The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานสภาเกษตรกรจังหวัดลำปาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Palika Kaedsiri, 2023-01-19 02:42:14

รายงานประจำปี 2565

รายงานผลการดำเนินงานสภาเกษตรกรจังหวัดลำปาง

Keywords: สกจ.ลปาง

39 ลงพื้นที่ติดตามและช่วยเหลือเกษตรกรผู้สับปะรด จังหวัดล าปาง 41


40 การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยเหลือในการจ าหน่ายผลผลิตสับปะรด


41 ช่วยเกษตรกรกระจายผลผลิต


42 ลงพื้นที่ช่วยเหลือเกษตรกรและช่วยกระจายผลผลิตส้มเกลี้ยง จังหวัดล าปาง การจ าหน่ายผลผลิตผ่านระบบออนไลน์


43 2. โครงการที่ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางมอบหมาย ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 1 โครงการอบรมเชิ งปฏิบัติ การเรื่ อง แนวทางยกระดับความรู้และเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ จากไผ่แบบครบ วงจรตามโมเดล BCG โดยความร่วมมือ ระหว่างสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเกษตร (สท.) และหน่วยงาน พันธมิตร เป้าหมายการด าเนินงาน การด าเนินงานมีกิจกรรม (ระหว่างวันที่ 5– 6 พฤศจิกายน ๒๕๖5) วัสดุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้การเลือกชนิดพันธุ์ ไผ่ที่เหมาะสมกับการใช้งาน เครื่องมือ เครื่องจักรและเทคนิคต่างๆในด้านการแปร รูปไม้ไผ่เป็นเฟอร์นิเจอร์และเครื่องใช้ใน รูปแบบต่างๆ ให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่าง คุ้มค่า 2. เพื่อทราบถึงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ จากไผ่และพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จากไผ่ ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 3. เพื่อทราบถึงแนวทางการพัฒนาไม้ไผ่ แบบครบวงจรตามโมเดล BCG และการใช้ ประโยชน์จากไม้ไผ่อย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน 4. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมฯ ได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ รวมทั้งเกิดเครือข่ายความร่วมมือในกลุ่ม แปรรูปเฟอร์นิเจอร์และเครื่องใช้ไม้ไผ่ เพื่อการยกระดับความรู้ เทคโนโลยี และการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง การด าเนินงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่ อง แนวทางยกระดับความรู้ และเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากไผ่แบบครบวงจรตามโมเดล BCG โดยความร่วมมือระหว่างสถาบันการจัดการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) และหน่วยงาน พันธมิตรได้ด าเนินก า รเส ร็จสิ้นแล้ วส านักง าน สภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง จึงขอสรุปการด าเนินงาน โครงการฯ ดังนี้ 1. การบรรยายและ workshop ในหัวข้อ 1.1 บรรยาย“การใช้ประโยชน์จากไม้ไผ่แบบครบ วงจรตามโมเดล BCG –ล าปาง” 1.2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับชนิดพันธุ์ไผ่ที่เหมาะสม กับการใช้งาน 1.3 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่จ าเป็นและ เหมาะสม 1.4 การท าแบบ เทคนิคการขึ้นรูป การออกแบบ ผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์และเครื่องใช้ไม้ไผ่ 2. การจัดแสดงนิทรรศการแบบผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ นิทรรศการรูปแบบผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ได้แก่ เฟอร์นิเจอร์ไม้ไผ่ (โต๊ะ เก้าอี้ โซฟา ของใช้ในครัวเรือน ผังการผลิต และเครื่องมือ เครื่องจักรงานไม้ไผ่ เป็นต้น) กิจกรรมศึกษาดูงานโรงงาน ผู้เข้าร่วมอบรมเข้าเยี่ยมชมโรงงานไซแอมวู๊ดเด้นแวร์ จ ากัด เพื่อดูกระบวนการในการแปรรูปและเครื่องจักร ในการผลิตและการแปรรูปไม้ เพื่อน าไปใช้ในการแปรรูป ไม้ไผ่ การอบรมครั้งนี้มีกลุ่มเปูาหมายเป็นเกษตรกร แกนน าวิสาหกิจชุมชน ช่างฝีมือ เจ้าหน้าที่ส่งเสริม ผู้ประกอบการ และสถาบันการศึกษาในจังหวัดล าปาง จ านวน 50 คน ซึ่งการอบรมในครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมอบรม เกินเปูาหมาย และได้รับเกียรติจากหน่วยงานภาครัฐ หลายภาคส่วนเข้าร่วมได้แก่ 1) นายจ าลักษ์ กันเพ็ชร์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดล าปาง 2) นายศรีสะเกษ สมาน รองเลขาธิการสภาเกษตรกร แห่งชาติ


44 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 1 โครงการอบรมเชิ งปฏิบัติ การเรื่ อง แนวทางยกระดับความรู้และเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากไผ่แบบ ครบวงจรตามโมเดล BCG โดยความ ร่ วมมือระหว่ างสถาบันกา รจัดกา ร เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) และหน่วยงานพันธมิตร (ต่อ) 3) นายวิจารณ์ ฤชุโรจน์ จากบริษัทวีซี แบมบู อินดัสทรี 4) นายปราโมทย์ ห่อนาค ผู้เชี่ยวชาญด้านเครื่องจักร แปรรูปผลิตภัณฑ์จากไผ่ 5) นายสัญลักษณ์ เลิศปัญญานุช ที่ปรึกษาสมาคม ผู้ประกอบการค้าไม้จังหวัดล าปาง 6) นางณิชรัศม์ แลวงค์นิล หัวหน้าส านักงานสภา เกษตรกรจังหวัดล าปาง 7) คุณอุไรพรรณ ปรางอุดมทรัพย์ ผู้อ านวยการ ฝุายจัดการความรู้และสร้างความตระหนัก สถาบัน การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) การอบรมเชิงปฏิบัติการและการแสดงนิทรรศการรูปแบบผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่


45 การแสดงนิทรรศการแบบผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่


46 การศึกษาดูงานในโรงงานไซแอมวู๊ดเด้นแวร์ จ ากัด


47 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 2 การขับเคลื่อนการพัฒนาไผ่พืชเศรษฐกิจ สู่การพัฒนา BCG Model ด้านไผ่ เป้าหมาย 1. จัดท าแผนงานการขับเคลื่อนการ พัฒน าเศ รษ ฐกิจชี วภ าพ เศ รษ ฐกิ จ หมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว(BCG Model) 2. ขับเคลื่อนงานและประสานความ ร่วมมือกับหน่วยงานและภาคส่วนอื่นที่ เกี่ยวข้อง 3. ส่งเสริม สร้างการรับรู้ และพัฒนา สินค้าด้านไผ่ จังหวัดล าปาง ภายใต้ BCG Model 4. พัฒนาเกษตรกรให้เป็นผู้น าด้านการ ผลิตเพื่อสร้างรายได้และเศรษฐกิจยั่งยืน ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง ด าเนินงานขับ เลื่อนการด าเนินงาน เรื่องไผ่ อย่างต่อเนื่อง โดยมีการ ประสานงานและติดตามการท างานจากหน่วยงาน ต่างๆ ได้แก่ 1) ต้อนรับผู้บริหารสภาเกษตรกรแห่งชาติ ลง พื้นที่ติดตามการด าเนินงานไผ่ ของส านักงานสภา เกษตรกรจังหวัดล าปาง ณ พื้นที่ปลูกไผ่ต าบลเมือง มาย อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง 2) ให้การต้อนรับนายอิสระ ว่องกุศุลกิจ ประธาน คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ พร้อม คณะฯในการลงพื้นที่ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ จังหวัดล าปาง ความร่วมมือระหว่างคณะกรรมการ ปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจคณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG Model สาขา เกษตรและคณะกรรมการเพิ่มมูลค่าพืชเกษตร หอการค้าไทย โดยลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมชมสถานที่ เพาะปลูกและแปรรูปไผ่ โดยใช้BCG Model ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา ต า บ ล แ ม่ สุ ก อ า เ ภ อ แ จ้ ห่ ม จัง ห วั ด ล า ป าง สภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง ได้จัดท าโครงการส่งเสริม การปลูกไผ่เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและการแปรรูปไผ่ แบบครบวงจร งบประมาณทั้งสิ้น 163 ล้านบาท ด าเนินการในระยะเวลา ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ – พ.ศ. ๒๕๗๐) ปีละ ๓๒.๖๐ ล้านบาท เพื่อมอบให้กับนาย อิสระ ว่องกุศุลกิจ ประธานคณะกรรมการปฏิรูป ประเทศด้านเศรษฐกิจ ในการพิจารณาสนับสนุน งบประมาณในการด าเนินการส่งเสริมการปลูกไผ่ ในพื้นที่จังหวัดล าปางต่อไป 3) หัวหน้าส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง เกษตรและสหกรณ์จังหวัดล าปาง และนายองอาจ ปัญญาชาติรักษ์ ผู้จัดการฟาร์มเกษตรอินทรีย์ เพชรลานนา เข้าพบปะผู้บริหารบริษัทเจริญแสง จ า กั ด เ พื่ อห า รื อ แน ว ท าง ก า ร น าไ ม้ไ ผ่ เ ข้าสู่ กระบวนการแปรรูปอุตสาหกรรม ดังนี้ (1) Material อันได้แก่ ชิ้นงานตัวอย่าง ขนาด และรูปแบบไม้อัดไผ่ที่จะท ามาขึ้นรูป ชนิดและขนาด เครื่องจักร เป็นต้น


48 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 2 การขับเคลื่อนการพัฒนาไผ่พืชเศรษฐกิจ สู่การพัฒนา BCG Model ด้านไผ่ (2) Process อันได้แก่ กระบวนการรับวัตถุดิบไม้ ไผ่เข้าโรงงาน ขั้นตอนและกระบวนการแปรรูปของ โรงงาน เป็นต้น (3) Produce ที่ได้จากการขึ้นรูป จะน ามาเป็น ผลิตภัณฑ์ต้นแบบในการผลิตไม้ไผ่แปรรูปต่อไป ณ บริษัทเจริญแสง จ ากัด (Charoensang Co., Ltd) ต าบลกล้วยแพะ อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง 4) จังหวัดล าปาง ได้ประกาศคณะกรรมการ บริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดล าปาง (ก.บ.จ.ล าปาง) เรื่อง แต่งตั้งคณะท างานขับเคลื่อน การพัฒนาเศรษฐกิจ : BCG Mode จังหวัดล าปาง เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2565 โดยมีการแต่งตั้ง คณะท างานขับเคลื่อนการพัฒนาBCG Model ด้านไผ่ โ ด ย มี ป ร ะ ธ าน ส ภ า เ กษ ต ร ก ร แห่ง ช า ติ แ ล ะ ประธานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง เป็นประธาน คณะท างาน และมีหัวหน้าส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง เป็นคณะท างานและเลขานุการ การติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนการปลูกไผ่ กลุ่มเกษตรกรปลูกไผ่ ต าบลเมืองมาย อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง


49 ภาพการลงพื นที่คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ และคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG Model สาขาเกษตร


50 เข้าพบปะผู้บริหารบริษัทเจริญแสง จ ากัด เพื่อหารือแนวทางการน าไม้ไผ่ เข้าสู่กระบวนการแปรรูปอุตสาหกรรม


51 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 3 การขับเคลื่อนการปลูกกัญชา พืชสมุนไพร เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ วัตถุประสงค์ 1 . เ พื่ อติ ด ต า ม ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ก า ร ด าเนินการโครงการศึกษารูปแบบการปลูก กัญชาในระบบแปลงเปิดตามแนวทางกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา จังหวัดล าปางเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ แผนไทย 3. เพื่อน าเสนอผลการด าเนินงานโครงการ ขับเคลื่อนการปลูกกัญชาน าร่องเพื่อ ประโยชน์ทางการแพทย์ และเผยแพร่ งานวิจัยเกี่ยวกับการปลูกกัญชนให้กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 1. สภาเกษตรกรแห่งชาติ และสภาเกษตรกรจังหวัด ล าปาง โดยหัวหน้าส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัด ล าปาง น าวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลาน นา เข้าร่วมงานมหกรรมสมุนไพรไทย ครั้งที่ 18 โดยสภาเกษตรกรแห่งชาติ ส านักงานสภาเกษตรกร แห่งชาติ ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง และวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา ได้จัดนิทรรศการแสดงผลงานการวิจัยและให้ความรู้ การศึกษารูปแบบการปลูกกัญชาในระบบแปลงเปิด ตามแนวทางวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์ เพชรลานนา จังหวัดล าปาง เพื่อประโยชน์ทาง การแพทย์แผนไทย ด้านการจัดการดินและธาตุอาหาร ที่ เ ห ม า ะ ส ม ส า ห รั บ ก า ร ผ ลิ ต กั ญ ช า อิ น ท รี ย์ และการประยุกต์ใช้เศษเหลือกัญชาทางการแพทย์ แทนย าปฏิชีวนะในก า รเลี้ยงไก่ไข่และไก่เนื้อ ทั้งนี้ นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ ได้พูดคุย แลกเปลี่ยนแนวคิดและรูปแบบฟาร์มปลูกกัญชา ต้นแบบของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชร ลานนาที่ได้รับการสนับสนุนให้มีการพัฒนาต่อยอด การใช้ประโยชน์จากเศษเหลือกัญชาทางการแพทย์ ในการปศุสัตว์ เพื่อลดต้นทุนการผลิต ลดการใช้ยา ปฏิชีวนะ ปลอดสารเคมี มุ่งสู่การเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจแก่เกษตรกรไทยต่อไป ณ รอยัล พารากอน ฮอลล์ ชั้น 5 สยามพารากอน กรุงเทพมหานคร 2. กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ติดตามความก้าวหน้า การปลูกกัญชาและกัญชง ประธานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง และหัวหน้าส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง พร้อมด้วยวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตร อินทรีย์เพชรลานนา ร่วมให้การต้อนรับนายแพทย์ ยงยศ ธรรมวุฒิ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก และนายแพทย์พิเชฐ บัญญัติ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พร้อมคณะฯ ในการลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าการผลิต (ปลูก) กัญชา สายพันธุ์เพชรลานนา crop 3 และกัญชง สายพันธุ์Charlotte's Angel crop 1 เพื่อประโยชน์ ทางการแพทย์ ปีการผลิต 2564/65


52 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 3 การขับเคลื่อนการปลูกกัญชา พืชสมุนไพร เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ ทั้งนี้ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และคณะผู้ติดตามฯ ได้เข้าเยี่ยมชมแปลงปลูกกัญชา โรงเก็บเกี่ยว ผึ่งตาก และคัดแยกชิ้นส่วนกัญชา รวมทั้งได้ร่วมหารือปัญหา ความต้องการ และ แนวทางการพัฒนาผลิต (ปลูก) กัญชา เพื่อการ น าไปใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดทางการแพทย์ต่อไป ณ แปลงปลูกกัญชาและกัญชงวิสาหกิจชุมชนกลุ่ม เกษตรอินทรีย์เพชรลานนา ต าบลแม่สุก อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง 3.ติดตามการปลูกกัญชาcrop 3 และการปลูกกัญชง crop 1 ของวิสาหกิจชุมชนเพชรลานนา นายแพทย์ ขวัญชัย วิศิษฐานนท์ รองอธิบดีกรมการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก พร้อมคณะฯ และ กองพัฒนายาแผนไทยและสมุนไพร กระทรวง สาธารณสุข ในการลงพื้นที่เยี่ยมชมแปลงปลูกกัญชา พร้อมติดตามความก้าวหน้าการผลิต (ปลูก) กัญชา สายพันธุ์เพชรลานนา crop 3 และกัญชง สายพันธุ์ Charlotte's Angel crop 1 เพื่อประโยชน์ทาง การแพทย์ ณ แปลงปลูกกัญชาวิสาหกิจชุมชนกลุ่ม เกษตรอินทรีย์เพชรลานนา ต าบลแม่สุก อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง 4. คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดฯลงพื้นที่สถานที่ ผลิตซึ่งยาเสพติดให้โทษประเภท5เฉพาะกัญชง ในการลงพื้นที่ของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ให้โทษ จังหวัดล าปาง ประกอบด้วย นายอ าเภอแจ้ห่ม ผู้ก ากับการสถานีต ารวจภูธรแจ้ห่ม ผู้แทนส านักงาน สาธารณสุขจังหวัดล าปาง ผู้แทนส านักงานปูองกัน และปราบปรามยาเสพติดภาค 5 ผู้แทนเกษตรจังหวัด ล าปาง ผู้แทนปกครองอ าเภอแจ้ห่ม และผู้แทน ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอแจ้ห่ม เพื่อประเมินและ ตรวจสถานที่ผลิต (ปลูก) ซึ่งยาเสพติดให้โทษ ในประเภท 5 เฉพาะกัญชง (Hemp) ตามมาตรการ รักษาความปลอดภัย (SOP) ในการต่อใบรับอนุญาต ผลิต (ปลูก) กัญชง ปีการผลิต 2565 ณ โรงเรือน ปลูกกัญชง วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชร ลานนา ต าบลแม่สุก อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง


53 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 3 การขับเคลื่อนการปลูกกัญชา พืชสมุนไพร เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ 5. ส่งมอบช่อดอกกัญชาแห้ง 200 กว่ากิโลกรัม ให้กับกระทรวงสาธารณสุข ส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง ร่วมกับคณะกรรมการเก็บเกี่ยวกัญชา วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนาส่งมอบ ช่อดอกกัญชาแห้งให้กับกองพัฒนายาแผนไทยและ สมุนไพร กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือกกระทรวงสาธารณสุข เพื่อการน าไปใช้ ประโยชน์ในส่วนผสมต ารับยาแจกจ่ายให้กับผู้ปุวยทั่ว ประเทศ จ านวน 205.375 กิโลกรัม ทั้งนี้ ผู้แทน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดล าปาง และผู้แทนสถานี ต ารวจภูธรแจ้ห่ม ร่วมเป็นพยานการส่งมอบช่อดอก กัญชาแห้งครั้งนี้ด้วย ณ แปลงปลูกกัญชาวิสาหกิจ ชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา ต าบลแม่สุก อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง แปลงกัญชง และกัญชา


54 ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง น าวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา เข้าร่วมงานมหกรรมสมุนไพรไทย ครั้งที่ 18


55 คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดฯลงพื้นที่สถานที่ผลิตซึ่งยาเสพติดให้โทษประเภท5 เฉพาะกัญชง ในการลงพื้นที่ของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ จังหวัดล าปาง


56 ส่งมอบช่อดอกกัญชาแห้ง 200 กว่ากิโลกรัม ให้กับกระทรวงสาธารณสุข


57 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 4 การติดตามโครงการแพะ - แกะ ล้านนา เฟส ๑ ภายใต้โครงการเสริมสร้างความ เข้มแข็งแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะ – แกะ จังหวัดล าปาง ตามที่ส านักงานปศุสัตว์จังหวัดล าปาง ได้มีหนังสือถึงส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง ด าเนินการท าแผนการ ติดตามเกษตรกรโครงการแพะ-แกะ ล้านนา โดยด าเนินการในระหว่างเดือน มีน าคม – เดือนพฤษภ าคม ๒๕๖๕ กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยง แพะที่ร่วมโครงการแพะ-แกะล้านนา ของกรมปศุสัตว์ การตรวจติดตามกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะที่เข้าร่วม โครงการแพะ-แกะล้านนา ชองกรมปศุสัตว์ ร ะ ห ว่ าง วั น ที่ ๒ ๑ – ๓ ๑ มี น า ค ม ๒ ๕ ๖ ๕ ณ พื้นที่อ าเภอแจ้ห่ม อ าเภอวังเหนือ อ าเภอสบปราบ แ ล ะ อ า เ ภ อ เ ส ริ ม ง า ม จั ง ห วั ด ล า ป า ง กลุ่มเกษตรกรติดตามจ านวน ๘ กลุ่ม คือ กลุ่มเลี้ยง แพะแกะล้านนาบ้านทุ่งคาใต้, กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแพะชาววัง, กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแพะแกะลูก พญาวัง, กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแพะแกะแม่กัวะ, กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแพะบ้านแก่น, กลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนกลุ่มผู้เลี้ยงแพะอ าเภอเสริมงาม, วิสาหกิจชุมชน กลุ่มผู้เลี้ยงแพะเมืองเสริม และวิสาหกิจชุมชน กลุ่มผู้เลี้ยงแพะแกะล้านนาอ าเภอเสริมงาม ซึ่งทั้ง ๘ กลุ่ม ได้ผ่านการเลี้ยงแพะมาเป็นเวลาเกือบ ๓ ปี เกษตรกรเกิดการเรียนรู้และสามารถจัดการภายใน ฟาร์มได้ดีขึ้น ปัญหาสูญเสียภายในฟาร์มลดลงแต่ยัง ไม่ ส า ม า ร ถ ข า ย แพ ะ อ ย่ างต่ อเนื่ อง เนื่ อง จ า ก สถานการณ์ Covid-19 ท าให้เกษตรกรมีความกังวล ต่อการจ่ายเงินในงวดแรกให้กับส านักงานปศุสัตว์ จังหวัดล าปาง ปัจจุบันกลุ่มเกษตรกรทุกกลุ่มได้มีการ ด าเนินการวางแผนเพื่อจะให้สามารถมีเงินเพื่อจ่ายหนี้ ก้อนแรก พบว่ายังมีเกษตรกรหลายคนที่ยังไม่สามารถ ด าเนินการจ่ายได้ทั้งหมด ส านักงานสภาเกษตรกร จังหวัดล าปาง ได้ลงพื้นที่เพื่อส ารวจปัญหา จึงขอสรุป ข้อเสนอของกลุ่มเกษตรกรให้กับส านักงานปศุสัตว์ จังหวัดล าปาง ดังนี้ ข้อเสนอต่อกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ๑) การขยายเวลาการจ่ายเงินโดยเริ่มจ่ายงวดแรก ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ๒) การขยายเวลาการจ่ายเงินจาก 5 ปี เป็น 10 ปี โดยเริ่มจ่ายงวดแรกตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 (จ่ายปีละ 20,000 บาท) ๓) มาตรการเยียวยาเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยสนับสนุน พ่อพันธุ์เลือดสูง รายละ 1 ตัว แม่พันธุ์ รายละ 4 ตัว


58 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 4 กิจกรรมติดตามโครงการแพะ - แกะ ล้าน น า เฟ ส ๑ ภ า ยใ ต้โ ค ร ง ก า ร เสริมสร้างความเข้มแข็งแก่เกษตรกร ผู้เลี้ยงแพะ – แกะ จังหวัดล าปาง ข้อเสนอต่อส านักงานปศุสัตว์จังหวัด ๑) จัดฝึกอบรมเรื่องการเจาะเลือด การฉีดยา การผสมเทียม การดูแลสุขภาพ ๒) การสนับสนุนเวชภัณฑ์จากส านักงานปศุสัตว์ จังหวัดล าปาง (ยาถ่ายและยาบ ารุง) ๓) เกษตรกรต้องการพันธุ์หญ้ารูซี่เพื่อน ามาเป็นพืช อาหารสัตว์ในแปลง (คนละ 2 ไร่ๆ ละ 2 กิโลกรัม) ๔) การรายงานข้อมูลต่อปศุสัตว์จังหวัดล าปาง ให้รายงานผ่านปศุสัตว์อ าเภอเพื่อให้ปศุสัตว์อ าเภอ ได้รับทราบข้อมูลในพื้นที่ เนื่องจากเป็นหน่วยที่ต้อง ปฏิบัติงานในพื้นที่ ๕) การแจกวัสดุอุปกรณ์ที่ส านักงานปศุสัตว์จังหวัด แจกควรมีการสอบถามเกษตรกรในแต่ละกลุ่มเพื่อให้ ตรงตามความต้องการเพื่อน าไปใช้ประโยชน์ได้ตรงจุด ๖) การหาตลาดแพะให้กับเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ ข้อเสนอต่อรัฐบาล คือ ให้ประกันราคาแพะไม่ต่ ากว่า 100 บาท/กิโลกรัม กิจกรรมการลงพื้นที่การติดตามโครงการแพะ แกะ


59 ภาพการลงพื้นที่การติดตาม


60 ล าดับที่ ผลงานส าคัญ ผลงานที่เกิดขึ้น 5 โค ร งก า รพัฒน า วิทย าศ าสต ร์ แล ะ เทคโนโลยีเพื่อบริหารจัดการทรัพยากร น้ า ตามแนวพระราชด าริโดยชุมชนอย่าง ยั่งยืน ตามที่ ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปางคัดเลือก พื้นที่เปูาหมายซึ่งได้รับความเดือดร้อนและมีปัญหา ด้ าน ก า รบ ริห า รจั ด ก า รน้ าในปี พ . ศ . 2564 จ านวน 1 พื้นที่ เป็นพื้นที่น าร่อง ได้แก่ พื้นที่ ต าบล ทุ่งผึ้ง อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง โดยเทศบาลต าบล ทุ่งผึ้ง อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง ได้จัดท าโครงการ การจัดการน้ าชุมชนสู่การพัฒนาเกษตรกรอย่างยั่งยืน เสนอขอรับงบประมาณภายใต้โครงการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ าตามแนวพระราชด าริโดยชุมชนอย่าง ยั่งยืน ซึ่งมีพื้นที่เปูาหมายในการด าเนินงานคือชุมชน บ้านหัวฝาย หมู่ที่ 3 ต าบลทุ่งผึ้ง อ าเภอแจ้ห่ม จังหวัดล าปาง และได้รับการอนุมัติโครงการดังกล่าว โดยมีแผนงานคือการผันน้ าจากอ่างเก็บน้ าแม่โกงกาง มากักเก็บยังถังเก็บน้ าในหมู่บ้านหัวฝาย เพื่อใช้เป็น น้ าอุปโภคบริโภคพร้อมทั้งจัดท าฝายดักตะกอน จ านวน 8 ฝาย ได้งบประมาณทั้งสิ้น 691,760 บาท จาก สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ า (องค์การ มหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัย และนวัตกรรม ในปี 2565 ชุมชนบ้านหัวฝายได้จัดท าโครงการ ขยายพื้นที่ส่งน้ าเพื่อขยายต่ออีก 1 หมู่บ้านได้แก่ บ้านแจ้คอน หมู่ 2 ต าบลทุ่งผึ้ง เทศบาลต าบลทุ่งผึ้ง ได้จัดท าโครงการเสนอให้เป็นที่เรียบร้อยแต่ทั้งนี้ การประชุมคมในพื้นที่ไม่ผ่านการประชาคม จึงได้มี การเปลี่ยนแปลงโครงการและได้เสนอโครงการไปใหม่ ในงบประมาณทั้งสิ้น 783,342 บาท ซึ่งจะได้รับ การจัดสรรงบประมาณในปี 2566 ในปี 2565 ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง ได้เสนอโครงการเพิ่มอีก 1 พื้นที่ ได้แก่บ้านห้วยหลวง หมู่ 15 ต าบลบ้านเสด็จ อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง ซึ่งเป็นพื้นที่ในการจัดท าแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ระดับต าบล ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนต าบลบ้านเสด็จ ได้ท าการจัดท าโครงการเสนอเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และจะได้รับการอนุมัติงบด าเนินงานในปี 2567 ในวงเงินงบประมาณไม่เกิน 1,000,000 บาท


61 การลงพื้นที่ติดตามการด าเนินงานโครงการในพื้นที่ต าบลบ้านเสด็จ


62 การลงพื้นที่ติดตามการด าเนินงานโครงการในพื้นที่ต าบลทุ่งผึ้ง


ส่วนที่ 3 รายงานการเงินปีงบประมาณ 2565


63 การเบิกจ่ายงบประมาณประจ าปี 2565


64


65


66


ส่วนที่ 4 แผนการด าเนินงาน ปีงบประมาณ 2566


67 แผนปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2566 ล าดับ แผนงานกิจกรรม ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 1 การจัดประชุมสภาเกษตรกรจังหวัด จ านวน 3 ครั้ง การประชุมเพื่อพิจารณาแก้ไขปัญหาให้แก่ เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบและรายงานผลการ ด าเนินงานของส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัด รวมถึงการรายงานสถานการณ์ในพื้นที่ของแต่ ละอ าเภอ เพื่อน าไปสู่การแก้ไขปัญหาได้ทัน ทวงที 2 การจัดท าข้อเสนอเพื่อการพัฒนาและแก้ไข ปัญหาด้านการเกษตร จ านวน 2 เรื่อง เกิดการพัฒนาแก้ไขปัญหาให้กับเกษตรกรได้ ตามความต้องการและเป็นข้อเสนอที่เสนอ ให้กับรัฐบาลได้รับทราบและน าไปสู่การแก้ไข ปัญหาให้กับเกษตรกรได้ตามความต้องการและ เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน 3 การบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการบูรณาการขับเคลื่อนการพัฒนาใน ด้ายต่างๆ ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด รวมถึงการร่วมขับเคลื่อนงานงานโครงการ ระดับจังหวัด เพื่อให้เกษตรกรได้รับประโยชน์ สูงสุด 4 ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรและองค์กร เกษตรกรได้ทราบถึงนโยบายแผนพัฒนา เกษตรกรรมจังหวัด เกษต รก ร รับ รู้ แ ล ะเข้ าถึงข่ า วส า รภ าค การเกษตรได้ทันกับเหตุการณ์และสถานการณ์ ที่เกิดขึ้น ได้รับรู้การปฏิบัติงานของสภาเกษตรกรจังหวัด และสภาเกษตรกรแห่งชาติ 5 รับขึ้นทะเบียนองค์กรเกษตรกร ส่งเสริมให้เกษตรกร องค์กรเกษตรกร ได้ขึ้น ทะเบียนและได้รับการส่งเสริมพัฒนากลุ่ม องค์กรเกษตรกรให้เกิดประโยชน์และน าไปสู่ การพัฒนาอาชีพ


68 ล าดับ แผนงานกิจกรรม ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น 6 โครงการจัดท าแผนพัฒนาอาชีพระดับต าบล 1. เกิดการจัดท าแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ร ะ ดั บ ต า บ ล ใ น พื้ น ที่ ต า บ ล เ ปู า ห ม า ย โดยเกษตรกรเข้ามีส่วนร่วมในการคิด วิเคราะห์ ค้นหาแนวทาง วางแผนและขับเคลื่อนการ พัฒนาแก้ปัญหาของเกษตรกร ภายใต้การ สนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องน าไปสู่การ พัฒนาแก้ปัญหาในพื้นที่อย่างยั่งยืน ๒. เกิดการถ่ายทอดขยายผลการด าเนินงาน ตามโครงการดังกล่าวนี้ ไปสู่เกษตรกรกลุ่ม/ องค์กรในพื้นที่อื่นๆ 3. เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคี องค์กรเครือข่ายภาครัฐและเอกชนและ หน่วยงานในพื้นที่ 7 โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการ ประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคการเกษตร ส่งเสริม พัฒนา ต่อยอดการกลุ่มเกษตรกร องค์กรเกษตรกรผู้ปลูกไผ่ และการขับเคลื่อน การพัฒนา BCG Model ด้านไผ่ 8 โครงการพัฒนาอาชีพเกษตรกรในการปลูกพืช สมุนไพร กัญชาเพื่อการแพทย์ 1.เพื่อติดตามความก้าวหน้าการด าเนินการ โครงการศึกษารูปแบบการปลูกกัญชาแปลง เปิด และกัญชงในระบบแปลงปิด ตามแนวทาง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา จังหวัดล าปาง เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ แผนไทย 2. เพื่อติดตามการทดลองปลูกกัญชง ในระบบ แปลงปิด 3. ติดตามและควบคุมการใช้ประโยชน์ของ กัญชาและกัญชง 9 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเกษตรกร ส่งเสริมการเลี้ยงแพะ และการปลูกไผ่ เกษตรกรได้มีการปรับเปลี่ยนอาชีพจากการ ปลูกพืชและมีการใช้สารเคมีจ านวนมาก เปลี่ยนมาท าการเกษตรด้านปศุสัตว์ และการ ปลูกไผ่เพื่อเกิดเศรษฐกิจใหม่และเป็นการลง การเผา รณรงค์ปูองกันไฟปุาและฝุุนควัน


ส านักงานสภาเกษตรกรจังหวัดล าปาง ศาลากลางจังหวัดล าปาง ชั้น ๓ ต าบลพระบาท อ าเภอเมืองล าปาง จังหวัดล าปาง ๕๒๐๐๐ โทร ๐๕๔ ๒๖๕ ๒๑๘ E-mail: [email protected]


Click to View FlipBook Version