แม่ใช้ กบั สงิ่ ท่ีเกดิ ข้นึ กับเราแลว้ เราไมถ่ กู ใจได้มากขนึ้ แต่มนั ค่อน
คา� ว่าโกนผม ถวายเป็นพุทธบชู า บูชาพระพทุ ธเจ้าดว้ ยการ ข้างสวนกระแสความคดิ ของสงั คมรอบตวั รสู้ กึ ว่าเราใช้
โกนผมถวาย จ�ารายละเอยี ดไม่ไดว้ า่ วา่ เร่ิมตน้ อย่างไร แต่ ชีวิตในสังคมรอบตัวยากขน้ึ เราไมเ่ หมอื นคนอนื่ รอบตวั
โกนผมประมาณช่วงกลางๆของการปฏิบตั ิ มีแนวคดิ ภาพ แปลกแยกสังคม แตไ่ มไ่ ดร้ ู้สกึ มากมายอะไร บอกตวั เองว่า
จา� ตอนเดก็ ๆคือ เหน็ พี่สาวบวชชแี กบ้ นตอนเด็ก อยากโกน ไม่เปน็ ไรทกุ อยา่ งคือบททดสอบของชวี ิต ถ้าเราไมผ่ ่านเราก็
ผมบวชชแี บบพี่บ้าง แต่ขณะน้นั ท่ีโกนผมน้ัน ทค่ี ิดคอื จะเจอบททดสอบเดมิ อีกจนกวา่ จะผ่านไปได้ “อะไรท่ีเกิด
อยากไปใหส้ ดุ อยากร้วู ่าสุดคอื อะไร ท�าแล้วรสู้ กึ อย่างไร ข้ึนแล้ว ส่ิงน้ันดเี สมอ”
เราจะเจออะไรจากการโกนผมบา้ ง และได้แนวคดิ จากท่ีเคย น่คี อื แนวคิดปจจุบนั ตอนนี้คอื รู้สึกอยากไปปฏบิ ตั ิ
ฟง พระเทศนว์ า่ ถา้ อะไรท่เี ราหวง ถา้ เราตดั หรือยกใหค้ น ที่อินเดยี อีก อยากเรียน อยากฝก อยากบรรล(ุ หวั เราะ)
อ่ืนได้ เราจะไดบ้ ญุ เยอะ 555 อยากไดบ้ ญุ มง้ั แตอ่ าจไมใ่ ช่ (โดยเฉพาะชว่ งท่ีกลับมาใหม่ๆ) อยากเรยี นร้พู ทุ ธศาสนานิ
เปน็ อารมณอ์ ยากรูม้ ากกว่า โกนผมแล้วไดอ้ ะไร พบอะไร กายอนื่ ๆ โดยเฉพาะนิกายวชริ ญาณ เพราะเหน็ ว่า ความ
เจออะไร ...ค�าตอบทีไ่ ดค้ อื ความรสู้ กึ ใหม่ ได้ออกจากพืน้ ท่ี ศรทั ธาในการปฏิบัติเขาเยอะมาก เขาต้ังใจ กฏขอ้ ปฏบิ ัติ
ปลอดภัยหรือ comfort zone ไปเผชญิ โลกภายนอก มนั เขาเขม้ ข้นดีเช่น ตอ้ งอยคู่ นเดยี ว เรียนร้คู นเดียว ใช้
ไดค้ วามตน่ื เต้นแบบหมือนไดห้ นอี อกจากบ้านคะ่ 5555 ทรพั ยากรใหน้ อ้ ย กินน้อย นอนนอ้ ย พูดนอ้ ย เนน้ การ
เมือ่ นึกถงึ ตอนโกนผมแล้วรสู้ ึกดี ย้ิมได้คนเดยี ว มนั ยงั ให้ ปฏิบตั เิ ยอะๆ รู้สกึ อยากลอง อยากรวู้ า่ ถ้าท�าแลว้ จะอยา่ งไร
ความรสู้ กึ โล่งและเป็นสุขเมือ่ นกึ ถึงบรรยากาศการโกนผม อยากรูว้ า่ ถา้ เราฝก เราจะเจออะไร พบอะไร คดิ วา่ นา่ จะมี
ค่ะ ซ่งึ ก็ให้คา� ตอบไม่ได้วา่ ทา� ไม รู้สกึ อยากลองทา� อะไร ความสนกุ ท่ีจะไดเ้ รียนรู้ จากการปฏิบัตอิ ยา่ งเขม้ ขน้ ซงึ่
แปลกๆบางอย่างมากกว่า ต้องใชค้ วามศรทั ธาทส่ี ูงมาก ซงึ่ ไม่ร้วู า่ ทีจ่ ริงแลว้ เราจะทา� ได้
ไหม

35 Mind and Wisdom

มอี ะไรที่จะฝากให้ผูอ้ า นบา้ ง การเข้ารวมกิจกรรมนี้ มบี อยหรอื ไม การตดิ ตอ เขา้ รวม
กจิ กรรมติดตอไดท้ ีไ่ หน อยา งไรบ้างคะ
ถา้ ใหฝ้ าก อยากฝากว่าใหล้ องฝก ปฏิบัติ ตอ้ งลอง
ลงมือเรยี นรู้ค�าสอนของพระพทุ ธเจา้ ด้วยตนเอง ทุกค�าถาม ปกติกจิ กรรมนี้ เราจะรกู้ นั ผ่านเพ่อื นสเู่ พ่ือน กลมุ่ สู่
ทส่ี งสยั จะมคี �าตอบให้เสมอแต่ความชา้ เร็วอาจต่างกนั ไป กล่มุ มีกล่มุ ไลนเ์ ล็กๆท่ีตดิ ตอ่ กันคะ่ ปนึงจดั ประมาณ ๓-๔
การเรยี นรู้จากการปฏบิ ัติจริงตามแนวทางของพระพทุ ธ ครั้ง ขนึ้ กับปจจยั ที่รวบรวมไดจ้ ากผู้บริจาค และค่าเดนิ ทาง
องค์ เช่อื วา่ ผูล้ งมือปฏิบตั ิอย่างไมม่ ีอคตจิ ะได้พบกบั ค�าตอบ จากผู้ผู้สมคั รค่ะ ส่วนใหญม่ าจากรุ่นพส่ี ู่รนุ่ น้อง กจิ กรรมนี้
ของปญหาหรอื ข้อสงสยั ทเ่ี ป็นคา� ถามของตน การมีครูบา ชื่อ โครงการปลกู ดอกบัวในกองไฟ ปจจุบนั ดา� เนินมาถึงร่นุ
อาจารยช์ ้แี นะแนวทางท่ีถกู ตอ้ งเป็นเรื่องทสี่ �าคญั ประการ ท๑่ี ๐ แล้วค่ะ โดยท่วั ไปคา่ เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ
หนงึ่ และความส�าคญั ท่ไี มแ่ พก้ นั คือการปฏบิ ตั จิ รงิ ของเจา้ ๑๘,๐๐๐ บาท ใชเ้ ปน็ คา่ เดินทางรวมค่าต๋ัวเครอื่ งบิน
ตวั และใหเ้ ลือกปฏบิ ตั ิตามวิธีการทตี่ รงจริตกบั ตนเอง ไป-กลับ ค่ารถ เป็นหลักค่ะ สว่ นทีพ่ ัก อาหาร เส้ือผ้าชุด
อะไรท่รี ้สู ึกอดึ อัด ใหล้ องเปล่ยี นวธิ กี ารทช่ี อบมากกวา่ การ ปฏบิ ัตธิ รรม เครือ่ งบรขิ าร และของใชจ้ า� เปน็ บางอยา่ งได้
ฝก สมาธิภาวนา หรอื กรรมฐานเปน็ การฝก ความรู้ตวั ความ จากเงนิ บริจาค หากเมอื่ ใดทีม่ ีการจัดกจิ กรรมจะแจง้ ผา่ น
รสู้ กึ ตวั ฝกความอดทน ฝกสูก้ บั อารมณ์และความอ่อนแอ สถาบนั สนั ติศึกษานะคะ
ของจติ ใจตัวเอง สกู้ ับความ “อยากได”้ “อยากมี” “อยาก
เปน็ ” ท่ที างพระเรยี กวา่ กเิ ลส พี่ไดเ้ รียนรวู้ า่ ศัตรูตวั ใหญ่ Mind and Wisdom

ทีส่ ุดของเราก็คอื ใจเราเอง ถ้าหยดุ ไดท้ ี่ “ใจอยาก” เราจะ
เปน็ สุขมากข้นึ ตอนน้พี ี่พดู ไดเ้ ลา่ ได้ ไมใ่ ชว่ า่ พ่ลี ะไดน้ ะคะ
เพียงแค่ลด “ความอยาก” บางอยา่ งไดล้ งบ้าง แค่นพ้ี ่ีวา่ เรา
กเ็ พม่ิ พน้ื ทคี่ วามสขุ ให้กับหวั ใจของเราเองได้มากโขแลว้ ละ
ค่ะ ผลที่สดุ ของการฝก สมาธิ กรรมฐาน คอื การฝก ชนะใจ
คิดของเราเองค่ะ

ภาพโดย Devanath จาก Pixabay



“ ชวี ติ นั้นคอื ความตอเน่อื งแหง ความแปรเปลยี่ น “
มนั ก็เหมือนดง่ั การทาํ สวน เธอไมอาจคาดหวงั ได
วาสวนของเธอจะใหผ ลเปน ดอกไมต า งๆเทา นน้ั
แตส วนของเธอยังสรา งขยะออกมาดวย
น่นั แหละคอื ความหมายของชวี ิต
ติช นัท ฮนั ท

ภาพโดย Maret Hosemann จาก Pixabay

Mind and Wisdom 38
Asian Reviewบอกเลาความรสู กึ ความประทับใจจากการเรียนวชิ า 950-301
โดย สมพจน์ จนั ทรวงศ์ (เจมส์) รหัสนกั ศกึ ษา 6011510041 นักศึกษาปรญิ ญาตรี คณะเทคนคิ การแพทย์ ชน้ั ปท่ี 2 Se

39 Mind and Wisdom

ความขัดแยง และสนั ตภิ าพในอาเซียน

ection 02 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่

เรียนผศ.อภิชาติ จนั ทร์แดง และ อ.เพ็ญนภา รายละเอยี ดของรายวิชาอกี อยา่ งหนง่ึ ทเ่ี จมส์เห็น
พทั รชนม์ อาจารยผ์ ้สู อนรายวิชา 950-301 ความขดั แยง้ ว่าเป็นข้อดีคอื การแบ่งเกบ็ คะแนนออกเปน็ 3 ส่วน คือ
และสันติภาพในอาเซียน (1) งานน�าเสนอรายกลุ่ม คะแนนรอ้ ยละ 40 (2) งานตอบ
สวัสดีครบั อาจารย์ผสู้ อนท้งั 2 ท่าน ผมมชี ่ือเล่น คา� ถามรายบคุ คล คะแนนร้อยละ 30 และ (3) การสอบ
ว่า “เจมส์” ครบั มีความยินดีอยา่ งย่งิ ท่มี าบอกเลา่ ความ ปลายภาคในคาบเรียน คะแนนร้อยละ 30 ส�าหรับเจมส์
รสู้ ึกและความประทับใจหลังได้เรยี นวชิ า 950-301 ความ เจมส์คิดวา่ การแบง่ เกบ็ คะแนนเปน็ 3 สว่ น เป็นการ
ขดั แยง้ และสนั ติภาพในอาเซียน ในตอนแรก เจมส์ร้สู ึก สะท้อนคณุ ภาพของความรู้ ความคิด และการท�างานของ
ลังเลมากวา่ เจมสค์ วรจะเขยี นเร่อื งนี้หรอื ไมเ่ ขยี นดี สดุ ท้าย นักศกึ ษาอย่างแทจ้ ริง มากกว่าการมอบหมายงานจา� นวน
ผมกต็ ัดสนิ ใจเขียน เพราะเจมสเ์ ชอื่ วา่ สิง่ ท่เี จมสไ์ ดก้ ล่าวใน มากใหน้ กั ศึกษาท�าหรอื ปฏิบตั ิ
เอกสารฉบับนี้ ส่วนหนึ่งอาจจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การ อนั ทีจ่ ริง หลงั จากการฟง การชีแ้ จงรายละเอียด
จดั การเรยี นการสอนในภาคการศกึ ษาถดั ไป นอกเหนอื จาก ของรายวิชา ผมเคยคดิ จะเข้าเรียนเฉพาะคาบที่มกี ารเช็ค
รายละเอียดที่เจมส์ไดใ้ หค้ วามคดิ เหน็ ในระบบประเมนิ การ ชอ่ื เพยี ง 3 คาบ แต่เจมสร์ ู้ตวั เองวา่ เจมส์ยังไม่มีความรพู้ ้ืน
สอนของอาจารย์ (PSU-TES) ท้ังน้ี ข้อความท้งั หมดที่เจมส์ ฐานเกย่ี วกับเหตกุ ารณ์สา� คญั ในภูมภิ าคอาเซียนมากนัก
เขยี นในเอกสารฉบับน้ี ไม่มีความเกี่ยวข้องกบั การทักท้วง ประกอบกบั การที่เพ่อื นในกลุม่ จบั ฉลากงานน�าเสนอได้
คะแนน หรอื ระดับคะแนน (Grade) ของรายวชิ า 950- กลมุ่ ที่ 7 ความขัดแยง้ กรณีสนธสิ ัญญาปางหลวงในพม่า
301 ความขดั แยง้ และสันตภิ าพในอาเซยี น เจมสค์ ดิ วา่ ถ้าได้เข้าเรียนเพื่อมาดูงานน�าเสนอของเพื่อน
ก่อนทเ่ี จมสจ์ ะลงทะเบียนรายวิชาน้ี มเี พ่ือนคณะ กลุม่ แรก ๆ ก่อน และไดค้ �าแนะนา� ในการท�างานน�าเสนอ
เทคนิคการแพทยช์ น้ั ปเดยี วกัน ที่เคยลงรายวิชาน้ีในภาค จากอาจารย์ คงชว่ ยใหง้ านน�าเสนอออกมาสมบรู ณม์ ากขึ้น
การศึกษาที่ 1/2561 ซงึ่ เพอ่ื นไดบ้ อกว่า วิชา 950-301 เจมส์จึงเลอื กทจ่ี ะเขา้ เรียนทกุ คาบ
เป็นวชิ าทไ่ี ด้ Grade A ไม่ยาก ถา้ สง่ งานครบและทบทวน ในคาบบรรยาย (Lecture Class) คาบแรก เร่ือง
เนอื้ หาก่อนสอบ ด้วยเหตุผลน้ี เจมส์และเพอ่ื นคณะช้ันป ความรูพ้ นื้ ฐานเกย่ี วกับความขดั แย้งและสันตภิ าพ สอนโดย
เดยี วกนั จงึ ตดั สินใจลงทะเบยี นเรียนวชิ านี้ในภาคการศกึ ษา อ.เพ็ญนภา เจมส์รู้สกึ ประทบั ใจมากตรงที่ว่า อาจารย์
ท่ี 2/2561 พยายามมีสว่ นรว่ มกับนกั ศึกษาโดยจดั กิจกรรมแบบ
เมื่อเจมสไ์ ด้เรยี นคาบแรก อาจารย์ได้ชแ้ี จงราย Active Learning มีการถามตอบระหวา่ งอาจารยก์ ับ
ละเอียดของรายวชิ า สิ่งท่เี จมส์เหน็ ว่าเป็นข้อดีของการ นกั ศึกษา ซึง่ ทา� ให้เหน็ มมุ มองความคิดทหี่ ลากหลายของ
จัดการเรียนการสอนวิชานี้ คือ มีการเชค็ ชือ่ นกั ศึกษา 3 นักศกึ ษา และทา� ใหเ้ นอ้ื หาความรู้สามารถเขา้ ถงึ นักศกึ ษา
คาบเรยี น ส่วนคาบเรียนทเ่ี หลือ นักศึกษาจะเข้าเรียนหรอื ได้ง่ายข้ึน ใน slide การสอน มีภาพและวีดทิ ศั นป์ ระกอบท่ี
ไมก่ ็ได้ ซึง่ เจมส์เชอื่ วา่ เหตุผลทอี่ าจารย์ตดั สนิ ใจไมเ่ ช็คช่อื เป็นรูปธรรมชัดเจน ตัวอย่างประกอบค�าอธิบายชว่ ยใหเ้ หน็
ทกุ คาบ คงช่วยใหน้ ักศึกษา สว่ นหน่ึงท่ีมีกิจธุระจา� เปน็ ภาพรวมของเนือ้ หาในบทเรยี นได้ดี
สามารถบรหิ ารเวลาไดส้ ะดวกขนึ้

Mind and Wisdom 40

ในคาบบรรยายคาบถดั มา เร่ือง เหตุการณใ์ นยคุ เมอื่ ถึงวนั น�าเสนองาน (พฤหสั บดีที่ 21 ก.พ.
การล่าอาณานคิ ม เหตุการณ์ในยุคสงครามโลก และ 2562) เจมส์จา� ได้แมน่ ย�าวา่ ในวันนั้น ไมม่ ี การเรียน
เหตกุ ารณใ์ นยคุ สงครามเยน็ สอนโดย อ.อภิชาติ ในส่วนนี้ บรรยายเลย มีเฉพาะการนา� เสนองานของนกั ศกึ ษาเทา่ นั้น
อาจารย์อธบิ ายเน้ือหาไดล้ ะเอียดมาก แตโ่ ดยส่วนตวั เจมส์ ในช่วงเช้าและช่วงบ่าย มกี ารน�าเสนองานวิจัย (Journal
มคี วามคดิ เหน็ ว่า ถา้ อาจารย์ไม่ไดก้ ล่าวภาพรวมของ Paper) ของวชิ าคณะ (นา� เสนอรายกลุม่ ) งานชนิ้ นเ้ี ปน็ งาน
เนือ้ หาพอสังเขปกอ่ นเริม่ อธบิ ายเน้ือหา จะท�าใหน้ ักศึกษา ทย่ี าก เพราะนักศึกษาจะตอ้ งแปล Paper และวิเคราะห์
จบั ประเดน็ ได้ค่อนขา้ งยาก อยากให้อาจารย์เพิ่มเตมิ ใน ขอ้ มูลจาก Paper เอง เจมส์เปน็ คนหนง่ึ ทนี่ �าเสนองาน
สว่ นน้ี อนง่ึ เนื้อหาท่ีปรากฏใน slide การสอน มขี อ้ ความ Paper ช้ินน้ี เม่อื นา� เสนองานเสร็จ เจมสม์ ีความรูส้ ึกว่า ผล
มาก แต่ไมค่ ่อยมภี าพประกอบค�าอธบิ ายเนอื้ หา เจมส์คดิ งานไม่ได้ดีหรือสมบูรณอ์ ย่างทีค่ ดิ ไว้ จึงเสยี ใจมาก ทง้ั ๆ ที่
ว่าส่งิ นีอ้ าจเป็นอกี เหตุผลหนึง่ ทที่ า� ให้นักศึกษาจับประเด็น เพอื่ นในกล่มุ เชอ่ื ว่า เจมสน์ �าเสนองานได้ดีก็ตาม เหตผุ ลท่ี
ไดค้ อ่ นขา้ งยากเช่นกนั ทา� ใหเ้ จมสค์ ดิ ว่า เจมส์ทา� งานน�าเสนอออกมาไดไ้ มด่ ีพอ ก็
ในสว่ นของงานน�าเสนอรายกลมุ่ สา� หรับเจมส์ มัน คอื การมองขา้ มรายละเอียดบางอย่างของ Paper จาก
เป็นงานท่ีผมรัก และเป็นโอกาสทด่ี ใี นการแสดงศักยภาพ การนา� เสนอ Paper ท�าใหเ้ จมส์คดิ ว่า “งานน�าเสนอวชิ า
และการถ่ายทอดความร้ใู หน้ ักศึกษาคนอ่นื ๆ สามารถเขา้ ใจ อาเซียนฯ ในตอนเย็นน้ี คงเปน็ ความหวงั เดยี ว ท่ีทา� ให้
ไดง้ ่าย เจมส์จึงพยายามท�างานช้ินนอ้ี ย่างเต็มที่ ในตอนแรก ความมน่ั ใจในการนา� เสนองานกลบั มาอกี ครั้ง” ท�าให้เจมส์
เพ่ือน ๆ ในกลุม่ ไดช้ ่วยกนั หาขอ้ มูลจากเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ แต่ เพิ่มความตง้ั ใจใหก้ บั งานนา� เสนอวิชาอาเซยี นฯ มากขึ้นไป
เมื่อเจมส์น�าขอ้ มลู มาเรียบเรียงในไฟล์ PowerPoint เจมส์ อีก
เห็นวา่ มเี น้อื หาหลายสว่ นทเี่ ข้าใจยากและไมช่ ัดเจน เจมส์ หลงั จากการน�าเสนองานวชิ าอาเซียนฯ เมื่อได้ฟง
จงึ นา� ไฟล์ PowerPoint ที่ print แลว้ มาใหอ้ าจารยด์ ู ความคดิ เห็น (Comments) จากอาจารย์ท้ังสองทา่ น มัน
ทา� ให้เจมสร์ ู้วา่ มีขอ้ มลู หลายส่วนที่ไมถ่ กู ตอ้ ง และมี ท�าใหเ้ จมสร์ สู้ กึ มีก�าลังใจขน้ึ มาอีกครง้ั มันท�าใหเ้ จมสร์ ้วู ่า
ประเด็นทท่ี �าให้เกิดความเขา้ ใจคลาดเคลือ่ นหลายประเดน็ เรายังมคี วามสามารถในการนา� เสนองาน และถ่ายทอด
หลงั จากที่ อ.อภชิ าติ ได้ใหข้ อ้ มูลเกย่ี วกับเน้อื หาท่ี ความร้ใู หผ้ ฟู้ งเข้าใจง่าย อย่างไรกต็ าม เบือ้ งหลังในการ
นา� เสนอ ท�าใหเ้ จมส์ต้องหาข้อมูลเก่ียวกับงานนา� เสนอใหม่ ทา� งานน�าเสนอช้นิ น้ี มีหลายปจ จัยท่ที า� ให้งานนา� เสนอชิ้นน้ี
อีกครัง้ และความบงั เอญิ กเ็ กดิ ขน้ึ เมื่อเจมสไ์ ด้พบไฟล์ มคี วามสมบรู ณ์ ปจจัยแรก คือ การแบ่งงานของสมาชิกใน
e-book ของหนงั สอื ท่ีมีช่อื ว่า “ชนกลุ่มนอ้ ยกับรฐั บาล กลุ่ม เน่อื งจากทกุ คนในกลุม่ เลือกงานทท่ี �าดว้ ยความสมคั ร
พม่า” เขยี นโดยพรพมิ ล ตรโี ชติ ซึ่งใหข้ อ้ มูลที่เกย่ี วขอ้ งกับ ใจ จึงทา� ใหท้ กุ คนมคี วามตง้ั ใจและมีความมุ่งม่นั ในการ
งานน�าเสนออยา่ งละเอียดและครบถว้ น และมีข้อมลู ตรง ทา� งานชิน้ น้เี ปน็ อยา่ งมาก ปจจัยที่สอง คือ การจัดรูปแบบ
กบั คา� แนะน�าของอาจารย์ จึงท�าใหก้ ารเรียบเรยี งเนื้อหาลง ของงานน�าเสนอ เนอ่ื งจากเจมสร์ ับผิดชอบงานช้นิ น้ใี น
ในไฟล์ PowerPoint ท�าได้งา่ ยขึน้ มาก หลายส่วน ไดแ้ ก่ ทา� ไฟล์ PowerPoint เปน็ คนน�าเสนอ
งาน

41 Mind and Wisdom

เป็นคนตรวจทานและเรียบเรยี งขอ้ มลู รวมทง้ั ควบคุมภาพ ในคาบถดั ไปหลงั คาบท่ีกลุ่มของเจมส์น�าเสนอ
รวมของงานทั้งหมด เจมสม์ ีความเชือ่ ในงานน�าเสนออยา่ ง เจมสก์ เ็ ข้าเรยี นเพ่ือดงู านนา� เสนอของกลุม่ อน่ื ๆ ทเ่ี หลือ
หนึ่ง คือ ในการนา� เสนองาน จะต้องท�าให้ผฟู้ ง เข้าใจ จากการนา� เสนอของนกั ศึกษา เจมส์เหน็ วา่ มหี ลาย ๆ กลุ่ม
ประเดน็ ส�าคัญไดท้ ันที หลงั จากได้เห็นภาพ slide ในช่วง ท่ีนา� เสนองานออกมาได้ดี บางกลุม่ มีเพอ่ื นทม่ี คี วาม
เวลาสั้น ๆ ดงั นน้ั เจมสจ์ งึ ออกแบบ slide ให้มขี ้อความ สามารถในการพดู อธิบาย บางกลมุ่ สามารถท�า Power-
นอ้ ย เนน้ การสือ่ สารโดยใชแ้ ผนภาพ (diagram) เพอ่ื ให้ Point ออกมาเป็นรปู แบบทอ่ี ่านงา่ ย เห็นภาพรวมของ
เหน็ ภาพรวมของเน้ือหาไดง้ ่าย ปจ จยั ท่ีสาม คอื การเลา่ เน้ือหาได้ดี บางกลุม่ สามารถต้ังคา� ถามทดสอบความเขา้ ใจ
ภาพรวมของเนื้อหาให้ผนู้ �าเสนองานฟงกอ่ นน�าเสนอจริง 2 ขอ้ และคา� ถาม Kahoot 10 ขอ้ ได้ดี และมผี ูฟ้ งส่วน
ตอนน�าเสนองาน จะมีผ้นู �าเสนองานท้ังหมด 4 คน (รวม หนึง่ ท่มี ีความสนใจความร้เู ก่ียวกับเหตุการณส์ �าคญั ใน
เจมสด์ ้วย) กอ่ นน�าเสนอจรงิ เจมสไ์ ด้เล่าภาพรวมของ อาเซียนมากเป็นพเิ ศษ สงิ่ เหลา่ นล้ี ว้ นเปน็ บรรยากาศท่ี
เน้ือหาท้งั หมดใหเ้ พอื่ นอกี 3 คนฟง ซึง่ ทกุ คนก็ตง้ั ใจเกบ็ เจมสอ์ ยากเห็นในการเรยี นการสอนในวิชาอาเซียนฯ และ
ประเด็นสา� คัญอยา่ งเตม็ ที่ และมสี ว่ นรว่ มในการท�างานดี วิชาเลือกเสรีอนื่ ๆ เพราะนักศกึ ษาได้มีส่วนรว่ มในการแลก
มาก ประเด็นทส่ี ่ี คอื การตง้ั ค�าถามทดสอบความเข้าใจ 2 เปล่ียนเรยี นรแู้ ละพฒั นากระบวนการคดิ /กระบวนการ
ขอ้ และค�าถาม Kahoot 10 ขอ้ เพอื่ นท่ีออกแบบคา� ถามก็ ทา� งาน
ตง้ั คา� ถามออกมาได้ดี ตรงตามวัตถปุ ระสงคท์ อี่ าจารย์ เมื่อถึงคาบบรรยาย เรื่อง ปญหาความขัดแย้งกรณี
ตอ้ งการ จากปจจัยทง้ั ส่ขี อ้ จึงท�าใหง้ านน�าเสนอช้ินน้ีมี สามจงั หวดั ชายแดนภายใต้ สอนโดย อ.เพ็ญนภา ในส่วนนี้
ความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเปน็ งานชน้ิ หนึง่ ที่ท�าใหเ้ จมส์ เจมส์คิดว่า เน้ือหาบางอยา่ งคอ่ นขา้ งใหร้ ายละเอยี ดในเชิง
รู้สึกประทบั ใจ ซง่ึ เจมสไ์ ม่ไดแ้ คป่ ระทับใจแค่ตัวผลงานที่ ลกึ มากเกินไป และถา้ มเี วลาในการสอน อยากใหอ้ าจารยม์ ี
ออกมา แตป่ ระทับใจในความม่งุ มนั่ ของ เพ่ือนร่วมงาน วดี ทิ ัศนป์ ระกอบการสอนเพ่ิมเติม
ด้วย มีสมาชิกในกลุ่มบางคนท่เี จมสไ์ ม่เคยท�างานร่วมกนั ใน ในคาบบรรยาย เรอื่ ง ปญ หาความขดั แยง้ ใน
วชิ าอื่น แตเ่ จมส์เหน็ ถงึ ความใสใ่ จและความตั้งใจใน ประเทศไทย กรณถี ังแดง สอนโดย อ.อภิชาติ เจมสช์ อบท่ี
การท�างานชิน้ อ่ืน ๆ มาโดยตลอด เมือ่ ได้มาท�างานร่วมกนั อาจารยม์ ีการเกริ่นน�าก่อนเข้าสูเ่ นอ้ื หา นา� เสนอเนื้อหาด้วย
มันทา� ใหเ้ จมสร์ ู้สึกวา่ เพอ่ื นในกลุม่ ทไ่ี มเ่ คยท�างานร่วมกัน วดี ทิ ศั น์ และกลา่ วสรปุ ในตอนท้าย ซ่งึ เชื่อว่า การอธิบาย
มาก่อนเลย มีสว่ นเตมิ เต็มใหก้ ารทา� งานเปน็ ไปอย่างราบร่ืน เน้อื หาในลกั ษณะน้ี ท�าให้นักศึกษาเขา้ ใจและเหน็ ภาพของ
เจมสก์ ล้าพูดอย่างเต็มปากเต็มคา� วา่ ผลลัพธจ์ ากการนา� เน้อื หาไดช้ ดั เจน
เสนอ มีคณุ ค่ามากกว่าคะแนนท่ีได้รบั เพราะ งานน�าเสนอ
ช้นิ น้ีท�าให้เจมส์เห็นคณุ ค่าของการทา� งานร่วมกัน และ
ท�าให้เกดิ การแสดงศักยภาพตาม ความถนัดของสมาชกิ
ในกล่มุ

Mind and Wisdom 42

ในสว่ นของการท�างานตอบคา� ถามรายบุคคลใน ทา� ใหเ้ จมส์รู้ว่า วิชานีเ้ ปน็ วิชาทมี่ นี กั ศกึ ษาให้ความสนใจ
สปั ดาหแ์ รก จรงิ ๆ แล้ว เจมสก์ ร็ ้สู กึ ไมม่ นั่ ใจในสง่ิ ทต่ี ัวเอง เป็นจา� นวนมาก และในภาคการศกึ ษากอ่ น ๆ มีนกั ศึกษาที่
เขียนตอบลงในกระดาษ แต่ก็ไม่ได้ร้สู กึ กังวลมากนกั เพราะ ลงทะเบียนมากกว่า 300 คน ซ่ึงส�าหรบั เจมส์แล้ว การที่
ส่ิงท่เี จมส์เขียนเป็นสิ่งท่ีมาจากความเข้าใจของเจมสเ์ ปน็ นักศกึ ษาใหค้ วามสนใจวชิ าน้ีถือเปน็ เร่ืองทดี่ ีครับ
หลกั อยา่ งไรก็ตาม ถงึ แม้เจมสไ์ ด้ส่งงานช้นิ นีใ้ หอ้ าจารย์ กอ่ นทีเ่ จมสจ์ ะสอบ เจมส์คิดมากอ่ นแล้ววา่ จรงิ ๆ
เรยี บรอ้ ยแลว้ ในสปั ดาหแ์ รก แตเ่ น่ืองจากเจมสม์ ีข้อสงสยั เจมส์ไมจ่ �าเปน็ ตอ้ งอ่านละเอียดมาก เพราะเช่ือว่ามีคะแนน
เก่ยี วกบั เนือ้ หาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับข้อสอบปลายภาค เจมส์จงึ ค่อนขา้ งดี และมีคะแนนพิเศษจากการตอบคา� ถามวัดความ
เข้าคาบเรยี นเพ่อื สอบถามอาจารยใ์ นคาบเรยี นทีม่ ีงานตอบ เขา้ ใจ 2 ข้อ แต่เม่ือเจมส์นกึ ขึ้นไดว้ ่า กอ่ นเขา้ มาเรยี นวชิ านี้
คา� ถามรายบคุ คลในสปั ดาห์ทส่ี อง ในคาบเรยี นวันนัน้ เจมส์ เจมสแ์ ทบจะไมม่ คี วามรูเ้ ก่ยี วกับเหตกุ ารณส์ า� คัญใน
ไดข้ ้อมูลหลาย ๆ อยา่ งทเ่ี จมสเ์ กอื บมองขา้ มไป นอกจากนี้ อาเซียนเลย การสอบปลายภาคคร้ังน้ี น่าจะเป็นโอกาสทดี่ ี
เจมส์ยงั ได้รู้ถึงท่มี าของการเปด วิชา 950-301 ใหเ้ ป็นวิชา ในการพสิ ูจน์วา่ เราได้ความรู้และเข้าใจมมุ มองของ
เลือกเสรี กอ่ นท่เี จมส์ลงทะเบียนเรยี น เจมสร์ ู้ขอ้ มูลเบอื้ ง เหตุการณ์ส�าคญั ในอาเซียนมากขนาดไหน เจมส์จึงตง้ั ใจ
ตน้ มาว่า วิชาน้ี เคยมีอาจารย์คนอ่ืนรับผดิ ชอบในการสอน ทบทวนเน้ือหาท้ังหมดอยา่ งเตม็ ท่ี และเม่อื ถึงเวลาท�า
วิชาน้ี เมื่ออาจารย์ได้เล่าที่มาของการเปดรายวิชา 950- ข้อสอบจรงิ ก็ร้สู กึ ภูมิใจในความพยายามของตวั เอง
301

43 Mind and Wisdom

เหตผุ ลทที่ �าใหเ้ จมสเ์ ขยี นเอกสารฉบบั นี้ คือ เจมส์ สดุ ทา้ ยนี้ เจมสข์ อขอบคุณอาจารยท์ งั้ สองท่านท่ใี ห้
ตอ้ งการสะทอ้ นสิง่ ท่ีเจมส์ได้รบั และอยากเปน็ ตัวแทนใน ความรู้ ค�าแนะนา� และมมุ มองความคิดเหน็ ต่าง ๆ ตลอด
การแสดงความคดิ เหน็ ตา่ ง ๆ หลังจากการเรียนวิชาน้ี การเรียนวิชาน้ี ขอขอบคุณอาจารยท์ ่ใี ห้โอกาสเจมสใ์ นการ
อยากให้อาจารย์ลองพจิ ารณา ความคิดเห็นเกีย่ วกับ แสดงศกั ยภาพ สะทอ้ นความคดิ อย่างเตม็ ที่ และขอให้
การสอนจากนกั ศึกษาคนอนื่ ๆ ประกอบกัน เพื่อใหก้ าร อาจารยร์ ักษาเจตนารมณ์ในการสอนให้บรรลตุ าม
จดั การเรยี นการสอนมีความสมบูรณแ์ ละเกิดประโยชน์ วตั ถุประสงค์ของรายวิชาตอ่ ไป ขอขอบคุณครับ
สูงสดุ ต่อนกั ศึกษา เขยี นเมือ่ 14 พฤษภาคม 2562 เวลา 1.11 น.

ระหวา่ งทเ่ี จมส์เรียนวิชาอาเซียนฯ เจมสไ์ ดถ้ าม Mind and Wisdom
เพือ่ นร่วมคณะท่ีเคยเรยี นวชิ านใ้ี นภาคการศึกษาก่อน ๆ
เพ่อื นกลุ่มน้นั บอกวา่ อยากกลบั ไปเรยี นวชิ านอ้ี กี ครงั้ และ
คดิ ถงึ อาจารย์ทง้ั สองท่าน ซ่งึ เจมส์ ไม่รู้สกึ แปลกใจเลยท่ี
เพ่ือนพดู แบบนั้น เพราะเม่ือเจมสไ์ ดเ้ ข้ามาเรยี นด้วยตัวเอง
เจมสก์ ็รูส้ กึ ไม่ต่างจากเพ่อื นกลุ่มนน้ั เลย

Mind and Wisdom 44

กอนวัย...เกษียณ

ต้นเรอื่ ง : คุณยายสีกากี
สมั ภาษณ : รจิเรข เจริญดี

45 Mind and Wisdom

ภาพสะท้อนของคนวัยเกษยี ณ คดิ วา่ ชีวติ หลังจากนีค้ งใชจ้ ่ายอย่างมสี ติมากข้นึ ส่วนกา� ลงั
จากการสัมภาษณ์ผู้เกษียณอายุราชการจ�านวน ใจในการสอนยังมีเทา่ เดิม เมอ่ื ถามทา่ นว่า หลังเกษียณท่าน
หนึ่งก็พอจะสรุปได้ว่าเปาหมายของข้าราชการส่วนใหญ่คือ รูส้ ึกอยา่ งไร ท่านตอบว่า รสู้ ึกใจหาย เพราะต้องจากเพ่อื น
ขอใหไ้ ด้ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ราชการจนอายคุ รบ 60 ป และมคี วาม ร่วมงานท่ีรักและท่ีเคยพูดคุยสนุกสนานเฮฮากันและที่
สขุ ในวยั ท่ีเหลืออยู่หลังเกษียณ ดงั นนั้ พอถึงเดอื นกันยายน สา� คัญคอื รูส้ กึ ว้าเหว่คิดถึงเดก็ ๆ อยากเปน็ ครูต่อ ท่านบอก
ของทกุ ป ข้าราชการประจา� ของหน่วยงานต่างๆ มักจดั งาน วา่ ท่านประสบความสา� เร็จในอาชีพแลว้ เพราะตลอดเวลา
เลีย้ งสง่ ให้กบั ข้าราชการผูส้ ูงวัยท่เี กษียณอายรุ าชการ หรือ ต้งั แตเ่ รม่ิ รับราชการจนเกษียณ ท่านไม่เคยเบ่ือการสอนเลย
งานแสดงมุทติ าจิตท่ีใครๆ เคยไดย้ ิน พรอ้ มกบั คา� อวยพรที่ เพราะทา่ นชอบแกป้ ญ หาของเด็ก และใช้เทคนิคการสอนที่
ขาดไม่ไดค้ ือ ขอให้มคี วามสุขในวยั หลังเกษียณ กิจกรรมดงั ไม่ค่อยเหมอื นใคร ท�าใหน้ ักเรยี นชอบมาโรงเรยี น และชอบ
กล่าวถอื เป็นเร่ืองธรรมดา แต่ที่ไมธ่ รรมดาคอื เจา้ บา่ วหรือ วิธีการสอนของครู ทา่ นบอกวา่ ทา่ นรู้สึกภมู ิใจมาก
เจา้ สาวของงาน ซ่งึ หมายถึงข้าราชการท่ีเกษยี ณนนั่ เอง ขา้ พเจา้ ได้ถามตอ่ วา่ หลังเกษยี ณท่านใชช้ วี ติ อยา่ ง
เพราะทุกคนเป็นห่วงวา่ ต่อจากน้ไี ป พวกเขาจะใชช้ วี ติ อย่าง ไร ท่านตอบวา่ ท่านช่วยเลยี้ งหลาน พอถึงวนั เสาร์อาทิตยก์ ็
ไร พวกเขาจะมคี วามสุขไหม พวกเขาจะเบือ่ หรือเปลา่ ไปทา� สวนยางพารากับภรรยา ในสวนนอกจากปลกู ยาง
อย่างไรกด็ ี การชว่ ยเหลือพวกเขาท�าได้ไมม่ ากนัก เนอ่ื งจาก พาราแลว้ ยงั ปลกู ต้นกล้วยและสับปะรดแซมไว้ด้วย รายได้
หมดเวลาทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั แลว้ และ ถึงเวลาท่ตี ้องกล่าวคา� จากสวนยางพาราไม่มี เพราะตน้ ยังไมโ่ ตพอ รายไดจ้ าก
อา� ลาซ่งึ กนั และกัน ดงั ค�ากล่าวท่วี า่ ผีถึงปา ช้าแลว้ คงต้อง กลว้ ยพอมบี า้ งเล็กนอ้ ย ส่วนสับปะรดซ่งึ มีไมม่ ากนกั กน็ า�
เผาอย่างเดียว ฉะนน้ั เหตกุ ารณใ์ นอนาคต ไม่ว่าจะดหี รอื มาบรโิ ภคในครวั เรือนเทา่ นน้ั
เลว ผเู้ กษียณทกุ ทา่ นจ�าเปน็ ต้องยอมรับ เพราะทราบดีวา่ ส�าหรับค�าถามสดุ ท้ายที่ถามคือ ก่อนเกษียณควร
ทุกอย่างเกิดจากการกระท�าในระหว่างการปฏิบัติราชการ เตรยี มตัวอยา่ งไร ชีวิตหลังเกษียณจึงมคี วามสขุ ทา่ นตอบ
ของพวกเขาเองทัง้ สน้ิ อยา่ งไรกด็ ี การเกษยี ณอาจเป็นเร่อื ง ว่า การเตรียมตวั ก่อนเกษียณเป็นเร่อื งทีข่ ้าราชการทกุ คน
เลวรา้ ยสา� หรบั ขา้ ราชการบางคน เพราะมขี า้ ราชการท่ี ท�าได้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความสามารถและตาม
เกษียณจ�านวนไม่น้อยมีความพออกพอใจกับการได้เกษียณ ความตอ้ งการ การเตรียมตัวทสี่ า� คญั คอื การเตรียมพรอ้ ม
ดงั น้ัน ความรู้สึกท่หี ลายทา่ นเป็นห่วงถา้ จะเปล่ยี นเป็นหมด เรอ่ื งสุขภาพ กล่าวคือต้องปฏิบตั ติ ามสุขบัญญัติ 10 ประการ
หว่ งกน็ ่าจะสมควรกว่า ผ้ทู ี่น่าหว่ งจริงๆ ก็น่าจะเปน็ ผู้ทย่ี งั รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะผักและผลไม้
ไม่เกษียณมากกวา่ เพราะถ้าเขาใช้ชีวิตอยา่ งประมาท ชวี ติ ขาดไม่ได้ ต้องรบั ประทานทุกวัน และถ้าวนั ไหนกนิ เนอื้ มาก
หลงั เกษียณของเขาอาจจะยา่� แย่ อาจจะต้องประสบความ ต้องกินผักให้มากควรหลีกเลี่ยงอาหารประเภทปงย่าง
ทุกข์ความลา� เค็ญอยา่ งแสนสาหสั ซงึ่ ยากทใี่ ครๆ จะชว่ ยได้ เพราะถา้ รบั ประทานบ่อยๆ จะทา� ใหเ้ ป็นสาเหตุของโรค
ดังน้ัน วิธีแก้ไขคอื การพดู คุยสอบถาม หรอื สมั ภาษณผ์ ทู้ ี่ มะเรง็ ลา� ไสไ้ ด้ อาหารที่มไี ขมนั มาก เชน่ เครอื่ งในสตั วค์ วร
เกษียณไปแลว้ เพราะเราอาจไดร้ ับความรู้ ค�าแนะนา� ค�า รบั ประทานใหน้ อ้ ยลง เพ่อื ปองกนั ไมใ่ หไ้ ขมนั เกาะเส้นเลือด
เตือน หรืออทุ าหรณ์ ซ่ึงอาจเป็นประโยชนต์ อ่ เราบ้างกไ็ ด้ หวั ใจ
เมอ่ื หลายปท ผ่ี ่านมา ข้าพเจา้ มีโอกาสได้พดู คุยกับ
ขา้ ราชการบา� นาญท่านหนงึ่ ซ่งึ ไดเ้ กษียณไปเมือ่ สี่หา้ ปก่อน
ทา่ นบอกวา่ ทา่ นเคยรบั ราชการครูมานานถงึ 40 ป เมื่อ
ถามทา่ นวา่ กอ่ นเกษยี ณทา่ นร้สู กึ อยา่ งไร ท่านตอบวา่ ตอน
แรกกไ็ มค่ ่อยรูส้ ึกอะไร แตพ่ อเหลอื เวลาอกี 1 เดือน ก็เริ่ม
รสู้ ึกกงั วลและเป็นทุกข์ใจเล็กน้อย เพราะเงนิ เดอื นจะลดลง
และยงั มหี นส้ี นิ อยบู่ า้ ง

Mind and Wisdom 46
และประการต่อมาเป็นเรื่องของรสชาตคิ อื ห้ามกินเค็ม การ
กินเค็มมากๆ บอ่ ยๆ จะท�าให้เส่ยี งตอ่ การเป็นโรคความดนั
โลหิตสูงและโรคไตได้ การนอนหลบั พกั ผ่อนกเ็ ปน็ เรื่อง
ส�าคญั เราควรนอนให้พอในท่ีท่ีอากาศถ่ายเทไดด้ ีและไร้ฝุน
ควัน ผู้ใหญ่ไมค่ วรนอนนอ้ ยกว่า 6 ช่ัวโมงต่อวนั และควร
ออกกา� ลงั กายอย่างน้อย 3 วันต่อ 1 สัปดาห์ และแต่ละวัน
ควรใชเ้ วลาอย่างนอ้ ย 30 นาที และถา้ ใหด้ ที ่ีสดุ ควรออก
กา� ลังกายทุกวนั เพราะการออกก�าลังกายจะช่วยปองกัน
หรือบรรเทาโรคส�าคญั 4 โรค ไดแ้ ก่ โรคหวั ใจ โรคความดนั
โลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคเกาท์

47 Mind and Wisdom

หมอบอกเสมอวา่ ใครเปน็ โรคใดโรคหน่งี ใน 4 โรคนี้ จะต้อง ส่วนตวั ของขา้ พเจ้า ขณะทเี่ ป็นครู มักจะคดิ และทา�
รับประทานยาตลอดชวี ิต ซง่ึ เปน็ เร่ืองน่ารา� คาญไมน่ ้อย กิจกรรมต่างๆให้นักเรียนได้เพลิดเพลินในการเรียนรู้
ส่วนเร่ืองการเตรียมตัวด้านการเงินนั้นท�าได้ด้วยการ ข้าพเจา้ รู้สกึ ภมู ใิ จที่มีครบู างคนบอกวา่ เด็กนกั เรยี นบางคน
ประหยัดและการออมเงิน ซง่ึ มีหลายวิธี ไดแ้ ก่ สะสมหนุ้ ไว้ ทีไ่ มอ่ ยากเรียนกบั ครูคนอืน่ แตท่ า� ไมกับขา้ พเจา้ นักเรยี นจงึ
กับสหกรณ์ การซื้อสลากออมสนิ การซอื้ กองทนุ และการ อยากเรยี นมาก ขา้ พเจ้ายงั รสู้ ึกเสยี ดาย เม่อื วนั ใกลเ้ กษยี ณ
ท�าประกนั ชวี ิต จะมาถงึ เพราะยังมกี ิจกรรมอีกหลายอยา่ งที่คดิ ได้ แต่ยังไม่
ส�าหรบั ตวั ข้าพเจา้ เอง ปจ จบุ นั เปน็ ขา้ ราชการ ได้ทา� เพราะหมดเวลาการทา� งานเสียกอ่ น วันท่ีเขาจดั งาน
บา� นาญในอดตี เคยเป็นครทู โี่ รงเรยี นบ้านโคกเมาอ.บางกล่�า เกษียณให้ ข้าพเจา้ ไม่อยากไปร่วมงานเลย เพราะยังรสู้ กึ
จ.สงขลา ขา้ พเจา้ เรมิ่ เป็นครทู ีโ่ รงเรียนเม่ืออายุ 20 ป อยจู่ น เสียดาย ไม่อยากจะเกษยี ณ ข้าพเจ้าคิดว่า ถ้ามีโอกาสอยาก
เกษียณอายรุ าชการ ทา� งานมาเป็นเวลา 40 ปเต็ม ขา้ พเจ้า จะสรา้ งโรงเรยี นเอง เพ่ือบริหารให้เดก็ ๆ ไดม้ คี วามสขุ ใน
ยงั จา� ได้เสมอวา่ ข้าพเจา้ อยากเป็นครมู าตัง้ แตเ่ ด็ก พอได้มา การเรยี น โอกาสนี้ ขา้ พเจ้าขอแนะนา� น้องๆ ครดู ้วยกันท่ี
เป็นครูตามท่ใี ฝฝ นไว้ ข้าพเจ้าจงึ ตั้งใจท�างานตง้ั แต่วันแรก ก�าลังท�างานอยวู่ ่า ให้พยายามทา� งานอย่างมีความสุข หมาย
จนถึงวนั สดุ ทา้ ย ไมเ่ คยเบ่อื ในอาชีพน้ีเลย จนไมอ่ ยากจะ ถงึ สนุกกบั การท�างาน ทา� อยา่ งไรให้ตัวเราและผลงาน ซงึ่
เกษยี ณด้วยซา้� อยากจะท�างานตอ่ ไปเรือ่ ยๆ ไมเ่ คยนกึ ถึงวนั หมายถึงเดก็ ๆ ของเรามคี วามร้แู ละมคี วามสุขกับกิจกรรม
เกษยี ณ ในขณะท่ีเพื่อนๆ ครดู ว้ ยกนั มกั จะบน่ อย่เู สมอวา่ ในทุกๆ วนั ตลอดไป
อยากจะลาออก อยากจะเกษยี ณเร็วๆ เบ่ือการทา� งาน

Mind and Wisdom

Mind and Wisdom 48

16 วนั ในฟลปิ ปนส

49 Mind and Wisdom

ต้นเรือ่ ง : นวิ ดี สาหมี
นักวจิ ัย สถาบนั สนั ติศึกษา

ภาพโดย krystianwin จาก Pixabay

Mind and Wisdom 50

Philippines เป็นประเทศหน่ึงในอาเซียน เป็น
ประเทศที่มีเกาะมากท่สี ุด ต้งั อยู่ในเขตวงแหวนของเสน้
แบ่งของเปลือกโลกซ่งึ มีแผ่นดนิ ไหวบ่อยครงั้ ผูค้ นสว่ นใหญ่
ในประเทศฟลปิ ปนสเ์ ปน็ ผู้ที่นบั ถอื ศาสนาครสิ ต์คดิ เปน็ ร้อย
ละ 92% ของประชากรท้งั หมด และพนื้ ท่ที างตอนใตข้ อง
ประเทศฟล ิปปน สส์ ่วนใหญ่นับถือศาสนาอสิ ลาม โดยคดิ
เปน็ ร้อยละ 5 - 11% นอกจากนี้ยงั มี ศาสนาพทุ ธ 2%
และศาสนาอน่ื ๆ 1% Philippines เปน็ ประเทศทีเ่ คยตก
เปน็ เมอื งขึน้ ของสเปนและสหรฐั อเมริกาเมอื่ ป ค.ศ.1571
- ศตวรรษที่ 19 และไดร้ บั เอกราชเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม
ค.ศ. 1946 ปจ จุบนั ประเทศฟลปิ ปน สม์ กี ารปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรฐั ตามแบบสหรฐั
อเมริกา โดยมปี ระธานาธิบดเี ป็นประมขุ และเปน็ หวั หน้า
คณะผูบ้ รหิ ารประเทศ

การเขยี นบทความก่ึงวชิ าการในครัง้ น้ี ผเู้ ขยี นมีเปา
หมายเพอ่ื ต้องการสอื่ สารสง่ิ เรียนรู้ และและไดร้ ับระหวา่ ง
การใช้ชีวติ 16 วัน ในมหาวทิ ยาลยั เมอื ง Quezon กรุง
มะนิลา ประเทศฟล ิปปนส์ ซึ่งเปน็ เพียงแค่เสยี้ วส่วนหน่งึ
ของประเทศฟลิปปน สเ์ ทา่ นัน้ โดยในบทความจะเปน็ การ
พดู ถึงการพดู คยุ เจรจาของรฐั บาลแตย่ ุค แต่ละสมัย เพือ่ ชี้
ให้เหน็ ถงึ ความแตกต่าง และสะท้อนถงึ มุมมองการพูดคยุ
เจรจาสนั ติภาพเมอื่ เปรียบเทียบกับประเทศไทย อีกทัง้ ยงั
เป็นการเลา่ ถึงสถานท่ตี ่างๆ ทผ่ี เู้ ขียนได้มีโอกาสเข้าเย่ยี ม
ชมในระหวา่ งการลงพน้ื ท่ีเกบ็ ข้อมูลวจิ ัย

แผนท่ีประเทศฟลปิ ปน ส์
ทีม่ า: https://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศ

ฟลิปปน ส์


Click to View FlipBook Version