The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานสภาเกษตรกรจังหวัดลำปาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Palika Kaedsiri, 2023-01-19 02:42:14

รายงานประจำปี 2565

รายงานผลการดำเนินงานสภาเกษตรกรจังหวัดลำปาง

Keywords: สกจ.ลปาง

ส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง


รายงานผลการด าเนินงาน ประจ าปี 256๕ (ตุลาคม 256๔ – กันยายน 256๕) สภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง


(1) “สภาเกษตรกร คือ องค์กรของเกษตรกร”


(2) สารจาก.... ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง สภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง เริ่มขับเคลื่อนโครงการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือ พี่น้องเกษตรกร โดยมีการจัดท าแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับต าบลโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกร ในต าบลและผู้มีส่วนได้ ซึ่งสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่ด าเนินการพัฒนาและแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร 5 ด้าน ได้แก่ ด้านที่ดิน ด้านแหล่งน้ า ด้านหนี้สิน ด้านผลผลิตทางการเกษตร และสวัสดิการเกษตรกร โดยได้ร่วมบูรณาการกับ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และประชาสังคม ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและรับฟัง ปัญหาของเกษตรกรในพื้นที่ เพื่อน าไปแก้ไขปัญหาให้เกษตรกรจังหวัดล าปาง นอกจากนี้ สภาเกษตรกรจังหวัดล าปางยังได้สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรในรูปแบบของการรวมกลุ่ม เกษตรกร องค์กรเกษตรกร โดยจัดให้เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนด้านอาชีพ พัฒนาการผลิตและ แปรรูปสินค้าเกษตรให้เกิดมูลค่าสร้างรายได้แก่เกษตรกร ในช่วงระหว่างที่ประเทศก าลังประสบ กับปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ 2019 (COVID – 19) ที่ติดต่อ จากคนสู่คนได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบให้ประเทศเกิดปัญหาอย่างรุนแรงเกิดความเสียหาย อย่างหนักโดยเฉพาะภาคการเกษตร ในปี ๒๕6๖ ขอให้ร่วมมือกันท างานอย่างเข้มแข็งดังเช่นที่ผ่านมา เพื่อให้สภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง เป็นที่พึ่งของพี่น้องเกษตรกรจังหวัดล าปาง ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นอย่าง ยั่งยืนตลอดไปดังค าขวัญสภาเกษตรกรแห่งชาติ “ยึดมั่นปรัชญาฯ พัฒนาเกษตรไทย” ท้ายนี้ ขอขอบคุณสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง หัวหน้าส านักงาน และพนักงาน ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางทุกท่าน ที่ได้ร่วมมือ ทุ่มเทพลังกาย พลังใจ ขับเคลื่อน การด าเนินงานของสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางรอบปีที่ผ่านมาให้บรรลุผลส าเร็จตามเปูาหมาย และขอขอบคุณล่วงหน้าส าหรับความร่วมมือร่วมใจที่จะร่วมกันก้าวเดินอย่างมั่นคงต่อไป ในปี ๒๕65 เพื่อมุ่งสู่ความส าเร็จที่ยิ่งใหญ่กว่าเดิม (นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์) ประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ และประธานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง


(3) ถ้อยแถลงจาก.... หัวหน้าส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง ในนามหัวหน้าส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางข้าพเจ้าขอขอบคุณประธาน สภาเกษตรกรจังหวัดล าปางและสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางที่ได้เปิดโอกาสให้ข้าพเจ้า เข้ามาท างานในสภาเกษตรกรแห่งนี้ และยังได้ชี้แนะก ากับทิศทางการท างานของสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง ให้มีทิศทางที่แน่วแน่มั่นคงเพื่อน าไปสู่ผลประโยชน์ของพี่น้องเกษตรกรในจังหวัด และขอขอบคุณพนักงานส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางทุกคนที่ได้ร่วมแรงร่วมใจ จนสามารถท าภารกิจต่าง ๆ ของสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง ส าเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ ในปีพ.ศ. 256๕ ที่ผ่านมาสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง และส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง ได้เข้าไปมีบทบาทในการพัฒนาเกษตรกรรมจนเกิดผลงานเป็นที่ประจักษ์และรับรู้ โดยทั่วไป เช่น การช่วยเหลือเกษตรกรขายผลผลิตทางการเกษตร ได้แก่ ส้มเขียวหวาน ส้มโอ สับปะรดและส้มเกลี้ยง ร่วมกับ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ ากัด การจัดท าแผนพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรมระดับต าบลบ้านเสด็จ อ าเภอเมืองล าปาง จังหวัดล าปาง จนเกิดการปรับเปลี่ยน อาชีพ โดยการส่งเสริมการเลี้ยงโค และเลี้ยงแพะ การปฏิบัติงานสร้างเครือข่ายสภาเกษตรกร ระดับต าบลลดการเผาในพื้นที่เกษตรเฝูาระวัง ตั้งจุดสกัดไฟ และการพัฒนาแหล่งน้ าในชุมชน ตลอดจนการแก้ปัญหาผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่และด้านการเกษตรอื่นๆ รวมถึง การด าเนินงานพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา และภาคประชาสังคม เพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการ ของเกษตรกรในพื้นที่จัดท าแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับต าบลจังหวัดล าปาง และกลุ่มเครือข่าย เกษตรกรพื้นที่ เพื่อน าปัญหาและความต้องการ ของเกษตรกรจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบายส่งต่อให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันแก้ไขปัญหาให้กับเกษตรกร ทั้งนี้ ปัญหาในภาคการเกษตรยังมีอีกเป็นจ านวนมากที่ต้องได้รับการพัฒนาแก้ไขปัญหา และยกระดับให้ดีขึ้น ดังนั้น ในปี พ.ศ. 256๖ ข้าพเจ้าในฐานะหัวหน้าส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง และพนักงานทุกคนจะมุ่งมั่นส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรตามแผนงาน ที่สภาเกษตรกรจังหวัดล าปางได้อนุมัติให้ด าเนินการอย่างเต็มความสามารถ ท้ายนี้ขอบคุณสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง ผู้แทนเกษตรกรระดับต าบลและ ระดับหมู่บ้าน รวมถึงพนักงานทุกคนที่ได้ให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี และข้าพเจ้าหวังว่า ในปีพ.ศ. 256๖ จะได้รับความร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วนเช่นเคย (นางณิชรัศม์ แลวงค์นิล) หัวหน้าส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง


(4) คณะผู้บริหารสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง นายครรชิต วงศ์สุภา รองประธานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางคนที่ 1 นายอุทัย แสงบุญเรือง รองประธานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางคนที่ 2


(5) ผู้บริหารส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง นางณิชรัศม์ แลวงค์นิล หัวหน้าส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง นายเอกพันธุ์ จันทร์ละออ หัวหน้าฝ่ายอ านวยการ นางสาววรุณ ชุ่มเป็ง หัวหน้าส่วนยุทธศาสตร์การเกษตร


(6) ค าน า การด าเนินงานของสภาเกษตรกรแห่งชาติ ได้ด าเนินการตามพระราชบัญญัติสภาเกษตรกร แห่งชาติ พ.ศ. 2553 ซึ่งเป็นเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเพื่อสนับสนุนสิทธิ และการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการก าหนดนโยบายและวางแผนการพัฒนาเกษตรกรรมอย่างเป็นระบบ เพื่อให้รัฐรักษาเสถียรภาพด้านราคาและความมั่นคงในอาชีพเกษตรกร เพิ่มศักยภาพและยกระดับคุณภาพ ชีวิตของเกษตรกรให้ดีขึ้นทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง อย่างต่อเนื่อง ให้เป็นไปเพื่อเกษตรกรอย่าง แท้จริง และมีกระบวนการตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐด้านการปฏิบัติตามนโยบายเกษตรกรรมอันจะน าไปสู่ การพัฒนาภาคเกษตรกรรมและระบบเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศอย่างยั่งยืนในอนาคต ในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๕ สภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง และส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง ได้ด าเนินงานตามบทบาทและภารกิจโดยตระหนักถึงหน้าที่ที่สะท้อนปัญหาด้านการเกษตร ด้วยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของเกษตรกรมรการรับฟังปัญหาและข้อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาของ เกษตรกรเพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาต่อหน่วยงานภาครัฐ และภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และข้อเสนอของสภาเกษตรกรแห่งชาติสามารถน าไปใช้เป็นข้อมูลในการ พิจารณาก าหนดนโยบาย เพื่อแก้ปัญหาด้านการเกษตรของรัฐบาลให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง จึงได้จัดท ารายงานประจ าปี 256๕ โดยการรวบรวม ผลการปฏิบัติงานที่เป็นผลงานเชิงประจักษ์ของสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางและส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปางเพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ต่อไป ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง


(7) สารบัญ หน้า พระบรมราโชวาท (1) สารจากประธานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง (2) ถ้อยแถลงหัวหน้าส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง (3) คณะผู้บริหารสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง (4) คณะผู้บริหารส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง (5) ค าน า (6) สารบัญ (7) ส่วนที่ 1 สภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง /ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง 1. ประวัติความเป็นมา 1 2. อ านาจหน้าที่ 2 3. โครงสร้างองค์กร 3 4. สมาชิก / อัตราก าลัง 4 5. ข้อมูลด้านการเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดล าปาง 7 ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานที่ส าคัญในปีงบประมาณ 2565 โครงการ/กิจกรรมตามนโยบายสภาเกษตรกรแห่งชาติ 1. โครงการจัดท าแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมระดับต าบล จังหวัดล าปาง 10 2. การติดตามการปลูกไผ่เชิงเศรษฐกิจ 23 3. การด าเนินงานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานในจังหวัด 26 4. การช่วยเหลือเกษตรกรในการจ าหน่ายผลผลิตร่วมกับหน่วยงานในจังหวัด 32 โครงการที่ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางมอบหมาย 1. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางยกระดับความรู้และเทคโนโลยี 43 เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ จากไผ่แบบครบวงจรตามโมเดล BCG 2. การขับเคลื่อนการพัฒนาไผ่พืชเศรษฐกิจสู่การพัฒนา BCG Model ด้านไผ่ 47 3. การขับเคลื่อนการปลูกกัญชา พืชสมุนไพร เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ 51 4. การติดตามโครงการแพะ - แกะ ล้านนาเฟส ๑ ภายใต้โครงการ 57 เสริมสร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะ – แกะจังหวัดล าปาง 5. โครงการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรน้ า 60 ตามแนวพระราชด าริโดยชุมชนอย่างยั่งยืน ส่วนที่ 3 รายงานการเงินปีงบประมาณ 2565 การเบิกจ่ายงบประมาณประจ าปี 2565 63 ส่วนที่ 4 แผนการด าเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนการปฏิบัติงานประจ าปี 2566 67


ส่วนที่ 1 สภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง/ส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง


1 ประวัติความเป็นมา ความเป็นมาของสภาเกษตรกรแห่งชาติสืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐มาตรา ๘๔(๘)ประกอบมาตรา ๓๐๓(๑)ได้บัญญัติให้รัฐจัดท ากฎหมายว่าด้วย สภาเกษตรกรให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ คณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้มีค าสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการยกร่างกฎหมายว่าด้วยสภาเกษตรกรโดยมี ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์(นายประพัฒน์ปัญญาชาติรักษ์) เป็นประธานกรรมการ เพื่อด าเนินการศึกษาในการยกร่างพระราชบัญญัติสภาเกษตรแห่งชาติ ซึ่งเป็นกฎหมายที่ให้หลักประกันสิทธิ เสรีภาพในการคุ้มครองรักษาผลประโยชน์เกี่ยวกับการผลิตและการตลาดเพื่อให้ผลิตผลทางการเกษตรได้รับ ผลตอบแทนสูงสุดและมีสภาส าหรับเกษตรกร ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นตลอดจนเสริมสร้างสมานฉันท์ ของเกษตรกรทั้งประเทศท าให้เกษตรกรมีความเข้มแข็งและมีการรวมตัวกัน อย่างเป็นเอกภาพโดยสร้าง เครือข่ายเกษตรกรนอกจากนี้ เกษตรกรสามารถจัดท าแผนแม่บทเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา ก าหนดนโยบายให้สอดคล้องกับความต้องการและสภาพปัญหาอันแท้จริง รวมทั้งให้เกษตรกรได้รับการ พัฒนาส่งเสริมให้ได้รับความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับเกษตรกรรมด้านต่างๆ ในการนี้ได้มีการน าร่าง พระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติออกไปรับฟังความคิดเห็นจากเกษตรกรและผู้ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่แต่ละ ภูมิภาครวม ๔ ภาค แล้วน าข้อมูลที่ได้จากการรับฟังความคิดเห็น มาปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติ สภาเกษตรกรแห่งชาติให้มีความเหมาะสมและได้เสนอไปยังส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ด าเนินการ ตามกระบวนการตรากฎหมาย พระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ก าหนดให้มีการจัดตั้งสภาเกษตรกร ๒ ระดับ คือ สภาเกษตรกรแห่งชาติ และสภาเกษตรกรจังหวัด เพื่อท าหน้าที่ ในการคุ้มครองและรักษาผลประโยชน์ เพิ่มศักยภาพและยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรให้ดีขึ้น ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง อันจะน าไปสู่การพัฒนาภาคเกษตรกรรมและระบบเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศอย่างยั่งยืนในอนาคต สมาชิกสภาเกษตรกรแห่งชาติ ส่วนหนึ่งมาจากประธานสภาเกษตรกรจังหวัด ซึ่งการได้มาต้องมีการเลือกตั้งผู้แทนเกษตรกรในระดับหมู่บ้าน ระดับต าบลและระดับอ าเภอ เป็นล าดับขั้น มาตรา 31 ให้มีสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด ประกอบด้วย สมาชิกจ านวนอย่างน้อย 21 คน จากผู้แทน 2 ประเภท จ านวน 16 หรือมากกว่า 16 คน (มาตรา 31(1)) ผู้แทนเกษตรกรระดับอ าเภอ ผู้แทนเกษตรกรระดับต าบล ผู้แทนเกษตรกรระดับหมู่บ้าน (ในกรณีที่จังหวัดใดมีจ านวนอ าเภอ มากกว่า 16 อ าเภอ ให้เพิ่มจ านวน ผู้แทนเกษตรกรในจังหวัดนั้น ให้เท่ากับจ านวนอ าเภอ) จ านวน 5 คน (มาตรา 31(2)) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพืช ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสัตว์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านประมง ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน เกษตรกรรมอื่นๆ


2 อ านาจหน้าที่ มาตรา 33 สภาเกษตรกรจังหวัดมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1. พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง แก่เกษตรกรและองค์กรเกษตรกรภายในจังหวัด 2. ประสานนโยบายและการด าเนินงานระหว่างองค์กรเกษตรกร เกษตรกร สถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา และหน่วยงานของรัฐ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มขององค์กรเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร และยุวเกษตรกร ในจังหวัดรูปแบบต่างๆ 4. เสนอแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับจังหวัดต่อสภาเกษตรกรแห่งชาติ เพื่อบูรณาการ เป็นแผนแม่บทเสนอต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป 5. สนับสนุนและส่งเสริมการศึกษา การฝึกอบรม การถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกร และยุวเกษตรกร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมอย่างครบวงจรและยั่งยืน 6. เสนอนโยบายและแนวทางในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับภาคเกษตรกรรมรวมทั้ง ราคาผลผลิตทางเกษตรกรมที่ไม่เป็นธรรมต่อสภาเกษตรกรแห่งชาติ 7. ให้ค าปรึกษาและข้อเสนอแนะแก่เกษตรกรหรือองค์กรเกษตรกร 8. แต่งตั้งคณะท างานเพื่อด าเนินการใดๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามพระราชบัญญัตินี้ 9. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากสภาเกษตรกรแห่งชาติ มาตรา 38 ให้จัดตั้งส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดขึ้น เรียกโดยย่อว่า “สกจ.” มีอ านาจหน้าที่ ดังนี้ 1. รับผิดชอบงานด้านธุรการ และท าหน้าที่เป็นเลขานุการของสภาเกษตรกรจังหวัด 2. รวบรวม ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับการด าเนินงานของสภาเกษตรกรจังหวัด 3. ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกร และองค์กรเกษตรกร ได้ทราบถึงนโยบาย แผนพัฒนาเกษตรกรรม จังหวัด และการด าเนินงานของสภาเกษตรกรจังหวัด 4. จัดให้มีระบบฐานข้อมูลการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ผลงานการวิจัยและองค์ความรู้เกี่ยวกับ การผลิต ผลผลิต การแปรรูป ผลิตภัณฑ์เกษตรกรรม รวมทั้งการตลาดทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศ 5. ประสานการด าเนินงานกับเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 6. จัดท ารายงานประจ าปีของสภาเกษตรกรจังหวัด 7. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่สภาเกษตรกรแห่งชาติ และสภาเกษตรกรจังหวัดมอบหมาย


โครงสร้างส านักงานสภา ฝ่ายอ านวยการ นางณิชรัศม์ หัวหน้าส านักงานสภาเ นางพรรณณี เต๋มา นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ นายเอกพันธุ์ จันทร์ละออ หัวหน้าฝ่ายอ านวยการ นายนัฐพงษ์ ค าฟู นักจัดการงานทั่วไปช านาญการ


าเกษตรกรจังหวัดล าปาง ส่วนยุทธศาสตร์การเกษตร ม์ แลวงค์นิล กษตรกรจังหวัดล าปาง นางสาววรุณ ชุ่มเป็ง หัวหน้าส่วนยุทธศาสตร์การเกษตร นางรัชฎาภรณ์ โยธา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ 3 นางสาวปาลิกา เกิดศิริ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ


4 สมาชิก/อัตราก าลัง สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง นายครรชิต วงศ์สุภา รองประธานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง คนที่ 1 นายอุทัย แสงบุญเรือง รองประธานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง คนที่ 2


5 สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง นายสถิต ขจรไชยเดช นายยืน ปัญญา นายอุดม ใจสุข นายบุญทา สายเครือมอย นายมนตรี มณีวงศ์ นายบุญยืน มะโนรมย์ นายทอง ศิริ ด.ต.อินทนนท์ ผิวเกษแก้ว นายราชันย์ ปินตา นายน้อย ปุกปนันท์ นายอธิภัทร แก้วน้อย นายอุทัย ต้อนรับ


6 สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง นายกิตตินันท์ ปงผาบ นายอาณัติ ฝั้นจักสาย นายวิรัตน์ สีคง นายก า ปัญญาดี นายแก้วมา จะงาม


7 ข้อมูลด้านการเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดล าปาง 1. ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปจังหวัดล าปาง จังหวัดล าปาง ตั้งอยู่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพฯ ตามทางหลวงแผ่นดิน สายพหลโยธิน ประมาณ 602 กม.ตามทางรถไฟประมาณ 625 กม. มีเนื้อที่ประมาณ 12,533.961 ตร.กม. หรือประมาณ 7,833,726 ไร่ มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของภาคเหนือ รองจากเชียงใหม่ ตาก แม่ฮ่องสอน และเพชรบูรณ์ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดข้างเคียงถึง 7 จังหวัด ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดพะเยา จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดตาก ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดแพร่จังหวัดสุโขทัย ทิศตะวันออกตก ติดต่อกับ จังหวัดล าพูน หน่วยการปกครองจังหวัดล าปาง การแบ่งเขตการปกครอง จังหวัดล าปางแบ่งออกเป็น 13 อ าเภอ 100 ต าบล 934 หมู่บ้าน 107 ชุมชน (เป็นชุมชนในเขตเทศบาลนครล าปาง 43 ชุมชน และเทศบาล เมืองเขลางค์นคร 64 ชุมชน) มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 เทศบาลนคร 3 เทศบาลเมือง 39 เทศบาลต าบล 59 องค์การบริหารส่วนต าบล อ าเภอ การปกครองส่วนภูมิภาค การปกครองส่วนท้องถิ่น จ านวน ต าบล จ านวน หมู่บ้าน จ านวน ชุมชน จ านวน เทศบาล นคร จ านวน เทศบาล เมือง จ านวน เทศบาล ต าบล จ านวน อบต. จ านวน อบจ. 1) เมืองล าปาง 19 144 107 1 2 2 10 2) แม่เมาะ 5 44 - - - 1 4 - 3) เกาะคา 9 78 - - - 8 2 1 4) เสริมงาม 4 42 - - - 3 2 - 5) งาว 10 85 - - - 2 8 - 6) แจ้ห่ม 7 66 - - - 3 5 - 7) วังเหนือ 8 80 - - - 2 7 - 8) วังเหนือ 8 80 - - - 2 7 - 9) เถิน 8 95 - - 1 3 4 - 10) แม่พริก 4 30 - - - 3 1 - 11) แม่ทะ 10 95 - - - 5 5 - 12) ห้างฉัตร 7 73 - - - 5 3 - 13) เมืองปาน 5 56 - - - 1 4 รวม 100 934 107 1 3 39 59 1 แหล่งข้อมูล - ที่ท าการปกครองจังหวัดล าปาง


8 ประชากรทั้งจังหวัด อ าเภอ จ านวนประชากร ชาย หญิง รวม 1) เมืองล าปาง 107,709 118,407 226,116 2) แม่เมาะ 19,872 19,943 39,815 3) เกาะคา 28,590 30,609 59,199 4) เสริมงาม 15,466 15,435 30,901 5) งาว 27,099 27,455 54,554 6) แจ้ห่ม 19,113 19,696 38,809 7) วังเหนือ 22,073 21,887 43,960 8) เถิน 28,755 30,162 58,917 9) แม่พริก 7,734 8,190 15,924 10) แม่ทะ 28,487 29,034 57,521 11) สบปราบ 13,178 13,754 26,932 12) ห้างฉัตร 24,574 25,898 50,572 13) เมืองปาน 16,487 16,419 32,906 รวม 369,137 376,889 737,026 แหล่งข้อมูล - ที่ท าการปกครองจังหวัดล าปาง 2. ข้อมูลด้านการเกษตรของจังหวัด 2.1 พื้นที่การเกษตร พื้นที่ทั้งหมด 7,833,726 ไร่ เป็นพื้นที่เกษตรกรรม 1,372,346.31 ไร่ (17.51 % ของพื้นที่ทั้งหมด) แบ่งเป็น พื้นที่ จ านวน(ไร่) คิดเป็นร้อยละ หมายเหตุ พื้นที่เพาะปลูก 993,023.00 72.35 จังหวัดล าปางไม่มีการเก็บ ข้อมูลพื้นที่การเลี้ยงสัตว์ เนื่องจากเกษตรกรเลี้ยงใน พื้นที่สาธารณะ/บนดอย/ บริเวณที่อยู่อาศัย พื้นที่ประมง 6,178.31 0.45 พื้นที่ทุ่งหญ้าสาธารณะ 373,145.00 27.20 พื้นที่ที่การเกษตรในเขตชลประทานจ านวน 708,436 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 51.63 และพื้นที่ท าการเกษตรนอกเขต ชลประทานจ านวน 663,910.31 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 48.37 พื้นที่เพาะปลูก 993,023 ไร่ แบ่งเป็น พื้นที่ จ านวน(ไร่) คิดเป็นร้อยละ พื้นที่ปลูกข้าว 444,461 44.76 พื้นที่ปลูกพืชไร่/ผัก/ไม้ดอก 393,505 39.63 ไม้ผล/ไม้ยืนต้น 154,899 15.59 พื้นที่ปลูกพืชอื่นๆ 158 0.02


9 สถานการณ์น้ า (1) ปริมาณน้ าภาพรวมจังหวัด สถานการณ์น้ าในเขตจังหวัดล าปางในอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก รวมทั้งหมด 135 แห่ง มีความจุเก็บกักน้ า 493.272 ล้านลูกบาศก์เมตร แบ่งเป็น อ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่ 2 แห่ง อ่างเก็บน้ าขนาดกลาง 29 แห่ง อ่างเก็บน้ าเล็กพระราชด าริ 54 แห่ง และอ่างเก็บน้ าขนาดเล็ก (ถ่ายโอน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 50 แห่ง) รวมพื้นที่ชลประทาน 708436 ไร่ (2) ปริมาณน้ าฝนสะสม ปริมาณน้ าฝน ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 รวม 398.375 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 81.66 (ที่มา : โครงการชลประทานล าปาง ณ วันที่ 30 กันยายน 2565) 2.2 ประชากรภาคการเกษตรและแรงงานจังหวัดล าปาง จ านวนครัวเรือนภาคการเกษตรปี 2564 จ านวนครัวเรือนประชากร ทั้งหมด (ครัวเรือน) จ านวนครัวเรือนภาคการเกษตร จ านวนครัวเรือนภาคการเกษตร (ครัวเรือน) คิดเป็นร้อยละของจ านวนครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 291,858 105,592 35.27 แหล่งข้อมูล -ส านักงานเกษตรจังหวัดล าปาง จ านวนผู้มีงานท าในระบบและนอกระบบ จ าแนกตามเพศปี 2564 ผู้มีงานท า รวม ร้อยละ ชาย ร้อยละ หญิง ร้อยละ ผู้มีงานท า ในจังหวัดล าปาง 395,138 100.00 213,880 100.00 181,258 100.00 แรงงานในระบบ 140,722 35.61 77,452 36.21 63.269 34.91 แรงงานนอกระบบ 254,416 64.39 136,427 63,79 117,989 65.09 แหล่งข้อมูล - ส านักงานแรงงานจังหวัดล าปาง) ๒.๓ การใช้ประโยชน์ที่ดินในจังหวัด ปี 2564 ตารางแสดงจ านวนการใช้ประโยชน์ในจังหวัด พื้นที่ทั้งจังหวัด (ไร่) พื้นที่ป่าไม้ (ไร่) พื้นที่ชุมชนและ สิ่งปลูกสร้าง (ไร่) พื้นที่เกษตรกรรม (ไร่) พื้นที่เบ็ดเตล็ด (ไร่) พื้นที่แหล่งน้ า (ไร่) 7,833,726 5,474,802 313,663 1,783,321 151,800 110,140 แหล่งข้อมูล -สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัด


ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานที่ส าคัญในปีงบประมาณ 2565


10 ผลการด าเนินงานที่ส าคัญ ในปีงบประมาณ 2565 1. โครงการตามนโยบายสภาเกษตรกรแห่งชาติ ปี 2565 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 1 โครงการจัดท าแผนพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรมระดับต าบลจังหวัดล าปาง เป้าหมาย ๑) ประสานการบูรณาการหน่วยงานใน ระดับพื้นที่ และระดับจังวัด 2) จัดประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อ จัดท าแผนพัฒนาชุมชนระดับต าบล และระดับแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม จ านวน 1 ต าบล 3) ส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อน พัฒน าอ า ชีพแ ล ะแก้ไขปัญห าของ เกษตรกรตามแผนพัฒนาระดับต าบล พื้นที่ด าเนินการ ต าบลบ้านเสด็จ อ าเภอเมืองล าปาง จังหวัดล าปาง 1. ประสานท้องถิ่นเพื่อชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อน โครงการและหารือแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนา ร่วมกับนายกองค์การบริหารส่วนต าบลบ้านเสด็จและ ปลัดพร้อมกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการก าหนด แนวทางการท างานร่วมกันและวางแผนการขับเคลื่อน งานโครงการแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมระดับ ต าบล 2. ประชุมคณะท างานระดับจังหวัดร่วมกับหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน ร่วม ๑๐ หน่วยงาน เพื่อหารือ แน วท างก า รท าง านและคัดเลือกพื้นที่ในก า ร ด าเนินงานเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน 3. แ ต่ง ตั้งค ณ ะ ท า ง า น ใน ร ะ ดับ ต า บ ล เ พื่ อ ด า เ นิน ง า น ใ น พื้น ที ่แ ล ะ ลง พื้น ที ่จัดท าเ วที ประชาคมในหมู่บ้านทั้งหมด 17 หมู่บ้าน ในพื้นที่ ต าบลบ้านเสด็จ อ าเภอเมืองล าปาง จังหวัดล าปาง และได้รวบรวมปัญหาของเกษตรกร เพื่อจัดท า เป็น รูปเล่มแผนก า รพัฒน าด้ านก า รเกษต รก ร ระดับต าบล รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลของพื้นที่พื้นฐาน ในพื้นที่ต าบลบ้านเสด็จ 4. จัดท าเล่มแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมต าบล บ้านเสด็จ อ าเภอเมืองล าป าง จังหวัดล าป าง ฉบับสมบูรณ์ 5. การขับเคลื่อนพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหา ของเกษตรกรตามแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับต าบล ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนต าบลบ้านเสด็จ อ าเภอเมือง ล าปาง จังหวัดล าปาง และหน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กรเครือข่ายสถาบันการศึกษา ภาคประชาสังคม ด าเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาอาชีพภายใต้ ข้อเสนอจ านวน 3 ประเด็นได้แก่ 5.1 ส่งเสริมปศุสัตว์ (การเลี้ยงโค แพะ แกะ) ในพื้นที่แล้งน้ าและพื้นที่ ที่เหมาะสม


11 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 5.2 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมประเด็นการจัดการไฟปุา - หมอกควัน 5.3 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมประเด็นการจัดการขยะในชุมชน ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนจังหวัดล าปางและหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัยในพื้นที่จังหวัดล าปาง 6. การขับเคลื่อนการด าเนินงานโครงการไฟปุาและ หมอกควันจ านวน 6 หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่รอบดอย พระบาท 7. โครงก า รส่งเส ริมก า รเลี้ยงแพะ โดยได้ รับ การสนับสนุนจากกองทุนรอบ ประมวลภาพการด าเนินงานโครงการจัดท าแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมระดับต าบล


1 2 กิจกรรมการรับฟังความคิดเห็นเพื่อจัดท าแผนพัฒนาอาชีพ


1 3 เวทีประชาคมแผนในระดับหมู่บ้าน


14 การด าเนินกิจกรรมทบทวนแผนพัฒนาระดับหมู่บ้านและการบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


15 การขับเคลื่อนพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาของเกษตรกรตามแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับต าบล 1) ส่งเสริมปศุสัตว์ (การเลี้ยงโค แพะ แกะ) ในพื้นที่แล้งน้ าและพื้นที่ ที่เหมาะสม จัดประชุมเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ต าบลบ้านเสด็จและจัดตั้งกลุ่มพร้อมจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ชื่อวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรผู้ประกอบอาชีพ ปศุสัตว์ครบวงจรต าบลบ้านเสด็จ --------------------------------------------------------------------


16 การประชุมก าหนดหลักเกณฑ์เงื่อนไขและการบริหารจัดการการด าเนินงานของกลุ่ม เพื่อให้เกิดการต่อยอดและขยายสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ------------------------------------------------------------


17 การศึกษาดูงานในพื้นที่ต้นแบบการเลี้ยงโคขุน ณ เครือข่ายวิสาหกิจชุมชนการเลี้ยงโคขุน จังหวัดเชียงราย -----------------------------------------------------------------


18 2) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประเด็นการจัดการไฟป่า - หมอกควัน การขับเคลื่อนด าเนินงานการจัดจัดการไฟป่า – หมอกควัน ต าบลบ้านเสด็จ อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง -------------------------------------------------------------------


19 การปฏิบัติการตามแผนการบริหารจัดการตามโครงการฯ การปฏิบัติการท าแนวกันไฟ การจัดตั้งจุดสกัดและหอเฝ้าระวัง -----------------------------------------------------------------------------


20 แผนการฟื้นฟูระบบนิเวศสร้างฝาย ป่าชุมชน ------------------------------------------------------


21 3) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประเด็นการจัดการขยะในชุมชน ร่วมกับองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดล าปางและหน่วยงานภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัยในพื้นที่จังหวัดล าปาง ร่วมพิธีบันทึกความร่วมมือ (MOU) การพัฒนาเชิงบูรณาการด้านการบริหารจัดการขยะชุมชน ซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สร้างรายได้ สร้างอาชีพให้กับเกษตรกรและชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับการขับเคลื่อนแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมระดับต าบล


22 จัดเตรียมพื้นที่ จัดตั้งธนาคารขยะ ต าบลบ้านเสด็จ ณ โรงเรียนบ้านทรายมูล ประชุมคณะกรรมการและคณะท างานวางแผนเชื่อมโยงการบูรณาการการพัฒนาชุมชนต้นแบบต าบลบ้านเสด็จ (หมู่บ้านน าร่องการจัดการขยะชุมชนบ้านทรายมูล หมู่ที่ 13)


23 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 2 กิจกรรมการติดตามการปลูกไผ่เชิง เศรษฐกิจ กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่เป้าหมายของ โครงการ กลุ่มเกษต รกรผู้ปลูกไผ่ ให้เป็นพืช เ ศ ร ษ ฐ กิ จใ น พื้ น ที่จัง ห วั ด ล า ป าง โดยเกษตรกรที่สนใจในกลุ่มเปูาหมาย เดิม และเกษตรกรในพื้นที่ต าบลจัดท า แผนพัฒนาอาชีพที่สนใจพัฒนาอาชีพ ร่ ว ม ศึ กษ า ดูง า น แ ล ะ ติ ด ต า ม ก า ร ด าเนินงานที่ผ่านมา เปูาหมายทั้งหมด 30 คน เมื่อ วันที่ ๕ สิงห า คม ๒๕๖๕ ที่ผ่ านม า ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางน ากลุ่ม เกษตรกรผู้ปลูกไผ่ ลงพื้นที่ศึกษาดูงานโรงงานแปรรูป ไผ่เพื่อเชื่อมโยงไผ่เศรษฐกิจครบวงจร โดยมีหัวหน้า ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง พร้อมด้วย เจ้าหน้าที่ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง เจ้ าหน้ าที่องค์ก ารบ ริห ารส่ วนต าบลเส ริมขว า ก ลุ่ ม เ ก ษ ต ร ก ร ผู้ ป ลู ก ไ ผ่ ต า บ ล เ ส ริ ม ข ว า อ าเภอเสริมงาม กลุ่มเกษตรกรต าบลเมืองมาย อ าเภอแจ้ห่ม และกลุ่มเกษตรกรต าบลบ้านเสด็จ อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง ลงพื้นที่ศึกษาดูงานการ แปรรูปไม้ไผ่เศรษฐกิจครบวงจร (ต้นน้ าและกลางน้ า) ในพื้นที่อ าเภอเมือง อ าเภอเกาะคา และอ าเภอแม่ทะ ดังนี้ ๑) ศึกษาดูงานสวนไผ่ บริษัท สยามฮาร์เวสท์ จ ากัด (สาขาล าปาง) เพื่อศึกษาพันธุ์ไผ่ ขั้นตอน/ กระบวนการปลูก การดูแลไม้ไผ่ และเข้าเยี่ยมชม โรงงานแปรรูปของบริษัทฯ แห่งที่ ๑ เพื่อศึกษาดูงาน การแปรรูปไม้ไผ่เป็นตะเกียบ ไม้เสียบหมูปิ้ง กระบอก ข้ า ว ห ล า ม ห น อง มน ณ บ้ า น แพ ะห น อง แ ดง ต าบลทุ่งฝาย อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง จากนั้นได้เข้าเยี่ยมชมโรงงานของบริษัทฯ แห่งที่ 2 เพื่อดูกระบวนการอบ คัด ตาก ขัด และ บรรจุภัณฑ์ไม้ไผ่ ณ บ้านศาลาเม็ง ต าบลท่าผา อ าเภอเกาะคา จังหวัดล าปาง ๒ ) ศึ ก ษ า ดูง า นโ รงง า น ล า ป าง แ บ ม บู ที่ใช้วัตถุดิบจากไม้ไผ่ผลิตก้านธูปหอมจริญญ า โดยคณะฯ ได้ศึกษาดูกระบวนการตัด ผ่า ขัด แช่ อบ ต า ก แ ล ะอัด ธูป ณ บ้ าน ฮ่ องห้ า ต าบ ลน้ าโ จ้ อ าเภอแม่ทะ จังหวัดล าปาง


24 ประมวลภาพกิจกรรมการด าเนินงานกิจกรรม ณ บริษัท สยามฮาร์เวสท์ จ ากัด (สาขาล าปาง)


25 ประมวลภาพกิจกรรมการด าเนินงานกิจกรรม ณ โรงงานล าปางแบมบู ผลิตธูปหอมจริญญา


26 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 3 การด าเนินงานบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานในจังหวัด เป้าหมาย การประสานงานและขับเคลื่อนการ พัฒนาชุมชนท้องถิ่นร่วมกับหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายในเพื่อก าหนดแนวทางการ ปฏิบัติงานและการบูรณาการท างาน ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กร เครือข่าย สภาบันการศึกษา และภาค ประชาสังคม โดยมีพื้นที่เปูาหมายหลัก ในการด าเนินงาน 13 ต าบล 1. สืบเนื่องจากการลงนามบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือการพัฒนาเชิงบูรณาการของหน่วยงานจังหวัด ล าปาง รวมทั้งสิ้น 17 หน่วยงาน เมื่อวันที่ 27 มก ร า คม 2564 ณ ห้ องป ร ะชุ มเ อื้ องห ล วง อาคาร 52 มหาวิทยาลัยราชภัฎล าปาง ได้ลงนาม บันทึกความร่วมมือการพัฒนาเชิงบูรณาการของ หน่วยงานจังหวัดล าปาง องค์การบริหารส่วนจังหวัด ล าปาง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดล าปาง เครือข่ายองค์กรเอกชน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) สถาบันอุดมศึกษาจังหวัดล าปาง การคัดเลือกพื้นที่ในการด าเนินการ ร่วมลงนามบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือ การพัฒนาเชิงบูรณาการ ของหน่ ว ยง านจังห วัดล าป าง ร วมทั้งสิ้น 17 หน่วยงาน ทั้งนี้ ในส่วนของการขับเคลื่อนงานในพื้นที่ ได้ก าหน ดห รื อพัฒ น าคุณภ าพชี วิตเ กษต ร ก ร ที่ครอบคลุมทุกมิติทุกเรื่อง ได้คัดเลือกพื้นที่เปูาหมาย ในการจัดท าแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับต าบลหรือ แผนพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ปี ๒๕๖๔ จ านวน ๕ ต าบล และในปี 2565 ได้มีการขับเคลื่อนการท างาน ด้านพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยมีเปูาหมายในการ ขับเคลื่อนงาน 13 ต าบล 2. องค์การบริหารส่วนจังหวัดล าปาง เป็นหน่วยงาน หลักในการขับเคลื่อน โดยมีเปูาหมายทั้งหมด 13 ต าบล และ ได้ก าหนดจัดพิธีบันทึกความร่วมมือ (MOU) การพัฒนาเชิงบูรณาการด้านการบริหาร จัดการขยะชุมชน ซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สร้างรายได้ สร้างอาชีพให้กับเกษตรกรและชุมชน เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2565 ซึ่งสอดคล้องกับการขับเคลื่อน แผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมระดับต าบล ซึ่งมีพื้นที่ เปูาหมายจ านวน 13 ต าบล น าร่อง โดยมีพื้นที่ต าบล บ้านเสด็จ เป็นพื้นที่น าร่องในการขับเคลื่อนงาน ซึ่งเป็นกิจกรรมการบูรณาการแผนพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรมระดับต าบลปี 2565 และส่งเสริมการ ขับเคลื่อนกิจกรรมที่เกิดจากชุมชนและต่อยอดการ พัฒนาชุมชนให้เกิดการพัฒนาอาชีพ


27 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 3 การด าเนินงานบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานในจังหวัด 3. ร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนาด้านการบริหารจัดการ ขยะชุมชน ภายใต้โครงการอบรมฟื้นฟูสร้างจิตส านึก ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินโครงการ และสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม และบูรณาการความร่วมมือ โดยมีตัวแทนพื้นที่น าร่อง จ านวน 13 ต าบล ได้แก่ 1) บ้านห้วยน้ าหมู่ 14 ต าบลร่องเคาะ อ าเภอวังเหนือ 2) บ้านวังควาย หมู่ 6 ต าบลหลวงใต้ อ าเภองาว 3) บ้านแจ้ซอน ต าบลแจ้ซ้อน อ าเภอเมืองปาน 4) บ้านไผ่แพะ หมู่ 5 ต าบลเมืองมาย อ าเภอแจ้ห่ม 5) บ้านแม่ตาลน้อย หมู่ 8 ต าบลเวียงตาล อ าเภอห้างฉัตร 6) บ้านกิ่ว หมู่ 5 ต าบลไหล่หิน อ าเภอเกาะคา 7) บ้านทรายมูลพัฒนา หมู่ 13 ต าบลบ้านเสด็จ อ าเภอเมืองล าปาง 8) บ้านทุ่งพัฒนา หมู่ 12 ต าบลหัวเสือ อ าเภอแม่ทะ 9) บ้านสบเรียหมู่ 8 ต าบลสบปราบ อ าเภอสบปราบ 10) บ้ านหั วฝ ายหล า ยทุ่ง หมู่ 8 ต าบ้ านดง อ าเภอแม่เมาะ 11) บ้านเด่นแก้ว หมู่ 8 ต าบลล้อมแรด อ าเภอเถิน 12) บ้านแม่ผึ้ง หมู่8 ต าบลเสริมงาม อ าเภอเสริมงาม 13) บ้านผาปัง หมู่ 2 ต าบลผาปัง อ าเภอแม่พริก โดยมีตัวแทนหมู่บ้านและตัวแทนจากท้องถิ่น เข้าร่วม กิจกรรมหมู่บ้านละ 3 – 5 คน เพื่อร่วมกันจัดท า แผนการขับเคลื่อนงานในพื้นที่และการสร้างผู้น า ในพื้นที่น าร่องทั้ง 13 ต าบล 4. ลงพื้นที่ติดตามการด าเนินงานการจัดการขยะ ในพื้นที่ต้นแบบน าร่องในพื้นที่จังหวัดล าปาง ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนจังหวัดล าปาง และคณะท างาน ติดตามประเมินโครงการฯ หน่วยงานภาครัฐ และ มหาวิทยาลัยที่ร่วมด าเนินกิจกรรมในครั้งนี้เพื่อติดตาม การด าเนินงานและศึกษากระบวนการบริหารจัดการ ขยะ ของพื้นที่ในต าบลน าร่อง ซึ่งด าเนินงานได้ดีมาก และชุมชนเกิดรายได้จากการขายขยะ ในครัวเรือน 28


ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 3 การด าเนินงานบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานในจังหวัด เป้าหมาย 5. ร่วมด าเนินกิจกรรมโครงการอบรมฟื้นฟูสร้าง จิตส านึก ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อขับเคลื่อนการด าเนิน โครงการและสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ในก า รดูแล รักษ าสิ่งแ วดล้อม แล ะบู รณ าก า ร ความร่วมมือ ในก ารจัดกา รสิ่งแวดล้อมชุมชน อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้ พื้นที่น าร่อง 13 ต าบล ไ ด้ ส รุปบท เ รี ย น ก า รท าง าน แ ล ะ แ ล กเป ลี่ ย น ประสบการณ์การท างาน ในพื้นที่ซึ่งมีความแตกต่าง ท าให้แต่ชุมชนได้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาการ ด าเนินง านในพื้นที่ต่อไป ร่ วมถึงก าหนดแผน การด าเนินงานในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ชุมชนน าร่อง ทั้ง 13 ต าบล ได้แผนการขับเคลื่อนงานในพื้นที่ เพื่อให้เกิดการด าเนินงานอย่างเนื่องและเป็นพื้นที่ รูปธรรมต่อไป 6. คณะท างานระดับจังหวัดได้มีการประกาศแต่งตั้ง คณะท างานเพื่อด าเนินงานโครงการในพื้นที่ได้อย่าง ต่อเนื่อง รวมถึงเพื่อให้มีการขับเคลื่อนการท างาน ในพื้นที่ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในปี 2566 ได้มีการ ก าหนดเปูาหมายการท างานในพื้นที่เพื่อขับเคลื่อน การพัฒนาเชิงบูรณาการด้านการบริหารจัดการขยะ ชุมชน ซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สร้างรายได้ สร้างอาชีพ ให้กับเกษตรกรและชุมชน


29 การด าเนินงานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานในจังหวัด


ลงพื้นที่หนุนเสริมการท างานในชุมชน ร่วมกับท างานคณะบูรณา การ 30 การประชุมร่วมกับทีมบูรณาการจังหวัดและการขับเคลื่อนงานในพื้นที่


31 ร่วมจัดกระบวนการขับเคลื่อนงานและพัฒนาผู้น าในพื้นที่ต าบลต้นแบบ


32 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 4 การช่วยเหลือเกษตรกรในการจ าหน่าย ผลผลิต ร่วมกับหน่วยงานในจังหวัด เป้าหมาย ก า รช่ วยเหลือเกษต รก รในก า รช่ วย กระจายผลผลิตทางการเกษตรกรที่ได้รับ ผลกระทบจากปัญหาการแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ 2019 (Covid -19) ซึ่งเป็นผลผลิตของเกษตรกร ในพื้นที่จังหวัดล าปางได้แก่ ส้มเขียวหวาน ลิ้นจี่ สับปะรด และส้มเกลี้ยง ตามที่ สภาเกษตรกรแห่งชาติได้จัดท าบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือกับบริษัท ไปรษณีย์ไทย จ ากัด เพื่อประสงค์จะร่วมมือกันในการพัฒนาระบบงาน ในการบริการเกษตรกรกลุ่มเกษตรกร กลุ่มองค์กร เกษตรกร เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเกษตรกร อย่างยั่งยืน ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง ได้รับแจ้ง ปัญห าจ ากเกษต รกรและกลุ่มเกษต รกรขอให้ ช่วยเหลือในการหาช่องทางจ าหน่ายผลผลิตทางการ เ กษ ต ร อ อ กสู่ ต ล า ด จ าน ว น 4 ช นิ ด ไ ด้ แ ก่ ส้มเขียวหว าน ลิ้นจี่ สับปะรด แล ะส้มเกลี้ยง ซึ่ง ส า นั กง า น ส ภ า เ ก ษ ต ร ก ร จัง ห วั ด ล า ป าง ได้ประสานงานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการแก้ไขให้กับเกษตรกร ไ ด้ แ ก่ 1 ) ส า นั กง า นพ า ณิ ช ย์ จัง ห วั ด ล า ป าง 2) ส านักงานเกษตรจังหวัดล าปาง 3) เกษตรจังหวัด ล าปาง 4) ส านักงานเกษตรอ าเภอ 5) ส านักงาน ไปรษณีย์เขต 5 เชียงใหม่ 6) ส านักงานไปรษณีย์ ล าปาง 7) ส านักงานไปรษณีย์อ าเภอ 8) เกษตรและ สหกรณ์จังหวัดล าปาง และหน่วยงานในพื้นที่ ที่เกี่ยวข้อง จึงได้สรุปผลในการช่วยเหลือเกษตรกร ดังนี้ 1. ส้มเขียวหวาน กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกส้มเขียวหวาน บ่อสี่เหลี่ยม ต าบลปงเตา อ าเภองาว จังหวัดล าปาง ปริมาณผลผลิตที ่จะออกจ าหน ่ายทั้งสิ้นจ านวน ป ริม าณผ ลผลิต 444 ,500 กิโลก รัม บ ริษัท ไปรษณีย์ไทย จ ากัด และหน ่วยงานในจังหวัดช ่วย ก ร ะ จ า ย ผ ล ผ ลิต ออก จ าหน ่า ย จ าน วนทั้ง สิ้น 31,860 กิโลกรัม สภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง สนับสนุนเกษตรกรจ าหน่ายผลผลิตผ่านสื่อ Online รวมจ าหน่ายทั่วไป จ านวน 413,140 กิโลกรัม คิดเป็นเงินทั้งสิ้น 7,152,900 บาท 2. ลิ้นจี ่ กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่บ้านบ่อสี่เหลี่ยม และ ต าบลปงเตา อ าเภองาว จังหวัดล าปาง มีปริมาณ ผลผลิตที ่จะออกจ าหน ่ายทั้งสิ้นจ านวน 162,000 กิโลกรัม บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ ากัด และหน่วยงาน ในจังหวัด ช่วยกระจายผลผลิตออกจ าหน่าย


33 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 4 การช่วยเหลือเกษตรกรในกาจ าหน่าย ผลผลิตร่วมกับหน่วยงานในจังหวัด เป้าหมาย (ต่อ) จ านวนทั้งสิ้น 3,195 กิโลกรัม และเกษตรกร จ าหน่ายเอง จ านวน 158,805 กิโลกรัม คิดเป็นเงิน ทั้งสิ้น 4,875975 บาท 3. สับปะรด สับปะรด เกษตรกรต าบลบ้านเสด็จ อ าเภอเมือง ล าปาง และต าบลบ้านสา อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง ปริมาณผลผลิตที ่จะออกจ าหน ่ายทั้งสิ้นจ านวน จ านวน 46,729,280 กิโลกรัม สภาเกษตรกร จังหวัดล าปางประสานหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ช่วยจ าหน่ายและกระจายผลผลิตจ านวนทั้งสิ้น 116,150.00 กิโลกรัม และสนับสนุนเกษตรกร จ าหน่ายเองจ านวน 46,607,630 กิโลกรัม โดยในพื้นที่จ าหน่ายเป็นสับปะรดโรงงาน และผลสด ในราคากิโลกรัมละ 2 – 5 บาท ส านักงานพาณิชย์ จัง ห วั ด ล า ป าง ส นั บ ส นุ น ก ล่ อง แ ล ะ ค่ า ส่งฟ รี จ านวน 250 กล่อง ให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เกษตรอินทรีย์ต าบลบ้านเสด็จ กลุ่มวิสาหกิจฯขาย ผลผลิต 2,500 กิโลกรัม รวมการช่วยเหลือการ จ าหน่ายทุกช่องทาง เป็นเงิน 140,802,090 บาท 4. ส้มเกลี้ยง กลุ่มแปลงใหญ่ส้มเกลี้ยงบ้านเกาะหัวช้าง ต าบลพระบาทวังตวง อ าเภอแม่พริก จังหวัดล าปาง ปริมาณผลผลิตที ่จะออกจ าหน ่ายทั้งสิ้นจ านวน ปริมาณผลผลิต 300,000 กิโลกรัม ส านักงาน สภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ในการกระจายผลผลิต เกษตรกรจ าหน่าย ออนไลน์ โดยได้รับการสนับสนุนกล่องบรรจุภัณฑ์พร้อม แทร๊ก ส่งฟรี จ านวน 500 กล่อง จากส านักงานพาณิชย์ จังหวัดล าปางและสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง สนับสนุนเกษตรกรจ าหน่ายเองและเกษตรกรจ าหน่าย ผ่าน Online โดยขนส่งผ่านบริษัทไปรษณีย์ไทย จ ากัด จ า น ว น 2 9 4 , 5 0 0 กิโ ล ก รั ม ร ว ม เ ป็ น เงิ น 3,966,000 บาท


34 การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกส้มเขียวหวานบ้านบ่อสี่เหลี่ยม อ าเภองาว จังหวัดล าปาง


35 ติดตามคุณภาพผลผลิตส้มเขียวหวานและจ าหน่ายในปั๋ม PTT


36 ส่งส้มเขียวหวานหน่ายร่วมกับไปรษณีย์


37 ลงพื้นที่ติดตามและช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ ต าบลปงเตา อ าเภองาว จังหวัดล าปาง


3 8 ช่วยเกษตรกรกระจายผลผลิต


Click to View FlipBook Version