The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ces.dpu, 2020-03-14 13:51:47

CES Journal Vol.5 No.9

วารสารวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ปที ี่ 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 0

วารสารวิทยาลยั ครศุ าสตร์

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562)

ปญั หาและแนวทางท่ีควรจะเป็นของการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
กนั ตภณ ทศั นะโสภณ

“คร”ู ผนู้ าแหง่ การเปลี่ยนแปลงในสังคมท่มี คี วามหลากหลาย
รัตนะ พนู เกษม

การบริหารจัดการ 4.0 ผลักดนั การขบั เคล่ือนและเขยอื้ นภเู ขา
ปทมุ า เชยชยั ภูมิ

ผบู้ ริหาร 4.0 แรงบังดาลใจ ทนั สมยั และทนั ที

สมพงศ์ วทิ ยศกั ดพิ ันธ์ุ

แนวโน้มนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในอนาคต

ชนม์ชนก ถาวร

แนวปฏิบัตทิ ่เี ป็นเลิศในการบริหารงานวชิ าการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี
จกั รพงษ์ วรรณขนั ธ์

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) ก

เจ้าของ
วทิ ยาลยั ครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑิตย์
110/1-4 ถนนประชาชื่น
เขตหลักสี่ กรงุ เทพ 10210

คณะทป่ี รกึ ษา
ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สนิ ลารตั น์
รองศาสตราจารย์ ดร.อทุ ัย บญุ ประเสรฐิ
รองศาสตราจารย์ ดร.กลา้ ทองขาว
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พณิ สดุ า สริ ธิ รงั ศรี

บรรณาธิการ กองจดั การ
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธันยากร ชว่ ยทุกข์เพื่อน นางสาวนริ ดา บรรจงเปล่ยี น

ผู้ชว่ ยบรรณาธิการ ออกแบบรูปเลม่ -จดั หนา้
อาจารย์ ดร.วาสนา วิสฤตาภา นายธรรมรัตน์ สบื ประยงค์
กองบรรณาธกิ าร
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สนิ ธะวา คามดิษฐ์ กาหนดออก
อาจารย์ ดร.พงษ์ภิญโญ แมน้ โกศล ราย 6 เดอื น (ปีละ 2 ฉบบั )
อาจารย์ ดร.นกั รบ หมแี้ สน พมิ พท์ ี่
โรงพิมพม์ หาวิทยาลยั ธุรกจิ บัณฑติ ย์

ทัศนะขอ้ คดิ ใดๆทีป่ รากฏใน CES journal วารสารวชิ าการวิทยาลัยครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บณั ฑิตย์ เป็นทัศนะวจิ ารณ์อิสระ ทางคณะผู้จดั ทา

ไมจ่ าเปน็ ต้องเห็นด้วยกับทัศนะขอ้ คดิ เห็นเหลา่ นั้นแต่ประการใด ลขิ สิทธ์บิ ทความเปน็ ของ
ผเู้ ขียนและวารสารและไดร้ ับการสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย

ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) ข

รายช่ือผู้ทรงคุณวฒุ ิกล่นั กรองบทความ (Peer Review)

รองศาสตราจารย์ ดร.ทองอินทร์ วงศ์โสธร นกั วชิ าการ
รองศาสตราจารย์ ดร.สนานจิตร สุคนธทรพั ย์ นักวชิ าการ
รองศาสตราจารย์ ดร.อุทัย บุญประเสรฐิ มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์
รองศาสตราจารย์ ดร.กล้า ทองขาว มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บณั ฑิตย์
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พิณสุดา สิริธรงั ศรี มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บัณฑิตย์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พนารตั น์ ลมิ้ มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บัณฑติ ย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปองสนิ วิเศษศิริ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
รองศาสตราจารย์ ดร.นฤนันท์ สุรยิ มณี มหาวิทยาลยั มหิดล
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นกั รบ ระวังการณ์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล
รองศาสตราจารย์ ดร.พร้อมพิไล บวั สวุ รรณ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วสิ ุทธ์ิ วจิ ติ รพชั ราภรณ์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.เออื้ จติ พฒั นจักร มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
รองศาสตราจารย์ ดร.ทวีศกั ด์ิ จนิ ดานุรกั ษ์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สนิ ธะวา คามดิษฐ์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
อาจารย์ ดร.วิทยา วรพนั ธ์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ปที ี่ 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) ค

สารบญั

รายการ หนา้

วตั ถุประสงค์ของวารสารวิทยาลยั ครุศาสตร์ ................................................................................................... ก
รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิกลน่ั กรองบทความ (Peer Review) ................................................................................. ข
บทบรรณาธกิ าร .............................................................................................................................................. 1
ปัญหาและแนวทางทค่ี วรจะเปน็ ของการศึกษาไทยในศตวรรษท่ี 21 ............................................................... 2
“ครู” ผนู้ าแห่งการเปลี่ยนแปลงในสังคมท่ีมีความหลากหลาย....................................................................... 14
การบริหารจดั การ 4.0 ผลกั ดันการขบั เคล่ือนและเขย้ือนภูเขา ...................................................................... 27
ผู้บริหาร 4.0 แรงบงั ดาลใจ ทันสมยั และทนั ที ............................................................................................... 41
คณะครุศาสตร์ จฬุ าฯ เผยผลสารวจ Education Watch ชีป้ จั จยั สาเรจ็ และลม้ เหลวใน............................... 55
แนวโน้มนวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ในอนาคต.............................................................................................. 57
แนวปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลศิ ในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมธั ยมเทศบาล 6 นครอดุ รธานี........................... 65

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 1

บทบรรณาธกิ าร

วารสารวิทยาลัยครุศาสตร์ (CES Journal) ได้เผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านการศึกษา
ด้านสังคมศาสตร์ หรือสาขาท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การศึกษา โดยในปีท่ี 5 ฉบับท่ี 9 กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2562
เราได้ตีพิมพ์บทความรวมท้ังส้ิน 6 บทความ ประกอบบทความวิจัย 1 บทความและ บทความวิชาการ
5 บทความ ซง่ึ นาเสนอองค์ความร้เู กี่ยวกบั ปญั หาและแนวทางทค่ี วรจะเป็นของการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
“ครู” ผู้นาแห่งการเปล่ียนแปลง การบริหารจัดการและผู้บริหาร 4.0 แนวโน้มนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ใน
อนาคต แนวปฏบิ ตั ิทเ่ี ปน็ เลิศในการบรหิ ารงานวชิ าการของโรงเรยี น

กองบรรณาธิการขอขอบคุณผู้เขียนทุกท่านที่ส่งบทความเข้ามาเผยแพร่ยังวารสารวิทยาลัยครุศาสตร์
(CES Journal) และขอกราบขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ให้ความกรุณาพิจารณาประเมินผลงานทาง
วิชาการ และให้ข้อคิดเห็นท่ีเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงบทความให้มีความสมบูรณ์ และถูกต้องตามหลัก
วิชาการ

กองบรรณาธิการหวงั เปน็ อย่างยง่ิ วา่ ด้วยความรว่ มมือของทกุ ท่านจะช่วยให้วารสารวิทยาลัยครุศาสตร์
(CES Journal) ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพและมีมาตรฐานในระดับสากล เพื่อสร้างสรรค์องค์ความรู้ทาง
การศกึ ษาสสู่ งั คมไทยตอ่ ไป

ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนั ยากร ชว่ ยทกุ ขเ์ พื่อน
Email : [email protected]
บรรณาธกิ าร

ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 2

ปญั หาและแนวทางทคี่ วรจะเปน็ ของการศกึ ษาไทยในศตวรรษท่ี 21

กันตภณ ทศั นะโสภณ*

1. สภาพปัจจบุ ันและปัญหาวิชาชีพครใู นปัจจบุ นั
ครู คอื ผกู้ าหนดคณุ ภาพประชากรในสังคม และคุณภาพประชากรในสงคมก็คือ ตัวพยากรณ์ความสาเร็จ

ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
สิ่งแวดล้อม วชิ าชพี ครจู งึ ควรเปน็ ท่รี วมของคนเก่ง คนดี สามารถเปน็ ต้นแบบทางคณุ ธรรม จริยธรรม การประพฤติ
ปฏิบัติตน การดารงชวี ติ และการช้นี าสงั คมไปในทางท่เี หมาะสม

ในสภาพความจริงท่ีปรากฏในปัจจบุ ัน วิชาชพี ครูกลับเป็นวิชาชีพที่คนทั่วไปไม่ให้ความสาคัญมากนัก เป็น
วิชาชีพรายได้ต่า ผู้ประกอบวิชาชีพครูมีหน้ีสิน ผู้ปกครองท่ีมีการศึกษาสูงและฐานะดี ไม่ประสงค์จะให้บุตรหลาน
ของตนศึกษาเพื่อออกไปประกอบวิชาชีพครู เยาวชนที่สาเร็จการศึกษาช้ัน ม. 6 ส่วนมากก็ไม่ประสงค์ที่จะสมัคร
เรียนในสาขาวิชาชีพครู ผู้สมัครเรียนในสาชาครูจึงมักเป็นผู้ที่มีผลสาฤทธ์ิทางการเรียนปานกลานถึงต่า เมื่อไม่
สามารถสอบเขา้ เรยี นในสาขาวชิ าอืน่ ไดแ้ ล้วจงึ จะสมัครเรยี นเพื่อออกไปเปน็ ครู
ปัญหาเกย่ี วกับวิชาชีพครูอาจสรุปไดเ้ ปน็ 3 กลมุ่ ใหญด่ ังนี้

1. ปัญหาเกย่ี วกบั กระบวนการผลิต
ยังคงเป็นคาถามท่ีต้องถกกันต่อไปในเร่ืองของความสาคัญของใบประกอบวิชาชีพครู ว่าการเป็นครูทาไมต้องมีใบ
ประกอบวชิ าชีพ ครทู ี่จะมาสอนเด็กนักเรียนได้จะต้องมีใบประกอบวิชาชีพครูหรือไม่ ในหัวข้อนี้เราเร่ิมจากการทา
ความรู้จักกับใบประกอบวิชาชีพครู ว่ามีความสาคัญอย่างไร จุดประสงค์หลักของใบประกอบวิชาชีพครูคืออะไร
หากไมม่ ีจะส่งผลเสียต่อคนเป็นครูหรอื ไม่

ย้อนกลับในอดีตราวส่ีสิบห้าสิบปีท่ีผ่านมา คนท่ีจะเป็นครูได้จะต้องมี ใบสาคัญแสดงความเป็นครู ท่ีออก
โดยคุรุสภาเสียก่อน ลักษณะของใบสาคัญใบน้ีเป็นเล่มสีเหลืองขนาดประมาณเล่มพาสปอร์ต ซ่ึงในสมัยน้ันยังไม่มี
ประเด็นต่อต้านเท่าทุกวันนี้ เนื่องจากเป็นสิ่งท่ีถูกปฏิบัติกันมานานจนกลายเป็นความเคยชิน แต่ต่อมาอยู่ ๆ
ใบสาคญั นี้ก็คอ่ ยๆ หายไปจนหมดความสาคัญ เสมือนว่าใบสาคัญของการเป็นครูใบน้ีไม่ได้เป็นสิ่งท่ียืนยันได้ว่า ครู
จะต้องเป็นคนดีแต่อย่างไร ย่ิงครูมีพฤติกรรมหรือนิสัยแย่เท่าไหร่ ก็ย่ิงแสดงถึงความไม่ศักดิ์สิทธิ์ของใบสาคัญใบน้ี
โดยการยกเลิกใบสาคัญใบนี้ก็ไม่ไดส้ ่งผลกระทบอะไรมากมายต่อแวดวงการศกึ ษาทางดา้ นความเปน็ ครูมากมายนัก

ต่อมาได้มีพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 กาหนดวิชาชีพครู ผู้บริหาร
สถานศึกษา และผ้บู รหิ ารการศกึ ษาและบคุ ลากรทางการศึกษา เปน็ วชิ าชพี ควบคมุ ผู้ประกอบวชิ าชีพควบคุม ที่จัด
การศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอุดมศึกษาท่ีต่ากว่าปริญญาทั้งของรัฐและเอกชนจะต้องได้รับใบอนุญาตประกอบ

*ครูโรงเรยี นกาเนิดวทิ ย์

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 3

วิชาชีพจากคุรุสภา จึงจะมีสิทธ์ิประกอบวิชาชีพได้ นอกจากนี้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มี
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จะได้รับเงินเดือน วิทยฐานะตาม พรบ.เงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจา
ตาแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 ด้วย ดังนั้นในปัจจุบันผู้ที่ประสงค์จะประกอบ
วิชาชพี ครู ต้องมีใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพครูก่อน ซึ่งใบประกอบวิชาชีพจะควบคุมจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
โดยจรรยาบรรณวิชาชีพครูคือข้อปฏิบัติท่ีครูต้องประพฤติปฏิบัติตาม หากครูทาผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ คุรุสภามี
อานาจในการลงโทษในกรณกี ระทาความผิดจรงิ โทษนั้นสถานเบาสดุ ไปหาหนกั สุด ไดแ้ ก่

1. ตักเตอื น
2. ภาคทัณฑ์
3. พกั ใชใ้ บอนญุ าต (ไม่เกนิ 5 ปี)
4. เพิกถอนใบอนุญาต (5 ปี)

ผ้ขู อรับใบอนุญาตต้องมีสมบตั ิและไม่มลี ักษณะต้องห้ามตามมาตรา 44
1. อายไุ มต่ า่ กว่า 20 ปีบรบิ รู ณ์
2. มวี ุฒปิ ริญญาตรที างการศกึ ษา หรอื เทียบเท่า หรอื มีคณุ วฒุ อิ ่ืนตามทค่ี ุรสุ ภารบั รอง
3. ผ่านการสอนในสถานท่ีศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรีทางการศึกษาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี
และผา่ นเกณฑ์ วธิ ีการหรือเงือ่ นไขทีค่ ณะกรรมการครุ สุ ภากาหนด เป็นต้น

โดยผู้ใดประกอบวิชาชีพควบคุมโดยไม่ได้รับใบอนุญาต หรือแสดงด้วยวิธีการใด ๆ ให้ผู้อ่ืนเข้าใจว่าตนมีสิทธิ์หรือ
พร้อมที่จะประกอบวิชาชีพ รวมทั้งสถานศึกษาที่รับผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตเข้าประกอบวิชาชีพ จะต้องได้รับโทษตามท่ี
กาหนดไว้

หาพิจารณาจากบทความข้างต้น ซ่ึงเป็นกฎท่ีคอยความคุมพฤติกรรม ความประพฤติของผู้เป็นครูท่ีมีใบ
ประกอบวิชาชีพ ซ่ึงพอมองไปที่บทลงโทษที่สถานหนักสุดนั้น คือเพิกถอนใบอนุญาต เพียง 5 ปีเท่าน้ัน น่ัน
หมายความว่า ไม่ว่าจะทาผิดร้ายแรงเพียงใด ก็ยังสามารถท่ีจะกลับมาเป็นครูได้อีก แต่ก็ยังพูดได้ไม่เต็มปากว่าใบ
ประกอบวิชาชีพน้ีจาเป็นมากน้อยเพียงใด ดังน้ันเราจึงต้องมาดูว่าวิธีการท่ีจะได้มาซ่ึงใบประกอบวิชาชีพนั้น
เหมาะสมหรือไม่ วธิ กี ารดังกลา่ วสามารถคดั กรองคนดี มคี วามสามารถเข้ามาเป็นครูไดห้ รอื ไม่

วธิ กี ารไดใ้ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
1. หลกั สตู รทางการศึกษา 5 ปที ี่ไดร้ ับการรับรองจากคุรสุ ภา
หลักสูตรทางการศึกษา คือ หลักสูตรท่ีมีวัตถุประสงค์ในการผลิตบัณฑิตเพื่อจบออกไปเป็นครู อาทิ ศึกษาศาสตร์
ครุศาสตร์ การศึกษาบัณฑิต ครุศาสตร์อุตสาหกรรม ฯ ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.
2556 ประกาศใช้ ณ 4 ตุลาคม 2556 มีผลให้หลักสูตรทางการศึกษาใหม่เปล่ียนเป็น 11 มาตรฐาน และเมื่อจบ
การศึกษาจะทาการสอบรับใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู

ปที ี่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 4

2. หลกั สูตร ป.โท วิชาชีพครู ทไี่ ด้รับการรับรองจากครุ ุสภา
หลักสูตรนี้ ผู้เรียนควรมีวิชาเอกในระดับปริญญาตรีท่ีสามารถสอบบรรจุได้ เพราะในการสอบบรรจุใช้วิชาเอกใน
ระดบั ป.ตรเี ปน็ ส่วนใหญ่ และสว่ นใหญห่ ลกั สตู รน้รี ับผ้ทู ี่เป็นครูอยแู่ ล้วเข้าเรียน โดยยึดหนังสืออนุญาตให้ประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษาโดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเป็นส่วนใหญ่ เมื่อจบแล้ว สอบรับใบอนุญาตประกอบ
วชิ าชีพเช่นกนั

3. ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู(ป.บัณฑิตวิชาชีพครู) ท่ีได้รับการรับรองและมีการจัดการเรียนการ
สอนตามทไี่ ด้ขอรบั รอง

หมายเหตุ หลักสูตร ป.บัณฑิตวิชาชีพครู ถูกยกเลิกไปแล้วเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2553 คงเหลือเพียง
หลักสูตร ป.บัณฑิตวิชาชีพครเู พื่อพฒั นาบุคลการครใู นสังกัดกรมต่าง ๆ
หลักสูตรนี้สาหรับหน่วยงานผู้ใช้ครูระดับกรมเป็นผู้สร้างโครงการพัฒนาบุคลากรครูผู้สอนของหน่วยงานใน
สังกัด ผู้เรียนต้องเป็นครูผู้สอนในโรงเรียน ท่ีได้รับหนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาโดยไม่มี
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจากครุ สุ ภา หลกั สูตรนไ้ี มม่ ีประจา
จากท่ีได้กล่าวมาข้างต้นหากกล่าวถึงกฎข้อบังคับต่าง ๆ ที่ถูกเขียนมาในใบประกอบวิชาชีพครูน้ัน จะเห็นว่าครูท่ีมี
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพน้ันนอกจากถูกควบคุมให้มีจรรยาบรรณในวิชาชีพครูแล้ว คนเป็นครูยังต้องมีคุณธรรม
จริยธรรม แต่ส่งิ ที่ทาให้เกิดคาถามเกยี่ วกบั ความสาคญั ของใบประกอบวิชาชีพน้ัน ต้นเหตุอาจมาจากมาตรฐานของ
ขน้ั ตอนการคัดเลือกคน กอ่ นท่จี ะได้รับใบประกอบวชิ าชีพว่าสามารถคัดกรองคนดี หรือคนไม่ดีก่อนท่ีจะเข้ามาเป็น
ครูไดอ้ ยา่ งไร เพราะครทู ี่มีใบประกอบวชิ าชีพกอ็ าจจะไมใ่ ช่ครทู ่ีดเี สมอไป
ปัญหาน้อี าจเกดิ จากตัวปอู นเข้าของการบวกการผลิตครู กระบวกการเรยี นการสอนนักเรียนนักศึกษา การ
กาหนดคณุ ลักษณะของบณั ฑติ ครู และการควบคุมให้บัณฑิตทีสาเร็จการศึกษามีคุณลักษณะตามที่กาหนด สถาบัน
ผลิตครไู มส่ ามารถผลติ ครูให้มีลักษณะตามที่สังคมต้องการได้ สาเหตุสาคัญที่ทาให้การผลิตครูมีประสิทธิผลต่าอาจ
สรุปได้ 5 ประการดังน้ี
1. คนเก่งไม่เรียนครู เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า คนเก่ง ส่วนใหญ่ไม่สนในท่ีจะเป็นครู จากข้อมูลการ
เลือกเข้าเรียนต่อของผู้สมัครสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย ผู้สมัครส่วนใหญ่จะเลือกคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์
เป็นอันดับสุดท้าย และนักศึกษาครู มีผลการเรียนในระดับปานกลางถึงค่อนข้างต่า นอกจากนี้ นักศึกษาครูมักไม่
เลอื กเรียนวชิ าเอกท่ีเปน็ สาขาที่ขาดแคลน เช่น สาขาทางด้านวทิ ยาศาสตร์
2. รัฐลงทุนเพ่ือการผลิตครูต่า เม่ือเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายโดยเฉล่ียในการผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ
พบว่ารัฐลงทุนเพ่ือผลิตครูต่ากว่าวิชาชีพอื่นมาก สถาบันผลิตครูส่วนใหญ่ จึงมีปัญหาขาดแคลนปัจจัยที่จาเป็นต่อ
การผลิตครู ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ขาดงบดาเนินการเพื่อพัฒนาคณาจารย์ และพัฒนาการเรียนการสอน
นอกจากน้กี ารผลติ ครูดาเนนิ การโดยสถาบนั รัฐทัง้ หมด

ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 5

3. การบวนการเรียนการสอนเน้นทฤษฎีมากกว่าเน้นการปฏิบัติจริง ถ้าพิจารณาจากหลักสูตรการผลิต
ครูจะพบวา่ หลักสตู รทใ่ี ช้ในปจั จบุ นั เปน็ หลกั สูตรทก่ี าหนดจากสว่ นกลางและผูกติดกบั แนวคิดสากลมากกว่าท้องถ่ิน
เน้นทฤษฎีมากกว่าเชิงปฏิบัติจริง เน้นองค์ความรู้มากกว่าวิธีแสวงหาความรู้ วิชาท่ีสอนเป็นแบบแยกส่วน ขาด
ความเชื่อมโยงและบูรณาการ มีผลให้ผู้เรียนไม่ได้พัฒนาทักษะและวิธีการมองปัญหาในเชิงองค์รวม การบวนการ
เรียนการสอนเพ่ือผลิตครูยังเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้มากกว่าส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้การบวน
การเรียนรู้ด้วยตนเอง อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนและการวัดผลฝุายเดียว ผู้เรียนไม่มี
ส่วนร่วม นอกจากนี้ สื่อ นวัตกรรม และแหล่งการเรียนรู้ในสถาบันผลิตครู ไม่เอื้อให้นักศึกษาครูแสวงกาความรู้
และเรียนรู้ด้วยตนเอง การวัดผลประเมิณผลเน้นการสอบวัดเน้ือหาวิชาการ มากกว่าการประยุกต์ใช้ความรู้ท่ีชี้นา
แนวความคิดและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับการเป็นครูในอนาคต และที่สาคัญ หลักสูตรการผลิตครูไม่ได้สร้างข้ึน
เพื่อรองรับการผลิตครูรุ่นใหม่ซึ่งต้องมีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีความพร้อมทั้งความรู้ในเนื้อหาวิชาการ ความสามารถ
ในการชี้นาความรู้ มีการพัฒนาตนเองอยูเสมอ และมีคุณธรมม จริยธรรม รวมท้ังสามารถปรับใช้เทคโนโลยีใน
วชิ าชพี ได้

4. ขาดระบบการประกันคุณภาพบัณฑิตครู เนอื่ งจากคุณภาพของบณั ฑติ ครูเปน็ ไปตามเกณฑ์การวัดและ
ประเมิณผลของสภาประจาแต่ละสภาบัน และไม่มีองค์กรอิสระที่ทาหน้าที่ตรวจสอบ ติดตาม และประเมิณ
คุณภาพบัณฑิตของสถาบันต่าง ๆ ฝุายผลิตครูเป็นผู้ตรวจสอบคุณภาพการผลิตครูแต่เพียงผู้เดียว การประเมิณ
คุณภาพบัณฑิตเน้นการท่องจาเน้ือหาสาระควบคู่กับระเบียบราชการมากกว่าการวัดคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการ
เป็นครู

5. ขาดการตรวจสอบคุณภาพการผลิตครูและสถาบันผลิตครู การประกันคุณภาพการผลิตครูและ
สถาบันผลิตครูเพิ่งเป็นที่ยอมรับ และเริ่มดาเนินการมาไม่นานนัก การดาเนินการในปัจจุบันอยู่ในขั้นการสร้าง
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ในช่วงท่ีผ่านมาจึงไม่มีการดาเน้นการประกันคุณภาพการผลิตครู และสถาบันผลิตครู
อย่างชัดเจน นอกจากนี้สถาบันผลิตครูของรัฐมีอยู่หลายแห่ง ซ่ึงอย่างต่างสังกัดกัน ส่งผลให้การผลิตครู ขาด
เอกภาพในนโยบายและมาตรฐานการผลิตครู ประกอบกับการไม่มีหน่วยงานกลางที่ดาเนินงานของสถาบันผลิตครู
คุณภาพการผลติ ครูจึงแตกต่างกนั ไปตามเกณฑ์การวดั และประเมิณผลของแต่ละสถาบนั

2. ปญั หาและอุปสรรคของการทางานของครูไทย
การพัฒนาการศกึ ษาของชาติ ไม่ใชเ่ ฉพาะภาระหนา้ ท่ขี องใครหรือหนว่ ยงานใดหนว่ ยงานหน่ึงเท่านั้น แต่เป็นเร่ืองที่
สังคมต้องให้ความตระหนักและช่วยกันหาทางออก โดยปัญหาทางการศึกษาที่สาคัญก็คือ ปัญหาด้านครู จากผล
สารวจความคิดเห็นของครู เน่ืองในวันครูแห่งชาติ ปี 2555 ทาให้ทราบปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของการทาหน้าที่ครู
และแนวทางการสง่ เสรมิ ครใู ห้สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้ดียง่ิ ข้ึน ดังน้ี
ปจั จยั ทเ่ี ป็นอุปสรรคของการทาหนา้ ทีค่ รู ประกอบดว้ ย

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 6

1. ภาระงานอื่นนอกเหนือจากการสอน การทาหน้าที่อื่นนอกเหนือจากการสอน จะทาให้ครูมีเวลา
เตรียมการสอนและมีสมาธิในการสอนน้อยลง ซึ่งโรงเรียนในประเทศไทยให้ครูผู้สอนปฏิบัติหน้าที่อื่น เช่น พัสดุ
บคุ คล ธุรการ ฯลฯ จนทาใหป้ ระสทิ ธิภาพการสอนลดลง

2. จานวนครูไม่เพียงพอ สอนไม่ตรงกับวุฒิ กาหนดอัตรากาลังท่ีไม่เหมาะสม ใช้อัตราส่วนของจานวน
นักเรียนต่อจานวนครูเป็นเกณฑ์ โดยไม่คานึงถึงจานวนห้องเรียนน้ัน ส่งผล กระทบอย่างมากต่อประสิทธิภาพการ
สอนของครู

3. ขาดทักษะทางด้านไอซีที โดยครูจานวนมากยังขาดทักษะด้านนี้ จึงทาให้รับรู้ข้อมูล หรือมีแหล่ง
ค้นคว้าข้อมูลน้อยกว่านักเรียน นอกจากน้ีสื่อการสอนที่มีแค่หนังสือหรือตาราอาจตอบสนองการรับรู้และความ
ต้องการของนักเรยี นในศตวรรษท่ี 21 ไดไ้ มเ่ ตม็ ที่

4. ครูรนุ่ ใหมข่ าดความเชีย่ วชาญในการสอน ทง้ั ทางวิชาการและคณุ ลักษณะความเป็นครู ความเอาใจใส่
ต่อเดก็ ลดลง ขาดประสบการณ์ ขณะท่ีครูรุ่นเก่าไม่ปรับตัว ให้เข้ากับลักษณะของผู้เรียนที่เปล่ียนไป ไม่ปรับวิธีการ
สอน ไม่ใชเ้ ทคโนโลยีใหมๆ่ เพ่ือเสรมิ การจดั การเรยี นรู้ ให้มีประสิทธิภาพ

5. ครูสอนหนกั ส่งผลให้เด็กเรยี นมากข้ึน ผลการทดสอบระดับชาติท่ีไม่เป็นที่น่าพอใจ ทาให้ครูแก้ปัญหา
โดยยังคงยึดวิธีการสอนแบบเดิม พยายามสอนเน้ือหาให้มากขึ้น ใช้เวลาสอนมากขึ้น เพ่ือหวังให้นักเรียนมีความรู้
เพม่ิ ข้ึน ทาให้เดก็ ต้องใช้เวลาเรยี นในห้องเรยี นมาก

6. ขาดอิสระในการจัดการ ครูยังคงต้องปฏิบัติตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ซ่ึงนโยบายเหล่าน้ัน
ไม่ได้ถกู ตอ้ งและดีเสมอไป เช่น การเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ซึง่ ผลลัพธท์ ีไ่ ด้คือ นักเรียนที่เรียนภาษาอังกฤษ
15 ปี แต่ไม่สามารถสื่อสารภาษาองั กฤษได้ เป็นตน้

7. ผลตอบแทน สวัสดกิ าร และสิ่งจูงใจสาหรับครู คุณภาพของครูเป็นหนึ่งในองค์ประกอบท่ีสาคัญท่ีสุด
อย่างหนง่ึ ในการศึกษา ผลการศึกษาของนักเรียนท่ีดีมักจะข้ึนอยู่กับคุณภาพของครู ดังนั้นเม่ือครูท่ีมีคุณภาพได้รับ
คัดเลือกเข้ามาทางานแล้ว จะสามารถคงอยู่ประกอบวิชาชีพครูในองค์กรได้อย่างยาวนานได้น้ัน มีปัจจัยท่ีสาคัญท่ี
เก่ยี วขอ้ งต่อการยกระดบั คุณภาพครู คือ ระบบผลตอบแทน สวัสดกิ าร และสงิ่ จงู ใจ

ปญั หาท่สี าคัญคือ เงินอุดหนุนจากรัฐบาล ไม่ได้ถูกจัดสรรอย่างเป็นธรรม และเงินอุดหนุนที่ได้มาดังกล่าว
ครอบคลุมเฉพาะค่าใช้จ่ายดาเนินงานของโรงเรียนเท่านั้น โดยไม่รวมเงินเดือนและเงินวิทยฐานะของครู และงบ
ลงทนุ ของโรงเรียน ทง้ั ที่โรงเรียนที่มีคุณภาพดีมีแนวโนม้ ทจ่ี ะมีต้นทุนสูงกว่าโรงเรียนท่ัวไปในทุกระดับการศึกษา ใน
โรงเรียนเอกชน แม้ว่าโรงเรียนเอกชนจะได้รับเงินอุดหนุนรายบุคคลเท่ากับโรงเรียนในสังกัดรัฐบาลก็ตาม แต่เงิน
สมทบเงินเดือนครูท่ีโรงเรียนเอกชนได้รับน้ันต่ากว่าท่ีควรจะเป็นมาก และถูกปรับเพิ่มขึ้นตามเวลาอย่างช้ามาก
ในขณะท่ีเงินเดือนของครูโรงเรียนรัฐบาล จะปรับเพิ่มข้ึนทุกปีตามการเลื่อนข้ันเงินเดือนและการปรับวิทยฐานะ
(ภาพที่ 1) นอกจากนี้ ค่าตอบแทนครูในโรงเรยี นเอกชนก็ยงั เปน็ ปัญหาท่สี ง่ ผลต่อขวัญและกาลังใจของผู้ท่ีจะเข้ามา
เป็นครู เน่ืองจากครูเอกชนไม่ได้มีสวัสดิการ หรือความม่ันคงในการทางานเหมือนกับครูของรัฐบาล จึงมีอัตราการ

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 7

ลาออกของครูเอกชน เพื่อสอบบรรจุเป็นข้าราชการครูมากขึ้น ดังน้ันรัฐบาลควรให้ความสาคัญ และปรับระบบ
สวัสดิการครูโรงเรียนเอกชนให้เท่าเทียมกับครูโรงเรียนรัฐ เพ่ือเป็นแรงจูงใจให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนในการแบ่ง
เบาภาระการจดั การศกึ ษาของรัฐมากขน้ึ (เกรยี งศกั ดิ์ เจรญิ วงศ์ศักดิ์, 2552)

ภาพท่ี 1 ความแตกตา่ งของรายได้เฉลีย่ ของครโู รงเรยี นรัฐบาล และครูเอกชน (สมเกยี รติ และคณะ, 2555)
ปัญหานค้ี วรไดร้ ับการแกไ้ ขอยา่ งจรงิ จงั เพราะเมื่อเทยี บกับวชิ าชีพอน่ื ๆ ท่รี ับผิดชอบต่ออนาคตและความ

สงบเรยี บร้อยของคนในชาติ เปน็ ต้นวา่ อัยการ ตุลาการ แพทย์ และตารวจแล้ว วิชาชีพครูถือว่าได้รับค่าตอบแทน
ค่อนข้างต่า ส่งผลให้ครูขาดกาลังใจในการทางาน มีผลต่อการเรียนการสอนของตน รวมท้ังรัฐไม่สามารถปรับ
เงินเดือนข้าราชการครูให้เหมาะสมกับสถาพเศรษฐกิจและสงคมท่ีเปลี่ยนไป ทาให้ครูส่วนใหญ่มีปัญหาทาง
เศรษฐกิจอันเน่ืองมาจากรายได้น้อยแต่ค่าครองชีพสูง ครูบางส่วนต้องหารายได้เพ่ิมจากการประกอบอาชีพเสริม
ตา่ ง ๆ ซึง่ บางครั้งเป็นการเบียดบังเวลางาน และส่งผลให้ครูเอาใจใส่ต่อการเรียนการสอนน้อยลง นอกจากน้ี ครูที่
ปฏิบัติงานในพืน้ ทห่ี า่ งไกลความเจริญยังต้องสละเงินเดือนบางส่วนเพื่อช่วยเหลือนักเรียนและซื้ออุปกรณ์การเรียน
การสอนด้วย วิชาชีพครูจึงไม่เป็นที่น่าสนใจจากคนทั่วไป แม้กระท้ังผู้ที่เป็นครูบางคน หากมีทางเลือกอื่นก็เลือกท่ี
จะไมป่ ระกอบอาชพี ครู

3. ปญั หาเกี่ยวกับการบริหารจดั การ
สาเหตุทที่ าใหก้ ารบรหิ ารจัดการมปี ระสทิ ธผิ ลต่าอาจสรุปได้ 6 ประการดงั นี้

1. ผู้บริหารโรงเรียนมีความรู้และความสามารถทางการบริหารต่า จากข้อมูลของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนส่วนใหญ่มีพ้ืนความรู้ระดับปริญญาตรีและปฏิบัติ
รายการโดยเฉล่ีย ประมาณ 20 – 30 ปี มีความรู้ความสามารถไม่เพียงพอในการบริหาร ผู้บริหารโรงเรียนบริหาร
โดยยึดความเห็นของตนเองเป็นใหญ่ ให้ครูมีส่วนร่วมในการบริหารโรงเรียนน้อย ไม่ให้ความสาคัญของการมีส่วน
ร่วมของผู้ปกครองและชุมชน การประชุมระหว่างผู้บริหารโรงเรียน ครู และผู้ปกครองส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะ
การชี้แจงข้อเท็จจริงมากกว่าการแสวงหาแนวทางการแก้ปัญหา ครู ผู้ปกครอง และผู้แทนชุมชนจึงแทบไม่มีส่วน
รว่ มในการบริหารโรงเรียน

ปที ่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 8

2. ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนไมส่ นใจพัฒนาตนเอง เป็นที่ทราบและยอมรับกันโดยท่ัวไปว่า เส้นทางการก้าวขึ้นสู่
ตาแหน่งผู้บริหารโรงเรียนรัฐบาลส่วนมากจะขึ้นกับอานาจการสั่งการของนักการเมือง ดังนั้น แทนท่ีผู้บริหารจะ
สนใจพัฒนาตนเองเพ่ือให้การบริหารงานโรงเรียนเป็นไปในเชิงพัฒนาไปข้างหน้า เพ่ือให้พัฒนาครูและการศึกษา
ของโรงเรียน ผู้บริหารกลับเสียเวลาไปกับการประจบหรือทางานให้กับคนท่ีมีสิทธิ์ในการคัดเลือกผู้บริหาร ซึ่งเป็น
กลุ่มคนทบ่ี างทีไ่ มไ่ ด้มีความร้เู รื่องการศกึ ษาเท่าใดนกั ความใสใ่ จในการพัฒนาตนเองเพอ่ื บริหารงานในโรงเรียนจึงมี
นอ้ ย และมิได้เปน็ ไปเพื่อการพัฒนาผใู้ ต้บังคับบญั ชาและบริการทางการศกึ ษาของโรงเรียนอย่างแทจ้ ริง

3. ขาดระบบการตรวจสอบและประเมิณผลผู้บริหารโรงเรียนท่ีมีประสิทธิผล ปัญหาด้านการ
ประเมนิ ผลท่ีผู้บริหารประสบมีลกั ษณะคลา้ ยกนั กับปัญหาของครู ผู้บริหารส่วนใหญ่นั้นมีความคิดว่าการตรวจสอบ
และการประเมนิ คอื การจบั ผิด การตรวจสอบและการประเมินผู้บริหารโรงเรียนจึงดาเนินการเฉพาะกรณีท่ีพบว่า
มีความผิดชัดเจน หรือเพ่ือเลื่อนตาแหน่ง การประเมินเพ่ือปรับปรุงและพัฒนางานมีค่อนข้างจากัด การปรับปรุง
และพัฒนางานอยา่ งเปน็ ระบบในโรงเรยี นจึงไม่ปรากฎใหเ้ หน็ อย่างชัดเจน

4. ผปู้ กครอง ชุมชน และภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ มีสว่ นร่วมในการบริหารโรงเรียนต่า เน่ืองจากอานาจรัฐเข้า
ไปมีบทบาทในการบรหิ ารการศกึ ษา และบริหารงานบุคคลในโรงเรียนค่อนข้างสูง ท้ังทาหน้าที่กาหนดบทบาทของ
การบรหิ าร และทาหน้าทีใ่ นการบรหิ ารโรงเรียน โดยมิได้กระจายอานาจน้ีให้แก่ชุมชน ส่งผลให้ผู้ปกครอง ชุมชนมี
ส่วนรวมกบั โรงเรียนคอ่ นขา้ งนอ้ ย สงิ่ ทชี่ ุมชนจะไดร้ ับร้เู กี่ยวกับการบริหารโรงเรียนอย่างมากท่ีสุด คือ การรับทราบ
นโยบายของโรงเรียน หรือมีส่วนร่วมโดยให้การสนับสนุนหรือช่วยเหลือโรงเรียนตามความต้องการของโรง เรียน
เท่านนั้

5. ขาดทรัพยากรเพื่อการบริหารโรงเรียน ในช่วงเวลาท่ีผ่านมา รัฐเป็นฝุายเดียวท่ีสนับสนุนทรัพยากร
เพ่ือการบริหารโรงเรียน ซึ่งเม่ือเปรียบเทียบกับจานวนโรงเรียน และจานวนครูท้ังหมดท่ีมีอยู่ในงบประมาณที่รัฐ
จัดสรรให้เกือบท้ังหมด จึงเป็นงบประมาณเพ่ือจ่ายเป็นเงินเดือนและเงินประจาตาแหน่งของครู งบประมาณเพื่อ
การบริหารโรงเรียนและเพื่อพัฒนาบุคลากรน้ันมีน้อยมาก นอกจากงบประมาณจากรัฐไม่เพียงพอแล้ว ในสภาพ
ปัจจุบันโรงเรียนส่วนใหญ่ได้ประสานงานเพ่ือแสวงหาความร่วมมือในการระดมทรัพยากรจากชุมชน จากเอกชน
เพ่ือการบริหาร เป็นผลให้ครูในโรงเรียนไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร และการบริหารงานในโรงเรียนก็ไม่สามารถ
ก้าวทันกับเทคโนโลยีและนวตั กรรมใหม่ ๆ ท่ีนา่ จะนามาใชเ้ พือ่ การบรหิ ารจดั การ

6. ขาดสถาบันพัฒนาผบู้ รหิ ารโรงเรียนระดบั มืออาชพี ปัจจุบันมสี ถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษาซ่ึงเป็น
หนว่ ยงานของรฐั มีหลกั สตู รฝึกอบรมเพ่ือการพัฒนา ผู้บริหารได้จานวนจากัด หลักสูตรฝึกอบรมผู้บริหารโรงเรียน
ท่ใี ช้อยู่ในปัจจบุ ันไม่เข้มข้นเพยี งพอท่ีจาทาใหผ้ ูบ้ ริหารกลายเปน็ ผบู้ ริหารมืออาชีพได้

2. การเปลย่ี นแปลงของสงั คมไทย และแนวโน้มท่ีจะเกิดขึน้ ในอนาคต

ปที ี่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 9

การพัฒนาประเทศเป็นส่ิงที่ทาให้ประชาชนมีความกินดีอยู่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในโลกของเรามีท้ัง
ประเทศที่พฒั นาแลว้ และประเทศที่กาลังพัฒนา อย่างเช่นในประเทศไทยซ่ึงเป็นประเทศท่ีกาลังพัฒนามาตั้งแต่รุ่น
ตายายจนถึงรุ่นเราก็ยังเป็นประเทศที่กาลังพัฒนาอยู่ แต่ไม่นานมานี้ได้มีนโยบายท่ีอาจจะทาให้ประเทศของเรามี
การเปล่ียนแปลงเปน็ ประเทศทพี่ ัฒนาแล้วก็เป็นได้ น่นั คือ “ประเทศไทย 4.0 หรือไทยแลนด์ 4.0”

ประเทศไทย 4.0 หรือไทยแลนด์ 4.0 คือวิสัยทัศน์เชิงนโยบายที่เปล่ียนเศรษกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจท่ี
ขับเคลอ่ื นไปด้วยนวัตกรรมและการนาพาประชาชนท้ังประเทศไปสู่โมเดลประเทศไทย 4.0 โดยก่อนที่จะมาถึงไทย
แลนด์ 4.0 ต้องผ่านไทยแลนด์ 1.0 – 3.0 มาแล้ว แต่ในยุคก่อนหน้านี้นั้น รายได้ของประเทศยังอยู่ในระดับปาน
กลาง จงึ ต้องพฒั นาเศรษฐกจิ เพื่อสรา้ งประเทศ เป็นเหตุให้นาไปสู่ยุค 4.0 ให้เป็นเศรษฐกิจใหม่ ให้เป็นประเทศท่ีมี
รายได้สูง โดยวางเปูาหมายให้เกิดภายใน 5 – 6 ปีน้ี คล้าย ๆ กับการวางภาพอนาคตทางเศรษฐกิจท่ีชัดเจนของ
ประเทศทพ่ี ฒั นาแล้ว ซงึ่ ไมร่ ูว้ า่ แผนการพัฒนาคร้ังนีจ้ ะเป็นอนาคตหรือเร่ืองทเ่ี พอ้ ฝัน

ในอนาคตถ้าประเทศมกี ารพฒั นาเปน็ “ประเทศไทย 4.0” ได้จริง ลองคิดดูว่าประเทศจะมีการเปล่ียนแปลงไป
ขนาดไหน ทั้งในเรื่องนวัตกรรมใหม่ ๆ สงั คมและวัฒนธรรมที่จะต้องมีการเปล่ียนแปลง จากการยอมรับวัฒนธรรม
ท่ีแตกต่างและการเข้ามาของความคิดท่ีแปลกใหม่ การใช้เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเข้ามาช่วยในเรื่องของ
การศึกษา การคมนาคม เนื่องจากมีการพัฒนาการที่ก้าวล้ามากข้ึน การพัฒนาต่าง ๆ ล้วนเป็นส่ิงท่ีสร้างให้ผู้คนมี
ความทันสมยั และมคี ณุ ภาพชีวติ ทดี่ ขี ึ้นท้ังสนิ้ ฟงั ดูแลว้ อาจเป็นส่ิงเพ้อฝัน แต่ถ้าสามารถทาให้ฝันเป็นจริงได้ก็จะทา
ให้เป็นผลดีกับคนไทยท้ังประเทศ

3. แนวทางการศกึ ษาในสังคมไทยยุคปจั จุบนั
เมื่อโลกไดต้ ระหนักและเลง็ เหน็ ถึงความสาคัญของการนาเทคโนลยมี าเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจาวัน ครูใน

ศตวรรษที่ 21 จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเรียนรู้ให้เท่าทันยุคสมัยท่ีเปล่ียนแปลงนี้ ท้ังนี้การพัฒนาทักษะต่าง ๆ
อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เข้ามามีบทบาทอย่างมากในวงการศึกษาท้ังในปัจจุบันและ
อนาคต เพ่ือให้สามารถช้ีแนะและส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดเวลา นอกจากนี้ ครูไทยในอนาคต
ยังต้องมีความรู้จริงในเรอ่ื งทส่ี อน และตอ้ งมเี ทคนิควิธีการให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ รวมทั้งจัด
กิจกรรมเช่ือมโยงความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ฝึกให้นักเรียนทางานเป็นทีม เป็นนักออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ท่ีเหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และแสดงออกถึงความรักและความห่วงใยต่อนักเรียน
ทั้งน้ีกระบวนการเรียนการสอนดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้ ถ้าทุกภาคส่วนช่วยกัน หาทางลดปัญหาและอุปสรรคท่ี
ขดั ขวางการพฒั นาครู ซ่ึงแนวทางและความเป็นไปได้ในการพัฒนาครูในศตวรรษท่ี 21 นั้น ต้องดาเนินการท้ังด้าน
นโยบายและดา้ นการพัฒนาตนเองของครูควบค่กู นั ไป จงึ จะทาใหค้ รูเปน็ ครูเปน็ ครยู คุ ดจิ ทิ ัลอย่างแท้จรงิ

ความสาคัญและสภาพปัญหาของเทคโนโลยีและส่อื สารการศกึ ษา

ปีท่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 10

ในยุคศตวรรษที่ 21 กระบวนการเรียนการสอนมีการเปล่ียนแปลง โดยผู้เรียนจะเรียนด้วยเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสารที่ทันสมัย และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีปัญหาท่ีสืบ
เนือ่ งมาจากจานวนนักเรยี นทเี่ พิ่มข้ึนตอ่ ห้องเรียน จนทาให้วิธีการสอนแบบเดิม ๆ ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ส่ือท่ี
แสดงมีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอสาหรับผู้เรียนท่ีอยู่หลังห้อง ความจดจ่อกับผู้สอนถูกเบ่ียงเบนจากพฤติกรรมและ
สภาพแวดล้อมในชั้นเรียนขนาดใหญ่ ผู้เรียนมการนาเอาคอมพิวเตอร์พวกพาเข้ามาสืบค้นความรู้ในชั้นเรียน และ
ถามคาถามเกยี่ วกับเรื่องที่ครูกาลงั สอน หรอื นาข้อมูลเหล่าน้ันมาพูดคุย โดยทคี่ รูตอบไม่ได้ หรือไมเ่ คยสอนมาก่อน

เม่ือเป็นเช่นน้ี ครูจึงต้องพร้อมที่จะปรับตัวและพัฒนาตนเองให้เท่าทันสมัย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้เทคนิค
วิธกี ารเรียนการสอนแบบใหม่ ๆ ที่มีประสิทธิภาพ ทาให้เด็กมีคุณลักษณะอังพึงประสงค์ตามท่ีสังคมไทยและสังคม
โลกตอ้ งการ

ประทรวงศึกษาธิการ ได้เล็กเห็นความสาคัญของการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
(Information and Communication Technology: ICT) มาใช้ ซ่ึงเป็นเครอื่ งมอื สาคัญและเปน็ ประโยชน์ต่อการ
ยกระดบั คุณภาพการศึกษา ชว่ ยเพิ่มประสิทธภิ าพการเรยี นการสอนและพัฒนาครไู ด้อยา่ งรวดเรว็

ปจั จุบนั มแี นวทางการพัฒนา ICT เพอ่ื การศึกษาดงั น้ี
1. การจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เพ่ือการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษา ทั้ง

คอมพิวเตอร์ประจาห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ประจาห้องเรียน ไม่ว่าจะคอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะและคอมพิวเตอร์
พกพา จัดต้ังศูนย์ข้อมูล Data Center และสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเพื่อการศึกษา สาหรับใช้ในการเรียนการ
สอน

2. การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในรูปแบบส่ือออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ e-Book หรือ Applications
ตา่ ง ๆ

เน่ืองจากรูปแบบการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 มีลักษณะที่เป็นการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างครูกับนักเรียน
และนักเรยี นกบั นกั เรยี นด้วยกนั โดยประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยที ่มี ีอยู่มาช่วยในการเรียนการสอน ดังนั้นทักษะด้าน ICT
จึงมีความสาคัญมากสาหรับครู เพราะการพัฒนาสื่อการสอน และจัดสรรทรัพยากร แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ต้อง
อาศยั เทคโนโลยีมาเป็นเคร่ืองมือในการบริหารจัดการให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนในยุคดิจิทัล
รวมถึงใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการพัฒนาทกั ษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ใหก้ บั นักเรยี นด้วย

4. ครูไทยในยคุ 4.0 และในอนาคต
เม่ือสังคมโลกเปลี่ยนไป ผู้เรียนไม่ได้เรียนรู้จากโรงเรียนเพียงแห่งเดียว แต่สามารถเรียนรู้ได้จากแหล่ง

เรียนรภู้ ายนอกทเี่ ปน็ สงั คมรอบตวั โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากอนิ เตอรเ์ น็ต บทบาทของครูไทยในศตวรรษท่ี 21 จึงต้อง
เปล่ียนแปลงตามไปด้วย โดยครูต้องช่วยแก้ไข และชี้แนะความรู้ท้ังถูก ผิด ที่ผู้เรียนได้รับจากสื่อภายนอก รวมท้ัง
สอนใหร้ ูจ้ ักการคดิ วเิ คราะห์ กล่ันกรองความรูอ้ ย่างมวี ิจารณญาณ กอ่ นนาขอ้ มลู มาใชอ้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม

ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 11

นอกจากนี้ครูยังต้องปรับเปลี่ยนวิธีการสอนและต้องพัฒนาทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี
21 ของตนเอง ดังที่ รศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ได้เสนอทักษะท่ีจาเป็นสาหรับครูไทยในอนาคต (C-Teacher)
ไวอ้ ยา่ งนา่ สนใจ 8 ประการคือ

1. Content ครูต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องที่สอนเป็นอย่างดี หากไม่รู้จริงในเร่ืองที่สอนแล้ว ก็ยากที่
นักเรียนจะมคี วามรู้ความเขา้ ใจในเนอื้ หาน้ัน ๆ

2. Computer (ICT) Integration ครูต้องมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการ
สอน เน่ืองจากกิจกรรมการเรียนการสอนทใี่ ช้เทคโนโลยีจะชว่ ยกระตนุ้ ความสนใจใหก้ ับนักเรียน และหากออกแบบ
กิจกรรมการเรียนการสอนอย่างมปี ระสิทธิภาพ จะช่วยสง่ เสริมความรู้และทกั ษะทต่ี อ้ งการได้เป็นอย่างดี

3. Constructionist ครูผู้สอนต้องเข้าใจแนวคิดท่ีว่า ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง โดย
เช่อื มโยงความรู้เดิมทมี่ ีอยู่ภายในเข้ากับการได้ลงมอื ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ดังนั้นครูจึงควรนาแนวคิดนี้ไปพัฒนาวาง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพอื่ ให้นักเรยี นเกิดความรู้ทค่ี งทนและเกิดทักษะท่ตี ้องการ

4. Connectivity ครูต้องสามารถจัดกิจกรรมให้เช่ือมโยงระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ผู้เรียนกับครู ครูภายใน
สถานศึกษาเดียวกันหรือต่างสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษา และสถานศึกษากับชุมชน เพ่ือสร้างสภาพแวดล้อม
ในการเรยี นรู้ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ ให้นักเรยี นไดล้ งมือปฏบิ ตั ิอนั จะกอ่ ให้เกดิ ประสบการณ์ตรงกบั นักเรยี น

5. Collaboration ครูมีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะการเรียนรู้แบบร่วมมือระหว่าง
นกั เรยี นกับครู และนักเรยี นกับนักเรียนด้วยกัน เพื่อฝึกทักษะการทางานเป็นทีม การเรียนรู้ด้วยตนเอง และทักษะ
สาคัญอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง

6. Communication ครตู อ้ งมที กั ษะการสอ่ื สาร ท้งั การบรรยาย การยกตัวอย่าง การเลือกใช้สื่อ และการ
นาเสนอ รวมถงึ การจัดสภาพแวดล้อมให้เออ้ื ต่อการเรียนรู้ เพ่ือถ่ายทอดความรู้ให้กับนกั เรยี นได้อย่างเหมาะสม

7. Creativity ครูต้องออกแบบ สร้างสรรคก์ ิจกรรมการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วย
ตนเองของผเู้ รยี นมากกวา่ การเป็นผู้ถ่ายทอดความรหู้ น้าห้องเพียงอย่างเดยี ว

8. Caring ครูต้องมีมุทิตาจิตต่อนักเรียน ต้องแสดงออกถึงความรัก ความห่วงใยอย่างจริงใจต่อนักเรียน
เพือ่ ให้นกั เรยี นเกดิ ความเชอ่ื ใจ ส่งผลให้เกดิ สภาพการเรยี นร้ตู น่ื ตวั แบบผอ่ นคลาย ซงึ่ เป็นสภาพทีน่ ักเรียนจะเรียนรู้
ได้ดีทีส่ ดุ

เม่ือหน้าท่ีและบทบาทของครูผู้สอนได้เปล่ียนจากการบรรยายหน้าช้ันเรียนเพียงอย่างเดียวมาเป็นการ
กล่าวนาเข้าสู่บทเรียน ทาหน้าที่เป็นเพียงผู้แนะนา ให้คาปรึกษา และแก้ปัญหาให้แก่ผู้เรียน จึงเกิดวิธีการสอนที่
หลากหลายมากข้ึน มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ผ่านเครือข่าย (Network)
อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ครูต้องมีการปรับทัศนคติใหม่ พัฒนาความรู้และทักษะความสามารถท่ีจาเป็นตา ม
แนวทาง C-Teacher ทไี่ ดก้ ลา่ วมาขา้ งตน้
5. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางท่ีเป็นไปได้ในการพฒั นาครูในศตวรรษท่ี 21

ปีท่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 12

จากสภาพการณ์ท่ีกล่าวขา้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ การจัดการศึกษาในประเทศไทยต้องมีการพัฒนาให้สอดคล้อง
กับสภาวะการณ์โลก ไม่เพียงเฉพาะครูเท่าน้ันแต่หมายรวมถึงการพัฒนาท้ังระบบให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ในยุค
สมยั ใหม่ด้วย โดยมีแนวทางทคี่ วรส่งเสริมและเปดิ มมุ มองของการพัฒนาครูในศตวรรษท่ี 21 ดังนี้

1. ในอดีต การพัฒนาครูยังมีทิศทางท่ีไม่ชัดเจน และไม่ค่อยให้ความสาคัญอย่างจริงจัง หากต้องการให้
เกิดผลลัพธ์ทดี่ ตี อ่ เด็กแลว้ ควรจะมีการกาหนดนโยบายเพ่ือเป็นกรอบในการพัฒนาครูให้ตรงจุด เพื่อสนองตอบต่อ
ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบัน โดยควรมีการกาหนดหน่วยงานการพัฒนาครูอย่างทั่วถึงทุกพื้นท่ี ไม่ใช่กาหนดอานาจ
การพัฒนาครูไว้ท่สี ่วนกลางอย่างเดยี ว

2. ควรมีการกาหนดมาตรฐานอาชีพครู โดยเฉพาะความรู้ความสามารถด้านมาตรฐานการปฏิบัติงานของ
ครู ซึ่งมาตรฐานเหล่าน้ีสามารถใช้เป็นเกณฑ์วัดความเป็นครูและเป็นเคร่ืองมือตรวจสอบกลั่นกรองผู้ประกอบ
วิชาชพี ครไู ด้อยา่ งชัดเจนและมคี ณุ ภาพ

3. ควรมีการพัฒนาระบบการผลิตครูออกสู่ตลาดการศึกษา รวมทั้งหลักสูตรครูที่ทันต่อเปลี่ยนแปลงไป
ของสังคมโลก

4. ควรมีการใหค้ วามรู้และปรับแนวคิดของครูให้เข้าใจวิธีการเรียนรู้ในยุคสมัยใหม่ ที่ผู้เรียนสามารถสร้าง
ความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง จากการสืบค้น การลงมือปฏิบัติ มีอิสระในการเรียนรู้ โดยมีครูคอยชี้แนะในลักษณะของผู้ให้
คาปรกึ ษา

5. ควรอาศัยประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือให้ผู้เรียนเข้าถึงข้อมูล ความรู้ได้แบบไม่มีขีดจากัด
เฉพาะในหอ้ งเรียน หรอื จากครเู ท่านน้ั

6. ควรถ่ายทอดแนวคิดและการปฏิบัติในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือสร้างผู้เรียนให้รู้จักคิดวิเคราะห์ อย่างมี
เหตุมผี ล มีจติ วจิ ยั ใช้ขอ้ มลู เพ่อื การพฒั นาและแกป้ ญั หา

7. ควรส่งเสริมให้ครูได้ศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับผู้อ่ืน และยึด
หลักการจัดการเรยี นร้ใู ห้สอดคลอ้ งกับชวี ติ จรงิ

8. การผสมผสานกระบวนการวัดผลเข้ากับกระบวนการสอนอย่างแนบแน่นปรับให้ยืดหยุ่นหลากหลาย
ใชไ้ ดใ้ นหลายสถานการณ์ หลายเปาู หมาย โดยเฉพาะการวดั ทักษะหรอื คณุ ลกั ษณะใหม่ๆ ตามกรอบคดิ ร่วมสมัย

9. การนาเทคโนโลยีทางไกลมาช่วยในการพัฒนาครู เพ่ือถ่ายทอดความรู้และทักษะท่ีสาคัญให้กับครูท่ัว
ประเทศ อาจอยูใ่ นรูปแบบของเว็บไซต์ฝกึ อบรม หรือวดิ ีโอคอนเฟอรเ์ รนซ์

10. การส่งเสรมิ ให้ครูทาวจิ ัยควบคู่ไปกับการจดั การเรียนการสอน เพ่ือเปล่ียนไปสู่ครูนักวิจัย โดยครูจะนา
ปัญหาท่ีพบในชั้นเรียนจากประสบการณ์ไปเป็นปัญหาในการวิจัย เพื่อหาแนวทางการแก้ไข หรือแนวทางในการ
พฒั นาการเรยี นการสอนตอ่ ไป

สรุปได้วา่ นโยบายที่ชัดเจนจะกอ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาครูอยา่ งท่ัวถึง การกาหนดมาตรฐานวิชาชีพและการนา
เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ก็เป็นส่วนสาคัญในการกระตุ้นให้ครูมีการพัฒนาตนเอง โดยเปลี่ยนแปลงท้ังทัศนคติ วิธี

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 13

สอน และบทบาท ท้ังยังส่งผลให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ และประสบการณ์ที่หลายหลาย จนกลายเป็นองค์
ความรใู้ หม่ทส่ี ามารถนามาปรับใช้ภายใตบ้ รบิ ทของตนเอง ตลอดจนส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีทักษะ
ชีวิตและวชิ าชีพตามคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของชาติและนานาชาตติ ่อไป

เอกสารอ้างองิ
ภาสกร เร่อื งรอง; และคณะ. (2557). เทคโนโลยีการศึกษากับครไู ทยในศตวรรษท่ี 21, วารสารปญั ญาวิวัฒน์ ปที ่ี 5

ฉบบั พเิ ศษ
ข่าวสานักงานรัฐมนตรี 275/2556. รมว.ศธ.เปิดการเสวนา ICT เพื่อปฏิรูปการเรียนการสอน. 2556.
http://www.moe.go.th/websm/2013/aug/275.html
ถนอมพร เ ลาห จรั สแส ง.การ เรีย นรู้ ในยุ คสมั ยห น้า: ต อนรู ปแ บบแ ละทฤษฎี ก าร เรีย นรู้อนา คต. ม .ป. ป. .
http://thanompo.edu.cmu.ac.th/load/journal/50-51/next-generation%20of%20learning.pdf
สมเกียรติ ตัง้ กจิ วานชิ ย์ และ คณะ, 2555, “ระบบการบริหารและการเงนิ เพ่อื สร้างความรบั ผดิ ชอบในการจดั

การศกึ ษา”, เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจาปี 2554 ของสถาบันวจิ ัยเพือ่ การพัฒนาประเทศ
ไทย.
รัชนี อมาตยกุล, ปัญหาของครู คุณภาพของครู, แหล่งข้อมูล: http://www.amatyakulschool.com/ นางณภัค ถิรกุลยศมาดี,
วิธีการใหไ้ ด้มาซึง่ ในอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู, แหลง่ ข้อมลู : https://www.gotoknow.org/posts/499437
ศภุ ณฎั ฐ์ ศศวิ ฒุ วิ ฒั น์, 2555, การปฎริ ปู ผลตอบแทนครเู พื่อพฒั นาคุณภาพครู
Teacher Professional Development [EDUC105], การพัฒนาการเป็นครูวิชาชีพ, https://educ105.wordpress.com/
สภาพปัจจุบันและปญั หาวิ
CHUTIMON, Thailand 4.0 สังคมยุคดิจิทัล, https://chomctm.wordpress.com/2017/05/07/thailand-4-0-อนาคตหรือ
เพอ้ ฝนั

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 14

“คร”ู ผู้นาแห่งการเปลีย่ นแปลงในสังคมทีม่ คี วามหลากหลาย

รตั นะ พนู เกษม*

ภาวะการนามีความสาคัญต่อสังคมที่มีความแตกต่างหลากหลาย เพราะจะทาให้ชีวิตมนุษย์ยังคงดารงอยู่
ไม่เพียงเท่านั้น ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีส่งผลต่อการมีชีวิตก็จะสามารถดารงอยู่ได้ เช่น ปัจจัย 4 วัฒนธรรม สังคม
การศึกษา เป็นต้น และการให้ความสาคัญกับภาวะการนาในสังคมนั้น เป็นส่ิงสาคัญเพราะจะเป็นกลไกที่ช่วย
ขับเคล่ือนสังคมให้ดาเนินไปได้อย่างปกติ ท่ามกลางความหลากหลาย ของทุกคนในสังคม ท้ังสังคมไทยและสังคม
โลก ต่างตอ้ งตระหนักถงึ บทบาทตนอง ควบคู่ไปกับพิจารณาส่ิงที่พึงกระทา ส่ิงหน่ึงที่สามารถช่วยได้ คือ การศึกษา
มนุษย์ในสังคมล้วนแสวงหาการศึกษา เพื่อให้เกิดปัญญา และปัญญาจะส่งเสริมให้รู้วิธีใช้ชีวิต และหากมีปัญญาที่
ดีกวา่ ผู้อืน่ ก็จะมีบทบาทที่เหนือกว่า มีอานาจในการชี้นาหลาย ๆ คนได้ ดงั น้ัน การได้รับอานาจในการนาจึงสาคัญ
ผู้ที่ได้รับอานาจนั้น ต้องเรียนรู้ที่จะสร้างความสมดุลในสังคมท่ีมีความหลากหลายให้เกิดมากที่สุด ผู้นาไม่
จาเป็นต้องเป็นคนกลุ่มน้อย หรือคนเดียว (นาเดี่ยว) ก็ได้ หากแต่ป็นคนท่ีพร้อมจะเสนอข้อแก้ไข และรับฟัง
ข้อเสนอแนะจากบุคคลอ่ืน ๆ ดังนั้น “ครู” ผู้ที่ถือว่ามีอานาจในการนา ทั้งนาในช้ันเรียน และนาในกระบวนการ
ทางการศึกษาตามโอกาสต่าง ๆ ควรตระหนักถึงความสาคัญของตนเอง หน้าที่ของวิชาชีพตนเอง และเรียนรู้ ให้
เขา้ ใจ เพอื่ ดาเนินชวี ิต ดาเนินงาน ทา่ มกลางความเปลี่ยนแปลงของสังคมให้ไดอ้ ย่างเหมาะสม

การเปล่ียนแปลงในสังคมของมนุษยย์ อ่ มเกิดจากมนษุ ย์ทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ด้วยเหตุผลทาง
ปัจจยั ตา่ ง ๆ ทั้ง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เทคโนโลยี หรอื อน่ื ๆ มีการพัฒนาท้ังทางด้านกระบวนการ เห็นได้จากการ
มีวิวัฒนาการจากส่ิงที่ง่ายไปสู่ส่ิงท่ียาก หรือซับซ้อนข้ึน รวมทั้งมีพัฒนาการ ที่เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างมีทิศทาง
และมีเปูาหมาย เพ่ือให้สังคมพัฒนาไปในทางท่ีดีข้ึน ท้ังนี้ มนุษย์ยังตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมใน
รูปแบบตา่ ง ๆ ตวั อยา่ งของสังคมไทยจะเห็นได้ว่า มีแบบแผนในมิติต่างๆที่ปรับและเปล่ียนอยู่เสมอเพราะประเทศ
ไทยยังคงรับอิทธิพลจากสิ่งอ่ืน ๆ หรือสิ่งภายนอกเข้ามา ทั้งด้านการเมืองการปกครอง ด้านสังคมด้านเศรษฐกิจ
วฒั นธรรม จะเห็นได้จากการศึกษาประวัติศาสตร์ ตั้งแต่อดีต ตามยุคสมัย จนกระท่ังปัจจุบัน ในสมัยรัตนโกสินทร์
ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง เปลี่ยนแปลงลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ มีการรับวัฒนธรรมจาก
ต่างประเทศเข้ามาประยุกต์ใช้ในไทย ทาให้ความซับซ้อนของสังคมและวัฒนธรรมไทยมีเพิ่มมากขึ้นและ
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ตลอดจนส่งผลไปสู่สังคมโลกในปัจจุบันและสามารถส่งผลไปสู่อนาคตได้ เพราะ
สงั คมไทยก็เป็นส่วนหนึง่ ของสังคมโลก ไม่เพยี งแต่เราทีร่ บั อิทธิพลของต่างชาติเข้ามา อิทธิผลหรือปัจจัยในด้านต่าง
ๆ ของสังคมไทยกถ็ ูกเผยแพรแ่ ละนาออกไปนอกประเทศเช่นกัน จนทาให้เห็นการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก เพราะ
เมื่อมนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคมที่ใหญ่ขึ้นย่อมมีความขัดแย้งกัน จึงจาเป็นต้องมีข้อตกลงหรือระเบียบต่าง ๆ เพื่อ

*ครูโรงเรียนกาเนดิ วทิ ย์

ปที ี่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 15

ควบคุมวถิ ชี วี ิตความประพฤติ หรอื สง่ เสรมิ ในทางท่ีดี จัดการกับความเชื่ออันแตกต่างของมนุษย์ในโลกได้ ดังน้ันจึง

ไมแ่ ปลกทกี่ ารเปลี่ยนแปลงของสงั คมโลกจะมีข้นึ ในทุก ๆด้าน เพราะระบบความคิดของมนุษย์ค่อย ๆ เปล่ียนและ

พัฒนาไปตามสังคมทเี่ ปล่ียนไปและตามปัญหาท่ีแตกต่างมากข้นึ

ในสภาพความเป็นจริงของปรากฏการณ์ปัจจุบัน หลากหลายอาชีพท่ีจะต้องพัฒนาหรือปรับเปล่ียนให้เข้า

กับการเปล่ียนแปลงของสังคมท่ีกล่าวถึงข้างต้น ซ่ึงวิชาชีพครูก็เป็นวิชาชีพที่มีอยู่ทุกสังคมในโลก เพราะการศึกษา

เปรียบเหมือนแผนพัฒนาสังคมเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง วัฒนธรรม เทคโนโลยี และอ่ืน ๆ ผู้ท่ีจะสอนให้

คนในสังคมรูแ้ ละปฏบิ ตั ิได้จึงมคี วามสาคัญ ครจู ะตอ้ งสรา้ งคนดี คนเกง่ ท่สี ามารถดารงชีวิตในสังคมได้ดีและพัฒนา

ไปส่กู ารเป็นแกนนาในการช้ีนาสังคมให้ไปในทางท่ีเหมาะสมมากยิ่งข้ึน ซ่ึงสภาพวิชาชีพครูในปัจจุบันกลับตรงข้าม

กับเปูาหมายท่ีควรจะเป็น กล่าวคือ ภาพลักษณ์ในสังคมกลายเป็นวิชาชีพท่ีทางานหนักแต่ได้ค่าตอบแทนไม่

เหมาะสม บางพ้นื ท่ถี กู ดหู มิ่นดูแคลนว่าเป็นวิชาชีพท่ีได้รายได้ต่า ผู้ที่ประกอบอาชีพน้ีเป็นคนยากจน ทาให้ค่านิยม

ในสังคมไทยไม่ส่งเสริมให้เรียนในด้านครู ผู้ปกครองหลายคนไม่ส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวศึกษาเพื่อออกไป

เป็นครู ท้ังการศึกษาครู 5 ปีโดยตรง หรือการผันตัวจากสาขาวิชาหลักมาเป็นครูเอกชน ดังน้ัน จึงถูกมองว่าผู้ที่ไม่

สามารถเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาสาขาอื่น ๆ ได้ก็มาศึกษาในสาขาครูกลายเป็นการรวมของกลุ่มคนท่ีมี

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า ผนวกกับการจัดการด้านกระบวนการผลิตครูที่ยังขาดระบบที่เหมาะสม นอกจากน้ี

ระบบในการพัฒนาตนเอง หรือพัฒนาคุณภาพชีวิตของครูบางแห่ง ไม่เหมาะสมและไม่ม่ันคง อาจเป็นเพราะการ

ประเมินผลของผู้ท่ีมีอานาจเหนือกว่ายังเป็นไปได้ไม่ดี ไม่มีการติดตามและปรับปรุงอย่างเหมาะสม เพราะระบบ

บรหิ ารจดั การในโรงเรยี นจะตอ้ งมีความรู้ เชย่ี วชาญและมีความสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคมไทย

และสังคมโลกในปัจจุบันและอนาคต ย้อนกลับไปเป็นเร่ืองภาวะการนา จะเห็นได้ว่าผู้นานั้น สาคัญต่อการ

เปลี่ยนแปลงของสังคมอย่างย่ิง ดังนั้นจึงกลายเป็นปัญหาท่ีต่อเนื่องกันมา ทาให้ภาพลักษณ์ครูในปัจจุบันค่อนข้าง

แย่กว่าหลายหลายอาชีพ โดยเฉพาะค่านิยมของคนไทย ท้ังที่ความจริงแล้ว ครูและวิชาชีพครูมีบทบาทสาคัญ

เพราะ ครู คือ บุคคลท่ีมีหน้าท่ี หรือมีอาชีพในการสอนนักเรียน ให้มีวิชาความรู้ หลักการคิด การอ่าน รวมถึงการ

ปฏิบัติและแนวทางในการทางาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่างกันออกไปโดยคานึงถึงพื้นฐานความรู้

ความสามารถ และเปูาหมายของนกั เรียนแต่ละคน

ตามท่ีกล่าวข้างต้นถงึ เร่ืองรายได้อาชีพครู สามารถอธิบายได้ตามพ.ร.บ. เงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงิน

ประจาตาแหนง่ ขา้ ราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2558 ไดด้ งั นี้

บาท บาท บาท บาท บาท บาท

ขั้นสูง 24,750 34,310 41,620 58,390 69,040 76,800

ขัน้ ต่า 15,050 15,440 16,190 19,860 24,400 29,980

อนั ดับ ครผู ชู้ ว่ ย คศ. 1 คศ. 2 คศ. 3 คศ. 4 คศ. 5

ปที ่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 16

สาหรบั เงนิ วิทยฐานะ แบ่งออกเป็น ครูชานาญการ ครูชานาญการพิเศษ ครูเชี่ยวชาญ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
รองผู้อานวยการชานาญการ รองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ รองผู้อานวยการเชี่ยวชาญ ผู้อานวยการชานาญ
การ ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ ผู้อานวยการเช่ียวชาญ และผู้อานวยการเชี่ยวชาญพิเศษ ซึ่งครูและผู้บริหารท่ี
ได้รับประเมินวิทยฐานะต้ังแต่ชานาญการพิเศษไปจนถึงเช่ียวชาญพิเศษ จะได้เงินตอบแทนพิเศษเป็นจานวน
เดยี วกบั เงินค่าวทิ ยฐานะทต่ี นเองได้รบั

ปัญหาที่ท้าทายของวิชาชีพครูและของครูในปัจจุบัน มีอย่างหลากหลายรอบด้าน เพราะเป็นอาชีพท่ีจะ
หล่อหลอมคนให้เปน็ มนษุ ยท์ ี่สมบูรณ์มากขึ้น ซ่ึงโครงสร้างของระบบในอาชีพนี้ มีตั้งแต่สถาบันการศึกษา ไปจนถึง
ระดับชาติ คือ เรื่องของ นโยบายการศกึ ษา หมายถึง แนวบริหาร ประกอบด้วยการวางแผน กาหนดกระบวนการ
และดาเนินโครงการ เพื่อให้สาเร็จตามความมุ่งหมายในการจัดการศึกษา ซ่ึงนโยบายการศึกษาของไทยจะปรากฏ
เป็นแผนหลกั และปรากฏในประกาศแถลงนโยบายของรัฐบาลแต่ละชุด ได้แก่ แผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนา
การศึกษาแห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นต้น (จีระ ประทีป และคณะ, 2545, น.10-11)
และนโยบายท่ีจะถูกกล่าวถึงต่อไป เป็นตัวอย่างท่ีส่งผลต่อปัญหาที่ท้าท้ายในวิชาชีพครู นั่นคือการผลิตและพัฒนา
กาลังคนเพ่ือรองรับการพัฒนาประเทศ จากคากล่าวของนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในรายการ
คืนความสุขให้คนในชาติ วันที่ 13 มิถุนายน 2557 แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของนักเรียนสายอาชีพ หรือกลุ่ม
อาชีวศึกษา โดยได้กล่าวว่า “ผมคิดว่า มีคุณค่า ยังมีขีดความสามารถ มีทักษะสาคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ของประเทศ...” (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559, น.43) นั่นแสดงจุดยืนชัดเจนว่ายังคงต้องการผลิต
กาลงั คนกลุ่มสายอาชพี นี้ เพอ่ื ให้สอดคล้องกับเศรษฐกจิ ไทย หรอื ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน ฉะนั้น
ระบบการศึกษาควรตระหนักถึงการผลิตคนให้จบออกไปมีงานทา มีชีวิตท่ีดาเนินไปได้อย่างมีจุดมุ่งหมาย ไม่
เพยี งแตย่ ดึ คา่ นิยมทางสังคมเรื่องวุฒิ ใบปริญญา สถาบัน ฯลฯ อันทาให้มองสายอาชีพในทางลบเกินไป ประเด็นท่ี
สาคัญของนโยบายนี้คือ ปัญหาการผลิตกาลังคนไม่สอดคล้องกับตลาดแรงงาน ภาคอุตสาหกรรมยังขาดแคลน
แรงงานคุณภาพ ส่งผลให้ธุรกิจบางประเภทต้องอาศัยแรงงานจากนอกประเทศ ดังท่ีกล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า
นายกรฐั มนตรไี ด้ใหค้ วามสาคัญกบั การศกึ ษาสายวชิ าชีพ และการปรับระบบการศึกษา มีวิธีบูรณาการการศึกษาท้ัง
ในและนอกระบบ รวมท้ังการร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆด้วย เหล่านี้ล้วนส่งผลต่อการผลิตและพัฒนากาลังคนให้
ทนั ต่อสถานการณ์ของประเทศท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559, น.44-47)
ต่อมาคือ เร่ืองปัญหาของการอาชีวศึกษา นับเป็นค่านิยมของหลายคนในประเทศไทย ท่ีมองภาพลักษณ์ของ
นักเรียนอาชีวศึกษาเป็นไปในทางลบ เช่น เรื่องการทะเลาะวิวาท เร่ืองของวุฒิการศึกษาท่ีได้รับ ซ่ึงความจริงแล้ว
กลุ่มคนเหล่าน้ีเอง ที่ประเทศขาดแคลนเสมอ เพราะพวกเขาคือแรงงานที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ
ความหมายของอาชีวศึกษาคือ การศึกษาท่ีแยกออกมาจากสายสามัญศึกษา มุ่งเน้นการฝึกและอบรมเพ่ือทักษะ
เฉพาะ ฝึกอาชีพ เทคนิคต่างๆ (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559, น.80-81) และท้ายสุดคือปัญหาของ
มหาวิทยาลยั กับคุณภาพการผลิตกาลงั คน เพราะมหาวทิ ยาลัยมีบทบาทสาคัญในการผลิตคน ฉะนั้น การพัฒนาครู

ปที ี่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 17

อาจารย์ หลักสูตร และอ่ืน ๆ จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งน่ันคือปัญหาท่ีเกิดขึ้น เพราะการกาหนดหลักสูตรไม่
สอดคล้องกับความต้องการกาลังคน มหาวิทยาลัยในและนอกระบบมีการผลิตบัณฑิตออกมาได้ต่างกัน เช่นบาง
แห่งขาดคุณภาพอย่างยิ่ง ถึงกับประชาสัมพันธ์ว่า “จ่ายครบจบแน่” มุ่งเพียงปริญญาบัตร แต่ไม่ได้มองต่อไปว่ามี
งานทาหรอื ไม่ นาไปสู่การตกงานทเ่ี พิม่ ขน้ึ ทุกวัน (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559, น.53-54) ซ่ึงทั้งหมด
ดีงท่ีกล่าว กลุ่มของวิชาชีพน้ีจะต้องเร่งพัฒนาและนาเสนอภาพลักษณ์ที่ตรงกับการปฏิบัติจริง เพื่อแสดงศักยภาพ
ในการพฒั นาคนให้ตรงกับสังคมไทย และสังคมโลกสืบไป

ดงั นน้ั การปรับตวั ของครูจะต้องเกิดขึ้น แน่นอนว่า ในทุก ๆ ช่วงของการทางาน มนุษย์ย่อมมีการปรับตัว
เสมอ แต่เพื่อให้เกิดแรงขับเคลื่อนที่มากพอต่อสังคม ครูจะต้องมุ่งปรับในเรื่องท่ีจาเป็นที่ถือเป็นเรื่องใหญ่ เพื่อให้
ทันต่อการปูองกันและแก้ไขปัญหาทางการศึกษาที่อาจจะเกิดข้ึนได้เสมอ ในประเด็นน้ี เร่ืองหน่ึงท่ีสาคัญคือ การ
เรียนรูท้ ี่ดี ซง่ึ ผูเ้ รียนแต่ละคนย่อมมีนิยามต่างกันไป นยิ ามหนึง่ ท่ปี รากฏคือ “การเรยี นรู้ท่ีดี คือ การได้ครูดี” เพราะ
ชีวิตที่ได้ผ่านการเรียนรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติ ได้รับองค์ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ตลอดจนการเรียนรู้ท่ีจะใช้ชีวิต
ในสงั คมอนั เต็มไปด้วยความหลากหลาย ลว้ นสร้างโอกาสท่ีดีได้ ทาให้มีสัมมาอาชีพท่ีสร้างรายได้หล่อเล้ียงชีวิต ทั้ง
ยังได้โอกาสตอบแทนสังคมด้วย จึงตระหนักเสมอว่า มีหลายบุคคลที่มีส่วนส่งเสริม สั่งสอน หล่อหลอมมนุษย์ให้ดี
มากข้ึนในทกุ ๆ ช่วงของชวี ิต บคุ คลเหล่านน้ั เราเรียกวา่ “คร”ู ท้ังครโู ดยอาชีพ และครูในทางปฏิบัติ ต า ม
ทฤษฎีเรื่องของวิทยาการเรียนรู้ (Learning Sciences) ได้กล่าวถึงการนาแนวความคิดมาออกแบบส่ิงแวดล้อมท่ี
สามารถสร้างการเรียนรู้ได้ ไม่ว่าจะเป็นในช้ันเรียนหรือหรือโลกภายนอกในชีวิตประจาวัน ฉะน้ันผู้เป็นครู
จาเป็นต้องทางานอย่างเข้มข้นในการค้นคว้าหากระบวนการท่ีจะเปลี่ยนจากการเข้าใจผิดเป็นถูก หรือพัฒนาถึง
ระดบั ความเชย่ี วชาญ เพราะทกุ คนมีความรู้พ้ืนฐานเดิมอยู่แล้ว ดังนั้นการรู้พื้นฐานจะนาไปต่อยอดได้ดี ผู้ประกอบ
อาชพี ครคู วรจะกระตุ้นให้นักเรียนสร้างความเข้าใจด้วยตัวเอง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับเร่ืองอื่น ๆ ได้ตาม
ความเหมาะสม เพราะการเรียนรู้ท่ีดีจะต้องนาไปปฏิบัติได้จริง และการได้พบกับครูในสาขาวิชาเฉพาะต่าง ๆ ก็ยัง
สามารถต่อยอดไปสูค่ วามสาเรจ็ ได้ ในฐานะที่เคยปฏิบตั งิ านครู เขา้ ใจทฤษฎีที่กล่าวว่า ถ้าทาให้เด็กสนใจได้ เด็กจะ
หาเนื้อเร่ืองต่อเอง และหากเด็กถาม คือเด็กคิดตาม ครูต้องมีแผนสารอง (ผศ.ดร.สิทธิชัย,2559) การสร้างการ
เรียนรู้โดยใช้ส่ิงที่เป็นรูปธรรมใกล้ตัวของเด็ก แล้วค่อยๆขยับขยายออกไป ทาให้เขาเข้าถึงได้มากขึ้น และวิธีเชิง
วิทยาศาสตร์ ที่นามาใช้ใน Learning Sciences น้ี อันได้แก่ การแสดงหลักฐาน ข้อสันนิษฐาน จาลองสถานการณ์
วเิ คราะห์ ประเมินผล เปน็ วธิ ีการทสี่ ามารถนาไปประยุกตไ์ ดห้ ลายสาขาวิชา และเหมือนได้ค่อย ๆ นาพาผู้เรียนไปสู่
เปูาหมายพร้อม ๆ กัน แม้จะใช้ในกลุ่มท่ีมีความต่างในช่วงอายุ ก็สามารถประสบความสาเร็จได้ เพราะ
กระบวนการค่อนข้างดีอยู่แล้ว อยู่ที่ครูที่นาไปใช้ และการตั้งเปูาหมาย การเรียนรู้ที่ดีจะเกิดข้ึนได้ หากครูสามารถ
สรา้ งการเรยี นรอู้ ยา่ งลึกซ้ึง โดยอาจเกี่ยวข้องกับสิ่งที่สัมพันธ์กับสภาวะอารมณ์ของผู้เรียน แล้วเม่ือเกิดองค์ความรู้
น้ัน ก็จะเป็นสิ่งที่ฝังลึกและสามารถร้ือฟื้นได้ แต่ในสังคมการเรียนรู้หนึ่ง ๆ นั้น ย่อมมีกลุ่มคนที่ถูกสังคมทิ้ง ครู
จะต้องเลง็ เหน็ ความสาคญั เรื่องนี้ ข้อดี ของการได้ครูดี คือ ทาให้มีกาลังใจสาคัญในชีวิต นอกจากจะให้ความรู้แล้ว

ปที ่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 18

ยงั ให้แรงบันดาลใจอกี ด้วย และเป็นท่ีปรกึ ษายามเผชญิ ปัญหา หากผู้เรยี นสามารถนาทุกคาสั่งและสอนมาใช้ยามจา
เป็นได้ ก็จะสร้างประโยชน์มากมาย ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ซ่ึงการมีครูดี ทาให้รู้สึกมีความเจริญในฐานะมนุษย์ที่
อาศยั บนโลกแห่งความหลากหลายน้ี เพราะครูดีท่ีสอนให้รู้ส่ิงอันพึงกระทา พอได้กระทาลงไป ก็มักส่งผลดีสะท้อน
กลับมา การเรียนรู้จากครูท่ีดีล้วนใช้เวลาสะสม จึงมีข้อจากัดตามวัยวุฒิ เพราะหากย้อนกลับไปตั้งแต่วัยเด็ก เกิด
การเรียนรู้ในรูปแบบเด็ก ๆ ซึ่งรับมาอย่างบริสุทธิ์ใจ ค่อย ๆ เติบโตมาพานพบกับเรื่องราวท่ีแปลกใหม่ท่ีครูไม่เคย
สอนหรอื เร่อื งท่ีครูก็สอนไม่ได้ เมอ่ื ถึงเวลาเท่านนั้ จงึ จะได้สมั ผัส และวิเคราะห์หาทางแก้ปัญหาดว้ ยตวั เอง

เพราะมนุษยท์ กุ คนตอ้ งเร่ิมจากการเลยี นแบบบคุ คลใดบคุ คลหน่งึ และเมือ่ รบั รู้ไดม้ ากข้ึน ก็เพ่ิมองค์ความรู้
ท่หี ลากหลาย อันจะนาไปสู่เส้นทางชีวิตในอนาคต หากได้รับข้อมูลจากครูท่ีดี ผู้มีความพร้อมและมีความเมตตาใน
การถา่ ยทอด กจ็ ะพาผเู้ รียนไปสูค่ วามเข้าใจทถี่ กู ที่ควร เป็นพื้นฐานทีน่ ามาปรบั ใชซ้ า้ ในยามจาเปน็ ดาเนินชีวิตไป
เรียนรู้ไป รับการสะทอ้ นกลบั และคอ่ ย ๆ ปรบั ไปตามสภาพสถานการณเ์ บื้องหนา้ ดงั นั้นครจู งึ ต้องมีการดาเนินงาน
ในรูปแบบใหม่บ้าง มีประเด็นท่ีเสนอแนะ คือ เกมกับการจัดการเรียนรู้ คาดว่าจะเป็นข้อเสนอใหม่ในการ
ดาเนินงานของครูได้เป็นอย่างดียิ่ง เพราะการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงศักยภาพของพฤติกรรม ซ่ึงส่งผลมาจาก
การฝึกท่ีได้รับแรงเสริม (Kimble,1973) อันเป็นกระบวนการที่เกิดข้ึนตลอดชีวิตมนุษย์ ท้ังน้ีนิยามของ“การ
เรียนรู้” มีอย่างหลากหลายและปรากฏคาน้ีอยู่ในทุกศาสตร์ ดังน้ัน กระบวนการที่จะนาไปสู่การเรียนรู้จึงมี
หลากหลายเชน่ กัน เพ่อื ค้นหาวิธกี ารท่จี ะเกิดผลตอ่ กลุ่มใดกล่มุ หนึ่ง หรอื เป็นพื้นฐานสามารถต่อยอดไปสู่การเรียนรู้
ท่ียากกว่าได้ และเกมเป็นรูปแบบหน่ึงของกิจกรรม ท่ีสร้างประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งความสนุกสนาน ฝึก
ทกั ษะ ท้งั เกมที่มกี ารแข่งขนั ทางด้านรา่ งกาย สตปิ ญั ญา จติ ใจ ทั้งน้ี “เกมทางการศึกษา” กล่าวได้ว่า เป็นกิจกรรม
ที่มกี ระบวนการหลากหลายประเภท เพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรู้และความคดิ รวบยอดในสิง่ ท่ีเรียน (สานักคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติ,2537) ท้ังนี้ ยังหมายถึงกิจกรรมท่ีช่วยพัฒนาทักษะต่าง ๆ ของผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ ฝึก
ทักษะการทางานร่วมกันในสังคม (เยาวพา เดชะคุปต์,2528) ทฤษฎีต่าง ๆ ทั้งเกี่ยวกับการเรียนรู้ทางพฤติกรรม
หรอื ความคิด ลว้ นตอ้ งการให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีได้ดี ในสถานการณ์ท่ีแตกต่างกันไป ดังน้ัน วิธีสร้าง
กระบวนการอาจตอ้ งอาศัย “เกม” และนบั เปน็ ตัวชว่ ยที่ดใี นการสรา้ งความเข้าใจให้ต่อผู้เรียน สอดคล้องกับทฤษฎี
ด้านการเรียนรู้ เช่น Experiential Learning กระบวนการสรา้ งความรู้ด้วยการนาเอาประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
มาประยุกต์ใช้เพ่ือสร้างการเรียนรู้ใหม่ ๆ ข้ึน Constructivism สร้างความยืดหยุ่นให้จินตนาการ จัดการความรู้
เดิมเข้ากับความรู้ใหม่ จนกระทั่งสามารถสร้างข้อสรุปด้วยตัวเอง Cognitivism เน้นทางความคิดและปัญญา
กระบวนการเรยี นร้ทู เ่ี กิดขน้ึ โดยทีผ่ ูเ้ รยี นมีการจาแนกความคดิ ทเี่ หมาะสม เม่ือทาความเข้าใจได้ดี จะนาไปสู่ความรู้
ที่ยากข้ึน และ Behaviorism ท่ีเชื่อว่าความรู้จะเกิดเมื่อมีส่ิงเร้า เมื่อมีเหตุนาทาให้เกิดการปรับพฤติกรรมได้ เป็น
ตน้ การศึกษากระบวนการจัดการองค์ความรู้ก็นับเป็นบทบาทสาคัญของครูอีกประการหนึ่ง เพราะหากมีเนื้อหาท่ี
พร้อม แต่ขาดวิธีการถ่ายทอด ก็จะไม่สามารถทาให้ผเู้ รียนเขา้ ถึงความรไู้ ด้

ปที ี่ 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 19

โลกปัจจุบันนี้จะสังเกตได้ว่าทุกฝุายในสังคม พยายามส่งเสริมและให้ความร่วมมือสนับสนุนการเรียนรู้ที่
สอดแทรกในเกม หรือใช้เกมเป็นแกนนาไปสู่การเรียนรู้ เพราะจุดแข็งอันเด่นชัดคือ สามารถสร้างบรรยากาศรอบ
ขา้ งใหม้ คี วามสนุกสนาน ครึกคร้ืน และมชี ีวติ ชีวา ซงึ่ ช่วยดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้อย่างดี ลดความเบื่อหน่าย
สามารถส่งผลดีถึงระดับที่ผู้เรียนต้องการเรียนรู้บทเรียนเพิ่มขึ้นไป ถือเป็นวัตถุประสงค์หลักของการศึกษา ท่ี
ต้องการให้ผู้เรียนมีความสุข ทั้งยังเป็นการส่งเสริมความกล้าแสดงออกในทางท่ีควร แสดงให้เห็นถึงการเคารพ
กฎระเบียบในสังคม ท้ังยังสามารถนากระบวนการไปปรับใช้และถ่ายทอดต่อได้ แต่ใดใดในโลกล้วนมี 2 ด้าน
สาหรบั “เกมกับการจัดการเรยี นรู้” ยอ่ มมีข้อจากัด คือ หากครูเลือกเกมท่ีไม่ตรงกับเจตนาในบทเรียน รวมทั้งไม่มี
ศักยภาพเพียงพอหรือไม่ชัดเจนในเปูาหมาย ก็ไม่สามารถเล่นตามเกมได้ดี ทาให้เสียเวลาโดยไร้ประโยชน์ ท้ังน้ีแม้
จะประสบความสาเร็จในกิจกรรม แต่เน้ือหาที่ถูกกล่าวถึงอันเช่ือมโยงกับเกมนั้น ก็ไม่ครอบคลุมหรือทดแทน
บทเรียนทจ่ี ะถา่ ยทอดไดห้ มด อกี ข้อเสนอแนะหนึง่ ในการดาเนนิ งานท่คี รคู วรศึกษาเป็นตัวอย่าง คือ พิพิธภัณฑ์การ
เรียนรู้ หรือ มิวเซียมสยาม เป็นสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติแห่งแรกท่ีมุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์สด
ใหม่ในการชมพพิ ธิ ภัณฑ์ โดยมแี นวคดิ หลกั คอื "Play + Learn = เพลิน ท่ีจะทาให้ทุกการเรียนรู้ สนุกกว่าที่คิด..."
(Museum Siam, Discovery Museum,2551) มุ่งหมายเพ่ือให้การเรียนรู้ประวัติศาสตร์อันเป็นเร่ืองท่ีถูกมองว่า
ซบั ซอ้ นและต้องใช้เวลาในการศึกษา กลับกลายเป็นเร่ืองสนุกสนานย่ิงขึ้น ผ่านเทคโนโลยี และกิจกรรมสร้างสรรค์
นบั เป็นการยกระดบั มาตรฐานการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ ท้ังยังมีการนาเสนอ Graphic , VDO , Animation
, Interactive Media เปน็ ต้น นับเปน็ กลุ่มของ “เกม” ที่ถูกนามาเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ ซึ่งผู้เรียนสามารถลง
มือกับอุปกรณ์ต่างๆได้ทันที โดยไม่ต้องมีผู้นาเล่น ซ่ึงสร้างความกระตือรือร้นต่อการเรียนรู้ ตลอดเวลาท่ีได้อยู่กับ
เกมเหลา่ นน้ั ถือเป็นอกี เทคโนโลยีของเกมทีเ่ ปน็ ที่นิยมในเด็กวยั เรียน สามารถดึงดูดความสนใจจากกลุ่มเด็กเหล่านี้
ได้ดี ทาให้สามารถใช้เวลาในท่ีแห่งนี้ได้นานข้ึน เพราะรู้สึกเพลิดเพลิน และการนาพาตนเองมาคลุกคลีกับสิ่ง ท่ีให้
ความรู้นี้ จะนาไปสู่การเข้าใจ จดจา และเกิดเป็นประสบการณ์ท่ีค่อยๆซึมซับโดยมีความสนุกสนานเป็นพื้นฐาน
เช่ือมโยงไปสู่ทิศทางการเปลี่ยนแปลงท่ีควรจะเป็นไปของสังคมไทย คือ ให้ความสาคัญต่อรูปแบบการเรียนรู้แบบ
อ่ืน ซึ่งมีเงื่อนไขที่จะทาให้เกิดขึ้นได้หากมีต้นแบบของการสร้างการเรียนรู้ให้ผู้เรียนอย่างครอบคลุม โดยเฉพาะ
ครอบคลุมในสังคมไทย เพราะบางพ้ืนที่ในต่างจังหวัดบางกลุ่ม ไม่มีโอกาสเข้ามาชมพิพิธภัณฑ์หลักที่อยู่ใน
กรุงเทพฯ และหลายคนไม่รู้จักว่าพิพิธภัณฑ์ คืออะไร ซึ่ง Muse Mobile หรือ มิวเซียมติดล้อ คือ การจัด
นิทรรศการในต้คู อนเทนเนอร์ (คร้งั แรกของประเทศไทย) โดยสถาบนั พพิ ธิ ภณั ฑก์ ารเรียนรู้แห่งชาติ Muse Mobile
นีเ้ ปน็ นวตั กรรมทางการศึกษาทดี่ ี เพราะนาเนื้อหาความรู้เข้าไปหาเด็กและบุคคลทั่วไปในแต่ละจังหวัดท่ัวประเทศ
ไทย ทงั้ ยงั เปดิ ให้เขา้ ชมฟรี ซึง่ ส่งิ น้จี ะสามารถเป็นต้นแบบท่ีดีสาหรับการออกแบบ หรือการสร้างการเรียนรู้ให้กับ
นักเรียนต่างจังหวัด นาไปสู่ความใฝุรู้ตลอดชีวิต เพราะการเรียนรู้ที่สามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ ต้อง
ควบคู่กับความสนุกสนาน โดยเฉพาะเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ เพราะด้วยธรรมชาติขององค์ความรู้วิชาน้ี ก็
สามารถทาให้ผ้เู รียนบางคนมคี วาม เบ่ือหน่ายได้พอสมควรหากต้องนั่งรับฟังในห้องเรียนเท่านั้น แต่นวัตกรรม

ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 20

ตัวน้ีเต็มไปด้วยเคร่ืองมือ(หรือเกม) ท่ีกระตุ้นผู้เข้าชมให้ได้มีส่วนร่วมอย่างเพลิดเพลิน ในขณะท่ีอัดแน่นด้วย
เน้ือหา ซึ่งคัดย่อเน้ือหาจาก 17 ห้องใน มิวเซียมสยาม (รูปแบบเดิม ซึ่งปัจจุบันปีพ.ศ. 2561 ได้ปรับเป็น
ถอดรหัสไทย) ลงสู่นทิ รรศการในตู้คอนเทนเนอร์ 3-5 ตู้ Muse Mobile นับเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่น่าสนใจ
และมปี ระโยชนโ์ ดยตรงต่อการเรียนร้ขู องนกั เรียนและผู้เกยี่ วขอ้ งกับระบบการศึกษา

จากท่ีกล่าวมาข้างต้น เห็นได้ว่าบทบาทของ Muse Mobile ในการเป็นต้นแบบของการสร้างการเรียนรู้
ให้นกั เรยี นต่างจงั หวัดค่อนข้างชัดเจน เพราะเป็นการจุดประกายแนวคิดทางการศึกษาที่ดี และช่วยส่งเสริมให้เด็ก
ใฝุเรียนรู้ โดยเฉพาะในต่างจังหวัด เพราะโอกาสในการรับชมนวัตกรรมทันสมัยดังเช่น Muse Mobile นี้ ค่อนข้าง
น้อยมาก การนาเอาความทันสมัยและแปลกใหม่เข้าไปสู่พื้นท่ีของเด็กโดยตรง จะทาให้เด็กกล้าท่ีจะเปิดรับทุกส่ิง
ทั้งเก่าและใหม่ แม้จะเป็นโอกาสอันเล็กน้อยในมุมมองของคนทั่วไป แต่ก็เป็นโอกาสครั้งสาคัญท่ีได้ให้กับเด็ก
นักเรยี นในตา่ งจังหวดั นวัตกรรมชิน้ นส้ี ะท้อนแงค่ ดิ ให้องคก์ รทางการศกึ ษาตา่ งๆ ได้ตระหนักและลงมือปรับเปลี่ยน
ไปสู่สิ่งที่ทันสมัย และตรงต่อความต้องการของผู้เรียนมากข้ึน ไม่เพียงแต่ในสถาบันการศึกษาท่ีมีชื่อเสียง หากแต่
ทุกพ้ืนที่ท่ัวประเทศไทยก็ควรจะดาเนินการด้วย ผลท่ีได้รับจะมากน้อยเพียงใด ก็ยังได้ประโยชน์มากกว่าเสีย
ประโยชน์แน่นอน หากดาเนินไปอย่างเหมาะสม และตั้งเปูาประสงค์เพ่ือสร้างการเรียนรู้โดยแท้ เห็นได้ว่า
นวัตกรรม นอกจากจะเป็นส่ิงที่ช่วยในการเรียนรู้แล้ว ยังสามารถเป็นต้นแบบของนวัตกรรมช้ินต่อไปได้อีกด้วย
หากครูสามารถศึกษาแบบอย่างท่ีดีในการเรียนดังตัวอย่างข้างต้นได้ ก็จะทาให้การดาเนินงานทางการศึกษามี
คุณภาพมากขึ้น และครูต้องเปิดใจเพื่อรับข้อเสนอทางการเปล่ียนแปลงใหม่ ๆ เข้ามาให้ได้มากที่สุด จะเลือกใช้
หรอื ไม่ใชก้ ็ควรพจิ ารณาเป็รประเดน็ หรือเปน็ เรอ่ื ง ๆ ตอ่ ไป

ย้อนกลับไปประเด็นของนโยบายทางการศึกษา ที่ต้องการผลิตคนให้ตรงกับงาน ท่ีเป็นเร่ืองของสถาบันที่
ผลิตวิชาชีพเฉพาะ ทาให้เกิดความท้าทายของวิชาชีพครู ที่ต้องผลิตคนในสังคมให้ตอบสนองความต้องการให้ได้
อย่างเหมาะสมและเพียงพอ ประเด็นหน่ึงจากประสบการณ์โดยตรงคือ เรื่องของ ความไม่เสมอภาคทางการศึกษา
ของผ้มู คี วามเป็นเลิศทางด้านนาฏศิลป์ไทย อนั นาไปสู่ช่องวา่ งบางพ้ืนท่ใี นสังคม ดว้ ยสถานภาพของคนกลุ่มน้ี คือ ผู้
มีความสามารถพิเศษทางด้านนาฏศิลป์ไทย ท่ีผ่านการศึกษาจากวิทยาลัยนาฏศิลป ซ่ึงมี 12 แห่ง ทั่วประเทศไทย
เป็นสถาบันสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว คือเน้นเร่ืองของ
ศลิ ปวฒั นธรรม ม่งุ ผลิตบัณฑติ ให้มีความเป็นเลศิ และรอบรใู้ นงานศิลปะด้านนาฏศลิ ปแ์ ละดุริยางคศิลป์ เพ่ืออนุรักษ์
และเผยแพรศ่ ิลปวฒั นธรรมของชาตติ อ่ ไป (นิวัฒน์ สขุ ประเสรฐิ , 2553, น. 5) การจดั การเรียนการสอนของวิชาชีพ
เฉพาะ จะแบง่ สาขาตามผ้เู รยี นเลือก ได้แก่ ดนตรีไทย ดนตรีตะวันตก คีตศิลป์ไทย ขับร้องตะวันตก นาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์พ้ืนเมือง นาฏศิลป์ตะวันตก (บัลเล่ต์) และในบทความน้ีจะกล่าวถึงเพียง นาฏศิลป์ไทยเท่านั้น ซึ่งตลอด
ระยะเวลา 3 – 10 ปี ในสถาบันที่มีการเรียนการสอนวิชาเฉพาะอย่างเข้มข้น ผู้จบการศึกษาออกมา จะมีความ
เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ ท้ังน้ีหากกล่าวถึงโอกาสท่ีได้รับคือ เม่ือได้เรียนรู้แล้ว สามารถนาไปปฏิบัติจริงทันที
สามารถสร้างรายได้จากการแสดงทั้งในและต่างประเทศ ได้ส่ังสมประสบการการทางานจากการมีปฏิสัมพันธ์กับ

ปที ่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 21

ผู้อ่ืนอย่างต่อเนื่อง และจากการลงมือปฏิบัติจริง ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่ค่อนข้างฝังลึก สามารถถ่ายทอดและ
ประยุกตใ์ ชใ้ ห้เขา้ กับศาสตร์อ่ืนๆได้ จึงถือได้ว่าคนกลุ่มน้ีมีความเป็นเลิศทางด้านศิลปะแขนงนาฏศิลป์ไทย อย่างไร
ก็ตามยังมีความท้าทายหรือความเส่ียงท่ีปรากฏคือ เม่ือต้องวัดผลทางการศึกษาระดับประเทศ จะเสียเปรียบกว่า
โรงเรียนทั่วไป ส่งผลเสียต่อผู้เรียนบางกลุ่มที่ต้องการเข้าศึกษาระดับอุดมศึกษาในสถาบันอื่นต่อไป ตัวอย่างเหตุท่ี
ทาให้คนกลุ่มนี้ไม่มีความเสมอภาคทางการศึกษา คือ การจัดการเรียนการสอนในแต่ละสัปดาห์ ปรากฏชัดเจนว่า
ความรู้ทางวชิ าการสามัญจะเสียเปรียบหากเทียบกับโรงเรียนปกติทั่วโป เพราะให้เวลากับการเรียนปฏิบัติของวิชา
เฉพาะมากกวา่ ทกุ วชิ า ดงั น้ี ใน 5 วัน (จันทร์-ศุกร์) มีการเรียนการสอนวิชาปฏิบัตินาฏศิลป์ไทย 12 ชั่วโมง ปฏิบัติ
วิชาเลือก (ดนตรี/ศิลปะพื้นเมือง/ขับร้อง) 3 ช่ัวโมง และอีก 15 ช่ัวโมง เฉล่ียการเรียนการสอนวิชาสามัญทั่วไป
เช่น วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ รวมทั้งวิชาทฤษฎีทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม ดังน้ันเมื่อ
ต้องสอบวัดผลเช่น O-NET , A-NET , GAT , PAT จะได้ค่าเฉล่ียท่ีน้อยกว่าเกณฑ์ ดังตัวอย่างจาก รายงานผลการ
ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง ระดับพ้ืนฐานวิชาชีพ ประจารอบปีการศึกษา 2557
คือ มาตรฐานท่ี 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะ ที่จาเป็นตามหลักสูตร ปรากฏผล “ปรับปรุง” ในหัวข้อ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเฉลี่ยแต่ละกลุ่มสาระ และ ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ ทั้งยังมีรายงาน
แนวทางการปรับปรงุ พัฒนา ดงั นี้

“จากผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ค่าเฉลี่ยแต่ละกลมุ่ สาระ ปีการศึกษา 2557 อยู่ในระดบั
ปรับปรงุ สถานศึกษาควรหาวธิ แี กป้ ัญหา ดา้ นการเรียน การสอน โดยศึกษาหนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการ
จัดการเรยี นรู้ สอนให้ตรงตัวชวี้ ัด ออกข้อสอบให้ตรงตวั ชี้วัด ควรนาผล O-NET มาวิเคราะห์ อยา่ ง
นอ้ ย 3 ปี ยอ้ นหลัง เพ่ือเปรยี บเทียบแต่ละกลุม่ สาระ เพื่อดวู ่ามาตรฐานไหนตา่ ง หาวิธแี กป้ ญั หาตาม
มาตรฐานนนั้ ๆ (ตามธรรมชาตขิ องสาระวิชา)” (วิทยาลัยนาฏศลิ ปอ่างทอง, 2558, น. 14)
ดังนั้น เม่ือต้องนาคะแนนไปสอบแข่งขันเพ่ือศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ก็จะจากัดเพียงสาขาวิชาเฉพาะ ซึ่งเปิด
การเรียนการสอนในบางสถาบัน และสอบโดยวิธีการพิเศษ เช่น สอบตรง หรือโครงการพิเศษ เท่าน้ัน แต่หาก
ต้องการ Admission จะมีข้อจากัดหลายอย่างตามเกณฑ์แข่งขัน ทาให้ค่อนข้างยากในการประสบผลตามคาด
เพราะดังที่กล่าวข้างต้นคือ คะแนนสอบพ้ืนฐานท่ีนักเรียนทุกคนต้องนาไปย่ืนเพ่ือเข้าระบบแข่งขัน ย่อมมีผู้ที่ได้
คะแนนสูงกวา่ คอ่ นขา้ งมาก ฉะนน้ั การเลอื กเขา้ เรียนในสาขาวิชาอนื่ ทตี่ นสนใจ หรอื อาจมีการพัฒนาได้ ย่อมเป็นไป
ได้ยาก หรือเป็นไปไม่ได้เลย แต่อีกแง่มุมหนึ่งอาจมองได้ว่า ได้เปรียบหลายคน หากต้องการสอบแข่งขันใน
สาขาวชิ าเฉพาะ ทัง้ ยงั มอี าชีพรองรับชัดเจน เช่น ครู หรือนักแสดง เป็นต้น แต่อย่างไร ก็ตามต้องตระหนักว่ามีผู้ที่
เชีย่ วชาญในสาขานเ้ี หมือนตนเองจานวนหนง่ึ เช่นกัน ฉะนัน้ แม้ได้รับความรู้ด้านนี้มามากแล้ว ก็ย่อมต้องทุ่มเทมาก
ข้ึนเรื่อยๆ การจะเจริญรุ่งเรืองในสาขาเฉพาะคงต้องให้ความสาคัญกับพัฒนาการของตนเองอย่างสูง และต้อง
ยอมรับผู้อื่นด้วย แม้จะเป็นเลิศอย่างหาใครเปรียบมิได้ในสาขาตน ก็ยังคงต้องปฏิสัมพันธ์กับสังคมอ่ืน ซึ่งมีความ

ปที ่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 22

หลากหลายอย่างย่ิง เพราะทุกสาขาวิชาย่อมส่งผลต่อกันและกัน ท้ังเป็นแรงเสริมและแรงกดดัน ฉะนั้น ความรู้
พน้ื ฐานท่ีเป็นมาตรฐานสากลจึงจาเปน็ อย่างยง่ิ ในกลุม่ คนท่ีมคี วามเป็นเลิศทางทางด้านนาฏศิลป์ไทย

วิธีการสาคัญท่ีจะขับเคล่ือนการเปลี่ยนแปลงในทางท่ีดีนั้น ผู้เก่ียวข้องโดยเฉพาะในสถาบันการศึกษาควร
วิเคราะห์การบริหารจัดการ การเรียนการสอน ตลอดจนผลของประคุณภาพการศึกษา ดังปรากฏในข้อเสนอแนะ
ภาพรวม จากการประเมินสถาบันภายใน ประจาปีการศึกษา 2550 ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาลัยนาฏ
ศิลป และวิทยาลัยชา่ งศลิ ป ระหว่างวนั ที่ 24-25 สิงหาคม 2552

“การประกนั คุณภาพภายในไมเ่ ป็นระบบ ขาดการติดตาม และนาผลไปปรับปรงุ ควรพฒั นาศักยภาพ
ของบุคลากรด้านวชิ าการ วจิ ยั สอื่ ผลติ ตารา บทความทางวชิ าการ ควรพัฒนาศักยภาพผู้เรยี นดา้ น
ภาษาตา่ งประเทศและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ขยายโอกาสการศกึ ษาระดบั ปริญญาในภมู ิภาคทมี่ ี
ศกั ยภาพขึ้น ควรสร้างเครอื ข่ายวิชาชพี กับสถาบนั อุดมศกึ ษา หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน เพ่ือการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่งานวิชาการ ควรมีการประชาสัมพนั ธ์ข่าวสาร กบั ศิษย์เก่าและ
ประชาคมให้ทราบถงึ ความเคลอ่ื นไหวและความกา้ วหน้าของสถาบัน” (นวิ ัฒน์ สุขประเสริฐ, 2553,
น. 176-177)
และข้อมูลสนับสนุนในจุดอ่อนน้ีที่ปรากฏคือ รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน วิทยาลัย
นาฏศลิ ปอ่างทอง ระดับพืน้ ฐานวชิ าชพี ประจารอบปีการศกึ ษา 2557 (2558, น. 19-23) ได้รายงานถึงมาตรฐานที่
15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษา ให้
ยกระดับคุณภาพสูงข้ึน มีจุดท่ีควรพัฒนา คือ พัฒนาภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร เสนอแนวทางการปรับปรุง
พัฒนา วา่ ควรจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษให้นักเรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษส่ือสารได้ ท้ังยัง
เช่ือมโยงถึงมาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนอ่ื ง ควรส่งเสริมให้ผู้เรยี นอา่ นหนงั สอื บทความ หรือสงิ่ พิมพต์ ่างๆ สัปดาห์ละ 5 ชัว่ โมง/คน หรือมากกว่า อาจ
ด้วยการส่งเสริมให้ผู้เรียนยืมหนังสือ ส่ือสิ่งพิมพ์จากห้องสมุดไปอ่านเพ่ิมเติม มากกว่า 10 เล่ม/ภาคเรียน/คน
ฉะนั้นครู บุคลากร ผู้บริหาร หรือผู้มีอานาจในการจัดการ ควรกระทาส่ิงที่ส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียนในด้าน
ตา่ งๆ และนาเสนอออกมาอย่างเป็นรูปธรรม ให้ผู้เรียนได้ม่ันใจว่า กาลังอยู่ในสถานภาพไหน กาหนดแนวทางและ
เปิดโอกาสในการประกอบอาชีพที่กว้างขวาง ท้ังนี้ยังมีความเห็น ในเร่ืองภาษาต่างประเทศที่ไปในแนวทาง
เดยี วกันคือ ควรเนน้ ภาษาอังกฤษ เพราะชาวต่างชาติให้ความสนใจต่อนาฏศิลป์ไทย ถ้ายุคสมัยน้ีได้เร่ืองของภาษา
นาฏศลิ ป์ไทยจะมีอนาคตไกลกวา่ นี้ ถ้าเกง่ เพยี งดา้ นเดยี ว เรยี นวทิ ยาลัยนาฏศิลป แล้วเรียนแบบอนุรักษ์อย่างเดียว
ค่อนข้างเสีย่ ง เพราะผู้ใหญม่ กั ทาให้นาฏศิลปไ์ ทยดเู ข้าถึงยาก จับตอ้ งไมค่ ่อยได้ คนไทยเองก็เลยไม่อยากจับต้อง ไม่
อยากยงุ่ กระทั่งนาฏศลิ ป์หรอื วัฒนธรรมตา่ งชาตสิ ามารถเข้าถงึ ได้ง่ายกว่า นาฏศิลป์ไทยก็จะเร่ิมหายไปทีละนิด ใน
ด้านสังคมแม้จะมีความมั่นใจ และอยู่ในจุดท่ีจะทาให้คนอ่ืนสนใจนาฏศิลป์ไทยได้ แต่ก็ยกเว้นสังคมท่ีต้องใช้ภาษา
ฉะนนั้ ความเสียเปรยี บด้านวชิ าการ (โดยเฉพาะภาษา) ยอ่ มสง่ ผลต่อเนื่องไปสู่การใช้ชีวิตในสังคมเช่นกัน (กลุ่มนิสิต

ปที ่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 23

เก่า สาขานาฏยศิลป์ไทย จุฬาฯ, การส่ือสารระหว่างบุคคล [อีเมล], 9 พฤศจิกายน 2559) ทั้งนี้ผู้ปกครองหรือ
ครอบครัวก็มีส่วนสาคัญต่อการขับเคลื่อนการเปล่ียนแปลงนี้ได้ โดยการแสดงให้เห็นความสาคัญและแสดงความ
เป็นจริงของสังคมภายนอก ว่าเขาดาเนินชีวิตกันอย่างไร และมีทางเลือกอะไรบ้าง กล่าวคือ สร้างแรงบันดาลใจ
และจดุ ประกายให้เห็นความตอ้ งการทีแ่ ทจ้ ริงเพ่ือปลูกฝังความมุ่งมั่น ขยัน อดทน และการยอมรับผู้อื่น เพราะเป็น
พนื้ ฐานท่จี ะอยู่ร่วมกนั ได้ในทุกสงั คม เมอ่ื เข้ามาศึกษาในสาขาเฉพาะน้ี นับว่าตัดโอกาสหลายอย่างท่ีอาจจาเป็นกับ
ชวี ิต ทาใหผ้ เู้ รยี นมคี วามสับสนเปน็ ระยะๆ ผู้ปกครองหรือคนในครอบครวั ควรให้กาลังใจและช้ีแนะแนวทางต่างๆที่
ถูกต้องให้ผู้เรียนได้ก้าวต่อไปอย่างม่ันใจ และยอมรับในเส้นทางที่เลือกด้วยกัน หรือหากมีปัญหาควรเป็นผู้ท่ีให้
ความช่วยเหลือเป็นลาดับต้นๆ สังคมหรือองค์กรที่มีบทบาท ควรแสดงสถานภาพของคนกลุ่มน้ีให้ชัดเจนและ
ถูกต้อง นาเสนอในด้านที่เหมาะทีค่ วร

แม้ปัจจุบันผู้มีความเป็นเลิศทางด้านนาฏศิลป์ไทย หรือผู้เกี่ยวข้องกับเร่ืองของศิลปวัฒนธรรม อันเป็น
เอกลักษณ์ของชาติ จะถูกกล่าวช่ืนชมและมีการพูดถึงอย่างต่อเน่ือง แต่หากสารวจรากท่ีแท้จริงของคนกลุ่มนี้ จะ
พบความไม่เสมอภาคในการศึกษาอันนาไปสู่ความไม่เสมอทางสังคมด้วย เพราะหลักสูตรท่ีเน้นในด้านเดียวอย่าง
เต็มที่ ทาให้ต้องแลกเวลากับการเรียนรู้อย่างอื่น ฉะนั้น สถาบันที่มีการเรียนการสอนนาฏศิลป์ไทย เช่น วิทยาลัย
นาฏศิลป ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น ควรมีการปรับหลักสูตรให้เข้ากับยุคสมัย ตลอดจนแสดงแผนการเรียน แผนอาชีพ
และแผนชีวิตให้ผู้เรียนได้เห็นต้ังแต่ต้น เพราะแม้จะเชี่ยวชาญในสายอาชีพนี้ แต่ความจริงจะมีสักกี่คนท่ีรักษา
สถานภาพนั้นได้ตลอด แล้วผู้อื่นท่ีไม่ประสบความสาเร็จแบบน้ัน มีท่ียืนในสังคมหรือไม่ อย่างไร ประกอบอาชีพ
อะไร และเสียโอกาสท่ีจะได้เป็นผู้นาหรือไม่ ชีวิตจริงหลังเรียนจบสามารถทางานได้กับทุกท่ี แต่ก็ไม่ได้เข้าถึง
ตาแหน่งหรือความต้องการของตลาด หรือท้ายสุดต้องยอมรับกับการอยู่กันแบบสังคมเล็กๆ แต่หากพัฒนาด้าน
อื่น ๆ ท่ีเป็นมาตรฐานสากลได้ เรียนด้านไหนมา ก็ไปสามารถประสบความสาเร็จได้ทุกสายงาน ดังนั้นครูควร
ส่งเสริมให้ผู้เรียนเก่งรอบด้าน เพราะสังคมเปล่ียนอยู่ตลอดเวลา คนที่จะประสบความสาเร็จจะต้องมีความรู้และ
ความสามารถในวทิ ยาการอนื่ ๆ ดว้ ย เพอื่ เปน็ บุคคลท่มี ปี ระสิทธิภาพยงิ่ ข้นึ (สมปอง นกนอ้ ย, 2550, น. 8)

ประเด็นสุดทา้ ยทีจ่ ะกล่าวถึงในฐานทค่ี รู เปน็ “ผนู้ าแห่งการเปลี่ยนแปลงในสงั คมทมี่ คี วามหลากหลาย”
นนั้ คอื ปญั หาท่ีมีมาตลอด และไมส่ ามารถหาข้อสรปุ ไดอ้ ย่างชัดเจน คอื เรอ่ื งการจบครูสายตรงกับจบสาขาอืน่ แล้ว
มาเปน็ ครู จากการสัมภาษณ์นิสิตเกา่ ในสถาบนั แห่งหนึง่ ท่ีไม่ได้เรียนวชิ าชีพครโู ดยตรง ได้ก่าวไวว้ า่

“จรงิ ๆ แลว้ จบอะไรมาก็อาจจะเป็นครไู ด้นะ แต่ความแตกตา่ งคือ ถา้ มองในดา้ นวิชาความร้คู ดิ ว่าผทู้ ่ี
เรียนจบตรงสาขาวชิ าอาจมีความรมู้ ากกว่า เน่ืองจากไดร้ ับความรู้เฉพาะด้านมาโดยตรง ทาใหไ้ ด้เรยี นรู้
เนอ้ื หาทลี่ ึกกว่าผ้ทู เ่ี รยี นจบทางด้านครู แตถ่ ้าเป็นเรอ่ื งวิธีการสอนหรอื ประสบการณ์ในการสอน ผทู้ ี่เรียน
จบจากคณะครุศาสตรห์ รอื คณะศึกษาศาสตร์อาจมีวธิ กี ารสอนไดด้ ีกวา่ และไดเ้ ปรียบกว่า เพราะว่า
หลักสตู รการศึกษา 5 ปี ท่ีได้รบั การรับรองจากคุรุสภา สามารถขอใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพครไู ด้
เลย จบออกมาสามารถสมัครตาแหนง่ ครูไดท้ ุกท่ี เปิดสอบบรรจุก็สอบได้ ซึ่งประเดน็ ครไู มจ่ บครูน้ถี ูกพูดถงึ

ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 24

เสมอมา และมีการวิจารณอ์ ย่างหลากหลาย ตามความเหน็ ของคนท่ีมีจดุ ยืนต่างกันไป ผู้ท่คี ลกุ คลีในแวด
วงการศึกษา อาจมองว่ามีตัวเลอื กเยอะกว่า สามารถเปน็ ครใู นโรงเรียนรฐั หรือเอกชนได้ บรรจุราชการ
เลอ่ื นขน้ั ได้ หากต่อป.โท กเ็ ป็นอาจารยม์ หาวิทยาลัยไดห้ รอื ทางานตามสายกไ็ ด้ แตถ่ ้าถามวา่ จบวิชาเอก
ตรง เช่น วทิ ยาศาสตรบัณฑติ เปน็ ครไู ด้ไหม เปน็ ได้ จะเปน็ ครทู ่ีไหนดลี ่ะ ครแู บบไหน ครูอาสา ครพู ิเศษ
ข้าราชการครู ก็คงต้องไปศกึ ษาคุณสมบัติใหต้ รงตามเส้นทางทีเ่ ลอื กอีกที”
ในประเด็นประสทิ ธิภาพในการสอน จากบทสัมภาษณ์ข้าราชการครูท่านหน่งึ ได้กลา่ วว่า
“ครทู ่ีสาเร็จการศกึ ษาครบหลักสูตร 5 ปจี ากสถาบนั ท่ที าหน้าทผี่ ลติ ครนู ้นั มีความเป็นมืออาชีพ ซ่งึ ทุก คน
จะไดร้ บั ใบประกอบวิชาชีพครูทีเ่ ป็นเครือ่ งหมายแสดงถงึ การเป็นผมู้ มี าตรฐานในด้านความร้คู รบถว้ นทุก
ประการ ครูมอื อาชีพจะมีวิธีการสอนหรือการถ่ายทอดความรูท้ ่ีไดร้ บั การฝึกฝนมา อกี ทัง้ ต้องไปฝกึ
ประสบการณ์การสอนอีก 1 ปี ดงั นัน้ ความเข้มขน้ ในความเป็นครยู ่อมมมี ากกว่าและได้ขึ้นชอ่ื เป็นผู้
ประกอบวิชาชีพชัน้ สงู ในขณะทคี่ รูซึ่งสาเรจ็ การศึกษามาจากคณะอืน่ จะไม่มีสง่ิ เหล่านี้ จึงเกิดความไม่
สมดุลในการพฒั นาการศึกษาของไทย แต่แง่มมุ ท่นี ่าสนใจคือ ความตง้ั ใจจริงกม็ ีผลนะ ในแงค่ วามเปน็
เลิศ โรงเรยี นไดจ้ ัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ สง่ เสริมความเป็นเลิศมากขึ้น แข่งขนั กนั เพอ่ื ใหเ้ ปน็ โรงเรยี นทม่ี ี
คณุ ภาพ ดังนน้ั การจัดการเรียนการสอนของบางโรงเรยี นจงึ เชญิ วิทยากรทมี่ ีความรู้ความสามารถเฉพาะ
ทาง หรอื ครูพเิ ศษท่ีไม่ได้มีคุณวุฒิทางด้านวชิ าชพี ครหู รือไม่มีใบประกอบวชิ าชพี มาสอนเด็ก นีก่ แ็ สดงให้
เหน็ อกี พนื้ ทสี่ าคัญในแวดวงการศกึ ษา ของผู้ที่ไมม่ ใี บประกอบวชิ าชีพครคู ่ะ จริงๆแลว้ การปฏิรปู
การศึกษาจะไม่มวี นั สาเร็จหากไม่ไดป้ ฏิรูปครู เพราะครเู ป็นกญุ แจสาคัญทน่ี าไปสคู่ วามสาเร็จ ครคู อื
แบบอย่าง ควรปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณอยา่ งเคร่งครดั ซึง่ ส่ิงนอ้ี าจจะเปน็ คณุ ธรรมสว่ นบุคคลก็วา่ ได้ จะ
ตัดสินว่าจบอะไรมาจะมมี ากกว่ากนั ไดห้ รอื จากการสัมภาษณ์ นสิ ติ เกา่ ครุศาสตร์ จุฬาฯ ท่านนงึ เร่ืองครู
สอนเก่งไม่เกง่ ได้ความว่า การสอนคอื การถ่ายทอดความรู้ เเตถ่ ้าเราไม่มีการถา่ ยทอดทเ่ี ป็นระบบ เป็น
ข้ันตอน ถูกต้อง เเละที่สาคัญคือการเลือกบทเรยี นเเละวธิ ีการสอนทเ่ี หมาะสมกับเด็ก สว่ นตัวเขาชอบคนท่ี
สอนเกง่ แต่ก็ต้องมีความรู้ในระดบั ที่สอนเด็กได้ สมมตสิ อนเกง่ มาก เเตค่ วามรูม้ ีถึงเเค่ประมาน มัธยม เรา
กว็ ่าไมเ่ หมาะสมทจ่ี ะไปสอนระดับ ป.ตรี”

ดังนน้ั คาถามท่ีว่า “การปรับตัวครั้งใหม่ จะต้องปรบั ตัวอย่างไรในวิชาชีพครู” มีแนวโน้มไปในเรื่องของเจต
คติส่วนบคั คลของผปู้ ระกอบวชิ าชีพครู เพราะการสอนเปน็ ศาสตร์ คือ ครูต้องร้แู น่นในเนอ้ื หา และเป็นศิลป์ คือ ครู
ต้องมีความสามารถในการถ่ายทอดและอธิบายเรื่องยากให้เข้าใจได้ง่าย หากขาดอย่างใดอย่างหนึ่งไปทาให้การ
สอนไม่ประสบความสาเร็จ ครูในฐานะท่ีมีโอกาสเป็นผู้นาได้ในชั้นเรียน จึงควรตระหนักในบทบาทของตนเอง
พัฒนาศักยภาพให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป เพราะมนุษย์ไม่สามารถอยู่อย่างปกติสุขได้ หากยังมี

ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 25

อคติ ยึดม่ันในรูปแบบเดิม ๆ ในขณะท่ีชีวิตต้องดาเนินไปในสังคมท่ีไม่เหมือนเดิม แนวทางไปสู่การปรับตัว
สามารถสรุปได้ ดังน้ี

1. เปิดใจยอมรบั สง่ิ ใหมท่ กุ วนั
2. ใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลาทั้งสาขาเฉพาะของตนเองและความรู้ท่ัว (ศึกษาเอกสารทางวิชาการ, เข้า

ร่วมอบรม, ทางานวิจัย เปน็ ต้น)
3. สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ผู้ปกครอง ผู้บริหารโรงเรียน

เป็นตน้
4. วเิ คราะหต์ นเองว่ามที กั ษะจาเปน็ ต่อโลกยุคปัจจุบนั หรอื ไม่และดาเนินการแก้ไข

เอกสารอ้างองิ
กลุม่ นสิ ติ เก่าสาขานาฏยศลิ ปไ์ ทย จุฬาฯ. (1 พ.ค. 2561). สัมภาษณ์
นิวัฒน์ สุขประเสริฐ. (2553). การพัฒนาตัวบง่ ชี้สาหรับการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายใน

ของวทิ ยาลยั นาฏศลิ ป สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป์. (วิทยานิพนธป์ ริญญาดษุ ฎีบณั ฑติ ).
มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, บณั ฑติ วิทยาลัย, สาขาวชิ าการอุดมศึกษา.
วิทยาลยั นาฏศิลปอ่างทอง. (2558). รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายใน วทิ ยาลัยนาฏศิลป
อา่ งทอง. สบื ค้นจาก http://www.cdaat.ac.th/download/document/sar57-o2-
chapter05.pdf
สมปอง นกนอ้ ย. (2550). คุณลกั ษณะของครูผสู้ อนนาฏศิลปไ์ ทยตามทศั นะของผเู้ ชี่ยวชาญ
ผบู้ ริหาร ครูผู้สอน และนกั ศกึ ษา ในสถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์. (วทิ ยานพิ นธป์ ริญญามหาบณั ฑิต). มหาวิทยาลยั ศรีนคริ
นทรวโิ รฒ, บณั ฑิตวทิ ยาลยั , สาขาวิชาการอุดมศึกษา.
นายจรี ะ ประทีป และคณะ. (2545). กระบวนการกาหนดนโยบายการศึกษาของสานกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาแห่งชาต.ิ สบื ค้นจาก pioneer.netserv.chula.ac.th
สถาบันวจิ ยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2555). รายงานการศกึ ษาฉบับสมบรู ณ์ โครงการวิจยั การจดั ทา
ยทุ ธศาสตรก์ ารผลติ และพัฒนากาลงั คนใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของภาคอตุ สาหกรรม.
สบื ค้นจาก http://www.oie.go.th/academic
หมายเหต.ุ จาก ปฏริ ปู การศึกษาเพือ่ อนาคตประเทศไทย มั่นคง มั่งคง่ั ยัง่ ยืน นโยบายด้านการศึกษาของ
นายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) (น. 43-58), โดย สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,
2559, กรงุ เทพฯ: 21 เซน็ จูร่ี จากดั .
หมายเหต.ุ จาก การศกึ ษาความตอ้ งการกาลังคนเพ่ือวางแผนการผลิตและพฒั นากาลังคนของประเทศ (น.77-81),
โดย สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2553, กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จากัด.
หมายเหต.ุ จาก การศึกษาเพือ่ เตรยี มความพรอ้ มดา้ นการผลิตและพฒั นากาลงั คนเพอ่ื การรองรบั การเคล่อื นยา้ ย
แรงงานเสรภี ายใต้กรอบประชาคมอาเซียน (น.46-47), โดย สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2555,
กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จากัด.

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 26

กานตร์ วี ชมเชย. (2557). การบรหิ ารจัดการพิพิธภณั ฑ์: กรณีศึกษามวิ เซียมสยามและพิพธิ ภัณฑ์บา้ นไทย
จมิ ทอมป์สนั (41-4180-0). สืบคน้ จากเว็บไซตห์ น่วยงาน http://iacr.swu.ac.th/th/research.

มิวเซียมสยาม. (22 มิถุนายน 2559). มิวเซียมตดิ ลอ้ Muse Mobile., สบื ค้นจาก
https://www.museumsiam.org/ve-detail.php?MID=5&CID=75&CONID=1758&SCID=-1

วุฒิพงษ์ ภักดีเหลา. (2554). การศกึ ษาคุณลกั ษณะขององคก์ ารนวตั กรรม: กรณศี ึกษาองค์การที่ไดร้ บั รางวลั ด้าน
นวตั กรรม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑติ ). สถาบนั บัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์,
คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย,์ สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยแ์ ละองค์การ.

หมายเหต.ุ จาก “การจดั การพิพธิ ภัณฑเ์ ฉพาะทาง: กรณศี ึกษาพพิ ิธภณั ฑล์ า้ นของเลน่ เกริกย้นุ พันธ์,” โดย
จาระไน ไชยโยธา, 2557, วารสารสถาบันวฒั นธรรมและศลิ ปะ, 16(1), น. 28-29.

อญั ชนา สดากร. (เมษายน-มิถุนายน 2558). พพิ ิธภณั ฑแ์ ละการทอ่ งเท่ียว. TAT review, 1(2), น. 50-55.

นางนิธกิ านต์ ขวัญบุญ. 2549. การพัฒนาเกมการศกึ ษาเพ่อื เตรียมความพรอ้ มทางคณติ ศาสตร์สาหรบั เด็กปฐมวยั .
Museum Siam. (2551). รูจ้ ักมิวเซียมสยาม, 31 สงิ หาคม 2559. https://www.museumsiam.org/
Peggy A. Ertmer and Timothy J.Newby. (2013). Behaviorism, Cognitivism, Constructivism:

Comparing Critical Features From an Instructional Design Perspective, 20 August 2016.
http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/piq.21143/pdf
Thomas Riechmann . (2001). Learning in Economics: Analysis and Application of Genetic Algorithms,
31 August 2016. http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/piq.21143/pdf
https://perspectivesongames.wordpress.com/2012/09/11/history-of-games-timeline/
Urie Bronfenbrenner. (1994). Ecological Models of Human Development, 29 August 2016.
http://www.columbia.edu/cu/psychology/courses/3615/Readings/BronfenbrennerModelofDevelopme
nt(short%20version).pdf
R.Keith Sawyer. (2005). CHAPTER 1 Introduction The New Science of Learning. [Handbook].
สบื คน้ จาก http://assets.cambridge.org/97805218/45540/excerpt/

ปที ่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 27

การบรหิ ารจัดการ 4.0 ผลกั ดนั การขบั เคล่อื นและเขยือ้ นภเู ขา

ปทุมา เชยชยั ภมู ิ*

1. บทนา/คานา
การศึกษา 4.0 (Education 4.0) คือการจัดการศึกษาที่บูรณาการท้ังศาสตร์ ศิลป์และเทคโนโลยี เข้า

ดว้ ยกนั อยา่ งกลมกลืน เพ่อื สรา้ งคนที่สงั คมต้องการไดใ้ นทกุ มติ ิ มีรูปแบบการจัดการศึกษาท่ีหลากหลาย สอดคล้อง
และตอบสนองต่อความตอ้ งการของผ้เู รียน สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
เปน็ เครือ่ งมือกระตุ้นการเรยี นรู้ มงุ่ เนน้ ให้ผู้เรยี นสร้างสรรค์นวัตกรรมและการวิจัยด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เพื่อเพม่ิ ขดี ความสามารถการแข่งขันของประเทศ (สพฐ., หน้า 23)

การศกึ ษายุค 4.0 คอื ยุคสรา้ งนวัตกรรม สร้างความรู้จากความสนใจรายบุคคลและจากการรวมตัวของคน
ที่มแี รงผลกั ดันเป็นทีม โดยบทบาทของเทคโนโลยีเปล่ียนแปลงไปตามผู้เรียนซ่ึงผู้เรียนเป็นแหล่งวิวัฒนาการทาง
เทคโนโลยีท่ีสาคัญในการสร้างนวัตกรรม เทคโนโลยีถูกพัฒนาเป็นนวัตกรรมทุกวันและนามาใช้เฉพาะบุคคล ครู
หรือผู้สอนมีบทบาทด้านการสอนในการขยายองค์ความรู้โดยการให้วงจรผลสะท้อนกลับจากการสร้างนวัตกรรม
เชิงบวก ความรเู้ กิดทุกท่ี ทกุ เวลา ทั้งในชีวิตประจาวัน การเรียน และการทางาน ทุกคน ทุกหนแห่ง ทุกส่ิงทุกอย่าง
คือ ครู ครูคือ แหล่งสร้างนวัตกรรมที่ได้รับการสนับสนุนโดยหุ้นส่วนทางซอฟต์แวร์และความร่วมมือมนุษย
หอ้ งเรยี นกลายเปน็ สนามแหง่ การเรยี นรู้ เพ่อื ผลติ แรงงานสสู่ ังคม นายจา้ งจะมองบัณฑิตในฐานะเป็นเพื่อนร่วมงาน
และผู้ประกอบการที่สามารถรักษาการสร้างนวัติกรรมที่มีจุดเน้นให้ยั่งยืน ทุกอาชีพจะมีความเป็นผู้ประกอบการ
(Entrepreneurship) ลักษณะโรงเรียนเปล่ียนแปลงเป็นเรียนในโลกไรพ้ รมแดนทมี่ กี ารเชื่อมตอ่ เครือข่ายหรือท่ีๆ มี
การส่งเสรมิ การสร้างนวตั กรรมการเรยี นรู้ มมุ มองผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย (Stakeholders) ต่อโรงเรียน เห็นว่าโรงเรียน
เป็นสถานท่ีแห่งหน่ึงในหลายๆ แห่ง ที่สร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง การศึกษา 4.0 ไม่ว่าจะเป็นแนวใดต่างมี
เปูาหมายในทางเดียวกัน คือ นวัตกรรม โดยมีเสาหลักทั้ง 4 ของการศึกษา 4.0 คือ Invention, Innovation,
Imagination, & Production (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2560) หากเป็นเช่นน้ันแล้ว การบริหารจัดการการศึกษาก็
จาเป็นตอ้ งสอดรับเสาหลักทั้ง 4 ด้วย คือ ต้องบริหารจัดการเสาหลักใหแ้ ข็งแรงและมีประสิทธภิ าพม่ันคง

การดาเนินงานขับเคลื่อนไปสู่การศึกษา 4.0 น้ันเกิดจาก ความท้าทายที่หลากหลาย ทั้งแรงกดดัน
ภายนอกจากการแข่งขันในเวทีโลก การเปล่ียนแปลงทางสังคม การปฏิวัติดิจิทัล อุตสาหกรรม 4.0 การพัฒนาท่ี
ยั่งยนื กาลังคนทม่ี คี ณุ ภาพไมเ่ พียงพอ สังคมสงู วัย กับดกั รายได้ปานกลาง กระแสโลกาภิวัฒน์ ทรัพยากรธรรมชาติ

*ครูโรงเรยี นกาเนดิ วิทย์

ปีท่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 28

ท่ีลดลงและมีจากัด ปัญหาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ซง่ึ เป็นปราการดา่ นแรกสาหรับคนไทยท่ีจะเปน็ คนในยุค 4.0 เปน็ กาลังขับเคลอ่ื นไปยังยคุ ตอ่ ไป

2. สภาพปัจจุบนั /ปญั หา
จุดอ่อนของระบบการศึกษาและการพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี และการ

บริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่ยังไม่เหมาะสม ขาดความคล่องตัว ความเหลื่อมล้าในด้านโอกาส และความ
เสมอภาคทางการศกึ ษา ปญั หาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม วินัย จิตสาธารณะ

ผลการพฒั นาการศึกษาในช่วงปี 2552 – 2559 พบว่า ไทยประสบความสาเร็จหลายด้าน และมีอีกหลาย
ดา้ นยงั เป็นปัญหาที่ตอ้ งได้รบั การพัฒนาอย่างเรง่ ดว่ นในระยะต่อไป

ดา้ นโอกาสทางการศึกษา รัฐมีนโยบายสนับสนุนค่อนข้างมาก แต่ยังมีปัญหาเข้าเรียนไม่ครบทุกคนอยู่ รัฐ
จึงตอ้ งเรง่ สนับสนุนส่งเสรมิ การพัฒนาคนตลอดชว่ งชีวติ และมมี าตรการให้ทุกช่วงวัยสามารถเข้าถึงโอกาสทางการ
ศึกษาทีม่ คี ณุ ภาพมาตรฐานเพ่มิ ข้ึน เพอื่ ยกระดับการศกึ ษาของคนไทยให้เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาเศรฐกิจและ
สงั คมของประเทศ

ด้านคุณภาพการศึกษา ผลการพัฒนายังไม่เป็นที่น่าพึงพอใจ เนื่องจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับ
การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานมีคะแนนตา่ กวา่ เฉลี่ยมาก ผลิตคนยงั ไม่ตรงกบั ความต้องการของตลาดงาน

ด้านประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ และการใช้จ่ายงบประมาณทางการ
ศกึ ษา เป็นปญั หาเชงิ โครงสร้างและระบบการจดั การท่ีตอ้ งไดร้ บั การปรับปรุงเป็นลาดับแรก โดยเฉพาะการบริหาร
จัดการสถานศึกษาขนาดเล็กซ่ึงมีอยู่จานวนมาก เพื่อเพิ่มคุณภาพการศึกษาและลดภาระงบประมาณ การใช้จ่าย
งบประมาณเพ่อื การศึกษาได้รับค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่ใช้จ่ายเพื่อพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการเรียน
การสอน และพฒั นาครู ค่อนขา้ งนอ้ ย การพฒั นาระบบข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษาที่เช่ือมโยงกันเพ่ือใช้ใน
การบริหารจัดการ เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใน
การจดั และสนับสนุนการศึกษาเพ่อื ลดภาระค่าใช้จา่ ยของภาครัฐ และปฏิรูประบบการเงนิ เพอื่ การศกึ ษา

ในสถานการณ์ปัจจุบันนั้น การบริหารจัดการการศึกษา ยังไม่เป็นไปอย่างเสรี พิจารณาได้จากหนังสือขอ
ความร่วมมือ เร่ืองการบูรณาการการขับเคล่ือนการบริหารจัดการการศึกษา จากสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ มายังผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทั่วประเทศ ลงวันท่ี 27
พฤษภาคม 2560 หนังสือด่วนท่ีสุดฉบับน้ีได้อ้างถึงและยกเลิกความตามหนังสืออ้างอิงลงวันท่ี 26 พฤษภาคม
2560 และให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาถือปฏิบัติตามหนังสือฉบับวันที่ 27 พฤษภาคม 2560 แทน โดยมีข้อ
ปฏบิ ัติในการปฏบิ ัตภิ ารกจิ และการบรหิ ารจัดการการศกึ ษา ดงั นี้

ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 29

“1. การปฏิบัติภารกิจตามหน้าที่ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา (Function Based) ซ่ึงเป็นงานปกติ ควรมี
แผนการปฏิบัติงานท่ีเห็นภาพท้ังระบบในองค์กร รวมทั้งสามารถนาแผนไปสู่การปฏิบัติ และมีการกาหนด
ผ้รู ับผดิ ชอบอยา่ งชัดเจน
2. การปฏิบัติตามนโยบาย (Agenda Based) ให้มีการบูรณาการการทางานร่วมกับสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
เพอื่ ขบั เคล่อื นงานนโยบายไปสู่การปฏิบัติ มีความเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ระดับภาค ระดับจังหวัด
และแผนยุทธศาสตรข์ องกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยคานงึ ถึงประโยชน์สูงสดุ ของทางราชการเป็นสาคัญ
3. การปฏิบัติภารกิจในจังหวัดให้มีการบูรณาการกับสานักงานศึกษาธิการจังหวัดและส่วนราชการอื่นในพ้ืนท่ี
(Area Based) เพ่ือเชื่อมโยงแผนการปฏิบัติงานทุกระดับ ตามแนวทางการพัฒนาของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยยึดหลักการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ (Collaboration) ท่ีมุ่งผลสัมฤทธ์ิ รองรับการ
ขับเคลอื่ นทศิ ทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการใหม้ ีสว่ นรว่ มจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และชุมชนทุกภาคส่วน
เข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษาอย่างท่ัวถึง
อนึ่ง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจะสร้างความเข้าใจในรายละเอียดการดาเนินงานให้กับ
ผ้อู านวยการสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาโดยเร็ว และในระหวา่ งนี้ ขอความรว่ มมอื ผอู้ านวยการสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาและบุคลากรในสังกัด ได้พิจารณาและพึงระมัดระวังในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินการ
ปฏริ ูปการศึกษาในภมู ิภาคด้วย”

จากขอ้ ความในหนังสอื นเ้ี ห็นไดว้ า่ การบรหิ ารจดั การการศึกษาเน้นการบรู ณาการ แต่การดาเนินงานของผู้
ทางานดา้ นการบริหารจดั การการศึกษา ยังเป็นแบบ Top-down มากกว่า Bottom-up ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียยังต้อง
ดาเนินงานภายใต้นโยบายการบริหารจัดการการศึกษาจากส่วนกลาง มากกว่าท่ีจะแสดงความคิดเห็นได้อย่างเสรี
จึงยังมีข้อสงสัยว่า ที่เน้นการบูรณาการน้ัน บูรณาการอะไร อย่างไร เพื่อให้เกิดนวัตกรรมอันจะเป็นผลิตผลสาคัญ
ของการศกึ ษายุคนี้ ยังเป็นข้อสงสัยท่ีจาเป็นต้องค้นหาคาตอบ ผู้วิจัยเองอาจจะกล่าวว่าตนเองเป็นผู้เรียน 4.0 ก็ได้
เนอื่ งจากมขี ้อสงสัยในประเดน็ น้แี ละพยายามหาคาตอบท่ีชัดเจนและเขา้ ใจได้อยู่

จากนั้นรัฐบาลจึงเริ่มดาเนินการต่อจากหนังสือขอความความมือดังกล่าว ด้วยการกาหนดการประชุม
ขับเคล่ือนนโยบายสู่การปฏิบัติ ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม พ.ศ.2560 เพ่ือให้สร้างการรับรู้และสร้างความ
เข้าใจให้กบั ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อานวยการ
สถานศกึ ษา ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เก่ียวกับนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ และ
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งหวังให้การขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติอย่างมี
ประสิทธิภาพ ให้เกิดผลต่อผู้เรียน สามารถพัฒนาใหเป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ มีความสามารถเช่ียวชาญตาม
ความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ ตามที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
(สพฐ., 2560)

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 30

ในการศึกษา 4.0 หรือยุค 4.0 ท่ีบุคลากรทางการศึกษาควรปฏิบัติเพื่อให้การบริหารจัดการการศึกษาเป็นไปใน
แนวทางเดียวกนั น้นั ตามคู่มอื สพฐ. สัญจร ขบั เคลือ่ นนโยบายสู่การปฏิบัติ อาจสรุปแนวทางการพัฒนาได้ดังนี้

1. องคค์ วามรทู้ ่ีสาคญั
1.1. ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยนื
1.2. ยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579)
1.3. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579)
1.4. แผนยุทธศาสตรก์ ารศกึ ษาเขตพฒั นาเศรษฐกิจเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนใต้ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579)
1.5. (ร่าง) แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2560 – 2564 Why just draft?
1.6. Thailand 4.0
1.7. เขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ

2. นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร (ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั สพฐ.)
2.1. การพัฒนาครแู นวใหม่ : การพัฒนาครคู รบวงจร
2.2. การยกระดบั ทกั ษะภาษาองั กฤษ
2.3. การขับเคลือ่ นการแก้ไขปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
2.4. โครงการโรงเรียนประชารัฐ (ดใี กลบ้ า้ น)
2.5. โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.
2.6. STEM Education
2.7. การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรดับชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน
2.8. โครงการลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้
2.9. การพฒั นาโรงเรยี น ICU
2.10 โครงการเศรษฐกจิ พอเพียง
2.11 การบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเล็ก
2.12 การบรหิ ารจดั การขยะและส่ิงแวดล้อม
2.13 การปูองกนั และลดอุบัติเหตุทางท้องถนน
2.14 โครงการสานฝันการกฬี าสู่ระบบการศกึ ษาชายแดนใต้และหอ้ งเรียนกีฬา
2.15 หอ้ งเรยี นอาชพี
2.16 ห้องเรยี นดนตรี

3. ส่ิงทค่ี รูควรรู้
3.1. วทิ ยฐานะแนวใหม่
3.2. Professional Learning Community : PLC

ปที ี่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 31

3.3. การจัดการการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive Education)
3.4. การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (NT, O-NET และการอ่าน)

3. ทางออก/ทางเลอื กมีอะไรบา้ ง/แนวทางของ 4.0
แผนการศึกษาแห่งชาติได้กาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศึกษาภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์หลักท่ี

สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ดงั นี้
1. การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ

1.1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข

1.2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษาและ
เรยี นรู้อย่างมคี ุณภาพ

1.3. คนทกุ ชว่ งวยั ไดร้ ับการศกึ ษา การดูแลและปอู งกันจากภยั คกุ คามในชวี ิตรูปแบบใหม่
2. การผลิตและพัฒนากาลงั คน การวิจยั และ นวตั กรรม เพอื่ สรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ

2.1. กาลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

2.2. สถาบันการศกึ ษาและหนว่ ยงานทจ่ี ัดการศึกษาผลิตบณั ฑิตที่มคี วามเชยี่ วชาญและเปน็ เลิศเฉพาะด้าน
2.3. การวิจัยและพฒั นาเพือ่ สรา้ งองคค์ วามรู้ และนวัตกรรมทส่ี ร้างผลผลติ และมลู ค่าเพม่ิ ทางเศรษฐกิจ
3. การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวยั และการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้
3.1. ผเู้ รียนมีทักษะและคณุ ลักษณะพนื้ ฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่

21
3.2. คนทกุ ช่วงวยั มที ักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ

และพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดต้ ามศกั ยภาพ
3.3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและ

มาตรฐาน
3.4. แหลง่ เรียนรู้ สอ่ื ตาราเรยี น นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถ

เขา้ ถึงไดโ้ ดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานที่
3.5. ระบบและกลไกการวดั การตดิ ตาม และประเมินผลมีประสทิ ธภิ าพ
3.6. ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ไดม้ าตรฐานระดับสากล
3.7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน
4. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศกึ ษา

ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 32

4.1. ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศึกษาท่มี ีคุณภาพ
4.2. การเพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพื่อการศึกษาสาหรับคนทุกช่วงวยั
4.3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพื่อการวาง

แผนการบรหิ ารจัดการศกึ ษา การตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล
5. การจัดการศึกษาเพ่อื สร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม

5.1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสูก่ ารปฏบิ ัติ

5.2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม คุณธรรม
จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิ

5.3. การวิจยั เพื่อพฒั นาองค์ความรูแ้ ละนวตั กรรมดา้ นการสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม
6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา

6.1. โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถ
ตรวจสอบได้

6.2. ระบบการบรหิ ารจัดการศึกษามีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลส่งผลตอ่ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
6.3. ทุกภาคสว่ นของสังคมมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษาทต่ี อบสนองความต้องการของประชาชนและพ้นื ที่
6.4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะท่ีแตกต่างกันของผู้เรียน

สถานศกึ ษา และความตอ้ งการกาลงั แรงงานของประเทศ
6.5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สร้างขวัญกาลังใจ

และสง่ เสริมใหป้ ฏิบตั งิ านได้อยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ

4. รายละเอยี ด ข้อเสนอแนะ พรอ้ มผลการวิจัย
งานวิจัยนี้มีกระบวนการตามกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ เพ่ือสารวจมุมมองความคิดเห็นของผู้มีส่วน

เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการศึกษา 4.0 โดยเฉพาะกลุ่มที่เก่ียวข้องกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการศึกษาคร้ังนี้
กลุ่มตัวอย่างจานวน 10 คน ประกอบด้วย 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหาร ครู และนักการศึกษา เก็บข้อมูลโดยการ
สัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-Structured Interview) ด้วยคาถาม 5 ข้อ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการ
วเิ คราะห์เนอ้ื หา ดงั นี้

ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 33

คาถามท่ี 1
1. ท่านคดิ วา่ การบริหารจัดการการศึกษาไทย 4.0 ควรเป็นอย่างไร
การบรหิ ารจัดการศึกษาไทย 4.0 ควรส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขของพลโลก/ไทย ภายใต้การ
เป็นหุ้นส่วนกันในทุกๆด้าน ต้องนาทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรตท่ี21 มาเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา
ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพของนักเรียน ส่งเสริมสนับสนุนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ของเร่ืองนวัตกรรมของ
นักเรียนต้ังแตร่ ะดบั ประถมศึกษา โดยการพฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพเก่ียวกับนวัตกรรม ก่อนท่ีจะนาไปพัฒนา
จัดการเรียนการสอนแก่นักเรียน ส่งเสริมสนับสนุนด้านเทคโนโลยี สารสนเทศท่ีเป็นยุคดิจิตอล มาใช้ในการจัด
การศึกษา ต้ังแต่การบริการจัดการครบวงจร พัฒนาครู บคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ ประสบการณ์
เกี่ยวกับประเทศ 4.0 อย่างลึกซึ้ง เพื่อความชัดเจนท่ีจะนามาพัฒนานักเรียนและบริหารจัดการศึกษา ประยุกต์
บรู ณาการกบั สว่ นอน่ื ๆที่เกยี่ วขอ้ ง
การบริหารการจัดการศึกษาไทย 4.0 ควรเป็นไปเพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะท่ี
จาเป็น ช่วยเสริมสร้างประสบการณ์และเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ โดยพยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วย
ตนเองตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับศักยภาพและความสามารถของผู้เรียน ซ่ึงครูจะเป็นผู้ให้
คาแนะนา อานวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียน พร้อมทั้งตัวครูเองยังต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้ของตนเองอย่าง
สม่าเสมอและต่อเนื่อง รวมท้ังพยายามส่งเสริมให้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ครู(Professional Learning
Community)เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์การทางานของครู ซึ่งการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางท่ีกล่าวมา
จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถนาไปปฏิบัติได้จริง สามารถนาไปใช้ในการที่จะอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน และ
สามารถดารงชวี ิตอย่ไู ดใ้ นสภาวะสงั คมท่ีมีการเปลย่ี นแปลงทเี่ กิดขน้ึ ในศตวรรษที่ 21
อีกมุมหนึ่ง เพ่ือให้นโยบายของรัฐเป็นไปในทิศทางเดียวกัน การบริหารจัดการการศึกษา 4.0 ควรเป็นไป
ตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ต่างๆ ท่ีได้ระบุสาระเก่ียวกับการศึกษา ซึ่งเน้ือหาสาระ มี
ความสอดคล้อง สมั พนั ธ์ ครอบคลุม สมบรู ณอ์ ยแู่ ลว้ เพียงแตว่ า่ รฐั บาลท่กี าหนดนโยบาย และหน่วยงานต้นสังกัด
จะตอ้ งสนับสนนุ ส่งเสรมิ หรือสร้างความพรอ้ มพ้นื ฐาน ให้กับหน่วยงานย่อย หรือสถานศึกษาให้มีความพร้อมให้
ทั่วถึง ซึ่งมีส่วนท่ีจะทาให้เกิดมาตรฐานและพร้อมท่ีจะดาเนินการตามโมเดล ไทยแลนด์ 4.0 ต่อไป และต้องให้
อสิ ระในการบริหารจดั การศกึ ษาตามบรบิ ทหรอื สภาพของแต่ละแห่ง
การพัฒนาการศึกษาไทยน้ันไม่ว่าจะเป็นแต่ละยุคสมัย ปัจจัยที่ยังเป็นปัญหาหลักๆคือ คุณภาพครู ซ่ึง
สง่ ผลตอ่ คุณภาพนกั เรียนโดยตรง การพัฒนาคุณภาพการศึกษานั้นมีหลายด้านและหลายมิติที่ต้องคานึงถึง แต่ตัว
แปรภายในโรงเรียนที่ส่งผลต่อนักเรียนมากท่ีสุดน้ันคือครู มีผลกระทบมากกว่าปัจจัยอ่ืนๆ เช่น ผู้นา สิ่งแวดล้อม
ส่ิงส่งเสริมต่างๆ เป็นต้น เพราะฉะนั้นสิ่งแรกท่ีต้องพัฒนาในการศึกษาไทยไม่ว่าจะพัฒนาไป 4.0 5.0 หรือ 6.0
ทรพั ยากรสาคญั จะต้องมศี ักยภาพก่อนเพอื่ ทีจ่ ะสรา้ งผลผลติ ทม่ี ีผลิตภาพและตอบโจทยค์ วามต้องการของประเทศ

ปีท่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 34

คาถามท่ี 2
2. ปัจจบุ ัน การบรหิ ารจดั การการศึกษาไทย เรียกวา่ 4.0 ได้หรอื ยงั เพราะอะไร
หากตามนโยบายการพัฒนาของรัฐ ก็เรียกว่า ได้แล้ว เพราะเป็นนโยบายจากรัฐบาลและกระทรวงท่ีทุกภาคส่วน
และโรงเรียนตอ้ งดาเนนิ การขับเคลือ่ นเดินหนา้ ไปพรอ้ มกัน แต่จะเรยี กว่า การบรหิ ารจัดการการศึกษาไทย 4.0 น้ัน
คงยังไม่ได้ เพราะการพัฒนาเศรษฐกิจโดยใช้ โมเดล ไทยแลนด์ 4.0 น้ันมีหลายระยะ ซ่ึงเปูาหมายตามแผนการ
ดาเนินการทวี่ างไว้ จะใช้เวลาหลายสิบปี ซง่ึ ปจั จบุ นั น้ันเพ่งิ อยใู่ นระยะแรก และอีกอย่างหน่ึงประเทศไทยน้ันเพ่ิง
จะผ่านพ้น 3.0 คือ เป็นประเทศที่อยู่ในฐานะประเทศที่มีรายได้ปานกลาง คือพ้นจากประเทศยากจนท่ีพ่ึงพา
รายได้จ ากผ ลิตผล ทางการเกษตร เพีย งอย่างเดียว มาสู่การผ ลิตเป็ นอุ ตสาหกรร มท่ีต้องพึ่งแร งงานคนแล ะ
เครื่องจักรกลเป็นหลัก และเข้าสู่การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยเข้าช่วย และด้วยวิธีการท่ีเร่งรีบที่จะทาให้เป็น
ประเทศชัน้ นาเหมอื นประเทศที่มีชื่อเสียง มนั่ คง ม่งั คงั่ โดยเติบโตแบบก้าวกระโดด ทาให้การเจริญเติบโตน้ันชะงัก
งัน เปราะบาง มีการลงทุนเกินตัว เกิดหน้ีสิน ทาให้ประเทศไม่มีเงินท่ีจะพัฒนาต่อไปอีก ซ่ึงต้องหันกลับมาใช้วิถี
ชีวิตแบบพอเพียงโดยการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ซ่ึงจะช่วยสร้างความมั่นคงให้กับ
ประเทศได้อยา่ งย่งั ยืน โดยการบริหารจัดการศึกษาแบบไทย จัดการเรียนการสอนให้สานึกรักประเทศชาติ รักษ์
สงิ่ แวดล้อม รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีทด่ี งี าม พร้อมพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี นวัตกรรมท่ีล้าหน้าอย่างจริงจัง
ดงั น้นั การจะเปน็ ประเทศทเ่ี ปน็ ประเภทท่ี 1 หรือเข้าสู่ ไทยแลนด์ 4.0 นน้ั ยังไมส่ ามารถเรยี กได้ ประเทศเรายังไม่
สามารถพัฒนาเศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรมได้ ในมุมมองของท่ีมองท่ีเปรียบเทียบน้ีคือ นวัตกรรมที่สร้าง
เป็นฐานเศรษฐกิจหลักของประเทศเช่น Samsumg ในเกาหลี Apple or Mac ใน สหรัฐอเมริกา หรือ ALibaba
Lazada ของประเทศจีน มุมมองของเศรษฐกิจวงกว้างน้ีจะทาให้เห็นว่าระเทศไทยยังเป็นผู้ตามประเทศอื่นๆ หรือ
ยังไม่มีเศรษฐกิจท่ีขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมอย่างเป็นตัวตนให้เห็นด้วยปัจจัยหลายๆอย่าง ซ่ีงทาให้เราแน่ใจได้ว่า
ปจั จบุ ันการศึกษาไทยยังไม่สามารถสร้างบุคคลากรหรือทรัพยากรให้ไปถึง 4.0 แต่ถ้าเรามองประเทศไทยนั้นมีการ
ส่งเสริมเรอื่ งสินค้าการบริการ เช่นการท่องเทย่ี ว การโรงแรม นับว่าเศรษฐกิจในกลมุ่ นปี้ ระสบความสาเร็จและกาลัง
เติบโตอย่างมาก จากส่ีประเด็นข้างต้นเราจะเห็นได้ว่าประเด็นสุดท้ายที่กล่าวว่า “เน้นภาคการผลิตสินค้าภาค
บรกิ ารมากขึ้น” นั้นมีการเร่ิมต้นและกาลังเจริญเติบโตเป็นอย่างย่ิง โดยสรุปการศึกษาไทยสามารถท่ีจะตอบสนอง
ส่วนนึงของหัวใจสาคัญของยุค 4.0 นี้เท่านั้น อีกประการหน่ึงคือนโยบายของรัฐบาลให้ความสนใจและ
ความสาคัญแต่เรื่องโครงสร้างการบริหารจัดการ มีองค์กร หน่วยงาน สลับซับซ้อนของการบริการงานเพ่ิมขึ้น
สายบังคับบัญชามากข้ึน เกิดปัญหาสับสนของงานบุคคล แทนท่ีจะมุ่งพัฒนาครู บุคลากร ให้มีความรู้
ความสามารถ ทกั ษะ ประสบการณ์ ด้านการจัดการเรียนรทู้ ค่ี รบถ้วน
ประเทศไทยกาลังพยายามหาแนวทางที่จะยกระดับและพัฒนาการศึกษาไทยให้ดีขึ้น แต่ท้ังน้ีก็ต้องอาศัย
ปัจจัยหลายอย่างในการบริหารจัดการ ซึ่งตามแนวนโยบายของการจัดการศึกษาไทย 4.0 นี้ ต้องมีการพัฒนา
ปรับปรุงในเรื่องของนโยบาย/กฎกระทรวง การเตรียมความพร้อมของโรงเรียน การปรับปรุงหลักสูตร และการ

ปที ี่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 35

จัดการเรียนการสอนในรูปแบบของ STEM ซ่ึงแนวทางเหล่านี้อาจต้องใช้ระยะเวลานานพอสมควรเนื่องจากมี
หลากหลายปัจจัยท่ียังไม่เอื้อต่อการพัฒนาการบริหารจัดการการศึกษาไทย 4.0 ไม่ว่าจะเป็นในเร่ืองของวิสัยทัศน์
ของผู้บริหารทางด้านการศึกษาท่ีมีความคิดเห็นต่างกัน ผู้บริหารท่ียังไม่เข้าใจในเร่ืองของการจัดการศึกษา เรื่อง
ของงบประมาณที่กระจายให้แต่ละหน่วยงาน แต่ละสถานศึกษาท่ียังไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการ หรือแม้แต่
ภาระหน้าท่ีการปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีมาก ต้องรับผิดชอบท้ังในเรื่องของการสอน
นกั เรียน และงานอื่นๆ ในโรงเรียน

คาถามที่ 3
3. ปัจจัยใดบา้ ง จะชว่ ยให้การบรหิ ารจัดการการศึกษาไทย ก้าวสู่ 4.0
1) การเมือง การเมืองมีส่วนที่จะช่วยให้การบริหารจัดการศึกษาไทยมีคุณภาพ เพราะการเมืองมีอิทธิพล
อยู่เหนือสิ่งต่างๆ นักการเมืองท่ีดีมีจริยธรรมจะมองเห็นคุณค่าความสาคัญของการศึกษา ส่งเสริมปัจจัยทางการ
ศึกษาทเ่ี รยี กว่า 4 M ไดแ้ ก่ คน บรหิ ารจดั การ เงิน ทรัพยากร ไม่มุ่งท่ีจะนาครู บุคลากรไปเป็นฐานอานาจ การ
บริหารโดยใช้หลกั การมสี ว่ นร่วม กระจายอานาจ ยึดหลกั ธรรมาภิบาล และวิถีประชาธิปไตยการกาหนดนโยบาย
ตลอดจนการจัดสรรงบประมาณสู่การศึกษาจะช่วยให้การศึกษามีคุณภาพและได้มาตรฐานเทียบกับประเทศช้ันนา
ได้ และการเมอื งที่มเี สถยี รภาพ ไม่เปล่ียนแปลงบอ่ ยจะทาให้การศึกษาได้พัฒนาไปอย่างต่อเน่ืองไม่ติดขัด ดังนั้นไม่
วา่ จะเปน็ รฐั บาลชดุ ไหนมาใหมก่ ต็ าม กจ็ ะต้องสานต่อนโยบายพัฒนาเศรษฐกจิ ตามโมเดล ไทยแลนด์ 4.0 ต่อไป
2) การบริหารงานและนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ทั้งในเรื่องของ
วิสัยทัศน์ โครงสร้างหลักสูตร การบริหารงานของหน่วยงานองค์กรต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องทางด้านการศึกษา รวมท้ัง
ผู้บริหารในระดับต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาควรมีความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับการศึกษาของไทยอย่าง
แท้จริง เข้าใจเก่ียวกับธรรมชาติ หลักการ ปรัชญาของการศึกษาแต่ละระดับ เข้าใจ สภาพ บริบทของ
สถานศึกษา ครู บุคลากร ให้ความเป็นอิสระและเสรีภาพในการบริหารจัดการศึกษาไทย ให้เน้นสนับสนุน
ส่งเสริมหน่วยงานหรือสถานศึกษาท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ ให้สามารถการบริหารจัดการตนเองตามบริบทและ
ความต้องการทีแ่ ท้จริง
3) การปรับปรุงหลักสูตร ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน มีการพัฒนาตัวหลักสูตรให้มีความทันสมัย
ทันต่อการเปล่ยี นแปลงของโลก มกี ารส่งเสรมิ การใชส้ อ่ื เทคโนโลยี นวัตกรรมต่างๆ ในการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสม
กบั บรบิ ทของการศึกษาไทย เหมาะสมกับบรบิ ทของสถานศกึ ษาตา่ งๆ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
ตา่ งๆ ควรมีการบูรณาการกัน และพยายามเชื่อมโยงการเรียนรู้กบั การดาเนินชีวติ ของผู้เรยี น
4) การสง่ เสริมพฒั นาปจั จยั ทางการศึกษา เอ้อื อานวยความพร้อมใหแ้ ก่สถานศึกษาต่างๆ อย่างท่ัวถึงทั้งใน
เรื่องของบุคลากร งบประมาณ สอ่ื อปุ กรณ์ ต่างๆ ใหไ้ ด้รับอย่างเท่าเทียมและท่ัวถึงส่งเสริมการพัฒนาครู บุคลากร
ทางการศึกษาให้มีองค์ความรู้ความสามารถในการจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม โดยมีการพัฒนา
ศักยภาพและองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเน่ือง การปรับรูปแบบการเรียนการ

ปีที่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 36

สอน ที่มุ่งเน้นเป็นการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็น Active Learner มากกว่าการเป็น passive learner
และครูมีบทบาทหน้าท่ีให้การช่วยเหลือให้คาแนะนาในการค้นหว้า หาความรู้ เป็นผู้ส่งเสริมความรู้ ทักษะและ
คุณลกั ษณะที่สาคัญและจาเป็นให้แก่ผู้เรยี น

5) โอกาสทางการศกึ ษา การพัฒนาโรงเรยี นทุกโรงเรียน ในทกุ จังหวัดให้มีคุณภาพเท่าเทียมกัน โดยเริ่มจา
กากรยกเลิกการสอบเข้ามัธยมเพ่ือคัดนักเรียน ควรหันไปเน้นที่พัฒนาคุณภาพโรงเรียนให้เท่าเทียมกันโดยพัฒนา
นักเรียนท่ีอ่อนให้มีศักยภาพให้ได้น้ันคือหัวใจสาคัญของการศึกษาคือการพัฒนาขีดความสามารถของคน และ
เอ็นทรา้ นต์ ควรเป็นการสอบตรงและดูรายวิชาท่ีเรียนตอนม.ปลายว่าสนใจที่จะเรียนสาขานั้นๆจริงๆ จะทาให้เรา
ได้ทรัพยากรที่สนใจในสิ่งที่เรียนจริงๆและทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ คานึงถึงสิทธิและโอกาสในการเข้าถึง
ปัจจยั พนื้ ฐานสาธารณะ ที่บคุ คลทกุ คนควรจะได้รับโดยเท่าเทยี มกนั ซึง่ ช่องว่างระหว่างบุคคลของประเทศไทยยังมี
มาก

คาถามที่ 4
4. ในมุมมองท่ที ่านอยู่ในวงการการศกึ ษา ท่านมองว่าการบรหิ ารจัดการการศึกษาไทย เปน็ เช่นไร
การบริหารจัดการการศึกษาไทยมกี ารเปลย่ี นแปลงบ่อย เปล่ียนทั้งระบบ โครงสร้าง บุคคล ย่อมส่งผลกระทบต่อ
การบริหาร กระทบต่อความรู้สึก อารมณ์ จิตใจ ของคนจนมีผลต่อการปฏิบัติงาน ทาให้เกิดผลดีและผลเสีย ทา
ใหอ้ ันดบั คุณภาพการจดั การศกึ ษาของไทยอยู่ในลาดับที่ล้าหลังประเทศในภูมิภาคและระดับนานาชาติ ทั้งๆที่การ
จัดการศกึ ษาที่ได้ระดมความคิดเห็นและลงความเห็นว่าดีและท่ีกาลังดาเนินอยู่น้ันยังไม่ถึงเวลาสิ้นสุดของแผนงาน
ยทุ ธศาสตรท์ ่ีวางไว้ก็ด่วนสรุปว่าไม่ดีแล้วก็เปล่ียนแปลง ซึ่งในกาลข้างหน้านั้นจะรีบมีการเปลี่ยนไปอีกหรือไม่ การ
เปลี่ยนแปลงเป็นไปตามนโยบาย ความเชื่อว่าไม่คิดอะไรเหมือนไม่เก่งเลยต้องคิดใหม่อยู่เรื่อยๆ ไม่แก้ต้นเหตุของ
ปญั หาหรือพื้นฐานปัญหาสร้างแต่เปูาหมายปลายทางบอกแค่ว่าให้รีบไปให้ถึงแต่ไม่มีใครแก้ปญหาแท้จริงเพราะไม่
อยากเจ็บตัว ที่ตอ้ งกระทบประชาชนทไี่ ม่เข้าใจปญั หาโดยรวมจะต่อตา้ นเพราะตนเสียประโยชน์
การบรหิ ารการจดั การศกึ ษาไทยยังคงตอ้ งดาเนนิ การพฒั นาในอีกหลายดา้ นเพ่ือทจี่ ะประสบความสาเร็จได้
โดยการอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน มีการทางานร่วมกันอย่างเต็มท่ี รวมท้ังมีการกระจายอานาจให้แต่ละ
หนว่ ยงานมีความสามารถในการจัดการบรหิ ารงาน พร้อมทั้งมีการพัฒนาปรับปรุงตัวโครงสร้าง งานหลักสูตรต่างๆ
ให้มีความเหมาะสมกับบริบทของประเทศและท้องถิ่นต่างๆเพื่อก่อให้เกิดความเหมาะสมในการบริหารงานของ
สถานศึกษาและความเหมาะสมในเรื่องของตัวเนื้อหาสาหรับผู้เรียนในแต่ละพ้ืนที่ มีการจัดหลักสูตรให้สอดคล้อง
กับการเปล่ียนแปลงของการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีต่างๆ โดยที่
พยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารเรียนรู้ได้ทุกท่ีทุกเวลา ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะที่สาคัญ
จาเปน็ ในการดาเนินชีวิต สามารถนาไปใช้ในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี การดารงชวี ติ ได้
การบริหารจัดการศึกษาไทยไม่สามารถตอบโจทย์ความต้องการของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้ ระบบการ
เรียนต่างๆทาให้นักเรียนเน้นการเรียนท่ีได้แต่วิชาการไม่ได้รักหรือสนใจในสิ่งที่เรียนจริงๆ เช่นการติวท่ีจะต้องติว

ปที ่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 37

เข้ามัธยมดังๆต้ังแต่ ป.4 ทาให้นักเรียนไม่สามารถเรียนหรือสนใจความรู้ด้านอ่ืนๆที่ทาให้เขาค้นพบตัวเองหรือ
ระบบเอ็นทรานส์ไม่สามารถให้นักเรียนเลือกเรียนท่ีตนสนใจจริงๆ ใครสอบได้คะแนนเยอะก็เลือกเข้าแพทย์
นอกจากนี้ยังไม่มีความเป็นระบบท่ีช่วยเก้ือหนุนให้ครูสามารถสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นในต่างประเทศมี
หนว่ ยงานท่อี อกแบบเคร่ืองมอื การสอน การวัดผลท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือให้ครูนามาใช้และสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
การบริหารยังไม่มคี วามทาใหค้ ุณภาพโรงรียนแตล่ ะท่ีต่างกันอย่างมาก เพราะ ครูที่เก่งก็สามารถสอนและออกแบบ
การวดั ผลได้ดี แตท่ กุ โรงเรยี นทกุ ท่ไี มไ่ ด้มคี รูคุณภาพเหมือนกนั

คาถามท่ี 5
5. ด้วยบทบาทของทา่ น ทา่ นมีสว่ นอย่างไรในการบรหิ ารจัดการการศึกษาไทย 4.0

กลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา ในฐานะที่เป็นหัวหน้าสถานศึกษา ดาเนินงานอย่างเต็มกาลัง
ความสามารถ ตามบทบาทและหน้าที่ นานโยบาย แนวปฏิบัติ ลงสู่การปฏิบัติอย่างแท้จริงให้เป็นรูปธรรม ภายใ ต้
ความร่วมมือและการมีส่วนร่วมจากทุกฝุาย มีความคิดสร้างสรรค์ในขอบข่ายแนวปฏิบัติท่ีสามารถปฏิบัติได้จริง
ถูกต้อง และตอบสนองความต้องการของทุกฝุาย บริหารจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติ ระเบียบ กฎหมาย ท่ี
เก่ียวข้องแลว้ ต้องนานโยบายของรฐั บาล และต้นสงั กดั ไปส่กู ารปฏิบัติ โดยได้มีการชี้แจงถ่ายทอดให้ความรู้ความ
เข้าใจแก่ผู้ร่วมงาน และสร้างความตระหนักให้เห็นถึงความจาเป็นและประโยชน์ของการจัดการเรียนการสอนให้
โรงเรียนเป็นส่วนหน่ึงของไทยแลนด์ 4.0 ดึงศักยภาพครูและนักเรียนให้สูงตามศักยภาพท่ีมีและปัจจัยต่างๆของ
การศึกษาไทยทีม่ ี เน้นการพฒั นาศักยภาพและให้ความสาคัญกบั ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ท่ีทาให้นักเรียนสามารถไป
ต่อยอดทรัพยากรความรู้ท่ีกว้างข้ึนและโอกาสที่มากข้ึน อีกท้ังนาคณะครูร่วมกันวางแผนและดาเนินการจัดการ
เรียนการสอนบรหิ ารจดั การสถานศึกษาให้เป็นไปตามโมเดลไทยแลนด์ 4.0 มีการส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาทีมงาน
ให้ไดร้ ับความร้ทู จ่ี าเปน็ และใหม้ ีการพัฒนาตนเอง เพ่ือนามาปรับใช้ในการปฏิบัติงานโดยเฉพาะในการจัดการเรียน
การสอนให้มีคุณภาพเพื่อประโยชน์สูงสุดสู่นักเรียนเป็นสาคัญ และอีกประการหน่ึงผู้บริหารสถานศึกษาจะต้อง
พฒั นาตนเอง ท้ังความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ตา่ งๆ และนาพาองค์กรขับเคล่ือนตามโมเดลไทยแลนด์ 4.0 ต่อไปไป
พร้อมกับทีมงาน

กลุ่มครูผู้สอน มีบทบาทในการจัดการเรียนการสอน โดยให้นักเรียนใช้ส่ือ เทคโนโลยีเข้ามาช่วย
ในการเรียนรู้และแก้ไขปัญหา บูรณาการความรู้เข้ากับภูมิปัญญา ในฐานะที่เป็นครูผู้สอน ได้จัดการเรียนการสอน
ใหน้ ักเรียนไดล้ งมอื ปฏิบตั งิ านจริง มกี ารทางาน เปน็ กลมุ่ เป็นการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีการแบ่งงาน
กันทา เน้นให้นักเรียนได้มีการนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในชีวิตประจา หรือนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบ
อาชีพ และการพัฒนาตนเองเพ่ือเป็นกาลังสาคัญในอนาคต ครูจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอนใหม่ เป็นผู้ควบคุมให้
นักเรียนได้ใช้ทักษะความคิดมากข้ึน หลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีการปรับปรุงให้เน้นทางด้านทักษะทางด้าน
ความคิดมากกว่าเนื้อหาท่ีให้นักเรียนได้เรียน ผลักดันให้นักเรียนเปล่ียนแนวคิดท่ีคอยรับฟังความรู้จากครู มาเป็น
การศึกษาหาความรู้ด้วยตัวเอง ให้นักเรียนได้มีการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้ ครูเป็นผู้แนะนา

ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 38

วธิ ีการคิด เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นได้แสดงความคิดเห็นของตนเอง หรือต้องกระตุ้นให้นักเรียนได้กล้าแสดงออก เพื่อแสดง
ความคดิ เห็นของตนเอง นักเรียนขาดความมนั่ ใจในตวั เองครตู อ้ งเปน็ ผูส้ รา้ งความมั่นใจให้กับนักเรยี น

กลุ่มนักการศึกษา ในการมีส่วนร่วมที่จะช่วยพัฒนาการบริหารการจัดการศึกษาไทย 4.0 ได้นั้น
ในฐานะผู้มีบทบาทในสถาบันการผลิตครู จึงมีส่วนร่วมได้ด้วยการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาศักยภาพของ
นักศึกษา เตรียมความพร้อมนักศึกษาเพื่อเป็นครูที่ดี โดยมุ่งเน้นจัดการเรียนรู้ในเรื่องของการพัฒนาและออกแบบ
หลักสูตร เทคนิค/วิธีการจัดการเรียนรู้ท่ีเนินผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้
การวัดประเมิน การจัดการช้ันเรียน การส่งเสริมทักษะและคุณลักษณะของผู้เรียน รวมทั้งการทาวิจัย เพื่อช่วย
สง่ เสริมให้นกั ศึกษาครูมีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนในอนาคต สามารถรับมือได้กับสภาวะที่เปลี่ยนแปลง
ไปของสังคมโลก สามารถจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับแนวทาง นโยบายท่ีจัดตั้งไว้ เพื่อให้
เปน็ ไปตามแนวทางการจดั การศึกษาไทย 4.0 ได้

จากข้อมูลที่ได้รับจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ทั้งสามกลุ่ม น้ัน จึงสรุปได้ว่า ทุก
กลมุ่ มคี วามตง้ั ใจ มงุ่ มั่น ในการดาเนนิ งานเพอ่ื ขับเคลื่อนนโยบายให้การจดั การการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานเป็นไปตามแนว
ทางการบรหิ ารจัดการการศกึ ษา 4.0

5. ความเป็นไปได/้ โอกาสของความสาเรจ็ /เงอ่ื นไขต่างๆ
“การท่ีประเทศจะเป็น Thailand 4.0 ได้ ทุกอย่างต้องผ่านการวางแผนเพ่ือสร้างพื้นฐานและ

สภาพแวดล้อมท่ีดี และต้องใช้ความอดทนเป็นอย่างมาก เพราะกว่าจะเห็นผลต้องใช้เวลานาน เปรียบด่ังการปลูก
ต้นไม้ ทจี่ ะต้องมกี ารเตรยี มดินให้ดี มีเมล็ดพนั ธ์ุท่ดี ี และตอ้ งเฝาู ดูแลรดน้าพรวนดิน เพ่ือให้ต้นไม้เจริญเติบโตขึ้นมา
ได้ ทุกอย่างต้องใช้เวลาและต้องดาเนินงานหลายส่วนไปพร้อมๆกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างนวัตกรรมในการ
ขับเคล่ือนประเทศ ขณะน้ีเราต้องกลับมาดูว่าส่ิงที่ผลิตกันอยู่เป็นนวัตกรรมหรือเป็นเพียงสิ่งประดิษฐ์เท่าน้ัน
เพราะนวัติกรรมท่ีถูกต้องจริงๆ ต้องสามารถขยายผลในเชิงพาณิชย์ได้” นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรฐศิลป์
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ กลา่ ว

“การศึกษาในยคุ Thailand 4.0 มีความหมายมากกว่าการเตรียมความพร้อมของคนหรือให้ความรู้กับคน
เท่านั้น แต่เป็นการเตรียมมนุษย์ กล่าวคือ นอกจากให้ความรู้แล้ว ต้องทาให้เขาเป็นคนท่ีรักที่จะเรียน มีคุณธรรม
และสามารถอย่รู ว่ มกนั ผอู้ ่นื ได้ดว้ ย นนั่ กค็ อื การสรา้ งคนใหม้ ที กั ษะในศตวรรษที่ 21 ในขณะเดียวกัน Thailand 4.0
คอื การพฒั นาประเทศให้มีความทันสมัย มีรายได้มากขึ้น และก้าวพ้นจากกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง โดย
จะตอ้ งผลิตนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อเป็นฐานในการพัฒนาประเทศ และต้องสามารถติดต่อค้าขายกับนานาประเทศได้
ด้วยการศึกษา จึงต้องเร่งดาเนินการปฏิรูปการศึกษาให้เด็กไทยก้าวสู่ Thailand 4.0 อย่างเป็นรูปธรรมในหลาย
ดา้ น...” (สพฐ., หนา้ 24)

ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 39

การศึกษา 4.0 สาหรับการศึกษาข้ันพื้นฐานคงต้องเร่งพัฒนาโรงเรียนและหลักสูตรที่เน้นการพัฒนาตาม
โมเดลประเทศไทย 4.0 สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มกับชุมชนและภาคประชาสังคม ภายใต้เงอื่ นไขความสาเร็จดงั ตอ่ ไปน้ี

- กาหนดเปาู หมายการจัดการศกึ ษาในระดับตา่ งๆ ใหช้ ัดเจน ทงั้ เชิงปรมิ าณและคุณภาพ
- จัดหลักสูตรระดบั ต่างๆ ใหต้ รงกับการ พัฒนาทักษะและสมรรถนะทีจ่ าเป็นสาหรบั Thailand 4.0
- จัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นการคิดวิเคราะห์ การลงมือปฏิบัติ พัฒนาทักษะและสมรรถนะครูใน

การจัดการเรยี นการสอน เพ่ือพัฒนาผเู้ รียนเขา้ สู่ Thailand 4.0
- จัดทาฐานข้อมูลกาลังคน เพื่อรองรับการทางานในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมและความต้องการของ

ตลาดแรงงาน
- มมี าตรการอดุ หนุนเงนิ การศึกษาใหก้ บั สถาบันที่จดั การศกึ ษาสาขาท่ีขาดแคลน และรองรบั Thailand 4.0

ดเิ รก พรสมี า (2560) ยงั เสนอข้อสงั เกตในการดาเนินนโยบายว่า ประเทศที่ผลักดันให้โรงเรียนในประเทศ
ของตนเปน็ โรงเรียน 4.0 จึงออกกฎหมายกาหนดใหภ้ าครัฐและเอกชนถือเป็นหน้าท่ีที่จะต้องส่งเสริมและสนับสนุน
การจดั การเรียนรู้ของเยาวชน สถานประกอบการของรัฐและเอกชน บริษัท ห้างร้าน พิพิธภัณฑ์ ฯลฯ จึงต้องจัดให้
มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องสาธิต และวิทยากรเพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนจากโรงเรียนต่างๆ ที่จะมาดูงาน มา
ศึกษา มาค้นคว้า มาหาความรู้ และมาทดลองที่สถานประกอบการโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย แต่ภาครัฐกาหนดให้สถาน
ประกอบการได้รับผลประโยชน์ตอบแทนในรปู แบบต่างๆ

6. ขอ้ สงั เกต ข้อคดิ คาคม
ส่ิงที่หลายคนมักเข้าใจผิด คือคิดว่า นโยบาย Thailand 4.0 หมายถึงการใช้เทคโนโลยีหรืออุตสาหกรรม

ใหม่ๆ เขา้ มาชว่ ยในการพฒั นาประเทศ ท้งั ทจี่ รงิ แลวมนั เปน็ แคส่ ่วนหน่ึงส่วนเดียวเท่าน้ัน อุดมการณ์และเปูาหมาย
ของนโยบายน้ีมุ่งเน้นเพื่อขับเคล่ือนประเทศให้ “ม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน” (พงศ์พิพัฒน์ บัญชานนท์, 2560) โดยเริ่ม
จากการพฒั นาผู้เรยี นเป็นสาคัญ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้นาประเทศในการขับเคล่ือนนโยบาย Thailand
4.0 เน้นย้าความสาคัญของผู้เรียนในยุคน้ีว่า “คนท่ีอยู่ในวัยกาลังศึกษาในวันน้ี ซึ่งจะเป็นผู้ท่ีอยู่ในยุคของ
Thailand 4.0 อย่างแทจ้ ริงในวนั ขา้ งหน้า” (สพฐ. 2560)

ดังนั้น ผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครู 4.0 จัดการเรียนการสอนได้สาเร็จก็จะกลายเป็น
ผู้บริหารโรงเรียน 4.0 และโรงเรียนที่สอนและบริหารโดยครูและผู้บริหาร 4.0 ก็จะกลายเป็นโรงเรียน 4.0 (ดิเรก
พรสีมา, 2560) ผู้เรียน 4.0 ก็จะกลายเป็น คนไทย 4.0 ในอนาคต การบริหารจัดการศึกษา 4.0 นั้นจึง
จาเป็นตอ้ งดาเนินไปทุกภาคสว่ น ขับเคลื่อนไปพร้อมกันท้ังกระบวนองคาพยพ เพราะหากส่วนหน่ึงไม่ขยับ ไม่ปรับ
ตาม หรือมีส่วนใดว่ิงไปเร็วเกินไป ก็จะเกิดการติดขัด ไม่พัฒนา แทนที่จะก้าวไปข้างหน้า อาจต้องหยุดชะงักหรือ
ถอยหลงั ซง่ึ แม้จะเปน็ ไปไดย้ าก แต่หากไม่รว่ มกนั ดาเนินการพัฒนาเลย คงจะกลายเป็น Thailand 0.4 ในไม่ช้า

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 40

เอกสารอา้ งองิ

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. การศึกษาไทย 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา. 20 กันยายน 2559. สืบค้นเมื่อ 3 เมษายน
2560 จาก http://www.dpu.ac.th/ces/upload/content/files/ศ_กิตติคุณ%20ดร_ไพฑูรย์%20สินลารัตน์%
20%20การศึกษาไทย%204_0%20%20วันที%่ 2024%20กนั ยายน%202559.pdf
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. สพฐ. สัญจรขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ.
2560.
สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙. 2560.
ดิเรก พรสมี า. ครไู ทย 4.0. มติชน ฉบับวนั ท่ี 4 พ.ย. 2559 (กรอบบา่ ย). สบื คน้ เมื่อ 4 เมษายน 2560 จาก
http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=46603&Key=news_research
พงศ์พพิ ฒั น์ บญั ชานนท์. วเิ คราะห์ ไทยแลนด์ 4.0: วิสยั ทัศน์ชาตทิ ่ียังขาดรายละเอียด. บีบีซี ไทย วันท่ี 6 มกราคม
2560. สบื คน้ เมอื่ 5 เมษายน 2560 จาก http://www.bbc.com/thai/thailand-38527250

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 41

ผูบ้ ริหาร 4.0 แรงบังดาลใจ ทันสมยั และทันที

สมพงศ์ วทิ ยศกั ดิพนั ธุ์*

1. จดุ เริม่ ของแนวคิดผูบ้ ริหารโรงเรยี น 4.0
เม่ือรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาได้ประกาศนโยบายแนวทางการพัฒนาประเทศตามแนว

ประเทศไทย 4.0 สิง่ หนึง่ ทีว่ งวิชาการและคนท่วั ไปมองเหน็ รว่ มกนั ว่าการจะนาพาประเทศไทยไปสู่การเป็นประเทศ
ที่พัฒนาแล้วและการเป็นประเทศไทย 4.0 ได้นั้น หัวใจสาคัญของการพัฒนาคร้ังนี้คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ท่ีจะทาได้ต้องผ่านการปฏิรูปการศึกษาเท่าน้ัน ด้วยตระหนักและเห็นพ้องตามความคิดเช่นน้ี รัฐบาลจึงได้ออก
ประกาศปฏิรูปการศึกษาด้วยการปรับองค์กรการศึกษา ด้วยการต้ังคณะกรรมการศึกษาจังหวัด (กศจ.) โดยมี
อานาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบ ดังนี้ (1) กาหนดยุทธศาสตร์ แนวทางการจัดการศึกษา และการส่งเสริม
สนับสนุนการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท ประสานและส่งเสริมการบริหารและการจัดการศึกษาของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน
องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบท่ี
หลากหลายในจังหวัด (2) พิจารณาและให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาการศึกษาของจังหวัด (3) พิจารณาและให้
ความเห็นชอบกรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและตัวชี้วัดในการดาเนินงานในลักษณะตัวช้ีวัดร่วมของส่วน
ราชการหรือหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในจังหวัด (4) เสนอความเห็นเก่ียวกับการ
บริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในจังหวัดต่ อคณะกรรมการขับเคล่ือนการปฏิรูป
การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการในภมู ภิ าค... (5) กากับ เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วน
ราชการหรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในจังหวัด (6) วางแผนการจัดการศึกษาใน
จังหวัดและพิจารณาเสนอแนะการจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษา (7) เสนอคณะกรรมการขับเคลื่อนการ
ปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในภูมภิ าคเพอ่ื แต่งตั้งคณะอนกุ รรมการและคณะทางานเพ่ือช่วยเหลือการ
ปฏิบัติงานของ กศจ. ได้ตามความจาเป็น (8) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามที่กฎหมายกาหนด หรือตามที่คณะกรรมการ
ขบั เคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภมู ิภาคมอบหมาย

เพ่ือให้การดาเนินเป็นไปตามแผนการปฏิรูปการศึกษา ได้มีประกาศยุบเขตพ้ืนที่การศึกษา ยกเลิกและ
แต่งต้ังคณะกรรมการด้านการศึกษาใหม่ เพื่อยกระดับการจัดการศึกษาของประเทศ จึงได้มีประกาศระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการตรวจราชการ การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา พ.ศ. 2560
โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์สาคัญได้แก่ เพอ่ื (๑) ชี้แจงนโยบาย ประสานงานและเร่งรัดให้ผู้รับการตรวจ นาแผนการศึกษา

*ครโู รงเรยี นกาเนิดวิทย์

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 42

แห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ไปจัดทา
แผนปฏิบัติราชการให้ครบถ้วน (๒) เพื่อติดตาม ประเมินผล และเสนอแนะการบริหารงบประมาณการจัด
การศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา แนวทางการจัดการศึกษา และคุณภาพมาตรฐานการศึกษา (๓) เพ่ือ
ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจัย ติดตามและประเมนิ ผลระดบั นโยบาย เพอื่ นิเทศใหค้ าปรึกษา เพือ่ การปรับปรุงพัฒนาแก่ส่วน
ราชการและหน่วยงานการศกึ ษา (๔) เพ่อื เร่งรัดติดตามความก้าวหน้า ความสาเร็จ ปัญหาอุปสรรค และเสนอแนะ
ในการปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏิบัติการ เป็นต้น นอกจากน้ียังกาหนดให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาดาเนินการให้มี
การติดตาม ประเมินผล และนิเทศการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการประจาปี พร้อมทารายงาน
เสนอพรอ้ มแจง้ ไปยงั เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาด้วย ประกาศดังกล่าวได้แสดงถึงความมุ่งมั่นของรัฐบาลที่มุ่งพัฒนา ปฏิรูป
การศึกษาให้เกดิ ขึน้ อย่างท่ัวถึงในทกุ ระดบั พรอ้ มกบั การปรับหลักสูตรใหม่โดยออกคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการเร่ือง
ให้ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 นอกจากนี้ สานักงานเลขาธิการคุรุสภาที่มีหน้าที่หลักในการ
พัฒนาวชิ าชพี ครูได้ตอบสนองนโยบายประเทศไทย 4.0 ของรฐั บาลดว้ ยการจัดการประชุมสัมมนาเรื่อง “ครูยุคใหม่
สร้างเด็กไทย 4.0” ทเี่ นน้ การพฒั นาครูตง้ั แตก่ ารผลติ การคดั เลือกบุคคลเขา้ สู่วชิ าชพี ครู การพัฒนาครู ท่ีคาดว่าจะ
มผี ลต่อการยกระดบั การเรยี นรขู้ องนักเรยี นเยาวชนคนไทยได้อย่างมีคุณภาพ

ผลสารวจของ Education Watch ของคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ กลุ่มประชากรตัวอย่างในงานวิจัยน้ีมีความ
คิดเห็นต่อการศึกษาไทยแบ่งออกได้เป็น 4 มิติ ได้แก่ 1) ด้านห้องเรียนและนักเรียน/นักศึกษาพบว่าดีข้ึน แต่
พฤติกรรมการเรียนด้อยลง 2) ด้านคุณภาพการสอนของครูดีขึ้นแต่ไม่มาก มิติท่ีน่าสนใจคือ 3) ด้านการบริหาร
สถานศึกษาและคุณภาพการบริหารโรงเรยี นส่วนใหญย่ งั เหมอื นเดิม เชน่ เดียวกับพฤติกรรมการทางานและคุณภาพ
ชีวิตของครู มิติสุดท้าย 4) ด้านการจัดการเชิงนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการพบว่าด้อยลง รวมไปถึงผลการ
ปฏิรูปการศึกษาโดยรวมก็ด้อยลงเช่นเดียวกัน เม่ือสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองเร่งด่วนที่ต้องการให้มีการ
เปล่ียนแปลงในทางทดี่ ีข้ึนตามลาดบั ดงั น้ี คือ 1) พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน 2) เร่ืองการแก้ไขการฉ้อราษฎร์
บังหลวง 3) คุณภาพชีวิตของครู 4) พฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา/คุณภาพของการบริหารของผู้บริหาร
สถานศึกษา

แม้ว่า Education Watch จะจัดลาดับความสาคัญเรื่องการบริหารและคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษา
ไว้เปน็ ลาดบั ที่ 4 แตใ่ นทางเปน็ จริงแล้ว ผู้บริหารสถานศกึ ษาคอื หัวจักรสาคญั ที่จะกาหนดทิศทาง เปูาหมาย วิธีการ
ดาเนินงาน หลักสูตร การจัดการเรียนรู้ภายในสถานศึกษา การวัดประเมินผล รวมไปถึงการบริหารครู บุคลากร
ทางการศึกษา การจัดสรรงบประมาณ และการดาเนินงานโดยภาพรวมของโรงเรียน ผู้บริหารสถานศึกษาท่ีดีจะ
สามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การทางานร่วมกัน การผลักดันและขับเคลื่อนการศึกษาเพื่อประโยชน์สูงสุด
ของผเู้ รียนได้

ในสถานการณ์ปัจจุบันเมื่อรัฐบาลได้ประกาศนโยบายขับเคลื่อนประเทศด้วยโมเดลประเทศไทย 4.0
แนน่ อนว่าผูท้ ี่จะกา้ วเข้ามามีบทบาทสาคัญในการสร้างเยาวชนคนคุณภาพให้เป็นเยาวชนไทย 4.0 ท่ีสอดคล้องกับ

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 43

การพัฒนาประเทศตามแนวคิดน้ีก็คือ ผู้บริหารสถานศึกษาท่ีจาเป็นต้องปรับเปล่ียนตนเองสู่การเป็นผู้บริหาร 4.0
ให้ได้เพื่อให้บรรลุเปูาหมายประเทศไทย 4.0 ร่วมกัน คุณลักษณะของผู้บริหารดังกล่าวน้ีถือเป็นเร่ื องใหม่ท่ี
จาเป็นต้องเรียนรู้ผ่านกระบวนการศึกษาวิจัยด้วยการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของความเป็นผู้นาหรือผู้บริหารท่ีดีจาก
ประสบการณ์ของผู้บริหารที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารในยุค 3.0 ผู้บริหารในยุคศตวรรษที่ 21 ปรับเปลี่ยนมาสู่
ผบู้ ริหาร 4.0 ทมี่ ุ่งตอบสนองการพัฒนาประเทศไทย 4.0

บทความช้ินนี้มุ่งนาเสนอแนวคิดเก่ียวกับผู้บริหาร 4.0 ที่เป็นตัวจักรและกลไกสาคัญในการขับเคล่ือน
การศึกษา 4.0 เพ่ือตอบสนองนโยบายประเทศไทย 4.0 ว่าผู้บริหารยุคนี้ควรหรือต้องมีคุณลักษณะอย่างไรจึงจะมี
ศกั ยภาพในการแปรฝนั จินตนาการของรฐั บาลสร้างประชาชนคนไทยใหเ้ ปน็ คนไทย 4.0 ใหเ้ ปน็ จริงข้นึ มาได้
2. พัฒนาการของคณุ ลักษณะของผู้บริหารโรงเรยี น 4 ยคุ

ศาสตรด์ ้านการบรหิ ารสถานศึกษาเกิดข้ึนมาพร้อมกับโรงเรียนและได้รับการพัฒนาสืบสานต่อมายาวนาน
ตั้งแต่โรงเรียนยุคแรกมีครูใหญ่ ครูน้อย จนกลายเป็นผู้อานวยการโรงเรียนท่ีทาหน้าที่บริหารโรงเรียนขนาดใหญ่
ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ศาสตร์แห่งการบริหารได้เปลี่ยนแปลงพัฒนาไปตามองค์ความรู้สมัยใหม่และการ
เปล่ียนแปลงของสังคม ต้ังแต่เป็นศาสตร์แห่งบุคลากรทางการศึกษา มาเป็นศาสตร์แห่งผู้นาทางการศึกษาที่
ผสมผสานเอาศาสตร์ของการปกครอง รัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารรัฐกิจ และการบริหารจัดการด้านธุรกิจมา
รวมไว้ด้วยกัน เมื่อการศึกษาได้ขยายตัวออกไปมาก มีสถานศึกษาเพิ่มมากขึ้น ความต้องการผู้นาด้านการบริหาร
จัดการสถานศกึ ษามมี ากขึ้น จึงทาให้มีการเปิดการเรียนการสอนด้านการบริหารการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาโท-
เอกอยู่แทบทุกสถาบันอุดมศึกษา ผลของการจัดการศึกษาด้านนี้ทาให้เกิดองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการ
สถานศึกษามากข้ึน รวมไปถึงการจัดการสอบผู้บริหารสถานศึกษา ทาให้เกิดการฝึกอบรมหลักสูตรผู้บริหาร
สถานศกึ ษาท้งั กอ่ นและหลงั การสอบ

ผอู้ านวยการสถานศึกษา (ผอู้ านวยการโรงเรยี น หรอื ผู้อานวยการ) เป็นหัวใจสาคัญสถานศึกษาเพราะเป็น
ผ้นู าท่จี ะทาให้โรงเรยี นมีหลกั สูตร มกี ระบวนการเรียนรู้ท่ีดี มีครูปฏิบตั ิงานอย่างทุ่มเทตามอุดมการณ์เปูาหมายของ
โรงเรียน และมีการจัดการบริหารบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนงบประมาณที่ส่งผลให้เป็นไปตามอุดมการณ์
เปูาหมายของโรงเรียน เป็นจุดเช่ือมระหว่างผู้ปกครองของนักเรียนและชุมชน สามารถเชื่อมประสานระหว่างรัฐ
เอกชน ผูป้ กครอง และชมุ ชนไดอ้ ยา่ งดี

ความเปล่ียนแปลงของโลกยุคใหม่โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังยุคโลกภิวัตน์ได้ก่อให้เกิดการปรับเปล่ียนหลาย
ด้านท้ังด้านสังคมการเมืองการปกครองท่ีเน้นเร่ืองของประชาธิปไตยหลากหลายแบบ ทั้งประชาธิปไตยแบบเสรี
ประชาธิปไตยแบบสังคมนิยม และประชาธิปไตยอ่ืน ๆ ด้านเศรษฐกิจที่เน้นเร่ืองของเศรษฐกิจการค้าเสรีที่มีการ
เคล่ือนย้ายทุนและปัจจัยการผลิตไปสู่ประเทศท่ีกาลังพัฒนา ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีก่อให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงวิถีชีวิต วิธีคิด และสร้างวัฒนธรรมแบบใหม่ ส่งผลกระทบต่อทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ

ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 44

การค้า และสังคมวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีผลสะเทือนอย่างใหญ่หลวงต่อระบบการศึกษา ศาสตร์ของการ
บริหารสถานศึกษากเ็ ชน่ เดยี วกัน ไดร้ ับผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงดังกล่าวอยา่ งหลีกเลี่ยงไม่ได้

ช่วงท่ีผ่านมาได้มีการศึกษาคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาไว้หลายแง่มุมในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน
เพือ่ ให้งา่ ยต่อความเขา้ ใจ ในที่นจ้ี ะขอเรียกผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้อานวยการโรงเรียนว่าผู้บริหารโรงเรียน และ
แบ่งคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนออกเป็น 4 ยุค ได้แก่ 1) ผู้บริหารโรงเรียนยุคก่อนปฏิรูปการศึกษา 2)
ผู้บริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา 3) ผู้บริหารโรงเรียนยุคศตวรรษท่ี 21 และ 4) ผู้บริหารโรงเรียนยุคประเทศ
ไทย 4.0

2.1 ผู้บรหิ ารโรงเรยี นในยคุ ก่อนปฏิรูปการศึกษา
ผู้บรหิ ารโรงเรียนในยุคนม้ี ีการข้อกาหนดที่เป็นลักษณะเฉพาะ ผู้บริหารสถานศึกษามีคุณลักษณะของผู้นา
ในองค์กรแบบท่ัวไปที่มุ่งสัมฤทธิผลเน้นด้านการบริหารบุคคล ภาวะความเป็นผู้นา มากกว่าจะเน้นไปที่การพัฒนา
องค์กรให้โดดเด่น มั่นคง และประสิทธิภาพด้านการบริหารวิชาการ ดังเช่นคุณสมบัติ 8 ประการ ดังน้ี
(http://kruvoice.com/8-คณุ สมบัตขิ องที่จะมาเ/)
1. รักในงานบรหิ ารอยา่ งจรงิ จัง
2. มอี ดุ มการณแ์ ละเปาู หมายในการทางาน
3. มีภาวะผนู้ า
4. กล้ารบั ผิดชอบ
5. สร้างขวัญและกาลังใจ เข้าใจจติ วทิ ยาการบริหาร
6. เป็นนักพฒั นา
7. มเี ปาู หมายทีจ่ ะพฒั นาเดก็ อย่างจรงิ จัง
8. เห็นผลประโยชนข์ องนักเรยี นเปน็ หลัก
จะเห็นได้ว่าคุณลักษณะดังกล่าวน้ีส่วนใหญ่เป็นลักษณะเฉพาะบุคคลไม่ว่าจะเป็นการรักในงานบริหาร มี
อุดมการณ์และเปูาหมายในการทางาน กล้ารับผิดชอบ รวมไปถึงความเป็นผู้นาหรือการเป็นนักพัฒนา ทั้งหมดนี้
เป็นคณุ สมบตั ิท่คี นทั่วไปมีอยู่ประจาตวั ได้โดยไม่ต้องเป็นผู้อานวยการสถานศึกษา แม้แต่สองข้อหลังที่มุ่งประโยชน์
ของผู้เรยี นด้วยเปูาหมายพฒั นาเดก็ อย่างจริงจงั ก็เปน็ คณุ ลักษณะของครูโดยทวั่ ไปเชน่ เดยี วกัน
อยา่ งไรก็ตาม เมื่อสภาพสังคมเปล่ียนแปลงไป กระทรวงศึกษาธิการได้ปรับเปล่ียนการคัดเลือกผู้ที่จะเป็น
ผู้อานวยการสถานศึกษาโดยได้กาหนด “สมรรถนะ หรือ ขีดระดับความสามารถ” เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งน้ีเป็นผลมาจากเกิดการปฏิรูปการศึกษาและผู้ท่ีจะต้องเข้ามามี
บทบาทในการปฏิรูปการศึกษาได้ดีน้ันต้องเร่ิมจากผู้บริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งมีความรู้ความเข้าใจและมี
ความสามารถในการบรหิ ารอย่างครอบคลุม ทงั้ ด้านการศึกษา บุคลากร งบประมาณ และงานทั่วไปได้อย่างดี ด้วย

ปีท่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 45

เหตนุ ี้เองจงึ ไดม้ กี ารกาหนดแนวทางในการคัดเลือกและการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขึ้นมาใหม่เพ่ือให้
สอดคลอ้ งกบั สถานการณส์ ถานการณ์ เปูาหมาย และอุดมการณท์ างการศึกษาใหม่ในยุคท่เี รยี กวา่ ปฏิรปู การศึกษา

2.2 ผู้บริหารโรงเรยี นยุคปฏิรปู การศกึ ษา
ความคาดหวังต่อผู้บริหารโรงเรียนในยุคน้ีแตกต่างกับยุคก่อนมากเพราะกระทรวงศึกษาธิการมีความ
คาดหวังสูงกับผู้บริหารโรงเรียนว่าจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ มีผลการปฏิบัติงานดี มีความเป็นผู้นาใน
การขับเคลื่อนการปฏริ ูปการศึกษาตามนโยบายและทิศทางของกระทรวงศึกษาธิการไปสู่การปฏิบัติระดับโรงเรียน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้กาหนดเป็นกระบวนการต้ังแต่การคัดเลือกผู้ท่ีเหมาะสมทั้งด้านคุณวุฒิ วัยวุฒิ
ประสบการณ์ ภาวะผู้นา ดว้ ยข้อสอบและผลการประเมนิ การปฏบิ ัติงานที่ผ่านมา เมื่อผ่านการคัดเลือกแล้วต้องเข้า
สูก่ ระบวนการพัฒนากอ่ นปฏิบตั ิงานจริง เพื่อใหไ้ ด้ 3 คุณลักษณะทสี่ าคญั ดังต่อไปนี้
1) คุณลักษณะผูบ้ รหิ ารโรงเรียนพึงประสงค์ ประกอบด้วย รัก ศรัทธา ภาคภูมิใจในศักด์ิศรีและเกียรติภูมิ
ของความเป็นผู้อานวยการโรงเรียน มุ่งม่ันในการบริหารจัดการหลักสูตรและการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
สร้างวฒั นธรรมคุณภาพและวัฒนธรรมประชาธปิ ไตยในการปฏิบัติงานโดยกระบวนการมีส่วนร่วม มีวินัย คุณธรรม
จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี มบี ุคลิกภาพทีเ่ หมาะสมกับการเป็นผู้อานวยการสถานศึกษา
2) ภาวะผู้นาทางวิชาการ ประกอบด้วย ความเป็นผู้นาทางวชิ าการและสามารถส่งเสริมให้ครูและบุคลากร
ทางการศึกษามภี าวะผ้นู าทางวิชาการ มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับปรัชญาการศึกษาของชาติและหลักการจัดการ
เรียนรู้ สามารถบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สามารถจัดระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา สามารถสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ให้
ความสาคัญและส่งเสริมให้มีการวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา สามารถบริหารจัดการสถานศึกษาเป็นองค์กร
แห่งการเรียนรู้ สามารถจูงใจให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุ่มเทความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานให้เกิด
ประสทิ ธิภาพสูงสดุ สามารถใช้ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่ือสาร
3) การบริหารและการจัดการในสถานศึกษา ประกอบด้วย ความสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย
ภารกิจของโรงเรียนและบทบาทหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบของผูบ้ ริหารโรงเรียน สามารถวางแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้อง
กับบริบทของโรงเรียน สามารถตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูลและหลักการได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม สามารถ
ประยกุ ตใ์ ช้ หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการโรงเรียน สามารถบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษาให้เกิด
ความคุ้มค่า สามารถบริหารจัดการระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียน สามารถส่งเสริมสนับสนุนให้ข้าราชการ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาแสดงความสามารถในทางวิชาการ สามารถบริหารจัดการระบบภาคีเครือข่ายการ
พัฒนาโรงเรียน สามารถนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผล สามารถวิเคราะห์กฎหมาย กฎ ระเบียบ
หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารที่เกี่ยวขอ้ งกับการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีผู้อานวยการโรงเรยี น

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 46

เพอื่ ให้ผู้บริหารโรงเรยี นมคี ณุ ลกั ษณะข้างต้น กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดข้ันตอนการพัฒนาสมรรถนะ
ทดลองงานเป็นเวลา 1 ปี ก่อนท่ีจะได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานได้จริง และกาหนดการประเมินให้เป็นไปตาม
กรอบมาตรฐานและตวั ช้ีวดั ข้อตกลงในการทางานท่ไี ดท้ าไว้กบั สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา

ความคาดหวังต่อผูบ้ ริหารโรงเรยี นในยุคปฏิรปู การศึกษาเป็นไปค่อนข้างสูง เพราะคาดหวังว่าผู้อานวยการ
โรงเรยี นพงึ มี (1) คณุ ลกั ษณะ และ (2) ทกั ษะและกระบวนการบริหาร ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) คณุ ลักษณะท่ดี ี 6 ประการ ได้แก่
1) มีอดุ มการณ์ ตอ้ งการเป็นผบู้ รหิ ารที่ดี เพอ่ื พฒั นาชาติด้วยการศึกษา
2) ตั้งใจ จรงิ ใจ เสยี สละ มุ่งทางานเรียบร้อย มีคุณภาพ รวดเร็ว คล่องตัว เป็นระบบแบบแผน รับผิดชอบ

ไมย่ อ่ ทอ้ ตอ่ อุปสรรคเพื่อเปาู หมายท่ีคาดหวงั
3) มคี ณุ ธรรมและเมตตาธรรม ซอ่ื สตั ยย์ ุติธรรม เสมอภาค มีความจรงิ ใจกบั เพือ่ ร่วมงาน มีจติ อาสา
4) มีอารมณ์ จติ ใจดี ม่ันคงทางอารมณ์และจติ ใจ สภุ าพ เขม้ แขง็ ชดั เจน ม่นั คง ร้จู ักกาลเทศะ
5) อ่อนน้อมถอ่ มตน ใหเ้ กียรติและมสี มั พนั ธท์ ่ดี ีผใู้ ต้บังคบั บัญชา รวมถงึ ผู้ปกครอง และ

ชมุ ชน
6) รกั ความก้าวหนา้ ใฝใุ จเรียนรู้ และใหค้ วามสาคัญต่อการมสี ว่ นรว่ ม ร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้

(2) ทักษะและกระบวนการบรหิ าร 8 ประการ ไดแ้ ก่
1) มีทักษะการบริหารเชิงกลยุทธ์ สามารถในการบริหารจัดการภายใต้สภาวการณ์จากัดได้อย่างมี

ประสทิ ธภิ าพ วางแผนแบบมีส่วนร่วมเพ่ือตอบสนองนโยบายและทิศทางการศึกษา บริหารแผนสู่การปฏิบัติอย่างมี
ประสิทธภิ าพและสัมฤทธผิ ล

2) มีทักษะในการจัดการความเส่ียง วิเคราะห์ปัญหา ทางแก้ไข และดาเนินการแก้ไขสู่การพัฒนาทาง
การศกึ ษา ภายใตข้ ้อมลู ท่ีถูกต้องชดั เจน

3) มีทักษะการตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลพื้นฐาน อย่างมีสติและมีเหตุผล ช้ีแจงได้ รับฟังความคิดเห็นของผู้ที่
เกยี่ วขอ้ ง และรบั ผดิ ชอบตอ่ การตัดสินใจ

4) มีทักษะในการผู้นาทางวิชาการ การบริหารหลักสูตรของโรงเรียน การจัดการเรียนการสอน การนิเทศ
การติดตาม และประเมนิ ผล การวจิ ัย การพฒั นาสือ่ นวัตกรรม และมที ักษะภาษาอังกฤษและทกั ษะทางเทคโนโลยี

5) มีทักษะการคิดริเร่ิมสิ่งใหม่อย่างสร้างสรรค์ การพัฒนานวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาในบริบทของโรงเรียนและตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

6) มีทักษะการบริหารคน ทั้งใส่ใจ ใช้ความรู้ มีเทคนิคในการบริหาร มีจิตวิทยา สร้างแรงจูงใจ ให้เกียรติ
เช่ือถือ ไว้วางใจ ส่งเสริม พัฒนา ให้ทางานตรงกับความรู้ความถนัด บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล สร้างขวัญ
และกาลงั ใจแกค่ รแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

7) มีความยืดหยนุ่ และปรบั ตวั ทนั การเปลี่ยนแปลงในยคุ โลกาภิวตั น์


Click to View FlipBook Version