The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การปลูกสร้างไม้มีค่าในระบบสวนสมรมบนพื้นฐานเสริมสร้างนิเวศความหลากหลายชีวภาพและเศรษบกิจชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Forestry Research Center, 2020-04-29 23:47:34

คู่มือปลูกสร้างไม้มีค่าในระบบสวนสมรม

การปลูกสร้างไม้มีค่าในระบบสวนสมรมบนพื้นฐานเสริมสร้างนิเวศความหลากหลายชีวภาพและเศรษบกิจชุมชน

Keywords: ไม้มีค่า,สวนสมรม

จากโคนหน่อประมาณ 7-10 เซนติเมตร หรือมีอย่างน้อย 2 ตา เพื่อให้แตกหน่อรุ่นต่อไป เวลาที่เหมาะสมในการเกบ็
กิง่ พนั ธคุ์ ือ ชว่ งเชา้ ระหวา่ ง 06.00-09.00 น เตรียมกง่ิ ชาโดยตดั ใบออกลงครง่ึ หนงึ่ เพอื่ ลดการคายนา้ และสนบั สนุนกา
รอยูรอดของกง่ิ ชา หลังจากตดั แต่งก่งิ ชาเสร็จใหม้ ันรวมกันเป็นมัดๆ 50-100 กิง่ เพื่อดาเนนิ การในขน้ั ตอนต่อไป

ภาพท่ี 32 การตดั แต่งไมก้ ระถินเทพา
5 การเตรียมน้ายาเร่งราก นาน้ายาเร่งรากท่ีหาซื้อได้ตามตลาดทั่วไป เช่น รูทโกร (root gro) เซราดิกซ์

(seradix) และบีวนั (b1) เป็นต้น นาสารเร่งรากมาผสมกับน้าอัตราส่วน 1 ต่อ 5 แล้วแช่ก่ิงพันธล์ุ งไปเปน็ เวลา 10-15
นาที

6 นากิง่ พนั ธุ์ท่ีแช่น้ายาเรง่ รากแล้วมาปักชาในวสั ดุปลกู ที่เตรียมไวโ้ ดยกอ่ นการปักชาใหใ้ ชไ้ มเ้ จาะวสั ดปุ ลูก
ให้เป็นหลุมลึก 3-4 เซนติเมตร แล้วค่อยปกั ก่ิงพันธลุ์ งไป เพ่ือป้องกันการกระทบกระเทือนของกิ่งพันธุ์ กดวัสดุปลูกให้
ดินแน่นพอประมาณแล้วรดน้าให้ชุ่มแล้วนาไปไว้ในกระโจมปิดคลุมด้วยพลาสติกเพ่ือรักษาอุณหภูมิและความชื้น
(ภาพที่ 33)

ภาพท่ี 33 การปักชากลา้ ไมก้ ระถินเทพาลงในวสั ดปุ ลกู
7 การควบคมุ สภาพแวดล้อมในการปักชา สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการปกั ชามดี ังน้ี
7.1 อุณหภูมิ อุณหภูมิของอากาศมีผลต่อการเกิดรากของท่อนพันธ์ุอย่างย่ิง โดยท่ัวไปอุณหภูมิใน

ตอนกลางวันระหว่าง 21-27 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิในตอนกลางคืนประมาณ 15 องศาเซลเซียส เป็นช่วง
อุณหภูมิท่ีเหมาะสมในการปักชา อุณหภูมิของอากาศท่ีสูงเกินไปจะเหมาะต่อการแตกยอดมากกว่าราก และ
นอกจากนั้นยังทาให้การคายน้าเพ่ิมสูงข้ึนซึ่งจะส่งผลให้ท่อนพันธุ์แห้งได้ นอกจากนี้อุณหภูมิของวัสดุชาก็มีผลต่อการ
เกิดรากเช่นกัน

50

7.2 แสง เป็นปัจจัยที่ผลต่อความสมบรู ณข์ องต้นตอและต่อเนอื่ งไปจนถึงการเกิดรากของก่ิงชา แสง
มผี ลต่อการเตบิ โตของพชื ดว้ ยกนั 3 รูปแบบคอื ความเข้มแสง (Light Intensity) ความยาวนานของแสง (Day length
หรือ Photoperiod) และ คุณภาพแสง (Light quality) โดยแสงจะเป็นปจั จัยสาคัญในขบวนการสังเคราะห์แสง และ
การสงั เคราะหส์ ารควบคมุ การเตบิ โตของราก

7.3 ความช้ืนสัมพัทธ์ ในขณะท่ีทาการปกั ชาความชน้ื นับวา่ เป็นหัวใจสาคัญต่อการอย่รู อดและการ
เจริญและพัฒนาของท่อนพันธุ์หลังจากเกิดรากแล้ว ปริมาณความช้ืนมีความสัมพันธ์กับขบวนการคายน้าและ
ขบวนการสังเคราะห์แสงของพชื ท่อนพันธ์ุจะสูญเสียน้าเน่ืองจากการคายน้า ซึ่งเม่ือความสมดุลในการดูดนา้ และการ
คายน้าของทอ่ นพันธ์เุ สียไปจะทาใหท้ อ่ นพันธุ์แหง้ และตายไปกอ่ นการเกิดราก

7.4 วัสดุที่ใช้ในการปักชา (Rooting Medium) วัสดุท่ีใช้ในการปักชาเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มผี ล
ต่อการปักชา หนา้ ท่ีหลักของวัสดทุ ีใชใ้ นการปักชา คือ

1) ทาหน้าท่ียึดทอ่ นพนั ธ์ใุ นระหว่างการปักชา
2) เปน็ แหลง่ ทใี่ หค้ วามชุ่มช้ืนแก่ทอ่ นพนั ธ์ุ
3) เปน็ แหลง่ สาหรับแลกเปลี่ยนอากาศที่โคนของทอ่ นพันธ์ุ และปรบั สภาพของแสงใหม้ ืดหรือ
พอเหมาะต่อท่อนพนั ธ์ุ
วัสดุท่ีใช้ในการปักชาควรมีคุณสมบัติท่ีดีสาหรับทาหน้าท่ีเหล่านี้ คือ ควรมีความพรุนพอเหมาะ
ตอ่ การระบายอากาศ สามารถอุ้มน้าและระบายน้าไดด้ ี นอกจากน้ียงั ต้องปราศจากเชอื้ โรค
8 การดูแลหลงั การปักชา
ช่วงเวลาที่สาคัญท่ีสุดในการดูแลกิ่งปักชา คือในระยะสัปดาห์แรกๆของการปักชา ซึ่งกิ่งปักชายังไม่มี
การแตกราก จะเกดิ อาการผดิ ปกติได้ง่ายดงั น้ันจงึ ตอ้ งมกี ารดแู ลอยา่ งใกลช้ ิด
8.1 เม่ือถุงปักชาอยู่ภายในกระโจม (ภาพที่ 34) ควรมีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นภายใน
กระโจมประมาณ 70-90% และอุณหภูมิไม่เกิน 32 องศาเซลเซียส ถ้าเกินให้เปิดผ้าใบพลาสติกออกบางส่วนเพื่อ
ระบายความร้อน และพน่ ไอนา้ ดว้ ยถังสเปรยพ์ น่ หมอกภายในกระโจม เพ่อื เพมิ่ ความช้นื

ภาพท่ี 34 รูปแบบของโดมสาหรบั การปกั ชาไม้กระถนิ เทพา

51

8.2 หลังการปกั ชา 2 สัปดาห์ รากของยอดปกั ชาจะแตกออกมายาว 1-2 เซนติเมตร หลังจากน้นั อีก
2-3 สปั ดาหร์ ากของกระถินเทพาจะออกมายาวและมีปริมาณเพ่ิมมากขึน้ และถา้ ก่ิงปักชายงั มสี ีเขียวสดและตาขา้ งแตก
ออกมาใหมแ่ สดงวา่ กง่ิ ปกั ชานนั้ มรี ากออกมาเรียบร้อยแลว้

8.3 เมอ่ื ก่ิงปักชาอายุ 45 วนั ทาการเปดิ กระโจมออกเล็กน้อยเพ่ือลดความชืน้ ภายในกระโจมและให้
กล้าไม้ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมข้างนอก โดยทาการเปิดในในช่วงเย็นซึ่งจะมีอุณหภูมิต่าและความช้ืนสูง ต้นไม้จะ
สามารถปรบั ตวั ไดด้ แี ละมอี ตั ราการรอดตายสงู

8.4 เม่ือเปิดกระโจมแล้วกล้าไม้กระถินเทพาไม่มีอาการเหี่ยว ก็สามารถเปิดกระโจมให้กว้างมากขึ้น
แต่ถ้ากระถนิ เทพามอี าการเหี่ยวใหป้ ิดกระโจมอกี ครง้ั และพน่ ไอน้าให้ความชื้นอีกคร้ังแล้วเปดิ กระโจมเลก็ นอ้ ย

8.5 เมือ่ กล้าไม้ปรับตัวได้แล้วทาการเปิดกระโจมออกทง้ั หมดเพื่อให้กล้าไม้ปรบั ตัวกับสภาพแวดล้อม
ภายนอก

8.6 เมื่อกล้าไม้แข็งแรง ควรย้ายกล้าไม้ให้ได้รับแสงแดดเต็มที่เพราะจะทาให้กล้าไม้แกร่ง หลังจาก
น้ัน 1 สัปดาห์ให้รดน้าปุ๋ย N-P-K สูตร 15-15-15 อัตราส่วน 125 กรัมต่อน้า 40 ลิตร ทุกๆสัปดาห์เมื่อกล้ามีความสงู
ประมาณ 30 เซนติเมตร ก็สามารถนาไปปลกู ในสวนป่าหรือจาหนา่ ยได้ (ภาพที่ 35)

ภาพท่ี 35 กลา้ ไมก้ ระถนิ เทพาภายในโดมหลงั จากการปักชา 45 วนั
การปกั ชากระถินลูกผสมสามารถสรุปเปน็ ขั้นตอนได้ดงั ภาพที่ 36

52

ภาพที่ 36 การปรบั ปรงุ พนั ธ์ุและการขยายพันธไุ์ มก้ ระถนิ เทพาโดยการปักชา

53

เหด็ เอคโตไมคอร์ไรซาและการปลูกเช้ือใหแ้ กก่ ล้าไม้

เห็ดไมคอร์ไรซ่า (Micorrhiza Mushroom)
คาว่า “Mycor” มาจากภาษากรีกว่า “Mykes” แปลว่า Mushroom และ Rhiza แปลว่า “Root” หรือ

“Mycor” แปลว่า “Fungus” และ “Rhiza” แปลว่า “Root” ซ่ึงเม่ือนาคาศัพท์ทั้งสองมารวมกันจึงหมายถึง “ราก
ไมคอร์ไรซ่า” หรือ “Fungus-root” ดังนั้นคาจากัดความของ Mycorrhiza หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างเช้ือรา
(Fungi) กับระบบรากหาอาหาร (Feeder roots) ของชั้นสูงในลักษณะพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน (symbiotic
relationships) โดยพืชได้รับน้า แร่ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต เช่นไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และธาตุอาหาร
อ่ืนๆ ส่วนเชื้อราได้รับสารอาหารที่ตน้ ไม้ขับออกมาทางระบบราก เช่น น้าตาล แป้ง โปรตีน และวิตามินตา่ งๆ ซ่ึงเป็น
ของเสียท่ถี ูกขับออกมาทางระบบรากของพืช
ประเภทของไมคอรไ์ รซ่า

Mark and Kozlowski (1973) ได้จัดจาแนกไมคอรไ์ รซ่า ออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่
1 เอนโดไมคอร์ไรซ่า (Endomycorrhiza)

เป็นกลุ่มเช้ือราท่ีเส้นใยกระจายอยู่นอกรากพืช ไม่รวมกันเป็นแผ่น เส้นใยจะแทงผ่านเซลล์ผิวของราก
เข้าไปเจริญภายในเซลล์ผิวของรากพืชหรือต้นไม้ ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า บางคร้ังเรียกราในกลุ่มน้ีว่า
Vesicular-Arbuscular Mycorrhiza (VAM) ส่วนใหญ่เป็นราน้า ประเทศไทยได้สารวจพบว่ามีเอนโดไมคอร์ไรซ่า
ประมาณ 113 ชนิด ( กลุ่มพืชผัก,2542) สามารถสร้างเส้นใยออกมานอกรากพืชสู่หน้าดินลึกประมาณ 10-20 ซม.
สามารถสร้างสปอร์อยู่ภายนอกราก มีขนาดเล็กมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า รับประทานไม่ได้ พืชท่ีมีความสัมพันธ์กับรา
กลุม่ นี้มีประมาณ 300,000 ชนิด (อนิวรรต, 2542) ส่วนใหญ่เป็นพชื ทางการเกษตรและพชื ปา่ ไม้

2 เอคโตไมคอรไ์ รซา่ (Ectomycorrhiza)
คือกลุ่มเช้ือราที่อาศัยบริเวณเซลล์ผิวภายนอกของรากพืช โดยเส้นใยเช้ือราจะประสานจับตัวกันแน่น

เป็นแผ่นภายนอกผิวรากพืชคล้ายรากฝอยเจริญห่อหุ้มรอบนอกของรากพืชไว้เหมือนนวมหรือปลอกหุ้มราก มีสีต่างๆ
เช่น สีขาว สีทอง สีเหลือง สีน้าตาล สีแดง สีดา รากพืชที่มีราไมคอร์ไรซ่าเกาะอยู่จะมีลักษณะแตกเป็นง่าม
(dichotomously) รูปร่างเป็นกระจุก บวมโต ซึ่งแตกต่างจากรากปกติที่ไม่มีไมคอร์ไรซ่าท่ีมีลักษณะผอมยาว แตก
สาขามากมายเปน็ เส้นสาย (ภาพท่ี 37) และเม่ือนามาส่องดภู ายใต้กล้องจุลทรรศน์ จะพบว่ารากทมี่ ีราไมคอร์ไรซา่ จะ
ถูกหุ้มด้วยเส้นใยของเหด็ รา รากไม่ได้สัมผัสกับผิวโดยตรง บางส่วนของเส้นใยจะแทรกลงไประหวา่ งเซลลข์ องรากแล้ว
แตกสาขา เรียกว่า"ตาข่ายฮาร์ทิก" ( Hartig net) ดังน้ันรากท่ีมีราไมคอร์ไรซ่า จึงมีส่วนประกอบหลัก 2 ส่วน ได้แก่
ส่วนท่ีเป็นเซลล็ของต้นไม้ และส่วนที่เป็นเส้นใยของเห็ดรา และเรียกรากที่มีเส้นใยห่อหุ้มน้ีว่า " sheathing
mycorrhiza" หรือ "ectomycorrhiza " ราไมคอร์ไรซ่าจะทาหน้าที่ช่วยหาน้าและธาตุอาหารเช่น ไนโตรเจน
ฟอสฟอรสั และธาตุอาหารอ่นื ๆให้กับรากพชื บริเวณผวิ รากและรอบๆรากพืชในระดบั ความลึกจากผวิ ดิน 10-20 ซม. สี
ของรากจะเปล่ียนเป็นสีเข้มข้ึนตามอายุและชนิดของเชื้อรา ราเอคโตไมคอร์ไรซ่าส่วนใหญ่เป็นราช้ันสูงที่อยู่ใน
Subdivision Basidiomycotina และ Ascomycotina ซง่ึ ส่วนใหญเ่ ป็นราท่สี รา้ งดอกเห็ดขนาดใหญ่( Fruiting body)
เหนือผิวดินใต้ร่มไม้ที่มันอาศัยอยู่ อาจมีรูปร่างคล้ายร่ม คล้ายพัด หรือรูปร่างกลม ซึ่งมีท้ังชนิดท่ีรับประทานได้
(Edible mushroom) ชนิดที่รับประทานไมไ่ ด้ (Poisonous mushroom)

54

ภาพที่ 37 เปรียบเทียบรากพืชทมี่ ีไมคอร์ไรซ่ากับรากที่ไมม่ ไี มคอรไ์ รซา่
(ท่ีมา : อรุ าภรณ์ , 2541)

เห็ดราเอ็คโตไมคอร์ไรซ่า มีมากกว่า 5,000 ชนิด ต้นพืชท่ีมีความสมั พันธ์กับราในกลุ่มนี้มีประมาณร้อย
ละ 10-20 ของพืชช้ันสูง เช่น ไม้ในวงศ์สนเขา (Pinaceae) วงศ์ไม้ยาง (Dipterocarpaceae) วงศ์ไม้ยูคาลิปตัส
(Myrtaceae) วงศ์ไม้มะค่าโมง (Caesalpinaceae) วงศ์ไม้ก่อ (Fagaceae) วงศ์ไม้กาลังเสือโคร่ง (Betulaceae) วงศ์
ไม้สนทะเล (Casuarianceae) และวงศ์ไม้ถั่ว (Leguminosae) เป็นต้น แหล่งกาเนิดของเห็ดประเภทน้ีมีอยู่ท่ัวไปท่ีมี
ไมย้ นื ตน้ เชน่ ในป่า สวนสาธารณะ สวนผลไม้ สวนป่าทป่ี ลูกไมโ้ ตเร็ว ฯลฯ ความหลากหลายของเหด็ ข้ึนอยู่กบั สภาพ
ภูมิประเทศ และชนิดของต้นไม้ที่เป็นพืชอาศัย เห็ดราเอ็คโตไมคอร์ไรซ่ามีพืชอาศัยหลากหลายชนิด บางชนิด
เฉพาะเจาะจงอยู่กับไม้ยืนต้นตระกูลเดียวเท่านั้น บางชนิดอาศัยอยู่กับต้นไม้ได้หลายตระกูล เช้ือราไมคอร์ไรซ่ามี
ประโยชนส์ าคัญอย่างยงิ่ ตอ่ การพฒั นาการเพ่ิมผลผลิตทางดา้ นการเกษตรและการปลูกสรา้ งสวนปา่ ในพ้ืนที่แหล่งเสื่อม
โทรม ซง่ึ มนษุ ย์ไดท้ าลายระบบนิเวศน์ปา่ ไมล้ งเปน็ อนั มากขณะน้ี ในประเทศไทยมเี หด็ เอ็กโตไมคอร์ไรซา่ มากมายซึ่งไม่
สามารถนามากล่าวถงึ ไดห้ มด และขอกล่าวเป็นตวั อย่างดังตารางท่ี 4

3 เอกเทนโดไมคอร์ไรว่า (Ectendomycorrhiza)
รากลุ่มน้ีมลี ักษณะของราเอกโตไมคอร์ไรซา่ และเอนโดไมคอรไ์ รซา่ อยรู่ ว่ มกนั พบน้อยมากกับรากพืช

ประโยชนข์ องเหด็ ราไมคอรไ์ รซา่
1 ช่วยเพ่ิมพื้นที่ผิวและปริมาณรากพืชของต้นไม้ ทาให้เพิ่มความสามารถในการดูดซับน้าและแร่ธาตุ

อาหารให้กับต้นไม้ เช่น ฟอสฟอรัส ไนโตรเจน โปแตสเซียม แคลเซียม และธาตุอื่นๆ ซ่ึงธาตุเหล่านี้เช้ือราจะดูดซับไว้
และสะสมในรากพชื แลว้ ถูกดดู ซมึ ไปตามสว่ นต่างๆ ของตน้ ไมซ้ ึง่ ช่วยในการสังเคราะห์แสงของพืช

2 ช่วยย่อยสลายและดูดซับธาตุอาหารจากหินแร่ในดินที่สลายตัวยาก รวมท้ังอินทรีย์สารต่างๆ ที่ยัง
สลายตัวไม่หมด ให้พืชนาเอาไปใช้ประโยชนไ์ ดช้ ่ยให้ต้นไม้แข็งแรงทนทานต่อสภาพพื้นที่ที่แห้งแล้ว ทนทานต่อความ
เปน็ พษิ และความเป็นกรด-ดา่ ง ของดนิ ช่วยปรบั ความเปน็ กรด-ดา่ งของดนิ ให้เหมาะต่อการเจริญของต้นไม้

3 ช่วยเพิ่มความแข็งแรงและความทนทานให้กับระบบรากพืช ช่วยเพิ่มอายุให้แก่ระบบรากของพืชและ
ช่วยป้องกนั โรคท่เี กดิ กบั ระบบรากของพชื

4 ช่วยให้มีการย่อยสลายของซากพืชและแร่ธาตุที่ไม่เป็นประโยชน์ให้กลับกลายเป็นธาตุอาหารท่ีมี
ประโยชน์ต่อต้นไม้ สง่ ผลใหร้ ะบบนิเวศน์ปา่ ไมม้ ีความอดุ มสมบูรณ์มากขึน้

5 ดอกเห็ดไมคอร์ไรซา่ บางชนิดใช้เปน็ อาหาร บางชนิดใช้เปน็ เห็ดสมุนไพร และสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ชุมชน

55

ตารางที่ 4 ชือ่ เหด็ และพชื อาศยั ของเหด็ เอคโตไมคอรไ์ รซ่าท่กี นิ ไดบ้ างชนดิ

ชอ่ื เหด็ วงศพ์ ืชอาศัย

ขมิน้ ใหญ่ เห็ดมันปู (Cantharella cibarius Fr) สนสองใบ ก่อ เต็ง รงั

ไขแ่ ดง ระโงกแดง (Amanita caesarea (Fr) Schw สนสองใบ ก่อ

ไข่ขาว ระโงกขาว ไขห่ ่านขาว (Amanita princeps) สนสองใบ กอ่ ยางนา

ตบั เตา่ (Boletus colossum Heim) มะม่วง สม้ โสน สม้ โอ จามจุรี โพธไ์ิ มยราบยักษ์

เหด็ หา้ (Phaeogyroporus prolentosus) หว้า มะกอกน้า

เสมด็ (Boletus griseipurpureus) เสม็ด กระถินณรงค์ ยคู าลิปตัส

ปะการังฟ้า (Ramaria cyanocephala) ไผ่

หัวเข่า ก้อนกรวด (Pisolithus tinctorius) สน เต็ง รัง ยคู าลปิ ตสั

หล่มแดง ตะไคลแดง (Russula rosacea) สน ก่อ เตง็ รงั

ฟานสนี ้าตาลแดง (Lactarius volemus) สน ก่อ เตง็ รัง

จาวมา้ ขาว (Hevella crispa) สน

เห็ดเผาะ (Astraeus hygrometricus) ยางนา เต็ง รัง และ ไม้วงศย์ าง ชนิดอนื่ ๆ

(ที่มา: อนงค์ และคณะ, 2543)

การขยายพันธเ์ุ หด็ ไมคอรไ์ รซา่
เห็ดไมคอร์ไรซ่าบางชนิดเป็นเห็ดท่ีมีรสชาติดี มีคุณค่าทางอาหารสูง และเป็นที่ต้องการของตลาด และยังไม่

สามารถหาวธิ กี ารนามาเพาะเลย้ี งใหเ้ กดิ ดอกได้ และปรมิ าณดอกเหด็ ทเ่ี กดิ ขนึ้ เองในธรรมชาตมิ ีจานวนน้อยไมเ่ พียงพอ
กบั ความตอ้ งการบรโิ ภค ทาใหเ้ หด็ หลายชนิดมรี าคาแพง ปจั จุบันการขยายพนั ธห์ุ รอื เพิม่ จานวนเหด็ เหล่าน้มี ักจะอาศัย
วธิ ที างธรรมชาติหรือเลยี นแบบธรรมชาติ ซง่ึ มีหลายวธิ กี ารดงั นี้ (อนิวรรต, 2543)

1 วธิ ีธรรมชาติ
1.1 เกิดจากสปอร์ของเห็ดที่บานแล้วถูกฝนชะล้างไปในบริเวณท่ีอยู่ใกล้เคียง ท่ีมีรากพืชอาศัยอยู่

ใกล้ๆกัน
1.2 เส้นใยเห็ดแตกแขนงลงไปในดิน วิธีน้ีต้องมีพืชอาศัยชนิดเดียวกับเกิดอยู่ใกล้ๆ กัน วิธีการน้ี

แพร่กระจายค่อนขา้ งช้าแตม่ ีโอกาสแนน่ อนกว่า
2 วธิ ีเลยี นแบบธรรมชาติ
2.1 การใชด้ ินเชือ้
วิธีการน้ีจัดเป็นวิธีการเพ่ิมปริมาณแบบด่ังเดิมของมนุษย์ซึ่งยังคงนิยมปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน โดย

การนาดินใต้ร่มดอกเห็ด หรือดินบริเวณที่เห็ดเจริญเติบโตรัศมีห่างจากดอกเห็ดไม่เกิน 50 ซม. ขุดดินบริเวณน้ีลึก
ประมาณ 10-20 ซม. โดยใหม้ รี ากฝอยของพชื ติดมาด้วย นาไปคลกุ ผสมกับดินท่ีใช้เพาะกล้าไมห้ รือเมลด็ ในอัตรา 1:6

56

ถึง 1:10 ส่วน วิธีนี้จัดว่าประหยัด ขั้นตอนไม่ยุ่งยาก แต่ข้อเสียคือ การขนย้ายดินระยะทางไกลๆ ไม่สะดวก รวมทั้งไม่
ทราบชนิดของเหด็ เอก็ โตโมคอรไ์ รซา่ ทเ่ี หมาะสมกับกล้าไม้

2.2 การใช้แมไ่ มเ้ ชื้อ
วิธีการน้ีเป็นการนากล้าไม้มาปลกู หรือวางในพื้นท่ีทมี่ ีแม่ไม้วงศ์ยางท่ีมีเชื้อเห็ดอยู่แล้ว เช่น การ

นากล้าไม้ยางนามาวางอนุบาลใต้ต้นตะเคียนทองท่ีเคยมีเห็ดเผาะข้ึน ซึ่งพ้ืนท่ีดังกล่าวจะมีเชื้อเห็ดไมคอร์ไรซ่าท่ีมีอยู่
แล้วตามธรรมชาติ เมื่อรากกล้าไมท้ เ่ี ราไปอนุบาลได้สมั ผัสดินหรือระบบรากได้แผ่กระจายในพน้ื ท่ีจะทาให้ไมคอรไ์ รซ่า
ที่มีอยู่สามารถมาอยู่ร่วมกับกล้าไม้ยางนาท่ีเรานามาปลูกหรืออนุบาลในพ้ืนที่ วิธีการนี้เป็นวิธีที่ง่าย ประหยัด แต่
อาจจะตอ้ งมีพน้ื ทีส่ าหรับวางกล้าไม้ นอกจากน้ใี นกล้าไมอ้ าจจะไดเ้ ช้อื ไมคอรไ์ รซ่าชนดิ อืน่ ๆท่ีอยูใ่ นพื้นท่ีตดิ ไปดว้ ย

2.3 การใชด้ อกเหด็
บดหรือป่ันดอกเห็ดหรือชิ้นส่วนของดอกเห็ดให้มีขนาดเล็ก นาไปผสมกับน้าสะอาดอัตรา

1:1000 ฉดี พน่ บนเมล็ดพันธหุ์ รอื ตน้ กล้าในแปลงเพาะ เป็นวิธกี ารท่ใี ชไ้ ด้ผลดี ทราบชนิดเห็ดแต่ข้อเสยี คอื เก็บดอกเหด็
ต้องรอในช่วงฤดูฝนจงึ จะไดด้ อกในปรมิ าณทีม่ ากพอและระวงั ไมใ่ ห้ดอกเน่าก่อนนามาใช้ (ภาพที่ 38)

ภาพท่ี 38 การขยายพนั ธ์ุเหด็ ไมคอร์ไรซ่าโดยใชด้ อกเหด็
2.4 การใชเ้ ส้นใยเหด็
วิธีการนี้นิยมทากันมากในปัจจุบัน เพราะสามารถคัดเลือกสายพันธุ์เห็ดได้โดยนาเชื้อเห็ดราไป

เลย้ี งบนอาหารวุ้นหรืออาหารเหลว ให้ได้ปริมาณเสน้ ใยท่ีมากพอ นาไปปน่ั กับนา้ ใหเ้ ส้นใยขาดเปน็ ทอ่ นเลก็ ๆ แล้วนาไป
รดหรือคลุกดินเพ่ือเพาะกล้าไม้ของเห็ดแต่ละชนิดเพ่ือปลูกทดแทนการตัดไม้ทาลายป่า เช่น การปลูกสน
ยูคาลิปตัส (ภาพท่ี 39)

จากวธิ กี ารขยายพนั ธุ์ไมคอร์ไรซ่าในวธิ ีตา่ งๆ ทีไ่ ด้กล่าวมาแลว้ ข้างตน้ นั้น มีข้ันตอนที่ยากง่ายแตกตา่ งซึ่ง
สามารถสรปุ ขอ้ ดี-ข้อเสยี ของแต่ละวิธกี ารได้ ดงั ตารางท่ี 5

57

ภาพที่ 39 การขยายพนั ธุเ์ หด็ ไมคอรไ์ รซ่าโดยใช้เส้นใยบรสิ ทุ ธ์ิ

ตารางท่ี 5 ขอ้ ดี-ข้อเสียของการขยายพนั ธไ์ุ มคอรไ์ รซ่าในวธิ ีตา่ งๆ

วิธีการ ข้อดี ขอ้ เสยี
➢ เลอื กชนดิ ราไมไ่ ด้
1) ดนิ เชอื้ o งา่ ย ประหยดั ➢ อาจมโี รคและแมลงตดิ มา

2) แมไ่ มเ้ ชื้อ o ง่าย ประหยัด ➢ เลือกชนิดราไมไ่ ด้
➢ อาจมีโรคและแมลงตดิ มา
3) ดอกเหด็ หรอื สปอร์ o งา่ ย
o เลือกชนิดราท่ีต้องการได้ ➢ ยงุ่ ยาก
o ไมม่ โี รคและแมลงติดมา ➢ ทาไดบ้ างฤดูกาล
➢ คอ่ นขา้ งแพง

58

รปู แบบการปลกู ไมม้ ีค่า

1. รูปแบบการปลกู และการจัดการไมป้ า่ ในสวนสมรม
สวนสมรมคือการปลูกพืชแบบผสมผสาน ซ่ึงพืชท่ีปลูกจะมีความเก้ือกูลกัน หรือปลูกร่วมกันแล้วสามารถให้

ประโยชน์แกพ่ ืชที่ปลูกร่วม การแก่งแย่งปจั จยั แวดล้อมตา่ งๆ เชน่ แสง นา้ และสารอาหารในดิน ระหว่างกันน้อย การ
ปลูกไมม้ ีค่าในสวนสมรม นิยมปลกู ไมท้ ี่มีความหลากชนดิ ในพื้นท่ี เช่น ตะเคยี นทอง ยางนา พะยอม จาปาปา่ กนั เกรา
มะฮอกกานี และ สะเดาเทียม เป็นต้น การปลูกไม้ป่าร่วมกับพืชอ่ืนๆ นอกจากจะได้ผลผลิตจากเน้ือไม้และพืชทปี่ ลกู
ร่วม (ยางพารา, มะพร้าว, ปาล์มน้ามัน, ไม้ผล และพืชเกษตรอ่ืนๆ) แล้ว การปลูกแบบผสมผสานยังเปน็ การชว่ ยฟ้นื ฟู
ระบบนิเวศ การหมุนเวียนสารอาหาร และลดความเสี่ยงการเกิดโรคการระบาดของโรคพืชและศัตรูพืช นอกจากน้ียงั
เป็นการเพ่ิมผลผลิตต่อพน้ื ท่ี ซึ่งเป็นการใชป้ ระโยชน์พ้ืนท่ีให้มีประสทิ ธิภาพสงู สุด โดยมีรูปแบบการปลูกทหี่ ลากหลาย
ดงั น้ี

1.1 การปลกู ไม้ป่ารว่ มกับยางพารา
ยางพาราเป็นไม้โตเร็วและมีเรือนยอดกว้าง นิยมปลูกในระยะ 3x7 เมตร จะมีจานวน 76 ต้นต่อไร่ การ

ปลูกสามารถปลูกแทรกระหว่างแถวในรูปแบบแถวเด่ียวหรือแถวคู่ ชนิดไม้ป่าที่ร่วม ได้แก่ ตะเคียนทอง ยางนา
พะยอม จาปาปา่ สะเดาเทียม มะฮอกกานี เปน็ ตน้ การปลกู ไมป้ ่าโตชา้ ควรปลูกระยะห่าง 8 เมตร จะมตี ้นไม้ จานวน
25 ต้นต่อไร่ แต่ถ้าปลูกต้นไม้ ในระยะท่ีห่างข้ึน เช่นระยะห่าง 9 เมตร จะทาให้ต้นไม้ได้รับรับแสงเพิ่มมากขึ้น ซ่ึงจะ
เป็นการลดผลกระทบต่อการเติบโตของไม้ยางพารา และลดปัญหาการแก่งแย่ง น้าและสารอาหารในดิน แต่จานวน
ตน้ ไมจ้ ะลดลงเหลือ 20 ตน้ ต่อไร่

การปลูกยางพาราร่วมกับไม้โตเร็ว เช่น กระถินเทพา กระถินลูกผสม สามารถปลูกแทรกในรูปแบบแถว
เด่ียวหรือแถวคู่ การปลูกแทรกระหว่างแถวยางพาราแบบแถวเด่ียว ควรปลูกระยะห่างระหว่างต้น 3 เมตร จะมีไม้โต
เร็ว 65 ต้นต่อไร่ หากปลูกแบบแถวคู่ ควรปลูกไม้โตเร็วระยะ 2x3 เมตร จะมีต้นไม้จานวน 130 ต้นต่อไร่ การปลูกไม้
โตเรว็ ร่วมกับยางพาราควรตดั ไม้โตเร็วออก เมอ่ื ตน้ ไม้อายไุ ม่เกนิ 5 ปี

การปลูกไม้โตเร็วและไม้ป่าโตช้าร่วมกับยางพารา โดยจะปลูกไม้ป่าโตช้าและไม้โตเร็วแทรกระหว่างแถว
ยางพารา แบบแถวเดย่ี ว ระยะหา่ งไมป้ า่ โตช้าจะปลกู ระยะห่างระหว่างต้น 8 เมตร และระหวา่ งแถวไมป้ ่าโตช้าจะปลกู
ไม้โตเร็วแทรก ระยะห่างระหว่างต้นของไม้โตเร็วจะปลูกระยะ 8 เมตร อย่างไรก็ตามไม้โตเร็วควรมีการตัดออกเมื่อ
ต้นไม้อายุไม่เกิน 5 ปี ในรูปแบบนี้จะมีไม้โตช้าจานวน 25 ต้นต่อไร่ และ ไม้โตเร็ว จานวน 20 ต้นต่อไร่
(ดงั ภาพที่ 40-43)

59

ภาพท่ี 40 การปลูกไมป้ ่าโตชา้ ร่วมกบั ยางพาราแบบแถวเด่ียว

ภาพที่ 41 การปลกู ไม้โตเรว็ ร่วมกับยางพาราแบบแถวเด่ยี ว

60

ภาพท่ี 42 การปลกู ไม้โตเร็วร่วมกับยางพาราแบบแถวคู่

ภาพท่ี 43 การปลกู ไม้โตเร็วและไมป้ า่ โตชา้ ร่วมกบั ยางพาราแบบแถวเด่ยี ว

61

1.2 การปลกู ไมป้ า่ รว่ มกับมะพรา้ ว
มะพรา้ วเปน็ ไม้ที่โตชา้ มีเรอื นยอดโปร่ง มะพร้าวนิยมปลูกในระยะ 9x9 เมตร การปลูกไม้ปา่ สามารถปลกู

แทรกระหวา่ งแถวท้งั ในรูปแบบแถวเดยี่ วและคู่ การปลกู แบบแถวเดีย่ วควรปลกู ระยะห่างระหวา่ งตน้ 9 เมตร ชนิดไมท้ ่ี
ปลูก ได้แก่ ตะเคียนทอง พะยอม ยางนา จาปาป่า มะฮอกกานี สะเดาเทียม เป็นต้น จะมีต้นไม้ จานวน 20 ต้นต่อไร่
อย่างไรก็ตาม มะพร้าวเป็นไมท้ ่ีมีระบบรากหนาแน่น ดังนั้นก่อนปลูกอาจจะต้องมีการไถพรวนหรือเตรียมหลุมดินให้ดี
เพื่อทาลายระบบรากในแปลงปลูกและลดการแกง่ แย่งสารอาหารระหว่างกล้าไม้และมะพร้าว

การปลูกร่วมกับไม้โตเร็วสามารถปลูกระหว่างแถวมะพร้าวแบบแถวคู่หรือเป็นแถบ จานวน 3 แถว ชนิด
ไมท้ ปี่ ลกู ได้แก่ กระถนิ เทพา กระถินลูกผสม ระยะปลกู ในสวนมะพร้าว สามารถปลูกในระยะ 3x3 เมตร ซึง่ จะมตี น้ ไม้
ในพ้นื ท่ี ระหวา่ ง 104-156 ตน้ ต่อไร่ หรอื ระยะ 2x4 เมตร จะมีตน้ ไมใ้ นพนื้ ที่ ระหวา่ ง 80-120 ตน้ ต่อไร่

การปลูกไม้โตเร็วและไม้โตช้าร่วมกับมะพร้าว โดยจะปลูกไม้ท้ังสองชนิด แทรกระหว่างแถวยางพารา
แบบแถวเด่ียว ระยะห่างไม้ป่าโตช้าจะปลูกที่ระยะห่างระหว่างต้น 9 เมตร และระหว่างแถวไม้โตช้าจะปลูกไม้โตเร็ว
แทรก ระยะหา่ งระหว่างตน้ ของไมโ้ ตเรว็ จะเปน็ ระยะ 9 เมตร อยา่ งไรก็ตามไม้โตเรว็ ควรมีการตัดออก ตน้ ไมอ้ ายุไม่เกนิ
5 ปี ในรปู แบบนจ้ี ะมีจานวนไม้โตชา้ และไมโ้ ตเรว็ ชนดิ ละ 20 ต้นต่อไร่

การปลูกไม้ป่าแทรกในสวนมะพร้าวที่มีอายุมากกว่า 20 ปี ซ่ึงมะพร้าวจะมีความสูงมากกว่า 10 เมตร
สามารถปลกู ร่วมกันได้ท้ังไม้โตช้าและไม้โตเร็ว เนื่องจากมะพร้าวเปน็ ไม้ท่มี ีเรือนยอดโปร่ง แสงสามารถส่องผ่านมายัง
ไมช้ น้ั ลา่ งได้ การปลกู สามารถปลกู ไดท้ ้ังแบบแถวเดย่ี วสาหรบั ไม้โตช้าและแถวคู่ของไม้โตเรว็ (ดังภาพท่ี 44-46)

ภาพท่ี 44 การปลูกไม้โตเร็วร่วมกบั มะพรา้ ว แบบเปน็ แถบ

62

ภาพท่ี 45 การปลูกไม้โตช้าร่วมกับมะพรา้ ว แบบแถวเดย่ี ว

ภาพที่ 46 การปลูกไมโ้ ตช้าและไม้โตเรว็ รว่ มกบั มะพร้าว แบบแถวเดย่ี ว

63

1.3 การปลูกไมป้ า่ รว่ มกับปาล์มน้ามัน
ปาล์มน้ามันเป็นพืชท่ีมีเรือนยอดกว้าง นิยมปลูกด้วยระยะ 9x9x9 เมตร ท่ีจะมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยม

ด้านเท่า ซึ่งจะทาให้ปาล์มน้ามันได้รับแสงเต็มท่ี การปลูกไม้ป่าร่วมกับปาล์มน้ามัน ควรปลูกแทรกระหว่างแถวปาล์ม
ระยะห่างระหว่างต้น 9 เมตร ซ่ึงตาแหน่งจะอยู่ตรงกลางแถวของปาล์มน้ามัน ชนิดไม้ท่ีปลูกร่วม ได้แก่ ตะเคียนทอง
ยางนา พะยอม จาปาปา่ มะฮอกกานี สะเดาเทียม กระถนิ เทพา กระถนิ ลูกผสม เปน็ ตน้ จะมีจานวนต้นไม้ 20 ต้น ตอ่
ไร่ (ดังภาพที่ 47)

การปลูกร่วมกับไม้โตเร็ว เช่น กระถินเทพา กระถินลูกผสม ควรมีการลิดกิ่งอย่างต่อเนื่องและตัดไม้
ออกมาใช้ประโยชน์ อายุไมเ่ กนิ 5 ปี

ภาพที่ 47 การปลูกไม้ปา่ รว่ มกบั ปาล์มนา้ มนั แบบแถวเดยี่ ว
1.4 การปลกู ไมป้ า่ รว่ มกับไมผ้ ล
ไม้ผลเป็นไม้ท่ีมีเรือนยอดกว้าง นิยมปลูกท่ีระยะ 8x8 เมตร หรือ 9x9 เมตร การปลูกควรปลูกแบบแถว

เด่ียว แทรกระหว่างแถวไม้ผล การปลูกควรปลูกไม้ป่าระยะห่างระหว่างต้น 8 เมตร จะมีจานวนต้นไม้ 20 ต้นต่อไร่
อย่างไรก็ตาม ไมป้ า่ ควรมกี ารลิดก่งิ ออกเหลอื กง่ิ 2/3 ของลาต้น เพอื่ ใหแ้ สงสามารถสอ่ งผา่ นมาถึงไม้พ้ืนล่างได้

การปลูกไม้เพ่ือการใช้ประโยชน์แบบเอนกประสงค์ร่วมกับไม้ผล เป็นการปลกู ตน้ ไม้ทมี่ ีการใช้ประโยชน์ที่
หลากหลาย เชน่ ไม้โตเรว็ ทีใ่ ช้ประโยชนเ์ ปน็ ไมฟ้ ืน ไมเ้ สาเข็ม ไม้นามาใชป้ ระโยชน์อายุ ไมเ่ กิน 5 ปี เช่น กระถนิ เทพา
กระถินลกู ผสม โดยการปลูกเปน็ ไมแ้ นวเขต ระยะห่างระหว่างต้น 3 เมตร จะมตี น้ ไม้จานวน 56 ตน้ ตอ่ ไร่ ไมโ้ ตชา้ ปลูก
ระหว่างแถวไม้ผล ระยะหา่ งระหว่างต้น 8 เมตร มีจานวนต้นไม้ 25 ตน้ ต่อไร่ และปลูกไม้พมุ่ หรือไมช้ ้นั รอง เช่น กาแฟ
ผักเหลียง ในแถวเดียวกันกับไม้โตช้า (ดังภาพท่ี 48-49) ระยะห่างระหว่างต้น 8 เมตร มีจานวนต้นไม้ 25 ต้นต่อไร่

64

อย่างไรก็ตาม ไม้โตเร็วควรมีการลิดกิ่งให้เหลือ 2/3 ของลาต้น อย่างต่อเน่ือง เพื่อให้แสงสามารถส่องผ่านมาถึงไมช้ ้นั
ล่างได้

ภาพท่ี 48 การปลกู ไมป้ ่ารว่ มกบั ปาล์มนา้ มัน แบบแถวเดี่ยว

ภาพที่ 49 การปลกู ไมป้ ่าร่วมกับปาลม์ นา้ มัน แบบแถวเดีย่ ว

65

1.5 การปลูกไมป้ ่าโตเรว็ รว่ มกับพชื เกษตร
การปลกู ไมโ้ ตเรว็ รว่ มกับพืชเกษตร สามารถปลกู ไมโ้ ตเร็วแทรกแบบแถวคู่ ระยะ 3x3 เมตร ซ่ึงจะมตี ้นไม้

ในพื้นที่ 104-156 ต้นต่อไร่ หรือ ระยะ 2x4 เมตร (ดังภาพที่ 50-51) จะมีต้นไม้ในพ้ืนท่ี 80-120 ต้นต่อไร่ อย่างไรก็
ตาม ควรมกี ารลิดกิง่ ไมโ้ ตเร็วออกใหเ้ หลือ 2/3 เมตร ของลาต้น เพอื่ ลดการแก่งแย่งปัจจัยแสงในพน้ื ท่ี

การปลูกไม้โตเร็วและไม้โตช้าร่วมกับพืชเกษตร สามารถปลูกไม้โตเร็วแทรกแบบแถวเด่ียว โดยปลูกไม้โต
เรว็ แทรกระหวา่ งพืชเกษตร ระยะห่างระหวา่ งต้น 8 เมตร และปลูกไม้โตชา้ แทรกระหว่างไม้โตเร็วในแถวเดียวกนั จะมี
จานวนไม้โตเร็วและไม้โตชา้ ชนดิ ละประมาณ 25 ตน้ ตอ่ ไร่

ภาพท่ี 50 การปลูกไมโ้ ตเร็วร่วมกบั พืชเกษตร แบบแถวเดี่ยว

ภาพที่ 51 การปลูกไม้โตเร็วรว่ มกบั พชื เกษตร แบบแถวเดยี่ ว

66

จากแนวทางเกษตรกรรมยง่ั ยืนสู่แปลงปลกู พชื ร่วมยาง

การกล่าวถงึ เกษตรกรรมย่ังยนื อย่างจรงิ จังมีมาประมาณกว่า 2 ทศวรรษ โดย Dore (1997) กลา่ วถงึ ปฐมบท
ของเกษตรกรรมย่ังยืนไว้ว่า แนวคิดเร่ืองเกษตรกรรมยั่งยืนเกิดขึ้นมาเนิ่นนานแล้ว ต้ังแต่มนุษย์เร่ิมทาการเพาะปลูก
และเล้ยี งสัตว์ เกษตรกรกพ็ ยายามค้นหาหนทางเพอื่ ใหม้ ั่นใจไดว้ ่าพนื้ ดนิ ทต่ี นทาเกษตรน้ันจะให้ผลผลติ เหมือนเดิมหรอื
เพม่ิ ยงิ่ ขน้ึ ในปีต่อ ๆ ไป

จากนยิ ามต่างๆ ของเกษตรกรรมยั่งยนื ยืน สามารถสรปุ องคป์ ระกอบหลกั 4 ประการดังน้ี
1. แนวทางเศรษฐกิจการเกษตรที่ยั่งยืนข้ึนอยู่กับแนวคิดของระบบการทาฟาร์มและการปฏิบตั ิท่ีบารุงรักษา
การผลติ ทางการเกษตรเพื่อตอบสนองความจาเปน็ ของมนษุ ย์ท้ังในรุ่นปจั จุบนั และอนาคต รวมทัง้ ระบบการทาฟาร์มมี
ความยดื หยนุ่ อย่างเพียงพอตอ่ การจดั การความเสี่ยงท่ีเกิดจากความไม่แน่นอนของสภาพภูมิอากาศและตลาด
2. มุมมองด้านสิง่ แวดล้อมของเกษตรกรรมย่ังยืนมุ่งทีก่ ารเพิ่มพูนคุณภาพส่งิ แวดลอ้ มและการอนุรักษ์ดนิ นา้
ทรพั ยากรทางพันธุกรรมของพืชและสตั ว์ และระบบนิเวศอืน่ ๆท่ไี ดร้ บั อิทธิพลจากกจิ กรรมทางการเกษตร
3. แนวคิดด้านสังคมเพ่ือความย่ังยืนคือ ให้ความสาคัญกับประชาชนและสัมพันธ์กับการส่งเสริมความเป็น
ธรรมทางสังคม คณุ ภาพชีวติ รวมทั้งการพฒั นาองค์กรชุมชนและกระบวนการเรียนรขู้ องชมุ ชน
4. แนวทางเทคโนโลยีเพื่อความยั่งยืนขึ้นอยู่กับการใช้เทคโนโลยีทางการเกษตรท่ีเหมาะสม โดยการ
ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยสี มยั ใหมร่ ว่ มกับภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ เพ่อื บารงุ รักษาการผลติ ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม
องค์ประกอบหลัก 4 ประการ ของเกษตรกรรมยงั่ ยืนดังกล่าวมีความเชือ่ มโยงกนั ดังแสดงในภาพท่ี 52

ภาพท่ี 52 องคป์ ระกอบหลักของเกษตรกรรมยงั่ ยนื

โดยแปลงพืชร่วมยางที่ทาควบคู่กับการลดละการใช้สารเคมีการเกษตร มีคุณค่าและประโยชน์ท้ังด้าน
เศรษฐกิจสิ่งแวดล้อม และสังคม (ภาพที่ 53) ดังนี้ (1) ช่วยทาให้แปลงมีพืชคลุมดินเพิ่มจงึ ช่วยเพ่ิมความชื้นในดินและ
อากาศ ส่งผลดีต่อปริมาณและความเข้มข้นของน้ายาง ยางผลัดใบช้า น้ายางออกช่วงยางผลัดใบ กรีดยางช่วงเช้าได้
กลางคืนได้พักผ่อนเต็มที่สง่ ผลดีต่อสุขภาพและลดความเสย่ี งจากการกรีดยางกลางคนื ลดแรงกระแทกจากเมด็ ฝน

67

ภาพที่ 53 คณุ คา่ และประโยชนข์ องแปลงพชื รว่ มยาง

68

พชื ที่ขึ้นอยู่หนาแนน่ จะมีรากสานกันชว่ ยลดการกัดเซาะหน้าดนิ และผลกระทบจากลมพายุ วัชพชื ลดลงจงึ ช่วยลดเวลา
และค่าใช้จ่ายในการกาจัดวัชพืช เพ่ิมการกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์จึงช่วยลดภาวะโลกร้อน มีการทับถมของใบไม้
เพิ่มขึน้ ชว่ ยเพ่ิมอินทรียวัตถตุ ามธรรมชาติ (2) ไส้เดือนในดนิ เพิม่ ชว่ ยทาใหด้ ินโปรง่ รว่ นซยุ ทาใหพ้ ชื เติบโตดีขน้ึ มีการ
ทบั ถมของใบไม้มากขน้ึ เกดิ การหมนุ เวยี นของธาตุอาหาร ดินที่โปรง่ ยงั ดดู ซบั น้าฝนไดด้ ีข้ึน จึงช่วยลดปรมิ าณนา้ ไหลบ่า
หนา้ ดนิ ลดการกัดเซาะหน้าดินและความต้ืนเขนิ ของแหล่งน้า (3) มีผลผลติ ทีห่ ลากหลาย ท้งั เพ่อื ขายมรี ายไดส้ มา่ เสมอ
เพื่อบริโภคใช้สอย เพื่อแลกเปลี่ยนแบ่งปันจึงช่วยสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีของคนในชุมชน (4) มีสัตว์และพืชหลากหลาย
ชนดิ ขึน้ ชว่ ยควบคุมศัตรพู ชื ตามธรรมชาตสิ ง่ ผลให้ลดการใชส้ ารเคมีการเกษตร ลดรายจ่ายปจั จยั การผลติ และสุขภาพ
เกษตรกรดีข้ึน และ (5) เกิดการรวมกลุ่มผูป้ ลูกพชื ร่วมยาง ทาให้เกิดการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ความรักสามัคคีของคนใน
ชุมชนและเครอื ข่าย

69

แปลงปลูกไมม้ คี ่า

จากการสารวจและศึกษารูปแบบการปลูกไม้มีค่าในพื้นท่ีเกษตรกรรม ซึ่งเกษตรกรบางส่วนได้เร่ิมปลูกแบบ
ผสมผสานเพม่ิ มากข้นึ ซ่ึงในหัวข้อทีมวิจยั จะนารูปภาพการปลกู ไมม้ คี า่ ในพ้นื ทเี่ กษตรกรรมมานาเสนอเพอื่ เปน็ ตัวอยา่ ง
ให้ผทู้ ส่ี นใจ ดงั ภาพที่ 54-57

ภาพที่ 54 แปลงยางพาราปลูกร่วมกับมะพรา้ ว และมีต้นตะเคียนทองเป็นแนวขอบแปลง

ภาพที่ 55 แปลงยางพาราปลกู ร่วมกบั เหรยี ง และไมโ้ ตชา้

70

ภาพที่ 56 แปลงยางพาราปลกู รว่ มกบั ไม้พะยอม ไมไ้ ขเ่ ขยี วและไมย้ างนา

71

ภาพที่ 57 แปลงปลกู ปาลม์ นา้ มนั ร่วมกบั ไม้ตะเคยี นทองและไม้ปา่ อ่นื ๆ

72

เอกสารอา้ งองิ

กรมป่าไม.้ 2556. รูปแบบการปลูกไม้ปา่ โดยระบบวนเกษตร. งานวจิ ัยการปลูกสรา้ งสวนป่า กลมุ่ งานวนวฒั น
วิจัย สานกั วิจยั และพฒั นาการป่าไม้ กรมปา่ ไม้, กรงุ เทพฯ.

กรมป่าไม.้ 2562. ไม้มคี ่าทางเศรษฐกิจ “องคค์ วามร้ใู นการสง่ เสรมิ การปลูกไมม้ คี า่ ทางเศรษฐกิจ”. สานัก
ส่งเสริมการปลกู ปา่ กรมปา่ ไม้, กรงุ เทพฯ.

การยางแห่งประเทศไทย. 2561. ข้อมูลวชิ าการยางพารา ปี 2561. สถาบันวจิ ัยยาง การยางแห่งประเทศไทย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรงุ เทพฯ.

การยางแหง่ ประเทศไทย. 2561. ราคาเฉลยี่ ยางชนิดต่างๆ ปี พ.ศ. 2561. สถาบันวจิ ัยยาง การยางแห่ง
ประเทศไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรงุ เทพฯ.

คณะวนศาสตร์. 2560. ยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงานการสง่ เสริมไมเ้ ศรษฐกจิ แบบครบวงจร (พ.ศ. 2561 - 2579). รายงาน
ฉบบั สมบูรณ์. คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

จฬุ ารตั น์ นิรัติศยกลุ . 2562. การขบั เคลอ่ื นชุมชนไมม้ คี ่า. สานักงานพฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม, กรงุ เทพฯ.

บัณฑติ โพธ์นิ ้อย และณัฏฐากร เสมสันทัด. 2556. การผลติ เมลด็ ไม้คุณภาพดี. สานักวจิ ยั และพัฒนาการปา่ ไม้
กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ

วิโชติ จงรุ่งโรจน์. 2557. ประสทิ ธิภาพทางเศรษฐกจิ และความมน่ั คงทางสังคมของระบบการทาฟารม์ ทมี่ กี ารปลูก
พืชในสวนยางของเกษตรกรรายยอ่ ยภาคใต้. วิทยานพิ นธ์ระดบั ปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต.
มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์.

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2559. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564), สานักนายกรัฐมนตรี กรุงเทพฯ.

สานกั วางแผนการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม. 2554. การจา่ ยคา่ ตอบแทนการให้บริการของ
ระบบนิเวศ. ใน รายงานสรุปการประชมุ The 3rd South-East Asia Workshop on Payment
for Ecosystem Service (PES) - Investment in Natural Capital for Green Growth:
วันที่ 12-15 มถิ นุ ายน 2554 ณ เมอื งบันดา อาเจะห์ ประเทศอินโดนีเซยี .

สุริวรรณ มูลจันทร์ นสิ า เหลก็ สูงเนนิ สุวิมล อทุ ยั รัศมี และ บุญธิดา มว่ งศรเี มืองดี. 2560. ผลของความเขม้
แสงตอ่ การเติบโตและตวั แปรทีเ่ ก่ยี วข้องกับการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของกล้าไม้ปา่ ยืนต้น. วารสาร
วนศาสตร์ 36 (2): 12-23.

73


Click to View FlipBook Version