The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การปลูกสร้างไม้มีค่าในระบบสวนสมรมบนพื้นฐานเสริมสร้างนิเวศความหลากหลายชีวภาพและเศรษบกิจชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Forestry Research Center, 2020-04-29 23:47:34

คู่มือปลูกสร้างไม้มีค่าในระบบสวนสมรม

การปลูกสร้างไม้มีค่าในระบบสวนสมรมบนพื้นฐานเสริมสร้างนิเวศความหลากหลายชีวภาพและเศรษบกิจชุมชน

Keywords: ไม้มีค่า,สวนสมรม

ค่มู ือ

การปลกู สร้างไม้มีค่าในระบบสวนสมรม
บนพืน้ ฐานเสริมสรา้ งนิเวศ

ความหลากหลายชีวภาพและเศรษฐกิจชมุ ชน

วสนั ต์ จนั ทรแ์ ดง เดชา ดวงนามล
เจษฎา วงคพ์ รหม ปณุ ยนุช อมรบวรวงศ์

ภายใต้โครงการ “การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ เทคโนโลยีและนวตั กรรมการวิจยั
: โครงการชมุ ชนไมม้ ีค่า”

สนับสนุนทนุ วิจยั จากสานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.)
ประจาปี งบประมาณ 2562

คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2562



คู่มือ

การปลูกสรา้ งไมม้ ีคา่ ในระบบสวนสมรมบนพน้ื ฐานเสริมสรา้ งนิเวศ
ความหลากหลายชวี ภาพและเศรษฐกจิ ชุมชน

วสนั ต์ จันทร์แดง
เจษฎา วงคพ์ รหม
เดชา ดวงนามล
ปณุ ยนุช อมรบวรวงศ์

ภายใตโ้ ครงการ “การถ่ายทอดองคค์ วามรู้ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการวิจัย
: โครงการชุมชนไม้มีคา่ ”

สนบั สนนุ ทุนวิจยั จากสานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.) ประจาปี
งบประมาณ 2562

คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
2562

1

คานา

ปัจจุบันสวนยางในประเทศส่วนใหญ่เป็นสวนยางเชิงเดี่ยว แม้ว่าต้ังแต่ปี พ.ศ. 2535 รัฐบาลจะอนุญาตให้
เกษตรกรที่ขอรับการสงเคราะห์จากสานักงานกองทุนสงเคราะห์การทาสวนยาง (สกย.) สามารถปลูกพืชร่วมยางได้
เพ่ือลดความเส่ียงด้านการตลาดจากการปลูกยางเชิงเดี่ยว แต่ดูเหมือนว่าการทาสวนยางเชิงเด่ียวควบคู่กับการใช้
สารเคมีทางการเกษตรยังคงเป็นที่นิยมของชาวสวนสว่ นใหญโ่ ดยเฉพาะในช่วงที่ราคายางสูงอย่างต่อเนอื่ ง เปน็ ผลทาให้
เกิดปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การเปลี่ยนแปลงพ้ืนที่ป่าเป็นพื้นที่การเกษตร การเส่ือมลงของคุณภาพดิน การ
ลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพ ซ่ึงการปลูกพืชในสวนยาง ไม่ว่าจะเป็นการปลูกพืชในสวนยางแบบวนเกษตร
หรือแม้กระท้ังรูปแบบท่ีมาจากภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีเรียกว่า “สวนสมรม” ทั้งหมดล้วนเป็นระบบเกษตรกรรมย่ังยืนท่ี
ได้รับการยืนยันว่าสามารถสร้างรายได้จากการมีผลผลิตท่ีหลากหลาย ช่วยเพ่ิมความมั่นคงทางด้านอาหาร ไม้ใช้สอย
และเกิดประโยชน์ดา้ นส่ิงแวดล้อม เช่น ความหลากหลายทางชีวภาพ การกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ การปกป้องลุ่ม
นา้ และอนุรักษด์ นิ

คู่มือการปลูกสร้างไม้มีค่าในระบบสวนสมรมบนพ้ืนฐานเสริมสร้างนิเวศ ความหลากหลายชีวภาพและ
เศรษฐกิจชุมชน ได้จัดทาขึ้นเพ่ือถ่ายทอดองค์ความรู้ในการปลูกสร้างสวนไม้มีค่าตั้งแต่การผลิตเมล็ดคุณภาพดี การ
เพาะเมล็ดไม้ รูปแบบการปลูก และการนาไม้มีค่ามาใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรในช่วงท่ี
ยางพาราหรอื ผลติ ผลทางการเกษตรราคาตกตา่

วสนั ต์ จนั ทร์แดง
เจษฎา วงคพ์ รหม

เดชา ดวงนามล
ปุณยนชุ อมรบวรวงศ์

3

สารบัญ 4
9
คานา 17
สารบัญ 33
บทนา 35
การคดั เลอื กแม่ไม้ (Plus Tree Selection) 41
การเกบ็ และจัดการเมล็ดไม้ (Seed collection and management) 46
การเพาะเมลด็ ไมป้ ่า 60
การปักชากล้าไม้โตเรว็
เหด็ เอคโตไมคอรไ์ รซาและการปลกู เชื้อใหแ้ กก่ ล้าไม้
รปู แบบการปลกู ไมม้ คี ่า
เอกสารอ้างอิง

4

บทนา

แม้ว่าปัจจุบันประเทศไทยจะมีพื้นท่ีปลูกยางพารามากถึง 14,256,630.62 ไร่และมีปริมาณการส่งออก
ยางพารามากเปน็ อันดับหน่ึงของโลก แต่จากสถานการณ์การผลิตยางพาราของโลก พบว่าในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เน้ือที่
ปลูกยางพาราของโลกเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง จาก 77.98 ล้านไร่ ในปี 2557 เป็น 89 ล้านไร่ ในปี 2561 หรือเพิ่มข้ึน
ร้อยละ 4 ต่อปี ในขณะที่ผลผลิตยางพาราของโลก เพ่ิมขึ้นจาก 12.14 ล้านตันในปี 2557 เป็น 14.59 ล้านตัน ในปี
2561 เนอื่ งจาก ยางพาราเป็นพชื เศรษฐกจิ ท่ใี ห้ผลตอบแทนสูงเม่ือเทียบกับพชื เศรษฐกิจอ่นื จึงจงู ใจใหม้ ีการขยายเน้ือ
ที่ปลูกเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่องใน 6-7 ปีท่ีผ่านมา แต่ในขณะเดียวกันกลับพบว่าราคายางในตลาดโลกปรับลดลงอย่าง
ตอ่ เน่ือง เนอ่ื งจากเศรษฐกจิ โลกได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป สหรัฐอเมรกิ า และลกุ ลามไปทว่ั
โลก รวมท้ังจีนซ่งึ เปน็ ผู้ใช้ยางพารารายใหญ่ของโลกทาให้การรบั ซ้ือและการลงทนุ ชะลอตัวและลดลงต่อเนื่องมาจนถึง
ปลายปี 2561 ซึ่ง The Economist Intelligence Unit คาดการณว์ า่ การผลิตยางธรรมชาติของโลกจะเตบิ โตในอัตรา
ชะลอตัวท่ี 1 เปอร์เซ็นตใ์ นปี 2562-2563 (เขตตโ์ สภณ , 2562)

ยางพารา เป็นพืชอุตสาหกรรมที่ไม่เพียงแต่จะมีสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ซี่งประเทศไทย
เป็นประเทศผู้ผลิตยางพาราท่ีสาคัญของโลก มีพื้นท่ีปลูกยางพาราเป็นอันดับสองรองจากประเทศอินโดนีเซีย คือ
ประมาณ 22.47 ล้านไร่ มีปริมาณการส่งออกยางพาราธรรมชาติมากเป็นอันดับหนึ่งของโลก คือ 4,419,00 ล้านตัน
ส่วนใหญ่มีการส่งออกร้อยละ 82 และส่วนท่ีเหลือเป็นการจาหน่ายในประเทศ โดยส่งออกไปยังตลาดหลัก ได้แก่ จีน
มาเลเซีย ญ่ีปุ่น สหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต้ ส่วนใหญ่จะส่งออกในรูปของยางแปรรูปขั้นต้น ประกอบด้วย ยางแผ่น
ยางแท่ง ยางเครพ น้ายางข้น และผลิตภัณฑ์ยาง ประกอบด้วยยางยานพาหนะ ถุงมือยาง ยางรัดของ หลอด ท่อ
สายพานลาเลียงและสง่ กาลัง เป็นต้น (สถาบนั วิจัยยาง, 2561)

ส่วนพ้ืนท่ีปลูกยางพาราท่วั โลก ในปี 2560 มีประมาณ 80.90 ล้านไร่ เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 2.72 เม่ือ
พิจารณาถึงพื้นที่เปิดกรีดในปี 2559 มีประมาณ 70.67 ล้านไร่ ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 77.78 เป็นพ้ืนที่ปลูกใน
ประเทศกลุ่มอาเซียน โดยอินโดนีเซียเป็นประเทศท่ีมีพ้ืนท่ีปลูกยางมากที่สุด คือ 22.74 ล้านไร่ รองลงมาคือประเทศ
ไทย 18.46 ล้านไร่ และมาเลเซีย 6.70 ล้านไร่ ตามลาดับ โดยประเทศผู้ผลิตยางพารารายใหญ่ของโลก 3 ประเทศ
ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ในปี 2561 มีเนื้อท่ีปลูกยางพารารวม 49.87 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 56.03 ของ
เน้อื ทป่ี ลูกยางพาราของโลกและมีผลผลิตรวม 8.94 ลา้ นตนั คิดเป็นร้อยละ 61.27 ของผลผลิตโลก โดยอนิ โดนีเซยี เปน็
ประเทศที่มีเนื้อท่ีปลูกยางพารามากที่สุดในโลก มีการขยายเนื้อท่ีปลูกเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 0.55 ต่อปี จาก
22.45 ลา้ นไร่ในปี 2557 เป็น 22.99 ล้านไรใ่ นปี 2561 แตม่ ผี ลผลติ มากเปน็ อนั ดบั 2 ของโลกรองจากไทย โดยผลผลติ
มีแนวโนม้ เพิ่มข้ึนร้อยละ 3.85 ต่อปจี าก 3.15 ล้านตันในปี 2557 เป็น 3.61 ล้านตันในปี 2561 สาหรบั มาเลเซีย มเี น้อื
ท่ีปลูกเป็นอันดับ 4 ของโลก รองจากอินโดนีเซีย ไทย และเวียดนาม โดยมีเนื้อท่ีปลูกเพิ่มข้ึนร้อยละ 0.69 ต่อปี จาก
6.54 ล้านไร่ ในปี 2557 เปน็ 6.77 ลา้ นไรใ่ นปี 2561 ในขณะท่ผี ลผลติ ลดลงรอ้ ยละ 3.26 ตอ่ ปี จาก 0.67 ล้านตนั ในปี
2557 เหลือ 0.56 ลา้ นตนั ในปี 2561

สาหรับการปลูกสร้างสวนยางพารา พบว่า พื้นท่ีปลูกยางมากที่สดุ ของประเทศไทยเป็นพนื้ ท่ีทางภาคใต้และ
พ้นื ทบี่ างสว่ นของภาคตะวนั ออกซ่ึงเปน็ พืน้ ทีป่ ลูกเดิม มีสภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมในการปลูกยางมาก นอกจากนนั้ ยัง
ได้มีการขยายพืน้ ที่ปลูกยางมายังเขตพน้ื ท่ีปลูกยางใหม่ ได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภาคเหนือ และภาคตะวันตก
สว่ นใหญ่ยังเปน็ การทาเกษตรกรรมแบบปลูกพชื เชิงเดย่ี ว เกษตรกรจงึ มรี ายได้หลกั จากสวนยาง แต่มเี กษตรกรบางราย

5

ท่ีมีการเสริมรายได้ในสวนยางโดยการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เสริมรายได้ในสวนยาง และมีการปลูกไม้ผลหรือไม้ปา่ ยืน
ต้นสาหรับใช้สอย ผลิตภัณฑ์น้ามันทาความสะอาด เคร่ืองสาอางจากน้ามันเมล็ดยางพารา เป็นต้น ท้ังน้ีนโยบายการ
พัฒนายางพาราของประเทศไทยจากปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน กล่าวคือราคา
ยางไม่มีเสถียรภาพและราคาตกต่า รัฐบาลจึงได้มีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรให้ปลูกยาง ควบคู่กับการ
ปลูกพืชแซมยางและพืชร่วมยาง เพ่อื เป็นรายได้ระหวา่ งรอผลผลิต และเปน็ รายได้หมุนเวียนให้เกษตรกรนอกเหนือจาก
ยางพารา นอกจากน้ันยังมีการส่งเสริมให้เกษตรกรทาการเกษตรแบบผสมผสาน ซึง่ ชาวสวนยางท่ตี ้องการโคน่ ยางเพ่ือ
ปลูกแทนหันมาเลือกปลกู ยางแบบผสมผสานตามหลกั เกณฑ์ทกี่ าหนด โดยลดจานวนตน้ ยางต่อพ้ืนที่ลงจากเดิมทีป่ ลกู
ลักษณะพชื เชงิ เด่ียว ตอ้ งมีต้นยาง 60-70 ตน้ /ไร่ ปรับเหลอื ไมน่ อ้ ยกว่า 40 ตน้ /ไร่ เพิม่ ระยะหา่ งระหวา่ งแถวประมาณ
10 เมตร เพ่ือให้เกษตรกรมีพื้นที่ว่างระหว่างต้นยางไว้สาหรับปลกู พืช หรือทากิจกรรมทางการเกษตรอ่ืนไม่ว่าจะเป็น
ประมงหรือปศุสัตว์ นอกจากการปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมการจัดการสวนยางของเกษตรกรแล้ว รฐั บาลไดย้ า้ ให้มกี ารเพิ่ม
สัดสว่ นการใชย้ างภายในประเทศให้มากขน้ึ และลดการส่งออกให้น้อยลงเพ่ือลดการพึง่ พงิ ตลาดต่างประเทศให้น้อยลง
ซ่ึงมีความผันผวนตามสถานการณ์ราคาน้ามันและเศรษฐกิจโลก อันจะส่งผลให้ราคายางในประเทศมีเสถียรภาพมาก
ขนึ้

ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าการปลูกไม้ยางพาราเป็นพืชเชิงเดี่ยวในพ้ืนที่นั้นเกษตรกรต้องเผชิญกับภาวะเสี่ยงต่อ
ความผันผวนของราคายางในตลาดโลก และภาวะความไม่ม่ันคงในการดาเนินชีวิตและไม่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์
“มั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน” ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ท่ียึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักการสาคัญในการพัฒนาประเทศ (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ, 2560) อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตรให้
เติบโตอยา่ งเตม็ ศักยภาพของห่วงโซ่คุณคา่ เพื่อสร้างรายไดใ้ ห้กับพ้นื ทีอ่ ย่างต่อเนอื่ งและย่งั ยืน ประเทศไทยจงึ มนี โยบาย
ยุทธศาสตร์ และแผนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมอยู่จานวนมาก โดยรัฐบาลได้กาหนดแนว
ทางการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่การปฏิบัติของพ้ืนที่ต่าง ๆ ของประเทศไทยตามแนวทางการพัฒนาใน
ประเด็นที่เก่ียวข้องกับทางด้านการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะประเด็นทีเ่ ก่ียวกับไม้มีค่า
ทางเศรษฐกิจ ซ่ึงหมายถึง ไม้ยืนต้นทุกชนิด รวมถึงไผ่ที่ปลูกหรือข้ึนเองตามธรรมชาติและอยู่นอกเขตป่าอนุรักษ์ท่ีมี
การใช้ประโยชน์เน้ือไม้ และ/หรือ ผลิตผลอื่นท่ีไม่ใช่เนื้อไม้เพื่อการค้า ดังนั้น อาจกล่าวโดยรวมได้ว่าไม้มีค่าทาง
เศรษฐกิจ เป็นไม้ท่ีสามารถนามาสร้างมูลค่าหรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ รวมทั้งให้ประโยชน์ท้ังทางตรงและ
ทางอ้อมแก่ผ้ปู ลูก กรมป่าไม้ (2562) โดยรัฐบาลได้กาหนดให้ไมย้ ืนต้นที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสามารถใชเ้ ปน็ ทรพั ย์สิน
เพื่อเป็นหลักประกันทางธรุ กิจได้ โดยสามารถนามาค้าประกันการกู้ยืมเงินหรือขอสนิ เช่ือได้ โดยปัจจุบันอยู่ในระหวา่ ง
การศึกษาเพ่ือพัฒนาเกณฑ์การประเมินมูลค่าต้นไม้ที่เป็นมาตรฐานและได้รับการยอมรับ นอกจากน้ีสามารถสรุป
นโยบายและประเดน็ สาคัญทเ่ี กี่ยวข้องกับไม้เศรษฐกิจ (ศูนยว์ ิจยั ปา่ ไม้ คณะวนศาสตร์, 2562) ดงั นี้

1) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560–2579) เป็นกรอบแผนงานในการพัฒนาประเทศ เพื่อให้
บรรลุวิสยั ทัศน์ “ประเทศมคี วามมัน่ คง มงั่ ค่งั ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” ประกอบด้วย 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ และมี 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมปลูกไม้
เศรษฐกิจ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน และยุทธศาสตร์ท่ี 5 การสร้างการเติบโตบน
คุณภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม

6

2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ยึดหลักการเติบโตทาง

เศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้าและขับเคลื่อนการเจริญเติบโตจากการเพ่ิมผลิตภาพการผลิตบนฐานการใช้ภูมิปัญญา

และนวัตกรรมตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยมียุทธศาสตร์ขับเคล่ือนทุนทางธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อม

สามารถสนบั สนุนการเตบิ โตท่ีเปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม มคี วามมั่นคงทางอาหาร พลงั งาน และน้า โดยเพิ่มพื้นท่ีป่าไมใ้ ห้

ได้ร้อยละ 40 ของพนื้ ที่ประเทศเพ่ือรกั ษาความสมดุลของระบบนเิ วศ

3) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2558–2564 มีวัตถุประสงค์ด้านส่ิงแวดล้อม คือ “เพ่ือให้การ
จดั การฐานทรพั ยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม พลงั งาน และอาหาร มคี วามมัน่ คง ความยง่ั ยนื และมคี วามสมดุล กับการ
ขยายตัวของการพัฒนาประเทศ รวมถึงลดความเส่ียงจากผลกระทบของกระแสโลกาภวิ ัตน์” บรรจอุ ยูใ่ นนโยบายความ
มน่ั คงแหง่ ชาติท่ัวไปขอ้ ท่ี 11 เพื่อรกั ษาความมนั่ คงของฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

4) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ได้
กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ซ่ึงมีประเด็นที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ยุทธศาสตร์ท่ี 1
อนุรักษ์ คุ้มครอง ฟ้ืนฟู ส่งเสริม และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน โดยมี
เปา้ หมายการเพ่ิมพนื้ ท่ปี า่ ไมจ้ ากพืน้ ทเี่ สอ่ื มโทรม และสร้างป่าเศรษฐกจิ และสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ท่ี 5 การลดก๊าซ
เรือนกระจกและลดผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ โดยการเพม่ิ พน้ื ท่ีป่าไม้

5) ยุทธศาสตร์กรมป่าไม้ระยะ 20ปี (พ.ศ. 2560-2579) มีการกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา
ทั้งหมด 7 ยุทธศาสตร์ เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์ “บริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ให้ม่ันคงและยั่งยืน” และสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระยะ 20 ปี ทั้งนี้การเพิ่ม
พ้นื ที่ปา่ ท้งั ในและนอกเขตปา่ ถอื เป็นพนั ธกิจสาคัญ

6) แผนแม่บทการพิทักษ์ทรัพยากรป่าไม้ พ.ศ. 2557 ซึ่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มอบให้
กอ.รมน. กับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมวางยุทธศาสตร์และกาหนดกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
คือ การพิทักษ์รักษาพื้นท่ีป่าไม้ให้มีสภาพป่าที่สมบรู ณ์ให้ได้พื้นท่ีป่าไม้อย่างนอ้ ยร้อยละ 40 ของพ้ืนท่ีประเทศภายใน
10 ปี

7) ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) มุ่งในการแก้ไข
จุดอ่อนและเสริมจุดแข็งให้เอื้อต่อการพัฒนาภาคการเกษตรในระยะยาว เพ่ือบรรลุวิสัยทัศน์ “เกษตรกรม่ันคง ภาค
การเกษตรม่ังค่ัง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน” และให้ความสาคัญกับการผลิตภาคเกษตรที่จาเป็นต้องพึ่ง
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเนน้ การฟ้นื ฟูและอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และสง่ เสริมใหเ้ กษตรกรทาการ
ผลติ ทีเ่ ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม

8) ยุทธศาสตร์และแผนงานการส่งเสริมไม้เศรษฐกิจแบบครบวงจร (พ.ศ. 2560-2579) ได้กาหนด
วิสัยทัศน์ไว้ว่า “ไม้เศรษฐกิจนาประเทศสู่ความม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน บนฐานการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม”
รวมถึงได้กาหนดนิยาม ไม้เศรษฐกิจ หมายถึง “ไม้ยืนต้นทุกชนิด รวมถึงไผ่ ท่ีปลูกหรือขึ้นเองตามธรรมชาติ และอยู่
นอกเขตป่าอนุรักษ์ที่มีการใช้ประโยชน์เน้ือไม้ และ/หรือ ผลิตผลอ่ืนท่ีไม่ใช่เนื้อไม้เพ่ือการค้า” มีการกาหนด
เป้าประสงค์และตัวชี้วัดเพื่อแสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธ์ิของการดาเนินงานท่ีบรรลุวิสัยทัศน์ท่ีกาหนดไว้ 3 ด้าน
ประกอบด้วย 1) พ้ืนท่ีปลูกไม้เศรษฐกิจเพิม่ ข้ึนไมน่ ้อยกว่า 26 ล้านไร่ 2) รายได้เฉล่ียของเกษตรกรผู้ปลูกไม้เศรษฐกิจ
ไม่น้อยกว่า 420,000 บาทต่อคนต่อปี และ 3) ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคป่าไม้ของประเทศไม่น้อยกว่า 2 ล้านล้านบาท
ซึ่งประกอบด้วย 7 ยุทธศาสตร์ ดงั น้ี

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพฒั นาและปรับปรงุ กฎหมายและกฎระเบยี บเพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพการส่งเสรมิ ไม้
เศรษฐกจิ แบบครบวงจร

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การจดั เตรียมพนื้ ทรี่ องรับการส่งเสริมไม้เศรษฐกิจแบบครบวงจร
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นามาตรการทางการคลงั การเงนิ และระบบตลาดเพ่อื สร้างแรงจงู ใจปลูกไม้
เศรษฐกจิ แบบครบวงจร

7

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การพฒั นาศักยภาพเกษตรกรและผปู้ ระกอบการไม้เศรษฐกิจแบบครบวงจร
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การวิจยั และพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมไม้เศรษฐกิจแบบครบวงจร
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเพ่ิมประสทิ ธิภาพระบบการบริหารงานเพ่ือสง่ เสรมิ ไม้เศรษฐกจิ แบบครบวงจร
ยุทธศาสตร์ท่ี 7 การพัฒนาระบบรับรองปา่ ไม้ซ่ึงยุทธศาสตร์ที่ 7 อยู่ระหว่างการขับเคล่ือนภายใตก้ ารมี
สว่ นร่วมของหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง เช่น กรมปา่ ไม้ สถาบันการศกึ ษา องค์การอตุ สาหกรรมปา่ ไม้ สถาบนั เกษตรกรดา้ น
ไม้เศรษฐกิจ หน่วยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วยงานของกระทรวงพาณิชย์ หน่วยงานของกระทรวง
อุตสาหกรรม หน่วยงานของกระทรวงการคลัง และภาคเอกชน เป็นต้น เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซ่ึงท่ีผ่านมาได้ดาเนินการสาเร็จลุล่วงตามยุทธศาสตร์ในหลายประเด็น เช่น การแก้
พ.ร.บ. ป่าไม้ พ.ศ. 2484 เกี่ยวกับไม้หวงห้าม การแก้ไขกฎกระทรวงของกระทรวงพาณิชย์ให้ไม้ยนื ต้นเปน็ ทรพั ย์สินท่ี
ใช้เป็นหลักประกันได้ การสนับสนนุ สินเชือ่ เพ่ือปลูกปา่ ของธนาคารของรัฐบางแห่ง โครงการชุมชนไมม้ ีค่าของรัฐ เป็น
ตน้
9) นโยบายรัฐบาล คณะรัฐมนตรีชุดปัจจุบันซึ่งมี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลง
นโยบายต่อรัฐสภาไทย เม่ือวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 ซ่ึงในกรอบนโยบายด้านการพัฒนาการเกษตร ได้ระบุการ
ส่งเสริมปลูกไม้มีค่าทางศรษฐกิจ คือ “ส่งเสริมการปลูกไม้มีค่าเป็นพืชเศรษฐกิจโดยการสนับสนนุ พันธ์ุกล้าไม้ และให้
ความสาคัญในการบริหารจดั การเชิงพาณชิ ย์อย่างเหมาะสม ทั้งในด้านการปลูก การบารุงรกั ษา ดูแล และการแปรรปู
เพอื่ สร้างมลู คา่ เพ่มิ ซงึ่ จะช่วยเพม่ิ รายได้ใหแ้ ก่เกษตรกรอีกทางหนึง่ ”
10) นโยบายการใช้ไม้มีค่าที่ใช้ค้าประกันเงินกู้ได้ เทคโนโลยีการเกษตร (2562) ได้กล่าวสรุปความเป็น
มาถึงไม้มีค่าที่ใช้ประกันเงินกู้ได้ว่า “คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม” เป็นผู้จุดประกายความคิดให้ กรม
พัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ออกกฎกระทรวงเพ่ือเพิ่มทรัพย์สินอื่นมาเป็นหลักประกัน กรมพัฒนาธุรกิจ
การค้าจึงเปิดเวทีประชาพิจารณ์ รับฟังความคิดเห็นจากผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม สหกรณ์สวนป่าภาคเอกชน กรมป่าไม้ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ สมาคม
ธนาคารไทยและธนาคารรัฐ เชน่ ธ.ก.ส. ธนาคารออมสิน SME Bank ปรากฏวา่ ทุกหน่วยงานต่างสนบั สนนุ แนวคิดเรื่อง
การใช้ไม้มีค่าเป็นสินทรัพย์หลักประกันทางธุรกิจ เพราะนโยบายนี้สร้างผลดีต่อประเทศชาติ รวมท้ังภาคธุรกิจที่
เก่ียวข้อง ซง่ึ ต่อมากรมพฒั นาธุรกิจการคา้ จึงไดน้ าไมย้ ืนตน้ ทมี่ มี ลู ค่าสงู มาเป็นหลักประกันทางธรุ กจิ โดยการออกเป็น
กฎกระทรวง ตามมาตรา 8 (6) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 เพื่อเปิดทางให้ใช้ไม้ยืนต้นท่ีมี
มูลค่าทางเศรษฐกิจ เช่น ต้นไม้ตามบัญชีทา้ ยกฎหมายวา่ ด้วยสวนปา่ สามารถนามาเปน็ หลกั ประกันทางธุรกิจได้ ซึ่งจะ
ทาให้ผู้ประกอบการโดยเฉพาะผู้ประกอบการรายย่อย (SMEs) ได้รับความสะดวกและมีโอกาสเข้าถึงแหล่งทุนในการ
ประกอบธรุ กจิ มากย่ิงข้ึนแลว้
นโยบายดังกลา่ ว สร้างแรงจูงใจให้คนไทยหันมาปลกู ไม้ยืนตน้ ในท่ีดินกรรมสิทธิ์เพื่อการออม ช่วยสร้างมลู คา่
ทางเศรษฐกิจแล้วยงั ส่งผลดที าให้ประเทศไทยมพี นื้ ทีส่ ีเขียวเพิ่มมากขนึ้ ในระยะยาว ประชาชนยังสามารถใชป้ ระโยชน์
จากต้นไม้ระหว่างการปลูก โดยใช้เป็นหลักประกันทางธุรกิจเพื่อกู้ยืมเงินกับสถาบันการเงินได้อีกด้วย ขณะเดียวกัน
อุตสาหกรรมก่อสร้างและอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ จะมีไมจ้ ากปา่ ปลูกจานวนมากใชเ้ ป็นวัตถุดบิ แปรรูปในอนาคต ซึ่ง
จากการประชุมคณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานท่ี กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 คร้ัง ท่ี
5/2561 ในพื้นท่ีจังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2561 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบอนุมัติหลักการร่าง
กฎกระทรวงกาหนดให้ทรัพย์สินอื่นเป็นหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. … ตามข้อเสนอของกระทรวงพาณิชย์ (พณ.)

8

เปิดทางให้ประชาชนสามารถนาไม้ยนื ต้น เช่น ไผ่ มะม่วง ทุเรียน มะขาม ไม้ยาง มะขามป้อม ไม้สัก ไม้พะยูง ฯลฯ ที่
ขึน้ ทะเบยี นปลูกกับหน่วยงานภาครัฐ นามาใชค้ ้าประกันธรุ กิจได้ในอนาคต

นอกจากน้ี หลังจากรัฐบาลเห็นชอบให้การใช้ทรัพย์สินอื่นเปน็ หลักประกันทางธรุ กิจได้โดยกระทรวงพาณชิ ย์
เสนอใหเ้ พ่ิมไม้ยืนตน้ ท่ีมีค่าทางเศรษฐกจิ และมีการแก้ไขกฎหมายกรมปา่ ไม้ พ.ศ. 2484 มาตรา 7 ให้สามารถตดั ต้นไม้
ได้ทุกชนิดที่ข้ึนหรือปลูกในที่ที่มีกรรมสิทธ์ิ ส่วนการสร้างผู้ตรวจประเมินมูลค่าต้นไม้ ธ.ก.ส.ร่วมกับหน่วยงานท่ี
เกย่ี วข้อง เช่น กรมปา่ ไม้ และคณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ดาเนนิ การอบรมให้ความร้กู ับคณะกรรมการ
และสมาชกิ โครงการธนาคารต้นไม้ 400 ชุมชน ชุมชนละ 2 คน รวม 800 คน เพ่ือทาหน้าที่ประเมินมูลค่าต้นไม้ และ
ธ.ก.ส. มีเป้าหมาย ยกระดับโครงการธนาคารต้นไม้สู่ชุมชนไม้มีค่า เพ่ือเพิ่มพ้ืนที่ป่าให้ได้ 300,000 ไร่ คาดว่าภายใน
10 ปี จะสามารถเพิ่มพ้ืนที่ป่าในประเทศไม่ต่ากว่า 137 ล้านต้น จากปัจจุบันท่ีมีประมาณ 12 ล้านต้น ซ่ึงจะช่วย
สนับสนุนการกกั เก็บคาร์บอน ลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก และแปลงรายได้สู่ชมุ ชนตอ่ ไป

9

การคดั เลอื กแมไ่ ม้ (Plus Tree Selection)

การคัดเลือกแม่ไม้ เป็นขบวนการแรกของงานการปรับปรุงพันธุ์ไม้ป่าและความสามารถของแม่ไม้ที่จะ
ถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมทด่ี ีไปส่ลู ูกหลานไดจ้ ะเปน็ ผลทาใหง้ านการปรับปรุงพนั ธุป์ ระสบความสาเร็จ ดว้ ยเหตุนี้
นักปรับปรงุ พนั ธไุ์ ม้ปา่ จงึ กาหนดลกั ษณะตา่ งๆ และนามาพจิ ารณาในการคดั เลือกแมไ่ ม้ ไดแ้ ก่

1) มคี วามเจรญิ เติบโตดี
1.1) ด้านความโต
1.2) ดา้ นความสูง

2) ลาตน้ กลม เปลา ตรง ความเรียวของลาตน้
-ความตรงของลาต้น

-ความเรยี วของลาตน้

ภาพท่ี 1 ลักษณะความเปลาตรง และความเรยี วของลาตน้

10

3) การลิดกง่ิ ตามธรรมชาติดี ก่ิงมขี นาดปานกลางถงึ เลก็ เมื่อเทยี บกับลาต้น
-ขนาดก่งิ เปรยี บเทยี บกบั ลาตน้

-มุมของกง่ิ

ภาพที่ 2 ลกั ษณะขนาดของก่งิ และมมุ ของกงิ่ ทม่ี ผี ลต่อการลิดก่ิงตามธรรมชาติ

11

4) เรือนยอดเล็ก ได้สดั ส่วน และรูปทรงดี

ภาพที่ 3 ลกั ษณะทรงพุม่ เรือนยอดของตน้ ไม้
5) ตา้ นทานตอ่ โรคและแมลง

ภาพที่ 4 ตน้ ไมท้ ่มี ีความสมบรู ณ์ไม่มโี รคและแมลง

12

6) ทนทานต่อสภาพแหง้ แลง้ ได้ดีและสภาพความหนาวเยน็ ได้ดี
7) มพี พู อนท่โี คนต้นนอ้ ย

ภาพท่ี 5 ลกั ษณะของต้นไมท้ ม่ี พี ูพอน
8) ออกดอกช้า
9) คณุ ภาพเนอ้ื ไมด้ ี
โดยในการคัดเลือกแม่ไม้จะมีแบบฟอร์มสาหรับบันทึกข้อมูลแม่ไม้ดังภาพที่ 6 ท้ังน้ีโครงการได้จัดทาแผนท่ีไม้

และแสดงตัวอยา่ งแมไ่ ม้ดังภาพท่ี 7-8

13

ภาพที่ 6 แบบฟอร์มการบันทึกแมไ่ ม้ โครงการ “การปลกู สรา้ งไม้มีคา่ ในระบบสวนสมรมบนพ้นื ฐานเสรมิ สรา้ งนเิ วศ ความหลากหลายชวี ภาพและเศรษฐกิจชมุ ชน”

14

ตารางท่ี 1 ตาแหน่ง ขนาดความเสน้ ผ่านศนู ย์และความสูงของแมไ่ มจ้ ากการสารวจในพ้ืนทเี่ ป้าหมายโครงการ

ลาดับ คา่ พกิ ดั ชนิดไม้ ช่อื พฤกษศาสตร์ วงศ์ เส้นรอบวง ความสูง สถานท่ี สถานที่ จังหวัด
Easting Northing (Botanical name) (Family) (ซม.) (ม.) ตาบล อาเภอ กระบ่ี
เพหลา คลองทอ่ ม กระบ่ี
1 514568 884691 เคย่ี ม Cotylelobium lanceolatum Craib DIPTEROCARPACEAE 203.00 29.00 สวนยางพารา เพหลา คลองทอ่ ม กระบี่
เพหลา คลองทอ่ ม กระบ่ี
2 514543 884831 เคย่ี ม Cotylelobium lanceolatum Craib DIPTEROCARPACEAE 83.00 30.00 สวนปาลม์ น้ามัน เพหลา คลองทอ่ ม กระบ่ี
เพหลา คลองทอ่ ม กระบี่
3 512664 886295 เค่ยี ม Cotylelobium lanceolatum Craib DIPTEROCARPACEAE 80.00 30.00 สวนป่าคลองทอ่ ม เพหลา คลองทอ่ ม กระบี่
เพหลา คลองทอ่ ม กระบี่
4 512293 886454 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE 187.00 30.00 สวนปา่ คลองทอ่ ม เพหลา คลองทอ่ ม กระบี่
ไสไทย เมอื ง กระบี่
5 512633 886249 พะยอม Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE 292.00 28.00 สวนป่าคลองท่อม ไสไทย เมือง กระบี่
ไสไทย เมือง กระบ่ี
6 514592 884270 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 164.00 28.50 บ้านเพหลา ไสไทย เมอื ง กระบ่ี
ไสไทย เมือง กระบ่ี
7 512373 886349 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 308.00 34.50 สวนปา่ คลองทอ่ ม ไสไทย เมือง กระบี่
เหนอื คลอง เหนอื คลอง กระบี่
8 512330 886462 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 243.00 31.50 สวนปา่ คลองทอ่ ม เหนือคลอง เหนือคลอง กระบ่ี
กระบ่ี
9 483970 900933 ไขเ่ ขียว Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE 250.00 33.00 พนื้ ท่ีป่าโอโซน อา่ วลกึ ประจวบคีรขี ันธ์
อา่ วลกึ ประจวบคีรขี นั ธ์
10 483903 901200 ไข่เขยี ว Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE 270.00 40.50 พื้นท่ีป่าโอโซน ยางชุม กยุ บุรี
ยางชมุ กยุ บรุ ี
11 483750 901521 ไขเ่ ขียว Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE 350.00 45.50 พนื้ ที่ปา่ โอโซน

12 482856 903363 พนอง Shorea hypochra Hance DIPTEROCARPACEAE 250.00 40.00 พื้นที่ป่าโอโซน

13 483996 900955 ยางกลอ่ ง Dipterocarpus dyeri Pierre DIPTEROCARPACEAE 292.00 32.00 พน้ื ทป่ี า่ โอโซน

14 483483 902068 ยางกลอ่ ง Dipterocarpus dyeri Pierre DIPTEROCARPACEAE 306.00 44.00 พ้นื ที่ป่าโอโซน

15 498897 892889 พะยอม Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE 320.00 33.00 หน่วยปอ้ งกนั ฯ กบ. 1

16 498970 892906 พะยอม Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE 373.00 29.50 หน่วยป้องกนั ฯ กบ. 1

17 473659 922809 ไข่เขียว Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE 308.00 44.00 ริมถนน

18 477510 916050 ยางยงู Dipterocarpus grandiflorus (Blanco) Blanco DIPTEROCARPACEAE 293.00 38.50 รมิ ถนน

19 568012 1333839 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 45.00 33.00

20 575797 1335344 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 120.00 35.00 บา้ นยางชุม

21 575390 1284835 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE 25.00 20.00 สถานีวจิ ัยและฝกึ นสิ ิต หว้ ยยาง ทบั สะแก ประจวบครี ขี นั ธ์
วนศาสตร์หาดวนกร

22 567160 1285166 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE 57.00 35.00 วัดนา้ ตก ห้วยยาง ทบั สะแก ประจวบครี ขี นั ธ์

15

ตารางท่ี 1 (ต่อ)

ลาดบั ค่าพกิ ดั ชนิดไม้ ชอื่ พฤกษศาสตร์ วงศ์ เสน้ รอบวง ความสูง สถานที่ สถานที่ อาเภอ จังหวัด
Easting Northing (Botanical name) (Family) (ซม.) (ม.) หาดวนกร ตาบล ทบั สะแก ประจวบครี ขี ันธ์
Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE 34.00 26.00 อุทยานแห่งชาตหิ าดวนกร หว้ ยยาง ทบั สะแก ประจวบคีรขี ันธ์
23 575405 1284798 พะยอม Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE 70.00 22.00 สวนป่าเขาไมร้ วก หว้ ยยาง ทับสะแก ประจวบครี ขี ันธ์
Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE 53.00 30.00 สวนป่าเขาไมร้ วก หว้ ยยาง ทบั สะแก ประจวบครี ขี นั ธ์
24 574022 1288186 พะยอม DIPTEROCARPACEAE 53.00 30.00 สถานีวจิ ัยและฝกึ นิสิต ห้วยยาง ทบั สะแก ประจวบครี ขี นั ธ์
Shorea roxburghii G.Don LEGUMINOSAE– 24.00 16.00 วนศาสตร์หาดวนกร ห้วยยาง
25 575458 1290859 พะยอม Sindora siamensis Teijsm. & Miq. CAESALPINIOIDEAE สถานวี จิ ัยและฝกึ นสิ ติ ประจวบครี ขี นั ธ์
MELIACEAE 36.00 20.00 วนศาสตรห์ าดวนกร
25 575458 1290859 พะยอม บา้ นห้วยยาง ประจวบคีรขี นั ธ์
DIPTEROCARPACEAE 60.00 32.00 สวนปา่ เขาไมร้ วก ประจวบคีรขี นั ธ์
26 575386 1284799 มะค่าแต้ DIPTEROCARPACEAE 100.00 35.00 วนอทุ ยานปา่ กลางอ่าว ประจวบคีรขี ันธ์
DIPTEROCARPACEAE 80.00 35.00 บ้านฝั่งแดง ประจวบคีรขี ันธ์
27 575351 1284805 ยมหนิ Chukrasia tabularis A.Juss. DIPTEROCARPACEAE 42.00 30.00 บา้ นฝัง่ แดง ห้วยยาง ทบั สะแก ประจวบคีรขี ันธ์
DIPTEROCARPACEAE 100.00 35.00 วัดดอนอารีขนั ธช์ ยั ครี ี ประจวบคีรขี ันธ์
28 573030 1284258 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don GENTIANACEAE 35.00 28.00 หว้ ยยาง ทบั สะแก ประจวบคีรขี ันธ์
DIPTEROCARPACEAE 30.00 30.00 วดั หนองตาแตม้ หว้ ยยาง ทบั สะแก ประจวบครี ขี นั ธ์
29 575451 1290852 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 35.00 32.00 วัดปราณบุรี ทรายทอง บางสะพาน ประจวบครี ขี นั ธ์
DIPTEROCARPACEAE 52.00 30.00 วัดศรรี ชั ดาราม ทรายทอง บางสะพานนอ้ ย ประจวบครี ขี นั ธ์
30 558389 1240044 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 47.00 32.00 วัดบางแหวน บางสะพานนอ้ ย ประจวบครี ขี ันธ์
DIPTEROCARPACEAE 45.00 30.00 วดั บางแหวน ปากคลอง บางสะพานนอ้ ย ประจวบคีรขี ันธ์
31 554126 1220476 เค่ียม Cotylelobium lanceolatum Craib DIPTEROCARPACEAE 42.00 30.00 วัดหนองบัว ปากคลอง บางสะพานนอ้ ย ประจวบคีรขี นั ธ์
DIPTEROCARPACEAE 32.00 25.00 วดั หนองบวั เกาะหลกั บางสะพานนอ้ ย ประจวบคีรขี นั ธ์
32 554159 1220501 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 37.00 27.00 วัดหนองบวั เกาะหลกั ปราณบุรี ประจวบครี ขี ันธ์
DIPTEROCARPACEAE 47.00 30.00 เกาะหลกั ปราณบรุ ี ประจวบครี ขี นั ธ์
33 547554 1217412 กนั เกรา Fagraea fragrans Roxb. LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE 41.00 22.00 ปราณบรุ ี
ปะทวิ
34 551623 1216780 เคี่ยม Cotylelobium lanceolatum Craib ปะทิว

35 552836 1220237 เค่ียม Cotylelobium lanceolatum Craib เมือง
เมือง
36 596174 1364826 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don เมือง

37 601311 1367753 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don

38 594219 1371121 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don

39 546635 1204752 เคย่ี ม Cotylelobium lanceolatum Craib

40 546652 1204734 ตะเคยี นทอง Hopea odorata Roxb.

41 584088 1302672 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb.

42 584014 1302744 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb.

43 584085 1302655 ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus Kurz

16

ตารางท่ี 1 (ต่อ)

ลาดับ คา่ พิกัด ชนิดไม้ ชอื่ พฤกษศาสตร์ วงศ์ เสน้ รอบวง ความสงู สถานที่ สถานท่ี จงั หวัด
Easting Northing (Botanical name) (Family) (ซม.) (ม.) วัดหนองบัว ตาบล อาเภอ ประจวบคีรขี นั ธ์
LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE 35.00 28.00 วดั หนองขาม เกาะหลกั เมอื ง ประจวบคีรขี นั ธ์
44 584105 1302683 ประดปู่ า่ Pterocarpus macrocarpus Kurz LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE 46.00 16.00 วัดเกาะหลัก เกาะหลกั เมือง ประจวบครี ขี นั ธ์
DIPTEROCARPACEAE 45.00 18.00 วดั หนองบวั เกาะหลกั เมอื ง ประจวบครี ขี ันธ์
45 580566 1303586 ประดูป่ ่า Pterocarpus macrocarpus Kurz MELIACEAE 35.00 25.00 โรงเรียนประจวบ เกาะหลกั เมือง ประจวบคีรขี นั ธ์
DIPTEROCARPACEAE 59.00 17.00 วิทยาลยั เกาะหลกั เมอื ง
46 586876 1304252 พะยอม Shorea roxburghii G.Don วดั คลองวาฬ ประจวบคีรขี นั ธ์
LEGUMINOSAE- 39.00 22.00
47 584091 1302657 มะฮอกกานี Swietenia macrophylla King PAPILIONOIDEAE วดั คลองวาฬ ประจวบครี ขี ันธ์
DIPTEROCARPACEAE 67.00 24.00 วดั คลองวาฬ ประจวบคีรขี ันธ์
48 586968 1304469 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 65.00 22.00 สถานีวจิ ยั ประมง ประจวบคีรขี ันธ์
DIPTEROCARPACEAE 45.00 22.00 คลองวาฬ
49 585835 1299088 ประดู่ปา่ Pterocarpus macrocarpus Kurz วดั คลองวาฬ คลองวาฬ เมอื ง ประจวบครี ขี ันธ์
MELIACEAE 36.00 16.00 วดั คลองวาฬ ประจวบคีรขี นั ธ์
50 585906 1299101 พะยอม Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE 40.00 30.00 วัดคลองวาฬ คลองวาฬ เมอื ง ประจวบคีรขี ันธ์
51 588898 1299155 พะยอม Shorea roxburghii G.Don COMBRETACEAE 44.00 25.00 วดั ต้นเกตุ คลองวาฬ เมือง ประจวบคีรขี ันธ์
52 586297 1299571 พะยอม Shorea roxburghii G.Don LEGUMINOSAE– 29.00 28.00 คลองวาฬ เมือง
MIMOSOIDEAE วัดตน้ เกตุ ประจวบครี ขี ันธ์
53 586041 1299121 มะฮอกกานี Swietenia macrophylla King DIPTEROCARPACEAE 36.30 28.00 วัดตน้ เกตุ คลองวาฬ เมอื ง ประจวบคีรขี นั ธ์
DIPTEROCARPACEAE 100.00 30.00 วัดตน้ เกตุ คลองวาฬ เมอื ง ประจวบครี ขี นั ธ์
54 585815 1298903 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 80.00 35.00 สถานเี พาะชากล้าไม้ คลองวาฬ เมอื ง ประจวบคีรขี ันธ์
MELIACEAE 44.90 28.00 ประจวบครี ขี นั ธ์ ห้วยทราย เมือง
55 สมอพิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. สถานีเพาะชากล้าไม้ ประจวบคีรขี ันธ์
MELIACEAE 39.20 20.00 ประจวบครี ขี ันธ์
56 577173 1294684 แดง Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var.
kerrii (Craib & Hutch.) I.C.Nielsen

57 576980 1294762 ตะเคยี นทอง Hopea odorata Roxb. ห้วยทราย เมือง
ห้วยทราย เมอื ง
58 577105 1294762 พะยอม Shorea roxburghii G.Don หว้ ยทราย เมือง
ห้วยทราย เมือง
59 577075 1294854 พะยอม Shorea roxburghii G.Don

60 575600 1291007 ยมหิน Chukrasia tabularis A.Juss.

61 575682 1291095 ยมหนิ Chukrasia tabularis A.Juss. หว้ ยทราย เมอื ง

17

ตารางที่ 1 (ต่อ)

ลาดับ ค่าพิกดั ชนิดไม้ ชอ่ื พฤกษศาสตร์ วงศ์ เสน้ รอบวง ความสูง สถานท่ี สถานท่ี จงั หวัด
Easting Northing (Botanical name) (Family) (ซม.) (ม.) วดั ตน้ เกตุ ตาบล อาเภอ ประจวบคีรขี ันธ์
60.00 35.00 วดั ต้นเกตุ หว้ ยทราย เมอื ง ประจวบครี ขี ันธ์
62 576987 1294703 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 42.00 25.00 วัดต้นเกตุ ห้วยทราย เมอื ง ประจวบคีรขี ันธ์
40.00 26.00 ห้วยทราย เมือง ประจวบคีรขี ันธ์
63 577133 1294857 เหียง Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. DIPTEROCARPACEAE 43.00 28.00 วดั ใหม่ราชวถิ ี ไร่เกา่ สามร้อยยอด ประจวบคีรขี นั ธ์
46.00 30.00 กรนี วิวรีสอร์ท
64 576982 1294857 เหียง Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.. DIPTEROCARPACEAE 247.00 40.00 กรนี วิวรสี อรท์ สามร้อยยอด พงั งา
109.00 30.00 บ้านหว้ ยทรพั ย์ คุระ คุระบรุ ี พงั งา
65 593567 1354998 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 287.50 33.00 ครุ ะ ครุ ะบุรี พงั งา
คุระ คุระบุรี
66 595703 1362062 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE

67 441198 1008716 ไขเ่ ขยี ว Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE

68 441062 1008622 ยางยงู Dipterocarpus grandiflorus (Blanco) Blanco DIPTEROCARPACEAE

69 434530 1030323 หลุมพอ Intsia palembanica Miq. LEGUMINOSAE–

CAESALPINIOIDEAE

70 437126 1001253 ไข่เขียว Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE 204.00 38.50 วัดบางครัง่ บางวนั ครุ ะบุรี พังงา
319.00 คุระบรุ ี พงั งา
71 437142 1001265 ไขเ่ ขยี ว Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE 273.00 38.00 วัดบางคร่งั บางวัน ครุ ะบรุ ี พงั งา
200.00 คุระบุรี พังงา
72 439894 994823 เคยี นทราย Shorea gratissima (Wall. ex Kurz) Dyer DIPTEROCARPACEAE 245.50 35.50 สวนปาลม์ น้ามัน บางวนั คุระบรุ ี พงั งา
216.00 คุระบุรี พังงา
73 438405 1005753 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE 237.00 27.00 สวนปาล์มนา้ มัน บางวัน คุระบุรี พงั งา
ตะก่ัวปา่ พังงา
74 439832 994819 ยางมันหมู Dipterocarpus kerrii King DIPTEROCARPACEAE 168.00 33.00 สวนปาล์มนา้ มัน บางวนั ตะกั่วปา่ พังงา
286.00 ท้ายเหมือง พงั งา
75 430445 1013138 กระบาก Anisoptera costata Korth. DIPTEROCARPACEAE 235.60 26.00 วัดสวนวาง แมน่ างขาว ทา้ ยเหมอื ง พังงา
240.00 ท้ายเหมือง พังงา
76 430591 1013095 ยางมนั หมู Dipterocarpus kerrii King DIPTEROCARPACEAE 300.00 33.00 วดั สวนวาง แมน่ างขาว ทา้ ยเหมอื ง พังงา
168.50 ท้ายเหมอื ง พังงา
77 422088 977343 กระบาก Anisoptera costata Korth. DIPTEROCARPACEAE บ้านบางม่วง บางมว่ ง

78 421486 977257 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE 26.20 วดั บางม่วง บางม่วง

79 418712 928818 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE 36.80 โรงพยาบาลทา้ ยเหมอื ง ทา้ ยเหมอื ง

80 418533 927382 เทพทาโร Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm. LAURACEAE 23.50 วัดนโิ รธรงั สี ท้ายเหมอื ง

81 418599 927465 เทพทาโร Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm. LAURACEAE 25.00 วดั นิโรธรงั สี ทา้ ยเหมอื ง

82 418664 928849 เทพทาโร Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm. LAURACEAE 34.40 โรงพยาบาลทา้ ยเหมอื ง ท้ายเหมอื ง

83 418567 928696 ยางมนั หมู Dipterocarpus kerrii King DIPTEROCARPACEAE 22.20 โรงพยาบาลทา้ ยเหมอื ง ท้ายเหมือง

18

ตารางท่ี 1 (ต่อ)

ลาดบั คา่ พิกดั ชนิดไม้ ชื่อพฤกษศาสตร์ วงศ์ เสน้ รอบวง ความสงู สถานที่ สถานท่ี อาเภอ จงั หวดั
Easting Northing (Botanical name) (Family) (ซม.) (ม.) ริมถนน ตาบล เมือง พงั งา
Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE 89.00 15.00 รมิ ถนน นบปริง เมือง พังงา
84 445574 943290 ตะเคียนทอง Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE 159.00 25.00 รมิ ถนน นบปรงิ เมอื ง พังงา
Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE 169.00 23.00 ริมถนน เมอื ง พังงา
85 446744 941741 พะยอม Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE 128.00 30.50 สวนมังคดุ ผสมปาลม์ นา้ มัน ราชกรดู กะเปอร์ ระนอง
Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 566.00 33.00 สวนปาลม์ นา้ มัน ราชกรูด เมอื ง ระนอง
86 447022 942221 ตะเคยี นทอง Anisoptera costata Korth. DIPTEROCARPACEAE 216.00 30.00 บา้ นไร่ไน นาคา สุขสาราญ ระนอง
Anisoptera costata Korth. DIPTEROCARPACEAE 185.00 25.40 บ้านไรไ่ น นาคา สขุ สาราญ ระนอง
87 446795 941817 พะยอม Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE 313.00 40.00 บา้ นไร่ไน นาคา สขุ สาราญ ระนอง
Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE 150.00 25.00 วดั เทพนมิ ติ ตะโก ทงุ่ ตะโก ชมุ พร
88 453690 1072970 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 430.00 31.60 ปากคลอง
ปากคลอง ปะทิว ชมุ พร
89 454539 1074010 กระบาก Cotylelobium lanceolatum Craib DIPTEROCARPACEAE ปากทรง
ปากทรง ปะทวิ ชมุ พร
90 440745 1038010 กระบาก Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE ทุ่งคา
ทงุ่ คา พะโต๊ะ ชุมพร
91 441127 1037650 ไข่เขียว Parashorea stellata Kurz DIPTEROCARPACEAE ขันเงนิ
วังตะกอ พะโตะ๊ ชุมพร
92 440742 1037993 ไขเ่ ขยี ว Dipterocarpus baudii Korth. DIPTEROCARPACEAE วังตะกอ
เสม็ด เมอื ง ชมุ พร
93 434530 1030326 ยางนา Cotylelobium lanceolatum Craib DIPTEROCARPACEAE
เมอื ง ชมุ พร
94 546635 1204752 เคยี่ ม Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 42.00 30.00 วัดบางแหวน
หลังสวน ชมุ พร
95 546652 1204734 ตะเคยี นทอง Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 32.00 25.00 วัดบางแหวน
หลงั สวน ชุมพร
96 461021 1078071 ไข่เขียว Hopea odorata Roxb. DIPTEROCARPACEAE 320.00 30.00 หน่วยต้นนา้ พะโต๊ะ
หลงั สวน ชุมพร
97 462710 1079056 ยางขน Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 180.00 25.00 หนว่ ยตน้ นา้ พะโตะ๊
ไชยา สรุ าษฎร์ธานี
98 512523 1144124 เค่ียม Cotylelobium lanceolatum Craib DIPTEROCARPACEAE 275.00 26.60

99 515138 1148091 ยางนา 253.00 32.20 บา้ นดอนมะมว่ ง

100 506678 1098203 ยางนา 310.00 25.00

101 528877 1152643 ตะเคยี นทอง 275.00 27.40 สวนปา่ หลงั สวน

102 497170 1101574 ยางนา 215.00 28.00 สวนป่าหลงั สวน

103 518761 1034713 เคย่ี ม 220.00 24.00 สวนโมกขพลาราม

19

ตารางท่ี 1 (ต่อ)

ลาดับ คา่ พกิ ดั ชนดิ ไม้ ช่อื พฤกษศาสตร์ วงศ์ เส้นรอบวง ความสูง สถานท่ี
Easting Northing (Botanical name) (Family) ตาบล
Shorea roxburghii G.Don DIPTEROCARPACEAE (ซม.) (ม.) สถานที่ เสม็ด อาเภอ จงั หวดั
ไชยา สุราษฎร์ธานี
104 518863 1034670 พะยอม Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 280.00 25.00 สวนโมกขพลาราม เสมด็
ไชยา สรุ าษฎร์ธานี
105 518745 1034476 ยางนา Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don DIPTEROCARPACEAE 275.00 31.80 สวนโมกขพลาราม ทา่ ชนะ
ท่าชนะ สรุ าษฎร์ธานี
106 514205 1058833 ยางนา 587.00 28.70

20

ภาพที่ 7 แผนท่ีแม่ไมส้ าหรบั การผลิตเมลด็ ไม้คุณภาพดี

21

ภาพท่ี 8 แผนท่ีแม่ไมส้ าหรบั การผลติ เมลด็ ไม้คณุ ภาพดจี งั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์

22

ภาพที่ 9 แผนท่ีแม่ไม้สาหรับการผลติ เมลด็ ไม้คณุ ภาพดีจงั หวดั ชุมพร

23

ภาพที่ 10 แผนที่แม่ไมส้ าหรับการผลติ เมล็ดไมค้ ณุ ภาพดจี ังหวดั ระนอง

24

ภาพที่ 11 แผนทแี่ ม่ไมส้ าหรับการผลติ เมล็ดไมค้ ุณภาพดจี ังหวัดสุราษฎรธ์ านี

25

ภาพที่ 12 แผนที่แม่ไมส้ าหรับการผลติ เมล็ดไมค้ ณุ ภาพดจี ังหวดั พงั งา

26

ภาพที่ 13 แผนท่แี ม่ไม้สาหรับการผลติ เมลด็ ไมค้ ณุ ภาพดีจังหวดั กระบี่

27

AB C

DEF

G HI

ภาพท่ี 14 ตัวอย่างแม่ไม้บางชนิดที่สารวจพบในพื้นท่ีจงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา และกระบี่
(A = กระบาก, B = ไข่เขียว, C = เค่ียม, D = ตะเคียนทอง, E = พนอง, F = ยางกล่อง, G = พะยอม,
H = ยางกลอ่ ง, I = ยางมันหมู)

28

JK

ภาพท่ี 15 ตวั อย่างแม่ไม้บางชนดิ ทีส่ ารวจพบในพน้ื ท่จี งั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ชมุ พร ระนอง พงั งา และกระบี่
(J = ยางยูง และ K = หลมุ พอ)

29

การเกบ็ และจดั การเมล็ดไม้
(Seed collection and management)

การปลูกปา่ โดยทั่วไปต้องการท้ังคณุ ภาพและความหลากหลายทางสายพันธซุ์ ึ่งต้องใช้เวลายาวนานจงึ จะเห็น
ผลชัดเจน ดงั นน้ั จงึ ต้องมกี ารเลือกใช้เมลด็ พันธ์ุทม่ี ีคณุ ภาพดีในการผลิตกลา้ ไมส้ าหรับปลกู ป่า เพ่ือให้ได้ผลตอบแทนที่
คมุ้ คา่ กบั การลงทุนและเวลาท่ีเสยี ไป คุณภาพเมลด็ จะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับผู้จัดหาเมล็ดวา่ มีความรู้ความสามารถเพียงใด
ในการพิจารณาเลือกแหล่งเมล็ด การปฏิบัติต่อเมล็ด นับตั้งแต่การเก็บเมล็ด การคัดแยกเมล็ด รวมไปจนถึงการเก็บ
รกั ษาเมล็ดซง่ึ ช่วยใหเ้ มลด็ คงคุณภาพทางสรีระวทิ ยาและคณุ ภาพทางกายภาพของเมล็ดใหย้ าวนานขน้ึ

แหล่งเมล็ดไมเ้ ปน็ ปัจจัยเบ้อื งต้นในการจัดหาเมล็ดพันธุท์ ี่มคี ุณภาพทางพนั ธุกรรม การคัดเลอื กแหล่งเมล็ดไม้
ที่มีความเหมาะสมกับพื้นท่ีปลูก ร่วมกับการปฏิบัติต่อเมล็ดไม้ที่จัดเก็บมาอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการจะทาให้ได้
เมลด็ พนั ธค์ุ ุณภาพดเี พ่ือการขยายพนั ธ์ุและการนาไปปลูกใหไ้ ด้ผลผลิตอยา่ งคุม้ ค่า เอกสารเล่มนจ้ี งึ จัดทาข้นึ เพ่ือใช้เป็น
ข้อมลู พน้ื ฐานในการจัดหาและปฏบิ ัติต่อเมล็ดให้ไดเ้ มล็ดพนั ธทุ์ ม่ี คี ณุ ภาพเพอ่ื การปลูกป่าต่อไป
1. แหล่งเมลด็ ไม้คุณภาพ

การเก็บเมล็ดไม่ว่าจะเป็นไม้ชนิดใดก็ตามควรเก็บเมล็ดจากแม่ไม้ที่มีลักษณะดีดังท่ีได้กล่าวมาแล้ว แหล่งท่ีมีไม้
ลักษณะดี หรอื หาจากแหล่งทผ่ี า่ นการปรับปรุงพันธุ์แล้ว ซ่งึ เกิดจากการคดั เลือกกลุ่มแมไ่ ม้ทม่ี ลี ักษณะทางพนั ธุกรรมดี
ท้ังในป่าธรรมชาติและแหล่งเมล็ดที่จัดสร้างขึ้นใหม่โดยอาพื้นฐานของการปรับปรุงพันธ์ุ ซ่ึงการสร้างแหล่งเมล็ดเพ่ือ
เพ่ิมคณุ ภาพทางพนั ธข์ุ องเมล็ดสามารถแบง่ เปน็ ชั้นๆ ได้ 7 ช้ันดังภาพที่ 16 ซง่ึ เรียงลาดบั จากชนั้ เลวท่ีสดุ ระดับ 0 เป็น
แหล่งเมล็ดท่ีไม่ได้จัดการอะไรเลย ไปจนถึงดีที่สุดที่ระดับ 7 ซ่ึงเป็นแหล่งท่ีมีคุณภาพดีที่สุดโดยการคัดเลือกแม่ไม้มา
จากท่ตี า่ งๆ มาปลกู ในพืน้ ที่เดียวกัน มีการวางแผนการปลกู เพือ่ ใหม้ กี ารผสมพันธุก์ นั อยา่ งทวั่ ถึง และมีการทดสอบสาย
พันธุ์เพ่ือการคัดเลือกแม่ไม้สาหรับการสร้างสวนผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นต่อๆ ไปอีก สวนผลิตเมล็ดพันธุ์สร้างได้ 2 วิธี คือ
การสร้างจากสายต้น (clone) เรียกว่า Clonal seed orchard (ภาพท่ี 17) และการสร้างจากสายพันธุ์ (family) โดย
ใชเ้ มลด็ จากแมไ่ ม้แตล่ ะตน้ เรียกว่า Seedling seed orchard (ภาพท่ี 18)

ภาพท่ี 16 การจาแนกช้ันคุณภาพทางพนั ธุกรรมของแหล่งเมล็ด
ที่มา: สานกั วิจยั และพฒั นาการป่าไม้ กรมปา่ ไม้ พ.ศ. 2556

30

ภาพที่ 17 สวนผลิตเมล็ดพันธ์ุที่กอ่ ตัง้ จากสายตน้ (Clonal seed orchard) (กรมปา่ ไม้, 2556)
ท่มี า: สานักวิจัยและพฒั นาการปา่ ไม้ กรมปา่ ไม้ พ.ศ. 2556

31

ภาพที่ 18 สวนผลิตเมลด็ พนั ธทุ์ ่กี ่อตั้งจากเมล็ด (Seedling seed orchard) (กรมปา่ ไม้, 2556)
ทม่ี า: สานักวิจัยและพฒั นาการป่าไม้ กรมปา่ ไม้ พ.ศ. 2556

32

2. วิธกี ารเก็บเมลด็ ไม้
2.1 กาหนดเวลาการเกบ็ เมลด็
ระยะเวลาในการเก็บเมลด็ ดีทีส่ ดุ คือ ช่วงเวลาทเี่ มลด็ สว่ นใหญ่สกุ แก่ แตต่ อ้ งเกบ็ ก่อนท่ีผลหรอื เมลด็ จะร่วง

หรือเป็นอาหารของสัตว์เสียก่อน เมล็ดสุกแก่จะมีคุณภาพสูงสุดทั้งทางสรีระและกายภาพ ข้อมูลระยะเวลาการออก
ดอกและเวลาการเก็บเมล็ดไม้ชนิดต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 2 เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการเก็บเมล็ดไม้ชนิด
ต่างๆให้ทันเวลา นอกจากนี้แล้วผู้เก็บยังต้องใช้การสังเกตความสุกแก่จากการท่ีผลเริ่มร่วงหรือเมล็ดเริ่มกระจาย
ประปราย มกี ารเปล่ยี นแปลงลักษณะทางกายภาพ เชน่ สี ขนาด นา้ หนัก ความช้ืนภายในเมลด็ และลักษณะโครงสรา้ ง
ของเมล็ด เช่น สีผลเปล่ียนจากสีเขียวเป็นสีน้าตาล ดา หรือแดง สีปีกเปลี่ยนจากเขียวเปน็ น้าตาล เปลือกแข็ง เนื้อผล
นิม่ หรือเละ ผลแตกหรือรว่ งหล่น ขัว้ ผลหกั หลุดงา่ ย ดังภาพท่ี 19 เป็นต้น

ตารางที่ 2 ระยะเวลาการออกดอก และช่วงเวลาท่ีเหมาะสมต่อการเก็บเมล็ดไม้ชนิดตา่ งๆ

ชือ่ พนั ธุ์ไม้ ระยะเวลาออกดอก ระยะเวลาเก็บเมล็ด

1. กระถนิ ณรงค์ ก.ค.-ส.ค. พ.ย.- มี.ค.

2. กระถนิ (Acacia aulacocarpa) - ก.พ – มี.ค.

3. กระถิน (Acacia crassicarpa) - ก.พ. - พ.ค.

4. กระถิน (Acacia holosenicea) - ก.พ. – ม.ี ค.

5. กระถนิ (Acacia leptocarpa) - ม.ี ค. - เม.ย.

6. สเี สยี ดแก่น เม.ย. - ก.ค. ก.พ. - เม.ย.

7. กระถนิ เทพา ต.ค. - ธ.ค. ม.ี ค. - เม.ย.

8. มะค่าโมง ก.พ. – ม.ี ค. ต.ค. – มี.ค.

9. มะยมป่า ( ยมปา่ ) ก.พ. - มี.ค ม.ี ค. - เม.ย.

10. คาง - ม.ี ค.

11. ถอ่ น พ.ค. - ส.ค. ก.พ. - เม.ย.

12. พฤกษ์ ม.ี ค. - เม.ย. พ.ย. – มี.ค.

13. ตีนเป็ด ต.ค. - ธ.ค. ม.ค. - ก.พ.

14. มะมว่ งหิมพานต์ - ม.ค. - ก.พ.

15. ตะกู ( กระทมุ่ ) ม.ิ ย. - ก.ย. ก.ค. - ก.พ.

16. สะเดาเทียม ก.พ. – มี.ค. พ.ค. – ม.ิ ย.

17. สะเดา ธ.ค. - ม.ค. มี.ค. - พ.ค.

18. สนทะเล ม.ค. – ม.ี ค. พ.ย. - เม.ย.

19. ขีเ้ หล็กอเมรกิ า - ก.พ. - มยิ .

20. คูณ ก.พ. - เม.ย. มคี . - เม.ย.

21. แสมสาร พ.ค. - ก.ค. ก.พ. – ม.ี ค.

22. ข้ีเหลก็ บา้ น ก.ค. - ส.ค. ก.พ. - เม.ย

23. กัลปพฤกษ์ ก.พ. - เม.ย. ก.พ. – มี.ค.

33

ตารางท่ี 2 (ต่อ) ระยะเวลาออกดอก ระยะเวลาเกบ็ เมลด็

ชือ่ พนั ธ์ไุ ม้ ก.พ. - เม.ย. ก.พ. – ม.ี ค.

24. กาลพฤกษ์ - ก.พ. – มี.ค.

25. ยมหนิ - ม.ี ค. - เม.ย.

26. ฝ้ายคา พ.ย. - ก.ค. ต.ค. - ก.พ.

27. พะยงู พ.ย. - ก.ค. ต.ค. - ก.พ.

28. พะยูงอินโดนีเซีย มี.ค. - เม.ย. ม.ค. – มี.ค.

29. กระพีเ้ ขาควาย ม.ี ค. - พ.ค. ม.ค. – มี.ค.

30. ฉนวน ม.ี ค. - พ.ค. พ.ย. - พ.ค.

31. ชิงชัน ม.ี ค. - เม.ย. พ.ย. – ม.ี ค.

32. หางนกยูงฝรงั่ มี.ค. - พ.ค. ก.พ. - พ.ค.

33. ยางนา ม.ค. - ก.ย. ม.ค. – ม.ี ค.

34. มะเกลือ - ม.ี ค. - พ.ค.
เม.ย. - พ.ค. ธ.ค. - ก.พ.
35. ยางแดง เม.ย. – มิ.ย. ก.พ. - พ.ค.
36. ซาก พ.ย. - ก.ค.
37. พนั ชาด - ธ.ค. – มี.ค.
38. ยูคาลปิ ตัส คามาลดเู ลนซีส -
39. ยูคาลิปตสั ซติ ริโอโดรา - ส.ค. - ธ.ค.
40. ยคู าลิปตสั โคลอเี ซียนา - พ.ค. - ต.ค.
41. ยคู าลปิ ตสั ดีกร๊ปุ ตา - ม.ค. - ก.ค.
42. ยคู าลปิ ตัส แกรนดิส - เม.ย. - พ.ค. - ต.ค.
43. ยูคาลปิ ตสั เทรติ ิคอรน์ ิส เม.ย. – ม.ิ ย. ก.ย. - พ.ย.
44. กนั เกรา , ตาเสา ก.ค. - พ.ย. ม.ค. – มี.ค.
45. แคหางคา่ ง ธ.ค. - ก.พ. ธ.ค. - ก.พ.
46.มะสงั ม.ค. - เม.ย. ก.พ. - พ.ค.
47. ซอ้ ม.ค. – ม.ี ค. ก.พ. - เม.ย.
48. ตะเคียนทอง ธ.ค. - ม.ค. ธ.ค. - ม.ค.
49. ขานาง มี.ค. ก.พ. - ม.ค.
50. หลุมพอ มิ.ย. - ต.ค. ก.พ. - เม.ย.
51. ตะแบกนา มี.ค. - พ.ค. ธ.ค. - ก.พ.
52. อนิ ทนลิ บก มี.ค. - พ.ค. พ.ย. – ม.ี ค.
53. อินทนลิ นา้ ม.ี ค. - เม.ย. พ.ย. – มี.ค.
54. เสลา - ธ.ค. – มี.ค.
55. กระถนิ ยักษ์ -
56. กระถินบ้าน - มี.ค
57. มะม่วงปา่ ก.พ. - มคี . เม.ย - ก.ค
58. เลีย่ น - พ.ย. - ก.พ.
59. บุญนาค มี.ค. - พ.ค.
60. สาธร, กระเจ๊าะ ก.พ
ก.พ. - เม.ย.
34

ตารางท่ี 2 (ตอ่ ) ระยะเวลาออกดอก ระยะเวลาเก็บเมล็ด

ชื่อพันธ์ุไม้ ธ.ค. – มี.ค. ก.พ. - เม.ย.
- ธ.ค.
61. ปบี (กาสะลอง )
62. พิกลุ มิ.ย –ส.ค มี.ค. - เม.ย.
63. เพกา ( ล้ินฟา้ ) ม.ค - มี.ค ต.ค - ก.พ
64. นนทรีป่า ม.ค - มี.ค ต.ค - ก.พ
65. นนทรีทอง
66. ยางบง - เม.ย - พ.ค
67. สนคารเิ บยี - มิ.ย - ส.ค
68. สนสองใบ
69. สนสามใบ - ม.ี ค - มิ.ย
70. ประดู่ป่า พ.ย - เม.ย. พ.ย. - ก.พ.
71. ประดบู่ ้าน มี.ค.-เม.ย. ต.ค - ธ.ค
72. โกงกางใบเลก็
73. โกงกางใบใหญ่ มี.ค.-เม.ย. ต.ค. - ธ.ค.
74. มะค่าแต้ - มี.ค.
75. มะกอกปา่
76. มะฮอกกานี ( ใบเลก็ ) - มี.ค.
77. มะฮอกกานี (ใบใหญ่ ) มี.ค. - พ.ค. ต.ค. - ม.ค.
78. ชมพูพันธทุ์ พิ ย์ ธ.ค. – มี.ค. ธ.ค. - เม.ย.
79. ทองอุไร
80. สัก - ธ.ค. - ม.ค.
81. สมอไทย - ธ.ค. - ม.ค.
82. สมอภเิ ภก
83. สมพง - ก.พ. - เม.ย.
84. ไผร่ วก - ม.ค. – ม.ี ค.
85. ยมหอม
86. โมกมัน มิ.ย. - ต.ค. ม.ค. - เม.ย.
87. แดง เม.ย. - ม.ิ ย ต.ค. - ธ.ค
ม.ี ค. - พ.ค. ธ.ค. - ก.พ.
ท่มี า: จานรรจ์ เพยี รอนุรักษ์ (2016)
- ก.พ - เม.ย.
- ก.พ – ม.ี ค.

- ธ.ค. - เม.ย.
ม.ค. – ม.ี ค. ม.ค. – มี.ค.

ก.พ. – มี.ค. ก.พ. - พ.ค.

35

ยางขน พะยอม จันทน์หอม

ตะเคยี นทอง หลุมหอ ยางเหียง

ยางนา พนอง ยางกลอ่ ง
ภาพที่ 19 ลักษณะของเมล็ดไม้ทแี่ กเ่ ตม็ ที่เหมาะแกก่ ารเก็บมาเพาะ

36

2.2 วธิ กี ารเก็บผลหรอื ฝกั
ในการเก็บเมล็ดไม้นนั้ ขั้นตอนการดาเนนิ การคือต้องเก็บผลหรือฝักท่มี ีเมล็ดอยู่ภายในก่อน จากนัน้ จงึ นา

ผลหรอื ฝกั มาแยกเมล็ดออกจากผลอีกครงั้ หนงึ่ ซึง่ วธิ กี ารเกบ็ ผลหรือฝักทาได้หลายวิธี แต่ละวธิ จี ะมีความเหมาะสมกับ
พชื แตล่ ะชนิด หรือแตล่ ะสภาพพน้ื ที่ แตกต่างกนั ไปดังน้ี

2.2.1 การเก็บผลทีร่ ว่ งหลน่ ตามธรรมชาติ
พืชบางชนิดฝักจะร่วงสู่พื้นดินเม่ือเมล็ดแก่จัดโดยเมล็ดที่อยู่ภายในยังไม่เสียหาย เช่น จามจุรี

บางชนิดลาตน้ สูงใหญ่แผ่ก่ิงก้านกว้าง การปีนเก็บทาได้ยาก จาเป็นต้องรอให้ผลร่วงหลน่ เช่น กระบก ซ้อ เล่ียน ฯลฯ
แต่ควรเก็บขณะผลยังสดไม่เน่าเสีย เคร่ืองมือที่ใช้สาหรับเก็บผลที่ร่วงหล่นตามพื้นได้แก่ คราด ตะแกรงสาหรับร่อน
ภาชนะใสผ่ ล เชน่ ถัง ตะกร้า ผา้ ใบหรือผา้ พลาสติกขนาดใหญ่ (ภาพท่ี 20)

ภาพท่ี 20 การเก็บผลทีร่ ่วงหลน่ ตามธรรมชาติ
2.2.2 การเขยา่ ตน้ ไม้
ต้นไมท้ มี่ ขี นาดเล็ก และขัว้ ผลเปราะ และแหง้ จดั สามารถใชว้ ิธีเขยา่ ตน้ หรือกงิ่ ได้ ซงึ่ ทาโดย
2.2.3 การลิดก่งิ ที่มีผล
เม่ือผลอยสู่ งู มือเอ้ือมไมถ่ ึง อาจใชอ้ ุปกรณท์ ่มี ดี ้ามยาวช่วยในการลิดกง่ิ แล้วทาการเกบ็ เมล็ดที่ติด

อยกู่ ับกง่ิ
2.2.4 การเหวี่ยงเชือกที่มนี า้ หนกั ถว่ งปลาย เพ่อื ทาให้ก่ิงทีม่ เี มลด็ หกั ลง
การเหว่ยี งเชอื กท่มี นี ้าหนกั ถว่ งปลาย เพ่ือทาใหก้ งิ่ ท่ีมเี มลด็ หักลง
2.2.5 การปีนตน้ ไมเ้ พ่ือเก็บเมล็ด
ต้นไม้ท่ีมีขนาดใหญ่ มีความสูงมาก และข้ัวผลเหนยี วการจะเก็บผลจาเป็นตอ้ งปีนต้น ซ่ึงมีความ

เสี่ยงและอันตรายสูง การปีนโดยใช้เคร่ืองมือปีนต้นไม้ท่ีมีอุปกรณ์ช่วยปีนและเชือกคุณภาพพิเศษ ช่วยให้เกิดความ
ปลอดภยั ในการปีนเป็นเร่อื งท่ตี ้องปฏบิ ตั ิอยา่ งเครง่ ครดั ไมค่ วรปีนดว้ ยมือ-เทา้ เปล่า (ภาพท่ี 21)

37

กข ค

งจ ฉ

ภาพท่ี 21 การปีนต้นไม้ขนาดใหญ่เพื่อเก็บเมล็ด (ก-ค) การปีนต้นไม้ขนาดเล็ก (ง) เพื่อเก็บเมล็ดไม้บนต้น (จ) และ
เมล็ดไม้ที่เกบ็ (ฉ) (ส่วนเพาะชากล้าไม้, กรมปา่ ไม้)

2.2.6 การเกบ็ เมลด็ จากต้นไม้ทีต่ ัดโคน่ ลง
ถ้าต้นไม้จะต้องถูกตัดโค่นลง พยายามรอจนกว่าเมล็ดไม้นั้นแก่ดีก่อนการตัดโค่นและจาไว้เสมอ

ว่า อย่าตดั ตน้ ไม้เพยี งเพ่ือเก็บเมล็ด ชนดิ ไม้ท่ีใชว้ ธิ ีน้ไี ดค้ อื ชนดิ ท่อี อกผลแลว้ ตาย เช่น ไม้ไผ่
3. การเก็บรกั ษาเมล็ด

การเก็บรักษาเมล็ดที่ดี คือการใช้ภาชนะที่ปิดได้สนิทท่ีสดุ เพือ่ ควบคุมความชื้นของเมล็ดไม้และอุณหภูมขิ องหอ้ ง
ท่ีเกบ็ ใหอ้ ยู่ในระดับต่า (ภาพท่ี 22)

ภาพท่ี 22 การเกบ็ รักษาเมล็ดไมใ้ นรปู แบบต่างๆ

38

4. การปฏบิ ตั ติ อ่ เมลด็
เมล็ดแต่ละชนิดมเี ปลอื กที่มคี วามแขง็ แตกต่างกัน การเร่งการงอกกต็ อ้ งปฏบิ ตั แิ ตกต่างกนั ซงึ่ แบง่ ออกเป็น 5

กลมุ่ ดงั นี้
6.1 ชนดิ ที่มเี ปลอื กเมลด็ แข็งหนา: ทาให้เปลือกเมล็ดเสยี หายโดยการถูกระดาษทราย ขลบิ ตดั เมลด็ ดา้ นท่ีอยู่

ตรงข้ามกับต้นอ่อนด้วยกรรไกร (ภาพที่ 23) มดี หรอื แชใ่ นกรดเข้มข้น เช่น กรดกามะถนั (คูณ มะค่าโมง หลุมพอ)

ภาพท่ี 23 การตัดเมลด็ หลมุ พอเพ่อื เร่งอัตราการงอก

39

6.2 ชนิดที่มีเปลือกเมลด็ แขง็ : แช่เมลด็ ด้วยน้ารอ้ น (กระถนิ เทพา กระถนิ ณรงค์ ขเ้ี หล็กบา้ น) (ภาพท่ี 24)

ภาพที่ 24 การแช่เมลด็ กระถนิ ในนา้ รอ้ นเพื่อเรง่ อัตราการงอก
6.3 ชนดิ ทม่ี สี ิง่ หอ่ หุม้ เมล็ดแข็งหนา: ใชม้ ีดตดั ผ่าให้แตกโดยเปน็ อันตรายตอ่ เมล็ดนอ้ ยท่สี ุด (ภาพที่ 25)

ภาพท่ี 25 การปฏบิ ตั กิ ับเมล็ดกลมุ่ ทมี่ ีมีสิง่ ห่อหุ้มเมลด็ แขง็ หนา

40

6.4 ชนิดทม่ี เี ปลอื กบางหรอื นิ่มนา้ ซึมผ่านเขา้ ไปไดง้ ่าย: ลงแปลงเพาะไดเ้ ลย (สะเดา มะขามเทศ)
6.5 ชนิดที่มปี ีก: นาเมลด็ แกเด็ดปีกถงึ โคนแล้วนาลงเพาะได้เลย (ยางนา ตะเคียนทอง) (ภาพท่ี 26)

ภาพที่ 26 การปฏบิ ัติกบั เมลด็ กลมุ่ ทีม่ ปี กี
นอกจากนี้ยังมวี ธิ ปี ฏบิ ัติตอ่ เมลด็ ไมก้ อ่ นการเพาะอีกหลายชนิดดงั ตารางท่ี 3

41

ตารางท่ี 3 ขอ้ มูลการปฏิบตั ติ อ่ เมลด็ ไมก้ ่อนการเพาะ

ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ชื่อสามญั วิธกี ารปฏิบตั ิ ระยะเวลาการงอก จานวนเมล็ด/กก
3 - 8 วนั 66,600
Acacia auriculiformis กระถนิ ณรงค์ แช่ในนา้ เดอื ด 80-90°C

แล้วทง้ิ ไวใ้ ห้เยน็ 1 คืน

Acacia mangium กระถินเทพา แช่ในนา้ เดอื ด 80-90°C 3 - 6 วนั 40,000- 98,000

แล้วท้งิ ไวใ้ ห้เย็น 1 คืน

Albizia lebbeck พฤกษ์ แชใ่ นนา้ เดือด 80-90°C 3 - 4 วัน 8,100-10,000

แล้วทงิ้ ไวใ้ หเ้ ยน็ 1 คืน

Albiaia lebbeckoides คาง แช่ในน้าเดือด 80-90°C . 3 - 4 วัน 6,000

แลว้ ทิ้งไว้ให้เยน็ 1 คืน

Anacardium occidentale มะมว่ งหิม ตัดส่วนของเมลด็ ออก 12 วนั 216-900

พานต์ เพ่ือลดการหดตัว

Anona muricata ทเุ รียนเทศ แชน่ า้ ไว้ 1 คืน 5 - 12 วัน 1,750
3 - 5 วัน 45 - 90
Artocarpus heterophyllus ขนนุ เอาเยอื่ หุ้มเมลด็ ข้างนอก

ออกแล้วแชน่ ้าไว้ 24 ชม.

Azadirachta indica สะเดา แช่นา้ 3 - 6 วนั 3 - 5 วนั 4,000-4,700
2 - 3 วัน 3,500
Cajanus cajan ถว่ั มะแฮะ แชน่ ้าเย็น 24 ชม. 10-15 วัน 1,410
3 - 7 วนั
Butea monosperma ทองกวาว -

Calamus merillii หวาย ตัดเปลือกหุ้มเมลด็ ออก

บางส่วน

Carica papaya มะละกอ เอาเยอ่ื หุม้ เมลด็ ออก 7 วัน 76,300

ลา้ งให้สะอาดแลว้ ผ่ึงลม

Cassia fistula ราชพฤกษ์ ทาแผลทีเ่ มล็ด แชน่ ้า 1 3 - 7 วัน 2,000 - 6,000

คืน

Cassia occidentale ชุมเห็ดเลก็ แชใ่ นนา้ เดือด 5 นาที 1 - 3 วนั 4,000
3 - 5 วัน 3,000 - 700,000
Cassia siamea ขเ้ี หลก็ บา้ น แชใ่ นน้าร้อน 80-90 °C

แล้วทิ้งไว้ 1 คืน

Casuarina equisetifolia สนทะเล 680,000 -
700,000
Coffee spp, กาแฟ เอาเยือ่ หุม้ เมลด็ ขา้ งนอก 30 วัน 2,000
ออก แลว้ แชน่ า้ ไว้ 24
Dalbergia cochinchinensis พะยูง ชม. 5-15 วัน 42,000
แช่ในน้ารอ้ น 80-90 °C
แลว้ ทง้ิ ไว้ 1 คืน

42

ตารางท่ี 3 (ตอ่ )

ชอื่ วิทยาศาสตร์ ช่อื สามัญ วิธกี ารปฏบิ ัติ ระยะเวลาการงอก จานวนเมล็ด/กก
1,600 - 9,300
Delonix regia หางนกยงู ตดั -ทาแผลปลายเมล็ด หรือ 12-20 วนั
2,000
แชก่ รดเข้มขน้ 45 นาที 15,000
13,000
แชใ่ นน้าร้อน ทิ้งไวใ้ หเ้ ย็น 1
500
คืน 19,000- 24,900
2,300
Dalbergia cultrata กระพเี้ ขาควาย - 7-15 วนั 2,000
46,200
Leucaena diversifolia กระถนิ ยักษ์ใบ แช่ในนา้ รอ้ นอุณหภูมิ 80 -90 7 - 15 วนั
2,300,000
เล็ก °C แล้วทง้ิ ไว้ 1 คืน 150
3,000-5,000
Leucaena leucocephala กระถินยักษ์ แช่นา้ ไว้ 1 คืน 2 - 3 วัน 8,700-9,800
20,400-28,000
Levistona rotundifolia ปาล์มพัด แชน่ า้ 24 ชม. เอาเปลือกห้มุ 2 - 3 วัน 6,700-7,900
4,340
จุดงอกออก
2,300
Pinus kesiya สนสามใบ แช่นา้ เยน็ 1 คืน 10-15 วนั

Pterocarpus ประดู่ แช่น้าเยน็ ท้งิ ไว้ 1 คืน 4 - 15 วัน

macrocarpus

Swietenia มะฮอกกานี แช่ในนา้ รอ้ น 5 นาที 14-28 วัน

macrophylla

Tectona grandis สกั แช่ในนา้ ไหล 24 ชม. 14-68 วนั

Dalbergia พะยงู แช่ในน้ารอ้ นอุณหภมู ิ 5-10 วัน

cochinchinensis 60-70 °C แล้วทิง้ ไว้ 1

คืน

Eucalyptus sp. ยคู าลปิ ตสั - 3-10 วนั

Afzelia xylocarpa มะค่าโมง ตัด-ทาแผล แช่น้าเย็น 12-16 วัน

ทิ้งไว้ 1 คืน

Xylia kerri แดง แช่นา้ รอ้ นอุณหภมู ิ 5-15 วัน

70-80 °C ท้ิงไว้ 1 คืน

Dalbergia oliveri ชิงชนั แชน่ ้าร้อนอุณหภมู ิ 10-20 วนั

60-70 °C ทิ้งไว้ 1 คืน

Albizia procera ถอ่ น แชน่ ้ารอ้ นอุณหภมู ิ 7-15 วนั

80-90 °C ทง้ิ ไว้ 1 คืน

Cassia fistula คูน ตัด- ทาแผลปลาย 7-20 วนั

เมลด็

Cassia bakeriana กัลปพฤกษ์ ตดั - ทาแผลปลาย 7-20 วนั

เมลด็

Cassia grandis กาฬพฤกษ์ ตัด- ทาแผลปลาย 7-20 วัน

เมลด็

43

ตารางที่ 3 (ต่อ) ชื่อสามญั วิธีการปฏบิ ัติ ระยะเวลาการงอก จานวนเมลด็ /กก
ช่อื วิทยาศาสตร์ เสี้ยวดอกขาว แช่นา้ ร้อนอุณหภมู ิ 5-10 วนั 9,400
70 °C ทิ้งไว้
Bauhinia 1 คืน 5-15 วัน 21,900
acuminata แชน่ า้ เยน็ 1 คืน 53,700
แชน่ ้าร้อนอณุ หภมู ิ 5-20 วัน
Acacia catechu สีเสยี ดแกน่ 80-90 °C ท้ิงไว้ 1 คืน 10-15 วัน 30,000
Cassia floribunda ขเี้ หลก็ อเมรกิ า แช่นา้ รอ้ นอณุ หภมู ิ 10-15 วนั
80-90 °C ทง้ิ ไว้ 1 คืน 46,500
Cassia garetiana ข้เี หลก็ ป่า แชน่ ้าร้อนอุณหภมู ิ 7-15 วนั
80-90 °C ท้งิ ไว้ 1 คืน 7-15 วนั 6,400
Cassia surattensis ทรงบาดาล ตดั – ทาแผลปลาย
เมลด็ 8,500
Diospyros mollis มะเกลอื แชน่ า้ เย็น 1 คืน 2,750-8,000
- 46,000
Griricidia sepium แคฝร่งั -
Gmelina arborea ซ้อ
Holoptelea กระเจา - 15-30 วนั 140
integrifolia
Irvingia malayana กระบก - 7-20 วัน 147,000
Lagerstroemia อนิ ทนิลน้า
speciosa - 10-20 วัน 108,000
Lagerstroemia เสลา
lodoni - 15-20 วัน 190,000
Lagerstroemia ตะแบก
floribunda - 10-20 วนั 46,200
Lagerstroemia อินทนลิ บก
macrocarpa ตดั - ทาแผลปลาย 20-30 วัน 1,286
Meli aazedarath เลีย่ น เมลด็ แช่น้า 1 คืน 5-15 วนั 3,700
-
Millettia กระพี้จ่ัน
brandisiana - 10-15 วนั 3,500
Millettia สาธร (กระเจ๊าะ)
leucantha - 5-10 วัน 8,500
Oroxylum indicum เพกา แชน่ ้ารอ้ นอุณหภมู ิ 5-15 วัน 5,700
Samania saman จามจรุ ี 80-90 °C ทิ้งไว้ 1 คืน
แช่น้ารอ้ นอุณหภมู ิ 5-15 วนั 45,000
Senna surattensis ทรงบาดาล 80-90 °C ทง้ิ ไว้ 1 คืน

44

ตารางท่ี 3 (ต่อ) ชอ่ื สามัญ วิธีการปฏิบัติ ระยะเวลาการงอก จานวนเมลด็ /กก
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ แคบ้าน แชน่ ้ารอ้ นอณุ หภมู ิ 5-15 วนั 25,600
80-90 °C ท้ิงไว้ 1 คืน
Sesbania นนทรีปา่ แชน่ า้ รอ้ นอุณหภมู ิ 28,500
grandiflora 70-80 °C ท้งิ ไว้ 1 คืน
Peltophorum
dasyrachis

45

การเพาะเมล็ดไมป้ ่า

การเพาะเมลด็ ไม้ ปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 วธิ ี คือ
1 การนาเมล็ดลงถุงโดยตรง
o ใช้กับเมลด็ ขนาดใหญ่ เช่น มะค่าโมง มะค่าแต้ เป็นต้น หรือ เมล็ดที่มีเปอร์เซ็นต์การงอกดี 90 % ข้ึน

ไป โดยการรดนา้ ใหช้ ุม่ แลว้ วางเมลด็ นอนแนวราบ กดใหจ้ มต่ากวา่ ผวิ ดนิ ประมาณ 3-5 มลิ ลิเมตร ดงั ภาพที่ 27

ภาพที่ 27 การเพาะเมล็ดไม้ปา่ ลงถงุ หรือวสั ดุเพาะชาโดยตรง

46

2 เพาะในกระบะเพาะกอ่ นยา้ ยชา

o หว่านให้กระจายท้ังกระบะเพาะแล้วโรยดินกลบให้สม่าเสมอหนาประมาณ 3-5 มิลลิเมตร หรือว่าน
เปน็ แนวโดยเซาะรอ่ งกอ่ นแล้วโรยลงร่องแล้วกลบ รดนา้ ใหช้ ุ่ม คลมุ กระบะด้วยพลาสตกิ เพ่ือรักษาความช้นื ในดนิ แลว้
ทาการยา้ ยลงถงุ ปกั ชา ดงั ภาพที่ 28

ภาพที่ 28 การเพาะเมลด็ ไมป้ า่ ในกระบะเพาะกอ่ นยา้ ยชา

47

การปกั ชากลา้ ไม้โตเรว็

การปักชา (cutting) เปน็ การขยายพนั ธ์แุ บบไม่อาศยั เพศ เนื่องจากการขยายพันธดุ์ ว้ ยเมล็ดมีความแปรผนั

สูงและทาให้ผลผลิตไม่ค่อยแนน่ อนทางพนั ธุกรรม ทาให้ไม่สามรถถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมที่ดีไปยังรนุ่ หลานได้

จึงได้มีการศกึ ษาการวจิ ยั ขน้ึ มาเพือ่ จะได้ลักษณะแมไ่ ม้ทีด่ ีตกถึงรนุ่ ลูกและเปน็ การลดความเสยี่ งต่อการปลูกสวนป่าโดย

ใช้เมล็ด ซ่ึงอาจมีลักษณะด้อยแฝงอยู่และเป็นการแก้ปัญหาเมล็ดไม่เพียงพอ ออกไม่สม่าเสมอทุกปี และยังช่วยให้

สามารถผลิตกล้าไม้ได้จานวนมากๆ ในระยะเวลาอันส้ัน ทาให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย สาหรับวิธีการขยายพนั ธท์ุ ี่

นยิ มก็คือ การปกั ชา

วสั ดุอุปกรณส์ าหรบั การปักชา

1. กิง่ พันธ์ุกระถนิ เทพา 2. กรรไกรตัดกิ่ง

3. วสั ดปุ ลูก (ทรายและขยุ มะพร้าว) 4. ถงุ ดาขนาด 2*6 นิ้ว

5. กะละมัง 6. บวั รดนา้

7. นา้ ยาเรง่ ราก 8. กระโจมแบบง่ายจากท่อ pvc

9. พลาสติกใสคลมุ กระโจม 10. ปยุ๋ เคมีสูตร 15-15-15

11. สปริงเกอร์

การปักชาเป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถผลิตกล้าไม้ได้เป็นจานวนมาก โดยการคัดเลือกแม่ไม้ที่มีลักษณะดีเพ่ือ

นาไปจัดสร้างสวนกิ่งพันธุ์ (scion orchard) ดังนั้นถ้าเราต้องการขยายพันธุ์ไม้กระถินเทพาโดยวิธีการปักชาเราต้อง

จัดสรา้ งสวนกง่ิ พันธุ์เสยี กอ่ น โดยมีข้นั ตอนดังตอ่ ไปนี้

1 การคัดเลือกแม่ไม้ท่ีมีการเติบโตที่ดี มีความเปลาตรง แตกก่ิงก้านน้อยและกิ่งทามุมกว้างกับลาต้นหรือ

ใกล้เคียงหรอื มากกวา่ 90 องศา ทนทานต่อโรคแมลง มีรูปทรงเรือนยอดที่สมดุล (ภาพที่ 29) ทาการตอนกง่ิ พนั ธด์ุ เี พื่อ

นามาปลูกสร้างเปน็ กลุ่มเปน็ แถวเพื่อสร้างแปลงขยายก่ิงพันธุ์สาหรับการปกั ชา โดยทาการปลูกทรี่ ะยะ 0.5x0.5 เมตร

หรือ 1x1 เมตร บนพื้นท่ีราบ ดินร่วน ลึก ระบายน้าได้ดี ทาการดูแลรักษาโดยรดน้าใส่ปยุ๋ เม่ือสูงประมาณ 1.5 เมตร

ทาการตัดแต่งก่ิงก้านและกิ่งข้างออก ให้เป็นพุ่มสูงจากพื้นดินประมาณ 1.0 เมตร ซ่ึงเป็นการทาให้แม่ไม้อายุน้อยลง

และส่งเสริมให้การตัดกิ่งชาแต่ละคร้ังมกี ารแตกรากท่ีดี เพราะยิ่งแม่ไม้อายุนอ้ ยการแตกรากก็จะยงิ่ ดี แต่ถ้าแม่ไม้อายุ

มากก่งิ ที่เรานามาชากจ็ ะไม่ค่อยออกราก

ภาพท่ี 29 ลกั ษณะแม่ไม้และการสรา้ งสวนผลติ กงิ่ พันธ์ุ

48

2 การเตรียมวัสดุปลูก นาทรายมาร่อนแยกเอาก้อนกรวดออกไป แล้วนาทรายมาผสมกับขุยมะพร้าว
อัตราสว่ น 1:2 หรอื ใช้แกลบดาเป็นวัสดุปลกู เพยี งอยา่ งเดยี วกส็ ามารถใหผ้ ลผลติ ทด่ี เี ช่นกัน (ภาพท่ี 30)

ภาพที่ 30 การเตรยี มวัสดปุ ลูกไม้กระถินเทพา
3 การเก็บกิ่งพันธุ์ เลือกตัดกิ่งอ่อนของยอดกระถินเทพา จากแปลงผลติ กิ่งพนั ธ์ุ ท่ีมีอายุ 30-45 วันโดยก่ิง

พันธ์ุจะมีความยาว 10-20 เซนตเิ มตร ซึ่งเปน็ ระยะทเ่ี หมาะแกก่ ารปักชา (ภาพท่ี 31) โดยกิ่งพนั ธจุ์ ะต้องมีลกั ษณะเป็น
ยอดทีแ่ ตกข้นึ มาใหม่ มลี กั ษณะเป็นเหลยี่ ม

ภาพท่ี 31 การเก็บกิ่งพันธุ์ไมก้ ระถินเทพา
4 นากิ่งพันธุ์ท่ีได้จากสวนการผลิตก่ิงพันธุ์ ตัดให้สูงจากโคนหน่อขึ้นไปประมาณ 2-5 ซม. แล้วใส่ลงใน

ภาชนะทบ่ี รรจุนา้ ให้ท่อนโคนจุ่มนา้ และเกบ็ ไว้ในท่ีรม่ (ภาพที่ 32) นามาตัดแตง่ ดว้ ยมดี หรือกรรไกรที่มีคมมาก ให้สงู

49


Click to View FlipBook Version