The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ces.dpu, 2020-03-14 13:51:47

CES Journal Vol.5 No.9

วารสารวิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ปที ี่ 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 47

8) มีทกั ษะในการสร้างเครือขา่ ย ประสานงานกบั ภาคีเครือขา่ ยเพอื่ ความร่วมมือในการจัดการศึกษา
ขัน้ ตอนสุดทา้ ยของการพัฒนาผู้อานวยการโรงเรยี นคอื การประเมินสมรรถนะ โดยประเมินจากสัมฤทธิผล
การปฏบิ ัตงิ านตามขอ้ ตกลงปฏบิ ัติงาน มีการประเมิน 2 ครัง้ จากสมั ฤทธิผลการปฏบิ ตั ิงานที่ 5 ด้าน ดงั น้ี
(1) ด้านนักเรียน พิจารณาจาก 1) ความสามารถในการอ่านการเขียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ภาษาไทย 2) ผลงานหรือรางวัลที่เกิดจากการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา 3) ผลการเรียนรู้เฉล่ีย 5
กลุม่ สาระการเรยี นรู้
(2) ด้านผู้บริหาร ได้แก่ 1) ผลงานหรือรางวัลท่ีเกิดจากการบริหารจัดการของผู้บริหารโรงเรียน 2) การ
บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 3) การบริหารงบประมาณและการระดมทรัพยากรและการลงทุนจากภาคี
เครือขา่ ย หรือภาคประชาสงั คมมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา
(3) ดา้ นครู ดจู าก 1) ผลงานหรือรางวัลที่เกิดจากการบริหารจัดการของผู้บริหารโรงเรียน 2) การส่งเสริม
ใหค้ รแู ละบุคลากรไดร้ บั การพฒั นาทางวชิ าชีพ
(4) ด้านผู้รบั บริการ พจิ ารณาจากการมีสว่ นรว่ มของสถานศึกษากับผปู้ กครองและชุมชน
(5) ด้านการสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการหรือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
(สพฐ.) พิจารณาจาก 1) อัตราการเกณฑ์เด็กเข้าเรียนหรือการรับนักเรียนตามแผนการรับนักเรียน 2) อัตรา
การศึกษาต่อของนักเรียน 3) การดาเนินการตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและหรือสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

2.3 ผ้บู ริหารโรงเรยี นยคุ ศตวรรษท่ี 21
สังคมโลกเปล่ียนแปลงไปมากในยุคโลกาภิวัตน์ แต่การเปล่ียนแปลงยังไม่หนักหน่วงเท่ากับการ
เปล่ียนแปลงของยุคศตวรรษท่ี 21 ท่ีได้รับผลกระทบอย่างใหญ่หลวงจากการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของ
เทคโนโลยีสารสนเทศอันนาไปสู่ยุคข้อมูลข่าวสารท่ีมนุษย์ต้องปรับเปล่ียนพฤติกรรมอย่างมหาศาลท้ังด้านวิธีคิด
ชีวิตความเป็นอยู่ ด้านสังคม การเมือง เศรษฐกิจการค้า และวัฒนธรรมแบบใหม่แห่งยุคสมัย ทาให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงด้านระบบการศึกษาทั้งแนวคิดและแนวปฏิบัติ ดังท่ีชัยยนต์ เพาพาน ได้ศึกษาวิจัยและแบ่งหมวดหมู่
คณู ลกั ษณะของผู้บริหารโรงเรียนในยุคนี้ไว้อย่างน่าสนใจ โดยมองว่าผู้บริหารสถานศึกษาไม่เพียงแต่เป็นกลไกและ
ตวั แปรสาคัญ แต่ยงั มีอทิ ธพิ ลสูงสุดในด้านคุณภาพการศึกษา ดังน้ันผู้บริหารโรงเรียนในยุคศตวรรษท่ี 21 จึงต้องมี
คุณลักษณะโดดเด่นทั้งด้านความรู้เชิงทฤษฎี ทักษะ บทบาทหน้าท่ี คุณธรรม และประสบการณ์การบริหาร
การศึกษาเพอ่ื จะทาให้สามารถตอบสนองต่อการแข่งขนั ทันสมัย และเหมาะสมกบั การเปลยี่ นแปลง
องคป์ ระกอบคณุ ลักษณะทสี่ าคัญของผบู้ ริหารโรงเรยี นยคุ น้ีมดี ้วยกัน 4 องค์ประกอบใหญ่ ดงั นี้

องคป์ ระกอบที่ 1 ดา้ นคณุ ลักษณะ ผ้บู ริหารโรงเรยี นควรเปน็ /มีดงั นี้

ปที ่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 48

1. นกั สรา้ งสรรค์ (Creative)
2. นกั การสอ่ื สาร (Communicator)
3. นักคดิ วิเคราะห์ (Critical Thinker)
4. สรา้ งชุมชน (Builds Community)
5. วสิ ยั ทัศน์ (Visionary)
6. การสร้างความรว่ มมือและการติดต่อ (Collaboration and Connection)
7. มีพลงั เชิงบวก (Positive Energy)
8. มคี วามม่ันใจ (Confidence)
9. ความมงุ่ ม่นั และความพากเพยี ร (Commitment and Persistence)
10. ความเตม็ ใจทจี่ ะเรียนรู้ (Willingness to learn)
11. นกั ประกอบการ คดิ สรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Entrepreneurial, Creative and Innovative)

ต้องพัฒนาโรงเรยี นเปน็ องค์การประกอบการ (entrepreneurial organization)
12. เชอื่ มนั่ ในสญั ญาตญาณแหง่ ตน (Intuitive)
13. ความสามารถในการสรา้ งแรงบันดาลใจ (Ability to Inspire)
14. อ่อนนอ้ มถ่อมตน (Be Humble)
15. ตวั แบบทีด่ ี (Good Model)
จะเห็นได้ว่าคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนยุคศตวรรษที่ 21 แตกต่างไปจากยุคปฏิรูปการศึกษา
มาก ที่ไม่เพียงแต่การมีวิสัยทัศน์ ความสามารถทางวิชาการ การสื่อสาร และเทคโนโลยี เท่าน้ัน แต่ยังเพิ่ม
คุณลักษณะด้านการเป็นนักริเริ่มสร้างสรรค์และผู้ประกอบการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการเป็นนักสร้างพลังและ
แรงบันดาลใจเชงิ บวก ตวั แบบท่ดี ี และการสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ตามแนวคิดยุคศตวรรษท่ี 21 อย่างแทจ้ ริง
องค์ประกอบท่ี 2 ดา้ นทักษะ ผู้บรหิ ารโรงเรยี นพึงมีทกั ษะดังต่อไปน้ี
1. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ และการคิดสร้างสรรค์ (Critical and creative thinking skill)
2. ทักษะการแก้ปญั หา (Problem solving skill)
3. ทกั ษะการสอื่ สาร (Communication skill)
4. ทักษะทางเทคโนโลยีและการใช้ดจิ ติ อล (Technological and digital literacy skills)
5. ทักษะด้านการบริหารองคก์ าร (Organizational management skill)
6. ทักษะการบริหารงานบุคคล (Personal management skill)
7. ทกั ษะทางานเปน็ ทีม (Teamwork skill)
8. ทกั ษะดา้ นนวตั กรรมเพือ่ การเรยี นรู้ (Learning innovation skill)
9. ทกั ษะการกาหนดทศิ ทางองค์กร (Setting instructional direction skill)

ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 49

10. ทักษะการรบั รู้ไว (Sensitivity skill)
11. ทักษะการปรับตวั (Adjustment skill)
12. ทกั ษะมุง่ ผลสัมฤทธ์ิ (Results orientation skill)
13. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal skill)
14. ทกั ษะคณุ ธรรมจรยิ ธรรม (Ethical-moral skills)
ทักษะดงั กล่าวนเ้ี ปน็ ทักษะทีส่ รา้ งเสรมิ คณุ ลกั ษณะในองค์ประกอบท่ี 1 และเป็นทักษะท่ีสาคัญและจาเป็น
สาหรับผู้บรหิ ารโรงเรียนยคุ นีอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ
องค์ประกอบท่ี 3 ด้านบทบาท
ในยุคศตวรรษท่ี 21 ได้มีการศึกษาวิจัยบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารโรงเรียนไว้เป็นจานวนมาก งานวิจัย
เหล่าน้ีสามารถสรุปบทบาทของผู้บริหารโรงเรียนไว้หลากหลายแนวและน่าสนใจมาก โดยมีจุดเน้นที่แตกต่างกับ
บทบาทของผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นในยุคก่อนหน้านอี้ ย่างเห็นไดช้ ดั เชน่ ผู้บรหิ ารโรงเรียนมหี นา้ ท่ี ดงั นี้
1. ทาให้นักเรียนทุกคนมีวิสัยทัศน์หรือมีฝันท่ีจะประสบความสาเร็จทางวิชาการได้ เพ่ือเป็นแรงผลักดัน

มุ่งผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียน
2. กากับดูแลการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีอบอุ่นเป็นกันเอง ยึด

ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง สร้างผู้เรียนให้มีวินัย ออกแบบหลักสูตร จัดการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ
เพ่ือให้มีความรู้ ทักษะ และอาชีพเพื่ออนาคต และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธิผลมากยง่ิ ขึน้ ให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงของสงั คม
3. เป็นผู้นาที่มีประสิทธิภาพ เป็นแบบอย่างของผู้นาท่ีดี และสร้างภาวะผู้นาให้กับครู เจ้าหน้าท่ี และ
ผรู้ ่วมงานทุกคน
4. บริหารบุคคลด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศท่ีผ่านการวิเคราะห์ ประเมินผลการปฏิบัติงานของครู
และบุคลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษาทุกคน
5. สรา้ ง พัฒนาโครงการ นาไปปฏบิ ตั ิ และประเมนิ โครงการต่าง ๆ
6. สร้างแรงบนั ดาลให้กับนกั เรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ คน
7. ส่งเสริมใหค้ รูและนกั เรียนใช้เคร่ืองมอื ดิจิทลั อยา่ งมีประสิทธิผล ต่อเน่ือง โดยสนับสนุนการเรียนรู้ด้วย
สร้างโครงสรา้ งพื้นฐานเพ่อื การใช้เคร่อื งมือดจิ ทิ ลั อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
8. ส่งเสริมให้ครูมีส่วนร่วมในการกาหนดยุทธศาสตร์ของหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวิจัยทาง
การศึกษา การเปิดโอกาสใหช้ มุ ชนเข้ามามสี ่วนรว่ มในการกาหนดหลกั สตู ร
สรุปไดว้ า่ บทบาทหนา้ ท่ขี องผ้บู รหิ ารโรงเรยี นยุคศตวรรษที่ 21 มีบทบาทสาคัญตอ่ โรงเรียน หลักสูตร การ
จัดการศึกษา การสร้างความเป็นผู้นาให้กับทุกคน เปิดโอกาสให้ทุกคน รวมไปถึงชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการ
กาหนดยุทธศาสตรก์ ารศึกษา หลักสูตร การจดั การเรียนรู้ การเนน้ ผ้เู รียนเปน็ ศูนย์กลาง การสง่ เสริมการเรียนรู้ด้าน

ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 50

ดิจิทัล เท่าทันการเปล่ียนแปลงของสังคม การศึกษายุคนี้ไม่เพียงแต่ให้ความรู้ทางวิชาการ แต่ให้ความรู้ประกอบ
อาชีพไดอ้ กี ด้วย

องค์ประกอบท่ี 4 ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม
สภาพของสงั คมยุคศตวรรษที่ 21 มีแนวโนม้ เป็นสังคมปัจเจกบุคคล กล่าวคือ มีวิถีชีวิตแบบต่างคนต่างอยู่

เหมือนกับไม่ได้มีการพ่ึงพาอาศัยกัน เน้นการตัดสินผิดถูกด้วยกฎหมาย มักละเลยเรื่องของวัฒนธรรม ศาสนา
อารมณ์ความรู้สึก หรือวิถีปฏิบัติท่ีสืบทอดกันมา ผู้บริหารโรงเรียนผู้เป็นแบบอย่างของผู้นาท่ีเป็นต้นแบบสาหรับ
นักเรียนจาเป็นต้องมีคุณธรรมจริยธรรม ทั้งด้านวัตรปฏิบัติ และด้านการบริหารจัดการ ในฐานะตัวแทนหรือ
ตน้ แบบทางดา้ นคุณธรรมและจริยธรรม ผบู้ ริหารโรงเรียนพึงให้ความสนใจพัฒนาให้บุคลากรและนักเรียนทุกคนใส่
ใจเรือ่ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมอยา่ งมาก เพ่ือสร้างความน่าเช่อื ถือศรัทธาในตัวผู้บริหารโรงเรียนในฐานะผู้นาและบุคคล
ตน้ แบบ และตอ้ งทาใหท้ กุ คนเหน็ ความสาคัญของการมีคุณธรรมจรยิ ธรรมเพ่ือสรา้ งสังคมท่สี นั ตสิ ุข มีความยุติธรรม
เป็นธรรม และเสมอภาพรว่ มกันต่อไป

จะเหน็ ได้วา่ ผู้บริหารโรงเรยี นยคุ ศตวรรษท่ี 21 เนน้ ความรคู้ วามสามารถทักษะ และประสบการณ์ทางการ
บริหารการศึกษา 4 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณลักษณะ ด้านทักษะ ด้านบทบาท และด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยมุ่งให้
เป็นผู้นาทเี่ ท่าทนั การเปลยี่ นแปลงยคุ เทคโนโลยีสารสนเทศ/ยคุ ดจิ ิทัล ผูส้ ร้างแรงบันดาลใจ ปรับเปลี่ยนการจัดการ
เรยี นร้ทู ผ่ี ู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลาง เปิดโอกาสใหค้ รู บคุ ลาการทางการศึกษา และชุมชนเขา้ มีส่วนรว่ มในการศึกษา

2.4 ผูบ้ ริหารโรงเรียน 4.0
การศึกษา 4.0 จะดาเนินเดินไปได้ดีจะต้องมีผู้บริหารโรงเรียน 4.0 เข้ามาเป็นตัวจักรสาคัญในการ
ขับเคลื่อนเพ่ือสร้างและพัฒนาศักยภาพของคนไทย 4.0 ขณะนี้เป็นเพียงเบ้ืองต้นของการขับเคล่ือนประเทศไทย
4.0 และการศึกษา 4.0 ภาพของผู้บริหารโรงเรียน 4.0 ยังเลือนลางขาดความชัดเจน เพ่ือให้เกิดความเข้าใจถึ ง
บทบาทหน้าที่ คุณลักษณะ ทักษะ ความรู้ของผู้บริหารโรงเรียน 4.0 ในท่ีน้ีขอเร่ิมจากภาคธุรกิจท่ีให้ภาพของผู้นา
ในยุค 4.0 ว่าจะต้องมีลักษณะโดดเด่นเป็นไปตามยุคที่การเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนอย่างฉับพลันและรุนแรง
(Disruption) 4 ประการ ดังนี้
1. ความถอ่ มตัว (Humble) หรือความถอ่ มตัวทางปัญญา (Intellectual Humility) เพื่อแสวงหาความรู้

ใหมไ่ ดต้ ลอดเวลา มีความใฝุรูใ้ ฝุเรยี น
2. การปรับตัว (Adaptable) พร้อมท่ีจะปรับเปล่ียนไปตามสถานการณ์ท่ีผันผวนแปรเปล่ียนอย่าง

รวดเร็ว
3. การมีวิสัยทศั น์ (Visionary) มองเห็นแนวโน้มทีจ่ ะเกิดอนาคตของธุรกจิ และของโลก
4. การมีสว่ นรว่ ม (Engaged) ทางานอย่างมุง่ มน่ั ตง้ั ใจ เกาะตดิ และรกั ในส่งิ ทที่ า
ไม่เพียงแตเ่ ทา่ น้ัน ผู้บริหาร 4.0 ยังต้องมพี ฤติกรรมทสี่ าคัญอกี 3 ประการ คือ
1. ต่ืนตัวอยู่เสมอ (Hyperawareness) เพอื่ ติดตามการเปล่ยี นแปลงภายนอกภายในองคก์ รตลอดเวลา

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 51

2. ตดั สนิ ใจบนฐานข้อมูลความรู้ (Making Informed Decisions) ใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการตัดสินใจ
3. ทางานดว้ ยความรวดเร็วแข่งกับเวลา (Executing at Speed) การเคล่ือนไหวและตัดสินใจได้รวดเร็ว

มากกว่าความสมบูรณ์
ลักษณะของผู้นาในยุคประเทศไทย 4.0 ท่ีน่าสนใจและมีลักษณะเพิ่มเติมมาจากความเป็นผู้นาในยุค
ศตวรรษที่ 21 มลี ักษณะดงั น้ี (https://prezi.com/tht4bzdgw9kg/40/)
1. เปล่ยี นจากการใช้คาส่งั มาเป็นการสรา้ งการมสี ่วนร่วม ผูน้ าแบบมีส่วนรว่ ม (Participative Leadership)
2. เปลย่ี นจากการควบคมุ สกู่ ารสร้างแรงบันดาลใจ
3. เปลย่ี นจากการออกคาสงั่ เปน็ การถามให้ใชค้ วามคิด
4. เปลี่ยนจากการม่งุ แก้จุดออ่ น เปน็ สนใจใช้จุดแขง็ มากข้ึน
5. เปลี่ยนจากเมือ่ ก่อนใช้การอบรมอย่างเดียว มาเปน็ เพ่ิมการโคช้ (Coaching)
ลลิตเทพ ทรัพย์เมือง (http://www.thaipost.net/?q=บริหารธุรกิจยุค 4.0) มองว่า ผู้บริหารยุคนี้ ไม่
เพยี งแตจ่ ะใชน้ วัตกรรมและความคดิ สร้างสรรค์แล้ว ต้องปรับองค์กรรองรับการเปล่ียนแปลง ด้วยทักษะระดับโลก
คือ ทกั ษะการวางกลยุทธ์ การมีความรู้ในการเข้าถึงวัฒนธรรม ทักษะการสื่อสาร ทักษะการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
ให้เหมาะสมกับธรุ กจิ ทักษะการจัดการขา้ มวฒั นธรรม และทกั ษะการคดิ เพื่อใหส้ ามารถสร้างนวัตกรรมได้
ในขณะท่ี นราวิทย์ นาควิเวก (https://www.smartsme.tv/content/63868) มองลักษณะผู้นาท่ี
แตกต่างออกไปเล็กน้อยว่า ผู้นายุคน้ีต้องเป็นผู้อานวยให้ผู้อ่ืนได้ทางาน เรียนรู้ และเป็นอิสระ โดยไม่ต้องสั่งการ
ลักษณะของผู้นาจึงเป็นดงั น้ี คือ
1. ต้องเข้าใจในความต่างของคนและศรัทธาในคุณค่าความแตกต่างของแต่ละคน (Personal Values

Trust)
2. ตอ้ งฟงั เกง่ และฟังด้วยหวั ใจ (Deep listening)
3. ตอ้ งฝึกฝนคนเปน็ และโคช้ คนได้ (Coaching)
4. ตอ้ งมีทักษะของการอานวยการเรียนรู้ (Facilitation)
5. ต้องมีทักษะการเล่าเรื่องเก่ง (Storytelling) การเล่าเร่ืองมีผลต่อการปรับเปล่ียนได้ หรือกล่าวอีกนัย

หนึ่งคอื ตอ้ งมีทกั ษะการส่ือสารแบบจูงใจ
หลังจากได้ศึกษาลักษณะผู้นาในโลกของการบริหารธุรกิจแล้ว ลองกลับมาพิจารณาลักษณะของผู้บริหาร
โรงเรยี น 4.0 วา่ ควรมลี ักษณะอยา่ งไร จากการศึกษาพบว่ามีการเสนอแนวคิดเรื่องการบริหารจัดการโรงเรียนผลิต
ภาพหรือโรงเรียน 4.0 เพียง 2 บทความ บทความแรกได้เสนอเร่ืองการบริหารจัดการโรงเรียนไว้อย่างน่าสนใจว่า
การบริหารจดั การโรงเรียนผลติ ภาพต้องมีแนวทางเฉพาะ 7 ประการดงั นี้ (บญั ญัติ สัมมาเพชรตั น์, 2560)

ปีท่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 52

1. กาหนดจดมุ่งหมายแห่งความสาเรจ็ ผเู้ รยี นฝึกปฏิบัติ มีคุณค่าต่อสังคม บริหารการจัดการเรียนรู้อย่าง
ดี

2. มียทุ ธศาสตร์การบริหาร สร้างคา่ นยิ มรว่ มกัน สร้างความเขา้ ใจกบั ครบู ุคลกรทุกฝุาย วิเคราะห์จุดอ่อน
จดุ แข็งขององค์กร มภี าวะผนู้ า สร้างความรว่ มมอื และเครือข่าย มีการติดตามประเมินผลงานท้ังระยะ
ส้นั ยาว

3. มกี ารบริหารงานวชิ าการสเู่ ปูาหมายการสรา้ งนวตั กรรม การเปน็ ผปู้ ระกอบการ มเี ครอื ข่ายกบั ชมุ น
4. มีการบริหารงบประมาณเพือ่ อานวยความสะดวกในการบริหารงานองคก์ รด้านต่าง ๆ มีการตรวจสอบ

ประเมนิ ผลเป็นระยะ
5. มีการบรหิ ารงานบุคคลที่มีประสิทธิภาพ มีขวัญกาลังใจ มีวินัย ทางานตรงความสามารถ และทาด้วย

ใจ มีการนิเทศ มีการพฒั นาภายในและการศึกษาดงู าน
6. มีการบรหิ ารงานท่ัวไปให้เป็นหน่วยสนับสนุนท่ีดี ด้านงานอานวยการ โสตทัศนูปกรณ์ อาคารสถานท่ี

ฯลฯ
7. มกี ารบรหิ ารงานชมุ ชนสมั พนั ธ์ ชุมชนมสี ว่ นร่วมและความรว่ มมือทดี่ ีจากชมุ ชน

โดยได้มีการกาหนดรูรูปแบบการบริหารโรงเรียนผลิตภาพแบบเป็นวัฏจักรไว้ดังน้ี (สุคนธา อรุณภู่,
2560)

1. ศึกษาความต้องการของชุมชน ผูป้ ระกอบการ ผู้เกีย่ วข้อง ครู ผูเ้ รยี น
2. กาหนดยทุ ธศาสตร์ จดั ทา SWOT วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ แผนปฏิบตั ิงาน
3. กาหนดผ้รู ับผิดชอบ แตง่ ตง้ั บุคลากรใหเ้ หมาะสมกับงาน
4. การบรหิ ารจดั การ ผู้บริหาร ใชห้ ลักการบรหิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม
5. การจดั การเรียนรู้ กระบวนการเรียนการสอน
6. การสร้างผลผลติ ผู้เรยี น คิดเปน็ ทาเปน็ แกป้ ญั หาเปน็ มีผลผลิตจากการเรยี น
7. ประเมนิ ท้ังระบบ 360 องศา รปู แบบฯวิจยั ผลการบรหิ ารสถานศึกษาร่วมกบั ชุมชน
8. กระบวนการพฒั นา ถอดบทเรียน การจัดการความรู้ ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย

บทความทั้งสองไม่ได้พูดถึงคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียน 4.0 ไว้โดยตรง เป็นเพียงพูดถึงบทบาท
หนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบของผ้บู รหิ ารเท่าน้ัน

ที่กล่าวมาท้ังหมดน้ีได้แสดงถึงแนวคิดในการกาหนดคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียน 4.0 โดยเร่ิม
ต้ังแต่ยุคก่อนท่ีจะมีการปฏิรูปการศึกษา ยุคปฏิรูปการศึกษา ยุคศตวรรษท่ี 21 และล่าสุดเป็นแนวคิดสาหรับยุคที่
กาลังจะเริม่ ต้นขน้ึ ขณะน้คี ือยคุ 4.0

3. ความคิดเหน็ ของครแู ละผู้บริหารโรงเรยี นปจั จบุ ันกบั คณุ ลักษณะของผู้บรหิ ารโรงเรยี น 4.0

ปที ่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 53

จากการสารวจความคิดเห็นของครูและผู้บริหารโรงเรียนเก่ียวกับคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียน 4.0
แลว้ พบวา่ คณุ ลักษณะของผูบ้ ริหารโรงเรียน 4.0 มีร่วมกนั 6 ลักษณะดังนี้

1. มีวิสยั ทัศน์ยาวไกลตามแนวการพฒั นาประเทศไทย 4.0 และการศึกษา 4.0
2. มีความรคู้ วามเขา้ ใจระบบการศึกษาตามแนวการศึกษา 4.0
3. มีอุดมการณ์ มุ่งม่ัน และเอาใจใส่เรื่องคุณภาพ และความสัมพันธ์ที่ดีของครู บุคลากรและ

เจา้ หน้าทใ่ี นโรงเรียน และชมุ ชน
4. มีกระบวนการพัฒนาโรงเรียนด้วยการจัดการความรู้ วิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็ง และแนวปฏิบัติท่ี

เปน็ เลศิ
5. มกี ารใหค้ รู บคุ ลากรท้งั หมดมสี ่วนรว่ มในการบริหาร มีขวัญกาลังใจ มีวินัย และมีแผนการพัฒนา

ครู บคุ ลากร และเจา้ หน้าที่ ตามหลกั การบริหารงานบคุ คลท่ดี ี
6. มีจรยิ ธรรม คุณธรรม เมตตาธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู
เมื่อพิจารณาความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียน 4.0 ดังกล่าวนี้แล้ว เห็นได้ว่า ผู้ตอบ
แบบสอบถามที่เป็นครูและผู้บริหารของโรงเรียนอันเป็นกลุ่มประชากรเปูาหมายในการให้ตอบแบบสอบถามน้ัน
อาจยังไม่เข้าใจแนวคิดประเทศไทย 4.0 ตามที่รัฐบาลเสนอเป็นแนวนโยบายประเทศ 20 ปี เพราะความคิดเห็นที่
ได้รับเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียน 4.0 แท้จริงแล้วยังคงเป็นคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรี ยนที่ดี
โดยท่ัวไปเท่านั้น น่ีอาจสะท้อนให้เห็นว่าคนส่วนใหญ่แม้จะอยู่ในวงการศึกษาในระดับช้ันนาของประเทศก็ยังไม่
เข้าใจเร่ืองประเทศไทย 4.0 นัก และแน่นอนว่าย่อมไม่เข้าใจบทบาทของการศึกษา 4.0 ว่าจะให้การศึกษาผลิต
นักเรียนเข้าสสู ังคมประเทศไทย 4.0 ไดอ้ ย่างไร
สภาพเช่นน้ีอาจเป็นเร่ืองน่าวิตกห่วงใยมาก เพราะการจะเข้าใจระบบการศึกษา 4.0 ได้ ครูและผู้บริหาร
จาเปน็ ตอ้ งเขา้ ใจประเทศไทย 4.0 เป็นอย่างดีก่อนว่าการพัฒนาประเทศด้วยแนวคิดใหม่ท่ีเปล่ียนแปลงไปจากเดิม
มากเช่นน้ีมีฐานคิดเร่ืองของการสร้างคนท่ีมีความรู้ความคิดมีวิจารณาญาณ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และมุ่งม่ัน
ในการเรียนรู้เพื่อใช้ความรู้ความคิดเหล่านี้มาสร้างนวัตกรรมเพื่อเป็นผลิตผลเพื่อสร้างเศรษฐกิจดิจิทัลของโลกยุค
เทคโนโลยีสารสนเทศ หากครูและผู้บริหารโรงเรียนส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจเช่นน้ี ย่อมมีผลต่อการพัฒนา
ทรพั ยากรมนุษย์ของประเทศโดยตรง
4. คุณลกั ษณะของผู้บริหารโรงเรียน 4.0
คุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียน 4.0 ควรเป็นอย่างไร น่ีคือโจทย์ใหญ่ของการศึกษา 4.0 จุดเร่ิมต้นของ
การกาหนดคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียน 4.0 จะต้องเป็นไปตามอุดมการณ์ ปรัชญา และวัตถุประสงค์ของ
การศึกษา 4.0 และการจะเข้าใจการศึกษา 4.0 ได้จะต้องเข้าใจแนวทางการพัฒนาประเทศไทย 4.0 เพราะนั่นคือ
เปาู หมายหลักของจัดระบบการศกึ ษาเพ่ือตอบสนองความต้องการของประเทศ

ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 54

ประเทศไทย 4.0 ม่งุ พัฒนาประเทศไทยเขา้ ส่เู วทีโลกด้วยการพัฒนาดา้ นเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมใหม่ ท่ี
เป็นเศรษฐกิจดิจิทัลด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ด้านเทคโนโลยีน้ันเน้นไปท่ีเทคโนโลยี
สมัยใหม่ 5 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ 2. กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยี
ทางการแพทย์ 3. กลุม่ เครือ่ งมืออุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเคร่ืองกลท่ีใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม 4.
กลมุ่ ดจิ ิทลั เทคโนโลยีอนิ เตอร์เนต็ ท่เี ชือ่ มต่อและบังคับอุปกรณ์ต่าง ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว
5. กลุม่ อตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์ วฒั นะรรม และบริการที่มมี ูลคา่ สูง

น่ันหมายความว่าการศึกษา 4.0 ต้องตอบสนองด้วยการเตรียมกาลังคน พัฒนาทรัพยากรสาคัญของชาติ
ด้วยการศึกษาท่จี ะทาใหเ้ ยาวชนไทยส่วนใหญ่เข้าใจการเปล่ียนแปลง สนใจที่จะพัฒนาตนเองเข้าสู่โลกยุคใหม่ด้วย
การศึกษาตามศักยภาพ ความถนัด และความสนใจในแนวทางการพัฒนาประเทศที่รัฐบาลได้แบ่งไว้เป็น 5 กลุ่ม
ข้างต้น หรืออาจสรุปเป็นพ้ืนฐานเบื้องได้ว่า โรงเรียนต้องทาหน้าที่ให้การศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีสาคัญและจาเป็นต่อ
การดารงชีพในอนาคตและสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงาน เป็นฟันเฟืองสาคัญของการพัฒนาตนเอง สังคม และ
ประเทศชาตติ ่อไป

การศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีมองเห็นได้คือการปลูกฝังให้นักเรียนสนใจและรักการศึกษาด้านคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เปน็ ผูใ้ ฝรุ ใู้ ฝเุ รียน มกี ระบวนการคดิ ท่ีเปน็ วิทยาศาสตร์ กล้าท่ีจะคดิ แตกต่าง มีความคิด
ริเร่ิมสร้างสรรค์โดยได้รับการชี้แนะ ชี้นา และสนับสนุนจากครูผู้สอนและโรงเรียน ทาให้นักเรียนทุกคนตระหนัก
และมองเห็นว่าส่ิงแวดล้อมรอบตัวคือห้องเรียนวิทยาศาสตร์ และทุกคนล้วนมีความคิดแปลกใหม่สร้างสรรค์ได้ทุก
วัน สามารถมั่นใจได้ว่าด้วยความคิดที่แตกต่างอย่างสร้างสรรค์นาไปสู่การสร้างนวัตกรรมให้กับสังคมและ
ประเทศชาติ สามารถพัฒนาเปน็ สนิ คา้ ทมี่ ีมูลคา่ สูงได้

เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรู้จรงิ ลงมอื ปฏบิ ัตไิ ด้ โรงเรียนต้องสง่ เสรมิ การสร้างเสริมประสบการณ์ให้นักเรียนมี
แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เข้าไปฝึกฝนเรียนรู้ได้ในสถานประกอบการ โรงงาน และแหล่งเรียนรู้สร้างสรรค์อื่น ๆ
ท้ังในและนอกชุมชน ส่งเสริมการมีประสบการณ์ตรงในการเป็นผู้สร้างสรรค์ ผู้ประกอบการ และเป็น
นักวทิ ยาศาสตรร์ ุ่นเยาวอ์ ันเปน็ ฐานสาคญั ในการพฒั นาเป็นนกั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีที่ดีในอนาคต

เหล่าน้ีคือกระบวนการจัดการศึกษาท่ีต่อยอดมาจากการศึกษาในยุคศตวรรษท่ี 21 ที่เน้นการคิด
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การทางานเป็นกลุ่ม การมีทักษะด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ การมีทักษะในการเข้าใจพหุวัฒนธรรม และอื่น ๆ ท่ีเป็นสมรรถนะและทักษะแกนกลางของความเป็น
มนุษย์ในศตวรรษที่ 21 น้ี การต่อยอดสมรรถนะและทักษะเหล่าน้ีเพื่อให้มีลักษณะเฉพาะสอดคล้องกับเปูาหมาย
การพัฒนาประเทศไทย 4.0 อันนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรการศึกษา 4.0 น่ันเอง ความจริงสถาบันการศึกษา
ระดบั อดุ มศึกษาหลายแห่งได้ดาเนินการไปบ้างแล้ว เช่น การกาหนดให้มีช่ัวโมงฝึกงาน 1 ภาคการศึกษาหรือ 1 ปี

การศกึ ษา การกาหนดใหม้ ีการเรยี นร้ใู นสถานประกอบการท่เี รียกว่า WIL (Work Intergrated Learning) เป็นต้น

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 55

เมื่อได้มองเห็นภาพรวมของแนวทางการพัฒนาประเทศตามแนวคิดประเทศไทย 4.0 รวมไปถึงบทบาท
สาคัญยิ่งของการศึกษา 4.0 ท่ีเป็นพ้ืนฐานท่ีจะสร้างเยาวชนไทยเพื่อเข้าสู่เส้นทางการพัฒนาประเทศ เพ่ือสร้าง
smart people, smart society น้แี ล้ว ย่อมทาให้สามารถมองเหน็ คุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียน 4.0 ได้อย่าง
เด่นชดั ขน้ึ เพราะปจั จัยท่ีจะมากาหนดคุณลักษณะเหล่านี้ได้แน่นอนว่าต้องมาจากแนวทาง หลักการ ปรัชญา และ
วธิ ีการพัฒนาประเทศไทยสู่ประเทศไทย 4.0 และปรชั ญา แนวคดิ และเปูาหมายของการศึกษา 4.0

ตอ่ ไปนค้ี อื คุณลักษณะท่สี าคัญและจาเป็น 5 ประการของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น 4.0
1. เข้าใจแนวทางประเทศไทย 4.0 และการศกึ ษา 4.0 อยา่ งถ่องแท้ เพ่ือใหส้ ามารถจัดการศึกษา สร้าง

หลกั สตู ร และจดั การเรยี นการสอนไดส้ อดคลอ้ งสนองความต้องการของประเทศได้
2. มีวิธีการและมีจิตวิญญาณในการสนับสนุนให้มีการสร้างนวัตกรรมการสร้างหลักสูตร สามารถ

บริหารหลักสูตรท่ีส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม สามารถสร้างผลิตผลท่ีอาจต่อ
ยอดเชงิ พาณชิ ย์ และการเป็นผ้ปู ระกอบการท่ดี ี
3. มีทักษะในการสร้างเครือข่ายกับชุมชน สังคม ท่ีทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ เข้าไปปฏิบัติงานเพ่ือ
เรียนรกู้ ารสร้างสรรคแ์ ละการสร้างนวตั กรรมในชีวิตจริงได้
4. มีทักษะในการสร้างแรงบันดาลใจและทักษะการส่ือสารที่สามารถจูงใจให้นักเรียน ครูสนใจการ
เรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันเป็นพ้ืนฐานความรู้ที่สาคัญของการพัฒนา
ประเทศไทย 4.0
5. ติดตามความเคล่ือนไหวและการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เทคโนโลยี และการศึกษา พร้อมท่ี
ปรบั เปล่ียนหลักสูตร การบรหิ ารหลกั สตู ร การจดั การเรยี นรไู้ ด้อย่างเทา่ ทนั
นี่คือหัวใจสาคัญของคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียน 4.0 ที่ระบบการศึกษา 4.0 ต้องช่วยกันร่วมสร้าง
ข้ึน หากสร้างส่ิงน้ีไม่ได้ ก็ยากที่จะหวังว่าการศึกษา 4.0 จะยั่งยืนได้ และแน่นอนว่าพลังท่ีจะสร้างเยา วชนไทยให้
เปน็ กาลังสาคัญของชาตยิ อ่ มลดนอ้ ยถอยลงอย่างแนน่ อน.

เอกสารอ้างอิง

คณะครศุ าสตร์ จฬุ าฯ เผยผลสารวจ Education Watch ช้ีปจั จยั สาเรจ็ และล้มเหลวใน

https://www.hongpakkroo.com/2942.html คน้ เมอ่ื 2 กันยายน 2560.

ชั ย ย น ต์ เ พ า พ า น . ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ยุ ค ใ ห ม่ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1 . ห น้ า 3 0 1 -3 1 3 . จ า ก

http://conference.edu.ksu.ac.th/file/20160809_2488101126.pdf คน้ เมอ่ื 2 กันยายน 2560.

ชัยศักดิ์ ศุกระกาญจน์. ภ าวะผู้นาของผู้บริหารองค์การใน ยุค THAILAND 4.0 จาก

https://spark.adobe.com/page/YlGxuPO3qkdtE/ คน้ เมื่อ 2 กนั ยายน 2560.

ปที ่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 56

ด ร . บ ว ร . ( น า ม แ ฝ ง ) . ผู้ บ ริ ห า ร โ ร ง เ รี ย น 4 . 0 พ ลั ง ขั บ เ ค ล่ื อ น ป ฏิ รู ป ก า ร ศึ ก ษ า .
http://drborworn.com/articledetail.asp?id=20137 ค้นเมอ่ื 2 กนั ยายน 2560.

นราวทิ ย์ นาควเิ วก. บทบาทผู้นาที่ดีในยุค 4.0. จาก https://www.smartsme.tv/content/63868 ค้นเมื่อ 2
กันยายน 2560.

บัญญัติ สัมมาเพชรัตน์. 7 แนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนผลิตภาพ. ใน โรงเรียน 4.0 : โรงเรียนผลิตภาพ.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. พิมพ์คร้ังท่ี 2. วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2560.
หนา้ 126-137.

พสุ เดชะรินทร์. ผู้นาในยุค 4.0. http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/641042 ค้นเม่ือ 2
กนั ยายน 2560.

สมหมาย อ่าดอนกลอย. บทบาทผูบ้ริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่21. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราช
ภัฏพิบูลสงคราม ปีท่ี 7 ฉบับท่ี 1 มกราคม – มิถุนายน 2556 หน้า 1-7 จาก
file:///C:/Users/580003/Downloads/55490-128570-1-SM.pdf

สุคนธา อรุณภู่. 7 แนวทางการบริหารโรงเรียนผลิตภาพร่วมกับชุมชน. ใน โรงเรียน 4.0 : โรงเรียนผลิตภาพ.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. พิมพ์ครั้งที่ 2. วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2560.
หน้า 138-151.

ปที ี่ 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 57

แนวโนม้ นวัตกรรมการจัดการเรยี นรูใ้ นอนาคต
Trends of learning management innovation in the future

ชนม์ชนก ถาวร*

บทนา
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในศตวรรษท่ี 21 และในอนาคตอันใกล้ เป็นความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนอย่าง

รวดเร็วและส่งผลกระทบถึงกันในวงกว้าง เป็นผลมาจากความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นสิ่ง
สาคญั ในการขับเคล่อื นโลกในศตวรรษที่ 21 ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไมเ่ พียงส่งผลต่อการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
และวฒั นธรรม หากแต่ยงั สง่ ผลต่อนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ด้วย ดังนั้น หากจะวิเคราะห์แนวโน้มนวัตกรรมการ
จัดการเรียนรู้ในอนาคต ก็จาเป็นที่จะต้องศึกษาความหมายของนวัตกรรม และแนวโน้มการเปล่ียนแปลง ท่ีจะ
เกิดข้ึนในศตวรรษที่ 21 ด้วย เพ่ือให้สามารถวิเคราะห์แนวโน้มนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในอนาคตได้อย่าง
ถูกต้องแนวโน้มนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในอนาคตนั้นเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะของผู้เรียนยุคใหม่ และ
เปล่ียนแปลงไปตามทักษะท่ีสังคมคาดหวังให้เกิดกับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เพ่ือรองรับกับความเปลี่ยนแปลงของ
โลกอยา่ งไรกต็ าม การปรับเปลี่ยนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของประเทศไทยมิใช่เป็นไปเพ่ือผลิตกาลังคนไปปูอน
ตลาดโลก แต่เป็นไปเพื่อให้ผู้เรียนรู้เท่าทันเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ คือใช้เป็น ผลิตเองได้ และไม่ไล่ตาม
เทคโนโลยีจนตกอยู่ในกระแสบริโภคนิยม

ความหมายของนวัตกรรมการจดั การเรียนรู้
นวัตกรรม หรือ นวกรรม มาจากคาศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Innovation” ซ่ึงตามพจนานุกรมฉบับ

บัณฑติ ยสถาน แปลวา่ “สงิ่ ที่ทาขน้ึ ใหมห่ รอื แปลกจากเดิม โดยอาจเปน็ ความคิด วธิ กี าร หรอื อุปกรณ์”
วงการศึกษาได้นาคาว่า นวัตกรรม มาใช้ในความหมายของ “การทาข้ึนใหม่” หรือ “ส่ิงที่ทาขึ้นใหม่” อัน

ได้แก่ แนวคิด แนวทาง ระบบ วิธีการ กระบวนการ สื่อ และเทคนิคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ซึ่งได้รับการ
คิดคน้ และจดั ทาขึ้นใหม่ เพือ่ ช่วยแกป้ ัญหาตา่ งๆ ทางการศกึ ษา (ทิศนา แขมณ,ี 2558: 418)

ดงั นัน้ นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ (Learning innovation) จงึ หมายถึง สิง่ ใหม่ทีน่ ามาใช้ให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ ซ่ึงอาจมีลักษณะเป็นแนวคิด วิธีการ หรือส่ิงประดิษฐ์ใหม่ๆ ก็ย่อมได้ โดยนามาใช้ในการจัดการเรียน
การสอนเพอ่ื พัฒนาทักษะท่จี าเป็นสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

โลกอนาคต ความเปลีย่ นแปลง และทกั ษะทจ่ี าเป็นสาหรับผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21

*นกั ศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รบัณฑติ วิชาชพี ครู วทิ ยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑติ ย์

ปที ่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 58

สถานการณ์การความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในทศวรรษท่ีผ่านมา มีหลักฐานเชิงประจักษ์ที่แสดงให้
เห็นว่า โลกปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าและเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม
วัฒนธรรม วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดลอ้ ม

แนวโน้มสาคัญในโลกอนาคตแห่งศตวรรษท่ี 21 เต็มไปด้วยพลวัตที่ซับซ้อนส่งผลกระทบสูงต่อคนรุ่นใหม่
ตั้งแต่แนวโน้มประชากรที่ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุบริบทความขัดแย้งทางการเมืองความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
ดิจิทัล และวิทยาการต่างๆ ซ่ึงส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม แนวโน้มภัยพิบัติทางธรรมชาติที่
รนุ แรงขน้ึ เป็นลาดับปญั หาการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนแนวโน้มการเคลื่อนย้ายของประชากรข้ามชาติ
ชนกลุ่มน้อยการเรียกร้องสิทธิโอกาส ความเสมอภาค และความเป็นอยู่ที่ดี ฯลฯ (จุฬากรณ์ มาเสถียรวงศ์, 2561)
ส่ิงเหล่าน้ีทาให้ประเทศไทยต้องพัฒนา“ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” ให้ปรับตัวและยกระดับสมรรถนะของตนเพ่ือให้
ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของโลก

ประเทศไทยโดยสานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา ซึ่งเป็นองค์กรหลักด้านการจัดทาและพัฒนาแผนการ
ศกึ ษาแห่งชาติจงึ ไดม้ กี ารวางแผนพัฒนาการศึกษาในรูปแบบ 3Rs X 8Cs มุ่งเน้นการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ
ที่ต้องมีในศตวรรษที่ 21 เพื่อช่วยในการขับเคลื่อนบุคคลให้มีประสิทธิภาพในการศึกษาเพื่อการพัฒนาประเทศใน
โลกอนาคต ดงั แผนภาพต่อไปน้ี

ปที ี่ 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 59

ภาพที่ 1 คณุ ลกั ษณะเด็กไทยในโลกศตวรรษที่ 21 (ความต้องการกาลงั คนยุค 4.0)
ท่มี า : สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2559.

จากภาพ จะเห็นได้ว่าทักษะในศตวรรษท่ี 21 คือทักษะในโลกอนาคต (Skills for the Future) ท่ีไม่
สามารถทดแทนได้ด้วยเทคโนโลยีอย่างหุ่นยนต์หรือคอมพิวเตอร์ กล่าวคือ เป็นทักษะท่ีสามารถใช้งานร่วมกับ
เทคโนโลยีท่เี กดิ ขึ้นใหม่ได้ เป็นทักษะที่ช่วยสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ให้แก่องค์กรและหน่วยงาน และเป็นทักษะ

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 60

ทม่ี ีความยดื หยุ่นในการปรับตวั ใหเ้ ขา้ กับการเปล่ยี นแปลงอยู่ตลอดเวลา (วไิ ลลกั ษณ์ รัตนเพียรธัมมะ และปิยะนันท์
พรึง่ นอ้ ย, 2559: 63) โดยทักษะทีก่ ลา่ วมาข้างตน้ นัน้ สามารถนามาสรุปได้ 4 กลุ่ม คอื

1) ทกั ษะการรสู้ าระเนอ้ื หา ประกอบดว้ ย
- ทักษะการอา่ น
- ทกั ษะการเขยี น
- ทักษะการคานวณ

2) ทกั ษะการเรียนรูแ้ ละสร้างนวัตกรรม (Learning & Innovation Skills)ประกอบดว้ ย
- ทักษะการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและการแก้ปญั หา
- ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม
- ทกั ษะความรว่ มมอื ทางานเปน็ ทีม และภาวะผนู้ า

3) ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills)
ประกอบดว้ ย

- ทักษะด้านการส่อื สาร สารสนเทศ และการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื
- ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
4) ทักษะชวี ิตและอาชีพ เพ่ือความสาเร็จดา้ นการทางานและการดาเนินชวี ิต(Life & Career Skills)
- ทกั ษะอาชพี และการเรยี นรู้
- ทักษะด้านความเข้าใจความตา่ งของวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์
- ความมีเมตตากรณุ า วินยั คณุ ธรรม และจรยิ ธรรม

แนวโน้มนวตั กรรมการจดั การเรยี นร้ใู นอนาคตสาหรบั ผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21
“ความรู้และทักษะ” ท่ีสังคม “คาดหวัง” ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือรองรับความ

เปลี่ยนแปลงของโลก ทาให้แนวโนม้ นวตั กรรมการจัดการเรียนรใู้ นโลกอนาคตของประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไปตาม
ทกั ษะ3Rs X 8Cs ที่สังคมตอ้ งการใหเ้ กิดกบั ผเู้ รยี น

นอกจากนี้แล้ว ตัวของผู้เรียนเองในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งเป็น Generation ท่ีชื่นชอบความรวดเร็ว รอคอย
ไมไ่ ด้ ใหค้ วามสาคัญกับเทคโนโลยี อีกทั้งยังมีความถนัดในด้านการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยีใกล้ตัว เช่น
โทรศัพท์มอื ถอื แทป็ แลต็ หรอื แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ผ่านระบบออนไลน์ ในทุกสถานท่ี ทุกเวลายังเป็นอีกปัจจัยหน่ึง
ที่ทาให้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในโลกอนาคตเปลี่ยนแปลงไปด้วย เพราะรูปแบบการเรียนรู้ของเด็กท่ีต่างจาก
เดมิ ย่อมสง่ ผลต่อการจดั การศกึ ษาในอนาคตเชน่ กัน

แนวโน้มนวัตกรรมการจดั การเรยี นร้ใู นอนาคต มดี งั นี้

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 61

1) การจัดกระบวนการเรียนรู้เปลี่ยนจากการเรียนรู้แบบยึดครูเป็นศูนย์กลาง (Passive Learning) ครู
บรรยายเน้ือหาให้นักเรียนจาเพ่ือสอบ มาเป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง(Active
Learning)โดยนักเรียนเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตัวเอง มีครูเป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) และให้คา
ช้ีแนะ (Coach) กล่าวคือ ครูจะต้องคอยให้คาชี้แนะวิธีการเลือกองค์ความรู้ที่น่าเช่ือถืออันมีมากมายที่ไม่อาจบอก
ไดห้ มดให้กบั นักเรยี นเพ่อื ใหน้ กั เรียนเกิดทักษะการ ‘สร้าง’ และ ‘เลือก’ องค์ความรู้ท่ีถูกต้องเพื่อนาไปประยุกต์ใช้
ในอนาคตได้ด้วยตนเองนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนในลักษณะนี้ เช่น การสอนแบบศูนย์การเรียน
(Learning Center) การจดั การเรียนการสอนแบบโมเดลซปิ ปา (CIPPA Mode) เป็นตน้

ตารางท่ี 1 แสดงการเปรียบเทียบบทบาทของครูและผู้เรียนท่ีเน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบเน้น
ผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลาง (Active Learning)

การเปล่ยี นบทบาทของครู

บทบาทเดิม บทบาทที่เปลย่ี นแปลง

เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเน้ือหา และ เป็นผู้ส่งเสริม เอ้ืออานวยความสะดวก ร่วมแก้ปัญหา

เปน็ แหลง่ สาหรบั คาตอบ โคช้ ชีน้ าความรู้ และผ้รู ่วมเรยี นรู้

เปน็ ผู้ควบคมุ การเรียนการสอนและสง่ เน้ือหาความรู้ไปยัง เป็นผู้จัดเตรียมหรือให้สิ่งท่ีตอบสนองต่อการเรียนรู้ของ

ผู้เรียนโดยตรง ผู้เรยี นอย่างหลากหลาย

การเปลี่ยนบทบาทของผเู้ รียน

เปน็ ผู้รอรับสารจากครอู ยา่ งเฉอ่ื ยชา เป็นผูร้ ่วมเรียนรู้อยา่ งต่ืนตวั ในกระบวนการเรียนรู้

เป็นผ้คู ัดลอกหรือจดจาความรู้ เป็นผู้สร้างและแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกับเพื่อนช้ัน แบบ

ผู้เชย่ี วชาญ

เปน็ กิจกรรมการเรยี นรรู้ ายบุคคล เป็นการร่วมมือกนั เรียนรู้กบั ผ้เู รยี นอนื่ ๆ

ทมี่ า: จิรศกั ด์ิ แซโ่ ค้ว. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา, 2559 : 145.

2) การจัดกระบวนการเรียนการสอนเน้นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเช่นบูรณาการระหว่างรายวิชา
บูรณาการระหวา่ งความรู้ (พุทธพิสยั ) และการกระทา (ทกั ษะพิสัย) หรือบูรณาการระหว่างความรู้และกระบวนการ
เรยี นรู้ ฯลฯ เพ่อื ให้ผเู้ รียนเกิดทกั ษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 เช่น ในรายวชิ าภาษาไทย เรอ่ื ง การเขียนสารคดีการ
ท่องเที่ยว ครูอาจบูรณาการร่วมกันระหว่างรายวิชาภาษาไทย วิชาการท่องเที่ยว วิชาการจัดการโลจิสติกส์ วิชา
ชวี วิทยา และวชิ าคอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้

ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 62

3) เน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหา ฝึกทักษะให้ผู้เรียนรักในการอ่าน การค้นคว้าหาความรู้
รู้จักประเมิน ตีความ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนามาประยุกต์ใช้ได้ด้วยตัวเอง และคิดอย่างสร้างสรรค์เช่น การจัดการ
เรียนการสอนโดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Instruction)

4) เน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อสร้างชิ้นงานนวัตกรรมได้
อยา่ งสรา้ งสรรค์ แทนการเรยี นแบบทอ่ งจาเพ่อื นาไปสอบ เช่น การสอนแบบโครงงาน (Project-Based Learning)

5) เน้นการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีสมยั ใหม่ในกระบวนการเรยี นการสอน ต้ังแต่ข้ันตอนการเรียนรู้จนถึงการ
ประเมินผลการเรียนรู้ เช่น การเรียนรู้แบบเคล่ือนที่(Mobile-learning)หรือ การจัดเรียนรู้บนแท็ปเล็ตพีซีผ่าน
ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ (Tablet-learning)การจัดการเรียนรผู้ า่ น Google Classroom การใชส้ ่ือการเรียนการ
สอนจาก Youtube หรอื การใช้แอปพลิเคชันเกม Kahoot เพ่ือประเมินผลผู้เรียน เป็นต้น วิธีการน้ีจะทาให้ผู้เรียน
ทุกคน (Anyone) สามารถเรยี นรู้จากแหลง่ การเรยี นร้ไู ดท้ ุกแหง่ (Anywhere) และทกุ เวลา (Anytime)

ตารางท่ี 2 แสดงคณุ ลักษณะของการเรยี นรู้ ชนิดของเคร่อื งมอื และตัวอยา่ งเคร่ืองมือทกั ษะสาหรบั ศตวรรษที่ 21

ทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21

คณุ ลักษณะของการเรยี นรู้ ชนดิ ของเครอื่ งมือ ตวั อย่างเครือ่ งมือ

การเรียนรู้แบบผู้เรียนควบคุมการ เครื่องมอื สะทอ้ นความคิด ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้

เรยี นดว้ ยตนเอง เครื่องมอื จัดกิจกรรมการเรยี น (LMS) , Google application for

เครื่องมอื จัดการโครงสร้าง learning , Edmodo

กิจกรรมการมีส่วนรว่ ม การอภปิ ราบเวบ็ การประประชุม ระบบบรหิ ารการจดั การเรยี นรู้

เครอ่ื งมือนาเสนอผลงาน (LMS) , Prezi, YouTube,

เครอ่ื งมือแบง่ ปนั สไลด์ ThinkQuest, Edmodo,

เค รื่ อง มื อ แ ผ น ท่ี ค ว า ม คิ ด แ บ บ Facebook

สถานการณ์จาลอง

เคร่ืองมอื แบ่งปันวดิ ที ศั น์

การร่วมมือกันเรียนรู้และสร้างชุมชน เครอ่ื งมอื สนทนาแบบประสานเวลา Skype, Google Chat, LMS,

แห่งการเรียนรู้ และสื่อสังคม Edmodo, Twitter, Line,

เครือ่ งมอื สาหรับสรา้ ง Facebook, Google doc

และแบง่ ปบั ทรัพยากร

การประเมนิ ตามสภาพจรงิ เครื่องมือสร้างเว็บไซต์ Google doc, Google Chat,

เครอ่ื งมอื เผยแพร่ส่ือโสตทศั น์ Kahoot

เครอ่ื งมือเผยแพรว่ ดิ ที ศั น์

ทม่ี า: จิรศกั ดิ์ แซ่โคว้ . เอกสารประกอบการสอนรายวิชา นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา, 2559 : 146.

ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 63

6) เน้นกระบวนการจดั การเรียนรเู้ พือ่ สร้างทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่นในสังคม เข้าใจผู้อ่ืน เข้าใจตนเอง
เข้าใจความแตกต่างทางวฒั นธรรม มคี ุณธรรมศีลธรรม มจี ิตสานึกทด่ี ีในการแยกแยะสิง่ ถูกส่ิงผิดได้ ส่งเสริมและสืบ
ทอดวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น กระบวนการจัดการเรียนการสอนภายใน
โรงเรียนรุง่ อรุณ กรุงเทพฯ เป็นตน้

7) มีการปรับปรงุ โครงสร้างเวลาเรียนใหม่ ใหช้ ว่ั โมงเรยี นในหอ้ งลดลงและช่ัวโมงกิจกรรมเพิ่มขึ้นเพ่ือสร้าง
ทกั ษะในการดาเนนิ ชวี ิต

8) ระบบการศึกษาจะเปิดโอกาสใหก้ ับการศกึ ษาทางเลอื ก (Alternative Education) มากยิ่งข้ึน และเป็น
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน กล่าวคือ การศึกษาจะเป็นการสอนเพื่อสร้างทักษะในศตวรรษท่ี 21 ให้ผู้เรียน
เพื่อใหผ้ ้เู รียนรู้เท่าทันการเปลีย่ นแปลงของโลกผลิตนวตั กรรมเองได้ โดยไมล่ มื รากเหงา้ และอนุรักษ์ความเป็นไทย

การศึกษาไทยจะก้าวไปข้างหน้าพร้อมกันทั้ง 2 ทาง คือ นักเรียนจะมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 และเรียนรู้
นวัตกรรมใหม่ของโลกเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยท่ีนักเรียนจะต้องเรียนรู้ภูมิปัญญาและความรู้ด้ังเดิมของ
ไทยร่วมกันด้วย เพื่อไม่ให้เกิดความเคยชินกับนวัตกรรม หรือผลิตผลของชาวต่างชาติจนถูกครอบงาและหลงลืม
รากเหง้าความเป็นไทย ท้องถ่ินจะมสี ่วนรว่ มในการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้นในอนาคต เพื่อ
สร้างบุคลากรมาตอบสนองความตอ้ งการของพื้นที่ด้วยคือมุ่งผลิตกาลังคนเพ่ือตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น
มิใช่สรา้ งบุคลากรเพอ่ื ปูอนตลาดโลกเพียงอยา่ งเดียว

สรปุ
ความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนในศตวรรษที่ 21 เป็นความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและส่ง

ผลกระทบถึงกันในวงกว้าง อันเน่ืองมาจากความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศซ่ึงส่งผลต่อการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ทาให้ประเทศไทยต้องพัฒนา“ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21” สามารถปรับตัวและ
ยกระดับสมรรถนะของตนเพ่ือให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกโดยการวางแผนพัฒนาการศึกษาในรูปแบบ 3Rs
X 8Cs หรือทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21เพ่ือช่วยในการขับเคลื่อนทรัพยากรมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพใน
การศึกษาเพ่ือการพัฒนาประเทศในโลกอนาคตอย่างไรก็ตาม “ความรู้และทักษะ” ที่สังคมคาดหวังให้เกิดข้ึนกับ
ผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 เพ่อื รองรบั กบั ความเปล่ยี นแปลงของโลก ทาให้แนวโน้มนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในโลก
อนาคตของประเทศไทยเปล่ียนแปลงไปในทิศทางที่สอดคล้องกับ 3Rs X 8Cs กล่าวคือ เปลี่ยนจากการจัดการ
เรียนรู้แบบยึดครูเป็นศูนย์กลาง มาเป็นการจัดการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นการจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการเพื่อผู้เรียนให้เกิดทักษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มุ่งให้ผู้เรียนสามารถปรับตัว รู้เท่าทัน ผลิตนวัตกรรม
เองได้และยกระดบั สมรรถนะของตนเพื่อให้ก้าวทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงของโลก

ปที ่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 64

บรรณานุกรม

ทศิ นา แขมณี.(2558). ศาสตรก์ ารสอน : องค์ความร้เู พอื่ การจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่ีมี
ประสทิ ธภิ าพ. พมิ พ์ครงั้ ที่ 19. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

จิรศักด์ิ แซโ่ คว้ . (2559). เอกสารประกอบการสอน รายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา.
สรุ าษฎร์ธานี: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฎสุราษฎร์ธาน.ี

จุฬากรณ์ มาเสถยี รวงศ.์ (2561). ความท้าทายของศตวรรษที่ 21 กับการเรียนรู้ยุคใหม่. เขา้ ถงึ เมื่อ
22 พฤศจิกายน 2562 เข้าถงึ ไดจ้ ากhttp://www.knowledgefarm.in.th/new-
educational-system/?fbclid=IwAR29awZj8dXET-v-
A_oZuXEjZc73qaEwot_L6M2YYXL3pTDXqrco3VGMNqk

วิไลลักษณ์ รัตนเพียรธัมมะ และปิยะนันท์ พรึ่งน้อย (2559). “นวัตกรรมการศึกษาในการพัฒนาทักษะเพื่อ
การดารงชีวิตในศควรรษท่ี 21.”วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. 34, 3 (กันยายน-ธันวาคม
2559): 55-78.

สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา.(2559)คุณลักษณะเด็กไทยในโลกศตวรรษท่ี 21.เข้าถงึ เม่ือ 22
พฤศจิกายน 2562 เข้าถึงได้จาก https://www.facebook.com/OECSocial/photos/a.1581600
04601159/238688529881639/?type=1&theater

ปที ่ี 5 ฉบับที่ 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 65

แนวปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรยี นมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี

Best Practices in Academic Administration of Mathayom Thetsaban 6
Municipality School

จักรพงษ์ วรรณขันธ์*

บทคัดยอ่

การวิจัยครั้งน้ีมีจุดประสงค์เพ่ือพัฒนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยม
เทศบาล 6 นครอุดรธานี การดาเนินงานการวิจัยมี 3 ระยะ ซึ่งมีวิธีการดาเนินงานดังน้ี ระยะที่ 1 การศึกษา
ปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี โดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ี
เกี่ยวขอ้ งมาสงั เคราะหเ์ ปน็ ขอบข่ายในการบริหารงานวิชาการและสร้างเปน็ แบบสอบถามความคิดเห็นของผูบริหาร
สถานศึกษา ครูหัวหนางานวิชาการ และครูผู้สอน รวมท้ังสิ้น 74 คน ของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี
ประจาปีการศึกษา 2560 ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยม
เทศบาล 6 นครอุดรธานี ประกอบด้วย ข้ันตอนที่ 1 การศึกษาสถานศึกษาตนแบบเพ่ือหาแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ
ในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี โดยการสัมภาษณ์ ผู้อานวยการโรงเรียน
รองผู้อานวยการฝุายวิชาการ ครูหัวหนางานวิชาการ และครูผู้สอน รวมจานวน 12 คน ของโรงเรียนต้นแบบ
จานวน 3 แห่ง ขั้นตอนที่ 2 การร่างแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6
นครอดุ รธานี ขนั้ ตอนท่ี 3 การประเมนิ แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ เลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล
6 นครอุดรธานี ตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้จากผู้เช่ียวชาญจานวน 12 คน โดยการสนทนากลุ่ม
(focus group discussion) ระยะที่ 3 การศึกษาผลของการนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศไปใช้ในการบริหารงาน
วชิ าการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานีโดยนาไปใช้จานวน 2 วงรอบคือ ภาคการศึกษาที่ 1 และ 2 ปี
การศึกษา 2561 หลังจากนั้นทาการเปรียบเทียบผลการจัดการศึกษา โดยนาผลการทดสอบระดับชาติของปี
การศกึ ษา 2560 กบั ปกี ารศึกษา 2561

ผลการวจิ ยั พบว่า
1) โรงเรยี นมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานีมแี นวปฏบิ ัตทิ ่ีเปน็ เลิศในการบริหารงานวชิ าการ 9 ดา้ น
ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนคือ (1) ส่วนนา (Introduction) ประกอบด้วย ความเป็นมา ความสาคัญของการบริหาร
งานวิชาการ ปัญหาของการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี และการสร้างแนว
ปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (2) แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการ
บริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ประกอบด้วย หลักการของแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
เพ่ือบรรลุผลการจัดการศึกษาโดยเฉพาะตัวบ่งช้ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การนาแนวปฏิบัติเป็นเลิศไปใช้ในการ

ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 9 (ประจาเดอื น กรกฎาคม-ธนั วาคม 2562) 66

บรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี และเงื่อนไขของการนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการ
บริหารงานวิชาการของโรงเรยี นมธั ยมเทศบาล 6 นครอดุ รธานี

2) ผลของการนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลศิ ไปใช้ในการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียนมธั ยมเทศบาล 6
นครอดุ รธานี ต่อคณุ ภาพการจัดการศึกษา พบวา่ ในปีการศกึ ษา 2561 ผลการจัดการศึกษาในตวั บ่งชผี้ ลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี นซึ่งวดั จากการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) มีพฒั นาการทด่ี ีข้นึ ทุกรายวชิ า ทัง้ ในระดับชัน้ มัธยมศึกษา
ปีที่ 3 และชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6

คาสาคญั แนวปฏบิ ตั ิท่เี ปน็ เลิศ/การบริหารงานวชิ าการ/โรงเรียนเทศบาล

ABSTRACT
The purpose of this research was to develop the. best practices in academic

administration of Mathayom Thetsaban 6 Municipality School. This research consisted of 3
phases: 1) a study of academic administration problems of Mathayom Thetsaban 6 Municipality
School consisting of a study of related literature and research, survey of the opinion of 74
school administrators, academic staff and teachers and 2) develop of the best practices in
academic administration of Mathayom Thetsaban 6 Municipality School consisting of (1) a study
of 3 model schools byin-depth interview school administrators, academic staff and teachers (2)
design of the. best practices (3) model assessment with focus group discussion by 12 experts
and 3) a study the implement of the. best practices on academic achievement

The research findings were as follows:

1. The best practices in academic administration of Mathayom Thetsaban 6 Municipality School
consisted of 9 major components, with 3 main components : 1) introduction addressing
background, importance, and developmental strategies for best practices in academic
administration; 2) the best practices of academic administration of Mathayom Thetsaban 6

*โรงเรยี นมัธยมเทศบาล 6 นครอดุ รธานี สานักการศกึ ษา เทศบาลนครอุดรธานี

ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 67

Municipality School addressing concepts, approaches, and strategies of Mathayom
Thetsaban 6 Municipality School; and 3) conditions for the implementation of best practices of
Mathayom Thetsaban 6 Municipality School

2. The implement of the best practices in academic administration of Mathayom
Thetsaban 6 Municipality School were found the Mathayomsuksa 3 and 6 students make their
learning achievement progress of all subjects evaluating by O-NET (Ordinary National
Educational Test)

Key words : best practices, academic administration

ปที ี่ 5 ฉบับท่ี 9 (ประจาเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) 68

บทนา
วิธีการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) เป็นวิธีการท่ียอมรับกันว่าสามารถทาให้องค์กร

พัฒนาแบบก้าวกระโดด สามารถย่นระยะเวลาในการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร และเป็นการ
เรียนร้จู ากประสบการณ์ ของผทู้ ่ีประสบความสาเร็จหรอื ทาไดด้ ี แล้วนามาเป็นแนวทางในการพัฒนา
ใหด้ ีกวา่ เดมิ Thorndike et al. (1977) ได้กล่าวว่า การเรียนรู้ที่เกิดจากการลองผิดลองถูกเพราะไม่มี
ความรู้ในเรื่องน้ันมาก่อน บุคคลจะเลือกส่ิงที่เป็นจริง ทิ้งสิ่งที่เป็นเท็จ จนกระทั่งค้นพบด้วยตนเองว่า
ควรดาเนินการอย่างไรจึงจะถูกต้องและรวดเร็ว ก็จะเลือกทาวิธีนั้นในครั้งต่อไป น่ันคือการสร้างแนว
ปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการทางานเช่นกัน ขั้นตอนการดาเนิน งานหรือการสร้างแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศให้
เกดิ ขน้ึ ในองค์กรหรือสถานศึกษาซ่ึงมีหลากหลายวิธี โดยขั้นตอนที่สาคัญเริ่มจากการวิเคราะห์ภารกิจ
ท่ีแท้จริงของหน่วยงานน้ัน ๆ การศึกษาวิเคราะห์สภาพของหน่วยงานซ่ึงอาจทาได้หลายวิธี การ
กาหนดภาพความสาเร็จในอนาคต จัดทารูปแบบ (Model) วิธีดาเนินงาน การปฏิบัติตามแบบวิธีการ
การประเมินผลวิเคราะห์เปรียบเทียบผลที่ได้รับกับวิธีการเดิม การปรับปรุงพัฒนาและขยายผลการ
นา ไปใชใ้ นหน่วยงานใหก้ วา้ งกวา้ งย่ิงขึ้นและการบันทึก เขียนรายงานใชเ้ ปน็ มาตรฐานในการปฏบิ ัติ

โดยแนวปฏิบตั ทิ เี่ ปน็ เลิศของแต่ละองค์กรหรือหนว่ ยงาน อาจจะเหมือนหรือไม่เหมือนกันก็ได้
เพราะเป็นข้อสรุปวิธีการทางานท่ีองค์กรต่าง ๆ ค้นพบตามแนวทางของตนเอง ดังนั้น เมื่อเราสร้าง
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศแล้วนามาใช้ก็จะทาให้องค์กรประสบความสาเร็จได้ ในด้านการบริหารโรงเรียน
ของผู้บริหารก็เชน่ กนั มีองค์ประกอบสาคญั ทง้ั สภาพแวดล้อม ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ และผลผลิต
ซ่ึงมีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกับสิ่งต่าง ๆ แม้โรงเรียนมีกระบวนการปฏิบัติชัดเจนเท่าใดก็ตาม แต่
สภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี นเป็นสงิ่ ท่ปี ลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ ดังนั้นโรงเรียนใดที่สะสมวิธีปฏิบัติท่ีดีไว้เป็น
จานวนมากกจ็ ะสามารถปรับตัวเองเข้ากับสภาพเหล่าน้ันได้ดี ดังน้ันความพยายายามในการพัฒนาให้
มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศของโรงเรียนจึงเป็นภาระงานท่ีหน่วยงานที่เก่ียวข้องและหน่วยงานต้นสังกัด
โดยมีผนู้ าองค์กร หรือผูบ้ รหิ ารต้องเป็นผจู้ ุดประกายการพัฒนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการดาเนินงาน
ขึ้นมา

ภาระงานในการบริหารสถานศึกษา 4 ภาระงาน คือ งานบริหารวิชาการ งานบริหาร
งบประมาณ งานบรหิ ารงานบุคคล และงานบรหิ ารทัว่ ไปนั้น การบรหิ ารงานวิชาการเปนหัวใจสาคัญ
ที่สุดของโรงเรียนเพราะ งานวิชาการเกี่ยวข้องกับหลักสูตร การจัดโปรแกรมการศึกษา การจัดการ
เรียนการสอน และงานพัฒนาคุณภาพผู เรียนใหมีคุณภาพตามที่คาดหวังตามพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 การบริหารงานวิชาการมีบทบาทสาคัญที่สุดต่อความสาเร็จ
หรือความล้มเหลวของการบริหารโรงเรียน โดยหน้าท่ีของผู้บริหารโรงเรียนคือ การให้ความรู้
คาแนะนาในด้านวชิ าการ การประสานงาน และการทางานวิชาการร่วมกับผู้สอน เพื่อให้การเรียนการ
สอนมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน รวมทั้งบรรลุมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของชาติ (ปรียาพร วงศ์อนุตร
โรจน์.2553; สุดใจ เหล่าสุนทร.2542; Smith and others.1980 ; นพพงษ์ บุญจิตราดุล. 2549; บุญ
เล้ียง ทุมคา. 2542)

ปที ่ี 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 69

โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานีมุ่งบริหารงานวิชาการเพ่ือบรรลุผลการจัดการศึกษา
ซึ่งมาตรฐานผลการศึกษาสะท้อนจากผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้
ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) จากผลการทดสอบ
การศึกษาแห่งชาติ ปีการศึกษา 2560 ซึ่งเป็นตัวบ่งช้ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามมาตรฐานการจัด
การศึกษานั้น พบว่า อยู่ในระดับปรับปรุง ส่งผลให้โรงเรียนไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา
สะท้อนคุณภาพการศึกษา ที่ผู้ที่มีได้ส่วนเสียต้องตระหนัก ควรกาหนดเปูาหมายการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา ด้านผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นให้ชัดเจน โดยรว่ มมอื จากทกุ ฝุายที่เกี่ยวข้องและร่วมกันปฏิบัติ
อย่างเป็นระบบต่อเน่ืองในด้านการบริหารงานวิชาการ วิเคราะห์ปัญหาของการบริหารวิชาการที่ผ่าน
มา ร่วมกนั คน้ หานวตั กรรมในการบริหารใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล

จากสภาพปัญหาทีเ่ กิดขน้ึ ผู้วิจยั ในฐานรองผอู้ านวยการฝาุ ยวิชาการ โรงเรียนมัธยมเทศบาล
6 นครอุดรธานี มีหน้าท่ีโดยตรงในการบริหารงานวิชาการให้บรรลุเปูาหมายของการจัดการศึกษา
เชื่อว่าหากบริหารงานวิชาการอย่าง มีการวางแผน การดาเนินงานตามแผน การตรวจสอบติดตาม
และการปรับปรุงแกไ้ ขอยา่ งต่อเน่ืองและเปน็ ระบบในการบริหารงานวิชาการแล้ว ย่อมจะส่งผลต่อการ
บรรลอุ งคป์ ระกอบและตวั บง่ ช้ีการประกันคุณภาพการศึกษา และเกิดเป็นแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการ
บรหิ ารงานวิชาการใหม้ ปี ระสิทธิผลและประสทิ ธภิ าพ

วธิ ีดาเนินการวจิ ยั
การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของ

โรงเรยี นมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี โดยมีขั้นตอนการดาเนินงานวิจัยเปน็ 3 ระยะ คือ

ระยะที่ 1 การศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นคร
อุดรธานีเพื่อทราบปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ที่ส่งผล
ต่อคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา กลุ่มเปูาหมาย ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา จานวน 4 คน ครูหัว
หนา งานวิชาการ จานวน 1 คน ครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู จานวน 8 คน ครูผู้สอน จานวน 61
คน รวมท้ังสิ้น 74 คน ของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ประจาปีการศึกษา 2560
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยระยะท่ี 1 นี้เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการบริหารงาน
วิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี การวิเคราะห์ข้อมูลทาด้วยการ วิเคราะหเน้ือหา
(Content Analysis) และทาการวิเคราะหโดยการหาคาเฉล่ีย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตราฐาน
(Standard Deviation) นามาประมวลผลเรยี บเรยี งผล นาเสนอในรูปความเรยี งและตาราง

ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยม
เทศบาล 6 นครอุดรธานี เป็นการดาเนินงานเพ่ือยกร่างแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการบริหารงาน
วชิ าการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอดุ รธานี มขี นั้ ตอนการดาเนินการ 3 ข้นั ตอน คอื

ปที ่ี 5 ฉบบั ท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มิถุนายน 2562) 70

ข้ันตอนท่ี 1 การศึกษาสถานศึกษาตนแบบ เพ่ือหาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการ
บริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี กลุ่มเปูาหมายที่ใชในการวิจัย เป็น
ตัวแทนของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
จานวน 3 แห่งที่ผ่านการประเมิน สมศ. รอบ 3 และได้รับการรับรองคุณภาพการศึกษา ได้แก่
ผู้อานวยการโรงเรยี น รองผอู้ านวยการฝาุ ยวชิ าการ หวั หนางานวชิ าการ และครูผู้สอน จานวน 12 คน
จากโรงเรียนเทศบาล 6 นครเชียงราย จ. เชียงราย โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย จ.
เชยี งราย และโรงเรยี นเทศบาล 5 สหี รกั ษ์วทิ ยา จ.อดุ รธานี เก็บขอ้ มลู การสมั ภาษณ์เชิงลึก (In-depth
Interview) เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (structured
interview) การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะหเน้ือหา (Content Analysis) เพ่ือนาไปประกอบ
การร่างแนวปฏิบตั ิท่ีเป็นเลิศ

ข้ันตอนท่ี 2 การร่างแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยม
เทศบาล 6
นครอุดรธานี เป็นการนาข้อมูลท่ีได้มาสังเคราะห์เป็นร่างแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงาน
วิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ในข่ายการบริหารงานวิชาการ 9 ด้าน ดังนี้ 1)
การวางแผนงานวชิ าการ 2) การพฒั นาหลกั สตู ร 3) การจัดการเรียนการสอน 4) การพัฒนาและ
การใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา 5) การวัดผลและประเมินผล 6) การประกัน
คุณภาพการศึกษา 7) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 8) การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 9) การ
นิเทศงานวชิ าการ โดยใชว้ งจรคณุ ภาพ PDCA หรือวงจร Deming Cycle

ขั้นตอนที่ 3 การประเมินแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน
มัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี เป็นการพิจารณาความเหมาะสมและสอดคล้องของร่างแนวปฏิบัติท่ี
เปน็ เลิศฯ จากผ้เู ช่ยี วชาญจานวน 12 คน โดยการสนทนากลุ่ม (focus group discussion) เคร่ืองมือ
ทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู เป็นแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม มีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิด ผู้วิจัย
นาข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขร่างแนวปฏิบัติฯ ก่อนนาไป ใช้กับโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นคร
อดุ รธานี

ระยะท่ี 3 การศึกษาผลของนาแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศไปใช้ในการบริหารงานวิชาการของ
โรงเรียนมัธยม เทศบาล 6 นครอดุ รธานี เป็นดาเนนิ งานเพื่อนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศที่สร้างขึ้นไปใช้ใน
การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี เพ่ือให้บรรลุผลการจัดการศึกษา
มีการประชุมกลุ่มเปูาหมายคือผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนเทศบาล 6 นคร
อุดรธานีทุกคน ดาเนินการตามแนวปฏิบัติที่วางไว้จานวน 2 วงรอบคือ ภาคเรียนท่ี 1 และ 2 ปี
การศกึ ษา 2561 หลังจากนัน้ ทาการเปรียบเทียบผลการจัดการศึกษาโดยนาผลการทดสอบระดับชาติ
ของปีการศกึ ษา 2560 กับปกี ารศึกษา 2561

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดือน มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 71

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
1. ผลการศึกษาปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี

พบว่า ผู้บริหารและคณะครูโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานีมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการ
บริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ในภาพรวมมีปัญหาอยู่ในระดับปาน
กลาง โดยมีคา่ เฉลี่ย 2.91 เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมี ความคิดเห็นว่ามี
ปัญหาอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงตามค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ดังนี้ การประกันคุณภาพ
การศึกษา การนิเทศงานวิชาการ การวัดผลและประเมินผล การจัดการเรียนการสอน การวางแผน
งานวชิ าการ การพัฒนาหลกั สูตร การวจิ ัยเพือ่ พัฒนาคุณภาพทางการศึกษา การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
และ การพัฒนาและการใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา โดยมีค่าเฉล่ีย 3.42, 3.19,
3.11, 3.04, 2.97, 2.81, 2.76, 2.65 และ 2.55 ตามลาดบั

2. ผลการพฒั นาแนวปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลิศในการบริหาร งานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล
6 นครอดุ รธานี สรปุ ได้ดังน้ี

ส่วนที่ 1 ส่วนนา (Introduction) ความเป็นมา ความสาคัญของการบริหารงาน
วิชาการ ปญั หาของการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี และการสร้าง
แนวปฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลศิ ในการบริหารงานวชิ าการให้มปี ระสทิ ธผิ ลและประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 2 แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6
นครอุดรธานี มี 3 องค์ประกอบคือ 1) หลักการของแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการ
ของโรงเรียนมธั ยมเทศบาล 6 นครอดุ รธานแี สดงข้อมลู หลักการแหง่ การทางานท่ีทาให้บรรลุผลการจัด
การศึกษาโดยเฉพาะตัวบ่งช้ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นคร
อุดรธานอี ย่ใู นระดบั ต้องปรับปรงุ และส่งผลให้ไม่สมควรได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา ขั้นตอน
การดาเนินงานหรือการสร้างแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการให้เกิดข้ึนของโรงเรียน
มธั ยมเทศบาล 6 นครอดุ รธานี มขี ้ันตอนที่สาคัญเร่ิมจาก (1) การวเิ คราะห์ภารกิจ การบริหารงาน
วิชาการของโรงเรยี น (2) การศกึ ษา วิเคราะห์สภาพการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนโดยใช้วิธีการ
สอบถามปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน (3) การกาหนดภาพความสาเร็จในอนาคต
จัดทารูปแบบ (Model) วิธีดาเนินงาน โดยศึกษาความสาเร็จจากโรงเรียนต้นแบบที่ผ่านการประเมิน
ภายนอกรอบสามและสงั กดั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย (4) การปฏิบัติตามแบบ
วิธีการ จานวน 2 ภาคการศึกษาและตรวจสอบประเมินผลอย่างต่อเน่ืองเป็นระยะ (5) ประเมินผล
วิเคราะห์เปรียบเทียบผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) (6) ปรับปรุง พัฒนา
และขยายผลการนาไปใชใ้ ห้กว้างขวางยงิ่ ข้นึ และ (7) การบนั ทกึ เขยี นรายงานใช้เป็นมาตรฐานในการ
ปฏิบัติ นอกจากข้อเสนอ 7 ขั้นตอนข้างต้นแล้ว โรงเรียนยังดาเนินการตามแนวทางวงจรของเดมมิ่ง
(Deming circle) ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนการปฏิบัติ การตรวจสอบประเมินผล และการ
ปรบั ปรงุ เพราะแนวคิดของแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) เป็นกระบวนการดาเนินงานท่ีเป็น
ระบบ ซึ่งงานการศึกษาต้องมีการวางแผนการดาเนินงาน ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบผล การ

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 72

ดาเนินงานท่ีเกิดข้ึน 2) แนวปฏิบัติเป็นเลิศไปใช้ในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยม

เทศบาล 6 นครอุดรธานีโรงเรียนดาเนินการนาแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศไปใช้จานวน 2 วงรอบเพ่ือ

ตรวจสอบและปรบั ปรุงตามแนวคดิ การสร้างแนวปฏบิ ัติทดี่ ี โดยมีแนวปฏิบัติดังน้ี (1) การวางแผนงาน

วิชาการ เช่น การกาหนดวิสัยทัศน์การจัดทาแผนงาน โครงการวิชาการ การจัดบุคลากรทางด้าน

วิชาการ การประชาสัมพันธ์งานวิชาการ (2) การดาเนินงานวิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรการ

จัดการเรียนการสอน การพัฒนาและการใช้สอ่ื นวัตกรรม และเทคโนโลยี ทางการศึกษา การวัดและ

ประเมินผล การประกันคุณภาพการศึกษา การวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา (3) การติดตาม

ประเมินผล ได้แก่ การนิเทศงานวิชาการ 4) การปรับปรุง ได้แก่ การรายงานผลและ การวาง

แผนพฒั นา/ปรับปรงุ ในส่วนขององค์ประกอบของเนื้อหาของแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการ

บริหารงานวิชาการของโรงเรียนท้ัง 9 ข่ายน้ัน ได้นาเสนอออกเป็นแนวปฏิบัติและรายละเอียดงาน

ได้แก่ แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการวางแผนงานวิชาการ แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการพัฒนาหลักสูตร

แนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการจัดการเรียนการสอน แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการพัฒนาและการใช้ส่ือ

นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาแนวปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลิศในการวดั ผลและประเมินผล แนวปฏิบัติท่ี

เป็นเลิศในการประกันคุณภาพการศึกษา แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ แนว

ปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา และแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการนิเทศ

งานวิชาการ 3) เงื่อนไขแนวทางการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยม

เทศบาล 6 นครอุดรธานี คือ ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น

พ้ืนฐาน และหน่วยงานต้นสังกัด โดยเงื่อนไขท่ีสาคัญที่สุดคือผู้บริหารต้องมีลักษณะของภาวะผู้นา มี

วิสัยทัศน์ เก่งใน การวางแผนริเริ่ม และประสานงานที่ดีเย่ียม ด้านครูและบุคลากรทางการ

ศึกษาต้องตระหนักและให้ความสาคัญกับการวางแผนการทางาน การทางานเป็นทีม การสนใจเข้า

ร่วมการอบรม ประชุม สัมมนาหรือพัฒนาความรู้ ความสามารถ และเป็นครูมืออาชีพในการจัดการ

เรยี นการสอน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้มีความรู้ความเข้าใจ บทบาทหน้าท่ีของตนเอง

เช่น ทกั ษะการประชุม การตดั สินใจ การตรวจสอบกากับติดตามบทบาทหน้าท่ีในกระบวนการพัฒนา

คุณภาพการบริหารงานวิชาการนอกจากน้ี สานักการศึกษาเทศบาลนครอุดรธานี ซ่ึงเป็นหน่วยงาน

สนบั สนนุ ในระดับนโยบาย การจดั สรรงบประมาณ บุคลากร วัสดุครภุ ัณฑ์ทเ่ี พียงพอกบั ความต้องการ

คอยให้การช่วยเหลือแนะนาท้ังทางด้านเทคโนโลยี การจัดอบรม ประชุมสัมมนาแก่ผู้บริหาร ครูและ

บุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถมีทักษะท่ีจาเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

และประสานงานกับองค์กร หน่วยงานท้ังของรัฐ เอกชน สมาคม มูลนิธิ เพ่ือร่วมกันระดมทรัพยากร

ทางการศกึ ษาอยา่ งพอเพยี ง

3. การศึกษาผลของการนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศไปใช้ในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน

มธั ยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี พบวา่ ในปกี ารศึกษา 2561 ผลการจัดการศึกษาในตัวบ่งช้ีผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียน ซ่ึงวัดจาก การทดสอบระดับชาติ (O-NET) มีพัฒนาการที่ดีข้ึนทุกรายวิชา ท้ังใน

ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 และระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6

ปที ่ี 5 ฉบับท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 73

สรุปผลการวิจยั
1. โรงเรยี นมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานีมีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการมี

ท้ังหมด 9 ด้าน ได้แก่ 1) การวางแผนงานวิชาการ 2) การพัฒนาหลักสูตร 3) การจัดการเรียน
การสอน 4) การพัฒนาและการใช้ส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา 5) การวัดผลและ
ประเมินผล 6) การประกันคุณภาพการศึกษา 7) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 8) การวิจัยเพ่ือพัฒนา
คุณภาพการศึกษา 9) การนิเทศงานวิชาการซ่ึงประกอบด้วย 3 ส่วนคือ (1) ส่วนนาประกอบด้วย
ความเป็นมา ความสาคัญของการบริหารงานวิชาการ ปัญหาของการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน
มัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี และการสร้างแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการให้มี
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (2) แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยม
เทศบาล 6 นครอุดรธานี ประกอบด้วยหลักการของแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศเพ่ือบรรลุผลการจัด
การศกึ ษาโดยเฉพาะตัวบง่ ชผี้ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น การนาแนวปฏิบัติเป็นเลิศไปใช้ในการบริหารงาน
วิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี และเงื่อนไขของการนาแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศใน
การบริหารงานวชิ าการของโรงเรยี นมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี

2. ผลของการนาแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศไปใช้ในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยม
เทศบาล 6 นครอุดรธานี ต่อคุณภาพการจัดการศึกษา พบว่า ในปีการศึกษา 2561 ผลการจัด
การศกึ ษาในตวั บง่ ช้ีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนซึง่ วัดจากการทดสอบระดับชาติ (O-NET) มีพัฒนาการท่ีดี
ขน้ึ ทกุ รายวชิ า ท้งั ในระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 และระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6

อภิปรายผล
ผลการวจิ ยั มีประเด็นสาคัญนามาอภปิ รายผลดงั นี้

1. ปัญหาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี พบว่าผู้ตอบ
แบบสอบถามมี

ความคิดเห็นเก่ียวกับปัญหาการบริหารงานวิชาการในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางท้ัง 9 งาน โดย
พบทุกงานมีปัญหาในประเด็นการวางแผนงาน ซึ่งหากงานใด ๆ ขาดการวางแผนงานแล้ว ย่อมส่งผล
ต่อการนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุผลการบริหารวิชาการท่ีมีคุณภาพจะเป็นไปได้ยาก สอดคล้องกับ
อุทัย บุญประเสริฐ (2537) และประชุม รอดประเสริฐ (2539) ได้ให้ความสาคัญของการวางแผน
คลา้ ยกันวา่ การวางแผนเป็นเครือ่ งมือสาคัญย่งิ ของ การบริหารเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เป็น
งานท่ีสาคัญยิ่งในกระบวนการบริหารและการจัดการของหน่วยงาน องค์กรทุกองค์กรต้องมีการ
วางแผนในการปฏิบัตงิ านเพ่อื ใหม้ ีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลของการปฏบิ ตั ิงาน

ปที ี่ 5 ฉบบั ที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มิถุนายน 2562) 74

2. แนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี
ในขน้ั นีผ้ ูว้ ิจยั

จะอภิปรายการพัฒนาแนวปฏิบัติที่เลิศร่วมกับเสนอความสอดคล้องผลท่ีเกิดจากการนาแนวปฏิบัติท่ี
เป็นเลิศไป ดังน้ี แนวปฏิบัติน้ีสร้างข้ึนเร่ิมจากการวิเคราะห์ภารกิจการบริหารงานวิชาการท่ีแท้จริง
โดยผู้วิจัยประสบปัญหาว่าในปีการศึกษา 2560 โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ไม่ได้รับการ
รับรองคุณภาพการศึกษา เนื่องจาก ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติ (O-NET) อยู่ในระดับต้อง
ปรบั ปรงุ ผู้วจิ ยั จงึ ทาการศึกษาวเิ คราะห์ปัญหา การบรหิ าร งานวชิ าการของโรงเรยี นโดยการสารวจ
ความคิดเห็นของบุคลากร รวมกับการศึกษาแนวปฏิบัติท่ีดี จากโรงเรียนต้นแบบท่ีผ่านการประเมิน
ของ สมศ. จากนั้นทาการสังเคราะห์ข้อมูล การสร้างรูปแบบ (Model) วิธีดาเนินงาน การปฏิบัติ
ตามแบบวิธีการ มีตรวจสอบประเมินผลอย่างต่อเน่ืองเป็นระยะจานวน 2 วงรอบและทาการ
ประเมินผลวิเคราะห์เปรียบเทียบผลที่ได้รับกับวิธีการเดิม ซ่ึงพบว่าเม่ือเปรียบเทียบผลการทดสอบ
ระดับชาติ ระหว่างปีการศึกษา 2560 และ 2561 น้ัน โรงเรียนมีผลการทดสอบในระดับดีและมี
พัฒนาการดีข้ึน และการสรุปแนวปฏิบัติที่เกิดขึ้น ซ่ึงสอดคล้องกับสมพร เพชรสงค์ (2548) ท่ีระบุ
ข้ันตอนการดาเนินงานของแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ได้แก่การวิเคราะห์ภารกิจท่ีแท้จริงของหน่วยงาน
การศึกษาวิเคราะห์สภาพของหน่วยงาน ซึ่งอาจดาเนินการได้หลายวิธี เช่น ใช้วิธีการสารวจ ก็ระดม
ความคดิ การใช้ SWOT เปน็ ต้น การกาหนดภาพความสาเร็จในอนาคต จัดทารูปแบบ ( Model) วิธี
ดาเนินงาน การปฏิบัติตามแบบวิธีการ อาจเร่ิมทดลองนาร่องตรวจสอบ ประเมินผล อย่างต่อเน่ือง
เปน็ ระยะ ประเมินผลวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบในดา้ นขน้ั ตอน ระยะเวลา งบประมาณ และผลที่ได้รับกับ
วิธีการเดิม การปรับปรุง พัฒนา และขยายผลการนาไปใช้ในหน่วยงานให้กว้างขวางยิ่งขึ้น และการ
บันทกึ เขียนรายงานใช้เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติ ทั้งน้ีสาหรับการบริหารสถานศึกษาเพ่ือนาไปสู่การ
ปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นเลิศนนั้ มไิ ด้ใชห้ ลักการใดหลักการหน่ึงในการบริหาร หากแต่ต้องใช้หลาย ๆ หลักการบูร
ณาการกันในหลายสว่ น การพัฒนาองคก์ ร โดยเฉพาะหนว่ ยงานทางการศึกษา ด้วยการนาแนวคิดของ
แนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศมาใช้มีหลายแนวความคิดข้ึนอยู่กับวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เปูาหมาย
หลักของสถานศึกษา ว่าต้องการให้พัฒนาไปในทิศทางใด เน้นด้านใดเป็นหลัก ตอบสนองต่อความ
ต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมมากน้อยเพียงใด อย่างไร ก็ตามการบริหารงาน
วิชาการท้ัง 9 ด้าน ผู้วิจัยได้ศึกษาพบกระบวนการบริหารที่นาไปสู่การปรับปรุงและควบคุมอย่างเป็น
ระบบ พบว่าเป็นไปตามวงจรคุณภาพ PDCA หรือวงจร Deming Cycle อันประกอบด้วย การ
วางแผน การดาเนินงาน การติดตามประเมินผล และการแก้ไขปรับปรุง การนาวงจรคุณภาพ PDCA
ไปปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่องในงานวิชาการจะทาให้เกิดการปรับปรุงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเห็นผลลพั ธท์ ่ีชดั เจน ซง่ึ วดั ได้จากผลการประเมินคุณภาพภายในเมื่อเปรียบเทียบกับปีการศึกษาที่
ผ่านมา ซ่ึงสอดคล้องกับ จินตนา ศิริวัฒนโชค (2557); เมธินี จิตติชานนท์ (2555) ได้กล่าวว่า การ
บรหิ ารงานวชิ าการมคี วามสาคัญต่อคณุ ภาพของการจัดการศึกษา สถานศึกษาจึงต้องดาเนินการอย่าง
เปน็ ระบบเพอ่ื ให้เกดิ การพัฒนาอย่างต่อเนอื่ ง ด้วยกระบวนการบรหิ าร PDCA

ปที ่ี 5 ฉบบั ท่ี 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มิถนุ ายน 2562) 75

นอกจากการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพแล้ว แนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศน้ีจะสาเร็จได้ยังมีปัจจัย
อ่ืน ๆ ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการดาเนินงานของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้บริหาร ครู บุคลากร
ทางการศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษา รวมทั้งหน่วยงานต้นสังกัดคือ
เทศบาลนครอุดรธานี ต้องยอมรับว่าผู้บริหารส่งผลโดยตรงต่องานวิชาการ โดยเฉพาะการ
เปล่ียนแปลงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน (Lewis.1984; Buzzi. 1991) การมีบทบาท มีส่วน
รว่ มในเก่ยี วข้องกบั การจดั การศึกษา เริ่มตั้งแต่มีการประชุมช้ีแจงรับฟัง ความคิดเห็นต้ังแต่ขั้นการ
วางแผน ร่วมกันวางแผน มีการจัดทาเอกสารคาส่ัง มอบหมายงาน มอบหน้าที่ ใครทาหน้าท่ีอะไร
ทรัพยากรท่ีเก่ียวข้องมาจากแหล่งใดบ้าง ร่วมกันปฏิบัติงาน ร่วมรับผลที่เกิดข้ึนจากการดาเนินงาน
ร่วมกัน โดยทุกฝาุ ยร่วมกนั เสนอแนะวธิ กี ารหรือแนวทางปฏบิ ัตใิ นการแก้ปัญหาและพัฒนาว่าจะมีการ
ดาเนินงานแก้ปัญหาและพัฒนาอย่างไรบ้าง สอดคล้องกับแนวคิดการกระจายอานาจของศักราช ฟูา
ขาว (2543) และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ
2545 ในส่วนที่ระบุให้ผู้บริหารโรงเรียนควรบริหารโรงเรียนเเบบการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง โดยมี
การกระจายอานาจไปยังบุคคลท่ีเก่ียวข้องตามอานาจหน้าท่ีท่ีกฎหมายกาหนดหรือระเบี ยบปฏิบัติที่
โรงเรียนกาหนด

อย่างไรก็ตาม เงื่อนไขของความสาเร็จในการนาแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการบริหารงาน

วิชาการของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธาน้ีไปใช้หรือนาไปประยุกต์ใช้กับโรงเรียนอ่ืน ๆ มี

ความจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารโรงเรียนต้องศึกษาแนวทางดังกล่าวให้ มีความเข้าใจอย่างชัดเจน

โดยเฉพาะเงื่อนไขความสาเร็จท่ีผู้วิจัยกล่าวถึงนั้นเป็นเพียงส่วนหน่ึงของปัจจัยเเห่งความสาเร็จ แต่

ยังคงมีอีกหลากหลายปัจจัยที่ในแต่ละโรงเรียนมีสภาพท้ังท่ีคล้ายคลึงกันและแตกต่างกัน เป็นส่ิงที่

ผู้บริหารต้องวิเคราะห์ปัจจัยเหล่าน้ัน ว่ามีส่ิงใดท่ีเกี่ยวข้องนาไปสู่ผลสาเร็จหรือมีส่ิงใดอุปสรรคต้อง

กาจัดเพอ่ื ให้การบรหิ ารงานวิชาการประสบความสาเรจ็ ตามแผนงานและเปาู หมายทร่ี ่วมกนั วางไว้

ข้อเสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การนาผลการวจิ ยั ไปใช้
ผู้บริหารสถานศึกษาท่ีมีบริบทใกล้เคียงกับโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานีสามารถนา
แนวปฏิบัติ ท่ีเป็นเลิศในการบริหารงานวิชาการนี้ไปปรับใช้ได้ โดยคานึงถึงนโยบายของต้นสังกัด
พร้อมท้ังสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้เก่ียวข้องทุกฝุายท้ังคณะครูณะกรรมการสถานศึกษาและ
บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนทุกคนตลอดจนตัวแทนผู้ปกครองและชุมชน และมีการติดตาม
ประเมินผลการนาไปใช้เป็นระยะ ๆ เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการบริหารงานวิชาการของ
โรงเรียน
ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การวิจัยครั้งตอ่ ไป
โรงเรยี นมัธยมเทศบาล 6 นครอดุ รธานีควรมีการพัฒนาแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการบริหารงาน
ด้านอื่น ๆ เชน่ การบรหิ ารงานท่วั ไป การบรหิ ารงานแผนงานงบประมาณ และการบริหารงานบคุ คล

ปที ี่ 5 ฉบับที่ 8 (ประจาเดอื น มกราคม-มถิ ุนายน 2562) 76

เอกสารอ้างอิง

กมล ภปู่ ระเสริฐ. (2545). การบริหารงานวิชาการในสถานศกึ ษา. พมิ พค์ ร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ : เทธีทิปส.์
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2550). แนวทางปฏริ ูปการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรงุ เทพฯ : ท.ี เอส.บี.โปรดักส์.
กุลชญา เที่ยงตรง. (2550). การบรหิ ารงานวิชาการตามแนวการปฏิรปู การศึกษาของสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

สังกัดองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรยี นเทศบาลเขตการศกึ ษา 5. ปรญิ ญานิพนธค์ รุศาสตรบัณฑติ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ .ี
จนิ ตนา ศิริวัฒนโชค. (2557). วงจร PDCA. [ออนไลน์]. สืบค้นเมอ่ื 10 ตลุ าคม 2561, จาก
http://203.1 72.1 79.44/ skpp/file.php/1 /PDCAPDCA_mean.doc
นพพงษ์ บญุ จติ ราดลุ ย์. (2549). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: นิพธิ การพมิ พ์.
บญุ เลยี้ ง ทุมคา. (2542). การศกึ ษาการปฏิบัตงิ านวชิ าการของผู้บริหารโรงเรยี นประถมศกึ ษาสังกดั สานกั การ
ประถมศกึ ษาจังหวัดขอนแกน่ . วทิ ยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.
ประชุม รอดประเสริฐ. (2535). นโยบายและแผนหลกั การและทฤษฎี. (พมิ พครั้งท่ี 4). กรงุ เทพฯ: เนติกลุ การพมิ พ
ปรียาพร วงศอ์ นุตรโรจน.์ (2553). การบริหารงานวชิ าการ. กรุงเทพฯ : ศนู ย์สื่อเสริมกรงุ เทพฯ.
พวงรตั น์ ทวีรัตน.์ (2550). วธิ กี ารวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร.์ (พมิ พ์คร้ังที่ 7). กรงุ เทพฯ: สานกั
ทดสอบการศึกษาและจติ วิทยา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรท์ รวโิ รฒ.
เมธินี กติ ติชานนท์. (2555). การบริหารงานโดยม่งุ ผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management). [ออนไลน]์ .
สืบค้นเม่อื 10 ตลุ าคม 2561, จาก http:/ iad.dopa.go.th/subject/RBM.doc
ศกั ราช ฟูาขาว. (2543)."ทาอยา่ งไรให้ประชาชนมสี ว่ นร่วมต่อการจดั การศกึ ษา”,ข้าราชการครู, 20(4): 40 - 42.
สมพร เพชรสงค.์ (2548). Best Practice. ดารงราชานุภาพ, 5 (15), 36-43.
สานกั การศกึ ษา, กรงุ เทพมหานคร. (2554). แนวทางการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพโรงเรยี นสงั กดั กรงุ เทพมหานคร.
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ.
สานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2547). พระราชบัญญตั ิ
ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพค์ รุ สุ ภา.
สานักบริหารการศึกษาท้องถิ่น, กรมการปกครอง. (2543). รายงานผลการวิเคราะหก์ ารประเมินคุณภาพการจัด
การศึกษาของโรงเรยี นสังกดั เทศบาลและเมืองพัทยา. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์อาสารกั ษาดินแดน.
สดุ ใจ เหลา่ สุนทร. (2542). การบริหารงานวิชาการ. กรงุ เทพฯ : พฒั นาการศึกษา.
อทุ ัย บุญประเสริฐ. (2543). การวางแผนการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Buzzi , Michael Joseph. "The Relationship of School Effectiveness to Selected Diminution of
Principal Instrumental Leadership in Elementary School in The State of Connecticut,
Dissertation Abstracts International, 51,12 (June 1991) : 341-A.

Lewis, N.Adam. "Instructional Leadership styles of effective elementary School Principals
inTexas." Dissertation Abstracts International, 45, 3 (September 1984): 709-A.

Smith, and Others. (1980). Management :Making Organizations Perform. New York: Macmillan.
Thorndike. et al. (1977). Measurement and Evaluation in Psychology and Education.
(4th ed.) New York: Wiley.


Click to View FlipBook Version